The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 23:09:59

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน



คํานํา

คูม ือการใชเ อกสารประกอบการเรยี นการสอน เร่อื ง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4 รหัสวิชา
ศ 32210 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการเรียนวิชาชีพปพาทย มีมุงหมายในการจัดทําข้ึนเพ่ือเปนการ
ชี้แนะแนวทางในการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ สําหรับใหครูผูสอน
นําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหบรรลุตามวัตถุประสงคตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว ตลอดจน
ดําเนินการสอนไดอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ โดยที่นักเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง และมีครูผูสอน
คอยใหคําปรึกษา แนะนําและตอบขอสงสัยตางๆระหวางท่ีนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยการจัดทําเอกสาร
ประกอบการเรยี นการสอนมีวตั ถุประสงคเพ่อื พัฒนาดานความรู ความเขาใจ และทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
ไดอยา งถูกตองและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ตลอดจนสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง และนําไปใชในชีวิตประจําวันได
ซงึ่ จะสง ผลใหนกั เรียนมปี ระสทิ ธภิ าพในการเรยี นรตู ามมาตรฐานและผลการเรยี นรูของหลกั สูตร

ผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา รายละเอียดตางๆท่ีไดนําเสนอไวในคูมือการใชเอกสารประกอบ การเรียน
การสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพ าทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระ
การเรยี นวิชาชีพปพาทย จะเปน ประโยชนตอนักเรียน สามารถพัฒนานักเรียนใหมีความรู ความสามารถในการ
บรรเลงฆองมอญวงใหญ และเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอน และผูสนใจ เรื่อง
การบรรเลงเพลงมอญ ในรายวิชา ปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ใหเกิดประสิทธิภาพ
ทางการเรยี นรูไดสบื ไป

วสิ ทุ ธ์ิ จุยมา



สารบัญ

เรือ่ ง หนา

คาํ นาํ ....................................................................................................................................... ก

สารบัญ................................................................................................................................... ข

คําแนะนําการใชส าํ หรบั ครผู ูสอน............................................................................................ 1

คาํ แนะนําการใชสาํ หรับนกั เรียน............................................................................................. 2

ขอบขายของเน้ือหา................................................................................................................ 3

วัตถปุ ระสงคในการจดั ทําเอกสารประกอบการเรียนการสอน................................................. 4

ลักษณะของเอกสารประกอบการเรยี นการสอน.............................………………………………….. 5

สวนประกอบของเอกสารประกอบการเรยี นการสอน……………...………..…………………………… 7

ประโยชนข องเอกสารประกอบการเรียนการสอน................................................................... 8

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู และสาระการเรียนรู วิชาชพี ปพ าทย ระดบั ชนั้ 9

1มธั ยมศึกษาตอนปลาย...............................................................................................

คุณภาพผเู รยี น........................................................................................................................ 11

คาํ อธิบายรายวชิ า................................................................................................................... 12

แผนผงั หนวยการเรียนรู.......................................................................................................... 13

โครงสรา งแผนการจดั การเรยี นร.ู ............................................................................................ 14

กําหนดการสอน...................................................................................................................... 15

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 1 ..................................................................................................... 16

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 2 ..................................................................................................... 51

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 3 ..................................................................................................... 72

แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 4 ..................................................................................................... 94

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 5 ..................................................................................................... 121

แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 6 ..................................................................................................... 159

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 7 ..................................................................................................... 193

บรรณานุกรม.......................................................................................................................... 216

ภาคผนวก............................................................................................................................... 217
ภาคผนวก ก กระดาษคาํ ตอบ และเฉลยแบบทดสอบภาคทฤษฎี กอนเรยี น 218
และระหวางเรียน และหลังเรียน......................................................
ภาคผนวก ข โนตสากลแบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ. ..................... 225



เรื่อง หนา
ภาคผนวก ค โนตสากลเพลงประจําวัด................................................................. 230
ภาคผนวก ง โนตสากลเพลงประจําบา น............................................................... 238

ประวัติผูจ ัดทํา......................................................................................................................... 202

1

คาํ แนะนาํ การใชส าํ หรบั ครผู ูสอน

เพ่ือใหการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4
ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 5 กลุม สาระการเรียนรวู ชิ าชีพปพ าทย มีประสทิ ธภิ าพ ครูผสู อนควรปฏบิ ัตดิ งั นี้

1. กอนการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4
ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระการเรียนวิชาชีพปพาทย ครูผูสอนควรศึกษารายละเอียดภายในเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอนจากคูมือการใชใหเ ขา ใจ

2. ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู
กระบวนการจดั การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลการเรยี นรใู หเ ขา ใจอยา งชดั เจน

3. ตรวจสอบและจัดเตรียมเคร่ืองดนตรีท่ีจะใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วัสดุ
อปุ กรณ สื่อการเรยี นรู เครอื่ งมือการวดั และประเมินผล ที่กําหนดไวใหอยูในสภาพทพ่ี รอ มใชงาน

4. กอ นทําการสอนควรชี้แจงบทบาทและหนา ท่ีของนักเรยี น ตลอดจนกําหนดขอ ตกลงรวมกัน
5. ใหนักเรียนทาํ แบบทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ จาํ นวน 30 ขอ เพื่อวัดความรูพืน้ ฐาน
6. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ครูควรเปนท่ีปรึกษาใหคําแนะนํากับนักเรียน และสังเกตนักเรียน
อยางใกลช ิดเพื่อประเมินผลการใชเ อกสารประกอบการเรยี นการสอน
7. ครูผูสอนจะตองสังเกตนกั เรียนอยางใกลช ดิ ขณะปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียน เพื่อประเมิน ผลการใช
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
8. หลังจากเสร็จสิ้นการศึกษาเรียนรูเน้ือหาแตละกิจกรรมการเรียนแลว ใหนักเรียนทบทวน
เน้ือหาสาระและฝก ปฏิบัติฆองมอญวงใหญซ ้ําๆในแตละกจิ กรรมหลายๆครั้ง
9. ถามีนักเรียนที่ใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนจบเร็วกวา หรือชากวานักเรียนคนอื่นๆ
ใหครผู สู อนสังเกตและประเมินผลเปน รายบุคคลไป
10. เมื่อเรียนจากเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ จนจบแลว
ใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี หลังเรียน จํานวน 30 ขอ เพื่อวัดความรู
ความเขาใจในภาคทฤษฎี แลวนําผลการทดสอบกอนเรียน และหลังเรียนมาเปรียบเทียบความแตกตาง
ของคะแนนเฉล่ยี และสรุปแบบประเมินเพ่อื ใหท ราบถึงผลการพฒั นา

2

คําแนะนําการใชสาํ หรบั นักเรยี น

เพื่อใหการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5 กลุมสาระการเรยี นรวู ชิ าชีพปพาทย มปี ระสิทธภิ าพ นกั เรยี นควรปฏบิ ัตดิ งั นี้

1. ศึกษาวัตถุประสงคการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน จุดประสงคการเรียนรู และ
คาํ แนะนําการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน เพอ่ื ใหรูแ ละเขา ใจการปฏิบตั ิกจิ กรรมไดอยา งชัดเจน

2. เตรยี มฆองมอญวงใหญ เคร่อื งดนตรี และวสั ดุอุปกรณอนื่ ๆ ใหอ ยูใ นสภาพทพ่ี รอมเรยี น
3. ทําแบบทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน จํานวน 30 ขอ ลงใน
กระดาษคาํ ตอบ
4. ตรวจคําตอบแบบทดสอบวดั ความรูค วามเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน จากเฉลยในภาคผนวก
เพื่อนกั เรียนจะไดท ราบความรพู ื้นฐานกอนเรียนของตนเอง
5. ศึกษาเน้ือหา และรายละเอียด เร่อื ง การบรรเลงเพลงมอญ
6. ศึกษาวิธีการ ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนใหเขาใจ และถามีขอสงสัยใหปรึกษา
ครผู สู อนทนั ที
7. ศกึ ษา และฝก ปฏิบตั ิฆองมอญวงใหญ จากเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ ตัง้ แตบทที่ 1 - บทท่ี 5
8. ดูภาพและวีดิทัศนประกอบคําบรรยาย ประกอบการเรียนรูและปฏิบัติฆองมอญวงใหญ
เรื่อง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ เพลงประจําวัด และเพลงประจําบาน แลวปฏิบัติตาม และ
ถามขี อ สงสยั ใหป รกึ ษาครูผสู อนทันที
9. บรรเลงฆองมอญวงใหญเพลงประจาํ วัด และประจําบา น ซ้ําหลายๆครัง้
10. เม่ือศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมการเรียนเสร็จเรียบรอยแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบ
วดั ความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี หลงั เรียน จํานวน 30 ขอ ลงในกระดาษคาํ ตอบ
11. ตรวจคําตอบแบบทดสอบวัดความรคู วามเขา ใจในภาคทฤษฎี หลังเรียน จากเฉลยในภาคผนวก
เพือ่ ตรวจผลความกา วหนา ของตนเอง
12. หลงั จากปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรียนเสรจ็ เรียบรอยแลว ตองดูแลรักษา และทําความสะอาด
ฆองมอญวงใหญ เครอื่ งดนตรี และวัสดุอ่นื ๆ ใหเ รียบรอยทุกครัง้
13. นกั เรียนท่ดี ี จะตอ งมีความซอื่ สัตยตอ ตนเอง โดยไมด ูคาํ ตอบลวงหนา

3

ขอบขายของเนื้อหา

ขอบขายและเนื้อหาสาระภายในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา
ปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการเรียนวิชาชีพปพาทย ประกอบดวยเนื้อหา
สาระดา นความรู ดานทกั ษะ และดา นคณุ ลักษณะ ดงั นี้

ดา นความรู (K)
1. อธบิ ายเกยี่ วกบั ประวัตปิ พาทยมอญและเครอ่ื งดนตรีในวงปพาทยมอญไดถกู ตอง
2. อธบิ ายเกยี่ วกับเอกลกั ษณข องฆองมอญวงใหญไดถ ูกตอง
3. อธบิ ายเกย่ี วกบั ความรูพน้ื ฐานเก่ียวกับฆอ งมอญวงใหญไดถ ูกตอง
4. อธบิ ายวธิ ีการปฏบิ ตั แิ บบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญไ ดถกู ตอง
5. อธบิ ายประวตั ิเพลงประจําวัดไดถกู ตอง
6. อธบิ ายความหมายของศัพทส ังคตี คําวา จงั หวะ กรอ และหนาทบั ไดถกู ตอ ง
7. อธบิ ายเก่ยี วกับหนา ทบั เพลงประจาํ วดั ไดถูกตอ ง
8. อธิบายประวัตเิ พลงประจําบา นไดถูกตอ ง
9. อธบิ ายความหมายของศัพทส งั คตี คาํ วา สะบดั ประคบ และคู ไดถกู ตอง
10. อธบิ ายเกีย่ วกับหนา ทบั เพลงประจําบา นไดถกู ตอ ง

ดา นทกั ษะ (P)
1. ปฏิบัติแบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญไดถ ูกตอง
2. บรรเลงฆอ งมอญวงใหญเพลงประจําวดั ไดถ กู ตอง
3. บรรเลงฆองมอญวงใหญเ พลงประจาํ บา นไดถูกตอง

ดา นคุณลกั ษณะ (A)
1. ความขยันหมั่นเพยี ร
2. ความรับผดิ ชอบ
3. การตรงตอ เวลา
4. ความซือ่ สตั ยสจุ รติ
5. มจี ติ สาธารณะ

4

วัตถุประสงคใ นการจดั ทาํ เอกสารประกอบการเรียนการสอน

1. เพื่อสรางนวัตกรรมดานการเรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพปพาทย ประเภทเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 เพ่ือพัฒนา
ความรูความเขาใจ และทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ ตลอดจนเพื่อฝกใหนักเรียนไดศึกษาและปฏิบัติ
กจิ กรรมจากประสบการณตรง

2. เพื่อใหครูผูสอนมีนวัตกรรมที่ใชเปนสื่อในการจัดกิจกรรม และสามารถนําไปใชในการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนไดจริง

3. เพ่อื ใหนกั เรยี นมสี ่ือการเรียนรู สามารถใชศ กึ ษาคน ควา และแสวงหาความรดู วยตนเอง
4. เพื่อศึกษาความกาวหนาทางการเรียนของนักเรียน โดยเปรียบเทียบความแตกตางในคาเฉล่ียของ
คะแนนสอบ ทง้ั กอนและหลงั เรยี น
5. เพ่ือพฒั นาแนวทางในการจดั การเรียนการสอน เพอ่ื ใหนกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขนึ้

5

ลักษณะของเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ ใชระยะเวลาในการทดลอง 40 ชั่วโมง
มเี นื้อหาดังน้ี

บทท่ี 1 ประวัตปิ พ าทยม อญ และเครอ่ื งดนตรใี นวงปพ าทยมอญ (1 ชว่ั โมง)
1. ประวัติความเปน มาของวงปพ าทยมอญในประเทศไทย
2. เครื่องดนตรใี นวงปพ าทยม อญ
3. การประสมวงปพ าทยม อญ

บทที่ 2 เอกลักษณข องฆองมอญวงใหญ (1 ชัว่ โมง)
1. หลมุ
2. คเู สยี ง
3. คถู า ง

บทท่ี 3 ความรูพ ้นื ฐานเกี่ยวกับฆองมอญวงใหญ (1 ชัว่ โมง)
1. ประวตั ิของฆอ งมอญวงใหญ
2. สว นประกอบของฆอ งมอญวงใหญ
3. การสํารวจความพรอมและปรบั เคร่อื งดนตรกี อนการบรรเลง
4. ทา นั่ง
5. วธิ กี ารจบั ไม
6. ลักษณะวิธกี ารตฆี อ งมอญวงใหญ
7. การเก็บรกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมตีฆองมอญวงใหญ
8. การดูแลรักษาฆอ งมอญวงใหญภายหลงั การบรรเลง

บทที่ 4 แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ (12 ชว่ั โมง)
1. แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

บทท่ี 5 เพลงประจาํ วดั - เพลงประจาํ บา น (25 ชัว่ โมง)
1. เพลงประจาํ วัด
1.1 ประวัติเพลงประจําวัด
1.2 ศัพทสงั คีต
1.3 หนาทับเพลงประจําวัด
1.4 ทํานองหลกั เพลงประจําวัด

6

2. เพลงประจําบา น
2.1 ประวตั ิเพลงประจําบา น
2.2 ศัพทส ังคีต
2.3 หนา ทับเพลงประจําบา น
2.4 ทาํ นองหลกั เพลงประจําบาน

ภายในเอกสารประกอบการเรียนการสอน ฉบบั น้ี ประกอบดว ย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู และสาระ
การเรียนรูว ิชาชพี ปพ าทยระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย คุณภาพผูเรยี น คําอธิบายรายวิชา แผนผังหนวยการเรียนรู
โครงสรางแผนการจัดการเรียนรู กําหนดการสอนหนวยการเรียนรูที่ 5 เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ แผนการ
จัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎีกอนและหลังเรียน เกณฑการประเมินและ
การใชแ บบประเมินผล เกณฑการใหคะแนนการสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
การเรียน เกณฑก ารใหค ะแนนการประเมินผล ดา นทักษะ แบบประเมินผลดา นทกั ษะ

นอกจากสรางนวัตกรรมดานการเรียนการสอนประเภทเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ แลว ผจู ัดทาํ ไดผ ลติ สอ่ื วดี ทิ ศั น เร่ือง แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ ทํานองหลักเพลงประจําวัด
และทาํ นองหลกั เพลงประจําบา นขึ้น เพื่อนาํ มาใชประกอบกบั เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ รวมทั้งยัง
ชวยเสรมิ สรางและพัฒนาทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญของนักเรียนใหม ปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขน้ึ

7

สวนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนการสอน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 กลุมสาระการเรยี นวิชาชีพปพ าทย มสี วนประกอบดังน้ี

1. ปกหนา
2. คํานํา
3. สารบัญ
4. วตั ถุประสงคก ารใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน
5. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
6. คาํ แนะนาํ การใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน
7. รายละเอียดของเอกสารประกอบเรยี นการสอน
8. แบบทดสอบวัดความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี กอ นเรียน
9. บทท่ี 1 ประวัตปิ พ าทยมอญและเครื่องดนตรใี นวงปพาทยมอญ
10. บทที่ 2 เอกลกั ษณข องฆองมอญวงใหญ
11. บทท่ี 3 ความรูพ ืน้ ฐานเกี่ยวกับฆองมอญวงใหญ
12. บทที่ 4 แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
13. บทที่ 5 เพลงประจําวัด - เพลงประจาํ บาน
14. แบบทดสอบวัดความรคู วามเขา ใจในภาคทฤษฎี หลงั เรยี น
15. แบบประเมินผลการเรยี น และการสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน
16. เกณฑการประเมนิ และการใชแบบประเมนิ ผล
17. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนโดยใชเอกสารประกอบการเรียน
การสอน เรือ่ ง การบรรเลงเพลงมอญ
18. บรรณานุกรม
19. ภาคผนวก
20. ประวตั ผิ ูจดั ทํา

8

ประโยชนข องเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

1. ประโยชนตอครูผสู อน
1.1 ทําใหไดน วัตกรรมดานการสอนประเภทเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง

เพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระการเรียนวิชาชีพปพาทย
ที่มปี ระสิทธิภาพ ครูผูสอนสามารถนาํ ไปใชในการจดั การเรียนการสอนได

1.2 ทําใหไดนวัตกรรมประเภทสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา คือ ส่ือวีดิทัศน เร่ือง แบบฝก
ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ ทํานองหลักเพลงประจําวัด และทํานองหลักเพลงประจําบาน ประกอบ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน เพื่อชวยสงเสริมการพัฒนาความรูความเขาใจ และทักษะการบรรเลงระนาดทุม
ของนักเรยี นใหมคี ุณภาพและประสิทธภิ าพยง่ิ ขึน้

1.3 เปน แนวทางในการแกไขปญ หาการขาดแคลนส่อื นวตั กรรมดานการเรียนการสอน และขาดแคลน
ครผู ูส อน

1.4 ทําใหครูผูสอนมีแนวทางในการสรางนวัตกรรมดานการเรียนการสอนเพ่ิมมากข้ึน และ
สามารถนาํ ไปบูรณาการกบั กลมุ สาระการเรียนรูต า งๆได

1.5 ทําใหทราบถึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ ของนักเรียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 กลมุ สาระการเรียนรวู ชิ าชีพปพาทย จากการทีไ่ ดศึกษาจากเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

1.6 ชวยยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระ
การเรยี นรวู ิชาชีพปพ าทย ใหสูงขน้ึ

2. ประโยชนต อ นกั เรยี น
2.1 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 สามารถเรียนรู และปฏิบัติฆองมอญวงใหญ ไดอยาง

มีประสิทธิภาพสูงข้ึน และสามารถนําทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญไปใชในการเรียนตอยอดในข้ันท่ีสูงขึ้น
ตลอดจนนําไปประกอบเปนอาชพี ได

2.2 ทําใหน กั เรยี นมีสือ่ การเรียนรูท่นี า สนใจ
2.3 ทาํ ใหน กั เรยี นไดรบั ความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี และปฏิบตั ิ เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ
2.4 ทําใหน กั เรียนมีเจตคตทิ ดี่ ีตอกจิ กรรมและการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน
2.5 ทาํ ใหน ักเรียนตระหนกั เห็นคณุ คาและความสาํ คญั ของการเรยี นรูเก่ยี วกับ
ฆอ งมอญวงใหญ สามารถบอกคุณคาของงานดนตรีไทยที่เปน ศลิ ปวฒั นธรรม และเอกลักษณประจําชาติได

9

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู และสาระการเรยี นรู วชิ าชพี ปพาทย

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

สาระท่ี 1 ประวตั ศิ าสตรและวฒั นธรรมของดนตรีไทย
มาตรฐานที่ 1.1 เขา ใจความสมั พนั ธระหวา งดนตรี ประวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรม

เห็นคณุ คา ของดนตรที ี่เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถิ่นและภูมิปญญาไทย
ผลการเรียนรู
ม.5/1 อธิบายความสมั พนั ธระหวา งดนตรไี ทย ประวัติศาสตรแ ละวัฒนธรรมไทย
ม.5/2 ระบคุ ณุ คา ของดนตรีไทยที่เปน มรดกทางวฒั นธรรมภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ และ
ภมู ิปญญาไทย
สาระการเรยี นรู
ความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม คุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดก

ทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญญาทอ งถิ่น และภมู ิปญ ญาไทย

มาตรฐานที่ 1.2 เขาใจประวัติท่ีมา ลักษณะของเครื่องดนตรีไทย ประเภทของวงดนตรีไทย และ
การบํารุงรกั ษาเคร่อื งดนตรีในวงปพ าทย

ผลการเรยี นรู
ม.5/1 อธิบายลกั ษณะ สวนประกอบ ระดบั เสยี งและหนาท่ขี องเครอื่ งดนตรไี ทย
ม.5/2 บอกวธิ ีการดูแลรกั ษาเครอ่ื งดนตรีไทย

สาระการเรียนรู
ลักษณะสวนประกอบของเสียง ของวงปพาทยเสภา การดูแลรักษาเครื่องดนตรีในวงปพาทย

ฝกปฏบิ ัตเิ คร่ืองประกอบจงั หวะ

มาตรฐานที่ 1.3 วิเคราะห วพิ ากย วิจารณ ถา ยทอดความรสู ึก ความคดิ ตอดนตรีไทยอยา งอิสระ ชืน่ ชม
ผลการเรียนรู

ม.5/1 บอกความรูสกึ ความคิดตอดนตรีไทยอยา งอสิ ระ ชื่นชม
สาระการเรยี นรู

ความสัมพนั ธระหวางดนตรีไทยและวฒั นธรรม

10

สาระที่ 2 การฝกปฏิบตั เิ ครอื่ งดนตรตี ามประเภทของเพลง
มาตรฐานท่ี 2.1 เขา ใจหลักและวิธกี ารบรรเลงตามประเภทของเครือ่ งดนตรี
ผลการเรยี นรู
ม.5/1 อธิบายหลักและวธิ กี ารบรรเลงดนตรไี ทย
ม.5/2 ปฏิบตั ิตามหลักและวิธกี ารบรรเลงดนตรีไทย
สาระการเรียนรู
หลกั และวธิ ีการฝก หัดเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยต ามหลัก และวิธีการบรรเลงดนตรีไทย

มาตรฐานท่ี 2.2 เขาใจและมีทักษะในการฝกปฏิบัติเคร่ืองดนตรี บรรเลงเพลงประเภทตาง ๆ ตระหนัก
และเหน็ คุณคา นาํ มาประยกุ ตใชไดอยา งเหมาะสม

ผลการเรียนรู
ม.5/1 บอกประวตั ิเพลงในบทเรยี น
ม.5/2 อธบิ ายศพั ทส ังคีตเพลงในบทเรยี น
ม.5/3 ปฏิบตั ิเพลงประเภทตางๆ
ม.5/4 นาํ ความรไู ปใชในโอกาสตาง ๆ

สาระการเรียนรู
ประวตั ทิ มี่ าของเพลงในบทเรียนและความหมายของศัพทสังคีต ฝกปฏิบัติเพลงประเภทตาง ๆ

เพลงโหมโรง เพลงสามชน้ั เพลงเถา เพลงตับ เพลงประกอบการแสดง

สาระท่ี 3 การบรรเลงดนตรไี ทย
มาตรฐานท่ี 3.1 เขาใจดนตรีไทยอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ เห็นคุณคาของดนตรีไทย

ถายทอดความรสู กึ อยา งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจําวัน
ผลการเรียนรู
ม.5/1 แสดงความคดิ เหน็ ตอ ดนตรีไทยอยา งสรา งสรรค อิสระ ชนื่ ชม
ม.5/2 วเิ คราะห วิพากษ วจิ ารณดนตรีไทยในเชงิ สรา งสรรค
สาระการเรียนรู
รปู แบบการบรรเลงดนตรไี ทยท่ใี ชในโอกาสตาง ๆ

มาตรฐานท่ี 3.2 อนุรักษ สืบทอด เผยแพร ดนตรีไทย ท่ีเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ
เห็นคุณคา ช่นื ชม ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ และภมู ปิ ญญาไทย

ผลการเรยี นรู
ม.5/1 นาํ เสนอผลงานการบรรเลงเพลงในหลักสตู รหรอื นอกหลกั สตู ร

สาระการเรยี นรู
การบรรเลงเพลงรวมกบั เครือ่ งสายไทยหรอื คตี ศลิ ปไทย

11

คุณภาพผเู รยี น

1. เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม อิทธิพลของดนตรีไทย และ
เห็นความสําคญั ในการอนุรกั ษ ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ภมู ิปญญาทอ งถน่ิ และภมู ิปญญาไทย

2. เขาใจประวัติทม่ี า ลักษณะและประเภทของเครื่องดนตรไี ทย
3. สามารถผสมวงดนตรีไทยประเภทตา งๆ ไดตามแบบแผน
4. ปฏบิ ตั เิ คร่ืองดนตรีไทยในวงปพ าทยอยา งนอย 1 เคร่อื งมอื ถกู ตองตามหลักและวธิ กี าร
5. สามารถดแู ลรกั ษาและซอมบาํ รุงเครื่องดนตรีไทย
6. เขาใจหลักและวิธีการบรรเลงดนตรีไทย อนุรักษ สืบทอด เผยแพร มีความคิดริเริ่มสรางสรรคตอ
ดนตรีไทยท่ีเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ วิเคราะห วิพากษ วิจารณ ถายทอดความรูสึกตอดนตรีไทย
อยา งอสิ ระและชื่นชม
7. นําองคความรูไปบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ และนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ไดอยางเหมาะสม

12

คําอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ศ 32210 ชื่อรายวชิ า ปพ าทย 4
กลุมสาระการเรียนรวู ิชาชพี ปพาทย ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5

เวลา 240 ช่ัวโมง จาํ นวน 6 หนว ยกติ

ศึกษา อธิบายประวัติที่มา ลักษณะสวนประกอบ เสียงของวงปพาทยมอญ และการบํารุงรักษา
เครื่องดนตรีในวงปพาทย ประวัติและความหมายของเพลง ศัพทสังคีต เขาใจวิธีการและหลักการปฏิบัติ
เครอื่ งดนตรใี นวงปพ าทย

ระนาดเอก - ระนาดทุม - ฆองวงใหญ - ฆองวงเล็ก ฝกทักษะเพลงสารถี เถา เพลงแขกมอญ
บางขุนพรหม เถา เพลงพมาเห เถา เพลงเขมรพวง เถา เพลงเขมรกลอมพระบรรทม สามช้ัน เพลงตับแมศรี
ทรงเคร่ือง เพลงตับนิทราชาคริต เพลงเรื่องนางหงส สองช้ัน เพลงประจําวัด เพลงประจําบาน เพลงระบํานพรัตน
เพลงระบาํ เทพบนั เทิง ปฏบิ ตั กิ ารบรรเลงรวมวง และฝกปฏบิ ตั เิ ครื่องประกอบจังหวะ

ปใน ฝกทักษะเพลงฉ่ิงพระฉัน เพลงพัดชา ปฏิบัติการบรรเลงรวมวงในวงปพาทย และฝกปฏิบัติ
เครื่องประกอบจงั หวะ

เคร่ืองหนัง ฝกทักษะตะโพนไทย กลองทัด ตะโพนมอญ เปงมางคอก เบ้ืองตน หนาทับโยน - แปลง
หนา ทบั นางหงส สองช้ัน หนาทับนางหนาย ฝกปฏิบัติหนาทับตะโพนมอญ เปงมางคอก หนาทับเพลงประจําวัด
หนาทับเพลงประจําบาน หนาทับเพลงเชิญ หนาทับเพลงยกศพ ฝกปฏิบัติกลองหาง และเลือกปฏิบัติ
เคร่ืองดําเนินทํานอง เชน ฆอง วงใหญ ระนาดทุม ตามหลักสูตรปพาทย ไมนอยกวา 10 เพลง (ตามความ
เหมาะสม) ปฏิบตั ิการบรรเลงรวมวง และฝก ปฏิบตั ิเคร่ืองประกอบจงั หวะ

เพ่ือใหผูเรียนสามารถนําความรู ทักษะ กระบวนการทางดนตรีไทย ไปใชไดอยางถูกตอง มีเจตคติที่ดี
ตอดนตรีไทย พัฒนาความคิดอยางสรางสรรค ใฝเรียน ใฝรู มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธท่ีดี ปฏิบัติตน
เปนผูนําและผูตามที่ดี ช่ืนชม เห็นคุณคาของศิลปวัฒนธรรมไทย และประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
อยา งเหมาะสม

ผลการเรียนรู
ศ 1.2 ม.5/1 ม.5/2
ศ 1.3 ม.5/1
ศ 2.1 ม.5/1 ม.5/2
ศ 2.2 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4
ศ 3.1 ม.5/1 ม.5/2
ศ 3.2 ม.5/1

รวม 12 ผลการเรยี นรู

13

แผนผังหนวยการเรียนรู

รายวชิ าปพาทย 4 เวลา 120 ช่วั โมง

การบรรเลงเพลงสามช้ัน การบรรเลงเพลงประกอบการแสดง การบรรเลงรวมวง
• เพลงเขมรกลอ ม พระบรรทม สามช้ัน • เพลงระบํานพรตั น • ฝกการบรรเลง
• เพลงระบาํ เทพบนั เทิง
การบรรเลงเพลงเถา รวมวง
• เพลงสารถี เถา การบรรเลงเพลงมอญ
• เพลงแขกมอญบางขนุ พรหม • เพลงประจําวดั
• เพลงประจาํ บาน
เถา
• เพลงพมา เห เถา การบรรเลงเพลงเรื่อง
• เพลงเขมรพวง เถา • เพลงเรอ่ื งนางหงส สองชน้ั

การบรรเลงเพลงตับ
• เพลงตบั แมศรที รงเครื่อง
• เพลงตบั นิทราชาครติ

14

โครงสรา งแผนการจดั การเรยี นรู รายวิชา ปพ าทย 4

รหัสวิชา ศ 32210 ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5
จาํ นวน 6 หนว ยกิต
กลมุ สาระการเรียนรูว ิชาชีพปพาทย
เวลา 240 ชัว่ โมง

หนว ยท่ี ชอ่ื หนวยการเรียนรู ช่ือเรือ่ ง เวลา/ หมายเหตุ
ชว่ั โมง

1. การบรรเลงเพลงสามชน้ั - เพลงเขมรกลอมพระบรรทม 20

สามชนั้

2. การบรรเลงเพลงเถา - เพลงสารถี เถา 15

- เพลงแขกมอญบางขุนพรหม เถา 15

- เพลงพมา เห เถา 15

- เพลงเขมรพวง เถา 15

3. การบรรเลงเพลงตบั - เพลงตบั แมศ รีทรงเคร่ือง 30

- เพลงตบั นิทราชาคริต 30

4. การบรรเลงเพลงเรือ่ ง - เพลงเรอ่ื งนางหงส สองชั้น 40

5. การบรรเลงเพลงมอญ - เพลงประจําวดั 40

- เพลงประจาํ บาน

6. การบรรเลงเพลง - เพลงระบํานพรตั น 10

ประกอบการแสดง - เพลงระบําเทพบันเทงิ 10

15

กาํ หนดการสอน

หนวยการเรียนรทู ่ี 5 เรอื่ ง “การบรรเลงเพลงมอญ” รายวิชา ปพ าทย 4
รหสั วชิ า ศ 32210 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 เวลา 40 ชวั่ โมง

แผนการ ชอื่ แผนการจัดการเรยี นรู จาํ นวนชว่ั โมง หมายเหตุ
จดั การเรยี นรูท่ี

1. ประวัตปิ พ าทยม อญ และเครอ่ื งดนตรี 2

ในวงปพาทยมอญ

2. เอกลักษณข องฆองมอญวงใหญ 2

3. ความรพู ืน้ ฐานเก่ียวกบั ฆอ งมอญวงใหญ 2

4. แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ 12

5. เพลงประจําวัด 8

6. เพลงประจําบา น 8

7. การบรรเลงเพลงประจําวัดและประจําบาน 6

ประกอบจังหวะหนาทับและจังหวะฉิ่ง

รวม 40

16

แผนการจดั การเรียนรูที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5
เวลา 2 ชว่ั โมง
หนวยการเรียนรทู ี่ 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ชอ่ื แผน ประวัตปิ พาทยมอญ และเครื่องดนตรใี นวงปพาทยม อญ
รายวิชา ปพาทย 4 รหัสวชิ า ศ 32210

มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชีว้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู
ศ 1.1 เขา ใจความสมั พันธระหวา งดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ี

เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถน่ิ และภูมิปญ ญาไทย

ศ 1.2 เขา ใจประวัตทิ ม่ี า ลกั ษณะของเครอ่ื งดนตรีไทย ประเภทของวงดนตรไี ทย

และการบาํ รุงรักษาเครื่องดนตรใี นวงปพ าทย

ตวั ช้ีวดั ม.5/1 อธบิ ายความสัมพันธร ะหวางดนตรไี ทย ประวัติศาสตร
ศ 1.1 และวัฒนธรรมไทย

ศ 1.2 ม.5/2 ระบคุ ณุ คา ของดนตรไี ทยท่เี ปนมรดกทางวัฒนธรรมภูมิ
ปญ ญาทองถนิ่ และภูมปิ ญ ญาไทย

ม.5/1 อธิบายลกั ษณะ สว นประกอบ ระดับเสยี งและหนา ท่ขี อง
เครอ่ื งดนตรีไทย

ม.5/2 บอกวธิ กี ารดแู ลรักษาเครื่องดนตรไี ทย

สาระสาํ คญั
ปพาทยม อญ เขามาเผยแพรในประเทศไทยตงั้ แตสมยั กรงุ ศรีอยุธยา พรอมกับการอพยพของชาวมอญ

ที่เขามาอยใู นจงั หวดั ปทมุ ธานี แตเดิมมกี ารประสมวงเฉพาะเคร่ืองดนตรีมอญเทาน้ัน ตอมามีการนําเครื่องดนตรี
ของไทยเขามาประสมวง แบงไดเปน 3 ขนาด คอื วงปพ าทยม อญเครือ่ งหา วงปพาทยมอญเคร่ืองคู และวงปพาทยมอญ
เครื่องใหญ แตในปจจุบันมีการประสมวงปพาทยมอญแบบพิเศษ โดยพัฒนาไปตามความนิยมของสังคม และ
ยงั มีการประสมวงในลกั ษณะพเิ ศษสาํ หรับใชในพธิ ีกรรมของมอญ คือ พธิ รี าํ เจา พธิ รี าํ สามถาด และพิธีราํ ผี

จดุ ประสงคการเรียนรู
1. นักเรยี นอธบิ ายเกีย่ วกบั ประวัติความเปนมาของปพ าทยมอญในประเทศไทยไดถ ูกตอง

2. นกั เรยี นอธิบายเก่ียวกับเครอ่ื งดนตรใี นวงปพ าทยมอญไดถูกตอง

3. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกบั การประสมวงปพ าทยมอญประเภทตางๆไดถูกตอง

17

สาระการเรยี นรู
1. ประวตั ทิ มี่ าของปพ าทยม อญในประเทศไทย
2. เครอื่ งดนตรีในวงปพาทยม อญ
3. การประสมวงปพ าทยม อญ

กจิ กรรมการเรียนการสอน
ขัน้ นําเขา สูบทเรยี น
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนา เร่ือง ปพาทยมอญ แลวใหนักเรียนยกตัวอยางช่ือ
เคร่ืองดนตรีในวงปพาทยมอญที่นักเรียนรูจักหรือเคยไดยิน จากน้ันครูใหขอมูล
ทถ่ี ูกตอ งเพม่ิ เตมิ

ขน้ั ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูใหน กั เรียนทําแบบทดสอบวัดความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ
3. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรูที่ 1 เรอ่ื ง ประวัตคิ วามเปน มาของปพาทยมอญในประเทศไทย
4. ครอู ธิบายประวัตคิ วามเปนมาของปพ าทยมอญในประเทศไทยใหนักเรียนฟง
5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 1 ในหวั ขอ ประวตั คิ วามเปนมาของปพาทยมอญในประเทศไทย
6. ครูใหนักเรียนชวยกันเลาประวัติความเปนมาของปพาทยมอญในประเทศไทย โดยครู
ใหข อ มูลเพ่ิมเตมิ ในสว นที่ไมสมบรู ณ
7. ครูแจกใบความรทู ่ี 2 เรอ่ื ง เคร่ืองดนตรีในวงปพ าทยม อญ
8. ครูอธบิ ายถึงรายละเอยี ดของเคร่อื งดนตรีแตละช้นิ ในวงปพ าทยมอญใหนักเรยี นฟง
9. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 1 ในหัวขอ เครอื่ งดนตรีในวงปพ าทยมอญ
10. ครูใหนักเรียนแบงกลุม และออกมาชวยกันอธิบายรายละเอียดของเคร่ืองดนตรีในวง
ปพาทยม อญ กลมุ ละ 1 ชนิ้ โดยครูใหข อมลู เพิม่ เติมในสว นที่ไมสมบรู ณ
11. ครแู จกใบความรทู ี่ 3 เรื่อง การประสมวงปพ าทยมอญ
12. ครูอธิบายถงึ รปู แบบการประสมวงปพาทยม อญใหนักเรยี นฟง
13. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 1 ในหวั ขอ การประสมวงปพาทยม อญ
14. ครูสุมใหนักเรียนทีละกลุมออกมาอธิบายถึงรูปแบบการประสมวงปพาทยมอญเปนวง
ตางๆ วงละ 1 กลุม โดยครูใหขอ มูลเพิม่ เติมในสว นที่ไมส มบรู ณ

18

15. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงความสําคัญ และประโยชนของการเรียน เรื่อง ประวัติ
ปพ าทยม อญ และเครอ่ื งดนตรใี นวงปพ าทยมอญ

16. ครูชมเชยนักเรียนท่ีตั้งใจเรียน และตักเตือนนักเรียนท่ียังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคุณคา ของการเรียนดนตรไี ทย เพอื่ ใหนักเรียนเกดิ ความซาบซ้ึง

ข้นั สรปุ
17. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปประวัติความเปนมาของปพาทยมอญในประเทศไทย
เคร่อื งดนตรใี นวงปพ าทยมอญ และการประสมวงปพ าทยม อญ

สื่อการเรยี นการสอน
1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรอ่ื ง การบรรเลงเพลงมอญ
2. ใบความรทู ี่ 1 เร่อื ง ประวัตคิ วามเปน มาของปพ าทยมอญในประเทศไทย
3. ใบความรทู ี่ 2 เร่อื ง เคร่ืองดนตรีในวงปพ าทยม อญ
4. ใบความรทู ี่ 3 เร่ือง การประสมวงปพ าทยมอญ
5. แบบทดสอบวัดความรูความเขา ใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน

การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู
1. วิธกี ารวดั และประเมินผล
- การทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรยี น
เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ
- การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น และประเมนิ ผล
2. เครอื่ งมอื การวัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบวดั ความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอ นเรยี น
เรอื่ ง การบรรเลงเพลงมอญ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน
3. เกณฑการวดั ผลและประเมนิ ผล
ไดชว งคะแนนเฉลย่ี รอ ยละ 80 - 100 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก
ไดชวงคะแนนเฉลยี่ รอยละ 70 - 79 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ไดช ว งคะแนนเฉลี่ยรอยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช
ไดช วงคะแนนเฉลีย่ รอ ยละ 0 - 49 ระดบั คุณภาพ ควรปรับปรุง

19

แหลงการเรยี นรู

- ภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน - หองโสตทศั นวสั ดุอปุ กรณ
- หองสมุดดนตรขี องสถาบนั ตา ง ๆ - วิทยากร
- โรงละครแหง ชาติ - แหลง ชมุ ชน
- พิพธิ ภณั ฑส ถานแหง ชาติ - ฯลฯ

ขอเสนอแนะ
นักเรียนควรหาความรูเพ่ิมเติมจากสื่อตางๆ เชน อินเตอรเน็ต หองสมุด ตําราทางวิชาการ ครู

ผูเ ชี่ยวชาญ ฯลฯ เพ่อื สามารถนาํ ไปประกอบกิจกรรมเน่อื งในโอกาสสําคัญตางๆ ท้งั ในและนอกสถานท่ี

20

เกณฑก ารประเมนิ และการใชแบบประเมินผล

เกณฑการประเมินนี้ เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ท่ีมีครูผูสอนทําหนาที่ประเมิน โดยจะตอง
สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นของนกั เรียนที่เขารบั การประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนทรี่ ะบุไว โดยผูประเมนิ ตอ งปฏิบัตดิ งั น้ี

1. ศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนท่ีระบุไวอยาง
ละเอียดเพือ่ ใหไ ดผลการประเมนิ ทีถ่ ูกตองตามเกณฑท ีก่ าํ หนดไว

2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพท่ีระบุในเกณฑ
การใหค ะแนนลงในชองคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จส้ินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เร่ือง
ประวัตปิ พ าทยมอญ และเครอื่ งดนตรีในวงปพ าทยมอญ

การประเมนิ และการใหค ะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ที่มีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลาํ ดับความถูกตองตามเกณฑการใหค ะแนน

วตั ถปุ ระสงคของการประเมิน
1. เพอ่ื ประเมินพฤติกรรมการเรยี นของนกั เรียนในดานตา งๆเปน รายบุคคล
2. เพือ่ ประเมินความรูของนักเรียน เร่อื ง ประวัติความเปนมาของปพาทยมอญในประเทศไทย
3. เพ่อื ประเมินความรูของนักเรียน เร่อื ง เคร่อื งดนตรีในวงปพาทยมอญ
4. เพ่อื ประเมนิ ความรูข องนักเรียน เร่ือง การประสมวงปพ าทยมอญประเภทตางๆ
5. เพ่อื ประเมนิ ความใฝเรียนรขู องนักเรียนในหองเรียน

21

แบบประเมินผลการเรียน หนว ยการเรียนรูท ่.ี ..5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรทู ่.ี ..1... เร่ือง...ประวัติปพ าทยมอญ และเครื่องดนตรใี นวงปพาทยมอญ...

รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่...5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดานความรู

ลํา ัดบ ี่ทชื่อ - สกุล รวม ระดบั
คะแนน คณุ ภาพ
ประวั ิตความเปนมาของ
ปพาทยมอญในประเทศไทย

เคร่ืองดนตรีในวง
ปพาทยมอญ

การประสมวง ปพาทยมอญ
ประเภทตาง ๆ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดับคณุ ภาพ สรุปผลประเมินดานความรู
2 ดมี าก ระดบั ดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดับดี = ....... คน
4 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
5 ปรับปรงุ ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ
ระดับ 4 = 8 - 9
ระดับ 3 = 6 - 7
ระดบั 2 = 4 - 5
ระดบั 1 = 1 - 3

22

เกณฑก ารประเมนิ และการใหคะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรม

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
1. ความขยันหม่นั มคี วามขยนั หมนั่ เพยี ร 2 ไมม ีความขยันหม่นั
เพียร ในการเรียน หมั่น เพียร และไมม ีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มคี วามขยันหม่ันเพียร ทบทวนความรู
2. ความรับผดิ ชอบ อยางสมาํ่ เสมอ ในการเรยี น แตไมคอย
ฝก ฝนทบทวนความรู ไมม ีความรบั ผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มคี วามรับผดิ ชอบ ทุกๆอยางท่ีไดรับ
มคี วามเอาใจใสในสิ่งที่ มคี วามรบั ผดิ ชอบในสง่ิ มอบหมาย
4. ความซือ่ สตั ย ไดร ับมอบหมายดีมาก ท่ไี ดรบั มอบหมายเปน เขาเรยี นสายเปน ประจาํ
สุจริต บางคร้ัง และไมต รงตอเวลาท่ีมี
มีความตรงตอเวลาใน เขา หอ งเรียนชาบา ง การนดั หมาย
5. มีจิตสาธารณะ การเขา หองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมือ่ มีการนัดหมายเปน นดั หมายเปน บางครงั้ ไมรักษากฎระเบียบและ
อยางดี ขอตกลง
มีความซ่ือสัตย
มีความซื่อสัตย อยใู น พอสมควร และไม เปนผูท ่ไี มม ีจิต
กฎระเบยี บ และ รักษากฎระเบียบ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอ ตกลงในหองเรียนดี ขอตกลงเปน บางครงั้ เอ้อื เฟอเผ่อื แผ
มาก เปน ผทู ม่ี จี ิตสาธารณะ
มีความเอือ้ เฟอ เผื่อแผ
เปน ผทู มี่ ีจิตสาธารณะ พอสมควร
มคี วามเอ้อื เฟอ เผื่อแผ
เปน อยางมาก

23

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน
หนวยการเรียนรูที่...5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรูท.่ี ..1... เรื่อง...ประวัตปิ พาทยมอญ และเครื่องดนตรีในวงปพาทยมอญ...
รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่.ี ..5...

คาํ ชแี้ จง ใหครูผสู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชอื่ - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลประเมินดานคุณลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดบั ดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดบั ปรับปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดับ 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 - 4

24

ภาคผนวก

25

แบบทดสอบวดั ความรคู วามเขา ใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน
เร่อื ง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพาทย 4 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 5

กลมุ สาระการเรียนรวู ชิ าชพี ปพาทย

คําช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ีมที ัง้ หมด 30 ขอ

2. ขอสอบแตล ะขอ มีคาํ ตอบใหเ ลือก 4 คาํ ตอบ
3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตอง ที่สุดเพียง

คาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. ปพ าทยม อญเขามาเผยแพรใ นประเทศไทยตงั้ แตส มัยใด
ก. สมัยกรุงสโุ ขทัย
ข. สมยั กรุงศรีอยธุ ยา
ค. สมัยกรุงธนบุรี
ง. สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร

2. วงปพ าทยมอญในระยะแรกประกอบดวยเคร่อื งดนตรีช้ินใดบาง
ก. ระนาดเอก ปมอญ ตะโพนมอญ เปง มาง ฉาบใหญ
ข. ระนาดเอก ฆองมอญ ปมอญ ตะโพนมอญ ฉาบใหญ
ค. ฆอ งมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ เปงมาง ฉาบใหญ
ง. ฆองมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ ฉิง่ ฉาบใหญ

3. วงปพาทยมอญเริ่มปรากฏใหเห็นเปนลักษณะวงที่ชัดเจนเพราะใคร ที่เปนผูนําเอาฆองมอญมาบรรเลง
ประกอบการราํ ผใี นชุมชนมอญจังหวัดปทมุ ธานี

ก. นายสี (ไมท ราบนามสกุล)
ข. นายเจ้นิ ดนตรีเสนาะ
ค. นายสุม ดนตรีเจรญิ
ง. หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
4. รานฆองมอญแบบโบราณ ทางหวั โคงดานซา ยมอื ของผูบ รรเลงนยิ มแกะสลกั เปน รปู อะไร
ก. หงส
ข. ครฑุ
ค. กินนร
ง. พระ

26

5. หัวโคง ของรา นฆอ งมอญดา นซายมือของผูบรรเลงมชี ่อื เรยี กวาอะไร
ก. หนา พระ
ข. หางหงส
ค. หางแมงปอ ง
ง. หางกินนร

6. ลกู ฆอ งมอญวงใหญมีทั้งหมดกีล่ ูก
ก. 14 ลูก
ข. 15 ลูก
ค. 16 ลูก
ง. 17 ลกู

7. ขอใดไมใ ชการประสมวงปพาทยมอญ
ก. วงปพ าทยม อญเครือ่ งหา
ข. วงปพ าทยม อญเคร่ืองหก
ค. วงปพ าทยม อญเคร่อื งคู
ง. วงปพาทยม อญเครื่องใหญ

8. ขอ ใดไมใชเ ครอื่ งดนตรีในวงปพ าทยมอญเคร่ืองหา
ก. ระนาดเอก
ข. ระนาดทมุ
ค. ตะโพนมอญ
ง. เปง มางคอก

9. วงปพ าทยม อญเครื่องคูมเี คร่ืองดนตรชี ิน้ ใดบาง ท่เี พ่ิมขน้ึ มาจากวงปพาทยมอญเคร่ืองหา
ก. ฆองมอญวงเล็ก และระนาดทมุ
ข. ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุม เหล็ก
ค. เปงมาง และโหมง
ง. ระนาดทมุ และเปงมาง

10. การประสมวงปพ าทยมอญเครอ่ื งคูเ กดิ ขน้ึ ในสมยั ใด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 3
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รชั กาลที่ 5

27

11. ขอ ใดไมใ ชพ ธิ กี รรมของชาวมอญ
ก. พิธรี าํ บายศรี
ข. พิธรี าํ เจา
ค. พธิ ีรําสามถาด
ง. พิธีราํ ผี

12. ลูกฆองมอญวงใหญมีการขา มเสยี งระหวางลกู ทเี่ ทาใดบาง
ก. ระหวางลูกท่ี 1 กับลกู ที่ 2 และลกู ที่ 4 กบั ลูกท่ี 5
ข. ระหวางลกู ที่ 2 กบั ลูกท่ี 3 และลกู ที่ 5 กบั ลูกท่ี 6
ค. ระหวางลูกท่ี 3 กบั ลกู ท่ี 4 และลกู ท่ี 6 กับลูกที่ 7
ง. ระหวา งลูกท่ี 4 กับลูกท่ี 5 และลกู ที่ 7 กบั ลกู ที่ 8

13. คเู สยี งเดยี วกนั (คูแปด) ของฆองมอญวงใหญมีท้งั หมดก่ีคู
ก. 4 คู
ข. 6 คู
ค. 8 คู
ง. 10 คู

14. คูเ สยี งตางเสียง (คหู ก) ของฆองมอญวงใหญมที ้ังหมดกี่คู
ก. 10 คู
ข. 11 คู
ค. 12 คู
ง. 13 คู

15. คูถางเสยี งเดียวกนั (คู 15) ของฆอ งมอญวงใหญมีท้งั หมดกคี่ ู
ก. 1 คู
ข. 2 คู
ค. 3 คู
ง. 4 คู

16. คถู างตางเสียง (คู 10) ของฆอ งมอญวงใหญม ีทง้ั หมดกค่ี ู
ก. 2 คู
ข. 4 คู
ค. 6 คู
ง. 8 คู

28

17. จากกระแสคาํ บอกเลา บุคคลทานใดทไี่ มไดแ บกหามฆองมอญวงแรกเขามาในประเทศไทย
ก. นายสี (ไมทราบนามสกุล)
ข. นายเจน้ิ ดนตรเี สนาะ
ค. นายสุม ดนตรีเจริญ
ง. หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

18. “ฆองมอญ” ภาษามอญเรยี กวา อะไร
ก. ปา ตกาง
ข. ปาตกะลา
ค. ปาตนาม
ง. ปา ตจยา

19. เสยี งของฆองมอญวงใหญลูกแรก (ลูกทงั่ ) ทางซา ยมอื ของผูต ี ตรงกับโนตเสียงใด
ก. โด
ข. เร
ค. มี
ง. ซอล

20. เสยี งของฆอ งมอญวงใหญลกู สุดทา ย (ลกู ยอด) ทางขวามือของผูตี ตรงกบั โนต เสียงใด
ก. เร
ข. มี
ค. ซอล
ง. ที

21. ขอ ใดไมใ ชส วนประกอบของฆอ งมอญ
ก. หูระวงิ
ข. โขนฆอง
ค. ลกู มะหวด
ง. เทาฆอง

22. เสยี ง ซฺ หรือ ซอลตํา่ หมายถึงขอ ใด
ก. เสยี งของลกู ฆองมอญลูกท่ี 1 นบั จากซา ยมือของผูบรรเลง
ข. เสียงของลูกฆองมอญลกู ท่ี 2 นับจากซา ยมอื ของผบู รรเลง
ค. เสยี งของลกู ฆองมอญลกู ท่ี 3 นบั จากซา ยมือของผูบรรเลง
ง. เสยี งของลกู ฆองมอญลูกท่ี 4 นบั จากซายมอื ของผูบรรเลง

29

23. เสียง ดํ หรือ โดสงู หมายถงึ ขอ ใด
ก. เสียงของลูกฆองมอญลูกท่ี 7 นบั จากซายมือของผบู รรเลง
ข. เสียงของลูกฆอ งมอญลูกท่ี 8 นบั จากซายมือของผบู รรเลง
ค. เสียงของลูกฆองมอญลกู ท่ี 9 นบั จากซา ยมือของผูบรรเลง
ง. เสยี งของลูกฆองมอญลูกที่ 10 นับจากซายมือของผูบรรเลง

24. ขอใดคอื ความหมายของเพลงประจําวัด
ก. ความเจริญรงุ เรอื งในวัด
ข. บรรเลงเพอ่ื เปน การประโคมทว่ี ดั
ค. การใหความเคารพสงิ่ ศกั ดิ์สิทธิภ์ ายในวดั
ง. การเชญิ สิ่งศกั ดิ์สทิ ธ์ิทเี่ ปน มิ่งขวญั ในวัด

25. เพลงประจําวัดใชเ ครือ่ งดนตรชี ิ้นใดบรรเลงขึ้นนาํ เปน ชนิ้ แรก
ก. ฆอ งมอญวงใหญ
ข. ตะโพนมอญ
ค. โหมง
ง. ระนาดเอก

26. เพลงประจาํ วัดใชเครื่องดนตรชี ้นิ ใดบางบรรเลงกาํ กบั จงั หวะหนา ทบั
ก. ตะโพนมอญ และเปงมางคอก
ข. ตะโพน และกลองสองหนา
ค. ตะโพน และกลองทัด
ง. กลองแขก

27. เพลงประจาํ บา น ชาวมอญใชบรรเลงในงานอะไร
ก. งานศพ
ข. งานบวช
ค. งานทาํ บุญบา น
ง. ถกู ทุกขอ

28. ขอใดคอื ความหมายของเพลงประจําบา น
ก. การเชิญสง่ิ ศกั ดสิ์ ิทธทิ์ ีเ่ ปนมิง่ ขวญั
ข. ความเจริญรงุ เรือง
ค. การใหความเคารพสิง่ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ
ง. บรรเลงเพ่ือเปน การประโคมทีบ่ า น

30

29. เพลงประจําบานจัดอยใู นเพลงประเภทใด
ก. เพลงพิธีกรรม
ข. เพลงเรอ่ื ง
ค. เพลงโหมโรง
ง. เพลงประกอบการแสดง

30. เนอื้ ของหนาทบั ทใ่ี ชตกี าํ กับทํานองเพลงประจาํ บา นมีก่ปี ระโยค
ก. 2 ประโยค
ข. 4 ประโยค
ค. 6 ประโยค
ง. 8 ประโยค

31

ใบความรทู ่ี 1

เร่อื ง ประวตั ิความเปน มาของปพ าทยมอญในประเทศไทย

ประวัตคิ วามเปน มาของปพ าทยม อญในประเทศไทย

ปพาทยมอญเปนศิลปะแขนงหนึ่งที่ชนชาติมอญนําเขามาเผยแพรในประเทศไทยตั้งแตครั้งสมัย
กรงุ ศรอี ยุธยาแตไมปรากฏรูปแบบของวงที่ชัดเจน วงปพาทยมอญเริ่มปรากฏใหเห็นเปนลักษณะวงชัดเจน เมื่อนายสี
เปนนักดนตรีปพาทยมอญที่อพยพเขามาอยูในจังหวัดปทุมธานี ไดนําเอาฆองมอญมาบรรเลงประกอบการรําผี
ในหมูชุมชนมอญจังหวัดปทุมธานี และไดสืบทอดการบรรเลงเพลงมอญใหกับลูกหลานในตระกูลแตไมไดมีการ
เผยแพรใหกับผอู ่นื จนเมอ่ื นายสเี สยี ชีวติ นายเจนิ้ ผูเปนบุตรจึงไดส ืบสานการบรรเลงตอมา โดยไดจัดต้ังวงปพาทยมอญข้ึน
ในจงั หวัดปทุมธานี ในระยะแรกวงปพาทยมอญ ประกอบดวย ฆองมอญ ปมอญ ตะโพนมอญ เปงมาง และ
ฉาบใหญ

วงปพาทยมอญระยะแรก
ทม่ี า : วิสุทธิ์ จุยมา

ตอ มาปพ าทยม อญไดม ีการเผยแพรไปสูนักดนตรีในชุมชนอ่ืนๆ จากการท่ีนายเจิ้นไดไปเปนทหารเรือและ
ไดรับพระราชทานเปนทหารมหาดเล็กประจําพระองคของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธ
กรมพระนครสวรรค วรพินจิ อยใู นวังบางขนุ พรหม และเม่ือมีการบรรเลงประชันวงปพาทยมอญในวังบางขุนพรหม
นายเจิ้นไดมีโอกาสแสดงฝมือการบรรเลงปพาทยมอญให สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธ
กรมพระนครสวรรค วรพินิจ ไดทอดพระเนตร หลังจากนั้นปพาทยมอญของนายเจ้ินจึงไดมีการเผยแพรเปนท่ีรูจัก
ของนกั ดนตรีปพาทยมอญและคนท่วั ไป

32

นอกจากนายเจิ้นทเี่ ปนผูเผยแพรว งปพ าทยมอญใหกับสายวังบางขุนพรหมแลว ครูสุมผูมีความสามารถ
ในการบรรเลงปพาทยมอญอีกทานหนึ่งซ่ึงเปนนักดนตรีวงเดียวกับนายเจิ้นเม่ือคร้ังที่ไปอยูกับหลวงประดิษฐ
ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไดมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการบรรเลงกับหลวงประดิษฐไพเราะจนเปนที่รูจัก
กันทั่วไปในกรุงเทพฯและปริมณฑลทําใหปพาทยมอญเร่ิมมีบทบาท และเขามามีบทบาทในวัฒนธรรมของไทย
โดยเฉพาะวัฒนธรรมงานศพท่ีวงปพาทยมอญเขาไปเปนสวนหน่ึงในงานศพมาจนถึงปจจุบัน (สายสุนีย หะหวัง,
2555, หนา 286 - 287)

33

ใบความรทู ี่ 2

เรอื่ ง เครอ่ื งดนตรีในวงปพาทยม อญ

เคร่ืองดนตรใี นวงปพาทยมอญ

เครอ่ื งดนตรีในวงปพ าทยม อญสว นใหญเหมือนกับเครื่องดนตรีในวงปพาทยของไทย จะมีเพียงบางชิ้นที่มี
ความแตกตาง และมคี วามเปนเอกลกั ษณของปพ าทยม อญ วงปพ าทยม อญประกอบดวย
เคร่ืองดนตรี ดังนี้

1. ฆองมอญ
ฆองมอญเปนฆองวงที่ตั้งโคงขึ้นไปทั้ง 2 ขาง ไมวางวงราบไปกับพ้ืนเหมือนฆองวงของไทย

รา นฆอ งมอญมักประดษิ ฐตกแตงอยางสวยงาม เชน แกะสลกั เปนลวดลายปด ทองประดับกระจก รานฆองมอญ
โบราณทางหัวโคงดานซายมือของผูตีนิยมแกะสลักเปนรูปตัวกินนร เรียกวา “หนาพระ” ทางปลายโคงดานขวา
ของผูตีแกะสลักเปนรูปปลายหางของกินนร เรียกวา “หางหงส” ตรงกลางโคงแกะสลักเปนลายกนกปดทอง
ประดับกระจก มีเทา (ฐาน) รองตรงกลางโคงเหมือนเทาระนาดเอกและแกะสลักเปนรูปกินนรตัวเล็ก หนาอัดไว
ตรงขาขวาของกนิ นรตัวใหญท างซา ยมือรูปหนึ่ง กับทางขวามอื อกี รปู หนงึ่ ปจ จบุ ันแบบอยา งไดเปลี่ยนแปลงไปบาง

ลกู ฆอ งมอญหลอดวยทองเหลอื งเปนทรงกระบอกรูปฉัตร มีปุมอยูกลางคลายกับลูกฆองของไทย
ฆองมอญมีลูกฆอง 15 ลูก เจาะรูลูกฆองทางขอบฉัตรลูกละ 4 รู ใชเชือกหนังรอยผูกกับรานฆองใหปุมลูกฆอง
อยดู า นนอก ผูกเรียงลําดับจากลกู ตน ไปหาลูกยอด (ลูกใหญไปหาลูกเล็ก) เรียงตามลําดับเสียงจากเสียงตํ่า (ซายมือ
ของผูบรรเลง) ไปหาเสียงสูง (ขวามือของผูบรรเลง) การเรียงเสียงของฆองมอญวงใหญนั้นมีลักษณะเฉพาะ คือ
มกี ารเวน เสยี งหรือขามระหวางเสยี งสองเสยี งทเ่ี รียกวา “หลุม” โดยหลุมปรากฏข้ึนในฆองมอญวงใหญจํานวน 2 หลุม
หลุมแรกอยูระหวางลูกฆองลูกท่ี 2 และลูกที่ 3 และหลุมที่สองอยูระหวางลูกฆองลูกท่ี 5 และลูกท่ี 6 ไมตีฆองมอญ
ทําดวยไมเนื้อแข็ง ขนาดกวางประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 25 เซนติเมตร ปลายไมตีพันดวยเชือก
แลว ใชผา หมุ เชือกไวอกี ช้นั หน่งึ ยาวลงมาจากปลายไมประมาณ 12 - 15 เซนติเมตร เพื่อใหเสียงนุม (พิศาล บุญผูก,
2558, หนา 43)

ฆอ งมอญแตเดิมมีเพียงฆองมอญวงใหญเทานั้น แตเม่ือไดมีการประดิษฐฆองวงของไทยขึ้นเปน
2 ขนาด คือ ฆองวงใหญและฆองวงเล็ก จึงไดมีผูคิดสรางวงฆองมอญข้ึนเปน 2 ขนาดเหมือนกัน คือ ฆองมอญ
วงใหญและฆองมอญวงเล็ก (วรี ะ พันธเุ สอื , 2558, หนา 64,92)

34

ฆอ งมอญวงใหญ
ท่มี า : วสิ ทุ ธิ์ จุยมา

ฆองมอญวงเล็ก
ท่มี า : วสิ ุทธ์ิ จยุ มา
2. ระนาดเอก
ระนาดเอกเปนเครื่องดนตรีประเภทตี สันนิษฐานวาแตเดิมคงนําไมท่ีทําอยางกรับหลายๆอัน
วางเรียงตีใหเกิดเสียงอยางหยาบๆข้ึนกอน แลวคิดทําไมรองเปนรางวางเรียงไป ตอมาจึงประดิษฐดัดแปลงใหมี
ความลดหลนั่ กัน วางบนรางเพ่ือใหอุมเสียงได จากนั้นจึงใชเชือกรอยไมกรับขนาดตางๆนั้นใหติดกัน ขึงแขวนไว
บนราง ใชไ มตีใหเกิดเสียงกังวานไพเราะย่งิ ขน้ึ ใหช ือ่ วา “ระนาด”
ตอมามีผูคิดประดิษฐระนาดอีกชนิดหน่ึงใหมีเสียงทุม ฟงนุมไมแกรงกราวเหมือนอยางเกา จึงเรียก
ระนาดอยางใหมน ้ันวา “ระนาดทมุ ” และเรยี กระนาดอยา งเกา วา “ระนาดเอก”
ระนาดเอกถาตอ งการใหเสียงไพเราะนุมนวลมักนิยมทําดวยไมไผบง ถาตองการใหเสียงเกรียวกราว
มักนิยมทําดวยไมแกน เชน ไมมะคา ไมชิงชัน ลูกระนาดเอกมีจํานวน 21 ลูก ลูกทวน (อยูทางซายมือของผูตี)
ขนาดยาวประมาณ 39 เซนติเมตร กวางประมาณ 5 เซนตเิ มตร หนา ประมาณ 1.5 เซนติเมตร ลูกตอมาก็ลดหลั่น
กันลงไปจนถึงลูกที่ 21 หรือลูกยอด (อยูทางขวามือของผูตี) มีขนาดยาวประมาณ 29 เซนติเมตร ลูกระนาด
ทัง้ หมดรอยเชือกติดกันเปนผืนแขวนบนราง ซึ่งทําดวยไมเนื้อแข็งมีรูปคลายลําเรือ ดานหัวและทายโคงขึ้นเพื่อให

35

อุมเสียงมีแผนไมปดหัวและทายรางระนาดเรียกวา “โขน” วัดจากโขนหัวรางขางหน่ึงถึงโขนอีกขางหน่ึงยาว
ประมาณ 120 เซนตเิ มตร มฐี านรูปทรงสเ่ี หลีย่ มรองตรงสวนโคงตอนกลางเรียกวา “เทา”

ไมต รี ะนาดเอก ในสวนท่ีใชมือจับเหลาเปนกานใหเล็ก สวนปลายท่ีใชตีทําเปน 2 ชนิด ชนิดหนึ่ง
พนั ดวยผาชุบยางรกั บรรเลงใหเ สียงดังเกรียวกราวใชก ับวงปพาทยไ มแ ขง็ ไมตีอีกชนิดหน่ึงคิดทํากันขึ้นในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทําดวยวัสดุซ่ึงนุมกวา โดยใชผาพันแลวถักดายสลับจนนุม บรรเลง
ใหเสยี งนุมนวล เมอื่ ผสมเขา วงเรียกวา “ปพ าทยไมนวม”

ระนาดเอกเปนเครื่องดนตรีหลักในการนําไปประสมวง เชน วงปพาทยเคร่ืองหา วงปพาทย
เครื่องคู วงปพาทยดึกดําบรรพ วงปพาทยมอญ หรือแมในวงมโหรีไมวาจะเปนวงเคร่ืองเล็ก วงเครื่องคู หรือ
วงเครอ่ื งใหญกใ็ ชร ะนาดเอกเปนหลักท้ังส้นิ (วรี ะ พันธเุ สือ, 2558, หนา 93 - 94)

ระนาดเอก
ท่ีมา : วสิ ทุ ธ์ิ จยุ มา

3. ระนาดทมุ
ระนาดทุมเปนระนาดชนิดหน่ึง สรางข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เลียนแบบ

ระนาดเอก ลกู ระนาดทําดวยไมไผบง แตเหลาใหมีความกวางและยาวกวาลูกระนาดเอก ลูกระนาดทุมมีจํานวน
17 ถึง 18 ลูก ลูกตนยาวประมาณ 42 เซนติเมตร กวางประมาณ 6 เซนติเมตร ลูกตอมาก็ลดหล่ันจนถึงลูกยอด
มีความยาวประมาณ 34 เซนติเมตร กวางประมาณ 5 เซนติเมตร รางระนาดทุมมีรูปรางตางจากรางระนาดเอก คือ
คลายหีบไมแตเวากลาง มีโขนปดทางดานหัวและดานทาย วัดจากปลายโขนดานหนึ่งไปยังอีกดานหน่ึง ยาว
ประมาณ 124 เซนติเมตร ปากรางกวา งประมาณ 22 เซนติเมตร มเี ทาเตี้ยๆรอง 4 มุมราง หรืออาจติดลูกลอที่เทา
ทั้ง 4 ขางเพื่อใหเคล่ือนยายไดงาย ไมตีก็ประดิษฐแตกตางออกไปจากไมตีระนาดเอก โดยสวนปลายไมพันดวยผา
ใหโตและนมุ เพอ่ื ตีใหเกิดเสียงทุมเปนคนละเสียงกับระนาดเอก

ระนาดทุมใชบรรเลงในวงปพาทยท่ัวไป มีวิธีการบรรเลงที่เปนเอกลักษณแตกตางไปจากระนาดเอก
คือไมไดยึดการบรรเลงคู 8 เปนหลัก แตเปนการดําเนินทํานองท่ีลอขัดกับระนาดเอกทําใหเกิดความสนุกสนาน
นาฟงยง่ิ ขึน้ (วีระ พนั ธุเสอื , 2558, หนา 94 - 95)

36

ระนาดทมุ
ทมี่ า : วสิ ทุ ธ์ิ จุยมา
4. ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดเอกเหล็กเปนระนาดชนิดหนึ่ง สรางข้ึนภายหลังระนาดเอก แตลูกระนาดทําดวย
ทองเหลือง ระนาดเหล็กน้ีสรางขึ้นตามแนวระนาดเอก จึงเรียกวา “ระนาดเอกเหล็ก” ใชบรรเลงผสมใน
วงปพาทยเครือ่ งใหญ (วรี ะ พันธเุ สอื , 2558, หนา 95 - 96)

ระนาดเอกเหล็ก
ที่มา : วิสุทธ์ิ จุยมา
5. ระนาดทุมเหลก็
ระนาดทุมเหล็กเปนระนาดชนิดหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวมีพระราชดําริ
ใหสรา งขน้ึ ลกู ระนาดทาํ อยา งเดยี วกบั ระนาดเอกเหลก็ แตม ขี นาดใหญก วาเพ่ือใหเปนเสียงทุมเลียนอยางระนาด
ทุม มีจํานวน 16 - 17 ลูก ลูกตนยาวประมาณ 35 เซนติเมตร กวางประมาณ 6 เซนติเมตร ลูกอื่นก็ลดหล่ัน
กันลงไปตามลําดับจนถึงลูกยอดยาวประมาณ 29 เซนติเมตร กวางประมาณ 5.5 เซนติเมตร ตัวรางระนาดยาว
ประมาณ 1 เมตร ปากรางกวางประมาณ 20 เซนติเมตร มีชานย่ืนออกไปท้ัง 2 ขางราง วัดความกวางรวมชาน
ท้ัง 2 ขางดวยประมาณ 36 เซนติเมตร มีเทารองรางเหมือนระนาดทุม 4 เทา ตัวรางสูงจากพื้นถึงขอบบน
(รวมทง้ั เทา) ประมาณ 26 เซนตเิ มตร ไมตีระนาดทุม เหล็กมลี ักษณะเหมอื นไมตีระนาดเอกเหล็ก ตางกันที่วงของ
แผนหนังและดามถือมขี นาดใหญกวา (วรี ะ พนั ธเุ สอื , 2558, หนา 96)

ระนาดทุมเหล็ก
ท่ีมา : วสิ ุทธิ์ จุย มา

37

6. ปม อญ
ปมอญเปนปชนิดหน่ึงมีลักษณะเปน 2 ทอนเหมือนปชวา แตขนาดใหญกวาและยาวกวา

ทอ นเลาปท าํ ดวยไมจ รงิ กลมเรยี ว ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ตอจากหัวของเลาปลงมาประมาณ 6 เซนติเมตร
กลึงเปนลูกแกวค่ัน ดานหนาเจาะรูเรียงนิ้ว 7 รู ดานหลังเจาะรูน้ิวคํ้า 1 รู สวนทอนลําโพงยาวประมาณ 23
เซนติเมตร ทําดวยทองเหลืองหรือโลหะอยางอ่ืน และทําเปนลูกแกวค่ันกลางเหมือนกัน ปากลําโพงกวาง
ประมาณ 10 เซนติเมตร มีใบบานกางออกเปนรัศมีกวางประมาณ 6 เซนติเมตร โดยรอบ ตามปกติเลาปกับ
ลาํ โพงท่ีสอดสวมเขา ดวยกันน้นั หลวมหลดุ ออกจากกนั ไดงาย จงึ ตอ งมีเชือกเสนหนึ่งผูกลําโพงทอนบนแลวโยงมา
ผกู กบั ตวั เลาปตอนบนเหนือลกู แกว ผกู เคยี นเปนทักษิณาวรรต ดว ยวธิ ีผกู เชือกท่เี รียกวา “ผูกเงื่อนสับปลาชอน”
เนอ่ื งจากปมอญใหญแ ละยาวกวาปไฉนและปช วา กําพวดของปจ ึงยาวกวาไปดวยตามสวน คือ ยาวประมาณ 8 - 9
เซนติเมตร และใหญกวากาํ พวดปชวาเล็กนอย มีแผนกะบังลมสําหรับกันริมฝปากผูเปาเชนเดียวกับปไฉนและปชวา
(วีระ พันธเุ สือ, 2558, หนา 97)

ปม อญ
ท่ีมา : วิสุทธิ์ จุยมา

7. โหมง 3 ใบ
โหมง 3 ใบเปนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ประกอบดวยกระจังโหมงเปนเสมือนราวแขวน

ประกอบดวย เสา หนากระจัง และไมถาง โดยใชเชือกรอยเพ่ือรั้งใหสวนประกอบตางๆเขาที่และต้ังอยูได โดยมี
ลูกโหมง 3 ใบ มีเสียงสูง เสียงกลาง และเสียงต่ํา เสียงสูงและเสียงกลางแขวนไวระดับสูงกวาเสียงตํ่า ใชตีเปน
เครือ่ งประกอบจงั หวะ (วีระ พันธเุ สอื , 2558, หนา 99)

38

โหมง 3 ใบ
ทม่ี า : วสิ ุทธ์ิ จุย มา
8. ตะโพนมอญ
ตะโพนมอญเปนเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองหนัง มีลักษณะคลายตะโพนของไทยแตขนาดใหญกวา
มีเสียงดังกังวานกวาตะโพนของไทย หุนตะโพนมอญยาวประมาณ 70 เซนติเมตร ภาษามอญหนาใหญเรียกวา
“เมิกโนก” ขนาดกวางประมาณ 42 เซนติเมตร หนาเล็กเรียกวา “เมิกโดด” ขนาดกวางประมาณ 35 เซนติเมตร
การโยงสายเรงเสียงดวยหนังเรียด มีหูหิ้วรอยถักดวยหนัง ๒ หู ตัวตะโพนดานลางผูกยึดติดกับสะพานของเทา
ตะโพนมอญที่ทําดวยไมเปนขาต้ังรองรับหุนตะโพนมอญ ท่ีหนากลองมีการติดขาวสุกบดผสมขี้เถาหรือวัสดุอื่น
เพื่อถวงเสียง ตะโพนมอญใชบรรเลงผสมในวงปพาทยมอญ มีหนาท่ีบรรเลงหนาทับกํากับจังหวะตางๆ บางครั้ง
ใชใ นวงปพาทยไทยเม่อื บรรเลงเพลงมอญ (วีระ พันธุเสือ, 2558, หนา 98)

ตะโพนมอญ
ท่มี า : วสิ ุทธิ์ จุย มา
9. เปงมางคอก
เปงมางคอกเปนกลองชนิดหน่ึง ใชในวงปพาทยมอญ ลูกเปงมางมีจํานวน 7 ลูก มีขนาดลดหล่ัน
กันลงไป เทียบเสียงสูงตํ่าเรียงลําดับดวยการติดท่ีถวงเสียงบริเวณหนากลอง แขวนเรียงเสียงท่ีคอกซึ่งทําดวยไม
เปนแผงตอกันเปนรูปคร่ึงวงกลมลอมตัวผูตีที่มีขนาดความสูงประมาณ 66 เซนติเมตร โคงเปนวงกวางประมาณ
116 เซนติเมตร ใชตีขดั สอดประสานกบั ตะโพนมอญ (วีระ พนั ธเุ สอื , 2558, หนา 100)

39

เปง มางคอก
ท่ีมา : วิสุทธ์ิ จุยมา

40

ใบความรทู ่ี 3

เรื่อง การประสมวงปพาทยมอญ

การประสมวงปพ าทยม อญ

อาจารยมนตรี ตราโมท อธิบายถึงลักษณะของปพาทยมอญโดยกลาวถึงเครื่องดนตรีมอญ และ
การประสมวงไวในหนังสือศิลปวัฒนธรรมไทยวา

“วงปพาทยมอญน้ีเปนเคร่ืองดนตรีประจําชาติรามัญอยางหน่ึง วงปพาทยมอญที่แทน้ันมีเครื่องบรรเลง
เทียบไดก บั เคร่อื งหา ของไทยเทานนั้ ” คือ

1. ปม อญ รูปรา งคลา ยปชวาแตใหญก วา และมีลําโพงทาํ ดว ยทองเหลอื ง
2. ระนาดเอก รปู รา งเหมอื นของไทย
3. ฆองมอญ ลักษณะของวงโคงข้ึนท้ังสองขาง ตัวรานฆองแกะสลักลวดลายปดทองประดับกระจก
งดงาม ทางดา นซายมือของคนตี มักแกะเปนรูปกนิ นรจับนาค เรียกวา “หนาพระ” (ลักษณะนามของฆองมอญ
เรียกได 2 แบบคอื วง หรือ โคง แตในเลม น้ีจะใชเ รียกวา โคง )
4. ตะโพนมอญ รปู รางคลา ยตะโพนไทยแตใหญก วา
5. เปงมางคอก มีหลายลูก (โดยมากมี 7 ลูก) เทียบเสียงสูงตํ่าเรียงลําดับแขวนกับคอกเปนวงลอมตัว
ผตู ี และมเี คร่ืองประกอบจงั หวะคอื ฉง่ิ ฉาบ โหมง เหมือนของไทย มาในสมัยหลังๆน้ี โหมงมักจะเพิ่มเปน
3 ลูก มีเสียงสงู ตาํ่ เปน 3 เสยี ง
วงปพาทยของมอญแตเดิมมีอยูเทาน้ี แมเวลาน้ีเมืองมอญในประเทศพมาวงปพาทยมอญก็มีเคร่ืองบรรเลง
3 ลกั ษณะ ดงั น้ี

1. ปพาทยมอญเคร่อื งหา ประกอบดว ย
ฆอ งมอญวงใหญ 1 โคง
ระนาดเอก 1 ราง
ปม อญ 1 เลา
ตะโพนมอญ 1 ลกู
เปง มางคอก 1 ชุด

41

วงปพาทยม อญเครอื่ งหา
ทมี่ า : วสิ ทุ ธิ์ จยุ มา

วงปพ าทยมอญที่เขามาในประเทศไทยในชวงตน ๆ น้ัน เปนการประสมวงท่ีเรียกวา ปพาทยมอญเคร่ืองหา
ลักษณะการประสมวงของปพาทยมอญเครื่องหาดังกลาวนี้ ที่กลาววามีลักษณะคลายการประสมวงของวงปพาทยไทย
เครื่องหานั้น หมายถึง วงปพาทยเคร่ืองหาอยางหนักที่ประกอบดวยปใน ระนาดเอก ฆองวงใหญ ตะโพน และ

กลองทัด

เคร่อื งประกอบจังหวะ เชน ฉาบใหญ ฉาบเล็ก ฉิ่ง กรับ โหมง ไมไดกําหนดตายตัววาตองมีเครื่องประกอบ
จังหวะอะไรบา ง ทงั้ นี้ขึ้นอยกู ับความเหมาะสมของขนาดวงปพาทยแ ละโอกาสท่บี รรเลงเปนสาํ คญั

2. ปพ าทยมอญเคร่อื งคู ประกอบดว ย

ฆอ งมอญวงใหญ 1 โคง

ระนาดเอก 1 ราง

ระนาดทุม 1 ราง เพม่ิ ตามแบบแผนการประสมวงของ

ฆอ งมอญวงเลก็ 1 โคง วงปพ าทยไทย

ปม อญ 1 เลา

ตะโพนมอญ 1 ลกู

เปง มางคอก 1 ชุด

เครอื่ งประกอบจังหวะโหมง 3 ใบ (เพิ่มข้นึ จากเครื่องประกอบจังหวะทม่ี ีในปพาทยมอญเคร่ืองหา)

42

วงปพาทยมอญเคร่อื งคู
ทีม่ า : วสิ ุทธ์ิ จยุ มา

การประสมวงปพาทยเคร่ืองคูของไทยท่ีเกิดข้ึนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว
วงปพ าทยม อญไดมีการปรับปรุงใหเพ่ิมระนาดทุมและฆองวงเล็กเพ่ิมขึ้น เชน เดียวกบั วงปพ าทยเ ครอื่ งคูของไทย

3. วงปพาทยมอญเครือ่ งใหญ ประกอบดว ย

ฆอ งมอญวงใหญ 1 โคง

ระนาดเอก 1 ราง

ระนาดเอกเหลก็ 1 ราง เพิ่มตามแบบแผนการประสมวงของ
ระนาดทุม 1 ราง วงปพ าทยไทย
ระนาดทุม เหลก็ 1 ราง

ฆองมอญวงเล็ก 1 โคง

ปม อญ 1 เลา

ตะโพนมอญ 1 ลูก

เปงมางคอก 1 ชดุ

โหมง 3 ใบ 1 ชดุ

เครื่องประกอบจังหวะ เชน ฉิ่ง ฉาบใหญ ฉาบเล็ก กรับ เชนเดียวกับที่ใชในวงปพาทยเคร่ืองหา

และปพ าทยเครื่องคู

43

วงปพ าทยมอญเคร่ืองใหญ
ท่ีมา : วิสทุ ธิ์ จยุ มา

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว วงปพาทยไทยไดนําระนาดเอกเหล็กและระนาดทุม
เหล็กมาประสมในวงปพาทยไทย เรียกวา วงปพาทยเคร่ืองใหญ วงปพาทยมอญไดนําระนาดเอกเหล็กและ
ระนาดทุมเหล็กมาประสมวงในวงปพาทยมอญดวย เรียกวา วงปพาทยมอญเครื่องใหญ (พิศาล บุญผูก,
2558, หนา 62 - 64)

การประสมวงปพ าทยมอญแบบพเิ ศษ
ปจจุบันการประสมวงปพาทยมอญไดมีการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อใหเปนไปตามความนิยมของสังคม

และตามความตองการของเจาภาพ ทําใหวงปพาทยมอญมีความยิ่งใหญตระการตามากขึ้น เชน นําฆองมอญ
มากกวา 2 โคง (อาจจะถึง 10 - 20 โคง) เปงมางคอกมากกวา 1 คอก ตะโพนมอญมากกวา 1 ใบ มาประสมใน
วงปพาทยมอญ เปนตน นอกจากนี้ยังมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดตําแหนงเคร่ืองดนตรีในบางโอกาส
อีกดวย เชน วงปพาทยมอญที่ใชบรรเลงประกอบการแสดงลิเก ไดมีการกําหนดที่ตั้งของเคร่ืองดนตรีจะตั้งเรียง
เปนแถวแบบหนากระดานมีฆองมอญหลายโคงเรียงเปนแถว หัวแถวและทายแถวเปนที่ต้ังของเปงมางคอกและ
ตะโพน บางคณะนาํ กระจังโหมง 3 ใบ มาตั้งประสมวงดวย ท้ังนี้เพื่อแสดงใหเห็นถึงความสวยงามของเคร่ืองดนตรี
อยางเต็มที่ การกําหนดท่ีตั้งของเคร่ืองดนตรีแตละประเภทจึงมีแบบแผนท่ีแตกตางจากเดิมที่เคยปฏิบัติมาแต
โบราณ ซง่ึ เปน ปรากฏการณใ หมของการประสมวงและการกําหนดตําแหนงท่ีตั้งของเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยมอญ
ในปจ จุบัน (พศิ าล บุญผกู , 2558, หนา 62 - 68)

44

วงปพ าทยมอญแบบพเิ ศษ
ที่มา : วิสทุ ธิ์ จยุ มา

การประสมวงปพาทยมอญลกั ษณะพเิ ศษในพธิ ีกรรมของมอญ

การประสมวงปพาทยมอญดงั กลาวมาแลว นัน้ เปนการประสมวงปพาทยมอญอนุโลมตามแบบ

การประสมวงปพาทยไทย แตการประสมวงปพาทยมอญสําหรับใชในพิธีกรรมของมอญ ไดแก พิธีรําเจา พิธีรํา

สามถาด และพิธีรําผี จะมกี ารประสมวงเฉพาะของแตล ะพิธีกรรม ดงั นี้

พิธีรําเจา เครอ่ื งดนตรีในวงปพ าทยอยางนอ ยที่สดุ ประกอบดวย

ฆอ งมอญ 1 โคง ระนาดเอก 1 ราง

ตะโพนมอญ 1 ลูก ปม อญ 1 เลา

เคร่ืองประกอบจังหวะ เชน ฉาบ กรบั

ถาจะใชเ ครือ่ งดนตรีมากกวา น้ี เชน ใชป พาทยม อญเครอ่ื งคกู ็ไมเ ปนการผิด

พธิ ีรําสามถาด เครอื่ งดนตรใี นวงปพาทยมอญคลายกบั การประสมวงปพาทยมอญในพิธีรําเจา

แตสวนมากในพิธีรําสามถาดมักจะมีเคร่ืองดนตรีมากกวาพิธีรําเจา เน่ืองจากการจัดพิธีรําสามถาดมักจัดพรอม

หรอื เปน สวนหนึง่ ในพธิ ีที่ตองใชว งปพาทยเ ครื่องคหู รอื วงปพาทยมอญเคร่ืองใหญอยูแลว เชน ในการประกอบพิธี

ยกยอดปราสาทหรือการจัดงานฌาปนกจิ ศพ เปนตน

พิธีราํ ผี ปพาทยมอญทใี่ ชในพิธรี าํ ผสี วนใหญจะประกอบดวยเครื่องดนตรีที่ใชในพิธีรําเจาและ

พธิ ีรําสามถาด เวนแตพธิ ีราํ ผีบางตระกูลท่ีกาํ หนดใหใ ชต ะโพนมอญคใู นกรณีนี้มีการใชฆองมอญคูดวย เคร่ืองประกอบ

จังหวะท่ีจะตองมีทุกคร้ังท่ีจัดพิธีรําผีคือ ไมตะขาบ ที่ทําจากลําไมไผผาซีก 2 ซีก เวลาตีใชจับมือละซีก ตีให

กระทบกนั เปนจงั หวะ

จะเหน็ ไดวา วงปพ าทยมอญทใี่ ชใ นพิธีรําเจา รําสามถาดและรําผีจะไมมเี ปงมางคอกและโหมงมาประสม

ในวง (พิศาล บุญผูก, 2558, หนา 62 - 68)

45

คะแนนการทดสอบกอ นเรยี น
โดยใชแบบทดสอบวดั ความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน
เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชา ปพ าทย 4 ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5

ลาํ ดับท่ี คะแนนกอ นเรียน
(30 คะแนน)
1 15
2
3 13
4
5 14
6
7 17
8
9 14
10
รวม 16
เฉลี่ย 10
S.D.
12

14

11
136
13.60
2.17

46

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทที่ 1 เรอื่ ง ประวตั ปิ พ าทยม อญ และเครอื่ งดนตรใี นวงปพ าทยม อญ

ดา นความรู

คําชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นมี้ ีท้งั หมด 9 ขอ

2. ขอ สอบแตละขอมีคําตอบใหเลือก 4 คาํ ตอบ
3. ใหนักเรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตองท่ีสุดเพียง

คําตอบเดยี วลงในกระดาษคาํ ตอบ

1. เครอื่ งดนตรีประเภทใดไมใชเ คร่อื งดนตรใี นวงปพ าทยมอญในระยะแรก
ก. ระนาดเอก
ข. ตะโพนมอญ
ค. ปม อญ
ง. เปง มาง

2. วงปพ าทยมอญเร่มิ ปรากฏเปนลกั ษณะวงชัดเจนในระยะแรกอยูในจังหวดั ใด
ก. นนทบรุ ี
ข. สมุทรปราการ
ค. ปทมุ ธานี
ง. กรงุ เทพมหานคร

3. วงปพาทยมอญประเภทใดที่ปรากฏขึน้ ในสมยั กรุงศรีอยุธยา
ก. วงปพ าทยม อญเครื่องหา
ข. วงปพาทยม อญเครื่องคู
ค. วงปพ าทยมอญเครอ่ื งใหญ
ง. ไมพบปรากฏรูปแบบวงทช่ี ดั เจน

4. เคร่ืองดนตรปี ระเภทใด ทมี่ อี ยใู นวงปพาทยมอญ
ก. ปใ น
ข. ปช วา
ค. โหมง 3 ใบ
ง. กลองทดั


Click to View FlipBook Version