The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 23:09:59

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

47

5. เปง มางคอก 1 คอก มีลูกเปง ทั้งหมดก่ลี ูก
ก. 5 ลกู
ข. 6 ลูก
ค. 7 ลูก
ง. 8 ลกู

6. วิธีผูกเชอื กท่เี รียกวา “ผกู เงอ่ื นสบั ปลาชอน” เปนวธิ ที ่ใี ชก ับเคร่อื งดนตรชี นิดใด
ในวงปพ าทยมอญ
ก. ฆอ งมอญวงใหญ
ข. ปม อญ
ค. ตะโพนมอญ
ง. โหมง 3 ใบ

7. สมยั รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลาเจาอยหู วั มกี ารประสมวงปพาทยมอญประเภทใดข้นึ
ก. วงปพาทยมอญเครอื่ งหา
ข. วงปพ าทยมอญเครอ่ื งหก
ค. วงปพ าทยม อญเครือ่ งคู
ง. วงปพาทยม อญเครื่องใหญ

8. ระนาดทมุ ไมไ ดป ระสมอยใู นวงปพ าทยมอญประเภทใด
ก. วงปพาทยม อญเครื่องหา
ข. วงปพ าทยมอญเคร่ืองหก
ค. วงปพ าทยม อญเคร่ืองคู
ง. วงปพ าทยม อญเคร่ืองใหญ

9. วงปพ าทยม อญเคร่อื งใหญ มีการประสมวงขนึ้ ในสมยั ใด
ก. สมัยสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลัย
ข. สมัยสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหวั
ค. สมัยสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลก
ง. สมัยสมเด็จพระนงั่ เกลา เจา อยูหวั

48

แบบประเมินผลการเรียน หนวยการเรียนรทู ่.ี ..5... เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูท่.ี ..1... เร่อื ง...ประวตั ปิ พาทยม อญ และเคร่ืองดนตรใี นวงปพาทยมอญ...

รายวิชา...ปพาทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ช้ันมัธยมศกึ ษาปท.่ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรียนทรี่ ะบุไวในคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดานความรู

ลํา ัดบ ี่ทชือ่ - สกุล รวม ระดบั
คะแนน คณุ ภาพ
ประวั ิตความเปนมาของ
ปพาทยมอญในประเทศไทย

เครื่องดนตรี
ในวง ปพาทยมอญ

การประสมวงปพาทยมอญ
ประเภท ตาง ๆ

1 นายณัฐพล ชมพูนชิ (3) (3) (3) (9)
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูเ พนยี ด
3 นายอภิวัฒน ทิมทอง 23 3 8 ดมี าก
4 น.ส.จนิ ตจ ฑุ า จลุ จนั ทร 32 3 8 ดีมาก
5 นายปณณวัฒน กาญจนปราการ 33 3 9 ดีมาก
6 นายพพิ ฒั น บัวจาํ รัส 23 3 8 ดมี าก
7 นายนณั ฐพล ศรวี ิเศษ 32 3 8 ดมี าก
8 น.ส.เฟองฟา อารมณย ิ้ม 33 3 9 ดมี าก
9 นายวรพล ภสู ดุ 23 3 8 ดีมาก
10 นายภคพล ชติ ทว ม 32 3 8 ดมี าก
33 3 9 ดมี าก
รวม 23 3 8 ดมี าก
เฉลยี่ 26 27 30 83
2.60 2.70 3.0 8.30
เกณฑคณุ ภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดานความรู
ระดบั 3 = 6 - 7 ดีมาก ระดบั ดีมาก = ..10.. คน
ระดบั 2 = 4 - 5 ดี ระดบั ดี = .......... คน
ระดับ 1 = 1 - 3 พอใช ระดับพอใช = ......... คน
ปรับปรงุ ระดับปรับปรงุ = .......... คน

49

แบบประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมการเรียน
หนว ยการเรียนรูที.่ ..5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรูท่.ี ..1... เรือ่ ง...ประวัติปพาทยม อญ และเครื่องดนตรใี นวงปพาทยมอญ...
รายวิชา...ปพาทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่.ี ..5...

คําชแ้ี จง ใหค รผู สู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนที่เหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีทชือ่ - สกลุ
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

(3) (3) (3) (3) (3) (15)

1 นายณัฐพล ชมพูนิช 3 2 3 3 2 13 ดีมาก

2 น.ส.เก็จมณี อยูเพนียด 3 3 2 3 3 14 ดมี าก

3 นายอภวิ ัฒน ทิมทอง 3 2 2 3 3 13 ดีมาก

4 น.ส.จนิ ตจ ฑุ า จุลจนั ทร 2 3 3 3 2 13 ดมี าก

5 นายปณ ณวฒั น กาญจนปราการ 2 2 3 3 3 13 ดมี าก

6 นายพพิ ัฒน บวั จาํ รัส 3 3 2 3 3 14 ดมี าก

7 นายนณั ฐพล ศรีวเิ ศษ 3 3 2 3 3 14 ดมี าก

8 น.ส.เฟอ งฟา อารมณย ้ิม 2 3 3 3 2 13 ดีมาก

9 นายวรพล ภูสดุ 2 2 3 3 2 12 ดี

10 นายภคพล ชิตทวม 3 2 3 3 2 13 ดมี าก

รวม 26 25 26 30 25 132

เฉล่ยี 2.60 2.50 2.60 3.00 2.50 13.20

เกณฑค ุณภาพ ระดับคุณภาพ สรปุ ผลประเมินดานคุณลกั ษณะ
ระดบั 4 = 13 - 15 ดีมาก ระดบั ดีมาก = ..9.. คน
ระดบั 3 = 9 - 12 ดี ระดับดี = ..1... คน
ระดับ 2 = 5 - 8 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
ระดบั 1 = 1 - 4 ปรบั ปรุง ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน

50

แบบบนั ทกึ หลงั การสอน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 1
หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ช่อื แผน ประวัตปิ พาทยมอญ และเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยมอญ

ผลการสอน
นักเรียนทุกคนมีความสนใจการเรียนเปนอยางดี เรียนรูอยางสนุกสนาน มีผลการทดสอบวัดความรู

ความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 คะแนนการประเมินผลการเรียน
และการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง
การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการเรียนรู
วิชาชีพปพาทย แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ประวัติปพาทยมอญและเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยมอญ
โดยสรปุ ดงั น้ี

1. คะแนนการทดสอบวัดความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี กอนเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉล่ยี 13.60 คิดเปนรอ ยละ 45.33 (คะแนนเต็ม 30 คะแนน)

2. คะแนนการประเมินผลการเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉล่ีย 8.30 คิดเปนรอยละ 92.22
(คะแนนเตม็ 9 คะแนน) คณุ ภาพระดบั ดมี าก 10 คน

3. คะแนนการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉล่ยี 13.20 คิดเปน รอ ยละ 88.00 (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) คณุ ภาพระดบั ดีมาก 9 คน คุณภาพระดบั ดี 1 คน

4. จากการประเมินนักเรียนสรุปไดวา นักเรียนผานจุดประสงคการเรียนรู ขอ 1 - 3 ทุกคน คิดเปน
รอยละ 100

ปญหา / อุปสรรค
ไมพบ

ขอเสนอแนะ / แนวทางปรับปรุงแกไข
-

ลงช่อื
(นายวิสทุ ธ์ิ จุยมา)

ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ชํานาญการ
วิทยาลัยนาฏศลิ ป

51

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 2 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5
เวลา 2 ช่ัวโมง
หนว ยการเรียนรูท่ี 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ชอ่ื แผน เอกลักษณของฆอ งมอญวงใหญ
รายวชิ า ปพ าทย 4 รหสั วชิ า ศ 32210

มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้วี ดั
มาตรฐานการเรยี นรู
ศ 1.1 เขา ใจความสมั พันธร ะหวางดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของดนตรี

ท่ีเปนมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ และภมู ปิ ญ ญาไทย
ศ 1.2 เขาใจประวัติท่ีมา ลักษณะของเครื่องดนตรีไทย ประเภทของวงดนตรีไทย และ

การบาํ รุงรักษาเครื่องดนตรใี นวงปพาทย
ตวั ชีว้ ัด
ศ 1.1 ม.5/1 อธิบายความสัมพนั ธร ะหวางดนตรีไทย ประวตั ศิ าสตร
และวฒั นธรรมไทย
ม.5/2 ระบคุ ุณคาของดนตรไี ทยที่เปนมรดกทางวฒั นธรรมภมู ิ
ปญ ญาทอ งถ่ิน และภมู ิปญญาไทย
ศ 1.2 ม.5/1 อธิบายลักษณะ สวนประกอบ ระดับเสยี งและหนาทีข่ อง
เคร่อื งดนตรีไทย

สาระสาํ คญั
ฆองมอญวงใหญมีเอกลักษณเฉพาะในตัวเองหลายอยาง ทั้งรูปลักษณและแบบการวางท่ีวางในแนวต้ัง

ไมเหมือนกับฆองไทยท่ีวางในแนวนอนราบกับพื้น อีกท้ังการเรียงเสียงของลูกฆองที่มีการเวนเสียง 2 เสียง
ทเี่ รยี กวา หลมุ รวมถงึ วธิ กี ารตหี รอื มือฆอ งทแ่ี ตกตา งไปจากฆองไทย เปนคูเสียง และคูถา งแบบตา งๆ

จุดประสงคการเรียนรู
1. นกั เรียนอธบิ ายเกีย่ วกบั หลมุ ของฆอ งมอญวงใหญไดถูกตอง
2. นกั เรยี นอธิบายเกย่ี วกับคูเสยี งของฆอ งมอญวงใหญไ ดถูกตอ ง
3. นักเรยี นอธบิ ายเกยี่ วกบั คูถางของฆองมอญวงใหญไดถกู ตอง

สาระการเรียนรู
1. หลุม
2. คูเ สยี ง
3. คูถา ง

52

กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ข้ันนําเขาสบู ทเรียน
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เรื่อง ประวัติปพาทยมอญ และ
เคร่ืองดนตรีในวงปพ าทยม อญ แลว ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางความเปนเอกลักษณ
เฉพาะของฆองมอญวงใหญที่นักเรียนรูจัก จากนั้นครูใหขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับ
เอกลกั ษณข องฆองมอญวงใหญพรอมยกตัวอยา ง หลุมของฆองมอญวงใหญ

ขัน้ ปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี นการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรทู ่ี 1 เร่ือง หลุม
3. ครอู ธิบายเกยี่ วกับหลมุ ของฆอ งมอญวงใหญใหน กั เรียนฟง
4. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การ
บรรเลงเพลงมอญ บทที่ 2 ในหัวขอ หลุม
5. ครูใหนักเรียนชวยกันเลาอธิบายเกี่ยวกับหลุมของฆองมอญวงใหญ โดยครูใหขอมูล
เพิม่ เติมในสวนทีไ่ มสมบูรณ
6. ครูแจกใบความรูท ่ี 2 เร่ือง คูเสยี ง
7. ครอู ธิบายถงึ ความหมายของคูเสียงของฆอ งมอญวงใหญใ หน ักเรยี นฟง พรอ มสาธติ
8. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 2 ในหัวขอ คเู สยี ง
9. ครูใหนักเรียนแบงกลุม และออกมาชวยกันอธิบายเก่ียวกับคูเสียงของฆองมอญวงใหญ
กลมุ ละ 1 คูเสยี ง โดยครใู หข อ มูลเพม่ิ เตมิ ในสว นท่ีไมสมบูรณ
10. ครแู จกใบความรูท่ี 3 เรือ่ ง คถู า ง
11. ครอู ธบิ ายถึงความหมายของคูถา งของฆองมอญวงใหญใหน กั เรียนฟง พรอมสาธติ
12. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 2 ในหวั ขอ คูถา ง
13. ครูสุมใหนักเรียนทีละกลุมออกมาอธิบายถึงคูถางของฆองมอญวงใหญ โดยครูใหขอมูล
เพม่ิ เติมในสวนที่ไมส มบรู ณ
14. ครูใหนักเรยี นชว ยกนั บอกถึงความสําคัญ และประโยชนของการเรียน เร่ือง เอกลักษณ
ของฆองมอญวงใหญ
15. ครูชมเชยนักเรียนท่ีตั้งใจเรียน และตักเตือนนักเรียนท่ียังไมตั้งใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคุณคา ของการเรียนดนตรไี ทย เพือ่ ใหนกั เรียนเกดิ ความซาบซ้ึง

53

ข้ันสรปุ
16. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับเอกลักษณของฆองมอญวงใหญ คือ หลุมคูเสียง
และคถู า งแบบตางๆ

ส่ือการเรียนการสอน
1. เครื่องดนตรี
- ฆองมอญวงใหญ พรอ มไมตี
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ
3. ใบความรทู ่ี 1 เรือ่ ง หลมุ
4. ใบความรทู ี่ 2 เรือ่ ง คูเสยี ง
5. ใบความรูท่ี 3 เรอื่ ง คูถา ง

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู
1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
- การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน และประเมนิ ผลหลงั เรยี น
2. เคร่อื งมอื การวัดผลและประเมินผล
- เกณฑก ารใหคะแนนการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
- แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
3. เกณฑก ารวัดผลและประเมนิ ผล
ไดชว งคะแนนเฉลีย่ รอยละ 80 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
ไดชวงคะแนนเฉล่ียรอ ยละ 70 - 79 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ไดชว งคะแนนเฉลี่ยรอ ยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช
ไดช ว งคะแนนเฉลีย่ รอยละ 0 - 49 ระดบั คณุ ภาพ ควรปรบั ปรงุ

แหลง การเรียนรู

- ภูมิปญ ญาทอ งถนิ่ - หองโสตทศั นวัสดุอุปกรณ
- หอ งสมุดดนตรขี องสถาบนั ตาง ๆ - วิทยากร
- โรงละครแหง ชาติ - แหลง ชุมชน
- พิพิธภณั ฑส ถานแหงชาติ - ฯลฯ

ขอเสนอแนะ

54

นักเรียนควรฝกปฏิบัติเกี่ยวกับคูเสียง และคูถางแบบตางๆเพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน เพ่ือใหเกิดความ
ชาํ นาญ และควรหาความรเู พมิ่ เตมิ จากสอ่ื ตา งๆ เชน อนิ เตอรเนต็ หอ งสมดุ ตําราทางวิชาการ ครูผูเชี่ยวชาญ
ฯลฯ เพื่อสามารถนําไปประกอบกิจกรรมเน่ืองในโอกาสสําคัญตางๆ ท้งั ในและนอกสถานที่

55

เกณฑก ารประเมิน และการใชแบบประเมินผล

เกณฑการประเมินนี้ เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ท่ีมีครูผูสอนทําหนาท่ีประเมิน โดยจะตองสังเกต
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่เขารับการประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนทีร่ ะบไุ ว โดยผปู ระเมินตองปฏบิ ัตดิ งั น้ี

1. ศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนที่ระบุไวอยาง
ละเอยี ดเพอ่ื ใหไ ดผลการประเมนิ ทถี่ ูกตอ งตามเกณฑท ี่กาํ หนดไว

2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพท่ีระบุในเกณฑ
การใหคะแนนลงในชอ งคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จสิ้นการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เรื่อง
เอกลักษณข องฆอ งมอญวงใหญ

การประเมินและการใหคะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ท่ีมีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลาํ ดับความถกู ตอ งตามเกณฑการใหค ะแนน

วตั ถุประสงคข องการประเมิน
1. เพือ่ ประเมินพฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรยี นในดา นตางๆเปน รายบคุ คล
2. เพื่อประเมินความรูของนักเรียน เรื่อง หลุมของฆอ งมอญวงใหญ
3. เพอ่ื ประเมนิ ความรูของนกั เรยี น เรื่อง คเู สยี งของฆอ งมอญวงใหญ
4. เพ่ือประเมนิ ความรูของนักเรียน เรอ่ื ง คถู างของฆองมอญวงใหญ
5. เพือ่ ประเมินความใฝเรยี นรูของนกั เรยี นในหอ งเรียน

56

แบบประเมนิ ผลการเรียน หนวยการเรียนรทู ี่...5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรทู ่.ี ..2... เรอ่ื ง...เอกลักษณของฆองมอญวงใหญ. ..
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ช้ันมธั ยมศึกษาปท่.ี ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนที่ระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดานความรู

ลําดบั ท่ี ชอื่ - สกุล หลุมของฆองมอญวงใหญ รวม ระดบั
ูคเสียงของฆองมอญวงใหญ คะแนน คณุ ภาพ
คู ถางของฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดานความรู
2 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรงุ ระดับปรับปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑคุณภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9
ระดบั 3 = 6 - 7
ระดับ 2 = 4 - 5
ระดับ 1 = 1 - 3

57

เกณฑการประเมิน และการใหคะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรม

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
1. ความขยันหม่นั มีความขยนั หมน่ั เพยี ร 2 ไมม ีความขยันหม่นั
เพียร ในการเรยี น หมน่ั เพียร และไมม ีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มีความขยันหม่ันเพียร ทบทวนความรู
2. ความรับผดิ ชอบ อยา งสมํา่ เสมอ ในการเรยี น แตไมคอย
ฝกฝนทบทวนความรู ไมม ีความรับผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มคี วามรับผดิ ชอบ ทุกๆอยางท่ีไดรับ
มคี วามเอาใจใสในสิ่งที่ มคี วามรบั ผดิ ชอบในสง่ิ มอบหมาย
4. ความซือ่ สัตย ไดรับมอบหมายดีมาก ที่ไดรับมอบหมายเปน เขาเรียนสายเปน ประจาํ
สุจริต บางคร้งั และไมต รงตอเวลาท่ีมี
มคี วามตรงตอเวลาใน เขาหองเรียนชาบา ง การนดั หมาย
5. มีจิตสาธารณะ การเขา หองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมอ่ื มีการนัดหมายเปน นัดหมายเปน บางครงั้ ไมรักษากฎระเบียบและ
อยา งดี ขอตกลง
มีความซื่อสัตย
มีความซื่อสัตย อยูใน พอสมควร และไม เปนผูท ่ไี มม ีจิต
กฎระเบียบ และ รกั ษากฎระเบียบ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอ ตกลงในหองเรียนดี ขอตกลงเปน บางครงั้ เอ้อื เฟอเผื่อแผ
มาก เปน ผูทมี่ ีจิตสาธารณะ
มีความเอือ้ เฟอ เผื่อแผ
เปนผทู ีม่ ีจิตสาธารณะ พอสมควร
มคี วามเอือ้ เฟอ เผื่อแผ
เปน อยา งมาก

58

แบบประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น
หนว ยการเรียนรทู ี.่ ..5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูท ่.ี ..2... เรือ่ ง...เอกลักษณของฆอ งมอญวงใหญ...
รายวิชา...ปพาทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่.ี ..5...

คาํ ชี้แจง ใหค รผู สู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนที่เหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชื่อ - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดับคุณภาพ สรุปผลประเมนิ ดา นคณุ ลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรงุ ระดับปรบั ปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 - 4

59

ภาคผนวก

60

ใบความรทู ่ี 1

เร่อื ง หลมุ

หลุม คอื เสียงทเ่ี วน หรือขามระหวา งเสยี งสองเสียงในฆองมอญวงใหญ โดยหลุมปรากฏขึ้นในฆองมอญ
วงใหญจํานวน 2 หลุม หรือ 2 เสียง โดยนับจากลูกฆองลูกทวนเรียงเสียงมาจํานวน 2 ลูก และเวนเสียง 1 เสียง
จากนั้นเรียงเสียงลูกฆองจํานวน 3 ลูก คือลูกที่ 3 - 5 และเวน 1 เสียง จากนั้นเรียงเสียงตามปรกติในระบบ 7
เสยี งเต็ม จากภาพดานลางจะเหน็ ไดวา หลมุ แรกอยูระหวา งลกู ฆองลกู ท่ี 2 และลูกที่ 3 และหลุมท่ีสองอยูระหวาง
ลกู ฆอ งลูกท่ี 5 และลูกที่ 6 ซ่ึงหลุมน้ีเองถือไดวาเปนเอกลักษณในเพลงมอญ ซ่ึงเปนลักษณะเดนในการจัดรูปแบบ
โครงสรางของมือฆองมอญ และเพลงมอญ หลุมจึงมีอิทธิพลอยางสูงในการผลิตเพลง และเปนเสียงสําคัญท่ีบงบอก
ความเปนเพลงมอญ และเพลงไทยสําเนียงมอญไดดีหากแตเสียงท่ีเวนไวทั้งสองเสียงน้ันไดปรากฏในแถบเสียงสูง
ทางลูกยอดของฆองมอญ โดยการออกแบบมือฆองมอญน้ันตองพึ่งพาอาศัยการเคลื่อนของมือฆองเพื่อหลบหลีก
เสียงท่ีเปน หลมุ นัน่ เอง (วรี ะ พนั ธุเ สือ, 2558, หนา 64)

ซฺ หลุมท่ี 1 ทํ
ลฺ หลุมท่ี 2 ลํ
ด ซํ
ร ม ซ ล ท ดํ รํ มํ ฟ

หลมุ ของฆอ งมอญวงใหญ
ท่ีมา : วิสทุ ธ์ิ จยุ มา

61

ใบความรูที่ 2

เร่อื ง คูเสียง

คูเสียง คือ เสียงท่ีผสมกันตั้งแต 2 เสียงข้ึนไป อาจเกิดจากเสียงที่มีความถี่เดียวกันหรือตางความถ่ีกัน
โดยในสวนของฆองมอญนนั้ คเู สียงแบง ออกเปน 2 ประเภทคือ

1. คูเสียงเดียวกัน (คูแปด) หมายความวา เปนการใชเสียง 2 เสียงพรอมกันในเสียงที่มีความถ่ีอยูใน
ระดับเดียวกัน เสียงนั้นก็คือ เสียงที่หางกัน 1 คูแปด (สําหรับปพาทยไทย) สําหรับปพาทยมอญจะเรียกวาเสียงคูแปด
(Octave) เพราะเมอื่ กลาวถึงคูแปด (ฆองไทย) นั่น หมายถึง เสียงท่ีเรียงกันจากเสียงหน่ึงนับไปอีก 7 เสียง ก็จะ
เวียนมาเจอเสียงเดิม แตสําหรับฆองมอญ คือ การเวียนมาเจอเสียงเดิมของบางเสียงน้ันตองผานเสียงท่ีเวนไว
(หลุม) จึงไมครบ 8 ลูก หากยกตัวอยาง (ตามทางเพียงออบน) ลูกฆองลูกทวน คือ เสียง ซอล (ลูกที่ 1) เม่ือนับ
เรื่อยไปทางฝง เสียงสูง ก็จะผานเสียง ลา - โด เร มี - จะไปพบเสียงซอล (ลูกที่ 6) อีกทีก็นับไดเพียง 6 ลูก ดังน้ัน
คูเสียงเดียวกันระหวางเสียงซอล (ตํ่า) ไปถึง ซอล (กลาง) จะนับเปนคูแปดหรือคูหก หากพิจารณาดูตามเหตุแลว
เสียงท่เี ปน หลมุ ไมใ ชเสยี งทหี่ ายไปจากระบบเสยี งมอญเพยี งแตเวนเสียงไวเทาน้ัน เพราะจะปรากฏเสียงที่เปนหลุม
(ทีและฟา) ในทางชวงเสียงกลางและเสียงสูง คือลูกฆองที่ 8 และ 12 จึงสรุปไดวา แมเสียงท่ีหางกันแปดเสียง
แตจ ํานวนลูกฆอ งหา งไมถ งึ 8 ลูก ก็นับวา เปน เสยี งคแู ปด (วรี ะ พนั ธเุ สือ, 2558, หนา 69)

ลูกฆอ งลูกที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ซฺ ลฺ ด ร ม ซ

ลฺ ด ร ม ซ ล
ด ร ม ซ ล ท ดํ
ร ม ซ ล ท ดํ รํ
ม ซ ล ท ดํ รํ มํ
ซ ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ
ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ
ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

ตารางแสดงคูเสยี งเดียวกนั ประเภทคแู ปด

จากตารางแสดงใหเห็นวา คูเสียงเดียวกัน (คูแปด) น้ันมีท้ังหมด 8 คู โดยมี 2 คูท่ีมีจํานวนลูกฆองหาง
กัน 6 ลูก มี 3 คู ท่ีมีจาํ นวนลูกฆอ งหา งกัน 7 ลกู และมี 3 คู ท่ีมีจํานวนลูกฆองหางกัน 8 ลูก โดยคูเสียงทั้ง 8 คู

62

นี้จะถูกเลือกใชตามแตกระสวนของทํานองเพลงนําไป โดยสังเกตวา คูเสียงซอลและเสียงลามีท้ัง 2 คูเสียง
เดียวกนั ดงั น้นั การเลือกใชคูเ สยี งจงึ ตองพิจารณาตามเสียงของกระสวนทํานองนัน้ ๆเปนหลกั

2.2 คูเสียงตางเสียง หมายความวา เปนการใชเสียง 2 เสียงพรอมกันในเสียงท่ีตางระดับความถ่ีเสียง
กัน มกั พบการใชค ูเ สยี งตางเสียงในความหางเสียงไมเกิน 1 คูแปด (Octave) นั้น ประกอบดวย คูสอง คูสาม คูสี่
คหู า คหู ก และคูเจ็ด ประการสําคัญคอื การเวน เสยี ง (หลมุ ) ของลูกฆองมอญวงใหญน้ันทําใหการนับคูเปนปญหา

ดงั น้นั จงึ ขอนับคูต ามเหตุผลที่พิจารณาตามขอท่ี 1 ใหนับการเรียกคูตามความหางของเสียงเปนหลัก ไมนับความ

หางของลกู ฆอ งซึ่งคเู สียงตางเสยี งนใ้ี นสวนมากพบในการบรรเลงท่ี คูสอง คูสาม คูสี่ คูหา และคูหก ไมปรากฏพบ
การบรรเลงเปนคเู จ็ด (วรี ะ พันธุเ สอื , 2558, หนา 70)

2.2.1 คูเสียงคูสอง เปนการใชคูเสียงตางเสียง ที่มีเสียงเรียงชิดติดกัน 2 เสียง โดยชวงเสียง
ของลูกฆอ งมอญวงใหญ สามารถกําหนดคสู อง ไดท ้งั หมด 12 คู ดังน้ี

ลูกฆอ ง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกท่ี ลฺ หลุม ด ม หลุม ซ
คูที่ ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

ตารางแสดงคูเสียงตา งเสยี ง ประเภทคูสอง

2.2.2 คูเสียงคูสาม เปนการใชคูเสียงตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 1 เสียงคั่นกลาง
โดยชวงเสยี งของลูกฆองมอญวงใหญสามารถกาํ หนดคสู าม ไดท ั้งหมด 11 คูเสียง ดงั น้ี

63

ลูกฆอง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกที่ ลฺ หลุม ด ม หลมุ ซ
คทู ่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

ตารางแสดงคเู สยี งตา งเสียง ประเภทคสู าม

2.2.3 คูเสียงคูสี่ เปนการใชคูเสียงตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 2 เสียงคั่นกลาง

โดยชวงเสียงของลกู ฆอ งมอญวงใหญส ามารถกําหนดคูส ่ี ไดทัง้ หมด 11 คเู สียง ดังนี้

ลกู ฆอ ง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกท่ี ลฺ หลมุ ด ม หลมุ ซ
คูที่ ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

ตารางแสดงคูเสยี งตา งเสียง ประเภทคสู ่ี

2.2.5 คูเสียงคูหา เปนการใชคูเสียงตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 3 เสียงค่ันกลาง
โดยชว งเสียงของลกู ฆองมอญวงใหญส ามารถกําหนดคูหา ไดท งั้ หมด 11 คูเสยี ง ดังนี้

64

ลูกฆอ ง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลกู ที่ ลฺ หลมุ ด ม หลมุ ซ
คูท่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

ตารางแสดงคูเ สยี งตางเสยี ง ประเภทคหู า

2.2.5 คูเสียงคูหก เปนการใชคูเสียงตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 4 เสียงค่ันกลาง
โดยชวงเสียงเสยี งของลูกฆอ งมอญวงใหญสามารถกาํ หนดคูหก ไดท งั้ หมด 9 คเู สียง ดังน้ี

ลูกฆอง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลกู ที่ ลฺ หลุม ด ม หลุม ซ
คูท ่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

ตารางแสดงคูเสียงตา งเสยี ง ประเภทคหู ก

65

ใบความรทู ่ี 3

เร่ือง คถู าง

คูถาง คือ เสียงที่ผสมกันต้ังแต 2 เสียงข้ึนไป อาจเกิดจากเสียงที่มีความถ่ีเดียวกันหรือตางความถ่ีกัน

โดยในสวนของฆองมอญนั้นคูถ างแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื
1. คูถางเสียงเดียวกัน (เกินคูแปด) หมายความวา เปนการใชเสียง 2 เสียงท่ีมีความถี่อยูในระดับ

เดยี วกัน เสียงนนั้ ก็คือเสียงทห่ี างกันเปนคู 15 คู 22 ฯลฯ แตเ นื่องจากขอบเขตเสียงของฆองมอญวงใหญสามารถ

สรางคูถางเสียงเดียวกันไดเพียงคู 15 เทานั้น ดวยขอบเขตเสียงของฆองมอญวงใหญสามารถกําหนดคูถาง
เสยี งเดียวกนั ไดเ พยี ง 2 คู คือ คู ซฺ กับ ซํ และ คู ลฺ กับ ลํ (วีระ พันธุเสอื , 2558, หนา 76)

ลกู ฆองลูกที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ซฺ ลฺ ด ร ม ซ ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ

ลฺ ด ร ม ซ ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ

ตารางแสดงคูถางเสยี งเดยี วกัน (เกนิ คูแ ปด)

2. คูถา งตางเสียง หมายความวา เปนการใชเสียง 2 เสียงพรอมกันในเสียงที่ตางระดับความถี่เสียงกัน
โดยมักพบวาการใชคูถางตางเสียงในความหางเสียงเกิน 1 คูแปด (Octave) นั้น ประกอบดวย คูเกา คูสิบ คูสิบ
เอ็ด คูสิบสอง คูสิบสาม และคูสิบส่ี โดยคูถางตางเสียงนิยมใชมากในวรรคข้ึนเพลงของฆองมอญ และการเด่ียว
และเปนการสรางเสยี งทดแทนเสยี งทจ่ี ะตกหลมุ (วีระ พันธุเสอื , 2558, หนา 76)

2.1 คูถางเสียงคูเกา เปนการใชคูถางตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 7 เสียงค่ันกลาง
โดยชวงเสยี งของลกู ฆอ งมอญวงใหญสามารถกําหนดคเู กา ไดท ้งั หมด 7 คูเ สยี ง ดังน้ี

ลกู ฆอ ง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกที่ ลฺ หลมุ ด ม หลมุ ซ
คทู ่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

7

ตารางแสดงคูถางตา งเสียง ประเภทคเู กา

66

2.2 คูถางเสียงคูสิบ เปนการใชคูถางตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 8 เสียงคั่นกลาง
โดยชว งเสยี งของลกู ฆองมอญวงใหญส ามารถกาํ หนดคูสบิ ไดท ้งั หมด 6 คเู สยี ง ดังน้ี

ลูกฆอง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกท่ี ลฺ หลมุ ด ม หลุม ซ
คทู ่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

6

ตารางแสดงคูถา งตางเสียง ประเภทคสู บิ

2.3 คูถางเสียงคูสิบเอ็ด เปนการใชคูถางตางเสียง โดยความหางระหวางคูเสียงมี 9 เสียงคั่นกลาง
โดยชวงเสียงของลูกฆอ งมอญวงใหญสามารถกําหนดคูสิบเอ็ด ไดท ั้งหมด 5 คูเ สยี ง

ลกู ฆอง 1 2 345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ลูกที่ ลฺ หลมุ ด ม หลมุ ซ
คทู ่ี ซฺ ร ล ท ดํ รํ มํ ฟ ซํ ลํ ทํ

1

2

3

4

5

ตารางแสดงคูถา งตา งเสยี ง ประเภทคูสิบเอ็ด

67

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทท่ี 2 เรื่อง เอกลกั ษณของฆองมอญวงใหญ

ดานความรู

คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้มี ีท้งั หมด 9 ขอ

2. ขอสอบแตละขอ มีคําตอบใหเลอื ก 4 คาํ ตอบ
3. ใหนักเรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตองท่ีสุดเพียง

คําตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. หลมุ ของฆองมอญวงใหญมที ้ังหมดกี่หลุม
ก. 1 หลมุ
ข. 2 หลมุ
ค. 3 หลมุ
ง. 4 หลมุ

2. ถา กาํ หนดใหลูกทวนของฆองมอญวงใหญต รงกบั โนตเสียง ซฺ แลวโนตตวั ใดคอื หลมุ ของฆอ งมอญวงใหญ
ก. ลฺ
ข. ทฺ
ค. ด
ง. ร

3. ตาํ แหนง ในขอ ใดคือหลมุ ของฆองมอญวงใหญ
ก. ระหวางลกู ฆอ งลูกที่ 3 และลกู ที่ 4
ข. ระหวางลูกฆอ งลกู ที่ 4 และลกู ท่ี 5
ค. ระหวางลูกฆอ งลูกท่ี 5 และลกู ท่ี 6
ง. ระหวา งลูกฆอ งลกู ที่ 6 และลกู ท่ี 7

4. ฆองมอญวงใหญม คี เู สียงเดียวกนั (คูแ ปด) ท้งั หมดกีค่ ู
ก. 5 คู
ข. 6 คู
ค. 7 คู
ง. 8 คู

68

5. คเู สยี งของฆอ งมอญวงใหญทีม่ ี 3 เสยี งคน่ั กลาง เรียกวา คเู ทาไร
ก. คูส าม
ข. คูสี่
ค. คูหา
ง. คูหก

6. คูเ สียงของฆอ งมอญวงใหญ “คูหก” มีทัง้ หมดกีค่ ู
ก. 6 คู
ข. 7 คู
ค. 8 คู
ง. 9 คู

7. คถู างเสียงเดียวกนั (เกินคแู ปด) ของฆองมอญวงใหญ มที ั้งหมดกี่คู
ก. 1 คู
ข. 2 คู
ค. 3 คู
ง. 4 คู

8. คถู า งตางเสียงของฆองมอญวงใหญ นิยมใชมากในโอกาสใด
ก. วรรคขนึ้ ตน เพลงของฆองมอญ
ข. บรรเลงทาํ นองเด่ียว
ค. สรางเสยี งทดแทนเสยี งท่ีจะตกหลมุ
ง. ถูกทุกขอ

9. คูถ า งตา งเสยี งของฆองมอญวงใหญ “คสู ิบเอ็ด” มที งั้ หมดก่คี ู
ก. 2 คู
ข. 3 คู
ค. 4 คู
ง. 5 คู

69

แบบประเมินผลการเรยี น หนวยการเรยี นรูที่...5... เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรทู ี่...2... เรือ่ ง...เอกลักษณของฆอ งมอญวงใหญ...
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่.ี ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรยี นทร่ี ะบุไวในคูม อื การใชเ อกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดา นความรู

ลําดับท่ี ช่ือ - สกุล หลุมของฆองมอญวงใหญ รวม ระดบั
คูเสียงของ คะแนน คุณภาพ

ฆองมอญวงใหญ
ูค ถางของฆองมอญวงใหญ

1 นายณฐั พล ชมพนู ชิ (3) (3) (3) (9)
2 น.ส.เก็จมณี อยูพะเนยี ด
3 นายอภวิ ฒั น ทิมทอง 32 3 8 ดีมาก
4 น.ส.จนิ ตจ ฑุ า จลุ จนั ทร 33 3 9 ดมี าก
5 นายปณ ณวฒั น กาญจนปราการ 23 3 8 ดีมาก
6 นายพพิ ฒั น บัวจํารสั 23 3 8 ดมี าก
7 นายนณั ฐพล ศรวี ิเศษ 33 3 9 ดมี าก
8 น.ส.เฟองฟา อารมณย ิ้ม 33 3 9 ดีมาก
9 นายวรพล ภูสดุ 33 2 8 ดีมาก
10 นายภคพล ชิตทว ม 32 3 8 ดีมาก
33 3 9 ดมี าก
รวม 32 3 8 ดมี าก
เฉล่ยี 28 27 29 84
2.80 2.70 2.90 8.40
เกณฑค ุณภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9 ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดานความรู
ระดบั 3 = 6 - 7 ดมี าก ระดับดีมาก = ..10.. คน
ระดบั 2 = 4 - 5 ดี ระดับดี = ........... คน
ระดับ 1 = 1 - 3 พอใช ระดับพอใช = .......... คน
ปรบั ปรงุ ระดับปรบั ปรงุ = ........... คน

70

แบบประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน
หนว ยการเรยี นรูที.่ ..5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรทู .ี่ ..2... เรอื่ ง...เอกลักษณของฆองมอญวงใหญ...
รายวิชา...ปพาทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี...5...

คําช้แี จง ใหค รูผสู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีทชอื่ - สกลุ
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

(3) (3) (3) (3) (3) (15)

1 นายณัฐพล ชมพนู ิช 3 3 3 3 2 14 ดีมาก

2 น.ส.เกจ็ มณี อยพู ะเนียด 3 3 2 3 3 14 ดีมาก

3 นายอภวิ ัฒน ทิมทอง 3 2 3 3 3 14 ดีมาก

4 น.ส.จนิ ตจฑุ า จลุ จนั ทร 2 3 3 3 2 13 ดมี าก

5 นายปณ ณวฒั น กาญจนปราการ 2 2 3 3 3 13 ดีมาก

6 นายพพิ ัฒน บวั จาํ รสั 3 3 2 3 3 14 ดีมาก

7 นายนณั ฐพล ศรวี ิเศษ 3 3 2 3 3 14 ดมี าก

8 น.ส.เฟองฟา อารมณย ้มิ 2 3 3 3 2 13 ดมี าก

9 นายวรพล ภสู ดุ 2 2 3 3 2 12 ดี

10 นายภคพล ชิตทว ม 3 3 3 3 2 14 ดมี าก

รวม 26 27 27 30 25 135

เฉลย่ี 2.60 2.70 2.70 3.00 2.50 13.50

เกณฑคณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ สรุปผลประเมินดา นคณุ ลกั ษณะ
ระดบั 4 = 13 - 15 ดีมาก ระดับดมี าก = ..9.. คน
ระดับ 3 = 9 - 12 ดี ระดบั ดี = ..1.. คน
ระดบั 2 = 5 - 8 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
ระดบั 1 = 1 - 4 ปรบั ปรุง ระดับปรับปรงุ = ....... คน

71

แบบบันทกึ หลังการสอน

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนการจดั การเรียนรูที่ 2
หนวยการเรียนรทู ี่ 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ช่อื แผน เอกลกั ษณของฆอ งมอญวงใหญ

ผลการสอน
นักเรียนทุกคนมีความสนใจการเรียนเปนอยางดี เรียนรูอยางสนุกสนาน มีผลการประเมินผลการเรียน

และการประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน (คณุ ลักษณะ) โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง
การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพ
ปพ าทย แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 เรอื่ ง เอกลกั ษณข องฆองมอญวงใหญ โดยสรปุ ดังน้ี

1. คะแนนการประเมินผลการเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉลี่ย 8.40 คิดเปนรอยละ 93.33
(คะแนนเตม็ 9 คะแนน) คุณภาพระดบั ดีมาก 10 คน

2. คะแนนการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉลย่ี 13.50 คดิ เปนรอ ยละ 90.00 (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) คุณภาพระดบั ดีมาก 9 คน คณุ ภาพระดับดี 1 คน

3. จากการประเมินนักเรียนสรุปไดวา นักเรียนผานจุดประสงคการเรียนรู ขอ 1 - 3 ทุกคน คิดเปน
รอยละ 100

ปญ หา / อปุ สรรค
ไมพ บ

ขอเสนอแนะ / แนวทางปรับปรงุ แกไ ข
-

ลงช่อื
(นายวสิ ทุ ธ์ิ จยุ มา)

ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ชาํ นาญการ
วิทยาลัยนาฏศลิ ป

72

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5
เวลา 2 ชวั่ โมง
หนวยการเรยี นรทู ่ี 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ชือ่ แผน ความรูพน้ื ฐานเก่ยี วกบั ฆองมอญวงใหญ
รายวิชา ปพ าทย 4 รหสั วชิ า ศ 32210

มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชว้ี ดั
มาตรฐานการเรียนรู
ศ 1.1 เขาใจความสมั พันธร ะหวางดนตรี ประวตั ิศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรี

ที่เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญญาทองถนิ่ และภูมปิ ญ ญาไทย
ศ 1.2 เขา ใจประวตั ทิ ่ีมา ลกั ษณะของเครื่องดนตรไี ทย ประเภทของวงดนตรีไทย

และการบํารุงรกั ษาเคร่ืองดนตรใี นวงปพ าทย
ศ 1.3 วิเคราะห วพิ ากย วจิ ารณ ถายทอดความรสู กึ ความคดิ ตอดนตรไี ทยอยา งอิสระ ชื่นชม

ตัวชว้ี ดั
ศ 1.1 ม.5/1 อธบิ ายความสมั พันธร ะหวางดนตรไี ทย ประวัตศิ าสตร
และวฒั นธรรมไทย
ม.5/2 ระบคุ ุณคา ของดนตรไี ทยท่เี ปน มรดกทางวัฒนธรรมภูมิ
ปญญาทองถ่นิ และภมู ปิ ญ ญาไทย
ศ 1.2 ม.5/1 อธิบายลกั ษณะ สวนประกอบ ระดบั เสยี งและหนาท่ีของ
เครอ่ื งดนตรีไทย
ม.5/2 บอกวธิ กี ารดแู ลรกั ษาเครอื่ งดนตรีไทย
ศ 1.3 ม.5/1 บอกความรูส ึก ความคิดตอ ดนตรีไทยอยา งอิสระ ชนื่ ชม

สาระสําคัญ
ฆองมอญวงใหญวงแรก เขามาอยูในประเทศไทยพรอมกับชาวมอญที่อพยพและมีผูแบกหามฆองมอญ

เขามาดว ย ฆอ งมอญมีสวนประกอบทสี่ าํ คญั คือ รานฆอง และลกู ฆอง กอนท่ีจะบรรเลงตองมีการสํารวจความพรอม
ของเคร่ืองดนตรีกอนทุกคร้ัง ผูท่ีจะฝกตีฆองมอญจะตองปฏิบัติหลักพ้ืนฐานสําคัญๆ คือ ทาน่ัง วิธีการจับไม
วิธกี ารตี การเกบ็ รกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมต ีฆองมอญวงใหญ

จดุ ประสงคการเรียนรู
1. นกั เรยี นอธบิ ายเกย่ี วกบั ประวตั ิ และสวนประกอบของฆอ งมอญวงใหญไดถูกตอง
2. นกั เรียนอธบิ ายวธิ ีการสาํ รวจความพรอมและปรับเครื่องดนตรีกอนการบรรเลงไดถูกตอง
3. นักเรยี นอธบิ ายทานั่ง วิธกี ารจบั ไม และลักษณะวธิ กี ารตีฆอ งมอญวงใหญไดถูกตอง
4. นักเรียนอธบิ ายวธิ กี ารเก็บรกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมตฆี องมอญวงใหญไ ดถูกตอง

73

สาระการเรยี นรู
1. ประวัติ และสว นประกอบของฆอ งมอญวงใหญ
2. การสํารวจความพรอ มและปรับเคร่ืองดนตรกี อนการบรรเลง
3. ทาน่งั วธิ กี ารจับไม และลักษณะวธิ ีการตฆี องมอญวงใหญ
4. วิธกี ารเกบ็ รกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมต ฆี อ งมอญวงใหญ

กิจกรรมการเรียนการสอน
ขน้ั นําเขา สบู ทเรียน
1. ครแู ละนกั เรยี นรว มกันสนทนาทบทวนความรเู ดมิ เรือ่ ง เอกลักษณของฆองมอญวงใหญ
จากน้ันครูถามถึงขอมูลพื้นฐานที่ควรรูกอนท่ีจะฝกตีฆองมอญวงใหญมีอะไรบาง
แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ จากนั้นครูใหขอมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับความรูพื้นฐาน
เกี่ยวกบั ฆองมอญวงใหญพรอมยกตวั อยา ง ประวตั ิของฆองมอญวงใหญ

ขนั้ ปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครใู หตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ
และใบความรทู ี่ 1 เร่อื ง ประวัติ และสว นประกอบของฆอ งมอญวงใหญ
3. ครูอธิบายเก่ียวกบั ประวัติ และสวนประกอบของฆอ งมอญวงใหญใหนักเรยี นฟง
4. นักเรยี นศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 3 ในหวั ขอ ประวตั ิ และสว นประกอบของฆองมอญวงใหญ
5. ครูใหนักเรียนชวยกันเลาเก่ียวกับประวัติ และสวนประกอบของฆองมอญวงใหญ โดยครู
ใหข อ มลู เพ่ิมเตมิ ในสว นท่ไี มส มบูรณ
6. ครแู จกใบความรทู ี่ 2 เรื่อง การสํารวจความพรอ มและปรับเครอื่ งดนตรกี อนการบรรเลง
7. ครอู ธบิ ายวธิ กี ารสาํ รวจความพรอ มและปรับเครอ่ื งดนตรกี อนการบรรเลงใหนักเรยี นฟง
8. นกั เรยี นศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 3 ในหวั ขอ การสํารวจความพรอมและปรบั เครื่องดนตรีกอนการบรรเลง
9. ครใู หสมุ นักเรียน 3 - 4 คนออกมาอธิบายเกย่ี วกับการสาํ รวจความพรอมและปรับเคร่ืองดนตรี
กอ นการบรรเลง โดยครใู หข อมูลเพ่ิมเตมิ ในสว นที่ไมส มบูรณ
10. ครูแจกใบความรูท ี่ 3 เร่ือง ทา น่ัง วิธีการจับไม และลกั ษณะวธิ ีการตีฆองมอญวงใหญ
11. ครูอธิบายทาน่ัง วิธีการจับไม และลักษณะวิธีการตีฆองมอญวงใหญใหนักเรียนฟง
พรอมสาธิต
12. นักเรยี นศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 3 ในหัวขอ ทา นัง่ วธิ กี ารจบั ไม และลักษณะวิธกี ารตฆี องมอญวงใหญ

74

13. ครูสุมใหนักเรียนทีละกลุมออกมาอธิบายถึงทานั่ง วิธีการจับไม และลักษณะวิธีการตี
ฆองมอญวงใหญ พรอมท้ังสาธิตประกอบการอธิบาย โดยครูใหขอมูลเพ่ิมเติมในสวนที่
ไมส มบรู ณ

14. ครูแจกใบความรูที่ 4 เรื่อง การเกบ็ รักษาฆอ งมอญวงใหญ และไมตีฆองมอญวงใหญ
15. ครอู ธบิ ายวธิ กี ารเก็บรักษาฆองมอญวงใหญ และไมต ีฆอ งมอญวงใหญใหน กั เรยี นฟง
16. นักเรยี นศึกษาและทาํ ความเขา ใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง

เพลงมอญ บทท่ี 3 ในหวั ขอ การเก็บรกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมตฆี อ งมอญวงใหญ
17. ครูใหนักเรียนอธิบายวิธีการเก็บรักษาฆองมอญวงใหญ และไมตีฆองมอญวงใหญโดยครู

ใหข อ มูลเพิ่มเตมิ ในสว นที่ไมส มบรู ณ
18. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงความสําคัญ และประโยชนของการเรียน เร่ือง ความรู

พ้นื ฐานเก่ียวกบั ฆองมอญวงใหญ
19. ครูชมเชยนักเรียนที่ต้ังใจเรียน และตักเตือนนักเรียนที่ยังไมตั้งใจเรียน โดยอธิบายถึง

ประโยชนแ ละคุณคาของการเรียนดนตรไี ทย เพอ่ื ใหนกั เรยี นเกิดความซาบซ้งึ

ข้ันสรุป
20. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปเก่ยี วกับความรพู น้ื ฐานเก่ียวกบั ฆองมอญวงใหญ

ส่ือการเรียนการสอน
1. เครือ่ งดนตรี
- ฆอ งมอญวงใหญ พรอ มไมตี
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรอ่ื ง การบรรเลงเพลงมอญ
3. ใบความรูท ี่ 1 เร่ือง ประวตั ิ และสว นประกอบของฆอ งมอญวงใหญ
4. ใบความรูท่ี 2 เรอ่ื ง การสํารวจความพรอมและปรับเคร่อื งดนตรกี อนการบรรเลง
5. ใบความรูที่ 3 เร่ือง ทา นัง่ วิธีการจบั ไม และลกั ษณะวธิ ีการตฆี อ งมอญวงใหญ
6. ใบความรูท ี่ 4 เรื่อง การเก็บรักษาฆองมอญวงใหญ และไมตฆี อ งมอญวงใหญ

การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู
1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
- การสังเกตพฤติกรรมการเรยี น และประเมนิ ผลหลังเรียน
2. เครือ่ งมือการวดั ผลและประเมนิ ผล
- เกณฑก ารใหค ะแนนการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
- แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น

75

3. เกณฑการวดั ผลและประเมินผล
ไดช วงคะแนนเฉลย่ี รอยละ 80 - 100 ระดับคุณภาพ ดมี าก

ไดชวงคะแนนเฉลย่ี รอ ยละ 70 - 79 ระดบั คณุ ภาพ ดี

ไดช ว งคะแนนเฉล่ียรอยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช
ไดชว งคะแนนเฉลย่ี รอยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ควรปรับปรุง

แหลง การเรียนรู - หองโสตทศั นวัสดุอปุ กรณ
- ภูมิปญ ญาทองถน่ิ - วิทยากร
- แหลง ชุมชน
- หองสมุดดนตรขี องสถาบันตาง ๆ - ฯลฯ
- โรงละครแหงชาติ

- พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ

ขอ เสนอแนะ
นกั เรยี นควรฝกปฏิบตั ิเก่ียวกบั ลกั ษณะวิธกี ารตฆี อ งมอญวงใหญเ พิม่ เติมนอกเวลาเรียน เพื่อใหเกิดความ

ชํานาญ และควรหาความรเู พมิ่ เติมจากสือ่ ตางๆ เชน อินเตอรเนต็ หองสมุด ตําราทางวิชาการ ครูผูเชี่ยวชาญ

ฯลฯ เพอื่ สามารถนําไปประกอบกิจกรรมเน่ืองในโอกาสสําคัญตางๆ ทัง้ ในและนอกสถานที่

76

เกณฑการประเมิน และการใชแ บบประเมนิ ผล

เกณฑการประเมินนี้ เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ท่ีมีครูผูสอนทําหนาที่ประเมิน โดยจะตอง
สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นของนกั เรียนทีเ่ ขารบั การประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนทร่ี ะบุไว โดยผูประเมินตอ งปฏบิ ตั ิดงั นี้

1. ศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนท่ีระบุไวอยาง
ละเอียดเพอ่ื ใหไดผลการประเมินท่ีถูกตอ งตามเกณฑท ี่กําหนดไว

2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพที่ระบุในเกณฑ
การใหคะแนนลงในชองคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จส้ินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เรื่อง
ความรพู ื้นฐานเกีย่ วกบั ฆอ งมอญวงใหญ

การประเมนิ และการใหคะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ท่ีมีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลําดับความถูกตองตามเกณฑการใหค ะแนน

วัตถุประสงคข องการประเมนิ
1. เพอ่ื ประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี นในดา นตางๆ เปนรายบคุ คล
2. เพื่อประเมินความรูของนกั เรียน เร่อื ง ประวัติ และสวนประกอบของฆองมอญวงใหญ
3. เพ่อื ประเมินความรูของนักเรียน เร่อื ง วธิ กี ารสาํ รวจความพรอมและปรับเคร่ืองดนตรีกอนการบรรเลง

ทา นั่ง วธิ ีการจบั ไม และลักษณะวธิ ีการตฆี องมอญวงใหญ
4. เพอื่ ประเมินความรูของนกั เรียน เรื่อง วิธีการเก็บรกั ษาฆอ งมอญวงใหญ และไมตีฆอ งมอญวงใหญ
5. เพื่อประเมินความใฝเรียนรูของนักเรียนในหอ งเรยี น

77

แบบประเมินผลการเรียน หนว ยการเรยี นรทู ่.ี ..5... เรือ่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรูท.่ี ..3... เรอ่ื ง…ความรพู ืน้ ฐานเกี่ยวกับฆองมอญวงใหญ. ..

รายวิชา...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชัน้ มธั ยมศึกษาปท .ี่ ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรยี นท่ีระบุไวในคูมอื การใชเ อกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดานความรู

ลําดบั ที่ ช่อื - สกุล ประวั ิตและ สวนประกอบของ รวม ระดบั
ฆองมอญวงให ญ คะแนน คุณภาพ

วิธีการ ํสารวจความพ รอมและป ัรบ
เค ื่รองดนต ีรกอนการบรรเลง ทา
่นัง วิธีการจับไ มและ ัลกษณะ

วิธีการ ีตฆองมอญวงใหญ
วิธีการเก็บ ัรกษาฆองมอญวงใหญ

และไ ม ีตฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดบั คุณภาพ สรุปผลประเมินดานความรู
2 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดับดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรงุ ระดบั ปรบั ปรุง = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9
ระดับ 3 = 6 - 7
ระดบั 2 = 4 - 5
ระดบั 1 = 1 - 3

78

เกณฑก ารประเมนิ และการใหคะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรม

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
1. ความขยันหม่นั มคี วามขยนั หมนั่ เพยี ร 2 ไมม ีความขยันหม่นั
เพียร ในการเรียน หมั่น เพียร และไมม ีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มคี วามขยันหม่ันเพียร ทบทวนความรู
2. ความรับผดิ ชอบ อยางสมาํ่ เสมอ ในการเรยี น แตไมคอย
ฝก ฝนทบทวนความรู ไมม ีความรบั ผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มคี วามรับผดิ ชอบ ทุกๆอยางท่ีไดรับ
มคี วามเอาใจใสในสิ่งที่ มคี วามรบั ผดิ ชอบในสง่ิ มอบหมาย
4. ความซือ่ สตั ย ไดร ับมอบหมายดีมาก ท่ไี ดรบั มอบหมายเปน เขาเรยี นสายเปน ประจาํ
สุจริต บางคร้ัง และไมต รงตอเวลาท่ีมี
มีความตรงตอเวลาใน เขา หอ งเรียนชาบา ง การนดั หมาย
5. มีจิตสาธารณะ การเขา หองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมือ่ มีการนัดหมายเปน นดั หมายเปน บางครงั้ ไมรักษากฎระเบียบและ
อยางดี ขอตกลง
มีความซ่ือสัตย
มีความซื่อสัตย อยใู น พอสมควร และไม เปนผูท ่ไี มม ีจิต
กฎระเบยี บ และ รักษากฎระเบียบ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอ ตกลงในหองเรียนดี ขอตกลงเปน บางครงั้ เอ้อื เฟอเผ่อื แผ
มาก เปน ผทู ม่ี จี ิตสาธารณะ
มีความเอือ้ เฟอ เผื่อแผ
เปน ผทู มี่ ีจิตสาธารณะ พอสมควร
มคี วามเอ้อื เฟอ เผื่อแผ
เปน อยางมาก

79

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
หนว ยการเรียนรูท่ี...5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูท่ี...3... เร่ือง...ความรูพ้ืนฐานเก่ยี วกับฆอ งมอญวงใหญ. ..
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่.ี ..5...

คําชแี้ จง ใหค รผู ูส อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวในคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชือ่ - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คุณภาพ สรุปผลประเมนิ ดานคุณลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดบั ดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดับปรบั ปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคุณภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 - 4

80

ภาคผนวก

81

ใบความรทู ่ี 1

เรือ่ ง ประวัติ และสว นประกอบของฆองมอญ

1. ประวตั ขิ องฆอ งมอญวงใหญ

ประวตั ขิ องฆอ งมอญวงใหญ ตามทผี่ จู ัดทําไดศึกษาขอมูลจากการสัมภาษณ คนควาเอกสาร และงานวิจัย
ที่เกี่ยวของกับประวตั ฆิ อ งมอญวงใหญ สรุปพอสงั เขปไดว า เมื่อครั้งท่ีชาวมอญอพยพเขามาอยูในประเทศไทยไดมี
ผูแบกหามฆองมอญเขามาดวย ซ่ึงเปนส่ิงที่นักดนตรีไทยเคยไดยินกันมาและคุนหูเปนอยางดี แตสําหรับผูท่ีแบก
เขามาเปน ใครนัน้ ไดมีการบอกเลามาหลายกระแสซ่ึงพอจาํ แนกไดด ังนี้

กระแสที่ 1 เลาสืบตอกันมาวา ครูสุม ดนตรีเจริญ เดิมอยูท่ีปทุมธานี ภายหลังไดยายไปอยูที่
กรุงเทพมหานคร เปนผูแบกฆองมอญเฉพาะสวน “หนาพระ” และ “หางแมงปอง” จากเมืองมอญอพยพเขามา
ประเทศไทย และไดส รางสว นกลางของรานฆอ งขึ้นในประเทศไทย ครูสุมผูนี้เปนผูสนิทสนมและถายทอดเพลงมอญ
ใหกบั หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปน จํานวนมาก

กระแสที่ 2 รศ.ดร.เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี เลาวา เมื่อคร้ังท่ีไดคลุกคลีอยูกับวงปพาทยในอดีต ไดยินมาวา
ครเู จ้ิน ดนตรีเจริญ เปนผูแบกหามสวน “หนาพระ” และ “หางแมงปอง” โดยแบกใสเขงนําเขามา สวนกลางน้ัน
มาสรางขึ้นใหมท่ีประเทศไทย ซึ่งฆองวงดังกลาวนี้ยังหาดูไดที่บานนายชะอุม ดนตรีเจริญ ใกลวัดหงสปทุมาวาส
อ.เมอื ง จ.ปทุมธานี ฆองวงน้ีมีขนาดเล็ก เบา และเต้ียกวาฆองมอญในปจจุบัน ลวดลายโบราณตางจากลายไทย
บริเวณลองชาดจะเจาะเปน รูเกอื บทั้งหมดเพือ่ ใหเสยี งลอดออกมา

กระแสท่ี 3 เลาสืบตอ กันมาวา ตนตระกลู ดนตรีเจริญสามคนพี่นองไดชวยกันแบกฆองมอญมาจากเมืองมอญ
เม่ือคร้ังเมื่อคร้ังอพยพเขามาพ่ึงแผนดินไทย โดยท้ังสามคนพ่ีนองไดชวยกันแยกฆองออกเปน 3 สวน และ
ชวยกันแบกหามเขามาประกอบขึ้นใหมที่ประเทศไทย ฆองวงท่ีวาน้ีสามารถหาดูไดที่บานปพาทยดนตรีเจริญ
ปากคลองบางโพธ์ิ ต.บางโพธิ์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี (เฉลมิ ศกั ดิ์ พิกลุ ศร,ี 2539, หนา 133)

กระแสท่ี 4 ฆองมอญวงแรกไดเขามาอยูในประเทศไทยเมื่อครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา
นภาลัย รัชกาลท่ี 2 ไดเขามาพรอมกับชาวมอญท่ีอพยพหลบหนีพมามาอยูที่ปทุมธานี โดยมีนักดนตรีปพาทย
มอญชือ่ นายสี (บิดานายเจ้ิน) ท่ีอพยพมาจากเมืองเมาะตะมะไดแบกฆองมอญประจําตระกูลมาดวย ฆองมอญ
เกาแกนี้มชี ่ือวา "จุวา ง" ฆองมอญวงนส้ี ามารถถอดออกไดเปน 3 ทอน ทอนตัว ทอนกลาง ทอนหาง สวนลูกฆอง
ก็ใสก ระบุงแบกเขา มา ปจ จบุ นั เกบ็ รักษาอยกู ับนายชะอมุ ดนตรีเสนาะ ผูเปนทายาทรุนหลานของนายเจ้ิน ดนตรีเสนาะ
(รามญั คดี - MON Studies, 2558, ออนไลน)

82

ฆองมอญท่แี บกมาจากเมืองมอญ
ท่มี า : ฐิระพล นอ ยนติ ย

ท้งั นเ้ี มอ่ื สมยั สมเดจ็ พระเจากรงุ ธนบุรี ไดมกี ารปรากฏหลักฐานท่ีสําคัญเกี่ยวกับดนตรีมอญในประเทศไทย
คือ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให พิณพาทยรามัญ รวมกับดนตรีประเภทอ่ืนๆ เชน พิณพาทยไทย มโหรีไทย
มโหรีแขก ฝง จีน ญวน และเขมร สลับกันบรรเลงในงานสมโภชพระแกวมรกต ซึ่งเปนหลักฐานที่มีทั้งความ
ชัดเจนและเกาแกกวา จึงไมสามารถที่จะสรุปไดถึงประวัติของฆองมอญวงใหญท่ีเขามาอยูในประเทศไทย และ
คงตอ งเปน เรอื่ งสําคญั สําหรบั ผูท่ีสนใจทจี่ ะตองศึกษาและเก็บขอมูลในรายละเอียดเพ่ิมเติมเพ่ือหาขอสรุปเก่ียวกับ
ประวัติฆอ งมอญทเ่ี ขา มาอยูใ นประเทศไทยกนั ตอไป

2. สว นประกอบของฆอ งมอญวงใหญ

ฆองมอญ มอญเรยี กวา ปา ตกาง คอื ฆอ งมอญวงใหญถือเปนเครื่องดนตรีท่ีเปนเอกลักษณ

และเปนประธานของวงปพาทยมอญ และเม่ือนํามาตั้งในวงปพาทยทําใหวงปพาทยมอญมีลักษณะเดนข้ึน ฆองมอญ

มีสวนประกอบท่ีสาํ คญั คอื

2.1 รา นฆอง รานฆองมอญทําจากไมเน้ือแข็งขุดเจาะเปนกลองเสียงมี 3 สวน คือ สวนหัว สวนทาย

และสวนกลาง แลว จงึ นาํ มาประกอบกนั บรเิ วณดา นนอกของรา นฆอ งแกะสลกั ลวดลายตามที่นิยม ลงรักปดทอง

ประดับกระจก สวนหัวแกะเปนรูปกินนรจับนาค เรียกวา “หนาพระ” (อยูดานซายมือของผูบรรเลง) สวนทาย

แกะสลกั เปนรปู ปลายหางของกินนร เรียกวา “หางหงส” (อยูดานขวามือของผูตี) ดานลางของสวนหัว (หนาพระ)

และสวนทาย (หางหงส) ติดหวงโลหะทั้งสองดานเรียกวา “หูระวิง” เอาไวสําหรับสอดคานไมเพ่ือความสะดวก

ในการเคล่ือนยาย สวนกลางของรานฆองมีแผนไมวางรองรับ เรียกวา “เทาฆอง” สวนโคงดานในของรานฆอง

มีลูกกลมๆเล็กๆเรียงเวนระยะหางอยางสม่ําเสมอเรียกวา “ลูกมะหวด” ดานบนของลูกมะหวดมีเสนเรียกวา

“หวาย” ทบั อีกชน้ั หนง่ึ เพื่อใชรองรับการผูกลูกฆอง และสวนปลายของหวายมี “เม็ดหมากรุก” สวมปด ไวท กุ ดาน

83

หางหงส เมด็ หมากรุก หนาพระ
หรู ะวงิ
หวาย
ลูกมะหวด

เทา ฆอง

สว นประกอบของรานฆองมอญวงใหญ
ทีม่ า : วิสุทธิ์ จุยมา

2.2 ลูกฆอง ฆองมอญวงใหญมีลูกฆองจํานวน 15 ลูก ทําจากโลหะท่ีตีหรือหลอข้ึนรูปเชนเดียวกับฆองไทย

แตอาจจะมีเนื้อฆองที่บางกวา เทียบเสียงโดยการถวงตะกั่วท่ีใตลูกฆองแลวผูกเขากับรานฆอง ระดับเสียงของ

ฆองมอญวงใหญมีลกั ษณะพิเศษและเปนเอกลักษณส าํ คญั คอื การกําหนดใหลูกฆองมอญวงใหญมีหลุม หมายถึง

เสียงของฆองมอญท่ีหายไปในชวงเสียงต่ํา ซ่ึงเขียนเปนโนตแทนเสียงลูกฆองจากลูกท่ัง (ลูกตนเสียงตํ่า) ถึง

ลกู ยอด (เสยี งสูงสุด) ไดด ังน้ี

ลูกที่ 1 เสียง ซฺ

ลูกท่ี 2 เสยี ง ลฺ

ลกู ท่ี 3 เสียง ด

ลูกที่ 4 เสยี ง ร

ลกู ที่ 5 เสียง ม

ลกู ท่ี 6 เสยี ง ซ

ลูกที่ 7 เสียง ล

ลกู ท่ี 8 เสยี ง ท

ลกู ที่ 9 เสียง ดํ

ลกู ท่ี 10 เสยี ง รํ

ลกู ที่ 11 เสยี ง มํ

ลูกที่ 12 เสียง ฟ

ลกู ที่ 13 เสยี ง ซํ

84

ลกู ที่ 14 เสียง ลํ
ลกู ท่ี 15 เสยี ง ทํ
(พิศาล บญุ ผกู , 2558 , หนา 55)

ทํ ซฺ
ลํ ลฺ

ซํ ด
ฟ
มํ รํ ดํ ท ล ซ มร

ลกู ฆอ งและระดบั เสียงของลูกฆองมอญวงใหญ
ทม่ี า : วิสุทธ์ิ จยุ มา

2.3 ไมตี ไมตีฆองมอญวงใหญทําจากไมเน้ือแข็ง เหลากลึงเปนทอนยาวประมาณ 25 เซนติเมตร
ปลายไมพ ันดวยเชอื กเปนแนวยาวแลว พนั ผาดบิ ทับอีกชน้ั หน่ึง

ไมตีฆองมอญวงใหญ
ทีม่ า : วสิ ุทธ์ิ จุย มา

85

ใบความรูที่ 2

เร่ือง การสาํ รวจความพรอม และปรบั แตงเคร่ืองดนตรกี อนการบรรเลง

การสํารวจความพรอมและปรับเคร่ืองดนตรีกอ นการบรรเลง

1. รา นฆอ ง
1.1 ลูกฆอ งตอ งอยตู รงกลางรา นฆอ ง โดยท่ีฉัตรของลูกฆองตองไมสัมผัสกับรานฆอง และลูกฆอง

ขา งเคียง
1.2 ลูกฆอ งเรยี งลาํ ดับตามตาํ แหนง ของระดบั เสยี งไดถกู ตอง
1.3 ลกู ฆอ งตอ งผูกอยูตรงกลางรานฆอ งในลักษณะท่ีคอนขางตึง
1.4 คุณภาพเสยี งของลกู ฆองแตล ะลกู ตอ งอยูในสภาพท่สี มบูรณ
1.5 ผูบรรเลงควรมพี ้นื ฐานในการแกไ ขปญ หาเบือ้ งตนดังน้ี
1.5.1 สามารถปรับระดับลูกฆองที่หยอนใหตึง และผูกหนังฆองดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ด

ไดถูกตอ ง
1.5.2 สามารถติดตะก่วั ท่หี ลุดกลบั เขาที่ และปรับไดตรงเสยี งเดิม

2. ไมต ี
2.1 สวนปลาย หรอื สวนหัวของไมท ่ีพนั ดว ยเชอื กและมีผาดิบพันทับตอ งอยใู นสภาพท่ีคอนขาง

สมบรู ณ
2.2 วัสดุทที่ าํ ไมตีฆองตองอยใู นสภาพทเ่ี หมาะสมกับการตีใหเ กดิ เสียง

(สํานกั งานปลดั ทบวงมหาวิทยาลัย, 2544, หนา 113)

86

ใบความรูที่ 3

เร่อื ง ทา น่ัง วธิ กี ารจบั ไม และลักษณะวิธกี ารตีฆอ งมอญวงใหญ

1. ทา นัง่

นั่งขัดสมาธิราบ หรือนั่งพับเพียบใหตรงตําแหนงกึ่งกลางของรานฆอง ลําตัวตรง โดยน่ังฝงท่ี
ดานซา ยมือของผูบ รรเลงเปน สว นของหนาพระ

ทา นง่ั
ท่ีมา : วสิ ทุ ธิ์ จยุ มา

2. วิธกี ารจบั ไมตีฆองมอญวงใหญ

วิธีการจับไมตีฆองมอญวงใหญจะใชหลักการเดียวกันกับการจับไมฆองไทย คือ น้ิวทุกนิ้วจะตองจับไม
ฆอ งใหแ นน พอประมาณ เมอื่ เรมิ่ จับใหห งายฝามือข้ึนและสังเกตดู คือ ใหกานไมฆองมอญวางพาดกระชับกับรอง
กลางตรงขอ มือและเลยเขา ไปใตแขนเล็กนอย นิ้วช้ีเหยียดหงายรองรับไมฆองไว นิ้วหัวแมมือบีบกระชับดานขาง
ของกานไม นิว้ กลาง น้วิ นาง และ นิ้วกอ ยรวบจับกานไมฆองไวใหแนน เม่ือจับกานไมฆองแนนแลว ใหพลิกฝามือ
และแขนควา่ํ ลง โดยใหกานไมฆ อ งยังคงอยูร ะหวา งตรงกลางรอ งมอื พอดี และใหแนวไมฆองกับแขนของผูบรรเลง
เปนแนวเสน ตรงเดียวกนั

87

การจับไมฆอ งมอญในมุมตา งๆ
ที่มา : วสิ ทุ ธ์ิ จุยมา

3. ลักษณะวธิ กี ารตีฆอ งมอญวงใหญ

3.1 ตีใหหนา ไมฆ องต้งั ฉากกับลูกฆอง
3.2 ตใี หถกู ตรงกลางปุมของลกู ฆอง
3.3 ใชข อ มอื และกลามเน้อื แขนเปน หลกั
3.4 ยกไมใหสูงจากลกู ฆอ งท่จี ะตพี อสมควร (ประมาณ 5 - 6 นิว้ )

ลักษณะวธิ ีการตีฆองมอญวงใหญ
ท่มี า : วิสทุ ธ์ิ จุย มา

88

ใบความรทู ี่ 4

เร่ือง การเกบ็ รักษาฆอ งมอญวงใหญ และไมต ีฆองมอญวงใหญ

การเกบ็ รกั ษาฆอ งมอญวงใหญ และไมต ฆี องมอญวงใหญ

การดูแลและเกบ็ รกั ษาฆองมอญวงใหญ และไมต ี ควรเก็บไวในท่ีอุณหภูมิพอเหมาะ ไมรอนจัด หรือเย็นจัด
มากเกนิ ไป เพราะจะทําใหตะก่ัวถว งเสียงหลุดได ซ่งึ จะทาํ ใหเสยี งเพยี้ น ดงั น้นั เมอ่ื ตะกัว่ ถวงเสียงหลุดใหรีบตดิ ทันที

การเคล่ือนยายฆองมอญ จะตองใชวิธีการยกเทาน้ัน ไมลากหรือดันไปกับพ้ืน เพราะจะทําใหรานฆอง
เกิดการชํารุดเสียหายได

ไมตฆี อ งมอญวงใหญควรเกบ็ รกั ษาใหถูกวิธี โดยไมนําไมตีฆองมอญวงใหญไปตีเคร่ืองดนตรีประเภทอื่นๆ
เชน ตะโพน กลองทัด กลองแขก ระนาดเอก ระนาดทมุ เปนตน ไมวางไมตีไวกับพื้น และเม่ือเรียนเสร็จใหวางไมตี
ไวบนลูกฆอ งบริเวณก่งึ กลางของรานฆอง หรอื เสียบไวในรา นฆอ งตรงบริเวณก่ึงกลางของรานฆอง

วธิ กี ารวางไมต ฆี องมอญวงใหญ
ท่มี า : วิสุทธ์ิ จุยมา

การดูแลรกั ษาฆอ งมอญวงใหญ ภายหลงั การบรรเลง

1. ทาํ ความสะอาดเพียงใชผ าเชด็
2. ใชผา ซึ่งเยบ็ ตามรูปแบบของรานฆองคลมุ ใหเรียบรอย
3. หา มใชเครือ่ งขัด ขัดลกู ฆอ งใหเปนเงางามโดยเด็ดขาด

89

แบบทดสอบระหวางเรยี น

บทท่ี 3 เรอ่ื ง ความรพู ้นื ฐานเก่ียวกบั ฆองมอญวงใหญ

ดา นความรู
คาํ ชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบับนม้ี ีท้ังหมด 9 ขอ

2. ขอ สอบแตล ะขอ มคี าํ ตอบใหเ ลือก 4 คําตอบ
3. ใหนักเรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ท่ีถูกตองท่ีสุดเพียง

คาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคาํ ตอบ
1. จากกระแสทว่ี า มนี กั ดนตรีปพ าทยม อญอพยพมาจากเมืองเมาะตะมะ ไดแบกฆองมอญประจํา

ตระกลู ชือ่ วา “จวุ าง” มาดวย หมายถึงใคร
ก. ครสู มุ ดนตรีเจริญ
ข. ครูเจิ้น ดนตรีเจรญิ
ค. นายสี (ไมทราบนามสกลุ )
ง. ครชู ะอมุ ดนตรีเสนาะ

2. ฆองมอญวงใหญ 1 วง มีลูกฆองทง้ั หมดกีล่ ูก
ก. 14 ลกู
ข. 15 ลกู
ค. 16 ลูก
ง. 17 ลกู

3. รา นฆองมอญทาํ จากไมเ นื้อแขง็ ขุดเจาะเปน กลองเสียง ประกอบดว ยก่สี วน
ก. 1 สวน
ข. 2 สว น
ค. 3 สว น
ง. 4 สว น

4. การสํารวจความพรอมของฆองมอญวงใหญกอ นการบรรเลง ขอ ใดมคี วามสําคัญนอ ยท่สี ดุ
ก. ลูกฆองตองอยตู รงกลางรานฆอ ง โดยท่ีฉตั รของลกู ฆอ งตองไมส ัมผสั กับรา นฆอง
และลูกฆอ งขางเคียง
ข. ลูกฆอ งเรยี งลําดับตามตําแหนง ของระดับเสยี งไดถูกตอง
ค. ลกู ฆองและรานฆองตอ งอยใู นสภาพทีส่ ะอาด พรอ มที่จะบรรเลง
ง. คณุ ภาพเสยี งของลกู ฆอ งแตล ะลูกอยูใ นสภาพสมบรู ณ

90

5. ขอ ใดไมใ ชวธิ ีการจับไมตฆี องมอญวงใหญ
ก. ใหก า นไมวางพาดกระชับกับรอ งกลางตรงขอมือและเลยเขาไปใตแขนเล็กนอย
ข. ใหแนวไมก ับแขนของผูบรรเลงเปนแนวเสนตรงเดยี วกนั
ค. สวนหวั ของไมตอ งอยูใ นสภาพทส่ี มบรู ณ
ง. นว้ิ ทุกนิ้วจับไมใ หแ นนพอประมาณ

6. ขอใดไมใชลกั ษณะวิธกี ารตีฆองมอญวงใหญท่ีถกู ตอง
ก. ยกไมใหสงู จากลูกฆองทจ่ี ะตีพอสมควร ประมาณ 9 - 10 นวิ้
ข. ตีใหหนา ไมต ้ังฉากกบั ลกู ฆอ ง
ค. ตใี หถ กู ตรงกลางปมุ ของลูกฆอ ง
ง. ใชขอมอื และกลามเน้อื แขนเปน หลกั

7. ขอ ใดไมใชว ธิ กี ารเก็บรักษาฆอ งมอญวงใหญท่ีถูกตอง
ก. การลากหรอื ดนั ฆองมอญไปกับพ้ืนที่เรยี บจะชวยประหยัดแรง และทําใหรา นฆอ งเกิดการกระแทก
ข. ควรเก็บฆองมอญไวใ นทอ่ี ุณหภูมิพอเหมาะ ไมร อ นจัดหรอื เย็นจดั มากเกนิ ไป
ค. การเคลื่อนยายฆองมอญจะตองใชว ธิ ีการยกเทา นน้ั
ง. เมือ่ ตะกวั่ ถว งเสียงหลุดใหร ีบตดิ ทันที

8. ขอใดไมใชวิธีเก็บไมต ฆี องมอญวงใหญที่ถกู วธิ ี
ก. เมื่อตีเสรจ็ ใหว างไมต ไี วบ นลูกฆองบรเิ วณกง่ึ กลางของรา นฆอง
ข. เมื่อตเี สรจ็ ใหว างไมตไี วท ี่พนื้ บรเิ วณกึ่งกลางระหวา งผูบรรเลงกบั รา นฆอง
ค. เม่ือตเี สร็จใหเ สียบไมตีไวในรานฆองตรงบริเวณกึ่งกลางของรา นฆอ ง
ง. ไมมีขอถูก

9. ขอ ใดไมใ ชว ธิ ีการเก็บรกั ษาฆองมอญวงใหญภ ายหลังการบรรเลงที่ถกู ตอง
ก. ทาํ ความสะอาดเพยี งใชผาเช็ด
ข. ใชผ า ซึง่ เย็บตามรูปแบบของรานฆอ งคลุมใหเ รียบรอ ย
ค. ยกเก็บไวใ นท่สี งู จากพ้นื พอสมควร ประมาณ 1 - 2 เมตร
ง. หา มใชเ ครอ่ื งขดั ขดั ลกู ฆอ งใหเปนเงางามโดยเด็ดขาด

91

แบบประเมนิ ผลการเรียน หนวยการเรยี นรทู ี่...5... เรื่อง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรูท.ี่ ..3... เรอ่ื ง…ความรพู ื้นฐานเกยี่ วกับฆองมอญวงใหญ...

รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี...5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรยี นทร่ี ะบุไวในคมู อื การใชเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดา นความรู

ลาํ ดบั ท่ี ช่อื - สกลุ ประวั ิตและ สวนประกอบของ รวม ระดบั
ฆองมอญวงให ญ คะแนน คุณภาพ

วิธีการ ํสารวจความพ รอมและป ัรบ
เค ื่รองดนต ีรกอนการบรรเลง ทา
่นัง วิธีการจับไ มและ ัลกษณะ

วิธีการ ีตฆองมอญวงใหญ
วิธีการเก็บ ัรกษาฆองมอญวงใหญ

และไ ม ีตฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (9)

1 นายณฐั พล ชมพูนชิ 3 3 2 8 ดมี าก
3 3 9 ดมี าก
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูพะเนียด 3 3 3 9 ดมี าก
2 3 8 ดีมาก
3 นายอภวิ ฒั น ทมิ ทอง 3 3 3 9 ดีมาก
3 3 9 ดีมาก
4 น.ส.จนิ ตจฑุ า จลุ จันทร 3 3 3 8 ดมี าก
3 2 8 ดมี าก
5 นายปณ ณวัฒน กาญจนปราการ 3 3 3 9 ดมี าก
2 3 8 ดมี าก
6 นายพิพฒั น บัวจาํ รสั 3 28 28 85
2.80 2.80 8.50
7 นายนัณฐพล ศรีวเิ ศษ 2
สรปุ ผลประเมินดานความรู
8 น.ส.เฟอ งฟา อารมณย ม้ิ 3 ระดบั ดมี าก = ..10.. คน
ระดับดี = .......... คน
9 นายวรพล ภูสุด 3 ระดบั พอใช = ......... คน
ระดับปรับปรุง = ......... คน
10 นายภคพล ชติ ทวม 3

รวม 29

เฉลี่ย 2.90

เกณฑคุณภาพ ระดับคุณภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9 ดมี าก
ระดบั 3 = 6 - 7 ดี
ระดบั 2 = 4 - 5 พอใช
ระดบั 1 = 1 - 3 ปรบั ปรุง

92

แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
หนว ยการเรยี นรูท.ี่ ..5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรูที.่ ..3... เรื่อง...ความรูพ้ืนฐานเกีย่ วกับฆอ งมอญวงใหญ. ..
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่...5...

คําชแ้ี จง ใหครูผูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวในคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีทชอื่ - สกลุ
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

1 นายณฐั พล ชมพูนชิ (3) (3) (3) (3) (3) (15) ดมี าก
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูพ ะเนยี ด 3 3 3 3 2 14 ดมี าก
3 นายอภิวัฒน ทิมทอง 3 3 2 3 3 14 ดมี าก
4 น.ส.จินตจฑุ า จลุ จนั ทร 3 3 3 2 3 14 ดีมาก
5 นายปณ ณวฒั น กาญจนปราการ 2 3 3 3 2 13 ดมี าก
6 นายพพิ ฒั น บวั จํารัส 2 3 3 2 3 13 ดีมาก
7 นายนัณฐพล ศรวี ิเศษ 3 3 2 3 3 14 ดมี าก
8 น.ส.เฟอ งฟา อารมณย้มิ 3 3 2 3 3 14 ดีมาก
9 นายวรพล ภสู ุด 2 3 3 3 2 13 ดีมาก
10 นายภคพล ชิตทว ม 2 2 3 3 3 13 ดมี าก
3 3 2 3 3 14
รวม 26 29 26 28 27 136
เฉลีย่ 2.60 2.90 2.60 2.80 2.70 13.60

เกณฑค ณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดา นคุณลกั ษณะ
ระดบั 4 = 13 - 15 ดีมาก ระดับดมี าก = ..10.. คน
ระดับ 3 = 9 - 12 ดี ระดับดี = .......... คน
ระดับ 2 = 5 - 8 พอใช ระดบั พอใช = ......... คน
ระดบั 1 = 1 - 4 ปรับปรงุ ระดบั ปรับปรงุ = ......... คน

93

แบบบันทกึ หลงั การสอน

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 3
หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ชอ่ื แผน ความรูพนื้ ฐานเกีย่ วกับฆอ งมอญวงใหญ

ผลการสอน
นักเรียนทุกคนมีความสนใจการเรียนเปนอยางดี เรียนรูอยางสนุกสนาน มีผลการประเมินผลการเรียน

และการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง
การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 กลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพ
ปพ าทย แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 3 เรือ่ ง ความรพู น้ื ฐานเกยี่ วกับฆอ งมอญวงใหญ โดยสรปุ ดังน้ี

1. คะแนนการประเมินผลการเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉล่ีย 8.50 คิดเปนรอยละ 94.44
(คะแนนเต็ม 9 คะแนน) คณุ ภาพระดบั ดีมาก 10 คน

2. คะแนนการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉลย่ี 13.60 คิดเปน รอ ยละ 90.67 (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) คุณภาพระดบั ดีมาก 10 คน

3. จากการประเมินนักเรียนสรุปไดวา นักเรียนผานจุดประสงคการเรียนรู ขอ 1 - 4 ทุกคน คิดเปน
รอยละ 100

ปญ หา / อปุ สรรค
ไมพบ

ขอ เสนอแนะ / แนวทางปรบั ปรงุ แกไข
-

ลงชอ่ื
(นายวิสทุ ธิ์ จยุ มา)

ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการ
วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป

94

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5
เวลา 12 ช่ัวโมง
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ชื่อแผน แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

รายวิชา ปพ าทย 4 รหัสวชิ า ศ 32210

มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู
ศ 2.1 เขา ใจหลกั และวธิ กี ารบรรเลงตามประเภทของเคร่ืองดนตรี
ศ 2.2 เขาใจและมีทักษะในการฝกปฏิบัติเคร่ืองดนตรี บรรเลงเพลงประเภทตาง ๆ ตระหนัก

และเหน็ คณุ คา นาํ มาประยุกตใชไดอยา งเหมาะสม
ศ 3.1 เขาใจดนตรีไทยอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ เห็นคุณคาของดนตรีไทย

ถา ยทอดความรสู กึ อยางอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ ชในชีวิตประจาํ วนั
ตวั ช้วี ัด
ศ 2.1 ม.5/1 อธิบายหลักและวธิ กี ารบรรเลงดนตรีไทย
ม.5/2 ปฏบิ ตั ติ ามหลกั และวธิ ีการบรรเลงดนตรีไทย
ศ 2.2 ม.5/1 บอกประวัตเิ พลงในบทเรยี น
ม.5/2 อธบิ ายศัพทส งั คีตในบทเรยี น
ม.5/3 ปฏิบตั ิเพลงประเภทตา ง ๆ
ม.5/4 นําความรทู ่ีไดร ับไปใชใ นโอกาสตาง ๆ ได
ศ 3.1 ม.5/1 แสดงความคดิ เห็นตอดนตรไี ทยอยางสรา งสรรค อิสระ
ช่ืนชม
ม.5/2 วเิ คราะห วิพากษ วจิ ารณดนตรีไทยในเชงิ สรางสรรค

สาระสาํ คัญ
ลักษณะวิธีการตีฆองมอญวงใหญดวยวิธีการที่ถูกตองตามแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ถือวาเปนตัวบงช้ีคุณภาพขององคประกอบดานกระบวนการบรรเลงฆองมอญวงใหญ เพราะจะทําใหนักเรียน
สามารถตีฆอ งมอญวงใหญใ หไ ดผ ลตามเกณฑการประเมินไดอยางมีคณุ ภาพยง่ิ ขึ้น

จุดประสงคการเรยี นรู
1. นกั เรียนอธิบายวิธีการปฏิบตั ิแบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญไดถ ูกตอง
2. นกั เรยี นปฏิบตั แิ บบฝกทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญไดถกู ตอ ง
3. นักเรยี นบอกความสําคัญและประโยชนข องการฝกปฏบิ ตั แิ บบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญไ ด

95

สาระการเรยี นรู
1. แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

กิจกรรมการเรยี นการสอน
ช่วั โมงท่ี 1 - 3
ขน้ั นําเขาสบู ทเรียน
1. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สนทนาทบทวนความรเู ดมิ เรือ่ ง ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับฆองมอญ
วงใหญ จากน้ันครูใหนักเรียนยกตัวอยางวิธีการฝกหัดฆองมอญวงใหญเบื้องตน
จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีการฝกหัดฆองมอญวงใหญเบ้ืองตน พรอม
ยกตัวอยาง แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ข้นั ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรยี นการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรูท่ี 1 เรอื่ ง แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
3. ครใู หนักเรียนสาํ รวจความพรอ มและตรวจเครือ่ งดนตรีท่ีจะเรยี นใหเรียบรอยกอน
4. ครูอธิบายลกั ษณะวิธกี ารตฆี อ งมอญวงใหญใ นแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
แบบฝก ที่ 1 - 5 ใหน กั เรยี นฟง
5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 4 ในหัวขอ แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 1 - 5
โดยมีครูเปนผใู หค าํ แนะนําอยา งใกลช ิดพรอมกับการชมวดี ิทัศนป ระกอบ
6. ครูสนทนากับนักเรียน เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญในประโยชนของแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝก ท่ี 1 - 5
7. นักเรียนเริ่มฝกตีฆองมอญวงใหญตั้งแตแบบฝกที่ 1 โดยฝกตีทีละแบบฝกหลายๆครั้ง
ใหเกิดความชํานาญกอน จึงเริ่มแบบฝกตอไปจนถึงแบบฝกที่ 5 สวนนักเรียนคนใดที่ยัง
ไมส ามารถปฏิบัติตามไดทันในบางแบบฝก ใหทบทวนจากสื่อวีดีทัศนจนกวาจะเขาใจและ
ปฏบิ ตั ิตามจนเกิดความชํานาญ
8. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันตั้งแต
แบบฝก ที่ 1 - 5
9. ครใู หน ักเรียน 3 - 4 คน ออกมาอธิบายถงึ ความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติ
แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 1 - 5
10. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากที่นักเรียนไดฝกปฏิบัติแบบฝก
ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝก ท่ี 1 - 5

96

11. ครูชมเชยนักเรียนที่ต้ังใจเรียน และชี้แนะนักเรียนท่ียังไมตั้งใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคุณคาของการเรียนดนตรีไทย เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซ้ึงใน
บทเรียน

ขัน้ สรุป
12. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรุปความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 1 - 5

ช่วั โมงท่ี 4 - 6
ข้นั นําเขาสบู ทเรียน
1. ครแู ละนักเรียนรว มกนั สนทนาทบทวนความรูเดิม เร่ือง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญ
วงใหญ ตั้งแตแบบฝกท่ี 1 - 5 และครูใหนักเรียนปฏิบัติ ฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 1 - 5
เพื่อเปนการทบทวน จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการฝกทักษะการบรรเลง
ฆองมอญวงใหญ พรอมยกตัวอยาง แบบฝก อ่นื ๆตอ ไป

ขั้นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรยี นการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรูท ่ี 1 เร่ือง แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ
3. ครูใหน กั เรียนสาํ รวจความพรอมและตรวจเครอื่ งดนตรีที่จะเรยี นใหเรียบรอยกอน
4. ครูอธิบายลักษณะวธิ กี ารตฆี องมอญวงใหญในแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
แบบฝก ที่ 6 - 10 ใหน กั เรยี นฟง
5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 4 ในหัวขอ แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 6 - 10
โดยมีครูเปน ผูใหค าํ แนะนาํ อยางใกลชดิ พรอมกับการชมวีดทิ ศั นป ระกอบ
6. ครูสนทนากับนักเรียน เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญในประโยชนของแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 6 - 10
7. นักเรียนเริ่มฝกตีฆองมอญวงใหญตั้งแตแบบฝกที่ 6 โดยฝกตีทีละแบบฝกหลายๆคร้ัง
ใหเ กิดความชาํ นาญกอน จึงเริ่มแบบฝกตอไปจนถึงแบบฝกท่ี 10 สวนนักเรียนคนใดที่
ยังไมสามารถปฏบิ ตั ิตามไดท นั ในบางแบบฝก ใหทบทวนจากสอื่ วดี ที ศั นจ นกวาจะเขาใจ
และปฏิบัตติ ามจนเกดิ ความชํานาญ
8. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันต้ังแต
แบบฝก ที่ 6 - 10


Click to View FlipBook Version