The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดกรเรียนรู้ ม.3 ภูวนาท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภูวนาท สีราชเลา, 2024-02-06 10:46:07

แผนการจัดกรเรียนรู้ ม.3 ภูวนาท

แผนการจัดกรเรียนรู้ ม.3 ภูวนาท

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ศิลปะศึกษา 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชั้น มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียสตรีราชินูทิศ นายภูวนาท สีราชเลา รหัสประจำตัวนักศึกษา 62100103131 สาขาวิชา ทัศนศิลป์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา ED18502 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ศิลปะศึกษา 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชั้น มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียสตรีราชินูทิศ นายภูวนาท สีราชเลา รหัสประจำตัวนักศึกษา 62100103131 สาขาวิชา ทัศนศิลป์ การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา ED18502 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์ 3 ศ23101 ได้จัดทำขึ้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยยึดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหาในแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้แบ่งออกเป็น 6 หน่วนการเรียนรู้ ประกอบด้วย สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุ ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์การวิเคราะห์วิจารณ์งานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์การประเมินผลงานทัศนศิลป์เพื่อจัดนิทรรศการ และงาน ทัศนศิลป์กับวัฒนธรรมไทยและสากล ทั้งนี้สามารถสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน สามารถบูรณาการกับความรู้ในรายวิชาอื่น และเป็นการค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งข้อมูลในท้องถิ่น เพื่อให้ นักเรียนเห็นคุณค่าและมีความเข้าใจในศิลปะ วัฒนธรรม สืบสานเอกลักษณ์ความโดดเด่นในท้องถิ่นของตนอันเป็น จุดมุ่งหมายของการเรียนศิลปะ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาทัศนศิลป์ 3 จะเป็นประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและ ผู้สอน ที่จะนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะต่อไป


คำอธิบายรายวิชา รายวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา ศ23102 เวลา 44 ชั่วโมง จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ สร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท มีทักษะในการ ผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ รูปแบบเนื้อหา และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น หรือของศิลปิน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานทัตนศิลป์ และทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพนั้น ๆ เลือกงานทัตนศิลป์โดยใช้กณณ์ที่กำหนดขึ้นอย่าง เหมาะสมและนำไปจัดนิทรรศการ ศึกษาและเปรียบเทียบเกี่ยวกับงานทัตนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอเหมาะสม การวิเคราะห์ การ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมประยุกต์ใช้ในชีวิดประจำวัน มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 ศ 1.2 ม.3/1, 2 รวม 13 ตัวชี้วัด


กำหนดการสอนรายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เวลาเรียน 44 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายภูวนาท สีราชเลา ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวน (ชั่วโมง) รวม 1. สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุ ศ 1.1 ม.3/1 บรรยาย สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่ เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน ธาตุและหลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/2 ระบุและ บรรยายเทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/3 วิเคราะห์ และ บรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบในการสร้าง งานทัศนศิลป์ของตนเองให้มี คุณภาพ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็น เรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศน ธาตุและหลักการออกแบบ 1. ทำแผนผังความคิดใน งานทัศนศิลป์ โดยใช้ ทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ 2. สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยใช้ จุด 3. อธิบายความหมาย ของเส้น 4. วิธีการสังเกตเส้นใน ธรรมชาติ 5. การเรียนรู้เรื่อง การ ไล่น้ำหนักสีไม้และ สร้างสรรค์งานสีไม้ 6. การใช้หลักการ ออกแบบ ความเป็น เอกภาพ ความสมดุล จังหวะ ขนาดและ สัดส่วน ความกลมกลืน ความแตกต่าง และการ เน้น 7. ผลงานของศิลปินใน การสร้างงานทัศนศิลป์ 2 2 2 2 2 2 12


8. เทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ 2. ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/1 บรรยาย สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่ เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน ธาตุและหลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/4 มีทักษะใน การสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท ศ 1.1 ม.3/5 มีทักษะใน การผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการ สร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/6 สร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ จินตนาการเพื่อถ่ายทอด ประสบการณ์และจินตนาการ ศ 1.1 ม.3/9 สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆโดยใช้เทคนิคที่ หลากหลาย 1. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและ สากล 2. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและ สากล 3. การเขียนภาพ รูปแบบเหมือนจริง (Realism) 4. การใช้หลักการ ออกแบบในการสร้าง งานสื่อผสม 5. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ 2 มิติ 6. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ 3 มิติ 2 2 2 2 2 2 12 ๓. การวิเคราะห์ วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/8 วิเคราะห์ และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหา และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของ ตนเองและผู้อื่น หรือของศิลปิน 1. การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น 2. การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ศิลปินสากล 2 2 4


๔. วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงาน ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/10 ระบุอาชีพที่ เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์และ ทักษะที่จำเป็นในการประกอบ อาชีพนั้น ๆ ศ 1.2 ม.3/1 ศึกษาและ อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่ สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมการสร้าง บ้านเรือนไทย 2. ประเพณีไทย 3. อาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานศิลปะ 2 2 2 6 ๕. การประเมินผลงาน ทัศนศิลป์เพื่อจัด นิทรรศการ ศ 1.1 ม.3/11 เลือกงาน ทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนด ขึ้นอย่างเหมาะสมและนำไปจัด นิทรรศการ 1. เกณฑ์การประเมินผล งานทัศนศิลป์ 2 2 ๖. งานทัศนศิลป์กับ วัฒนธรรมไทยและสากล ศ 1.2 ม.3/1 ศึกษาและ อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่ สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ศ 1.2 ม.3/2 เปรียบเทียบ ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรม ไทยและสากล 1. จิตรกรรมฝาผนัง 2. ศิลปะสากล 2 2 4 สอบกลางภาค 2 สอบปลายภาค 2 รวม 44


ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชารายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ตามหลักสูตรโรงเรียนสตรีราชินูทิศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่2 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลา 44 ชั่วโมง ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคิด รวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยใช้ ทัศนธาตุ -ทัศนธาตุ -สร้างสรรค์งานจุด -สร้างสรรค์งานเส้น -การไล่น้ำหนักสี -หลักการออกแบบ -เทคนิค วิธีการใน การสร้างงาน ทัศนศิลป์ของศิลปิน ศ 1.1 ม.3/1 บรรยาย สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่ เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน ธาตุและหลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/2 ระบุและ บรรยายเทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/3 วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ สร้างงานทัศนศิลป์ของตนเอง ให้มีคุณภาพ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์สื่อความหมาย เป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 1. ทำแผนผังความคิดใน งานทัศนศิลป์ โดยใช้ ทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ 2. สร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยใช้ จุด 3. อธิบายความหมาย ของเส้น 4. วิธีการสังเกตเส้นใน ธรรมชาติ 5. การเรียนรู้เรื่อง การไล่ น้ำหนักสีไม้และ สร้างสรรค์งานสีไม้ 6. การใช้หลักการ ออกแบบ ความเป็น เอกภาพ ความสมดุล จังหวะ ขนาดและสัดส่วน ความกลมกลืน ความ แตกต่าง และการเน้น 7. ผลงานของศิลปินใน การสร้างงานทัศนศิลป์ 2 2 2 2 2 2 15


ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคิด รวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 8. เทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ 2 ทักษะในการสร้าง งานทัศนศิลป์ -ทัศนศิลป์ไทย -ทัศนศิลป์สากล -การเขียนภาพ รูปแบบเหมือนจริง ด้วยสีน้ำ -การสร้างงาน สื่อผสม -การสร้างงาน ทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ -การสร้างงาน ทัศนศิลป์แบบ 3 มิติ ศ 1.1 ม.3/1 บรรยาย สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่ เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน ธาตุและหลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/4 มีทักษะใน การสร้างงานทัศนศิลป์อย่าง น้อย 3 ประเภท ศ 1.1 ม.3/5 มีทักษะใน การผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ใน การสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/6 สร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ จินตนาการเพื่อถ่ายทอด ประสบการณ์และจินตนาการ ศ 1.1 ม.3/9 สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆโดยใช้เทคนิคที่ หลากหลาย 1. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและ สากล 2. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและ สากล 3. การเขียนภาพ รูปแบบเหมือนจริง (Realism) 4. การใช้หลักการ ออกแบบในการสร้าง งานสื่อผสม 5. การสร้างงาน ทัศนศิลป์ 2 มิติ 6.การสร้างงาน ทัศนศิลป์ 3 มิติ 2 2 2 2 2 2 15


ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคิด รวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 3 การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ของ ตนเองและผู้อื่น -การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ -การวิเคราะห์งาน ทัศนศิลป์ศิลปิน สากล ศ 1.1 ม.3/8 วิเคราะห์ และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหา และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของ ตนเองและผู้อื่น หรือของศิลปิน 1. การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น 2. การวิเคราะห์วิจารณ์ งานทัศนศิลป์ศิลปิน สากล 2 2 5 4 วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานทัศนศิลป์ -วัฒนธรรมการสร้าง บ้านเรือนไทย -ประเพณีไทย -อาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/10 ระบุอาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ และทักษะที่จำเป็นในการ ประกอบอาชีพนั้น ๆ ศ 1.2 ม.3/1 ศึกษาและ อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมการสร้าง บ้านเรือนไทย 2. ประเพณีไทย 3. อาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานศิลปะ 2 2 2 5 5 การประเมินผลงาน ทัศนศิลป์เพื่อจัด นิทรรศการ - เกณฑ์การ ประเมินผลงาน ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.3/11 เลือกงาน ทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนด ขึ้นอย่างเหมาะสมและนำไปจัด นิทรรศการ 1. เกณฑ์การประเมินผล งานทัศนศิลป์ 2 5 6 งานทัศนศิลป์กับ วัฒนธรรมไทยและ สากล -ตัวละครลายไทย -ศิลปะสากล ศ 1.2 ม.3/1 ศึกษาและ อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ศ 1.2 ม.3/2 เปรียบเทียบความแตกต่างของ 1. จิตรกรรมฝาผนัง 2. ศิลปะสากล 2 2 5


ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคิด รวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน งานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล


การวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อกำหนดน้ำหนักคะแนน ลำดับ ที่ ตัวชี้วัด ลำดับชั่วโมงที่สอน จำนวนชั่วโมงที่สอน คะแนนตัวชี้วัด คะแนนเก็บ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ (P) คุณลักษณะ (A) กลางภาค ปลายภาค (สามารถปรับปรุง/แก้ไข ให้สอดคล้องกับตารางหรือรายละเอียดการประเมินผลรายวิชาตามที่ สถานศึกษากำหนด)


กำหนดการสอน รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่2 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลา 44 ชั่วโมง วัน / เดือน /ปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จำนวนคาบ 25 ตุลาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง ทัศนธาตุ 2 1 พฤศจิกายน 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด 2 8 พฤศจิกายน 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น 2 15 พฤศจิกายน 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง การไล่น้ำหนักสี 2 22 พฤศจิกายน 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง หลักการออกแบบ 2 29 พฤศจิกายน 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดย ใช้ทัศนธาตุ เรื่อง เทคนิค วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ของ ศิลปิน 2 6 ธันวาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง ทัศนศิลป์ไทย 2 13 ธันวาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง ทัศนศิลป์สากล 2


20 ธันวาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง การเขียนภาพรูปแบบเหมือนจริงด้วยสีน้ำ 2 27 ธันวาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง การสร้างงานสื่อผสม 2 3 มกราคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ 2 10 มกราคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ เรื่อง งานทัศนศิลป์แบบ 3 มิติเพื่อถ่ายทอด จินตนาการ 2 17 มกราคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวิเคราะห์วิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น เรื่อง การวิเคราะห์วิจารณ์งานทัศนศิลป์ 2 24 มกราคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวิเคราะห์วิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น เรื่อง การวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ศิลปินสากล 2 31 มกราคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ เรื่อง วัฒนธรรมการสร้างบ้านเรือนไทย 2 7 กุมภาพันธ์ 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ เรื่อง ประเพณีไทย 2 14 กุมภาพันธ์ 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัฒนธรรม ประเพณี อาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ เรื่อง อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ 2 21 กุมภาพันธ์ 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การประเมินผลงาน ทัศนศิลป์เพื่อจัดนิทรรศการ 2


เรื่อง เกณฑ์การประเมินผลงานทัศนศิลป์ 28 กุมภาพันธ์ 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 งานทัศนศิลป์กับวัฒนธรรม ไทยและสากล เรื่อง ตัวละครลายไทย 2 6 มีนาคม 2566 12:10 – 14:00 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 งานทัศนศิลป์กับวัฒนธรรม ไทยและสากล เรื่อง ศิลปะสากล 2 รวม 20 วัน รวม 40 คาบ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม (Committee Work Method) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุ เวลา 12 ชั่วโมง เรื่อง ทัศนธาตุ เวลา 2 ชั่วโมง วิชา ทัศนศิลป์ (ศ 23102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นายภูวนาท สีราชเลา รหัสนักศึกษา 62100103131 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/1 บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของทัศนธาตุในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ได้ (K) 2.2 นักเรียนทำแผนผังความคิดในงานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุได้ (P) 2.3 นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียนการสอน (A) 3. สาระสำคัญ ทัศนธาตุเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในงานศิลปะและเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และอื่น ๆ ให้เกิดความของตามหลักการทางศิลปะ ทัศนธาตุประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา พื้นผิว บริเวณว่าง


4. สาระการเรียนรู้ ทำแผนผังความคิดในงานทัศนศิลป์ โดยใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 5. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสารการสร้างสรรค์ผลงานแสดงความรู้สึก 2) ความสามารถในการคิดการจำแนกสีในการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหาการปรับปรุงรูปแบบในการทำงานที่ไม่ยึดติดจากเดิม 6. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักการมีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม บูรณาการกับการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ บูรณาการกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………......................................................


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม (Committee Work Method)) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยแจ้งให้นักเรียนทราบ 2. ครูเตรียมสื่อ อุปกรณ์ ให้พร้อม 3. ครูเตรียมความพร้อมนักเรียน โดย 3.1 ครูเขียนจุด (.) บนกระดานแล้วสอบถามนักเรียนว่ารู้หรือไม่ว่าจุดเป็นจุดเริ่มต้นของทัศน ธาตุต่าง ๆ 3.2 ครูถามคำถามว่า นักเรียนเคยเห็นทัศนธาตุต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือไม่ แล้วร่วมกัน ยกตัวอย่าง 3.3 นักเรียนดูผลงานภาพวาดของศิลปินระดับโลก แล้ววิเคราะห์ว่าเห็นทัศนธาตุอะไรบ้างใน ภาพ ขั้นสอน 1. ครูยกป้ายภาพทัศนธาตุต่าง ๆ ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนบอกว่าเป็นทัศนธาตุใด 1) จุด คือทัศนธาตุที่เล็กที่สุด เป็นจุดกำเนิดทัศนธาตุอื่น ๆ 2) เส้น เกิดจากการเรียงตัวของจุด 3) รูปร่าง มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือความกว้างและความยาว จำแนกได้ดังนี้ รูปร่างเรขาคณิต รูปร่างสัญลักษณ์ รูปร่างธรรมชาติ รูปร่างอิสระ 4) รูปทรง มีลักษณะเป็น 3 มิติ คือความกว้าง ความยาว และความสูง จำแนกได้ดังนี้ รูปทรง เรขาคณิต รูปทรงธรรมชาติ รูปทรงอิสระ 5) สี เป็นทัศนธาตุที่เกิดจากปฏิกิริยาของสายตากับแสงที่ตกกระทบวัตถุ 6) น้ำหนักและแสงเงา เป็นการเติมสีขาวและสีดำลงในเนื้อสีต่าง ๆ เพื่อให้เกิดมิติ เกิดระยะไกล ใกล้ 7) พื้นผิว ผิวของงานทัศนศิลป์ที่ปรากฏให้เห็น ทำให้เกิดการรับรู้ต่างกัน 8) บริเวณว่าง บริเวณที่ไม่มีรูปปรากฏ 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน ทำกิจกรรมใบงานเรื่อง ทัศนธาตุ โดยให้นักเรียนสรุปความรู้ เรื่องทัศนธาตุเป็นแผนผังความคิด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 3. นักเรียนออกมานำเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม


ขั้นสรุป 1. นักเรียนสอบถามเพิ่มเติมในส่วนที่ไม่เข้าใจ 2. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความสำคัญของทัศนธาตุในการสร้างสรรค์ผลงาน 3. นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างถูกต้อง 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาทัศนศิลป์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ป้ายภาพทัศนธาตุ 3. ภาพวาดศิลปิน 4. ใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. อินเทอร์เน็ต 3. ครู


9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะของทัศน ธาตุในสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ได้ (K) 1. ประเมินประเมินการ ตอบคำถามในชั้นเรียน เรื่อง ทัศนธาตุ 1. แบบประเมินการตอบ คำถามในชั้นเรียน 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 2. นักเรียนทำแผนผัง ความคิดในงานทัศนศิลป์ โดยใช้ทัศนธาตุได้ (P) 1. ประเมินการทำใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ 1. ใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่น ในการเรียนการสอน (A) 1. สังเกตพฤติกรรมในชั้น เรียน 1. แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 ลงชื่อ……….………………………(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา )


10. บันทึกหลังสอน 10.1 ด้านความรู้ K(Knowledge) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….. 10.2 ด้านทักษะและปฏิบัติ P (Practice) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10.3 ด้านเจตคติหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ A (Attitude) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………..(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 11. ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง/หรือผู้ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายวัชรพงศ์ สิทธิมาตย์) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


12. ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายทองทวี ปัชชาดี) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 13. ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( นางมณีรัตน์ ศรีจันทร์) รองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 14. ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ/ผู้สังเกตการณ์สอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


แบบประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ ประเมิน 1 2 3 คะแนน 4 4 4 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (นายภูวนาท สีราชเลา)


เกณฑ์การประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน รายการประเมิน ระดับคะแนนให้คะแนน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. การวิเคราะห์ คำถาม บอกลักษณะของ ทัศนธาตุใน สิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ได้ ครบ ถูกต้อง บอกลักษณะของ ทัศนธาตุใน สิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ได้ ค่อนข้างครบ ถูกต้อง บอกลักษณะของ ทัศนธาตุใน สิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ได้ พอใช้ บอกลักษณะของ ทัศนธาตุใน สิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ น้อย 2. การแสดง ความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ถูกต้องชัดเจน แสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผลถูกต้อง ชัดเจนเป็นส่วน ใหญ่ แสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผลถูกต้อง ชัดเจนเป็น บางส่วน ไม่แสดงความ คิดเห็น 3. การใช้ภาษา ที่เหมาะสม เรียบเรียงเนื้อหาได้ ดีมากมีความ สละสลวย เลือกใช้ ภาษาได้เหมาะสม เข้าใจง่าย เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีเลือกใช้ภาษา ได้เหมาะสมเข้าใจ ง่าย เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีแต่มีความ บกพร่องในการ เลือกใช้คำในการ สื่อสาร เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีแต่มีความ บกพร่องมากใน การเลือกใช้คำใน การสื่อสาร ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 10-11 5-9 1-4 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (นายภูวนาท สีราชเลา)


แบบประเมินใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ 1 2 3 ประเมิน คะแนน 4 4 4 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ( นายภูวนาท สีราชเลา ) ครูผู้สอน


เกณฑ์การประเมินใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ประเด็นประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1.ทักษะ/กระบวนการปฏิบัติ กิจกรรมศิลปะ ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ มีการปรับแก้ใน บางส่วน ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ มีการปรับแก้หลาย จุด ไม่ปฏิบัติตามโจทย์ที่ กำหนดให้ 2.ทักษะ/กระบวนการคิด มีความคิด สร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้ครบถ้วน มีความคิดสร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้เกือบ สมบูรณ์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้บางส่วน ไม่สามารถ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้ 3.ทักษะ/กระบวนการปฏิบัติ กิจกรรมในชั้นเรียน มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายได้อย่าง สมบูรณ์ มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายได้อย่าง สมบูรณ์เป็น ส่วนมาก มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายใน บางส่วน ไม่มีส่วนร่วมในการ ทำงาน เกณฑ์การตัดสิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การผ่าน มีคะแนน อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป ผ่าน มีคะแนน พอใช้ ลงมา ไม่ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 10-11 5-9 1-4 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง


แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ชื่อกลุ่ม………..………………. คำสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด คำชี้แจง ให้ผู้สอนประเมินและใส่เครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม พฤติกรรม ลำดับที่ หัวข้อเรื่อง ความ ร่วมมือกัน การแสดง ความคิดเห็น ความตั้งใจ ในการ ทำงาน ทำงานเสร็จ ตามเวลา การนำเสนอ ผลงาน รวม ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒๐ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนร้อยละ ๘๐- ๑๐๐ ได้เกรด ๔ คะแนนร้อยละ ๗๕- ๗๙ ได้เกรด ๓.๕ คะแนนร้อยละ ๗๐- ๗๔ ได้เกรด ๓ คะแนนร้อยละ ๖๕- ๖๙ ได้เกรด ๒.๕ คะแนนร้อยละ ๖๐- ๖๔ ได้เกรด ๒ คะแนนร้อยละ ๕๕- ๕๙ ได้เกรด ๑.๕ คะแนนร้อยละ ๕๐- ๕๔ ได้เกรด ๑ คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐ ลงชื่อ……………………..…………….ผู้ประเมิน (……..…………………………………..) ………./………../.……….


แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ลำดับที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรม ความสนใจ การแสดง ความคิดเห็น การตอบ คำถาม การรับฟัง ความคิดเห็น ทำงาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒๐ ลงชื่อ……………………………….ผู้สังเกต (………………………….……) …………/…………/……….. เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้ คะแนนร้อยละ ๘๐- ๑๐๐ ได้เกรด ๔ คะแนนร้อยละ ๗๕- ๗๙ ได้เกรด ๓.๕ คะแนนร้อยละ ๗๐- ๗๔ ได้เกรด ๓ คะแนนร้อยละ ๖๕- ๖๙ ได้เกรด ๒.๕ คะแนนร้อยละ ๖๐- ๖๔ ได้เกรด ๒ คะแนนร้อยละ ๕๕- ๕๙ ได้เกรด ๑.๕ คะแนนร้อยละ ๕๐- ๕๔ ได้เกรด ๑ คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐ หมายเหตุ : ใช้แบบประเมินนี้ทุกแผนการจัดการเรียนรู้


ใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ คำชี้แจง : ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน เขียนแผนผังความคิด เรื่อง ทัศนธาตุทางศิลปะ พร้อมตกแต่งใบงาน ให้สวยงาม


เฉลยใบงาน เรื่อง ทัศนธาตุ คำชี้แจง : ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน เขียนแผนผังความคิด เรื่อง ทัศนธาตุทางศิลปะ พร้อมตกแต่งใบงาน ให้สวยงาม แนวคำตอบ/อยู่ในดุลยพินิจของครู


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ(Practice) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุ เวลา 12 ชั่วโมง เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด เวลา 2 ชั่วโมง วิชา ทัศนศิลป์ (ศ 23102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นายภูวนาท สีราชเลา รหัสนักศึกษา 62100103131 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/1 บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรียนเข้าใจความหมายของจุด (K) 2.2 นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยการใช้จุดได้ (P) 2.3 นักเรียนมีความร่วมมือในการเรียนการสอน (A) 3. สาระสำคัญ การนำจุดมาใช้ในงานทัศนศิลป์ 4. สาระการเรียนรู้ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ จุด


5. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสารการสร้างสรรค์ผลงานแสดงความรู้สึก 2) ความสามารถในการคิดการจำแนกสีในการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหาการปรับปรุงรูปแบบในการทำงานที่ไม่ยึดติดจากเดิม 6. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักการมีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม บูรณาการกับการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ บูรณาการกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………......................................................


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Practice)) ขั้นเตรียม 1. ครูกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยแจ้งให้นักเรียนทราบ 2. ครูเตรียมสื่อ อุปกรณ์ ให้พร้อม ขั้นดำเนินการ 1. นักเรียนตอบคำถาม 1.1 นักเรียนคิดว่า จุด เพียงจุดเล็ก ๆ สามารถสร้างสรรค์ผลงานให้ออกมาดูสร้างสรรค์และ ยิ่งใหญ่ได้หรือไม่ 1.2 นักเรียนคิดว่าจุดเกิดจากอะไร และเกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์อย่างไร แนวคำตอบ: จุด เกิด จากการ กด จิ้ม แต้ม ให้เป็นรอยกลม ๆ เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ คือ เป็นวิธีการสร้างสรรค์ผลงานรูปแบบหนึ่ง 1.3 จุดเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ จุดที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และจุดที่มนุษย์สร้างขึ้น 1.3.1 จุดตามธรรมชาติ ได้แก่ ก้อนหิน ทราย เมล็ดพืช ดิน รา 1.3.2 จุดที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ ภาพวาด 2. ครูนำภาพตัวอย่างงานศิลปินที่ทำงานเกี่ยวกับการใช้ จุด มาให้นักเรียนดู ผลงานศิลปิน ยาโยอิ คุ ซามะ แล้วให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ภาพ 3. นักเรียนร่วมบรรยายเรื่องจุดที่เกิดขึ้นในธรรมชาติและเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้นร่วมกับครู ซึ่งมี ความสำคัญต่อการถ่ายทอดความคิด จินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยครูให้ความรู้เสริมที่ นักเรียนไม่เข้าใจหรือสรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4. นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานโดยการใช้จุดในใบงานที่ 1 โดยใช้ปากกา สีเมจิก ดินสอจิ้มให้เกิดเป็น รูปภาพ ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง จุด และครูอธิบายเพิ่มเติมสำหรับ นักเรียนที่ยังไม่เข้าใจ 2. นักเรียนนำเรื่องจุดมาบูรณาการกับวิชาการเรียนรู้ต่าง ๆ ใบการตกแต่งใบงานวิชาต่าง ๆ และ ตกแต่งห้องเรียน หรือ บอร์ดโรงเรียนได้ ขั้นประเมินผล 1. ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในขณะทำใบงาน


8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาทัศนศิลป์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ภาพงานศิลปิน ยาโยอิ คุซามะ 3. ใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. อินเทอร์เน็ต 3. ครู 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนเข้าใจ ความหมายของจุด (K) 1. ประเมินประเมินการ ตอบคำถามในชั้นเรียน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด 1. แบบประเมินการตอบ คำถามในชั้นเรียน 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 2. นักเรียนสามารถ สร้างสรรค์ผลงานโดย การใช้จุดได้ (P) 1. ประเมินการทำใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด 1. ใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่น ในการเรียนการสอน (A) 1. สังเกตพฤติกรรมในชั้น เรียน 1. แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 ลงชื่อ……….………………………(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา )


10. บันทึกหลังสอน 10.1 ด้านความรู้ K(Knowledge) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….. 10.2 ด้านทักษะและปฏิบัติ P (Practice) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10.3 ด้านเจตคติหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ A (Attitude) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………..(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 11. ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง/หรือผู้ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายวัชรพงศ์ สิทธิมาตย์) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


12. ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายทองทวี ปัชชาดี) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 13. ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( นางมณีรัตน์ ศรีจันทร์) รองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 14. ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ/ผู้สังเกตการณ์สอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


แบบประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ ประเมิน 1 2 3 คะแนน 4 4 4 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (นายภูวนาท สีราชเลา)


เกณฑ์การประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน รายการประเมิน ระดับคะแนนให้คะแนน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. การวิเคราะห์ คำถาม บอกลักษณะของ จุดในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ได้ครบ ถูกต้อง บอกลักษณะของ จุดในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ได้ค่อนข้างครบ ถูกต้อง บอกลักษณะของ จุดในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ได้พอใช้ บอกลักษณะของ จุดในสิ่งแวดล้อม และงาน ทัศนศิลป์น้อย 2. การแสดง ความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ถูกต้องชัดเจน แสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผลถูกต้อง ชัดเจนเป็นส่วน ใหญ่ แสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผลถูกต้อง ชัดเจนเป็น บางส่วน ไม่แสดงความ คิดเห็น 3. การใช้ภาษา ที่เหมาะสม เรียบเรียงเนื้อหาได้ ดีมากมีความ สละสลวย เลือกใช้ ภาษาได้เหมาะสม เข้าใจง่าย เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีเลือกใช้ภาษา ได้เหมาะสมเข้าใจ ง่าย เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีแต่มีความ บกพร่องในการ เลือกใช้คำในการ สื่อสาร เรียบเรียงเนื้อหา ได้ดีแต่มีความ บกพร่องมากใน การเลือกใช้คำใน การสื่อสาร ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 10-11 5-9 1-4 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (นายภูวนาท สีราชเลา)


แบบประเมินใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ 1 2 3 ประเมิน คะแนน 4 4 4 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ( นายภูวนาท สีราชเลา ) ครูผู้สอน


เกณฑ์การประเมินใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ประเด็นประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1.ทักษะ/กระบวนการปฏิบัติ กิจกรรมศิลปะ ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ มีการปรับแก้ใน บางส่วน ความเรียบร้อย สวยงามความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนและ สร้างสรรค์ผลงาน ตามโจทย์ที่ กำหนดให้ มีการปรับแก้หลาย จุด ไม่ปฏิบัติตามโจทย์ที่ กำหนดให้ 2.ทักษะ/กระบวนการคิด มีความคิด สร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้ครบถ้วน มีความคิดสร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้เกือบ สมบูรณ์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้บางส่วน ไม่สามารถ คิด วิเคราะห์ จุดประสงค์และ เนื้อหาได้ 3.ทักษะ/กระบวนการปฏิบัติ กิจกรรมในชั้นเรียน มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายได้อย่าง สมบูรณ์ มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายได้อย่าง สมบูรณ์เป็น ส่วนมาก มีส่วนร่วมในการ ตอบคำถาม ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมายใน บางส่วน ไม่มีส่วนร่วมในการ ทำงาน เกณฑ์การตัดสิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑ์การผ่าน มีคะแนน อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป ผ่าน มีคะแนน พอใช้ ลงมา ไม่ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 10-11 5-9 1-4 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง


แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ 1 2 3 4 ประเมิน คะแนน 3 3 3 3 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ( นายภูวนาท สีราชเลา ) ครูผู้สอน


ใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด ชื่อ........................................นามสกุล..................................เลขที่..........ชั้น................... คำชี้แจง : ให้นักเรียนวาดภาพโดยการใช้ “จุด” สร้างสรรค์ผลงาน เฉลยใบงาน


เรื่อง สร้างสรรค์งานจุด คำชี้แจง : ให้นักเรียนวาดภาพโดยการใช้ “จุด” สร้างสรรค์ผลงาน ที่มา : https://www.bing.com แนวคำตอบ/อยู่ในดุลยพินิจของครู


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุ เวลา 12 ชั่วโมง เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น เวลา 2 ชั่วโมง วิชา ทัศนศิลป์ (ศ 23102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นายภูวนาท สีราชเลา รหัสนักศึกษา 62100103131 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/1 บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.3/7 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรียนบอกความหมายและความรู้สึกของเส้นต่าง ๆ ได้ (K) 2.2 นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยการใช้เส้นต่าง ๆ ได้ (P) 2.3 นักเรียนมีความร่วมมือในการเรียนการสอน (A) 3. สาระสำคัญ เส้น คือ ทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ การสังเกต การคิดสร้างสรรค์และการ ฝึกฝนทักษะพื้นฐานในการทำงานทัศนศิลป์จะช่วยให้เราสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้เป็นอย่างดี


4. สาระการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของเส้น 2. วิธีการสังเกตเส้นในธรรมชาติ 5. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสารการสร้างสรรค์ผลงานแสดงความรู้สึก 2) ความสามารถในการคิดการจำแนกสีในการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหาการปรับปรุงรูปแบบในการทำงานที่ไม่ยึดติดจากเดิม 6. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักการมีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม บูรณาการกับการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ บูรณาการกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………......................................................


7. กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต) ขั้นเตรียมการสาธิต 1. ครูเตรียมบัตรภาพของเส้นต่าง ๆ 2. นักเรียนอธิบายความหมายและความรู้สึกของเส้นตามความเข้าใจของนักเรียน จากรูปภาพที่ครู สุ่มเลือก 3. ครูให้นักเรียนอธิบายความหมายของแต่ละเส้น โดยครูวาดเส้นทีละเส้น และให้นักเรียนลองวาด เส้นต่าง ๆ ตามครูได้แก่ 3.1 เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่นเป็น สัญลักษณ์ของความซื่อตรง 3.2 เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย 3.3 เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง 3.4 เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลา ให้ความรู้สึก คลื่อนไหว อย่างเป็นจังหวะ มี ระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง 3.5 เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพอ่อนโยน นุ่มนวล 3.6 เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางที่หมุนวน ออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด 3.7 เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทางที่ รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง 3.8 เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่อง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความเครียด ขั้นสาธิต 1. ครูสาธิตการเลือกใช้เส้นในการสร้างสรรค์ผลงาน พร้อมบรรยายการใช้เส้นต่าง ๆ 2. นักเรียนทำใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น โดยให้นักเรียนนำเส้นต่าง ๆ มาสร้างสรรค์เป็น รูปภาพให้มีเรื่องราวและสวยงามตามจินตนาการของนักเรียน ขั้นสรุปและวัดผล 1. นักเรียนนำเสนอผลงานจากการสุ่มเลือกจากครู โดยอธิบายว่าวาดอะไร ใช้เส้นอะไรบ้าง 2. นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องการใช้เส้นต่าง ๆ และการเลือกใช้เส้นในงานทัศนศิลป์


8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาทัศนศิลป์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. บัตรภาพเส้นต่าง ๆ 3. กระดาษทดลองวาดเส้น 4. ใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. อินเทอร์เน็ต 3. ครู 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนบอก ความหมายและ ความรู้สึกของเส้นต่าง ๆ ได้ (K) 1. ประเมินประเมินการ ตอบคำถามในชั้นเรียน เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น 1. แบบประเมินการตอบ คำถามในชั้นเรียน 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 2. นักเรียนสามารถ สร้างสรรค์ผลงานโดย การใช้เส้นต่าง ๆ ได้ (P) 1. ประเมินการทำใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น 1. ใบงาน เรื่อง สร้างสรรค์งานเส้น 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 3. นักเรียนมีความมุ่งมั่น ในการเรียนการสอน (A) 1. สังเกตพฤติกรรมในชั้น เรียน 1. แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 1. ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 ลงชื่อ……….………………………(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา )


10. บันทึกหลังสอน 10.1 ด้านความรู้ K(Knowledge) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..….. 10.2 ด้านทักษะและปฏิบัติ P (Practice) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10.3 ด้านเจตคติหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ A (Attitude) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………..(ผู้สอน) ( นายภูวนาท สีราชเลา ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 11. ข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง/หรือผู้ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายวัชรพงศ์ สิทธิมาตย์) ครูพี่เลี้ยง วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


12. ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................. ( นายทองทวี ปัชชาดี) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 13. ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( นางมณีรัตน์ ศรีจันทร์) รองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ วันที่.........เดือน.....................พ.ศ........... 14. ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ/ผู้สังเกตการณ์สอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ............................................. ( ) วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........


แบบประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน วิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เลขที่ ชื่อสกุล การประเมิน ประเด็นการประเมิน สรุปผลการ ประเมิน 1 2 3 คะแนน 4 4 4 ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนเฉลี่ย คำชี้แจง 1. ให้ผู้ประเมิน ประเมินด้านทักษะรายบุคคล 1 ชุด ต่อ 1 งาน และให้คะแนนในช่องระดับคะแนน 2. ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (นายภูวนาท สีราชเลา)


Click to View FlipBook Version