The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 23:09:59

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

197

เกณฑการประเมิน และการใชแ บบประเมนิ ผล

เกณฑการประเมินน้ี เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ท่ีมีครูผูสอนทําหนาที่ประเมิน โดยจะตอง
สังเกตพฤติกรรมการเรยี นของนักเรยี นท่ีเขารับการประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนทร่ี ะบุไว โดยผปู ระเมินตอ งปฏิบตั ิดงั น้ี

1. ศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนท่ีระบุไวอยาง
ละเอียดเพอื่ ใหไดผ ลการประเมินที่ถูกตองตามเกณฑท ่กี ําหนดไว

2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพท่ีระบุในเกณฑ
การใหคะแนนลงในชอ งคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จสิ้นการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เร่ือง
การบรรเลงทาํ นองหลักเพลงประจาํ วดั และประจาํ บานประกอบจงั หวะหนา ทบั และจังหวะฉ่ิง

การประเมินและการใหค ะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ที่มีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลาํ ดับความถกู ตอ งตามเกณฑการใหค ะแนน

วตั ถุประสงคข องการประเมนิ
1. เพอ่ื ประเมินพฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียนในดานตา งๆเปน รายบุคคล
2. เพื่อประเมินความสามารถของนกั เรียนในความแมน ยาํ ของทํานองเพลงประจําวดั
3. เพื่อประเมินความสามารถของนักเรยี นในความถูกตองของจังหวะเพลงประจาํ วัด
4. เพื่อประเมนิ ความสามารถของนักเรยี นในความแมนยําของทํานองเพลงประจาํ บาน
5. เพอื่ ประเมนิ ความสามารถของนักเรียนในความถกู ตองของจังหวะเพลงประจาํ บา น
6. เพอื่ ประเมนิ ความสามารถของนักเรียนในดานคุณภาพเสียงและรสมือในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
7. เพอ่ื ประเมินความสามารถของนกั เรยี นในดา นปฏิภาณไหวพริบในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
8. เพอื่ ประเมินความสามารถของนกั เรียนในดานบุคลกิ ภาพในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
9. เพื่อประเมนิ ความใฝเ รียนรขู องนกั เรยี นในหอ งเรียน

198

เกณฑการประเมิน และการใหค ะแนน การประเมินผลการเรียน
เร่อื ง การบรรเลงเพลงประจาํ วัดและประจําบา นประกอบจังหวะหนาทับและจังหวะฉิ่ง

รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
1. ความแมน ยาํ
ของทาํ นองเพลง 32 1
ประจําวัด
สามารถปฏิบัตเิ พลง สามารถปฏิบัตเิ พลง สามารถปฏบิ ตั ิเพลง
2. ความถูกตอง
ของจังหวะเพลง ประจาํ วดั ไดอยาง ประจาํ วัดได มีความ ประจําวดั ได แตขาด
ประจําวดั
แมนยาํ มคี วาม แมนยาํ ชัดเจน ความแมน ยาํ ไมส มบูรณ
3. ความแมน ยํา
ของทํานองเพลง สมบูรณ ชัดเจน พอสมควร ไมครบถวน
ประจาํ บาน
ครบถว น ถูกตองตาม
4. ความถูกตอง
ของจังหวะเพลง หลกั วิธกี ารปฏบิ ตั ิ
ประจําบา น
สามารถปฏบิ ัติเพลง สามารถปฏบิ ตั ิเพลง ปฏบิ ัติเพลงประจําวัด

ประจาํ วัดเขากับ ประจําวัดเขากับจังหวะ ครอ มจงั หวะเปนสวน

จงั หวะไดอยางถูกตอง ได แตบ รรเลงครอม ใหญ ขาดความสมบรู ณ

มีความสมบูรณ ชดั เจน จังหวะในบางประโยค ไมค รบถว น

ถกู ตองตามหลักวธิ ีการ

ปฏิบัตเิ ขา จงั หวะ

สามารถปฏิบัตเิ พลง สามารถปฏบิ ัตเิ พลง สามารถปฏิบตั ิเพลง

ประจาํ บา นไดอ ยา ง ประจําบา นได มีความ ประจาํ บา นได แตข าด

แมน ยํา มคี วาม แมน ยาํ ชัดเจน ความแมนยํา ไมสมบูรณ

สมบูรณ ชัดเจน พอสมควร ไมครบถวน

ครบถว น ถูกตองตาม

หลักวิธกี ารปฏบิ ตั ิ

สามารถปฏิบัติเพลง สามารถปฏิบตั เิ พลง ปฏิบัติเพลงประจําบาน

ประจาํ บา นเขา กบั ประจาํ บา นเขา กับ ครอ มจังหวะเปน สวน

จังหวะไดอยางถูกตอง จังหวะได แตบรรเลง ใหญ ขาดความสมบูรณ

มีความสมบรู ณ ชัดเจน ครอ มจงั หวะในบาง ไมครบถวน

ถูกตองตามหลักวิธกี าร ประโยค

ปฏิบตั เิ ขา จงั หวะ

199

รายการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1
2

5. คณุ ภาพเสียง สามารถปฏิบตั ิฆองมอญ สามารถปฏบิ ัติฆองมอญ สามารถปฏิบตั ฆิ องมอญ

และรสมือในการ วงใหญได มคี ุณภาพ วงใหญได มคี ุณภาพ วงใหญได แตขาด

บรรเลงฆองมอญวง เสียงและรสมือ มคี วาม เสียงและรสมอื ตาม คณุ ภาพเสยี งและรสมือ

ใหญ ถูกตองสมบรู ณช ดั เจน หลักวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ใช ตามหลักวิธกี ารปฏบิ ตั ิ

ตามหลกั วธิ ีการปฏิบัติ กลวิธีควบคุมใหเสียง ใชกลวิธีควบคุมใหเ สียง

ใชกลวธิ ีควบคุมใหเสยี ง ดัง - เบาได สอดใส ดงั - เบาไดไมช ดั เจน

ดงั - เบาได สอดใส อารมณเ หมาะสมกบั ขาดการสอดใสอารมณ

อารมณเ หมาะสมกับ บทเพลงได มคี วาม กับบทเพลง ขาดความ

บทเพลงไดอยา งไพเราะ สมบูรณ ชดั เจน สมบูรณ

มคี วามสมบูรณชดั เจน พอสมควร

ครบถว น ถูกตองตาม

หลกั วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ

6. ปฏิภาณไหว มปี ฏภิ าณไหวพรบิ มีปฏภิ าณไหวพริบ ไมมปี ฏิภาณไหวพรบิ

พริบในการบรรเลง ในการแกปญ หาการ ในการแกป ญหาการ ในการแกปญ หาการ

ฆอ งมอญวงใหญ ปฏิบัติฆองมอญวงใหญ ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ ปฏบิ ัตฆิ องมอญวงใหญ

ไดเปน อยางดี ได แตไ มสมบรู ณ

7. บคุ ลิกภาพใน มบี คุ ลกิ ภาพในการ มบี คุ ลิกภาพในการ ขาดบุคลิกภาพในการ

การบรรเลงฆอง ปฏบิ ัติฆอ งมอญวงใหญ ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ปฏบิ ตั ิฆอ งมอญวงใหญ

มอญวงใหญ ถูกตองตามหลักวธิ ีการ ตามหลกั วิธกี ารปฏิบตั ิ ตามหลกั วิธกี ารปฏบิ ตั ิ

ปฏิบัติ ครบถวน แตไมสมบูรณ

สมบรู ณ

200

แบบประเมินผลการเรียน หนว ยการเรียนรูท่ี...5... เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรูที.่ ..7...

เร่ือง...การบรรเลงทํานองหลักเพลงประจําวัดและประจําบานประกอบจงั หวะหนา ทับและจังหวะฉงิ่ ...
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ชั้นมัธยมศกึ ษาปท.ี่ ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนที่เหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรยี นท่รี ะบุไวใ นคมู อื การใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นทกั ษะ

ลําดบั ช่ือ - สกลุ ความแมนยําของทํานองเพลงประจําวัด รวม ระดบั
ที่ ความถูก ตองของจังหวะเพลงประจําวัด คะแนน คุณภาพ
ความแมนยําของทํานองเพลงประจํา บาน
ความถูก ตองของจังหวะเพลงประจํา บาน
ุคณภาพเ ีสยงและรสมือในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ
ุบค ิลกภาพในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (21)

1 ระดับคณุ ภาพ สรุปผลประเมนิ ดานความรแู ละทกั ษะ
2 ดมี าก ระดับดีมาก = ...... คน
3 ดี ระดับดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรับปรงุ ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดบั 4 = 17 - 21
ระดับ 3 = 12 - 16
ระดบั 2 = 7 - 11
ระดับ 1 = 1 - 6

201

เกณฑการประเมนิ และการใหค ะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรม

รายการประเมิน 3 ระดับคะแนน 1
1. ความขยนั หม่ัน มีความขยนั หมนั่ เพยี ร 2 ไมมีความขยันหมัน่
เพียร ในการเรยี น หมั่น เพยี ร และไมมีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มคี วามขยนั หม่ันเพยี ร ทบทวนความรู
2. ความรับผิดชอบ อยางสม่าํ เสมอ ในการเรียน แตไมค อย
ฝก ฝนทบทวนความรู ไมมีความรับผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มีความรับผดิ ชอบ ทกุ ๆอยางท่ีไดรบั
มคี วามเอาใจใสในสิ่งที่ มคี วามรบั ผิดชอบในสงิ่ มอบหมาย
4. ความซือ่ สัตย ไดร บั มอบหมายดีมาก ที่ไดร ับมอบหมายเปน เขาเรียนสายเปนประจาํ
สุจรติ บางครัง้ และไมต รงตอเวลาท่มี ี
มคี วามตรงตอเวลาใน เขา หอ งเรียนชาบาง การนดั หมาย
5. มีจิตสาธารณะ การเขาหองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมอ่ื มีการนดั หมายเปน นัดหมายเปนบางคร้งั ไมร กั ษากฎระเบยี บและ
อยางดี ขอ ตกลง
มีความซื่อสตั ย
มีความซื่อสัตย อยใู น พอสมควร และไม เปนผูทไ่ี มม ีจิต
กฎระเบียบ และ รักษากฎระเบยี บ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอตกลงในหอ งเรยี นดี ขอตกลงเปนบางครง้ั เอื้อเฟอเผือ่ แผ
มาก เปนผทู ีม่ จี ิตสาธารณะ
มคี วามเอือ้ เฟอเผื่อแผ
เปน ผทู มี่ ีจติ สาธารณะ พอสมควร
มคี วามเออื้ เฟอ เผื่อแผ
เปน อยางมาก

202

แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น
หนวยการเรียนรทู ี่...5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ... แผนการจดั การเรียนรทู ่ี...7...
เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงประจําวดั และประจําบานประกอบจังหวะหนาทบั และจงั หวะฉ่ิง...

รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที.่ ..5...

คาํ ชแี้ จง ใหครผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ช่ือ - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลประเมินดา นคุณลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดบั ปรับปรงุ = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 – 4

203

ภาคผนวก

204

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทที่ 5 เรือ่ ง การบรรเลงทํานองหลกั เพลงประจาํ วดั และประจาํ บา น

ประกอบจังหวะหนาทับและจังหวะฉิ่ง

ดา นทักษะ

คําชแ้ี จง ใหน ักเรียนแบง กลมุ ๆละ 2 คน ปฏิบัติตามหัวขอ ตอ ไปนี้

- ปฏิบัตฆิ องมอญวงใหญเพลงประจาํ วัด ประกอบจงั หวะหนาทับและจงั หวะฉ่งิ
- ปฏบิ ตั ฆิ องมอญวงใหญเ พลงประจาํ บา น ประกอบจงั หวะหนา ทบั และจังหวะฉง่ิ

205

แบบทดสอบวัดความรคู วามเขา ใจในภาคทฤษฎี หลงั เรยี น
เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ รายวชิ า ปพ าทย 4 ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5

กลุม สาระการเรยี นรูวชิ าชพี ปพ าทย

คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นม้ี ที ้ังหมด 30 ขอ

2. ขอ สอบแตล ะขอมีคาํ ตอบใหเ ลอื ก 4 คาํ ตอบ
3. ใหนักเรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ท่ีถูกตอง ท่ีสุดเพียง

คําตอบเดียวลงในกระดาษคาํ ตอบ

1. ลูกฆองมอญวงใหญม ีทั้งหมดกลี่ ูก
ก. 14 ลูก
ข. 15 ลูก
ค. 16 ลูก
ง. 17 ลกู

2. วงปพาทยมอญเครอ่ื งคูมเี ครอื่ งดนตรีชนิ้ ใดบางท่ีไดเ พม่ิ ข้นึ มาจากวงปพ าทยมอญเครื่องหา
ก. ฆองมอญวงเล็ก และระนาดทุม
ข. ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทมุ เหล็ก
ค. เปงมาง และโหมง
ง. ระนาดทมุ และเปง มาง

3. วงปพาทยมอญในระยะแรกประกอบดว ยเครื่องดนตรีชนิ้ ใดบา ง
ก. ระนาดเอก ปม อญ ตะโพนมอญ เปง มาง ฉาบใหญ
ข. ระนาดเอก ฆอ งมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ ฉาบใหญ
ค. ฆอ งมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ เปงมาง ฉาบใหญ
ง. ฆอ งมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ ฉง่ิ ฉาบใหญ

4. ขอใดไมใชการประสมวงปพ าทยมอญ
ก. วงปพ าทยม อญเคร่อื งหา
ข. วงปพ าทยม อญเครื่องหก
ค. วงปพาทยม อญเครือ่ งคู
ง. วงปพ าทยม อญเครื่องใหญ

206

5. ปพาทยมอญเขา มาเผยแพรใ นประเทศไทยตง้ั แตสมยั ใด
ก. สมัยกรุงสุโขทยั
ข. สมยั กรุงศรีอยุธยา
ค. สมัยกรงุ ธนบุรี
ง. สมัยกรุงรัตนโกสินทร

6. รานฆองมอญแบบโบราณ ทางหัวโคงดา นซา ยมือของผบู รรเลงนยิ มแกะสลักเปน รูปอะไร
ก. หงส
ข. ครฑุ
ค. กนิ นร
ง. พระ

7. ใครเปน ผูนาํ เอาฆอ งมอญมาบรรเลงประกอบการรําผีในชมุ ชนมอญ จงั หวดั ปทุมธานี
ก. นายสี (ไมท ราบนามสกลุ )
ข. นายเจ้นิ ดนตรีเสนาะ
ค. นายสมุ ดนตรีเจรญิ
ง. หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

8. การประสมวงปพ าทยมอญเคร่อื งคูเ กดิ ขึน้ ในสมัยใด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รชั กาลที่ 3
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รชั กาลท่ี 5

9. หวั โคง ของรานฆอ งมอญดานซายมอื ของผบู รรเลงมีช่อื เรยี กวาอะไร
ก. หนาพระ
ข. หางหงส
ค. หางแมงปอง
ง. หางกนิ นร

10. ขอ ใดไมใชพ ธิ กี รรมของมอญ
ก. พิธรี ําบายศรี
ข. พธิ รี ําเจา
ค. พิธรี ําสามถาด
ง. พธิ ีราํ ผี

207

11. ขอ ใดไมใชเ คร่ืองดนตรีในวงปพ าทยมอญเครื่องหา
ก. ระนาดเอก
ข. ระนาดทุม
ค. ตะโพนมอญ
ง. เปง มางคอก

12. คูเสียงตางเสียง (คหู ก) ของฆองมอญวงใหญมีท้งั หมดก่ีคู
ก. 10 คู
ข. 11 คู
ค. 12 คู
ง. 13 คู

13. คถู า งตางเสยี ง (คู 10) ของฆอ งมอญวงใหญม ีทง้ั หมดก่คี ู
ก. 2 คู
ข. 4 คู
ค. 6 คู
ง. 8 คู

14. ลูกฆองมอญวงใหญมกี ารขามเสียงระหวา งลูกทเี่ ทา ใดบาง
ก. ระหวางลกู ท่ี 1 กับลูกที่ 2 และลูกท่ี 4 กับลูกท่ี 5
ข. ระหวางลกู ที่ 2 กับลูกที่ 3 และลูกท่ี 5 กับลูกท่ี 6
ค. ระหวา งลกู ท่ี 3 กบั ลูกที่ 4 และลกู ที่ 6 กบั ลกู ท่ี 7
ง. ระหวางลูกท่ี 4 กับลูกท่ี 5 และลกู ท่ี 7 กบั ลูกท่ี 8

15. คถู างเสยี งเดียวกนั (คู 15) ของฆอ งมอญวงใหญม ีท้งั หมดกค่ี ู
ก. 1 คู
ข. 2 คู
ค. 3 คู
ง. 4 คู

16. คเู สียงเดยี วกัน (คูแปด) ของฆองมอญวงใหญม ที ัง้ หมดกี่คู
ก. 4 คู
ข. 6 คู
ค. 8 คู
ง. 10 คู

208

17. เสยี ง ดํ หรือ โดสูง หมายถึงขอใด
ก. เสยี งของลูกฆองมอญลูกที่ 7 นบั จากซา ยมอื ของผบู รรเลง
ข. เสียงของลกู ฆองมอญลูกที่ 8 นับจากซา ยมอื ของผบู รรเลง
ค. เสียงของลกู ฆอ งมอญลกู ท่ี 9 นับจากซายมอื ของผูบ รรเลง
ง. เสยี งของลูกฆองมอญลกู ท่ี 10 นบั จากซายมือของผบู รรเลง

18. “ฆอ งมอญ” ภาษามอญเรียกวาอะไร
ก. ปา ตกาง
ข. ปาตกะลา
ค. ปา ตนาม
ง. ปา ตจยา

19. เสยี ง ซฺ หรือ ซอลต่ํา หมายถึงขอใด
ก. เสียงของลูกฆองมอญลกู ท่ี 1 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ข. เสยี งของลกู ฆอ งมอญลกู ท่ี 2 นบั จากซายมือของผบู รรเลง
ค. เสยี งของลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 3 นบั จากซายมือของผูบ รรเลง
ง. เสยี งของลกู ฆองมอญลูกที่ 4 นับจากซายมอื ของผูบรรเลง

20. จากกระแสคาํ บอกเลา บุคคลทา นใดที่มาไดแ บกหามฆองมอญวงแรกเขา มาในประเทศไทย
ก. นายสี (ไมทราบนามสกุล)
ข. นายเจิน้ ดนตรีเสนาะ
ค. นายสุม ดนตรเี จริญ
ง. หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

21. เสยี งของฆอ งมอญวงใหญลูกสุดทา ย (ลกู ยอด) ทางขวามือของผูตี ตรงกบั โนตเสียงใด
ก. เร
ข. มี
ค. ซอล
ง. ที

22. เสยี งของฆองมอญวงใหญลกู แรก (ลูกทั่ง) ทางซา ยมอื ของผูตี ตรงกบั โนตเสียงใด
ก. โด
ข. เร
ค. มี
ง. ซอล

209

23. ขอใดไมใ ชส วนประกอบของฆองมอญ
ก. หูระวิง
ข. โขนฆอง
ค. ลูกมะหวด
ง. เทา ฆอง

24. เพลงประจําวดั ใชเ ครื่องดนตรชี น้ิ ใดบา งบรรเลงกํากับจังหวะหนาทับ
ก. ตะโพนมอญ และเปงมางคอก
ข. ตะโพน และกลองสองหนา
ค. ตะโพน และกลองทดั
ง. กลองแขก

25. เพลงประจําบา นจดั อยูในเพลงประเภทใด
ก. เพลงพธิ ีกรรม
ข. เพลงเรื่อง
ค. เพลงโหมโรง
ง. เพลงประกอบการแสดง

26. เพลงประจําวัดใชเ คร่ืองดนตรชี ิน้ ใดบรรเลงขน้ึ นาํ เปน ชนิ้ แรก
ก. ฆองมอญวงใหญ
ข. ตะโพนมอญ
ค. โหมง
ง. ระนาดเอก

27. ขอใดคือความหมายของเพลงประจําบา น
ก. การเชญิ ส่งิ ศักดสิ์ ทิ ธิท์ ี่เปนมงิ่ ขวญั
ข. ความเจรญิ รุง เรือง
ค. การใหค วามเคารพส่ิงศักดส์ิ ิทธิ์
ง. บรรเลงเพอ่ื เปนการประโคมท่ีบา น

28. เน้อื ของหนาทบั ทใ่ี ชตีกํากับทาํ นองเพลงประจําบานมกี ีป่ ระโยค
ก. 2 ประโยค
ข. 4 ประโยค
ค. 6 ประโยค
ง. 8 ประโยค

210

29. ขอใดคือความหมายของเพลงประจําวัด
ก. ความเจริญรงุ เรืองในวัด
ข. บรรเลงเพ่อื เปนการประโคมทีว่ ัด
ค. การใหความเคารพสิ่งศกั ด์ิสิทธิ์ภายในวัด
ง. การเชิญสงิ่ ศกั ดิ์สิทธ์ิทเ่ี ปน มง่ิ ขวัญในวัด

30. เพลงประจาํ บาน ชาวมอญใชบ รรเลงในงานอะไร
ก. งานศพ
ข. งานบวช
ค. งานทาํ บญุ บา น
ง. ถูกทุกขอ

211

แบบประเมนิ ผลการเรยี น หนวยการเรียนรูท่.ี ..5... เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรทู ี.่ ..7...

เรือ่ ง...การบรรเลงทาํ นองหลักเพลงประจาํ วัดและประจาํ บานประกอบจังหวะหนา ทับและจังหวะฉง่ิ ...
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี...5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนที่เหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนทีร่ ะบุไวใ นคมู ือการใชเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดานทกั ษะ

ลําดับ ชอ่ื - สกุล ความแมนยําของทํานอง ระดับ
ที่ เพลงประจําวัด รวม คุณภาพ
คะแนน
ความถูกตองของจังหวะ
เพลงประจําวัด

ความแมนยําของทํานอง
เพลงประจํา บาน

ความถูกตองของจังหวะ
เพลงประจํา บาน

ุคณภาพเ ีสยงและรสมือ
ในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ
ุบค ิลกภาพในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ

1 นายณฐั พล ชมพนู ิช (3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (21)
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูเพนยี ด
3 นายอภวิ ฒั น ทมิ ทอง 3 3 3 3 3 3 3 21 ดีมาก
4 น.ส.จนิ ตจฑุ า จลุ จนั ทร 2 3 3 3 3 2 3 19 ดมี าก
5 นายปณ ณวัฒน กาญจนปราการ 3 3 3 3 3 3 3 21 ดมี าก
6 นายพพิ ฒั น บวั จํารสั 3 2 3 3 2 3 3 19 ดมี าก
7 นายนัณฐพล ศรวี เิ ศษ 3 3 3 2 3 2 3 19 ดีมาก
8 น.ส.เฟอ งฟา อารมณยม้ิ 3 3 3 3 3 3 2 20 ดมี าก
9 นายวรพล ภสู ุด 3 3 2 3 3 3 3 20 ดมี าก
10 นายภคพล ชิตทว ม 2 3 3 2 3 3 3 19 ดีมาก
3 2 3 2 3 3 3 19 ดีมาก
รวม 3 3 3 3 3 2 3 20 ดีมาก
เฉล่ีย
28 28 29 27 29 27 29 197
เกณฑค ุณภาพ
ระดับ 4 = 17 - 21 2.8 2.8 2.9 2.7 2.9 2.7 2.9 19.70
ระดับ 3 = 12 - 16
ระดับ 2 = 7 - 11 ระดับคุณภาพ สรุปผลประเมินดานความรแู ละทกั ษะ
ระดบั 1 = 1 - 6 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ..10.. คน
ดี ระดับดี = .......... คน
พอใช ระดับพอใช = ......... คน
ปรบั ปรงุ ระดบั ปรบั ปรงุ = ......... คน

212

แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน
หนว ยการเรยี นรูท ่.ี ..5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ... แผนการจัดการเรียนรูท .ี่ ..7...
เร่อื ง...การบรรเลงเพลงประจําวัดและประจําบานประกอบจงั หวะหนาทับและจังหวะฉงิ่ ...

รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่...5...

คําช้ีแจง ใหครผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนที่เหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวใ นคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีทชือ่ - สกลุ
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

1 นายณัฐพล ชมพูนิช (3) (3) (3) (3) (3) (15)
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูพะเนยี ด
3 นายอภวิ ัฒน ทมิ ทอง 323 3 3 14 ดมี าก
4 น.ส.จนิ ตจฑุ า จลุ จันทร 323 3 3 14 ดีมาก
5 นายปณณวัฒน กาญจนปราการ 333 2 3 14 ดีมาก
6 นายพพิ ฒั น บวั จาํ รัส 232 3 3 13 ดีมาก
7 นายนณั ฐพล ศรีวเิ ศษ 333 2 3 14 ดีมาก
8 น.ส.เฟอ งฟา อารมณย มิ้ 333 3 3 15 ดีมาก
9 นายวรพล ภสู ุด 333 3 3 15 ดมี าก
10 นายภคพล ชติ ทว ม 333 3 2 14 ดมี าก
323 3 3 14 ดมี าก
รวม 333 3 3 15 ดมี าก
เฉลีย่
29 27 29 28 29 142
เกณฑคุณภาพ 2.90 2.70 2.90 2.80 2.90 14.20
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมินดา นคุณลกั ษณะ
ระดับ 2 = 5 - 8 ดมี าก ระดับดมี าก = ..10.. คน
ระดบั 1 = 1 - 4 ดี ระดับดี = .......... คน
พอใช ระดับพอใช = ......... คน
ปรับปรงุ ระดับปรบั ปรงุ = ......... คน

213

คะแนนการทดสอบหลงั เรยี น
โดยใชแบบทดสอบวัดความรคู วามเขา ใจในภาคทฤษฎี หลังเรยี น
เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ รายวชิ า ปพาทย 4 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 5

ลาํ ดับที่ คะแนนหลงั เรียน
(30 คะแนน)
1 23
2
3 25
4
5 24
6
7 26
8 27
9
10 27
รวม
เฉลย่ี 26
S.D.
25

27

25
255
25.50
1.35

214

ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ีตอการเรียน

โดยใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน เรอ่ื ง การบรรเลงเพลงมอญ
รายวชิ า ปพาทย 4 รหัสวชิ า 32210 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉล่ีย
คน

1 4 4 5 4 4 5 5 5 5 5 4.60

2 5 5 4 5 5 4 4 4 4 4 4.40

3 4 4 5 5 4 5 5 5 4 4 4.50

4 4 5 4 4 4 5 4 5 4 5 4.40

5 5 5 4 4 5 4 5 5 4 5 4.60

6 4 4 4 5 4 5 4 4 5 4 4.30

7 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 4.80

8 4 5 4 4 5 4 4 5 4 5 4.40

9 4 4 5 4 4 5 5 4 5 5 4.50

10 5 4 5 5 5 5 4 5 4 4 4.60

รวม 44 45 45 44 44 47 45 47 44 46 451

x 4.40 4.50 4.50 4.40 4.40 4.70 4.50 4.70 4.40 4.60 4.51

S.D. 0.52 0.53 0.53 0.52 0.52 0.48 0.53 0.48 0.52 0.52 0.50

215

ชือ่ แผน แบบบันทกึ หลงั การสอน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 7
หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 การบรรเลงเพลงมอญ

การบรรเลงทํานองหลกั เพลงประจําวดั และประจําบา นประกอบจังหวะหนาทบั และจงั หวะฉงิ่

ผลการสอน
นักเรยี นทุกคนมีความสนใจการเรียนเปนอยางดี เรียนรูอยางสนุกสนาน มีผลการประเมินผลการเรียน

ผลการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ผลการทดสอบวัดความรูความเขาใจ
ในภาคทฤษฎี หลังเรียน และคะแนนการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียน โดยใชเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอน เรอื่ ง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5
กลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพปพาทย แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 เร่ือง การบรรเลงทํานองหลักเพลงประจําวัด
และประจําบา นประกอบจงั หวะหนา ทับและจงั หวะฉง่ิ โดยสรุปดังน้ี

1. คะแนนการประเมินผลการเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉลี่ย 19.70 คิดเปนรอยละ 93.81
(คะแนนเต็ม 21 คะแนน) คณุ ภาพระดบั ดมี าก 10 คน

2. คะแนนการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉลย่ี 14.20 คดิ เปนรอ ยละ 94.67 (คะแนนเตม็ 15 คะแนน) คุณภาพระดับดีมาก 10 คน

3. คะแนนผลการทดสอบวดั ความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี หลังเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉลีย่ 25.50 คิดเปนรอยละ 85.00 (คะแนนเตม็ 30 คะแนน)

4. คะแนนการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียน ในภาพรวมนักเรียนมีคะแนนเฉล่ีย
ความพึงพอใจเฉล่ยี เปน 4.51 และมสี ว นเบ่ียงเบนมาตรฐานเปน 0.50

5. จากการประเมินนักเรียนสรุปไดวา นักเรียนผานจุดประสงคการเรียนรู ขอ 1 - 3 ทุกคน คิดเปน
รอยละ 100

ปญ หา / อปุ สรรค
ไมพ บ

ขอ เสนอแนะ / แนวทางปรบั ปรุงแกไข

-

ลงชอ่ื
(นายวสิ ุทธ์ิ จุยมา)

ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชํานาญการ
วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป

216

บรรณานกุ รม

กรมศลิ ปากร. (2545). คาํ บรรยายวิชาดรุ ยิ างคศาสตรไ ทย. กรุงเทพฯ : หา งหนุ สว นจํากดั โรงพิมพชวนพิมพ.
กษภรณ ตราโมท. (2553). มหกรรมเพลงมอญมงคล. กรุงเทพฯ : บริษัทเทคโปรโมชั่น แอนด แอดเวอรไทซ่ิง

จาํ กัด.
เฉลิมศกั ดิ์ พิกลุ ศร.ี (2539). ดนตรีไทยอดุ มศึกษา ครั้งท่ี 27. ชลบุรี : มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
ปญ ญา รุงเรือง. (2546). ประวัตกิ ารดนตรีไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พไทยวฒั นาพาณิชย.
พศิ าล บญุ ผูก. (2558). ปพ าทยมอญรํา. กรงุ เทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพรนิ้ ติ้งแอนดพับลซิ ซ่ิง จาํ กดั .
มนตรี ตราโมท. (2531). ศพั ทส งั คีต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก ารศาสนา.
วิทยาลัยนาฏศิลป. (2551). หลักสูตรพ้ืนฐานวิชาชีพวิทยาลัยนาฏศิลป พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย. นครปฐม : วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป.
วรี ะ พนั ธุเสอื . (2558). ปพาทยมอญ. กรงุ เทพฯ : ศรเี สนหก ารพิมพ.
สมาน นอ ยนติ ย. (2553). รจู ังหวะไทย รูหัวใจดนตร.ี กรงุ เทพฯ : บริษทั โอเชี่ยน มีเดยี จาํ กัด.
สายสนุ ีย หะหวงั . (2555). การอนรุ กั ษ การฟน ฟู และสรา งมาตรฐานการบรรเลงปพ าทยมอญใน

เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล. วิทยานพิ นธ ปร.ด. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
สาํ นกั งานปลัดทบวงมหาวทิ ยาลยั . (2544). เกณฑมาตรฐานดนตรไี ทยและเกณฑการประเมิน. กรงุ เทพฯ :

หางหนุ สวนจาํ กัด ภาพพมิ พ.
รามัญคดี - MON Studies. 2558. ฆองมอญจากเมาะตะมะ สู สยามประเทศ. (ออนไลน) แหลงที่มา :

https://www.facebook.com/oneMononeGoal/posts/877368382338015.

20 สิงหาคม 2558.

217

ภาคผนวก

218

ภาคผนวก ก

กระดาษคาํ ตอบ และเฉลยแบบทดสอบภาคทฤษฎี กอนเรยี น
ระหวางเรียน และหลังเรียน

219

กระดาษคาํ ตอบกอนเรียน

ชื่อ - นามสกุล .............................................. ช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 5/....... เลขท่ี .........
ภาคเรียนที่ ........ ปก ารศึกษา ..........................

ขอ ท่ี ก. ข. ค. ง. ขอท่ี ก. ข. ค. ง.

1. 16.
2. 17.
3. 18.
4. 19.
5. 20.
6. 21.
7. 22.
8. 23.
9. 24.
10. 25.
11. 26.
12. 27.
13. 28.
14. 29.
15. 30.

220

กระดาษคําตอบระหวา งเรยี น

ช่อื - นามสกลุ .............................................. ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5/....... เลขท่ี .........
ภาคเรียนที่ ........ ปก ารศึกษา ..........................

บทท่ี ................... เรอ่ื ง ...................................................................

ขอ ที่ ก. ข. ค. ง.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.

221

กระดาษคาํ ตอบหลงั เรียน

ช่ือ - นามสกุล ...............................................ชั้น มธั ยมศึกษาปท่ี 5/....... เลขที่ .........
ภาคเรียนท่ี ........ ปก ารศึกษา ..........................

ขอ ที่ ก. ข. ค. ง. ขอ ที่ ก. ข. ค. ง.
1.
2. 16.
3. 17.
4. 18.
5. 19.
6. 20.
7. 21.
8. 22.
9. 23.
10. 24.
11. 25.
12. 26.
13. 27.
14. 28.
15. 29.
30.
ประเมินผล
คะแนนเตม็ สรุปผลการเรียน
คะแนนที่ได
กอ นเรยี น หลงั เรียน สรุปผลการเรียน
30 30 พฒั นา ควรปรับปรงุ

222

เฉลยแบบทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน

ขอที่ เฉลย ขอท่ี เฉลย
1. ข. 16. ก.
2. ค. 17. ง.
3. ก. 18. ก.
4. ค. 19. ง.
5. ก. 20. ง.
6. ข. 21. ข.
7. ข. 22. ก.
8. ข. 23. ค.
9. ก. 24. ง.
10. ข. 25. ข.
11. ก. 26. ก.
12. ข. 27. ง.
13. ค. 28. ข.
14. ข. 29. ก.
15. ข. 30. ข.

223

เฉลยแบบทดสอบวัดความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี หลังเรียน

ขอ ที่ เฉลย ขอที่ เฉลย
1. ข. 16. ค.
2. ก. 17. ค.
3. ค. 18. ก.
4. ข. 19. ก.
5. ก. 20. ง.
6. ค. 21. ง.
7. ก. 22. ง.
8. ข. 23. ข.
9. ก. 24. ก.
10. ก. 25. ก.
11. ข. 26. ข.
12. ข. 27. ข.
13. ค. 28. ข.
14. ข. 29. ง.
15. ข. 30. ง.

224

เฉลยแบบทดสอบระหวางเรียน บทท่ี 1 - 5

ขอ ท่ี 1 บทที่

2 3 4 55

(ประจําวัด) (ประจาํ บา น)

1. ก ข ค ก ข ก

2. ค ข ข ก ค ง

3. ง ค ค ค ก ง

4. ค ง ค - ค ก

5. ค ค ค - ข ข

6. ข ง ก - ข ก

7. ค ข ก - ก ง

8. ก ง ข - ข ก

9. ข ง ค - ก ข

225

ภาคผนวก ข

โนต สากลแบบฝกทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

226

แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ
คาํ อธบิ าย ตัวโนต สีแดงหมายถงึ ตีดว ยมอื ขวา และตัวโนตสีดําหมายถงึ ตดี วยมอื ซาย

แบบฝก ทักษะท่ี 1 การตไี ลเสยี งทลี ะมอื ขนึ้ - ลง

แบบฝก ทักษะที่ 2 การตไี ลเสยี งสองมือพรอมกันเปน คูเสยี งตางๆ ขึ้น - ลง

แบบฝก ทกั ษะท่ี 3 การตแี บง มอื 3 พยางค
แบบฝกทกั ษะที่ 4 การตแี บงมือ 3 พยางค แบบผสมมือ

227

แบบฝก ทักษะที่ 5 การตคี ูถาง
แบบฝกทักษะท่ี 6 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝกทกั ษะท่ี 7 การตมี อื ฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝกทกั ษะที่ 8 การตีมอื ฆองสํานวนมอญ
แบบฝก ทกั ษะที่ 9 การตีมอื ฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝกทักษะที่ 10 การตีมือฆอ งสาํ นวนมอญ
แบบฝกทกั ษะท่ี 11 การตีมอื ฆองสํานวนมอญ

228

แบบฝก ทักษะที่ 12 การตีมือฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝก ทกั ษะที่ 13 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝกทักษะที่ 14 การตีมอื ฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝก ทักษะท่ี 15 การตมี อื ฆองสํานวนมอญ
แบบฝก ทักษะท่ี 16 การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ
แบบฝกทักษะท่ี 17 การตีมือฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝก ทกั ษะที่ 18 การตีมือฆองสาํ นวนมอญ

229

แบบฝก ทกั ษะที่ 19 การตีมือฆอ งสํานวนมอญ
แบบฝกทกั ษะที่ 20 การตีมือฆองสาํ นวนมอญ

230

ภาคผนวก ค

โนตสากลเพลงประจําวัด

231

ทํานองหลกั เพลงประจาํ วัด
คําอธิบาย ตัวโนต สแี ดงหมายถงึ ตดี ว ยมือขวา และตวั โนต สีดําหมายถงึ ตีดวยมอื ซาย

ขน้ึ ตน

เที่ยวแรก

232

233

234

เทีย่ วกลับ

235

236

237

238

ภาคผนวก ง

โนตสากลเพลงประจําบา น

239

ทํานองหลกั เพลงประจําบา น
คาํ อธบิ าย ตวั โนต สแี ดงหมายถงึ ตดี วยมอื ขวา และตวั โนต สดี าํ หมายถึงตีดว ยมอื ซาย

ขน้ึ ตน

เที่ยวแรก

240

241

เทีย่ วกลับ

242

243

244

245

ประวัตยิ อ ของผูจดั ทํา

ชอื่ - นามสกลุ นายวิสทุ ธิ์ จยุ มา
ตาํ แหนง ปจจบุ ัน ครู วทิ ยฐานะ ชํานาญการ
สถานที่ทํางานปจจุบัน วทิ ยาลัยนาฏศิลป เลขท่ี 119 หมู 3
ถนน ศาลายา - นครชัยศรี ตําบลศาลายา
ประวัตกิ ารศึกษา อาํ เภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม 73170
พ.ศ. 2544
ปริญญาศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ (ศษ.บ.) สาขาดนตรีคีตศลิ ปไทยศกึ ษา
พ.ศ. 2556 สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป
ปรญิ ญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) สาขาวชิ า ดรุ ยิ างคศลิ ป
วทิ ยาลัยดรุ ิยางคศลิ ป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผลงานทภ่ี าคภูมิใจ ไดร ับรางวลั หน่ึงแสนครดู ี ประจําป 2556 ในฐานะเปนผูปฏิบตั ติ นตาม
พ.ศ. 2556 มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพทางการศึกษา จากคุรสุ ภา
เผยแพรศ ิลปวัฒนธรรม ณ เมืองคณุ หมงิ มณฑลยนู นาน
พ.ศ. 2556 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
กรรมการจัดทําผลงานสรางสรรคของวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป ชดุ ลกั ษณาวานร
พ.ศ. 2557 บรรเลงประกอบการแสดงโขนของมูลนธิ สิ ง เสรมิ ศิลปาชพี ใน
พ.ศ. 2557 สมเด็จพระนางเจา สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ตอน นาคบาศ
ควบคุมการบรรเลงในพธิ บี าํ เพญ็ กุศลพระศพ สมเด็จพระญาณสังวร
พ.ศ. 2558 สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ณ วดั บวรนิเวศวิหาร
กรรมการจัดทําผลงานสรา งสรรคของวิทยาลัยนาฏศลิ ป ชุด เทพเทวี
พ.ศ. 2558 บรรเลงประกอบการแสดงโขนของมูลนธิ ิสงเสริมศิลปาชีพใน
พ.ศ. 2558 สมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ตอน พรหมาศ
เผยแพรศลิ ปวัฒนธรรม ณ เมอื งหนานหนงิ มณฑลกวางสี
พ.ศ. 2559 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี
เผยแพรศ ิลปวัฒนธรรม ณ เกาะเกาลนู ในเขตปกครองพเิ ศษฮองกง
พ.ศ. 2560 สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนจนี
กรรมการจดั ทาํ ผลงานสรางสรรคข องวทิ ยาลัยนาฏศิลป ชดุ ตรสี บุ รรณ
พ.ศ. 2560


Click to View FlipBook Version