The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phatthanaporn, 2019-03-24 22:24:25

แฟ้มสะสมผลงานครู2/2561

61

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 14 หนว่ ยท่ี 9

รหสั วชิ า 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี 13

ชื่อหน่วย วฒั นธรรมและภูมิปัญญา สมัยรัตนโกสินทร์ จานวน 1 ชว่ั โมง

แนวคิด

ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของไทยหลายด้านซ่ึงสืบทอดมาจาก

สุโขทยั อยุธยาและเป็นรากฐานสาคัญของความเจรญิ กา้ วหน้าสืบตอ่ มาจนถงึ ปจั จุบนั ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

ไทยสมัยรตั นโกสินทรท์ ี่สาคัญ เช่น จติ รกรรมบนฝาผนังอาคารพระอุโบสถหรือพระวิหารวดั พระศรีรตั นศาสดา

ราม วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ซึ่งมีลกั ษณะผสมผสานกบั ศลิ ปะสมยั อยธุ ยา ตอ่ มาภาพจติ รกรรมท่ีมีศิลปะ

ตะวันตก เช่น พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผลงานทางด้านประติมากรรม สมัย

รัตนโกสินทร์ส่วนใหญ่เป็นการป้ันพระพุทธรูป เช่น พระประธานในอุโบสถวัดมหาธาตุยุวธาตุรังสฤษฏ์ราช

วรมหาวิหาร ในสมัยปฏิรปู ส่วนใหญเ่ ป็นการหล่อพระพุทธรูป เช่น พระสมั พุทธพรรณี พระนิรนั ตราย พระพทุ ธ

ชินราชจาลอง ส่วนสถาปัตยกรรมท่ีโดดเด่น คือ พระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนมหาศาสดาราม ซ่ึง

ต่อมามีการผสมผสานวัฒนธรรมตะวันตก เช่น พระท่ีนั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ใน

พระบรมมหาราชวงั ซง่ึ เป็นสถาปัตยกรรมยโุ รปแต่หลงั คาเป็นยอดปราสาทแบบไทย

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง

1อธบิ าย.ลักษณะและความสาคัญของวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ได้
2.บอกปจั จัยท่มี อี ทิ ธิพลต่อการสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาของไทยได้
3.บอกวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทยสมยั รตั นโกสินทรต์ อนต้นได้
4.บอกวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยสมยั ปฏิรปู บ้านเมอื งให้ทันสมยั แบบตะวนั ตกได้
5.บอกวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาในสมยั ประชาธิปไตยได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรู้เกีย่ วกับกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
2.เปรยี บเทียบการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมของประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรียนรู้
หนว่ ยที่ 9 วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาสมัยรตั นโกสนิ ทร์

1.ลกั ษณะและความสาคญั ของวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์

2.ปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่อการสร้างสรรค์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาของไทย

3.วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้

4.วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทยสมยั ปฏริ ูปบ้านเมอื งใหท้ นั สมยั แบบตะวันตก

62

5.วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาในสมยั ประชาธปิ ไตย
ข้ันนาเขา้ สู่การเรียน
1.ครูเขียนคาวา่ “ฝร่งั สวมชฎา” ไว้ที่บนกระดาน
2.ครูใหน้ กั เรียนดูภาพ แล้วถามว่าภาพใดนา่ จะหมายถึงฝรั่งสวมชฎา จากนน้ั ใหน้ กั เรียนแสดงเหตุผล

ขน้ั สอน
3.ครูสนทนาลักษณะและความสาคัญของวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์
4.ครูให้นกั เรยี นแบง่ กล่มุ อภปิ รายปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาของไทย จากน้นั
ออกมานาเสนอและครูอธบิ ายเพม่ิ เติม
5.ครใู หเ้ วลานักเรียน 10 นาทีศึกษาวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยรตั นโกสินทร์ตอนต้น จากนนั้ ให้แข่งขัน
กนั ตอบคาถาม ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ
6.ครูใหน้ กั เรยี นดภู าพ และถามวา่ เปน็ การแต่งกายในสมัยใด

63

จากน้ันสนทนากับนักเรียนเก่ียวกบั วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยสมยั ปฏิรปู บา้ นเมอื งให้ทันสมยั แบบตะวนั ตก
7.ครอู ธิบายเรือ่ งวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาในสมยั ประชาธิปไตย จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นช่วยกันยกตวั อย่างผลงานท่ี
สาคญั

ขัน้ สรปุ และประยุกต์
8.ครใู หน้ ักเรยี นทาคาถามท้ายหน่วยการเรียนรู้หน่วยที่ 9
สือ่ และแหล่งเรยี นรู้

1.หนังสอื เรียนวิชาประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลกั ฐาน
1.บนั ทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
1.ประเมินผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่

64

4.การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์

เคร่ืองมอื วัดผล
1.แบบประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4.การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ข้ึนไป
2.เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
3.เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4.การสงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กับการประเมินตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้นกั เรยี นจดั บอรด์ เร่ืองศิลปวฒั นธรรมสมัยประชาธปิ ไตย

65

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 15 หนว่ ยท่ี 10

รหัสวชิ า 2000-1507 สอนครงั้ ที่ 14

ชอื่ หน่วย โครงการพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา

ภูมิพลอดุลยเดชและพระราชกรณีกจิ ทส่ี าคัญของพระมหากษัตรยิ ์

องค์ปจั จุบัน จานวน 1 ช่วั โมง

แนวคดิ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อ

ประโยชน์สุขของประชาชน โดยได้เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรท่ัวราชอาณาจักร และได้พระราชทาน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริในทุกภาคของประเทศ เพื่อแก้ปัญหาการประกอบอาชีพของราษฎรใน

พ้ืนที่กันดารต่างๆรวมท้ังการอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทาให้คุณภาพชีวิตของคนไทยได้รับการพัฒนา

อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ

นานัปการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ต้ังแต่คร้ังดารงอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม

มกฏุ ราชกมุ าร โดยได้ทรงเจริญตามรอยเบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช

บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลท่ี 9 ในการบาบัดทกุ ข์ บารุงสุขแก่

ปวงชนชาวไทย นาความเจริญรุ่งเรืองและความม่ันคงมาสูป่ ระเทศชาติ ท้ังด้านการพระศาสนา ดา้ นการแพทย์

สาธารณสขุ และสังคมสงเคราะห์ การตา่ งประเทศ การศกึ ษา การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม และดนตรี

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง

1.บอกโครงการพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชได้
2.บอกหลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชได้
3.ยกตวั อย่างโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชได้
4.ยกตวั อย่างผลงานด้านวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชได้
5.ยกตัวอย่างผลงานด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่
9
6.บอกพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรู้เกย่ี วกับกระบวนการทางประวัติศาสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมของประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย

66

สาระการเรยี นรู้
หนว่ ยท่ี 10 โครงการพระราชพารใิ นพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชและพระราชกรณี
กจิ ท่สี าคัญของพระมหากษัตรยิ ์องคป์ จั จุบัน
1.โครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
2.หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
3.ตัวอยา่ งโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ขัน้ นาเข้าสู่การเรยี น
1.ครเู ขียนคาว่า “โครงการพระราชดาริ” ไวท้ ี่บนกระดาน
2.ครูให้เวลานกั เรยี น 3 นาที เขยี นโครงการพระราชดารใิ ห้มากทสี่ ุด จากนั้นครูสมุ่ ถาม
ข้นั สอน
3.ครอู ธบิ ายความหมายของโครงการพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช
4.ครแู บ่งนกั เรียนออกเปน็ 9 กลุ่ม ศึกษาหลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดช จากนน้ั ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ชั้นเรียนวา่ สามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้อย่างไร
5.ครูให้นกั เรียนนาตัวอย่างโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปจดั
บอร์ด ใหค้ วามรู้ทีห่ ลงั หอ้ ง
6.ครเู กรนิ่ นาความเป็นมาช่วงวกิ ฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540 จากนั้นโยงถงึ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อ
สังคมไทย
7.ครูสนทนาเรือ่ งหลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง
8.ครูใหเ้ วลานกั เรยี น 5 นาทเี ขยี นแนวการปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากนัน้ ออกมา
นาเสนอหน้าช้นั เรยี น

ขนั้ สรปุ และประยุกต์
9.ครูสรปุ แนวการปฏิบตั ิตนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี นวิชาประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ

67

หลักฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเช็ครายช่อื
3.แผนการจัดการเรียนรู้

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1.ประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึง

ประสงค์

เครอื่ งมือวดั ผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1.แบบประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑผ์ า่ น 50% ข้ึนไป
2.เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีช่องปรับปรุง
3.เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4.การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ให้นักเรียนจดั บอรด์ เกย่ี วกับพระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชและ
สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ พระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลท่ี 9

68

แผนการจดั การเรยี นร้แู บบบรู ณาการที่ 15 หนว่ ยที่ 10

รหัสวิชา 2000-1507 สอนคร้งั ที่ 15

ชอื่ หน่วย โครงการพระราชดารใิ นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชและ

พระราชกรณีกิจทสี่ าคญั ของพระมหากษัตริย์องคป์ ัจจุบนั จานวน 1 ชั่วโมง

แนวคิด

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการเพ่ือ

ประโยชน์สุขของประชาชน โดยได้เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรทั่วราชอาณาจักร และได้พระราชทาน

โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริในทุกภาคของประเทศ เพื่อแก้ปัญหาการประกอบอาชีพของราษฎรใน

พืน้ ท่ีกันดารต่างๆ รวมท้ังการอนุรักษ์ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ทาให้คุณภาพชีวิตของคนไทยได้รับการพัฒนา

อยา่ งต่อเน่ือง

สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ไดท้ รงประกอบพระราชกรณยี กิจ

นานัปการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ต้ังแต่คร้ังดารงอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม

มกุฏราชกุมาร โดยได้ทรงเจริญตามรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุล

เดช และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ในรัชกาลที่ 9 ในการบาบัดทกุ ข์ บารุงสุขแกป่ วงชนชาว

ไทย นาความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงมาสู่ประเทศชาติ ทั้งด้านการพระศาสนา ด้านการแพทย์

สาธารณสุข และสงั คมสงเคราะห์ การต่างประเทศ การศกึ ษา การเกษตร ศลิ ปวัฒนธรรม และดนตรี

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั

1.บอกโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชได้
2.บอกหลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชได้
3.ยกตัวอย่างโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชได้
4.ยกตวั อย่างผลงานดา้ นวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชได้
5.ยกตัวอย่างผลงานด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่
9
6.บอกพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรเู้ กีย่ วกับกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมของประวตั ิศาสตรช์ าติไทย

69

สาระการเรียนรู้
หนว่ ยท่ี 10 โครงการพระราชพารใิ นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดชและ
พระราชกรณีกจิ ท่สี าคัญของพระมหากษัตรยิ ์องค์ปจั จุบัน
4.พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกบั ผลงานด้านวฒั นธรรมและภมู ิปัญญา
5.สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิติ์ พระบรมราชินนี าถในรัชกาลท่ี 9 กับผลงานดา้ นวัฒนธรรม และภูมิปญั ญา

ขั้นนาเข้าส่กู ารเรยี น
1.ครูทบทวนความร้บู ทเรยี นจากสปั ดาห์ที่แล้ว
ขนั้ สอน
2.ครแู บง่ นักเรียนออกเป็น 3 กลุ่มศึกษาตวั อย่างการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ จากน้ัน
ออกมานาเสนอ
3.ครใู ห้นักเรยี นดูภาพ จากน้ันถามวา่ คืออะไร (กังหนั นา้ ชัยพัฒนา)

จากน้นั สนทนากบั นักเรยี นเรื่องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชกบั ผลงานดา้ นวฒั นธรรม
และภมู ิปญั ญา
4.ครใู ห้นักเรียนดภู าพ จากนั้นถามวา่ คืออะไร (ชน้ิ งานในพิพธิ ภัณฑศ์ ิลปแ์ ผน่ ดนิ พระทีน่ ่ังอนันตสมาคม)

70

5.ครูอธบิ ายเรอ่ื งสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถในรัชกาลที่ 9 กบั ผลงานด้านวฒั นธรรมและภูมิ
ปัญญา

ขั้นสรปุ และประยกุ ต์
6.ครูใหน้ กั เรยี นตอบคาถามหนว่ ยการเรยี นที่ 10

ส่อื และแหล่งเรียนรู้
1.หนงั สือเรยี นวชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ

หลกั ฐาน
1.บันทึกการสอนของครู
2.ใบเชค็ รายช่ือ
3.แผนการจัดการเรยี นรู้

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1.ประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
4.การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ

ประสงค์

71

เครอื่ งมอื วัดผล
1.แบบประเมินผลความกา้ วหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหน้าของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ข้นึ ไป
2.เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีช่องปรับปรุง
3.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับการประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
-

72

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการที่ 17 หนว่ ยท่ี 10

รหัสวิชา 2000-1507 สอนครั้งท่ี 17

ชอ่ื หน่วย โครงการพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระราช

กรณกี ิจทสี่ าคัญของพระมหากษัตรยิ อ์ งคป์ ัจจบุ นั จานวน 1 ชัว่ โมง

แนวคดิ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อ

ประโยชน์สุขของประชาชน โดยได้เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรทั่วราชอาณาจักร และได้พระราชทาน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริในทุกภาคของประเทศ เพ่ือแก้ปัญหาการประกอบอาชีพของราษฎรใน

พื้นที่กันดารต่างๆรวมท้ังการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทาให้คุณภาพชีวิตของคนไทยได้รับการพัฒนา

อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ไดท้ รงประกอบพระราชกรณียกิจ

นานัปการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ต้ังแต่คร้ังดารงอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม

มกฏุ ราชกุมาร โดยได้ทรงเจริญตามรอยเบอื้ งพระยคุ ลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ในการบาบัดทุกข์ บารุงสุขแก่ปวงชนชาวไทย

นาความเจริญรุ่งเรืองและความมั่นคงมาสู่ประเทศชาติ ท้ังด้านการพระศาสนา ด้านการแพทย์ สาธารณสุข

และสงั คมสงเคราะห์ การตา่ งประเทศ การศึกษา การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม และดนตรี

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั

1.บอกโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชได้
2.บอกหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้
3.ยกตวั อยา่ งโครงการพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชได้
4.ยกตวั อยา่ งผลงานด้านวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชได้
5.ยกตัวอย่างผลงานด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่
9
6.บอกพระราชกรณียกิจของสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ได้
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความรู้เกยี่ วกับกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
2.เปรียบเทยี บการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมของประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย
สาระการเรียนรู้

73

หน่วยท่ี 10 โครงการพระราชดารใิ นพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชและพระราชกรณีย
กจิ ที่สาคัญของพระมหากษัตรยิ ์องคป์ ัจจุบัน
6.พระราชกรณียกจิ ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

ขน้ั นาเขา้ สกู่ ารเรยี น
1.ครูสมุ่ ถามนักเรียนว่าพระราชกรณีกจิ ของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู มีด้าน
ใดบา้ ง
ขั้นสอน
2.ครูใหน้ ักเรยี นจับกลุ่มศกึ ษาพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง
กรู จากน้นั ให้แต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน

-ด้านการพระศาสนา
-ดา้ นการต่างประเทศ
-ด้านเกษตร
-ดา้ นศิลปวัฒนธรรม
-ดา้ นดนตรี
-ด้านการแพทย์ สาธารณสุข และสังคมศาสตร์
-ดา้ นการศกึ ษา
ข้นั สรุปและประยุกต์
3.ครใู ห้นักเรยี นทาแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1.หนงั สอื เรยี นวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าติไทย
2.กจิ กรรมการเรียนการสอน
3.ภาพประกอบ
หลักฐาน
1.บนั ทึกการสอนของครู
2.ใบเชค็ รายชื่อ

74

3.แผนการจดั การเรยี นรู้
การวัดผลและการประเมินผล

วธิ วี ัดผล
1.ประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของตนเอง
2.สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
3.ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์
เคร่ืองมอื วัดผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง
2.สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
3.ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4.การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมินผล
1.แบบประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของตนเอง เกณฑ์ผา่ น 50% ขึ้นไป
2.เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
3.เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4.การสังเกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับการประเมินตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
-

75

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 18 หนว่ ยท่ี -

รหัสวชิ า 2000-1507 สอนคร้งั ท่ี -

ช่ือหน่วย สอบปลายภาค จานวน 1 ชั่วโมง

แนวคิด

การสอบปลายภาคเปน็ การวดั ความรแู้ ละความเขา้ ใจในหน่วยการเรียนรู้ที่ 6-10

แผนการจัดการเรียนรู้
รหสั วิชา 2000 1501 ชื่อวิชาหน้าทพี่ ลเมืองและศีลธรรม

ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศกึ ษา 2561

จัดทาโดย
นางสาวพัฒนาภรณ์ พระสุนิน

กลุ่มสาระสังคมศกึ ษา

วิทยาลัยเทคนิคระยอง
สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี ๑ หน่วยที่ ๑
สอนครงั้ ท่ี ๑-๒
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๕๐๑ วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม จานวน ๒ ชวั่ โมง
ชื่อหน่วย/เรอื่ ง ปฐมนิเทศ/สถาบนั ทางสงั คมและสถาบนั ครอบครวั

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทข่ี องพลเมอื งดแี ละ
หลกั ธรรมของศาสนา

๒. ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ทถ่ี กู ตอ้ งดงี ามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทพ่ี ลเมอื งดี และหลกั ธรรมของ
ศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื การเป็นพลเมอื งดี

สาระสาคญั

โดยธรรมชาตมิ นุษยจ์ ะอย่รู ่วมกนั เป็นสงั คม เพอ่ื อาศยั ซง่ึ กนั และกนั ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู รว่ มกนั แกป้ ญั หา
ในการดาเนนิ ชวี ติ และสนองความตอ้ งการของมนุษย์ จงึ ไดม้ กี ารกาหนดวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ ่อกนั ในลกั ษณะทจ่ี ะ
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเอง และสงั คม

สงั คมมนุษยท์ ุกสงั คม จะมโี ครงสรา้ งทางสงั คม ซง่ึ ประกอบดว้ ยกลุ่มสงั คมและสถาบนั สงั คม ทาให้
สงั คมมรี ะบบระเบยี บในการอยรู่ ว่ มกนั และมกี ารตอบสนองตดิ ต่อสมั พนั ธก์ นั ตามสถานภาพ บทบาทและหน้าท่ี
เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชกิ ในสงั คม และทาใหส้ งั คมคงอย่สู บื ต่อไป สถาบนั ทางสงั คมทส่ี าคญั
ประกอบดว้ ย สถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั เศรษฐกจิ และสถาบนั การเมอื งการ
ปกครอง เมอ่ื สถาบนั ทางสงั คมดงั กล่าวทาหน้าทไ่ี ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพจะทาใหส้ งั คมมคี วามมนั่ คง และ
เจรญิ เตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื

ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวงั

๑. รแู้ ละเขา้ ใจความหมายและองคป์ ระกอบของสงั คมมนุษยแ์ ละสาเหตุทม่ี นุษยอ์ ยรู่ ว่ มกนั เป็นสงั คม มที ศั นคติ
ทด่ี ตี ่อการอยรู่ ว่ มกนั เป็นสงั คม



๒. รแู้ ละเขา้ ใจความหมายและองคป์ ระกอบโครงสรา้ งทางสงั คมทจ่ี ะทาใหส้ งั คมมคี วามสงบสขุ มนั่ คงและ

เจรญิ รุ่งเรอื ง

๓. รแู้ ละเขา้ ใจความหมายสถาบนั ทางสงั คมทส่ี าคญั เหน็ ความสาคญั ของการปฏบิ ตั ติ นตามแบบอย่าง

พฤตกิ รรมของสถาบนั ทางสงั คม

๔. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

๕. ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้

ปฐมนิ เทศ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั และระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการเรยี น
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑
๑. สงั คมมนุษย์
๒. โครงสรา้ งทางสงั คม
๓. สถาบนั ทางสงั คมทส่ี าคญั

กิจกรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงท่ี ๑

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน
๑. ครพู ดู คุยกบั นกั เรยี น ถงึ ลกั ษณะเน้อื หารายวชิ า

ขนั้ สอน

๒. นกั เรยี นฟงั คาชแ้ี จงสงั เขปรายวชิ า หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม และการวดั ประเมนิ ผล
๓. เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นไดซ้ กั ถามขอ้ ปญั หา รวมทงั้ แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั รายวชิ าน้ี
๔. นกั เรยี นทาแบบทดสอบ

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

๕. นกั เรยี นสลบั กนั ตรวจแบบทดสอบ หรอื ใหต้ รวจแบบทดสอบดว้ ยตนเองเพอ่ื ทดสอบความซอ่ื สตั ย์
โดยดเู ฉลยจากแผ่นใส เสรจ็ แลว้ สง่ ครู



๖. ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี โดยครชู แ้ี จงวธิ กี ารบนั ทกึ ความดี ในแต่ละสปั ดาหใ์ หน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี
ตามความจรงิ เม่อื บนั ทกึ เสรจ็ แลว้ ใหร้ วมจานวนขอ้ ทน่ี กั เรยี นปฏบิ ตั ไิ ปแสดงลงในกราฟ นกั เรยี นจะเหน็
พฒั นาการความดขี องตนเอง

๗. ครชู แ้ี จงเมอ่ื นกั เรยี นจบวชิ าแลว้ นกั เรยี นจะไดป้ ระกาศนยี บตั รทา้ ยเลม่ โดยครจู ะเป็นผลู้ งนามดว้ ย
ตนเอง ประกาศนยี บตั รน้จี ะเป็นเคร่อื งกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นตงั้ ใจทาความดี และใหน้ กั เรยี นเกบ็
ประกาศนยี บตั รไวใ้ นแฟ้มสะสมผลงานต่อไป

ชวั่ โมงท่ี ๒

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

๑. ครพู ดู คุยกบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั คากล่าวทว่ี า่ “มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม” นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ ราย
๒. ครสู รปุ ความหมายของคาวา่ สงั คมมนุษย์ และองคป์ ระกอบของสงั คมมนุษย์
๓. ครแู ละนกั เรยี น สรุปถงึ สาเหตุ ทม่ี นุษยอ์ ย่รู ่วมกนั เป็นสงั คม

ขนั้ สอน

๔. ครอู ธบิ ายความหมายของโครงสรา้ งทางสงั คม และองคป์ ระกอบทางสงั คม
๕. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั แสดงความเหน็ เกย่ี วกบั สถาบนั ทางสงั คมทส่ี าคญั

ขนั้ สรปุ และประยกุ ต์

๖. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั หน้าทข่ี องสถาบนั ทางสงั คม
๗. ใหน้ กั เรยี นทาคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ และใบงาน
๘. ครเู ฉลยคาตอบทถ่ี ูกตอ้ ง จากแผน่ ใส
๙. ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม

หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชอ่ื เรยี นในรายวชิ า
๓. บนั ทกึ ความดี



การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครอ่ื งมอื วดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยนกั เรยี น)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนงั สอื เรยี นวชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น

ร่วมกนั ประเมนิ
๗. บนั ทกึ ความดี

เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถอื วา่ ผ่านการประเมนิ
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ า่ น คอื พอใช้ (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๖. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ

ตามสภาพจรงิ
๗. การบนั ทกึ ความดไี ม่มเี กณฑ์ ให้นักเรยี นบนั ทกึ ตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบนั ทกึ ความดดี ว้ ยการนาขอ้ มูลบนั ทกึ ความดใี นแต่ละครงั้ มาเขยี นกราฟแสดงจะเหน็
พฒั นาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อ่ี ย่ดู า้ นหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี



แบบประเมินผลการเรียนร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สุด

๑. เพราะเหตุใดมนุษยต์ อ้ งรวมกลุ่มเป็นสงั คม

ก. เพอ่ื สรา้ งวฒั นธรรม ข. เพราะมนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม

ค. เพอ่ื ใหอ้ ย่รู อดปลอดภยั ง. เพอ่ื ใหเ้ ป็นมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์

จ. เพราะตอ้ งการสรา้ งสญั ลกั ษณ์มาใช้

๒. ส่วนต่างๆ ทป่ี ระกอบกนั เป็นระบบความสมั พนั ธข์ องมนุษยท์ ส่ี มาชกิ ไดย้ ดึ ถอื และใชเ้ ป็นแนวทางในการ

ปฏบิ ตั ริ ่วมกนั หมายถงึ อะไร

ก. โครงสรา้ งทางสงั คม ข. กลุ่มทางสงั คม

ค. สถาบนั ทางสงั คม ง. บรรทดั ฐานทางสงั คม

จ. การจดั ระเบยี บสงั คม

๓. ขอ้ ใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของสถาบนั ทางสงั คม

ก. กลุ่มสงั คม ข. หน้าท่ี

ค. แบบแผนพฤตกิ รรม ง. สญั ลกั ษณ์และคา่ นิยม

จ. ถาวรวตั ถุ

๔. ขอ้ ใดเป็นหน้าทข่ี องสถาบนั สงั คมทส่ี ถาบนั อน่ื ๆ ไม่สามารถทาหน้าทแ่ี ทนได้

ก. ใหก้ าเนิดสมาชกิ ใหม่ ข. ใหค้ วามปลอดภยั แก่สมาชกิ

ค. ทานุบารุงสมาชกิ ง. ใหก้ ารกนิ ดอี ยดู่ ี

จ. ถ่ายทอดวฒั นธรรม

๕. ขอ้ ใดจบั คสู่ ญั ลกั ษณ์กบั สถาบนั ไม่ถูกตอ้ ง

ก. บา้ น-สถาบนั ครอบครวั ข. โรงเรยี น-สถาบนั การศกึ ษา

ค. ไมก้ างเขน-สถาบนั ศาสนา ง. ดารา-สถาบนั นนั ทนาการ

จ. นกั รอ้ ง-สถาบนั สอ่ื สารมวลชน

๖. ขอ้ ใดเป็นเหตผุ ลพน้ื ฐานทท่ี าใหเ้ กดิ สถาบนั เศรษฐกจิ

ก. เพราะมนุษยต์ อ้ งการความมงั่ คงั่
ข. เพอ่ื จดั สรรและแบง่ ปนั ทรพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจากดั

ค. เพอ่ื ใหส้ งั คมเกดิ ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย

ง. เพอ่ื สรา้ งสงิ่ ยดึ เหน่ียวจติ ใจ

จ. เพอ่ื กระจายขอ้ มลู ขา่ วสาร

๗. “ศาล” จดั อย่ใู นสถาบนั ในขอ้ ใด

ก. สถาบนั ครอบครวั ข. สถาบนั เศรษฐกจิ

ค. สถาบนั การเมอื งการปกครอง ง. สถาบนั การศกึ ษา

จ. สถาบนั สอ่ื สารมวลชน



๘. ขอ้ ใดไมจ่ ดั เป็นหนา้ ทข่ี องสถาบนั การเมอื งการปกครอง

ก. รกั ษาความมนั่ คงของชาติ ข. รกั ษากฎเกณฑข์ องสงั คม

ค. บาบดั ทกุ ข์ บารงุ สุข ง. พฒั นาคณุ ภาพของประชาชน

จ. สรา้ งสง่ิ ยดึ เหน่ียวจติ ใจ

๙. ขอ้ ใดไมจ่ ดั เป็นกลุ่มคนในสถาบนั สอ่ื สารมวลชน

ก. ผปู้ ระกาศขา่ ว ข. นกั หนงั สอื พมิ พ์

ค. นกั จดั รายการวทิ ยุ ง. นกั รอ้ ง นกั แสดง

จ. ช่างภาพหนงั สอื พมิ พ์

๑๐. ขอ้ ใดเป็นการแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถาบนั เศรษฐกจิ กบั สถาบนั การเมอื งการปกครอง

ก. รฐั บาลประกาศลอยตวั คา่ เงนิ บาท

ข. ศาลตดั สนิ จาคกุ รฐั มนตรี

ค. ธนาคารงดปล่อยเงนิ กใู้ หก้ บั บคุ คลบางอาชพี

ง. ตารวจกวดขนั การเขา้ เมอื งของคนต่างดา้ ว

จ. กองทพั ตรงึ กาลงั บรเิ วณด่านชายแดน

๑๑. วตั ถุประสงคห์ ลกั ของทกุ ศาสนาทเ่ี หมอื นกนั คอื สง่ิ ใด

ก. เพ่อื ประเทศชาตมิ คี วามมนั่ คง เขม้ แขง็

ข. เพ่อื สรา้ งฐานอานาจ พลงั และความเป็นผนู้ า

ค. สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจอนั ดี มสี นั ติ ขจดั ความแตกรา้ วระหวา่ งมนุษยชาติ

ง. สง่ เสรมิ หลกั ประชาธปิ ไตย สทิ ธิ เสรภี าพ

จ. สรา้ งศรทั ธาใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ

๑๒. ขอ้ ใดใหค้ วามหมายของคาว่า “ศาสนา” ไมถ่ กู ต้อง

ก. ลทั ธคิ วามเช่อื ของมนุษย์ ข. คาสอน ขอ้ บงั คบั

ค. ความเป็นใหญ่ในแผน่ ดนิ ง. บุญ บาป ปรมตั ถ์

จ. ชวี ติ หลงั ความตาย

๑๓. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ กาเนดิ ของศาสนาไม่ถกู ต้อง

ก. ความเช่อื เรอ่ื งผี วญิ ญาณ ข. ความเชอ่ื เร่อื งไสยศาสตร์ การบชู ายญั

ค. ความแปรผนั ของธรรมชาติ ง. ความตอ้ งการเป็นผนู้ าในสงั คม

จ. ความเช่อื ของบรรพบุรษุ

๑๔. จากคากล่าวทว่ี ่า “ผใู้ ดทาชวั่ ในทแ่ี จง้ จะถูกมนุษยล์ งโทษ ผใู้ ดทาชวั่ ในทล่ี บั จะถกู เทวดาลงโทษ” ไม่มี

ความเกย่ี วขอ้ งกบั ความเชอ่ื เรอ่ื งใด

ก. นรก–สวรรค์ ข. บญุ –บาป
ง. ภพปจั จบุ นั –ภพในชาตหิ น้า
ค. เทวดา–ซาตาน

จ. ไสยศาสตร-์ คาถาอาคม



๑๕. “สงั คมไทยเป็นสงั คมแหง่ เมอื งพทุ ธ” จากคากล่าว น้แี สดงถงึ ความสาคญั ของศาสนาประการใด

ก. เป็นสง่ิ ยดึ เหน่ยี วจติ ใจ ข. เป็นเคร่อื งมอื สรา้ งความสามคั คี

ค. เป็นมรดกของสงั คม ง. เป็นเคร่อื งหมายของสงั คม

จ. เป็นวฒั นธรรม

๑๖. การทาบญุ ตกั บาตร ไหวพ้ ระ บรรพชา อปุ สมบทเป็นตวั อย่างของความสาคญั ทางศาสนาในแงใ่ ด

ก. เป็นบรรทดั ฐานของสงั คม

ข. เป็นพน้ื ฐานของขนบธรรมเนยี มประเพณี

ค. เป็นมรดกของสงั คม

ง. เป็นเคร่อื งขดั เกลาสมาชกิ ของสงั คม

จ. เป็นพธิ กี รรม



๑๗. ศาสนามอี ทิ ธพิ ลในการกอ่ กาเนิดสง่ิ ใด

ก. พธิ กี รรม ข. ศลิ ปกรรม

ค. ประเพณี ง. ถูกทกุ ขอ้

จ. วฒั นธรรม

๑๘. ศาสนาใดเป็นศาสนาประเภทเทวนิยม

ก. ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ ชนิ โต ข. ศาสนาพุทธ พราหมณ์-ฮนิ ดู

ค. ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ ยวิ ง. ครสิ ต์ อสิ ลาม พราหมณ์-ฮนิ ดู

จ. ถกู ทุกขอ้

๑๙. ศาสนาใดเป็นศาสนาอเทวนิยม

ก. ศาสนาเชน ศาสนาพทุ ธ ข. ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู

ค. ศาสนาเชน ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ง. ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์

จ. ถกู ทกุ ขอ้

๒๐. ใครใชห้ ลกั การของศาสนาในการดาเนินชวี ติ ไดด้ ที ส่ี ดุ

ก. โสภาแบง่ เงนิ สว่ นหน่งึ จากคา่ ขนมหยอดใสก่ ระปุกทกุ วนั

ข. โสภณบรจิ าคเงนิ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบอุทกภยั

ค. โสพศิ โตเ้ ถยี งกบั เพ่อื นร่วมงานทต่ี กั เตอื นเรอ่ื งทเ่ี ธอมาทางานสาย

ง. โสฬสแบง่ อาหารใสป่ ิ่นโตไปกนิ ทท่ี างาน

จ. โสภลี างานเพ่อื ไปทาบญุ ทว่ี ดั

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรกู้ ่อนเรยี น/หลงั เรียน

๑ ค ๕ ข ๙ ง ๑๓ ง ๑๗ จ
๒ ก ๖ ข ๑๐ ก ๑๔ ง ๑๘ ง
๓ จ ๗ ค ๑๑ ค ๑๕ ง ๑๙ ก
๔ ค ๘ จ ๑๒ ค ๑๖ ข ๒๐ ข



๑๐

๑๑

๑๒

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ...............................................
(น.ส. พฒั นาภรณ์ พระสนุ นิ )
ผสู้ อน

๘๔ หน่วยท่ี -
สอนครงั้ ที่ ๑๙-๒๐
แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการที่ ๑๐ จานวน ๒ ชวั่ โมง

รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๕๐๑ วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม
ช่ือหน่วย/เรอ่ื ง -

ทบทวน
สอบกลางภาค

๘๕

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการที่ ๑๑ หน่วยที่ ๙
สอนครงั้ ที่ ๒๑-๒๒
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๕๐๑ วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม จานวน ๒ ชวั่ โมง
ช่ือหน่วย/เรอื่ ง หลกั ธรรมและหลกั ปฏบิ ตั ทิ างพระพทุ ธศาสนา

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทข่ี องพลเมอื งดี
และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ตี ามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื
๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ทถ่ี ูกตอ้ งดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทพ่ี ลเมอื งดี และหลกั ธรรม
ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การเป็นพลเมอื งดี

สาระสาคญั

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา หรอื คาสอนทางพระพทุ ธศาสนาปรากฏอยใู่ นพระไตรปิฎกมอี ยู่

เป็นจานวนมาก แต่หลกั ธรรมทม่ี คี วามสาคญั มากทส่ี ดุ ทางพระพุทธศาสนา คอื อรยิ สจั ๔

สว่ นหลกั ปฏบิ ตั ทิ างพระพทุ ธศาสนา คอื ไม่ทาความชวั่ ทงั้ ปวง ทาแต่ความดี ทาจติ ของตนใหผ้ อ่ งใส

ทงั้ หมดเรมิ่ ตน้ ทก่ี ารสวดมนต์ และทาสมาธิ

ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั

๑. อธบิ ายหลกั ธรรมสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาได้

๒. สามารถสวดมนตภ์ าษาบาลแี ลว้ แปลเป็นภาษาไทยได้

๓. สามารถกลา่ วคาแผเ่ มตตาใหท้ งั้ ตนเองและผอู้ ่นื ได้

๔. ปฏบิ ตั วิ ธิ กี ารบรหิ ารจติ ตามหลกั พระพุทธศาสนาได้

๕. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ

๕. ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

๘๖

สาระการเรยี นรู้

๑. หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
๒. ทุกข(์ ธรรมทค่ี วรรเู้ ท่าทนั )
๓. สมุทยั (ธรรมทค่ี วรละ)
๔. นิโรธ (ธรรมทค่ี วรบรรลุ)
๕. มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ )
๖. หลกั ปฏบิ ตั ทิ างพระพทุ ธศาสนา

กิจกรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงท่ี ๑

๑. ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั ยกตวั อย่างหลกั ธรรมสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาทส่ี ามารถนาไปปรบั ใชใ้ น
ชวี ติ จรงิ

ขนั้ สอน
๒. นกั เรยี นจดั กลุม่ อภปิ รายยอ่ ย ๔ กลมุ่ ตามหวั ขอ้ ดงั น้ี

๑) กล่มุ ท่ี ๑ ศกึ ษาเรอ่ื งทุกข์
๒) กล่มุ ท่ี ๒ ศกึ ษาเร่อื งสมุทยั
๓) กลุม่ ท่ี ๓ ศกึ ษาเร่อื งนโิ รธ
๔) กล่มุ ท่ี ๔ ศกึ ษาเร่อื งมรรค
๓. แต่ละกลุ่มศกึ ษาเน้อื หาจากหนงั สอื เรยี นและอภปิ รายวเิ คราะหค์ ุณธรรมทค่ี วรประยุกตใ์ ชเ้ ป็น
แบบอย่าง
๔. นกั เรยี นออกมาเสนอผลงานกลุ่ม ครสู งั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์
๕. นกั เรยี นอภปิ รายเพ่อื หาขอ้ สรุปรว่ มกนั
๖. นกั เรยี นทาแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรแู้ ละใบงาน ตรวจแบบทดสอบและตรวจใบงานดว้ ย
ตนเองเพ่อื ทดสอบความซอ่ื สตั ย์
๗. ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี และนาผลการบนั ทกึ ความดไี ปพลอ็ ตกราฟ เพอ่ื ดพู ฒั นาการความดขี อง
ตนต่อไป

๘๗

ชวั่ โมงท่ี ๒
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน
๑. ครูและนักเรียนเล่าถึงการเข้าไปฝึกจิตในวดั หรอื สถานธรรมต่างๆ ซ่ึงการฝึกจิตให้มีสมาธิ ไม่
วอกแวกหวนั่ ไหว เป็นภาวะทจ่ี ติ แนบแน่นอยกู่ บั สงิ่ ใดสงิ่ หน่ึงนานๆ เป็นภาวะทจ่ี ติ มคี ุณภาพและสมรรถภาพ ซง่ึ
มลี กั ษณะสาคญั คอื แขง็ แรง มพี ลงั ราบเรยี บ สงบ สดใส เบกิ บาน อ่อนโยนไม่กระด้าง ไม่เครยี ด ไม่หวนั่ ไม่ขุ่นมวั
ไม่สบั สน ไม่เร่ารอ้ นกระวนกระวาย จติ ท่มี ภี าวะเช่นน้ี ทางพระพุทธศาสนา ถอื ว่า “เป็นจติ ท่เี หมาะแก่การใช้
งาน” จะทาการสง่ิ ใดยอ่ มสาเรจ็ หรอื บรรลุวตั ถุประสงค์
๒. นกั เรยี นยกตวั อย่างการบรหิ ารจติ โดยการตงั้ สมาธิ โดยทวั่ ไปมี ๒ ประเภท ไดแ้ ก่

(๑) สมาธทิ ม่ี โี ดยธรรมชาติ เช่น เม่อื อ่านหนงั สอื ใจจะจดจ่ออยู่กบั เร่อื งทอ่ี ่าน มคี วามสุขเพลดิ เพลนิ
สมาธชิ นิดน้เี ป็นสมาธทิ ม่ี โี ดยธรรมชาติ แต่จะมหี รอื เกดิ ขน้ึ กเ็ ม่อื ตงั้ ใจเอาใจจดจ่อ เมอ่ื เลกิ ตงั้ ใจสมาธกิ จ็ ะไมม่ ี

(๒) สมาธทิ ต่ี ้องพฒั นา คอื สมาธทิ เ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั ิตามวธิ ที ไ่ี ดร้ บั จากการฝึก สมาธชิ นิดน้ีเม่อื
ฝึกฝนแลว้ จะมพี ลงั มากกว่าเดมิ สามารถนาไปใชใ้ นกจิ การต่างๆ ในชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ขนั้ สอน (วิธีสอนแบบ Jigsaw)
๓. ครูอธบิ ายเน้ือหาการบรหิ ารจิตโดยใช้ส่อื วีดิทัศน์เปิดประกอบการเรยี น เพ่ือส่อื ความหมายง่ายข้นึ
โดยวธิ บี รหิ ารจติ ตามหลกั พระพุทธศาสนา วธิ บี รหิ ารจติ มีหลายวธิ ี ขน้ึ อยู่กบั แต่ละบุคคลว่าจะเลอื กใช้วธิ ใี ด
เชน่ เดยี วกบั การบรหิ ารร่างกาย บางคนอาจจะเลอื กวธิ อี อกกาลงั กายอยา่ งชา้ ๆ เช่น เดนิ ราตะบอง โยคะ แต่บางคน
อาจเหมาะกบั วธิ อี อกกาลงั อย่างเรว็ ๆ เช่น วง่ิ แอโรบกิ
๔ ครอู ธบิ ายและสาธติ การสวดมนต์ และการสวดมนตแ์ ปล
๕. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นตามความเหมาะสม ปฏบิ ตั กิ ารสวดมนตแ์ ปลตามทไ่ี ดเ้ รยี นมา
๖. นกั เรยี นจดั กลุ่มเป็นกลุ่มย่อยๆ กล่มุ ละ ๔ คน แต่ละกลุ่มศกึ ษาการบรหิ ารจติ การสวดมนต์ และการ
สวดมนตแ์ ปล

๘๘

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
๗. ครชู แ้ี นะใหน้ กั เรยี นเหน็ คณุ ค่า และความสาคญั ของการการแผเ่ มตตา คอื การตงั้ ความปรารถนาดี
หรอื แผค่ วามรสู้ กึ เป็นมติ รไปยงั เพ่อื นมนุษยแ์ ละอมนุษยท์ งั้ หลาย ไดแ้ ก่ เทวดา และสรรพสตั ว์ ใหม้ คี วามร่มเยน็
เป็นสุข การแผ่เมตตานิยมทาหลงั จากสวดมนต์หรอื เจรญิ สมาธเิ สรจ็ การแผ่เมตตาทจ่ี ะใหเ้ กดิ ผลต่อการพฒั นา
จติ ควรแผเ่ มตตาใหต้ นเองกอ่ น แลว้ จงึ แผเ่ มตตาใหผ้ อู้ น่ื
๗. ทดลองฝึกใหน้ กั เรยี นแผเ่ มตตาใหต้ นเอง และแผ่เมตตาใหค้ นอ่นื

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. ใบงาน
๓. บนั ทกึ ความดี
๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม

หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชอ่ื เขา้ เรยี น
๓. บนั ทกึ ความดี
๔. บนั ทกึ พฒั นาการความดี

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครอื่ งมือวดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนกั เรยี น)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

๘๙

๖. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น
ร่วมกนั ประเมนิ

๗. บนั ทกึ ความดี

เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ กุ ใบงานจงึ จะถอื วา่ ผ่านการประเมนิ
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ า่ น คอื พอใช้ (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๖. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ

ตามสภาพจรงิ
๗. การบนั ทึกความดไี ม่มเี กณฑ์ ให้นักเรยี นบนั ทกึ ตามสภาพจรงิ แต่นักเรยี นจะสามารถทราบ

ผลการบนั ทกึ ความดดี ว้ ยการนาขอ้ มลู บนั ทกึ ความดใี นแต่ละครงั้ มาเขยี นกราฟแสดงจะเหน็
พฒั นาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อ่ี ยดู่ า้ นหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรยี นทาบนั ทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

๙๐

แบบประเมินผลการเรยี นร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสดุ
๑. ขอ้ ใดแสดงวา่ ท่านขาดสมาธิ

ก. จติ จดจอ่ กบั การลอกการบา้ นเพอ่ื น ข. ใจเหม่อลอยขณะเรยี นหนงั สอื

ค. สนุกเพลดิ เพลนิ กบั การอา่ นหนงั สอื ง. เลน่ เกมคอมพวิ เตอรอ์ ย่างสนุกสนาน
จ. อา่ นนวนยิ ายพรอ้ มฟงั เพลงจากหฟู งั

๒. ถา้ พบความทุกข์ ท่านจะคดิ ถงึ สง่ิ ใดเป็นอนั ดบั แรกตามหลกั อรยิ สจั ๔

ก. การดบั ทกุ ข์ ข. สาเหตุแห่งความทกุ ข์

ค. แนวทางการดบั ทุกข์ ง. การแกป้ ญั หาความทกุ ข์

จ. ปรกึ ษาพระสงฆ์

๓. การรเู้ ทา่ ทนั กฎธรรมชาติ คอื เกดิ ขน้ึ ตงั้ อยู่ ดบั ไป เป็นวธิ คี ดิ แบบใด

ก. แบบสามญั ลกั ษณะ ข. แบบอรยิ สจั ๔

ค. แบบเป็นอยใู่ นขณะปจั จบุ นั ง. วภิ ชั ชวาท

จ. แบบขนั ธ์ ๕

๔. ขอ้ ใดคอื “สงั ขาร” ในขนั ธ์ ๕

ก. ร่างกายและพฤตกิ รรมทงั้ หมดของร่างกาย

ข. การกาหนดรเู้ พ่อื แยกแยะกายและจติ

ค. ประสาทสมั ผสั ต่างๆ ทางตา หู จมกู ล้นิ กาย

ง. แรงจงู ใจทผ่ี ลกั ดนั ใหม้ นุษยก์ ระทาการอยา่ งใดอย่างหน่งึ

จ. รา่ งกายและจติ เป็นหน่งึ เดยี วกนั

๕. ขอ้ ใดคอื แก่นแทข้ องศาสนา

ก. การใหค้ าสอนทเ่ี ป็นแนวทางการดาเนินชวี ติ

ข. การใหค้ าอธบิ ายความเป็นจรงิ สงู สดุ ของชวี ติ และโลก

ค. การใหค้ าอธบิ ายและคาสอนเกย่ี วกบั ความดคี วามชวั่

ง. การใหค้ าสอนเพ่อื เป็นทพ่ี ง่ึ ทางใจใหพ้ น้ จากความกลวั

จ. การทาจติ ใจใหส้ งบ

๙๑

๖. สง่ิ ใดถอื เป็นตวั แทนของพระพุทธเจา้

ก. พระพทุ ธรปู ข. พระเครอ่ื ง

ค. พระสงฆ์ ง. พระธรรมวนิ ยั

จ. ดอกบวั

๗. ขอ้ ใดคอื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการฝึกจติ และสมาธิ

ก. เกดิ ปญั ญา ข. เรยี นเกง่

ค. มคี วามจาดี ง. บรรลุญาณสงู สดุ

จ. ถูกทุกขอ้

๘. การบรหิ ารจติ หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. การทาใหจ้ ติ เกดิ สมาธิ ข. การทาใหจ้ ติ เกดิ ปญั ญา

ค. การทาใหจ้ ติ มสี ขุ ภาพดี ง. การทาใหจ้ ติ สงบ

จ. ถูกทกุ ขอ้

๙. การเจรญิ สมาธแิ บบอานาปานสตคิ วรอย่ใู นอริ ยิ าบถใดจงึ จะดที ส่ี ดุ

ก. อริ ยิ าบถใดกไ็ ดท้ ผ่ี อ่ นคลายมากทส่ี ดุ ข. นงั่ ขดั สมาธบิ นเกา้ อ้ี

ค. นงั่ ขดั สมาธบิ นพน้ื ง. นอนราบกบั พน้ื

จ. ยนื สงบน่งิ

๑๐. ผใู้ ดต่อไปน้ีไดป้ ระโยชน์จากการสวดมนตน์ ้อยทส่ี ุด

ก. แอนสวดมนตเ์ พ่อื บชู าพระพทุ ธเจา้

ข. โอสวดมนตเ์ พอ่ื ขอใหล้ ูกในทอ้ งมอี าการครบ ๓๒

ค. อว้ นสวดมนตเ์ พอ่ื ใหค้ ลายกงั วลเร่อื งสอบ

ง. ออ้ ยสวดมนตเ์ พอ่ื ขอใหถ้ ูกลอตเตอร่ี

จ. อ๊อดสวดมนตก์ ่อนนอนทุกวนั

เฉลยแบบประเมินผลการเรียนรกู้ ่อนเรียน/หลงั เรยี น

๑ ข๓ ก ๕ก๗ก ๙ก
๒ ข ๔ ก ๖ ง ๘ จ ๑๐ ง

๙๒

๙๓

๙๔

๙๕

๙๖

๙๗

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๙๘

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการที่ ๑๒ หน่วยท่ี ๑๐
สอนครงั้ ท่ี ๒๓-๒๔
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๕๐๑ วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม จานวน ๒ ชวั่ โมง
ชื่อหน่วย/เรอ่ื ง หน้าทช่ี าวพุทธและศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทข่ี องพลเมอื งดี
และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนิกชนทด่ี ตี ามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื
๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ทถ่ี ูกตอ้ งดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทพ่ี ลเมอื งดี และหลกั ธรรม
ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่อื การเป็นพลเมอื งดสี าระสาคญั

สาระสาคญั

หน้าท่ีชาวพุทธเป็นคุณสมบตั ิท่ีดีของชาวพุทธท่ีจะต้องสร้างศรทั ธาให้เกิดมีในตน เรยี นรู้ระเบียบ
ทถ่ี ูกตอ้ งในการไปวดั ตลอดจนการประกอบพธิ กี รรมและปฏบิ ตั ติ นทเ่ี หมาะสมต่อพระสงฆ์

ศาสนิกชนตวั อย่างในทน่ี ้ีประกอบดว้ ยพระภกิ ษุ และอบุ าสก ทท่ี าคุณประโยชน์ใหแ้ ก่พระพุทธศาสนา
และประเทศชาติ

ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั

๑. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนิกชนทด่ี ี

๒. วเิ คราะหข์ อ้ คดิ และแบบอยา่ งการดาเนินชวี ติ จากประวตั สิ าวก ศาสนิกชนตวั อย่าง

๓. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

๕. ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

๙๙

สาระการเรยี นรู้

๑. คุณสมบตั ทิ ด่ี ขี องชาวพุทธ
๒. การสรา้ งศรทั ธาใหเ้ กดิ มใี นตน
๓. การเรยี นรรู้ ะเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการไปวดั
๔. วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการประกอบพธิ กี รรมทว่ี ดั ในโอกาสต่างๆ
๕. วธิ ปี ฏบิ ตั ติ นทเ่ี หมาะสมต่อพระสงฆ์
๖. ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง

กิจกรรมการเรียนรู้

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน
๑. ครูกล่าวถงึ หน้าท่ชี าวพุทธ คอื สง่ิ ท่ชี าวพุทธทวั่ ไปต้องเรยี นรู้ เพ่อื จะไดท้ ราบและปฏิบตั ิตนได้
ถูกตอ้ ง
๒. นักเรียนยกตัวอย่างชาวพุทธท่ียกย่องนับถือในสงั คมมาเป็นตัวอย่าง เพ่ือเช่ือมโยงเข้าสู่เน้ือหา
การเรยี นการสอนต่อไป
ขนั้ สอน (วิธีสอนแบบ Jigsaw)
๓. ครอู ภปิ รายหน้าทช่ี าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ โดยเปิดวดี ที ศั น์งานอปุ สมบท และการทาบุญตกั บาตร
ของชาวพุทธโดยทวั่ ไป

๔. ครใู หน้ กั เรยี นจดั กลมุ่ เป็นกลุ่มยอ่ ย กลมุ่ ละ ๓-๔ คน เรยี กวา่ กลุ่มบา้ น ไปจนครบชนั้ เรยี น
๕. สมาชกิ ในกลมุ่ จะไดร้ บั ใบงานคนละ ๑ ใบ แลว้ ให้

• สมาชกิ แยกจบั กล่มุ เป็นกลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ ศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื งวธิ ปี ฏบิ ตั ติ นต่อพระสงฆ์
• สมาชกิ แยกจบั กล่มุ เป็นกลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญ ศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื งศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง วธิ ปี ฏบิ ตั ติ น
ในการประกอบพธิ กี รรมทว่ี ดั ในโอกาสต่างๆ
๖. สมาชกิ กล่มุ ผเู้ ชย่ี วชาญแต่ละกลุ่มตงั้ ประธานกลมุ่ และเลขานุการกลุ่มศกึ ษาคน้ ควา้ แลว้ บนั ทกึ ลงใน
ใบงานทไ่ี ดร้ บั แจก ประธานกลมุ่ สงั เกตพฤตกิ รรม

๑๐๐

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
๗. นกั เรยี นแต่ละคนในกลุ่มผเู้ ชย่ี วชาญ กลบั มายงั กลมุ่ บา้ นเดมิ ทต่ี นอยู่ แลว้ ผลดั กนั อภปิ รายขอ้ ทต่ี น

สรปุ มาแลว้ ใหเ้ พอ่ื นในกลมุ่ บา้ นฟงั ผลดั เปลย่ี นกนั พดู ตามลาดบั
๘. นกั เรยี น และครชู ว่ ยกนั สรปุ อกี ครงั้ หน่งึ และเลอื กศาสนกิ ชนตวั อยา่ งทค่ี นศรทั ธา พรอ้ มสรุป

เหตุผล
๙. นกั เรยี นทาใบงานและทาแบบประเมนิ ผล ครเู ฉลยใหน้ กั เรยี นตรวจเอง และประเมนิ ตนเองจาก

แบบสรุปผลการประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั และประเมนิ ตนเองจากแบบประเมนิ ตนเอง
เพอ่ื ทดสอบความซอ่ื สตั ย์
๑๐. ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. ใบงาน
๓. บนั ทกึ ความดี
๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. สอ่ื PowerPoint วชิ า หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม

หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่อื เขา้ เรยี นในวชิ า
๓. บนั ทกึ ความดี
๔. บนั ทกึ พฒั นาการความดี

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครอ่ื งมอื วดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู
๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยนกั เรยี น)

๑๐๑

๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น

ร่วมกนั ประเมนิ
๗. บนั ทกึ ความดี

เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถอื ว่าผา่ นการประเมนิ
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๖. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ

ตามสภาพจรงิ
๗. การบนั ทึกความดไี ม่มีเกณฑ์ ให้นักเรยี นบนั ทกึ ตามสภาพจรงิ แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบนั ทกึ ความดดี ว้ ยการนาขอ้ มูลบนั ทกึ ความดใี นแต่ละครงั้ มาเขยี นกราฟแสดงจะเหน็
พฒั นาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อ่ี ย่ดู า้ นหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรยี นทาบนั ทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

๑๐๒

แบบประเมินผลการเรยี นร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องที่สดุ

๑. ชาวพทุ ธทด่ี คี วรตงั้ มนั่ อยใู่ นศลี อย่างน้อยกข่ี อ้

ก. ๓ ขอ้ ข. ๕ ขอ้

ค. ๘ ขอ้ ง. ๑๐ ขอ้

จ. ถูกทกุ ขอ้

๒. บุคคลใดขาดคุณสมบตั กิ ารเป็นชาวพทุ ธทด่ี ี

ก. อรจริ าตงั้ มนั่ อยใู่ นศลี ๕

ข. อรนชิ าศรทั ธาพระรตั นตรยั อย่างมเี หตุผล

ค. อรปรยี าแสวงหาหลกั คาสอนอ่นื ทน่ี อกเหนอื พระพุทธศาสนา

ง. อรรมั ภาบรจิ าคเงนิ สรา้ งพระอโุ บสถหลงั ใหม่

จ. อจั ฉราทาบญุ ตกั บาตรทุกวนั หยดุ

๓. บคุ คลทเ่ี ป็นชาวพุทธทด่ี จี ะไดร้ บั การเรยี กขานอย่างไร

ก. อบุ าสกรตั น์ ข. อบุ าสกิ ารตั น์

ค. อุบาสกแกว้ ง. อุบาสกิ าแกว้

จ. ถูกทุกขอ้

๔. บุคคลใดรรู้ ะเบยี บการปฏบิ ตั ติ นในการไปวดั

ก. อภริ ดแี ต่งกายตามแฟชนั่ ทนั สมยั ไปวดั ข. อภนิ นั ทน์ าลกู อ่อนไปวดั

ค. อภริ กั ษเ์ ตรยี มผดั เผด็ งไู ปถวายเพล ง. อภสิ ทิ ธแิ์ ต่งกายชดุ ขาวไปวดั

จ. อภวิ ฒั น์สวมรองเทา้ แตะเขา้ โบสถ์

๕. การนมิ นตพ์ ระสงฆไ์ ปบา้ นควรทาอยา่ งไร

ก. นิมนตล์ ่วงหน้า ข. ไม่ตอ้ งนมิ นตล์ ว่ งหน้า

ค. ตอ้ งระบรุ ายการอาหารทจ่ี ะถวาย ง. ทาหนงั สอื เรยี นเชญิ นมสั การ

จ. ถกู ทุกขอ้

๖. ขณะทส่ี นทนากบั พระสงฆค์ วรปฏบิ ตั อิ ย่างไร

ก. พดู คุยตามปกตเิ หมอื นบุคคลทวั่ ไป

ข. ประนมมอื ไหวท้ กุ ครงั้ ทพ่ี ดู กบั ทา่ น

ค. นงั่ ตามสบาย

ง. ใชส้ รรพนามแทนตนเองว่า “ฉนั ” และใชส้ รรพนามแทนพระสงฆว์ ่า “คณุ ”

จ. เปลย่ี นอริ ยิ าบถเมอ่ื เมอ่ื ย

๗. การเวยี นเทยี นงดเวน้ ในวนั ใด

ก. วนั มาฆบชู า ข. วนั วสิ าขบชู า

ค. วนั อาสาฬหบชู า ง. วนั เขา้ พรรษา

จ. ถกู ทุกขอ้

๑๐๓

๘. ขอ้ ใดกลา่ วไดถ้ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั การเวยี นเทยี นในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา
ก. การเวยี นเทยี นใหเ้ วยี นไปทางขวามอื ของสถานทน่ี นั้
ข. การเวยี นเทยี นใหเ้ วยี นไปทางซา้ ยมอื ของสถานทน่ี นั้
ค. พระสงฆเ์ ดนิ ตามหลงั ขบวนประชาชนทม่ี าร่วมพธิ ี
ง. ไมจ่ าเป็นตอ้ งถอื ธปู เทยี น และดอกไมใ้ นการเวยี นเทยี น
จ. แต่งกายชดุ ขาวและถอดรองเทา้

๙. ขอ้ ใดกล่าวไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. การถวายภตั ตาหารไมจ่ าเป็นตอ้ งใชช้ อ้ นกลางตกั อาหาร
ข. หากผหู้ ญงิ จะประเคนของพระใหว้ างบนมอื ของพระสงฆไ์ ด้
ค. การกราบพระพุทธรปู ใหก้ ราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์
ง. การจดั อาสนะสาหรบั พระสงฆใ์ หจ้ ดั เสมอกบั เจา้ บา้ น
จ. การจดั ภตั ตาหารควรจดั อาหารรวมกนั

๑๐. ขอ้ ใดไมค่ วรปฏบิ ตั ติ ่อพระสงฆ์ เม่อื เหน็ พระสงฆเ์ ดนิ สวนมา
ก. หยดุ ใหท้ า่ นเดนิ ไปกอ่ น
ข. เดนิ สวนแซงหน้าท่านไป
ค. หลกี ทางใหท้ ่าน
ง. คอ้ มตวั ลงเลก็ น้อยเมอ่ื เดนิ ผา่ น
จ. ไหวอ้ ยา่ งสภุ าพ

เฉลยแบบประเมินผลการเรยี นรกู้ ่อนเรียน/หลงั เรยี น

๑ ข๓ จ ๕ก๗ ง ๙ค
๒ ค ๔ ง ๖ ข ๘ ก ๑๐ ข

๑๐๔

๑๐๕


Click to View FlipBook Version