The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 23:09:59

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

97

9. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันต้ังแต
แบบฝกที่ 1 - 10

10. ครูใหนักเรียน 3 - 4 คน ออกมาอธบิ ายถงึ ความสําคญั และประโยชนของการฝกปฏิบัติ
แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกที่ 6 - 10

11. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากท่ีนักเรียนไดฝกปฏิบัติแบบฝก
ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝก ที่ 6 - 10

12. ครูชมเชยนักเรียนท่ีต้ังใจเรียน และชี้แนะนักเรียนที่ยังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคุณคาของการเรียนดนตรีไทย เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซึ้งใน
บทเรยี น

ขั้นสรปุ
13. ครแู ละนกั เรยี นรวมกันสรุปความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกที่ 6 - 10

ช่วั โมงที่ 7 - 9
ขนั้ นาํ เขา สบู ทเรียน
1. ครูและนักเรยี นรวมกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เรื่อง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญ
วงใหญ ตั้งแตแบบฝกที่ 1 - 10 และครูใหนักเรียนปฏิบัติ ฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่
1 - 10 เพื่อเปนการทบทวน จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีการฝกทักษะการ
บรรเลงฆองมอญวงใหญ พรอมยกตัวอยาง แบบฝก อนื่ ๆตอ ไป

ข้ันปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรูท ี่ 1 เรอ่ื ง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
3. ครูใหน กั เรยี นสํารวจความพรอมและตรวจเครือ่ งดนตรีท่จี ะเรยี นใหเ รยี บรอยกอน
4. ครอู ธิบายลกั ษณะวิธีการตีฆองมอญวงใหญใ นแบบฝก ทักษะการบรรเลง
ฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 11 - 15 ใหนักเรียนฟง
5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 4 ในหัวขอ แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 11 - 15
โดยมคี รูเปนผูใ หค ําแนะนาํ อยา งใกลชิดพรอ มกับการชมวดี ทิ ศั นประกอบ
6. ครูสนทนากับนักเรียน เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญในประโยชนของแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกที่ 11 - 15

98

7. นักเรยี นเรม่ิ ฝก ตฆี องมอญวงใหญต้ังแตแบบฝกท่ี 11 โดยฝกตีทีละแบบฝกหลายๆครั้ง
ใหเกดิ ความชาํ นาญกอน จึงเร่ิมแบบฝกตอไปจนถึงแบบฝกท่ี 15 สวนนักเรียนคนใดท่ี
ยงั ไมสามารถปฏิบัตติ ามไดทันในบางแบบฝก ใหทบทวนจากสื่อวดี ที ัศนจ นกวาจะเขาใจ
และปฏิบัติตามจนเกิดความชํานาญ

8. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันต้ังแต
แบบฝก ท่ี 11 - 15

9. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันต้ังแต
แบบฝก ท่ี 1 - 15

10. ครใู หน ักเรียน 3 - 4 คน ออกมาอธิบายถึงความสาํ คัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติ
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝก ท่ี 11 - 15

11. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากที่นักเรียนไดฝกปฏิบัติแบบฝก
ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 11 - 15

12. ครูชมเชยนักเรียนท่ีตั้งใจเรียน และชี้แนะนักเรียนที่ยังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนแ ละคุณคาของการเรียนดนตรีไทย เพ่อื ใหนกั เรยี นเกดิ ความซาบซงึ้

ข้นั สรปุ
13. ครูและนักเรียนรว มกันสรุปความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝก ท่ี 11 - 15

ชวั่ โมงท่ี 10 - 12
ขนั้ นาํ เขาสบู ทเรียน
1. ครูและนักเรยี นรว มกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เรื่อง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญ
วงใหญ ต้ังแตแบบฝกท่ี 1 - 15 และครูใหนักเรียนปฏิบัติ ฆองมอญวงใหญ แบบฝกท่ี
1 - 15 เพื่อเปนการทบทวน จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับวิธีการฝกทักษะการ
บรรเลงฆองมอญวงใหญ พรอมยกตวั อยาง แบบฝกอน่ื ๆตอไป

ขนั้ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรทู ่ี 1 เรอ่ื ง แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ
3. ครใู หน กั เรยี นสํารวจความพรอ มและตรวจเครอื่ งดนตรีทีจ่ ะเรียนใหเ รียบรอยกอน
4. ครูอธิบายลกั ษณะวธิ ีการตีฆอ งมอญวงใหญใ นแบบฝกทักษะการบรรเลง
ฆอ งมอญวงใหญ แบบฝก ที่ 16 - 20 ใหน กั เรียนฟง

99

5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 4 ในหวั ขอ แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกที่ 16 - 20
โดยมีครูเปนผูใหค าํ แนะนาํ อยางใกลชดิ พรอมกบั การชมวดี ิทัศนประกอบ

6. ครูสนทนากับนักเรียน เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญในประโยชนของแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝก ท่ี 16 - 20

7. นกั เรียนเร่มิ ฝกตฆี องมอญวงใหญต้ังแตแบบฝกที่ 16 โดยฝกตีทีละแบบฝกหลายๆครั้ง
ใหเ กดิ ความชํานาญกอน จึงเร่ิมแบบฝกตอไปจนถึงแบบฝกท่ี 20 สวนนักเรียนคนใดที่
ยังไมสามารถปฏิบัติตามไดทันในบางแบบฝก ใหยอนดูจากสื่อวีดีทัศนจนกวาจะเขาใจ
และปฏิบตั ติ ามจนเกดิ ความชํานาญ

8. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันตั้งแต
แบบฝก ที่ 16 - 20

9. ครูใหนักเรียนฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญพรอมกันต้ังแต
แบบฝก ท่ี 1 - 20

10. ครใู หนกั เรยี น 3 - 4 คน ออกมาอธบิ ายถงึ ความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติ
แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 16 - 20

11. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากที่นักเรียนไดศึกษาเรียนรูจาก
เอกสารประกอบการเรียนการสอน ประกอบการชมวีดิทัศน และไดนํามาฝกปฏิบัติ
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญตั้งแตตนจนจบ เพ่ือเปนการวัดความรู
ความสามารถในเน้ือหาทไ่ี ดเรียนมาแลว

12. ครูชมเชยนักเรียนท่ีต้ังใจเรียน และชี้แนะนักเรียนที่ยังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคุณคาของการเรียนดนตรีไทย เพ่ือใหนักเรียนเกิดความซาบซ้ึงใน
บทเรียน

ข้ันสรปุ
13. ครูและนกั เรียนรว มกันสรปุ ความสําคัญ และประโยชนของการฝกปฏิบัติแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงใหญ แบบฝกท่ี 16 - 20

ส่ือการเรียนการสอน
1. เครื่องดนตรี
- ฆอ งมอญวงใหญ พรอ มไมต ี
- ฉงิ่
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เร่อื ง การบรรเลงเพลงมอญ
3. สอ่ื วดี ทิ ศั น เรอ่ื ง การบรรเลงเพลงมอญ
4. ใบความรูที่ 1 เร่อื ง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

100

การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู
1. วิธกี ารวัดและประเมินผล
- การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน และประเมนิ ผลหลังเรียน

2. เครอื่ งมือการวัดผลและประเมินผล
- เกณฑก ารใหคะแนนการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น

- แบบประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น

3. เกณฑการวัดผลและประเมินผล
ไดช ว งคะแนนเฉลี่ยรอ ยละ 80 - 100 ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก

ไดช วงคะแนนเฉลีย่ รอ ยละ 70 - 79 ระดบั คุณภาพ ดี

ไดชวงคะแนนเฉลี่ยรอยละ 50 - 69 ระดบั คุณภาพ พอใช

ไดช ว งคะแนนเฉลีย่ รอยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ควรปรับปรุง

แหลง การเรยี นรู

- ภมู ปิ ญญาทองถิน่ - หองโสตทศั นวัสดุอุปกรณ
- หองสมดุ ดนตรขี องสถาบนั ตา ง ๆ - วิทยากร
- โรงละครแหง ชาติ - แหลงชมุ ชน
- พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ - ฯลฯ

ขอเสนอแนะ
นักเรียนควรฝกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะวิธีการตีฆองมอญวงใหญเพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน เพ่ือใหเกิด

ความชํานาญ และควรหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อตางๆ เชน อินเตอรเน็ต หองสมุด ตําราทางวิชาการ ครู

ผูเ ชย่ี วชาญ ฯลฯ เพอื่ สามารถนาํ ไปประกอบกจิ กรรมเนื่องในโอกาสสาํ คัญตา งๆ ทัง้ ในและนอกสถานที่

101

เกณฑก ารประเมิน และการใชแ บบประเมนิ ผล

เกณฑการประเมินน้ี เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ที่มีครูผูสอนทําหนาที่ประเมิน โดยจะตอง
สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนของนกั เรยี นที่เขา รับการประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนทร่ี ะบุไว โดยผปู ระเมินตองปฏิบัตดิ งั น้ี

1. ศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนที่ระบุไวอยาง
ละเอยี ดเพื่อใหไดผ ลการประเมนิ ทีถ่ ูกตอ งตามเกณฑที่กาํ หนดไว

2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพที่ระบุในเกณฑ
การใหค ะแนนลงในชองคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จส้ินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เร่ือง
แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

การประเมินและการใหคะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ท่ีมีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลําดับความถูกตอ งตามเกณฑการใหค ะแนน

วตั ถุประสงคของการประเมิน
1. เพือ่ ประเมนิ พฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียนในดา นตา งๆเปนรายบุคคล
2. เพ่อื ประเมินความรูของนกั เรียน เรอื่ ง วธิ กี ารปฏบิ ัติแบบฝกทกั ษะฆองมอญวงใหญ
3. เพ่ือประเมนิ ความสามารถของนกั เรียนในความแมน ยําของทํานองในการปฏิบตั ิแบบฝกทักษะ
ฆอ งมอญวงใหญ
4. เพอื่ ประเมินความสามารถของนักเรยี นในความถูกตองของจังหวะในการปฏบิ ตั แิ บบฝกทักษะ
ฆองมอญวงใหญ
5. เพื่อประเมนิ ความสามารถของนกั เรียนในดา นคณุ ภาพเสยี งและรสมือในการปฏบิ ตั ิแบบฝกทักษะ
ฆองมอญวงใหญ
6. เพ่อื ประเมนิ ความสามารถของนักเรียนในดา นปฏภิ าณไหวพริบในการปฏบิ ัติแบบฝก ทักษะ
ฆอ งมอญวงใหญ
7. เพ่อื ประเมินความสามารถของนักเรยี นในดา นบคุ ลิกภาพในการปฏบิ ตั ิแบบฝก ทักษะฆองมอญวงใหญ
8. เพ่ือประเมินความใฝเรียนรูข องนกั เรยี นในหองเรยี น

102

เกณฑการประเมนิ และการใหคะแนน การประเมินผลการเรยี น
เรื่อง แบบฝกทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

รายการประเมิน ระดับคะแนน

1. ความแมน ยาํ ของ 32 1
ทํานองในการปฏบิ ัติ สามารถปฏิบัติแบบฝก
แบบฝก ทักษะการ สามารถปฏิบัติแบบฝก สามารถปฏบิ ตั ิแบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอง
บรรเลงฆอ งมอญวง มอญวงใหญได แตขาด
ใหญ ทกั ษะการบรรเลงฆอ ง ทักษะการบรรเลงฆอ ง ความแมน ยาํ ไม
สมบูรณ ไมครบถว น
2. ความถกู ตองของ มอญวงใหญไดอยาง มอญวงใหญได มีความ
จงั หวะในการปฏบิ ัติ ปฏิบัติแบบฝก ทักษะ
แบบฝกทกั ษะการ แมน ยาํ มคี วาม แมนยํา ชดั เจน การบรรเลงฆองมอญวง
บรรเลงฆอ งมอญวง ใหญค รอ มจงั หวะเปน
ใหญ สมบูรณช ัดเจน พอสมควร สว นใหญ ขาดความ
สมบรู ณ ไมครบถวน
3. คุณภาพเสยี งและ ครบถวน ถูกตองตาม
รสมอื ในการปฏบิ ตั ิ สามารถปฏิบตั ิฆองมอญ
แบบฝก ทกั ษะการ หลักวิธีการปฏบิ ตั ิ วงใหญได แตขาด
บรรเลงฆองมอญวง คุณภาพเสียงและรสมือ
ใหญ สามารถปฏบิ ตั ิแบบฝก สามารถปฏิบตั แิ บบฝก ตามหลักวิธกี ารปฏบิ ัติ
ใชกลวิธีควบคุมใหเสียง
ทกั ษะการบรรเลงฆอง ทกั ษะการบรรเลงฆอง ดงั - เบาไดไ มชดั เจน
ขาดการสอดใสอ ารมณ
มอญวงใหญเขากับ มอญวงใหญเ ขากับ กับบทเพลง ขาดความ
สมบรู ณ
จังหวะไดอยางถูกตอง จังหวะได แตบรรเลง

มคี วามสมบูรณ ชัดเจน ครอ มจังหวะในบาง

ถูกตองตามหลักวธิ กี าร ประโยค

ปฏบิ ตั ิเขา จังหวะ

สามารถปฏิบัติฆองมอญ สามารถปฏบิ ัติฆองมอญ

วงใหญไ ด มคี ุณภาพ วงใหญไ ด มีคุณภาพ

เสยี งและรสมอื มคี วาม เสยี งและรสมือตาม

ถูกตองสมบูรณชัดเจน หลักวิธกี ารปฏบิ ัติ ใช

ตามหลักวิธีการปฏบิ ตั ิ กลวิธีควบคมุ ใหเ สยี ง

ใชกลวธิ ีควบคุมใหเสยี ง ดัง - เบาได สอดใส

ดงั - เบาได สอดใส อารมณเหมาะสมกับ

อารมณเ หมาะสมกบั บทเพลงได มคี วาม

บทเพลงไดอยา งไพเราะ สมบรู ณ ชดั เจน

มีความสมบรู ณชดั เจน พอสมควร

ครบถวน ถูกตองตาม

หลักวิธกี ารปฏบิ ัติ

103

รายการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1
มปี ฏภิ าณไหวพรบิ 2 ไมม ีปฏิภาณไหวพริบ
4. ปฏภิ าณไหวพริบ ในการแกปญหาการ ในการแกปญ หาการ
ในการปฏิบตั ิแบบฝก ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ มีปฏภิ าณไหวพรบิ ปฏบิ ัติฆอ งมอญวงใหญ
ทักษะการบรรเลง ไดเปนอยางดี ในการแกป ญหาการ
ฆอ งมอญวงใหญ ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ขาดบคุ ลิกภาพในการ
5. บุคลกิ ภาพในการ มบี คุ ลกิ ภาพในการ ได แตไมส มบูรณ ปฏิบัตฆิ องมอญวงใหญ
ปฏบิ ตั แิ บบฝกทกั ษะ ปฏิบตั ฆิ อ งมอญวงใหญ ตามหลกั วิธีการปฏบิ ตั ิ
การบรรเลงฆองมอญ ถูกตองตามหลักวธิ กี าร มีบคุ ลกิ ภาพในการ
วงใหญ ปฏบิ ตั ิ ครบถวน ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ
สมบรู ณ ตามหลกั วธิ กี ารปฏิบตั ิ
แตไ มสมบรู ณ

104

แบบประเมนิ ผลการเรยี น หนวยการเรียนรูท ่.ี ..5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรูท่ี...4... เรื่อง...แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ. ..

รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท .่ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรยี นทร่ี ะบุไวในคมู อื การใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นความรู ดานทกั ษะ

ลาํ ดบั ช่อื - สกุล วิธีการปฏิบั ิตแบบ ฝก ัทกษะการบรรเลง รวม ระดบั
ท่ี ฆองมอญวงใหญ คะแนน คณุ ภาพ

ความแ มนยําของทํานองในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ความถูก ตองของจังหวะในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ุคณภาพเ ีสยงและรส ืมอในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ปฏิภาณไหวพ ิรบในการปฏิบั ิตแบบ ฝก
ัทกษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
บุค ิลกภาพในการปฏิบั ิตแบบ ฝก ัทกษะ

การบรรเลงฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (18)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดา นความรูแ ละทกั ษะ
ระดบั 4 = 15 - 18 ดมี าก ระดับดมี าก = ...... คน
ระดับ 3 = 11 - 14 ดี ระดบั ดี = ....... คน
ระดับ 2 = 6 - 10 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
ระดับ 1 = 1 - 5 ปรบั ปรุง ระดบั ปรบั ปรุง = ....... คน

105

เกณฑการประเมนิ และการใหค ะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรม

รายการประเมิน 3 ระดับคะแนน 1
1. ความขยนั หม่ัน มีความขยนั หมนั่ เพยี ร 2 ไมมีความขยันหมัน่
เพยี ร ในการเรยี น หมั่น เพยี ร และไมมีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มคี วามขยนั หม่ันเพยี ร ทบทวนความรู
2. ความรับผิดชอบ อยางสม่าํ เสมอ ในการเรียน แตไมค อย
ฝก ฝนทบทวนความรู ไมมีความรับผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มีความรับผดิ ชอบ ทกุ ๆอยางท่ีไดรบั
มคี วามเอาใจใสในสิ่งที่ มคี วามรบั ผิดชอบในสงิ่ มอบหมาย
4. ความซือ่ สัตย ไดร บั มอบหมายดีมาก ที่ไดร ับมอบหมายเปน เขาเรียนสายเปนประจาํ
สจุ ริต บางครัง้ และไมต รงตอเวลาท่มี ี
มคี วามตรงตอเวลาใน เขา หอ งเรียนชาบาง การนดั หมาย
5. มจี ิตสาธารณะ การเขาหองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมอ่ื มีการนดั หมายเปน นัดหมายเปนบางคร้งั ไมร กั ษากฎระเบยี บและ
อยางดี ขอ ตกลง
มีความซื่อสตั ย
มีความซื่อสัตย อยใู น พอสมควร และไม เปนผูทไ่ี มม ีจิต
กฎระเบียบ และ รักษากฎระเบยี บ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอตกลงในหอ งเรยี นดี ขอตกลงเปนบางครง้ั เอื้อเฟอเผือ่ แผ
มาก เปนผทู ีม่ จี ิตสาธารณะ
มคี วามเอือ้ เฟอเผื่อแผ
เปน ผทู มี่ ีจติ สาธารณะ พอสมควร
มคี วามเออื้ เฟอ เผื่อแผ
เปน อยางมาก

106

แบบประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน
หนวยการเรียนรทู ี่...5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรทู ี่...3... เรื่อง...ความรพู ้ืนฐานเกยี่ วกับฆองมอญวงใหญ. ..
รายวชิ า...ปพาทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท .่ี ..5...

คาํ ชแ้ี จง ใหค รผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนที่เหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ช่อื - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมินดานคณุ ลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดบั ดมี าก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรงุ ระดับปรับปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 - 4

107

ภาคผนวก

108

ใบความรูท่ี 1

เร่อื ง แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

หลังจากท่ีไดศึกษาความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับฆองมอญวงใหญท่ีเปนความรูดานทฤษฎีไปแลว ขั้นตอไป
จะเปนการฝกปฏิบตั ดิ านทักษะ โดยแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญในเลมน้ี ผูจัดทําไดประดิษฐข้ึนใหม
โดยมวี ตั ถุประสงคเ พ่ือใหน ักเรียนไดใชฝก ปฏบิ ตั ิกอ นทจี่ ะตอ เพลงประจําวัด และประจําบานในหลักสูตรรายวิชา
ปพ าทย 4 ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 5 ของวิทยาลัยนาฏศิลป

กอ นที่จะเรม่ิ ฝก ปฏบิ ตั ทิ ักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ นักเรียนทุกคนจะตองทําความเขาใจเก่ียวกับ
สญั ลกั ษณ ชว งเสียง และตําแหนงของตัวโนต ท่ีอยบู นฆองมอญวงใหญ ดังน้ี

ซฺ อา นวา ซอลตํา่ หมายถงึ ลูกฆอ งมอญลูกที่ 1 นับจากซายมอื ของผบู รรเลง
ลฺ อา นวา ลาต่ํา หมายถึง ลกู ฆอ งมอญลกู ท่ี 2 นับจากซายมอื ของผบู รรเลง
ด อา นวา โด หมายถงึ ลกู ฆองมอญลกู ท่ี 3 นบั จากซา ยมือของผูบ รรเลง
ร อานวา เร หมายถงึ ลูกฆองมอญลูกที่ 4 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ม อา นวา มี หมายถึง ลูกฆองมอญลกู ท่ี 5 นบั จากซายมอื ของผบู รรเลง
ซ อา นวา ซอล หมายถึง ลกู ฆองมอญลกู ที่ 6 นบั จากซายมอื ของผบู รรเลง
ล อา นวา ลา หมายถึง ลูกฆองมอญลกู ที่ 7 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ท อานวา ที หมายถึง ลกู ฆองมอญลูกที่ 8 นับจากซายมอื ของผูบรรเลง
ดํ อานวา โดสูง หมายถงึ ลกู ฆอ งมอญลกู ท่ี 9 นับจากซายมอื ของผบู รรเลง
รํ อา นวา เรสงู หมายถงึ ลูกฆอ งมอญลกู ท่ี 10 นบั จากซายมือของผูบรรเลง
มํ อานวา มีสูง หมายถงึ ลูกฆอ งมอญลูกที่ 11 นบั จากซา ยมอื ของผบู รรเลง
ฟ อานวา ฟาสูง หมายถงึ ลกู ฆอ งมอญลกู ท่ี 12 นับจากซายมือของผบู รรเลง
ซํ อา นวา ซอลสูง หมายถงึ ลูกฆอ งมอญลกู ที่ 13 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ลํ อานวา ลาสูง หมายถงึ ลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 14 นบั จากซา ยมอื ของผูบรรเลง
ทํ อานวา ทีสงู หมายถงึ ลกู ฆองมอญลูกที่ 15 นับจากซา ยมือของผูบรรเลง

หมายถึง การตรี วบจงั หวะในโนต 3 พยางคด วยวิธีการตีสะเดาะ หรือสะบัด โดยเริ่มจาก
การตดี ว ยมือซาย 1 พยางค และตามดว ยมือขวาอกี 2 พยางค

หมายถึง การตีรวบจังหวะในโนต 3 พยางคดวยวิธีการสะบัด โดยเริ่มจากการตีดวย
มอื ขวา 2 พยางค และตามดว ยมอื ซายอีก 1 พยางค

109

ซฺ ทํ
ลฺ ลํ

ด ม ซ ดํ รํ มํฟซ ํ


ล ท

เสยี งและตาํ แหนงตวั โนต ของลูกฆอ งมอญวงใหญ
ทมี่ า : วสิ ุทธิ์ จุยมา

วิธีการฝกคือจะใหนักเรียนฝกปฏิบัติดวยวิธีการท่ีถูกตองทีละแบบฝกใหเกิดความคลองแคลวกอนแลว
จึงจะเริม่ ฝก ปฏบิ ตั ิในแบบฝก ตอไปจนจบทกุ แบบฝก โดยแตล ะแบบฝก จะมโี นต และคําอธบิ ายประกอบดงั น้ี

แบบฝก ทักษะท่ี 1 การตีไลเสียงทีละมือขึ้น - ลง
1.1 การตีไลเ สยี งขนึ้

มอื ขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท
มอื ซา ย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - - - ม - - - ซ - - - ล - - - -

มอื ขวา - - - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ฟ - - - ซํ - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ
มือซา ย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

มือขวา - - - ลํ - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ - - - รํ - - - ดํ - - - ท - - - -
มือซาย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ล

มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
มอื ซาย - - - ซ - - - ม - - - ร - - - ด - - - ลฺ - - - ซฺ

คําอธบิ าย
ใชม อื ซายตีไลเสียงโดยเรม่ิ ตั้งแตเสยี ง ซฺ (ลกู ที่มเี สียงต่าํ สุดอยทู างซา ยมือของผูบรรเลง) และตีเรียงเสียง

ขน้ึ ไปทีละลูกจนถงึ เสียง ล แลวใชมอื ขวาตีไลเสยี งตอ ไปต้ังแตเสียง ท เรียงขึ้นไปทีละเสียงจนถึงเสียง ทํ (ลูกท่ีมี
เสียงสูงสุดอยูทางขวามือของผูบรรเลง) เปนการจบการไลเสียงขาข้ึน และในทางกลับกัน ใชมือขวาตีไลเสียง
ต้ังแตเ สยี ง ทํ (ลกู ท่มี ีเสยี งสูงสดุ อยูทางขวามือของผูบรรเลง) และตีเรียงเสียงลงมาทีละลูกจนถึงเสียง ท แลวใช

110

มือซายตีไลเสียงตอไปต้ังแตเสียง ล เรียงลงไปทีละเสียงจนถึงเสียง ซฺ (ลูกที่มีเสียงต่ําสุดอยูทางซายมือของ
ผูบรรเลง) เปนการจบการไลเสียงขาลง

แบบฝกทักษะที่ 2 การตไี ลเสยี งสองมอื พรอมกนั เปน คเู สยี งตางๆ ขน้ึ - ลง
มอื ขวา - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ฟ - - - ซํ
มอื ซาย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ม - - - ด - - - ร - - - ม - - - ดํ - - - ซ

มือขวา - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ - - - ลํ - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ - - - รํ
มือซา ย - - - ล - - - ท - - - ท - - - ล - - - ซ - - - ดํ - - - ม - - - ร

มอื ขวา - - - ดํ - - - ท - - - ล - - - ซ
มือซาย - - - ด - - - ม - - - ลฺ - - - ซฺ

คําอธบิ าย
ใชมือขวาและมือซายตีพรอมกันโดยลงนํ้าหนักมือใหเทากัน และใหเสียงลูกฆองท้ังสองดังเทากันเปนคู

ตางๆ โดยเริ่มจากเสียงคู 8 เรียงกันสองเสียง คือ คูของเสียง ซ กับ ซฺ และ ล กับ ลฺ เสียงตอไปตีเปนเสียงคู 5
คือ เสียง ท กับ ม จากนั้นตีเปน เสยี งคู 8 เรียงไปอีกสามเสียง คือ เสียง ดํ กับ ด เสียง รํ กับ ร และเสียง มํ กับ
ม เสียงตอไปตีเปนเสียงคู 4 คือ เสียง ฟ กับ ดํ จากน้ันตีเปนเสียงคู 8 เรียงไปอีกสามเสียง คือ เสียง ซํ กับ ซ
เสียง ลํ กับ ล และเสียง ทํ กับ ท เปนการจบการไลคูเสียงขาข้ึน และในทางกลับกันใหตีไลเสียงเปนคูเหมือนเดิม
ยอนกลบั ไปจนถึงเสยี งแรกเปนการจบการไลค ูเสียงขาลง

แบบฝก ทกั ษะท่ี 3 การตีแบงมือ 3 พยางค
มือขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ - รํ - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ
มอื ซาย - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - - - ม - - - ซ - - - ล -

คาํ อธิบาย
ใน 1 หองเพลงจะมีโนตอยู 3 พยางค วิธีการตีใชรูปแบบการแบงมือเปนแบบ ขวา - ซาย - ขวา โดยเร่ิม

จากมือขวาตีที่โนตพยางคแรกหนึ่งคร้ัง ตามดวยมือซายตีท่ีโนตพยางคที่ 2 หน่ึงครั้ง และจบดวยการตีดวยมือขวา
ที่โนตพยางคท่ี 3 อีกหน่ึงครั้ง โดยใหระยะหางของจังหวะแตละเสียงมีความเทากันและสมํ่าเสมอนับวาจบ 1
หองเพลง เชน โนตหองที่ 1 ใชมือขวาตีที่เสียง ล มือซายตีท่ีเสียง ซฺ และจบดวยมือขวาตีที่เสียง ซ นับวาจบ 1
หอ งเพลง จากนั้นตีตอ ไปตามโนตทีก่ ําหนดใหต อเน่ืองจนครบ 7 หอ งเพลง

111

แบบฝกทักษะที่ 4 การตแี บงมอื 3 พยางค แบบผสมมอื
มอื ขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ - รํ - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ
มือซาย - - ซฺ ซฺ - - ลฺ ลฺ - - ด ด - - ร ร - - ม ม - - ซ ซ - - ล ล

คาํ อธิบาย
ใน 1 หองเพลงจะมีโนตอยู 3 พยางค วิธีการตีใชรูปแบบการแบงมือเปนแบบ ขวา - ซาย - คู โดยเร่ิม

จากมือขวาตีท่ีโนตพยางคแรกหนึ่งคร้ัง ตามดวยมือซายตีท่ีโนตพยางคท่ี 2 หนึ่งครั้ง และจบดวยการตีดวยมือขวา
และมือซายพรอมกันเปนเสียงคแู ปดท่ีโนตพยางคที่ 3 อกี หนง่ึ ครั้ง โดยใหระยะหางของจังหวะแตละเสียงมีความ
เทากันและสมํ่าเสมอนับวาจบ 1 หองเพลง เชน โนตหองที่ 1 ใชมือขวาตีท่ีเสียง ล มือซายตีที่เสียง ซฺ และจบ
ดว ยการตีดว ยมือขวาและมอื ซายพรอมกนั เปนเสยี งคูแ ปดโดยมือขวาตีท่ีเสยี ง ซ และมือซายตีท่ีเสียง ซฺ นับวาจบ
1 หองเพลง จากนน้ั ตีตอ ไปตามโนต ท่กี าํ หนดใหต อ เน่ืองจนครบ 7 หองเพลง

แบบฝก ทกั ษะท่ี 5 การตีคถู า ง
มือขวา - - รํดํ - - ดํ - ฟ - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซา ย - - - ด - ด - ด - ด - ด - - ร ร

คําอธิบาย
โนตหอ งท่ี 1 ใชว ิธีตแี บงมอื 3 พยางคเ ปน แบบ ขวา - ขวา - ซาย ดว ยวิธีการตสี ะบัด โดยเรมิ่ จากใชม อื ขวาตี

ทีเ่ สียง รํ ตามดวยเสียง ดํ แลว ใชม ือซายตีรับทีเ่ สยี ง ด โนต หอ งท่ี 2 และ 3 ตีสองมือพรอมกันเปนเสียงคู 8 และ
คูถาง โดยเสียงคู 8 ใชมือซายตีท่ีเสียง ด และมือขวาตีท่ีเสียง ดํ สวนคูถางใชมือซายตีที่เสียง ด และมือขวาตีท่ี
เสียง ฟ โนตหองที่ 4 ตีแบงมือ 3 พยางค เปนแบบ ขวา - ซาย - คู โดยใชมือขวาตีที่เสียง มํ หนึ่งคร้ัง ตามดวย
มือซายตีทีเ่ สยี ง ร หนงึ่ ครัง้ และจบดว ยการตีทเี่ สียงคู 8 เสียง ร และ รํ

แบบฝกตอไปต้ังแตแบบฝกทักษะท่ี 6 ถึง แบบฝกทักษะที่ 20 เปนการฝกตีมือฆองสํานวนมอญ ซ่ึงเปน
เอกลกั ษณเ ฉพาะของมือฆองมอญท่มี อี ยใู นเพลงประจําวัด และประจําบาน ในประโยคตางๆ โดยใหนักเรียนฝก
ปฏิบัตทิ ลี ะแบบฝกจนคลองแคลว จนครบทุกแบบฝก ดงั นี้

แบบฝก ทกั ษะที่ 6 การตมี อื ฆองสํานวนมอญ ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ขวา - ท - - รํ ท - - - ล - - - -ซม - -รม - - -ด -ร-ด -ร-ม
มอื ซา ย - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล

คาํ อธบิ าย
มือฆอ งสํานวนมอญ มอี ยใู นทํานองหลักเพลงประจาํ วดั ประโยคที่ 6 หอ งท่ี 1 - 8

112

แบบฝก ทกั ษะที่ 7 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มือขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซา ย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

คาํ อธบิ าย
มือฆอ งสาํ นวนมอญ มอี ยใู นทํานองหลกั เพลงประจาํ วดั ประโยคท่ี 10 , 38 และ 40 หอ งที่ 1 - 8

แบบฝกทักษะที่ 8 การตีมือฆอ งสํานวนมอญ
มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

คําอธบิ าย
มือฆองสาํ นวนมอญ มีอยใู นทํานองหลกั เพลงประจําวัด ประโยคที่ 14 , 22 , 44 และ 52 หองท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 9 การตมี อื ฆอ งสาํ นวนมอญ
มอื ขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มอื ซาย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

คําอธบิ าย
มือฆอ งสาํ นวนมอญ มีอยใู นทาํ นองหลกั เพลงประจาํ วัด ประโยคท่ี 15 และ 45 หอ งที่ 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 10 การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ
มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มือซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

คาํ อธบิ าย
มอื ฆอ งสํานวนมอญ มอี ยใู นทาํ นองหลักเพลงประจาํ วดั ประโยคที่ 13 , 17 , 43 และ47 หองที่ 1 - 8

แบบฝกทักษะท่ี 11 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ
มือขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มอื ซา ย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

คําอธบิ าย
มอื ฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําวัด ประโยคที่ 11 , 33 , 41 และ 63 หองที่ 5 -

8 และประโยคที่ 34 , 64 หอ งที่ 1 - 4

113

แบบฝกทกั ษะที่ 12 การตีมือฆองสาํ นวนมอญ
มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มือซา ย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซฺ - - ลฺ - -

คําอธบิ าย
มอื ฆองสํานวนมอญ มอี ยใู นทาํ นองหลกั เพลงประจาํ วดั ประโยคที่ 19 , 28 , 49 และ 58 หอ งท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 13 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ
มือขวา - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ
มอื ซา ย - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม - - ม - - ร - ร - - ม - - ร - ด

คําอธบิ าย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําวัด ประโยคที่ 29 หองท่ี 5 - 8 ถึงประโยคท่ี 30

หองท่ี 1 - 4 และประโยคที่ 59 หองที่ 5 - 8 ถงึ ประโยคท่ี 60 หอ งท่ี 1 - 4

แบบฝกทักษะที่ 14 การตมี อื ฆองสาํ นวนมอญ
มอื ขวา - - - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ
มอื ซา ย - - - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร -

คําอธบิ าย
หองที่ 1 - 4 มอื ฆองสาํ นวนมอญ มอี ยใู นทาํ นองหลักเพลงประจาํ วัด ประโยคท่ี 11 และ 41 หองท่ี 1 - 4
หองท่ี 5 - 8 มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 17 , 29 และ 49

หองท่ี 1 - 4

แบบฝกทกั ษะท่ี 15 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ
มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

คําอธิบาย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 3 , 7 , 11 , 16 , 37 , 41 และ 48

หองท่ี 1 - 8

114

แบบฝก ทักษะที่ 16 การตมี อื ฆองสาํ นวนมอญ
มอื ขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มอื ซา ย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ - - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

คําอธบิ าย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 6 , 14 , 32 , 36 , 45 , และ 47

หอ งที่ 1 - 8

แบบฝกทกั ษะท่ี 17 การตีมอื ฆอ งสํานวนมอญ
มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ
มือซา ย - - ด ด - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - - - ร - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด

คําอธิบาย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 18 หองท่ี 5 - 8 ถึง ประโยคท่ี

19 หองที่ 1 - 4 และ ประโยคที่ 50 หอ งท่ี 5 - 8 ถึง ประโยคท่ี 51 หองที่ 1 - 4

แบบฝก ทกั ษะที่ 18 การตีมือฆอ งสํานวนมอญ
มือขวา - - - - - ม - ม - ม - ม - ม - - - ล - ซ - ซ - - - ม - ม - ม - -
มอื ซา ย - - - ด - - ร - ด - ร - ด ร - ร - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด ร - ร

คําอธบิ าย
เปนการฝก การตีมือฆองสํานวนมอญ ซ่ึงมีอยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 21 และ 53

หอ งที่ 1 - 8

แบบฝกทักษะที่ 19 การตีมอื ฆองสาํ นวนมอญ
มอื ขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ - - มํ รํ - รํ - รํ - รํ ดํ - - - ดํ รํ
มือซา ย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด - - - ร - ซ - ร ร - - ท ล ท - ร

คําอธิบาย
มอื ฆอ งสาํ นวนมอญ มอี ยใู นทํานองหลกั เพลงประจาํ บาน ประโยคท่ี 26 และ 28 หอ งท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 20 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มอื ขวา - ฟ - - ฟ ซํ - - ลํ ซํ - - ฟ ซํ - ฟ - มํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - - ดํ รํ มํ ฟ
มือซาย - ดํ - รํ - - ดํ รํ - - ฟ รํ - - - ดํ - - รํ ดํ - - ดํ ล - - ซ ล - - - -

คาํ อธบิ าย
มอื ฆองสาํ นวนมอญ มีอยูในทาํ นองหลกั เพลงประจาํ บา น ประโยคที่ 33 หอ งท่ี 1 - 8

115

แบบทดสอบระหวา งเรยี น
บทท่ี 4 เรอ่ื ง แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ดานความรู

คาํ ช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบบั นีม้ ที ั้งหมด 3 ขอ

2. ขอสอบแตละขอมคี ําตอบใหเ ลือก 4 คาํ ตอบ
3. ใหนักเรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตองท่ีสุดเพียง

คาํ ตอบเดยี วลงในกระดาษคําตอบ

1. สญั ลักษณท่ีหมายถึงการตีรวบจงั หวะในโนต 3 พยางค ดวยวิธีการตีสะเดาะหรือสะบัด โดยเร่ิม
จากการตดี วยมือซาย 1 พยางค และตามดว ยมือขวาอีก 2 พยางค คือ สัญลกั ษณใ นขอใด
ก. ข. ค. ง.

2. ขอ ใดอธิบายวิธกี ารตฆี องมอญวงใหญจ ากโนตมือฆอง - - รรํ ํ - - ดํ - ฟ ไดถูกตอ ง
---ด -ด-ด

ก. วิธีการตสี ะบัด โดยเร่มิ จากใชมอื ขวาตีที่เสยี ง รํ ตามดวยเสียง ดํ แลวใชมือซายตรี บั ทเี่ สียง ด
โนตหอ งที่ 2 ตีสองมอื พรอมกนั เปน เสียงคู 8 และคถู า ง โดยเสยี งคู 8 ใชม ือซา ยตีท่ีเสียง ด
และมือขวาตที ี่เสยี ง ดํ สว นคูถ า งใชมือซา ยตที เ่ี สยี ง ด และมือขวาตที ่เี สียง ฟ

ข. วิธีการตีสะเดาะ โดยเร่ิมจากใชมอื ขวาตที ี่เสยี ง รํ ตามดว ยเสยี ง ดํ แลวใชม อื ซา ยตรี ับทีเ่ สียง ด
โนตหองท่ี 2 ตสี องมือพรอ มกันเปนเสียงคู 8 และคถู า ง โดยเสยี งคู 8 ใชม ือซา ยตีท่ีเสียง ด
และมอื ขวาตีท่ีเสยี ง ดํ สว นคถู า งใชม ือซา ยตีทเี่ สยี ง ด และมอื ขวาตีทีเ่ สียง ฟ

ค. วธิ ีการตสี ะบดั โดยเรม่ิ จากใชมอื ซา ยตที ีเ่ สยี ง รํ ตามดวยเสียง ดํ แลวใชมอื ขวาตีรับที่เสยี ง ด
โนตหองท่ี 2 ตสี องมอื พรอ มกันเปน เสียงคู 8 และคถู า ง โดยเสียงคู 8 ใชมอื ขวาตีทเ่ี สยี ง ด
และมอื ซา ยตีที่เสียง ดํ สวนคถู างใชมือขวาตีท่ีเสยี ง ด และมอื ซายตีทเี่ สียง ฟ

ง. วธิ ีการตีสะเดาะ โดยเรมิ่ จากใชม อื ซายตที เ่ี สยี ง รํ ตามดว ยเสียง ดํ แลว ใชม อื ขวาตรี บั ท่เี สยี ง ด
โนต หองท่ี 2 ตสี องมือพรอ มกันเปนเสียงคู 8 และคูถาง โดยเสยี งคู 8 ใชมือขวาตีทีเ่ สียง ด
และมือซา ยตีที่เสียง ดํ สวนคถู างใชม ือขวาตที เ่ี สียง ด และมอื ซา ยตที ีเ่ สยี ง ฟ

116

3. สัญลกั ษณตวั โนต ซ อานวาอะไร และมคี วามหมายอยา งไร
ก. อา นวา ซอลต่ํา หมายถึง ลกู ฆอ งมอญลูกท่ี 1 นับจากซายมือของผูบรรเลง
ข. อานวา ซอล หมายถึง ลูกฆอ งมอญลกู ที่ 1 นับจากซายมอื ของผูบ รรเลง
ค. อานวา ซอล หมายถึง ลกู ฆองมอญลกู ท่ี 6 นบั จากซายมอื ของผูบรรเลง
ง. อานวา ซอลสูง หมายถึง ลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 13 นบั จากซายมอื ของผูบรรเลง

117

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทท่ี 4 เรื่อง แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ดา นทกั ษะ

คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรยี นแบงกลมุ ๆละ 2 คน แลว ปฏบิ ัติแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
แบบฝกท่ี 1 - 20 ทีละกลุม

118

แบบประเมินผลการเรยี น หนวยการเรยี นรูท่ี...5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรทู ี่...4... เรอ่ื ง...แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ...

รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี...5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน

ผลการเรียนทีร่ ะบไุ วใ นคูมอื การใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน ดา นทักษะ

ดา น
ความรู

ลําดบั ชือ่ - สกุล วิธีการป ิฏบั ิตแบบฝกทักษะการบรรเลง รวม ระดับ
ที่ ฆองมอญวงให ญ คะแนน คณุ ภาพ

ความแ มน ํยาของทํานองในการป ิฏบั ิต
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

ความ ูถก ตองของ ัจงหวะในการป ิฏบั ิต
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

คุณภาพเสียงและรส ืมอในการป ิฏบั ิต
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

ป ิฏภาณไหวพริบในการป ิฏบั ิต
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

บุคลิกภาพในการป ิฏบั ิตแบบฝกทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงให ญ

1 นายณัฐพล ชมพูนิช (3) (3) (3) (3) (3) (3) (18)
2 น.ส.เกจ็ มณี อยูเ พนียด
3 นายอภิวฒั น ทมิ ทอง 3 3 2 2 3 3 16 ดีมาก
4 น.ส.จินตจ ฑุ า จุลจนั ทร 3 2 3 2 2 3 15 ดีมาก
5 นายปณณวฒั น กาญจนปราการ 3 3 2 3 3 3 17 ดีมาก
6 นายพิพฒั น บัวจํารสั 3 2 3 3 2 2 15 ดีมาก
7 นายนัณฐพล ศรีวิเศษ 3 3 2 2 3 3 17 ดมี าก
8 น.ส.เฟองฟา อารมณย ิ้ม 2 2 3 2 3 3 15 ดีมาก
9 นายวรพล ภูสดุ 2 3 3 3 2 3 16 ดีมาก
10 นายภคพล ชติ ทว ม 3 2 3 2 3 3 16 ดีมาก
3 3 2 3 3 2 16 ดีมาก
รวม 2 2 3 3 2 3 15 ดีมาก
เฉลี่ย 27 25 26 25 26 28 158
2.70 2.50 2.60 2.50 2.60 2.80 15.80
เกณฑคุณภาพ
ระดับ 4 = 15 - 18 ระดับคุณภาพ สรุปผลประเมินดานความรแู ละทกั ษะ
ระดบั 3 = 11 - 14 ดมี าก ระดับดีมาก = ..10.. คน
ระดับ 2 = 6 - 10 ดี ระดบั ดี = .......... คน
ระดับ 1 = 1 - 5 พอใช ระดับพอใช = ......... คน
ปรับปรงุ ระดับปรับปรุง = ......... คน

119

แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
หนวยการเรยี นรทู .ี่ ..5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรทู ี.่ ..4... เรอื่ ง...แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ...
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี.่ ..5...

คาํ ชแ้ี จง ใหครูผูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีทชอ่ื - สกุล
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ

1 นายณัฐพล ชมพนู ิช (3) (3) (3) (3) (3) (15)
2 น.ส.เกจ็ มณี อยเู พนียด
3 นายอภวิ ัฒน ทมิ ทอง 3 2 3 3 2 13 ดีมาก
4 น.ส.จินตจฑุ า จุลจนั ทร 3 3 2 3 3 14 ดีมาก
5 นายปณณวฒั น กาญจนปราการ 3 3 2 2 3 13 ดีมาก
6 นายพิพฒั น บัวจํารสั 2 3 3 3 2 13 ดีมาก
7 นายนัณฐพล ศรีวิเศษ 3 3 3 2 3 14 ดมี าก
8 น.ส.เฟองฟา อารมณย ้ิม 3 3 2 3 3 14 ดมี าก
9 นายวรพล ภสู ดุ 3 3 2 3 3 14 ดมี าก
10 นายภคพล ชติ ทว ม 2 3 3 3 2 13 ดีมาก
3 2 3 3 3 14 ดีมาก
รวม 3 3 3 3 2 14 ดีมาก
เฉลยี่ 28 28 26 28 26 136
2.80 2.80 2.60 2.80 2.60 13.60
เกณฑค ณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมินดานคณุ ลกั ษณะ
ระดบั 3 = 9 - 12 ดมี าก ระดับดีมาก = ..10.. คน
ระดบั 2 = 5 - 8 ดี ระดับดี = .......... คน
ระดับ 1 = 1 - 4 พอใช ระดับพอใช = ......... คน
ปรบั ปรุง ระดบั ปรับปรุง = ......... คน

120

แบบบันทกึ หลงั การสอน

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4
หนวยการเรียนรทู ่ี 5 การบรรเลงเพลงมอญ
ช่ือแผน แบบฝกทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ผลการสอน
นักเรียนทุกคนมีความสนใจการเรียนเปนอยางดี เรียนรูอยางสนุกสนาน มีผลการประเมินผลการเรียน

และการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง
การบรรเลงเพลงมอญ รายวิชาปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการเรียนรูวิชาชีพ
ปพ าทย แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 4 เรอ่ื ง แบบฝกทกั ษะฆอ งมอญวงใหญ โดยสรปุ ดังน้ี

1. คะแนนการประเมินผลการเรียน ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉล่ีย 15.80 คิดเปนรอยละ 87.78
(คะแนนเตม็ 18 คะแนน) คณุ ภาพระดับดีมาก 10 คน

2. คะแนนการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน (คุณลักษณะ) ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนน
เฉลี่ย 13.60 คดิ เปนรอ ยละ 90.67 (คะแนนเตม็ 15 คะแนน) คุณภาพระดับดมี าก 10 คน

3. จากการประเมินนักเรียนสรุปไดวา นักเรียนผานจุดประสงคการเรียนรู ขอ 1 - 3 ทุกคน คิดเปน
รอยละ 100

ปญหา / อปุ สรรค
ไมพ บ

ขอ เสนอแนะ / แนวทางปรับปรุงแกไข
-

ลงช่ือ
(นายวิสุทธ์ิ จุยมา)

ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการ
วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป

121

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 5

หนว ยการเรียนรทู ่ี 5 การบรรเลงเพลงมอญ

ชือ่ แผน เพลงประจาํ วดั ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5
เวลา 8 ช่ัวโมง
รายวชิ า ปพาทย 4 รหัสวิชา ศ 32210

มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชว้ี ดั
มาตรฐานการเรยี นรู
ศ 2.1 เขา ใจหลกั และวธิ กี ารบรรเลงตามประเภทของเครือ่ งดนตรี
ศ 2.2 เขาใจและมีทักษะในการฝกปฏิบัติเครื่องดนตรี บรรเลงเพลงประเภทตาง ๆ ตระหนัก

และเหน็ คุณคา นํามาประยกุ ตใ ชไดอยางเหมาะสม
ศ 3.2 อนุรกั ษ สืบทอด เผยแพร ดนตรีไทยท่ีเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เห็นคุณคา

ชนื่ ชม ภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ และภูมปิ ญญาไทย
ตวั ช้ีวดั
ศ 2.1 ม.5/1 อธบิ ายหลกั และวิธีการบรรเลงดนตรไี ทย
ม.5/2 ปฏิบตั ติ ามหลักและวิธีการบรรเลงดนตรไี ทย
ศ 2.2 ม.5/1 บอกประวัติเพลงในบทเรยี น
ม.5/2 อธิบายศพั ทส ังคีตในบทเรียน
ม.5/3 ปฏบิ ัตเิ พลงประเภทตาง ๆ
ม.5/4 นาํ ความรูทีไ่ ดรบั ไปใชใ นโอกาสตา ง ๆ ได
ศ 3.2 ม.5/1 นําเสนอผลงานการบรรเลงเพลงในหลักสูตรหรือนอก
หลักสตู ร

สาระสาํ คัญ
เพลงประจําวัด ใชบรรเลงประโคมในการจัดงานที่วัดและบรรเลงประโคมสอดแทรกในชวงเวลาตางๆ ท่ี

วางเวนจากพิธีกรรม เพลงประจําวัดคนมอญจะใชบรรเลงไดเฉพาะท่ีวัดเทานั้น เพราะเพลงประจําวัดใชบรรเลง
ประโคมแดส ง่ิ ศักด์สิ ทิ ธ์ิภายในวัด และไมวาจะเปนงานมงคล เชน งานบวช หรืองานศพ ตองทําพิธีบูชาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ทุกคร้ัง
เพลงประจําวัด ใชตะโพนมอญ และเปงมางคอกตีกํากับจังหวะหนาทับ ทํานองหลักของเพลงมีความยาวเทากับ 33
จังหวะหนา ทบั

122

จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. นักเรียนอธิบายประวตั ิเพลงประจําวัดไดถกู ตอ ง
2. นักเรียนอธิบายความหมายของศัพทส งั คีต คาํ วา จังหวะ กรอ และหนาทับไดถ ูกตอ ง
3. นกั เรียนอธบิ ายเกี่ยวกบั หนาทับเพลงประจาํ วัดได
4. นักเรยี นบรรเลงฆองมอญวงใหญเ พลงประจําวดั ไดถ ูกตอง

สาระการเรยี นรู
1. ประวัตเิ พลงประจําวดั
2. ศพั ทสังคีตหนา ทบั
3. เพลงประจาํ วดั
4. ทํานองหลกั เพลงประจําวดั

กจิ กรรมการเรียนการสอน
ชว่ั โมงที่ 1 - 2
ขัน้ นาํ เขา สบู ทเรยี น
1. ครูและนกั เรยี นรวมกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เร่ือง แบบฝกทักษะฆองมอญวงใหญ
จากนัน้ ครูใหนกั เรยี นยกตวั อยา งช่ือเพลงมอญที่นักเรียนรูจัก จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม
เก่ยี วกบั เพลงมอญ พรอ มยกตัวอยาง เพลงประจาํ วดั

ขน้ั ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ และใบความรูที่ 1 เรอื่ ง ประวตั ิเพลงประจาํ วัด ใหนักเรียนไดศึกษา แลวให
นักเรยี นรว มกันเลา ประวตั ิ โดยครใู หข อมูลเพ่ิมเตมิ ในสวนท่ีไมส มบรู ณ
3. ครูแจกใบความรูท่ี 2 เร่อื ง ศพั ทส งั คตี คาํ วา จังหวะ กรอ และหนาทับ
4. ครูอธิบายเกยี่ วกับศพั ทสังคตี คําวา จังหวะ กรอ และหนาทับใหนักเรียนฟง พรอมท้ังสาธิต
วธิ ีการตีประกอบคาํ อธิบาย
5. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 5 ในหวั ขอ ศพั ทส ังคีต
6. ครูสุมใหนักเรียน 4 คน ออกมาอธิบายเกี่ยวกับศัพทสังคีตพรอมท้ังสาธิตประกอบ
คาํ อธิบาย คนละ 1 คาํ โดยครใู หข อมูลเพิ่มเติมในสว นท่ไี มสมบรู ณ
7. ครูแจกใบความรทู ี่ 3 เร่ือง หนาทับเพลงประจาํ วดั
8. ครูอธิบายเกยี่ วกบั หนาทบั เพลงประจาํ วัด พรอ มท้ังสาธติ ใหน ักเรยี นดู
9. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทท่ี 5 ในหวั ขอ หนาทบั เพลงประจาํ วัด

123

10. ครูใหนักเรียน 2 คนออกมาอธิบายเกี่ยวกับหนาทับเพลงประจําวัด พรอมท้ังสาธิต
ประกอบการอธิบาย โดยครูอธบิ ายเพมิ่ เติมในสว นท่ีไมส มบูรณ

11. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงความสําคัญ และประโยชนของการเรียน เรื่อง ประวัติ
เพลงประจําวัด ศัพทสังคีต และหนา ทับเพลงประจําวดั

12. ครูชมเชยนักเรียนที่ต้ังใจเรียน และช้ีแนะนักเรียนที่ยังไมตั้งใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนแ ละคณุ คาของการเรียนดนตรไี ทย เพื่อใหน ักเรียนเกดิ ความซาบซ้งึ

ขั้นสรุป
13. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปประวัติความเปนมาของเพลงประจําวัด ศัพทสังคีต และ
จังหวะหนา ทบั

ช่วั โมงท่ี 3 - 5
ขนั้ นําเขา สบู ทเรยี น
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เร่ือง ประวัติเพลงประจําวัด ศัพทสังคีต
และหนาทบั เพลงประจําวัด จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับวิธีการบรรเลงฆองมอญ
วงใหญ พรอ มยกตัวอยาง ทํานองขน้ึ ตนเพลงประจําวัด

ขนั้ ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี นการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ
3. ครใู หนักเรยี นสํารวจความพรอ มและตรวจเคร่ืองดนตรีท่ีจะใชเ รยี นใหเรียบรอย
4. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 5 หัวขอ ทํานองหลักเพลงประจําวัด ในสวนของทํานองข้ึนตน และ
ทํานองเพลงประโยคที่ 1 - 28
5. ครูสนทนากับนักเรียน เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญของประโยชนของการฝกปฏิบัติ
ทาํ นองหลักฆองมอญวงใหญ เพลงประจาํ วัด ทํานองข้ึนตน และทํานองเพลงประโยคที่
1 - 28
6. ครูแจกใบความรูท่ี 4 เร่ือง ทํานองหลักเพลงประจําวัด จากน้ันเร่ิมตอทํานองเพลง
โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ และสื่อวีดิทัศน
ทํานองหลักเพลงประจําวัด โดยครูตีฆองมอญวงใหญสาธิตทํานองหลักทีละวรรคให
นักเรียนดู และใหนักเรียนปฏิบัติตามไปทีละวรรค ทีละทอน โดยในแตละวรรค แตละ
ทอนใหนักเรียนปฏิบัติซํ้าหลายๆคร้ังเปนการทบทวน เพ่ือใหนักเรียนเกิดความแมนยํา

124

แลวครจู งึ ตอ เพลงในวรรคตอไป โดยใชวิธกี ารสอนแบบแบบเดียวกันจนจบทํานองเพลง
ประจาํ วัด ทาํ นองข้นึ ตน และทํานองเพลงประโยคที่ 1 - 28
7. ครูใหนักเรียน 3 - 4 คน ออกมาอธิบายถึงความรูสึกที่มีตอการฝกปฏิบัติฆองมอญ วง
ใหญเ พลงประจําวัด ทํานองขึน้ ตน และทํานองเพลงประโยคท่ี 1 - 28
8. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากท่ีนักเรียนไดฝกปฏิบัติฆองมอญ
วงใหญเพลงประจาํ วดั ทํานองขึน้ ตน และทาํ นองเพลงประโยคท่ี 1 - 28
9. ครูชมเชยนักเรียนท่ีตั้งใจเรียน และช้ีแนะนักเรียนท่ียังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนแ ละคุณคา ของการเรียนดนตรีไทย เพ่ือใหนักเรยี นเกดิ ความซาบซง้ึ

ขนั้ สรปุ
10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญ และโยชนของการฝกปฏิบัติฆองมอญวงใหญ
ทํานองหลกั เพลงประจาํ วัด ทาํ นองข้นึ ตน และทาํ นองเพลงประโยคที่ 1 - 28
11. ครูใหนักเรียนทบทวนทํานองหลักเพลงประจําวัด และการปฏิบัติเครื่องกํากับจังหวะ
ตงั้ แตทํานองข้ึนตนจนถงึ ประโยคที่ 28

ชั่วโมงท่ี 6 - 8
ขนั้ นําเขา สบู ทเรียน
1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนความรูเดิม เรื่อง เพลงประจําวัด จากน้ันครูให
นักเรียนปฏิบัติฆองมอญวงใหญ ทํานองขึ้นตนเพลงประจําวัด และทํานองเพลงประโยคท่ี
1 - 28 เพื่อเปนการทบทวน จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีการบรรเลงฆองมอญ
วงใหญ พรอมยกตวั อยา ง ทาํ นองเพลงประจําวดั ในประโยคตอไป

ข้ันปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี นการสอน
2. ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมารับเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ
3. ครใู หน กั เรียนสํารวจความพรอ มและตรวจเครื่องดนตรีที่จะใชเรยี นใหเ รยี บรอย
4. นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจในเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลง
เพลงมอญ บทที่ 5 หัวขอ ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ วัด ในสว นของทํานองเพลงประโยค
ที่ 29 - ลงจบ
5. ครูสนทนากับนักเรียน เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญของประโยชนของการฝกปฏิบัติ
ทํานองหลกั ฆองมอญวงใหญ เพลงประจาํ วัด ประโยคที่ 29 - ลงจบ
6. ครูแจกใบความรูท่ี 4 เร่ือง ทํานองหลักเพลงประจําวัด จากน้ันเร่ิมตอทํานองเพลง
โดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การบรรเลงเพลงมอญ และส่ือวีดิทัศน

125

ทํานองหลักเพลงประจําวัด โดยครูตีฆองมอญวงใหญสาธิตทํานองหลักทีละวรรคให
นักเรียนดู และใหนักเรียนปฏิบัติตามไปทีละวรรค ทีละทอน โดยในแตละวรรค แตละ
ทอนใหนักเรียนปฏิบัติซํ้าหลายๆคร้ังเปนการทบทวน เพื่อใหนักเรียนเกิดความแมนยํา
แลวครูจึงตอเพลงในวรรคตอไป โดยใชวิธีการสอนแบบเดียวกันจนจบทํานองเพลง
ประจาํ วดั ประโยคท่ี 29 - ลงจบ
7. ครูใหนักเรียน 3 - 4 คน ออกมาอธิบายถึงความรูสึกท่ีมีตอการฝกปฏิบัติฆองมอญ วง
ใหญเพลงประจาํ วดั ประโยคที่ 29 - ลงจบ
8. ครูใหนักเรียนปฏิบัติฆองมอญวงใหญ ทํานองหลักเพลงประจําวัด ต้ังแตทํานองขึ้นตน
จนจบเพลง พรอมกัน
9. ครูสังเกตและประเมินความรูความสามารถหลังจากที่นักเรียนไดศึกษาเรียนรูจาก
เอกสารประกอบการเรียนการสอน ประกอบการชมวีดิทัศน และไดนํามาฝกปฏิบัติฆอง
มอญ วงใหญเพลงประจําวัด เพื่อเปนการวัดความรูความสามารถในเน้ือหาท่ีไดเรียน
มาแลว
10. ครูชมเชยนักเรียนท่ีต้ังใจเรียน และชี้แนะนักเรียนท่ียังไมต้ังใจเรียน โดยอธิบายถึง
ประโยชนและคณุ คาของการเรยี นดนตรไี ทย เพือ่ ใหนกั เรยี นเกดิ ความซาบซ้ึง

ขั้นสรปุ
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญ และโยชนของการฝกปฏิบัติฆองมอญวงใหญ
ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ วดั
12. ครูใหนักเรียนทบทวนทํานองหลักเพลงประจําวัด และการปฏิบัติเคร่ืองกํากับจังหวะ
ต้งั แตท ํานองขน้ึ ตน จนจบเพลง

สอื่ การเรียนการสอน
1. เครือ่ งดนตรี
- ฆองมอญวงใหญ พรอมไมตี
- ตะโพนมอญ
- เปง มางคอก
- ฉ่งิ
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรอื่ ง การบรรเลงเพลงมอญ
3. ส่อื วีดทิ ศั น เร่อื ง การบรรเลงเพลงมอญ
4. ใบความรูที่ 1 เรือ่ ง ประวัติเพลงประจาํ วดั
5. ใบความรทู ่ี 2 เรื่อง ศัพทส งั คีต คาํ วา จงั หวะ กรอ และหนาทบั
6. ใบความรทู ี่ 3 เร่ือง หนา ทบั เพลงประจาํ วดั
7. ใบความรทู ี่ 4 เรอื่ ง โนต ทํานองหลักเพลงประจาํ วัด

126

การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู
1. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล
- การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น และประเมินผลหลงั เรียน

2. เครือ่ งมือการวัดผลและประเมนิ ผล
- เกณฑก ารใหค ะแนนการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น

- แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น

3. เกณฑก ารวดั ผลและประเมินผล
ไดช วงคะแนนเฉลยี่ รอ ยละ 80 - 100 ระดบั คุณภาพ ดมี าก

ไดชว งคะแนนเฉลี่ยรอ ยละ 70 - 79 ระดับคณุ ภาพ ดี

ไดช วงคะแนนเฉล่ยี รอ ยละ 50 - 69 ระดับคุณภาพ พอใช

ไดชวงคะแนนเฉล่ยี รอยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ควรปรับปรุง

แหลงการเรียนรู

- ภมู ิปญ ญาทองถิน่ - หอ งโสตทศั นวัสดุอปุ กรณ
- หอ งสมุดดนตรีของสถาบนั ตา ง ๆ - วทิ ยากร
- โรงละครแหงชาติ - แหลงชุมชน
- พพิ ิธภณั ฑส ถานแหงชาติ - ฯลฯ

ขอเสนอแนะ
- นักเรยี นควรฝก ปฏิบตั ิฆองมอญวงใหญเ พ่ิมเตมิ นอกเวลาเรยี น เพอ่ื ใหเกดิ ความชาํ นาญ
- ใหนักเรียนชมและฟงการบรรเลงเกี่ยวกับเพลงมอญในโอกาสตางๆ

- ควรหาความรูเพ่ิมเติมจากสอ่ื ตา งๆ เชน อนิ เตอรเนต็ หองสมุด ตาํ ราทางวชิ าการ

ครผู เู ชี่ยวชาญ ฯลฯ เพ่ือสามารถนําไปประกอบกจิ กรรมเนื่องในโอกาสสําคัญตางๆ ท้ังใน
และนอกสถานท่ี

127

เกณฑการประเมิน และการใชแบบประเมินผล

เกณฑการประเมินน้ี เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ที่มีครูผูสอนทําหนาท่ีประเมิน โดยจะตอง
สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นของนกั เรียนที่เขารบั การประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการให
คะแนนที่ระบไุ ว โดยผูประเมนิ ตอ งปฏบิ ัติดังน้ี

1. ศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนท่ีระบุไวอยาง
ละเอยี ดเพอ่ื ใหไดผ ลการประเมินท่ถี ูกตอ งตามเกณฑท่ีกาํ หนดไว

2. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพท่ีระบุในเกณฑ
การใหค ะแนนลงในชอ งคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมิน หลังจากเสร็จสิ้นการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู เร่ือง
เพลงประจาํ วัด

การประเมนิ และการใหค ะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ที่มีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลําดบั ความถูกตอ งตามเกณฑการใหค ะแนน

วัตถปุ ระสงคข องการประเมิน
1. เพื่อประเมนิ พฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรยี นในดานตางๆเปนรายบุคคล
2. เพื่อประเมนิ ความรูของนกั เรยี น เรื่อง ประวตั เิ พลงประจาํ วดั
3. เพือ่ ประเมนิ ความรูของนักเรียน เร่อื ง ความหมายของศัพทส ังคตี คาํ วา จังหวะ กรอ
และหนา ทบั
4. เพ่ือประเมินความรูของนกั เรยี น เร่ือง หนาทบั เพลงประจําวดั
5. เพื่อประเมินความสามารถของนักเรยี นในความแมน ยําของทํานองเพลงประจาํ วัด
6. เพอื่ ประเมินความสามารถของนกั เรยี นในความถูกตองของจังหวะเพลงประจําวัด
7. เพือ่ ประเมินความสามารถของนกั เรยี นในดา นคุณภาพเสียงและรสมือในการบรรเลง
ฆองมอญวงใหญ
8. เพื่อประเมินความสามารถของนกั เรียนในดานปฏิภาณไหวพริบในการบรรเลง
ฆองมอญวงใหญ
9. เพ่ือประเมนิ ความสามารถของนักเรียนในดานบุคลิกภาพในการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
10. เพื่อประเมนิ ความใฝเรียนรขู องนกั เรยี นในหอ งเรยี น

128

เกณฑก ารประเมนิ และการใหค ะแนน การประเมินผลการเรยี น
เร่ือง เพลงประจาํ วัด

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ความแมนยํา สามารถปฏิบัตเิ พลง สามารถปฏบิ ตั เิ พลง สามารถปฏบิ ตั ิเพลง

ของทาํ นองเพลง ประจาํ วัดไดอยา ง ประจําวัดได มีความ ประจาํ วัดได แตขาด

ประจําวัด แมน ยาํ มคี วาม แมนยาํ ชดั เจน ความแมน ยาํ ไมสมบูรณ

สมบูรณ ชัดเจน พอสมควร ไมค รบถวน

ครบถวน ถูกตองตาม

หลกั วธิ กี ารปฏิบตั ิ

2. ความถูกตอง สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏิบตั ิเพลง ปฏบิ ตั ิเพลงประจาํ วัด

ของจังหวะเพลง ประจําวัดเขา กับ ประจําวดั เขา กับจังหวะ ครอ มจังหวะเปนสว น

ประจําวัด จงั หวะไดอยางถูกตอง ได แตบ รรเลงครอม ใหญ ขาดความสมบรู ณ

มคี วามสมบูรณ ชัดเจน จังหวะในบางประโยค ไมครบถวน

ถูกตองตามหลักวิธกี าร

ปฏิบตั ิเขาจงั หวะ

3. คณุ ภาพเสยี ง สามารถปฏิบัติฆองมอญ สามารถปฏบิ ตั ฆิ องมอญ สามารถปฏบิ ัตฆิ องมอญ

และรสมือในการ วงใหญได มีคุณภาพ วงใหญได มีคุณภาพ วงใหญได แตขาด

บรรเลงฆอ งมอญวง เสยี งและรสมอื มีความ เสยี งและรสมือตาม คณุ ภาพเสียงและรสมือ

ใหญ ถูกตองสมบรู ณชดั เจน หลักวธิ ีการปฏิบัติ ใช ตามหลักวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ

ตามหลกั วิธกี ารปฏิบตั ิ กลวิธีควบคมุ ใหเสียง ใชกลวธิ คี วบคุมใหเสียง

ใชกลวธิ ีควบคุมใหเสียง ดัง - เบาได สอดใส ดัง - เบาไดไมชดั เจน

ดัง - เบาได สอดใส อารมณเ หมาะสมกบั ขาดการสอดใสอ ารมณ

อารมณเหมาะสมกับ บทเพลงได มคี วาม กับบทเพลง ขาดความ

บทเพลงไดอยางไพเราะ สมบูรณ ชัดเจน สมบูรณ

มีความสมบรู ณช ดั เจน พอสมควร

ครบถวน ถูกตองตาม

หลักวธิ กี ารปฏิบัติ

129

รายการประเมิน 3 ระดับคะแนน 1
มปี ฏภิ าณไหวพรบิ 2 ไมม ีปฏิภาณไหวพริบ
4. ปฏิภาณไหว ในการแกป ญหาการ ในการแกปญ หาการ
พรบิ ในการบรรเลง ปฏิบตั ฆิ องมอญวงใหญ มีปฏภิ าณไหวพริบ ปฏบิ ัติฆอ งมอญวงใหญ
ฆอ งมอญวงใหญ ไดเปน อยางดี ในการแกป ญหาการ
ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ขาดบคุ ลิกภาพในการ
5. บคุ ลิกภาพใน มบี คุ ลกิ ภาพในการ ได แตไมส มบูรณ ปฏิบัตฆิ องมอญวงใหญ
การบรรเลงฆอง ปฏบิ ัติฆอ งมอญวงใหญ ตามหลกั วิธีการปฏบิ ตั ิ
มอญวงใหญ ถกู ตองตามหลักวธิ ีการ มีบคุ ลกิ ภาพในการ
ปฏิบตั ิ ครบถว น ปฏบิ ตั ิฆอ งมอญวงใหญ
สมบรู ณ ตามหลกั วธิ กี ารปฏิบตั ิ
แตไ มสมบรู ณ

130

แบบประเมินผลการเรียน หนว ยการเรียนรทู ่.ี ..5... เรื่อง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรูท.ี่ ..5... เรอื่ ง...เพลงประจําวัด...

รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่.ี ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนที่เหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรียนทีร่ ะบุไวใ นคมู ือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดานความรู ดา นทักษะ

ลําดบั ชือ่ - สกลุ ประวั ิตเพลงประจําวัด รวม ระดบั
ท่ี ความหมายของ ัศพ ท ัสง ีคต ํคาวา คะแนน คุณภาพ

จังหวะ กรอ และหนาทับ
หนา ัทบเพลงประจําวัด
ความแมนยําของทํานอง

เพลงประจําวัด
ความถูกตองของจังหวะ

เพลงประจําวัด
ุคณภาพเ ีสยงและรสมือในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ
ุบค ิลกภาพในการบรรเลง

ฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (24)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดานความรูและทกั ษะ
ระดบั 4 = 19 - 24 ดีมาก ระดับดมี าก = ...... คน
ระดับ 3 = 13 - 18 ดี ระดับดี = ....... คน
ระดบั 2 = 7 - 12 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
ระดับ 1 = 1 - 6 ปรบั ปรงุ ระดบั ปรบั ปรงุ = ....... คน

131

เกณฑการประเมิน และการใหคะแนน การประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรม

รายการประเมิน 3 ระดับคะแนน 1
1. ความขยนั หม่ัน มคี วามขยนั หม่ันเพียร 2 ไมมีความขยันหมัน่
เพียร ในการเรยี น หมน่ั เพยี ร และไมมีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มคี วามขยนั หม่ันเพยี ร ทบทวนความรู
2. ความรับผิดชอบ อยางสม่าํ เสมอ ในการเรยี น แตไมค อย
ฝก ฝนทบทวนความรู ไมมีความรบั ผิดชอบใน
3. การตรงตอ เวลา มีความรับผดิ ชอบ ทกุ ๆอยา งท่ีไดรบั
มคี วามเอาใจใสในส่งิ ท่ี มีความรบั ผิดชอบในสงิ่ มอบหมาย
4. ความซือ่ สัตย ไดรบั มอบหมายดีมาก ทีไ่ ดร บั มอบหมายเปน เขาเรยี นสายเปนประจาํ
สจุ ริต บางครัง้ และไมต รงตอเวลาท่มี ี
มคี วามตรงตอเวลาใน เขา หอ งเรียนชาบาง การนดั หมาย
5. มีจิตสาธารณะ การเขาหองเรยี น และ และมาสายเม่ือมีการ
เมอ่ื มีการนดั หมายเปน นดั หมายเปนบางคร้งั ไมร กั ษากฎระเบยี บและ
อยางดี ขอ ตกลง
มคี วามซ่ือสตั ย
มคี วามซื่อสัตย อยูใน พอสมควร และไม เปนผทู ่ไี มม จี ิต
กฎระเบียบ และ รักษากฎระเบยี บ และ สาธารณะ ไมมคี วาม
ขอ ตกลงในหอ งเรยี นดี ขอตกลงเปนบางคร้ัง เอื้อเฟอเผื่อแผ
มาก เปนผทู ่มี ีจิตสาธารณะ
มคี วามเอือ้ เฟอเผื่อแผ
เปนผทู ่ีมีจติ สาธารณะ พอสมควร
มคี วามเออื้ เฟอ เผื่อแผ
เปน อยางมาก

132

แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน
หนว ยการเรียนรูท ่ี...5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรทู ี.่ ..5... เรอื่ ง...เพลงประจาํ วดั ...
รายวชิ า...ปพาทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่.ี ..5...

คาํ ช้ีแจง ใหครูผูส อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชอ่ื - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดับคุณภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดานคุณลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 - 4

133

ภาคผนวก

134

ใบความรูท่ี 1

เร่อื ง ประวัตเิ พลงประจําวดั

เพลงประจําวัด เปนเพลงมอญที่นิยมนํามาใชฝกหัดในวงปพาทยมอญเปนเพลงแรก ชาวมอญเรียกวา

โกก เปงหะมาว หมายถงึ การอญั เชิญสิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิภายในวัด เพลงประจําวัดใชบรรเลงประโคม

ในการจัดงานที่วัด โดยใชบรรเลงประโคมสอดแทรกไปในชวงเวลาตางๆที่วางเวนจากพิธีกรรม คนมอญจะใช

บรรเลงไดเฉพาะที่วัดเทาน้ัน เพราะมีความเช่ือวาเพลงประจําวัดใชบรรเลงประโคมใหกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิภายในวัด

โดยเฉพาะอยางย่ิง ตะละทาน ซึ่งเปนเจาที่ปกปกษรักษาวัด การจัดงานในวัดมอญไมวาจะเปนงานมงคลหรืองาน

อวมงคลตองทําพิธีบอกกลาวนําเครื่องบูชามาบูชาตะละทานทุกคร้ัง เพลงประจําวัดจึงถูกหามไมใหไปบรรเลง

ที่บาน นอกจากนั้นคนมอญยงั มคี วามเชื่อถืออยางเครง ครัดท่วี า ส่งิ ใดทเ่ี ปน ของวดั จะไมน าํ มาไวท ่บี า น เพลงประจําวัด

ซึง่ ถือวาเปน ของวดั ชาวมอญจงึ หา มไมใหนําไปบรรเลงทีบ่ า น (พศิ าล บุญผกู , 2553, หนา 31)

135

ใบความรูที่ 2

เรอ่ื ง ศัพทส ังคีต คําวา จงั หวะ กรอ และหนาทบั

1. จังหวะ หมายถึงการแบงสวนยอยของทํานองเพลง ซ่ึงดําเนินไปดวยเวลาอันสม่ําเสมอ
ทกุ ๆระยะของสวนทีแ่ บง นคี้ อื จังหวะ

จังหวะทใ่ี ชในการดนตรีไทย แยกออกไดเ ปน 3 อยาง คอื
1.1 จังหวะสามญั หมายถึง จังหวะท่ัวไปที่จะตองยึดถือเปนหลักสําคัญของการขับรอง

และบรรเลงแมจะไมมีส่ิงใดเปนเคร่ืองใหสัญญาณจังหวะ ก็ตองมีความรูสึกอยูในใจตลอดเวลา จังหวะสามัญน้ีอาจ
แบงซอยลงไปไดเปนข้ันๆ แตละขั้นจะใชเวลาส้ันลงครึ่งหนึ่งเสมอไป และเม่ือจังหวะส้ันลงคร่ึงหน่ึงจํานวนจังหวะ
กม็ ากข้นึ อกี เทา ตวั

อุทาหรณ เพลงหน่ึงมี 8 จังหวะ กินเวลาบรรเลง 128 วินาที จึงเปนจังหวะละ 16
วินาที จะซอยสว นจังหวะลงไดดงั น้ี

จังหวะละ 16 วินาที เปน เพลง 8 จังหวะ
จงั หวะละ 8 วนิ าที เปน เพลง 16 จงั หวะ
จังหวะละ 4 วินาที เปน เพลง 32 จงั หวะ
จังหวะละ 2 วนิ าที เปน เพลง 128 จังหวะ
ผูขับรองและผูบรรเลงดนตรีจะยึดถือเอาจังหวะขนาดไหนเปนสําคัญก็แลวแต
ความเหมาะสมของลักษณะเพลงนนั้ ๆ
1.2 จังหวะฉิง่ เปนการแบงจังหวะดวยเสียงที่ตฉี งิ่ เพ่ือใหรูจังหวะเบาและจังหวะหนัก
โดยปรกตฉิ ่งิ จะตสี ลับกนั เปน “ฉง่ิ ” ทหี นึ่ง “ฉับ” ทีหน่ึง ฉิ่งเปนจังหวะเบา และฉับเปนจังหวะหนัก สวนจะใช
จงั หวะถห่ี รอื หา งอยา งไรก็แลวแตลกั ษณะของเพลง
เพลงพเิ ศษบางเพลงอาจตีแตเสียงที่ดังฉิ่งลวนๆ หรือฉับลวนๆก็ได เพลงสําเนียงจีนหรือญวน
มกั ตีเปน “ฉงิ่ ฉงิ่ ฉับ” แตนีเ่ ปนการแทรกเสยี งฉงิ่ พยางคท่ี 2 เขามาอีกพยางคหนึ่งเทาน้ัน มิไดเปนจังหวะพิเศษ
อยา งใดสว นเพลงจงั หวะพิเศษ เชน เพลงจาํ พวกโอโ ลม ชมตลาด และยานี การตีฉ่ิงมีจังหวะกระชั้น ในตอนทาย
ประโยค เพราะเปน เพลงประเภทประโยคละ 7 จงั หวะ
1.3 จังหวะหนาทับ คือ การถือเอาหนาทับเปนเกณฑในการนับจังหวะ หมายความวา
เมื่อหนาทับตีจบไปเที่ยวหนึ่งก็นับเปน 1 จังหวะ ตีจบไป 2 เที่ยวก็เปน 2 จังหวะ แตหนาทับที่ใชเปนเกณฑ
ในการกําหนดจังหวะน้ี โดยปรกติใชแตหนาทับที่เปนประเภทของเพลงนั้นๆ เชน ปรบไก หรือสองไม กับ
อัตราสวนของเพลง เชน 3 ช้ัน 2 ชั้น และช้ันเดียว สวนเพลงท่ีมีหนาทับพิเศษซ่ึงมีความยาวมากก็มิไดถือเอา
หนาทับประจําเพลงเชนน้ันมาเปนเกณฑกําหนดจังหวะ เชน เพลงตระนิมิต (2 ชั้น) ซึ่งมีหนาทับตะโพนประจํา
เพลงอยู เวลาบรรเลงตะโพนก็จะตหี นาทับตระ ซึ่งมีความยาวเทากันกับทํานองเพลง หนาทับกับทํานองเพลง

136

กจ็ ะจบลงพรอ มกนั แลว จะถือวาเพลงตระนิมติ มจี ังหวะเดยี วหาไดไม หากจะตรวจใหทราบวาเพลงตระนิมิตมี
กี่จังหวะ ก็จะตองใชหนาทับปรบไก 2 ช้ัน เปนเกณฑตรวจสอบ เพราะเพลงตระนิมิตเปนเพลงประเภท
หนา ทบั ปรบไก เม่อื นาํ หนาทบั ปรบไกมาตีใหเขากับทํานองเพลงตระนิมิตก็จะตีหนาทับได 8 เท่ียว จึงเปนอันรู
ไดวาเพลงตระนิมิตมี 8 จังหวะ การที่นักดนตรีพูดกันวาเพลงนี้เทาน้ันจังหวะ เพลงนั้นเทานั้นจังหวะ ก็หมายถึง
การนบั จังหวะหนา ทบั ดังกลาวมาน้ี (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 6 - 7)

2. กรอ ความหมายที่ 1. คือ เปนวิธีบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทตี เชน ระนาด ฆองวง อยางหนึ่งซ่ึง
ใชวิธีตี 2 มือสลับกันถี่ๆ เหมือนรัวเสียงเดียว แตวิธีท่ีเรียกวา “กรอ” นี้ มือท้ังสองไมไดตีอยูท่ีลูกเดียวกัน โดย
ปกติมักจะตีเปนคู 2 คู 3 คู 4-5-6 และ 8 ฯลฯ ความหมายที่ 2. คือ เปนคําเรียกทางของการดําเนินทํานองเพลง
อยางหนึ่ง ที่ดําเนินไปโดยใชเสียงยาวๆ ชาๆ เพลงที่ดําเนินทํานองอยางนี้เรียกวา “ทางกรอ” ท่ีเรียกอยางนี้ก็
ดวยเหตุเพลงที่มีความยาวๆนั้น เคร่ืองดนตรีประเภทตีไมสามารถจะทําใหยาวได จึงตองตีกรอ (ดังขอ 1) ใหได
ความยาวเทา กบั ความประสงคของทํานองเพลง (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 1)

3. หนาทับ คือ วิธีการตีเครื่องดนตรีที่ขึงดวยหนังจําพวกท่ีเลียนเสียงมาจาก “ทับ” เชน ตะโพน
และกลองแขก เปน ตน ซง่ึ มบี ญั ญตั ิเปนแบบแผนสําหรับตีประกอบจังหวะประจาํ กบั ทาํ นองเพลงโดยเฉพาะ

อธิบาย : ทับ เปนชื่อเครื่องดนตรีท่ีขึงดวยหนังหนาเดียว ใชตีประกอบจังหวะ
ทํานองดนตรมี าแตโ บราณ สมัยปจจุบันเราเรียกวา “โทน” (ท่ีตีคูกับรํามะนาในวงมโหรี) หนาท่ีอันสําคัญของทับ
คือ ตีประกอบจังหวะใหถูกตองกับประโยคเพลง และกลมกลืนกับทํานองเพลงรองหรือดนตรี หมายความวา
ทับก็ตองตีเปนเพลง แตเสียงของทับไมสามารถตีเปนทํานองได จึงตีแตเพียงเปนเครื่องบอกสัดสวนและ
ประโยคของเพลงนั้นๆ วิธีตีทับประจําเพลงน้ี ผูรองหรือผูบรรเลงดนตรีตองยึดถือเปนสิ่งสําคัญ ถารองหรือ
บรรเลงเพลงใดไมตรงกับวิธีตีของทับ ก็ถือวาเพลงนั้นผิดโดยขาดหรือเกิน ทับจึงเปนเสมือนผูกํากับอันสําคัญ
เปนหวั หนา ของบทเพลงอยา งหน่งึ วิธตี ีหรอื เพลงของทับน้ี จงึ เรียกวา “หนาทับ” สมัยตอมาไทยเราไดเพ่ิมเติม
เครื่องขึงดวยหนังตีประกอบจังหวะข้ึนตามกาลสมัย โดยใชวิธีตีเลียนเสียงมาจากทับอีกหลายอยาง เชน
ตะโพน สองหนา กลองแขก กลองมลายู เปนตน แมแตทับซึ่งเปนของเดิม ก็ยังเพิ่มกลองรํามะนาเขาตี
สอดแทรกเปน คูก นั วิธตี หี รือเพลงของเคร่ืองขึงดวยหนังจําพวกนี้ จึงเรียกวา “หนาทับ” ท้ังหมด (มนตรี ตราโมท,
2531, หนา 33 - 34)

137

ใบความรูที่ 3

เร่อื ง หนา ทบั เพลงประจําวดั

กอนท่ีจะเร่ิมเรียนหนาทับเพลงประจําวัด และ หนาทับเพลงประจําบานนักเรียนทุกคนจะตองทําความ

เขา ใจเกย่ี วกับสัญลักษณของตวั โนต ซงึ่ จะขอกําหนดเปนขอตกลงในเอกสารประกอบการเรยี นการสอนในเลม น้ี ดงั นี้

ป หมายถึง เสียง เปง คอื วธิ ีการตีเปง มาง 1 ลกู แบบเปดมือ
ป หมายถงึ เสยี ง ปะ คอื วิธกี ารตตี ะโพนมอญแบบปด มือท่ีหนาเทง หรือ หนาเล็ก
ท หมายถงึ เสยี ง เทง คอื วิธกี ารตตี ะโพนมอญแบบเปดมือท่หี นา เทง หรอื หนา เล็ก
ทํ หมายถงึ เสียง ทึง คือ วธิ ีการตตี ะโพนมอญแบบเปดมือท่ีหนาทงึ หรอื หนาใหญ
พ หมายถึง เสยี ง พรืด คอื วธิ กี ารตตี ะโพนมอญพรอมกันท้ังสองหนา
รัว หมายถึง วิธีการตีเปงมางคอกเคลาไปกับทํานองเพลง โดยใชวิธีตีเร่ิมจากลูกท่ีมี

เสยี งสงู ไลไ ปหาเสียงต่าํ และเร่ิมจากจังหวะชาไลไปหาจังหวะเร็วขึ้นเร่ือยๆ

สลบั ไลเ สียงขึ้น - ลง ตามความเหมาะสม

ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง หมายถึง การตีเปงมางคอกสอดแทรกไปกับทํานอง
เพลงควบคไู ปกับตะโพนมอญ ตามความเหมาะสม

หนาทับเพลงประจําวัด เปนหนาทับประเภทที่ใชตะโพนมอญและเปงมางคอกตีกํากับจังหวะหนาทับ

ซ่ึงสามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ สวนของหนาทับท่ีใชตีกํากับทํานองขึ้นตนของเพลง และ หนาทับที่ใชตี

กํากับทํานองเพลง ในสวนของหนาทับที่ใชตีกํากับทํานองเพลง ประโยคสุดทาย หรือลงจบ เปงมางคอกจะ

เปล่ยี นเปน ตีรวั ใน 4 หอ งเพลงสดุ ทา ย โดยเนอื้ ของหนา ทบั เพลงประจําวดั ทั้งหมดมีดงั น้ี

ข้นึ ตน

เปงมางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - รวั

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ

เปงมางคอก รวั

ตะโพนมอญ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

หนา ทับเพลงประจําวัด
เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

เปงมางคอก -ท-ท --ทท ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง
ตะโพนมอญ - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

(สมาน นอ ยนิตย, 2553 , หนา 55)

138

ลงจบ

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง รวั

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

139

ใบความรทู ่ี 3

เร่ือง ทํานองหลกั เพลงประจําวัด

ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ วัด สามารถแบงทวงทํานองเพลงไดหลายแบบ เชน แบบทอน แบบเท่ียว หรือแบบ
อืน่ ๆกไ็ ด ขึน้ อยกู ับนกั ดนตรแี ตละบา น แตล ะสาํ นักทจ่ี ะมวี ธิ กี ารแบง เพ่ือทาํ ใหการทองจําทํานองเพลงเขาใจงายย่ิงข้ึน
แตในเอกสารประกอบการเรียนการสอนเลมนี้ผูจัดทําใชวิธีแบงทํานองออกเปน 2 สวน คือ สวนข้ึนตนเพลง
มีความยาว 2 ประโยคเพลง และสวนของทํานองเพลง โดยในสวนของทํานองเพลงมีความยาว 66 ประโยคเพลง
หรือ 33 จังหวะหนาทับ จะแบงออกเปน 2 เท่ียว คือ เที่ยวแรก 36 ประโยค (ประโยคที่ 1 - 36) หรือ 18 จังหวะ
หนาทับ และเท่ียวกลับ 30 ประโยค (ประโยคที่ 37 - 66) หรือ 15 จังหวะหนาทับ ตามโนตมือฆองที่คูกับโนต
หนา ทบั กาํ กบั จังหวะในแตละประโยคเพลง ดงั นี้

ข้ึนตน

มอื ขวา - - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ล - - - ซ
มอื ซา ย - - - - - - - - - - - - - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ม - - - ลฺ - - - ซฺ

เปงมางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รัว

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ - - - - - - - -

มือขวา - ซ - รํ - - - มํ - รํ - ดํ - ท - ล - ซ - ดํ - รํ - มํ - รํ - ดํ - ท - ล
มอื ซาย - ร - ร - - - ม - ร - ด - - ลฺ ม - ร - ด - ร - ม - ร - ด - - ลฺ -

เปง มางคอก รวั

ตะโพนมอญ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ

เทยี่ วแรก
ประโยคที่ 1

มอื ขวา - - - ล - - - ล - - - ล - - - ซ - - - ซ - - ล ท - มํ รํ - รํ - รํ รํ
มือซา ย - - - ร - - - ลฺ - - - ร - - - ซฺ - ร - - - ซ - - - - - ท - ล - ซ

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

140

ประโยคท่ี 2
มือขวา - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - - - ล ซ - ซ - ซ - - - - ด - - ร ม
มือซา ย - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม - - - ม - ร - ด - ซฺ - - - ด - -

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 3
มือขวา - - - - - มํ - มํ - รํ - มํ - ซํ - ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - ล ซ - ซ - ซ ซ
มือซา ย - - - ม - - - - - ร - ม - ซ - ล - ท - ล - ซ - ม - - - ม - ร - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 4
มอื ขวา - ซ - ดํ - รํ - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - ล ซ - ซ ซ - ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - ร - ด - ร - ม - ซ - ม - ร - ด - - - ซฺ - ร - ด - ร - ด - ร - ม

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 5
มือขวา - - - - ซ ล - - ซ - ซ - ซ ล - - - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - -
มือซาย - - ร ม - - ซ ม - ร - ม - - ซ ม - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล - - ซ ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 6 - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ขวา - -ลท - -ลซ - -ซล - -ซม - -รม - - -ด -ร-ด -ร-ม
มือซาย

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

141

ประโยคท่ี 7
มอื ขวา - มํ รํ - รํ รํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - มํ - รํ - รํ - ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซา ย - - - ร - ล - ซ - ล - ซ - ม - ร - - ร - - ล - ซ - - ซ - - - ร -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 8
มือขวา - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซาย ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 9
มอื ขวา - - ลํ - ลํ ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ - - รํ มํ ฟ ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซาย - - - ล - - - ท - ล - ซ - - ร - - ล - ท - - - ซ - - ซ - - - ร -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 10
มือขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซา ย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 11
มือขวา - - - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มอื ซา ย - - - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

142

ประโยคท่ี 12
มอื ขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซาย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 13
มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มือซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 14
มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 15
มือขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มือซาย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 16
มือขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มือซา ย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

143

ประโยคที่ 17
มอื ขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มือซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 18
มือขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 19
มอื ขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซา ย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 20
มือขวา - - - - - รํ - รํ - มํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - - - ร - - - - - ม - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 21
มือขวา - - ซ ล - - ดํ รํ มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ม - ซ - ล - ซ - ท รํ - ท ล - -
มือซา ย - ม - - ซ ล - - - - ดํ ล - - - ซ - - ซฺ - - - ซฺ - - - - ล - - ซ ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

144

ประโยคท่ี 22
มือขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 23
มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มือซาย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 24
มอื ขวา - - - - - รํ - รํ - ท - รํ - มํ - ซํ - - ทํ ทํ - ลํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ
มอื ซา ย - - - ร - - - - - ม - ร - ม - ซ - ท - - - ล - ซ - ล - ซ - ม - ร

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 25
มอื ขวา - ดํ - มํ - - - - - - - ซ - - ล ท - ดํ - - - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ
มือซาย - ซ - - รํ ดํ ท ล - ร - - - ซ - - - - - ซ - - - - - - ล ท - - - ซ

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 26
มอื ขวา - ซ - ดํ - - รํ มํ - รํ - ดํ - ท - ล - มํ - รํ - มํ - ซํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ
มอื ซา ย - ร - ด - - - ม - ร - ด - - ลฺ - - ม - ร - ม - ซ - ท - ล - ซ - ม

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

145

ประโยคท่ี 27
มือขวา - - รํ รํ - มํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซาย - ร - - - ม - ซ - ล - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 28
มอื ขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซา ย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 29
มอื ขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - -
มอื ซาย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 30 -ซ-- ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล -ซ-ซ -ซ--
มือขวา ล ซ - ซ -ร-ร - - ม - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - - ซฺ - -ม-ม
มือซาย - - ม -
--ทท ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง - - ท ทํ - - ท ทํ
เปงมางคอก - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท

ตะโพนมอญ - ท - ท

ประโยคท่ี 31
มอื ขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล - ดํ - รํ - - มํ มํ
มือซาย - - ซฺ - - ร - ร - - ซฺ - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - ด - ร - ม - -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

146

ประโยคท่ี 32
มอื ขวา - มํ - ล - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซาย - ม - ม - ม - ร - - ล ท - - - ซ - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 33
มือขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มือซาย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 34
มือขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล - มํ - รํ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ท - ล
มือซา ย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ - - ม - ร - ด - ม - ร - ด - - ลฺ -

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 35
มอื ขวา - มํ รํ - รํ - รํ รํ - - - ซ - - ล ท ล - ล ท - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - - - ท - ล - ซ - ร - - - ซ - - - ซ - - - ด - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 36
มือขวา - ลํ - ซํ - มํ - รํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซาย - ล - ซ - ม - ร - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ


Click to View FlipBook Version