The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : แนวคิดสู่การปฏิบัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watcharapol.wib, 2021-11-26 03:16:21

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : แนวคิดสู่การปฏิบัติ

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : แนวคิดสู่การปฏิบัติ

Keywords: การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

242

นาที ท่ีสำคัญ ผู้สอนควรเชื่อมโยงขั้นนำเข้าสู่เนื้อหาของบทเรียนให้ผู้เรียนเห็นถึงความสำคัญของ
เนอื้ หาทจี่ ะเรียนร้ตู ่อไป

5.2 ขั้นสอน หรือข้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการส่งผ่านเนื้อหาของบทเรียน
ผา่ นกจิ กรรมและสือ่ การเรียนการสอนไปยงั ผูเ้ รียน ผู้สอนควรใช้วิธีสอนท่หี ลากหลายและเหมาะสมกับ
เนื้อหาที่ต้องการถ่ายทอดสู่ผู้เรียน อาทิ การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบอภิปราย การสอนโดย
แสดงบทบาทสมมุติ การสอนโดยใชเ้ กมจำลองสถานการณ์ การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบ
สืบสอบ การสอนแบบนิรนัย การสอนแบบอุปนัย การสอนแบบโครงงาน การสอนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสอนบนเว็บ ท่ีสำคัญ การจัดการเรียนการสอนควรเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง โดยจัดให้ผู้เรียนเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ให้การเสริมแรง และผลป้อนกลับแก่
ผูเ้ รยี นอย่างเหมาะสม

5.3 ข้ันสรุป เป็นการประมวลสาระสำคัญออกมาเป็นประเด็น อาจเป็นการสรุป
ใจความสำคัญแต่ละตอนในระหว่างบทเรียน หรือเป็นการสรุปเม่ือจบบทเรียนหรือจบการฝึกปฏิบัติ
เพื่อเน้นย้ำให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสำคัญของเนื้อหาและเกิดความคงทนในการเรียนรู้ให้มากขึ้น ผู้สอน
อาจใช้วิธีการสรุปเน้ือหาโดยถามคำถาม วาดเป็นผังความคิด ผังกราฟิก (Graphic organizer) ขอ
อาสาสมัครผู้แทนผู้เรียนออกมาพูดสรปุ หน้าชน้ั เรียน ร่วมกันสรุประหว่างผู้สอนและผู้เรียน หรอื เขียน
สรุปลงในสมดุ หรอื บนั ทกึ การเรยี นรู้ผ่านบล็อกของตน

การสอนเรื่อง “การทักทาย” แก่ผู้เรียนชาวต่างชาติ ผู้สอนควรเขียนกิจกรรมการเรียนรู้
ดังน้ี

243

ขั้นนำ
ผู้สอนให้ผู้เรียนดูรูปภาพแสดงการทักทาย และสอบถามผู้เรียนเก่ียวกับ

ภาพดังกล่าว โดยให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
เรื่อง การทักทาย
ขน้ั สอน

1. ใหผ้ เู้ รยี นฝกึ อ่านออกเสียงคำศพั ท์
2. อ่านบทสนทนาเร่ือง ยินดีที่ได้รู้จักครับ ให้ผู้เรียนฟัง 1 รอบ และ
อธิบายเพมิ่ เติมเกยี่ วกับโครงสรา้ งประโยค
3. แบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มท่ี 1 เป็นตัวละครชายช่ือ สายฟ้า
และกล่มุ ท่ี 2 เปน็ ตวั ละครหญิงชอ่ื จเู ลยี อ่านบทสนทนาโตต้ อบกนั 1 รอบ แลว้ ให้
แต่ละกลุ่มสลับตวั ละครกนั แลว้ อา่ นอีก 1 รอบ
4. ให้ผู้เรียนจับคู่กับเพื่อน กำหนดเวลาให้ผู้เรียน 5 นาที เพื่อฝึกซ้อม
การทักทาย โดยใช้แบบทดสอบการสนทนา แล้วออกมาสนทนาหน้าชั้นเรียนจน
ครบทกุ คู่
5. ขออาสาสมัครผู้เรียนออกมาสนทนากับผู้สอนทีละคนจบครบ (หาก
ไม่มีผู้เรียนอาสาสมัคร ให้ผู้สอนใช้ดุลยพินิจเลือกผู้เรียนที่มีความพร้อมมากที่สุด
ออกมาก่อน) พร้อมบนั ทึกคะแนนท่ีได้รับ
ขั้นสรุป
1. ผู้เรียนช่วยกันอ่านทบทวนคำศัพท์ และบทสนทนาเร่ือง ยินดีท่ีได้
ร้จู ักครบั แล้วร่วมกนั สรุปบทเรยี น
2. แจ้งคะแนนและใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั ผ้เู รียนในภาพรวม

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ เป็นการระบุส่ือ อุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือที่ใช้ในกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ เช่น คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมการนำเสนอพาวเวอร์พอยต์ ใบ
ความรู้ ใบงาน หนังสือ เอกสารประกอบการสอน แบบบันทึก แบบประเมิน แบบสังเกต วิทยุ
โทรทัศน์ แผ่นฟิล์ม รูปภาพ แผนท่ี แผนภูมิ วิดีโอคลิป ไฟล์เพลง ไฟล์ภาพยนตร์ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) รวมถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศหรือความรู้ต่าง ๆ ท่ีให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาหา

244

ความรู้ได้ด้วยตนเองหรือตามการแนะนำของผู้สอน เช่น ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (Leaning
Management System: LMS) เว็บไซต์ ป้ายนิเทศ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการ สถาบัน
หน่วยงาน สถานที่สำคัญทางธรรมชาติ ทางประวัติศาสตร์ ทางศาสนา กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นใน
สถานศึกษาหรือในชุมชน รวมถึงบุคคลผู้ทรงภูมิความรู้ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ครูภูมิปัญญา
(เฉลิมลาภ ทองอาจ, วชั รพล วบิ ูลยศรนิ , และสุมติ รา คณุ วัฒนบ์ ัณฑติ , 2554)

การสอนเร่ือง “การทักทาย” แก่ผู้เรียนชาวต่างชาติ ผู้สอนควรเขียนสื่อและแหล่งการ
เรียนรู้ดงั นี้

1. แบบเรยี นเรื่อง สนทนาภาษาไทย
2. รปู ภาพแสดงการทักทาย
3. แบบบนั ทึกคะแนน ครั้งท่ี 1

7. การวัดและประเมินผล เป็นการเขียนระบุให้ทราบว่าผู้เรียนจะบรรลุจุดประสงค์การ
เรียนรู้ด้วยวิธีการใด เป็นการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic assessment) โดยการสังเกต
การบันทึก และการรวมข้อมูลจากผลงานเพื่อเก็บเข้าแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เน้นการประเมิน
ทักษะการคิดขั้นสูง ความสามารถในการแก้ปัญหา การพัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างเต็มท่ี
และควรประเมินส่ิงที่เป็นภาคปฏิบัติ เช่น ผู้เรียนสามารถสนทนาเกี่ยวกับการทักทายและแนะนำ
ตนเองจากการปฏิบัติจริง หรือปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมของสังคมไทยได้ถูกต้องแทนการตอบคำถาม
จากแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบหลายตัวเลือกในรายวิชาไทยศึกษาได้คะแนนสูง ผู้สอนต้อง
กำหนดการวัดและประเมนิ ผลใหช้ ดั เจน โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้

7.1 วิธีการวัดและประเมินผล เป็นการระบุให้ทราบว่าผู้เรียนจะบรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้ท่ีกำหนดไวไ้ ดด้ ้วยวธิ ีการใด

7.2 เครื่องมอื วัดและประเมินผล เป็นการระบเุ ครื่องมือท่ีนำมาใช้พิจารณาตรวจสอบ
ว่าผ้เู รียนบรรลุจดุ ประสงค์การเรยี นรทู้ ่กี ำหนดไว้

7.3 เกณฑ์การวัดและประเมินผล เป็นการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริกส์
โดยสร้างตารางระบุตัวเลข 1 ถึง 4 หรือ 1 ถึง 5 (ไม่มี 0 เพราะถือว่าถ้าผู้เรียนปฏิบัติตามท่ีกำหนด
จะต้องได้รับคะแนน หากไม่ปฏิบัติก็ไม่สามารถประเมินได้) เพ่ือแสดงระดับคุณภาพของผลงานหรือ
การปฏิบัติกิจกรรม อาจแบ่งประเภทของเกณฑ์การให้คะแนนตามสภาพจริงเป็น 2 ประเภท คือ
เกณฑ์การประเมินแบบองค์รวม (Holistic scoring rubrics) และเกณฑ์การประเมินแบบแยก

245

องค์ประกอบ (Analytical scoring rubrics) แต่ละประเภทมีลักษณะและรายละเอียด (พรทิพย์
แขง็ ขัน, เฉลมิ ลาภ ทองอาจ, และนวพร สรุ นาคะพนั ธ์ุ., 2554) ดังนี้

7.3.1 เกณฑ์การประเมินแบบองค์รวม (Holistic scoring rubrics) เป็น
เกณฑ์ที่พิจารณาภาพรวมของส่ิงท่ีต้องการประเมินว่ามีลักษณะอย่างไร โดยบรรยายคุณภาพของส่งิ ที่
ประเมนิ ทั้งหมดเป็นภาพรวม ดังตารางท่ี 6.2

ตารางที่ 6.2 เกณฑร์ ูบรกิ สป์ ระเมินรปู แบบการเขียนทั่วไปแบบองคร์ วม

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

4 - นำเสนอวัตถุประสงค์แปลกใหม่ ชัดเจน เร้าความสนใจ และสอดคล้อง

ดเี ยย่ี ม กบั เน้ือหา

- ตัง้ ชือ่ เรอื่ งสัมพันธ์กับเนื้อเรือ่ งเป็นอย่างดี ผู้อ่านสามารถคาดเดาเน้ือหา

จากชือ่ เรื่องได้โดยงา่ ย

- อธิบายภมู หิ ลังความเปน็ มาของเร่อื งอย่างมีประสทิ ธิภาพ

- แสดงมมุ มองของผู้เขียนเอาไว้อยา่ งเหมาะสม ชัดเจนและเทีย่ งตรง

- สรุปความคิดรวบยอดของเน้ือเร่ืองครบถ้วนและเน้นความสำคัญของ

ใจความหลกั ที่สมั พันธก์ ับเน้ือเรอื่ ง

3 - นำเสนอวัตถุประสงค์แปลกใหม่ แต่ยังไม่สอดคล้องกับเนื้อหาตลอดทั้ง

ดี เรอื่ ง

- ตั้งช่ือเรื่องสัมพันธ์กับเน้ือเร่ือง ผู้อ่านสามารถคาดเดาเน้ือหาจากชื่อ

เร่ืองไดพ้ อสมควร

- อธิบายภูมิหลังความเป็นมาพอเหมาะ ชัดเจน แต่ขาดรายละเอียด

สำคัญไปบา้ ง

- แสดงมมุ มองของผเู้ ขยี นไว้อยา่ งชัดเจน

- สรุปเน้ือเร่ืองตามประเด็นสำคัญ แต่ไม่ครบทุกประเด็น ขาดเพียง 1-2

ประเดน็ แตพ่ อมองเหน็ ภาพรวม

2 - ไมไ่ ด้นำเสนอวัตถปุ ระสงคใ์ หม่ ๆ หรืออาจออกนอกประเด็นบางคร้ัง

พอใช้ - ต้ังช่ือเร่ืองค่อนข้างสัมพันธ์กับเน้ือเรื่อง ผู้อ่านสามารถคาดเดาเนื้อหา

จากชือ่ เรื่องได้บา้ ง

- อธิบายภูมิหลังความเป็นมา แต่ไม่สามารถเช่ือมโยงเข้าสู่เน้ือเร่ืองได้

อย่างมีประสทิ ธิภาพ

246

ตารางท่ี 6.2 เกณฑร์ ูบริกสป์ ระเมินรูปแบบการเขยี นทั่วไปแบบองคร์ วม

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

- แสดงมมุ มองของผู้เขยี น แตย่ งั ไม่ชัดเจนเท่าท่ีควร

- นำเนื้อเรือ่ งมาสรุปใหม่ แต่ขาดประเด็นสำคัญเป็นสว่ นใหญ่ พอมองเห็น

ภาพรวม แต่ไม่ชัดเจน

1 - ไม่มกี ารนำเสนอวัตถุประสงค์ หรือเสนอวตั ถปุ ระสงค์ไม่ชดั เจน

ปรับปรุง - ไม่มีการต้ังช่ือเรื่อง หรือการตั้งช่ือเร่ืองไม่สัมพันธ์กับเน้ือเรื่อง หรือ

สัมพนั ธก์ นั น้อยมาก ผ้อู ่านไม่สามารถคาดเดาเนอื้ หาจากชอื่ เร่อื งได้

- ไมม่ ีแบบแผนในการเขยี นบทนำ คลมุ เครือ ขาดความชัดเจน

- ไมไ่ ด้แสดงมมุ มองของผู้เขียนหรือแสดงไวอ้ ย่างไม่เหมาะสม ไมช่ ัดเจน

- ไม่มีการสรุปเนื้อเร่ือง หรือประเด็นหลักใด ๆ อาจมีบ้างแต่ไม่ชัดเจน

และไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ มองไมเ่ ห็นภาพรวม

7.3.2 เกณฑ์การประเมินแบบแยกองค์ประกอบ (Analytical scoring
rubrics) เป็นเกณฑ์การให้คะแนนโดยพิจารณาสิ่งที่ต้องการประเมินในลักษณะที่แยกเป็น
องค์ประกอบรายด้าน เกณฑ์ลักษณะน้ีมีความละเอียดกว่าเกณฑ์ประเภทแรก เพราะคุณภาพของ
แตล่ ะองคป์ ระกอบแบ่งออกเปน็ คะแนนหลายระดบั ดงั ตารางที่ 6.3

ตารางท่ี 6.3 เกณฑ์รูบรกิ สป์ ระเมินรปู แบบการเขียนท่วั ไปแบบแยกองค์ประกอบ

ระดบั คะแนน

เกณฑ์ 4 3 2 1
ปรบั ปรุง
ดเี ยย่ี ม ดี พอใช้ ไม่นำเสนอ
วัตถปุ ระสงค์ หรือ
1.วัตถุประสงค์ นำเสนอ นำเสนอ ไมไ่ ด้นำเสนอ เสนอวัตถปุ ระสงค์
ไม่ชัดเจน
(Purpose) วัตถุประสงค์แปลก วตั ถปุ ระสงคแ์ ปลก วัตถุประสงค์ใหม่ ๆ
ไมต่ ้งั ช่อื เร่ือง หรือ
ใหม่ ชดั เจน เร้า ใหม่ แต่ยงั ไม่ หรอื อาจออกนอก การต้งั ชื่อเร่ืองไม่
สมั พันธ์กับเน้ือเรอื่ ง
ความสนใจ และ สอดคล้องกบั ประเดน็ บางครัง้

สอดคลอ้ งกับ เนอื้ หาตลอดทัง้

เน้ือหา เร่ือง

2. ชื่อเรอื่ ง ตั้งชื่อเรอ่ื งสัมพนั ธ์ ตัง้ ชื่อเรอ่ื งสัมพนั ธ์ ตงั้ ช่ือเร่อื งคอ่ นข้าง

(Topic) กับเน้อื เรื่องเปน็ กบั เน้ือเร่ือง ผอู้ า่ น สมั พนั ธ์กบั เน้ือเรอ่ื ง

อย่างดี ผอู้ า่ น สามารถคาดเดา ผอู้ า่ นสามารถคาด

247

ตารางท่ี 6.3 เกณฑ์รูบรกิ ส์ประเมนิ รูปแบบการเขียนท่ัวไปแบบแยกองค์ประกอบ

ระดบั คะแนน

เกณฑ์ 4 3 2 1
ปรับปรงุ
ดเี ยี่ยม ดี พอใช้ หรือสมั พนั ธก์ นั น้อย
มาก ผู้อ่านไม่
สามารถคาดเดา เนื้อหาจากช่ือเรอื่ ง เดาเนื้อหาจากชอ่ื สามารถคาดเดา
เน้ือหาจากช่ือเรอ่ื ง
เนอื้ หาจากชื่อเรื่อง ได้พอสมควร เรือ่ งได้บา้ ง ได้
ไมม่ แี บบแผนในการ
ไดโ้ ดยงา่ ย เขียนบทนำ
คลุมเครือ ขาด
3. บทนำ อธิบายภูมหิ ลัง อธบิ ายภูมิหลงั อธบิ ายภูมหิ ลัง ความชัดเจน
(Introduction) ความเปน็ มาของ ความเปน็ มา ความเปน็ มา แต่ไม่
เรื่องอย่างมี พอเหมาะ ชดั เจน สามารถเชอื่ มโยง ไม่ไดแ้ สดงมุมมอง
4. เน้อื เรื่อง ประสิทธภิ าพ แตข่ าดรายละเอยี ด เขา้ ส่เู นื้อเรื่องได้ ของผ้เู ขียนหรือ
(Main body) สำคญั ไปบ้าง อยา่ งมี แสดงไว้อย่างไม่
ประสทิ ธภิ าพ เหมาะสม ไม่ชัดเจน
5. บทสรปุ แสดงมมุ มองของ แสดงมุมมองของ แสดงมุมมองของ ไมส่ รุปเน้ือเร่ือง
(Conclusion) ผู้เขียนเอาไวอ้ ยา่ ง ผเู้ ขียนไว้อย่าง ผเู้ ขยี น แต่ยงั ไม่ หรือประเด็นหลกั
เหมาะสม ชัดเจน ชัดเจน ชดั เจนเท่าทคี่ วร อาจมบี า้ งแตไ่ ม่
และเท่ียงตรง ชัดเจนและไม่มี
นำเนอื้ เรอื่ งมาสรปุ ประสิทธภิ าพ มอง
สรุปความคิดรวบ สรปุ เน้อื เรอื่ งตาม ใหม่ แต่ขาด ไม่เห็นภาพรวม
ยอดของเนื้อเรอื่ ง ประเดน็ สำคัญ แต่ ประเด็นสำคัญเปน็
ครบถว้ นและเน้น ไมค่ รบทกุ ประเดน็ ส่วนใหญ่ พอ
ความสำคญั ของ ขาดเพียง 1-2 มองเห็นภาพรวม
ใจความหลักที่ ประเดน็ แต่พอ แตไ่ มช่ ัดเจน
สัมพนั ธ์กับเนื้อเร่ือง มองเหน็ ภาพรวม

การสอนเรื่อง “การทักทาย” แก่ผู้เรียนชาวต่างชาติ ผู้สอนควรเขียนการวัดและ
ประเมนิ ผลดงั น้ี

248

วิธกี ารวดั และประเมินผล
1. ความถกู ต้องของการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ความถูกต้องของการทำแบบทดสอบหลังเรยี น
3. ความถูกต้องของการทำใบงานท่ี 1

เครื่องมอื วัดและประเมินผล
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. แบบทดสอบหลังเรยี น
3. ใบงานที่ 1

เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

เกณฑ์ 4 ระดบั คะแนน 1
32

ความถูกต้อง ล ง มื อ ท ำ ล ง มื อ ท ำ ล ง มื อ ท ำ ล ง มื อ ท ำ

ของการทำ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ

แบบทดสอบ ก่อนเรียนและ ก่อนเรียนและ ก่อนเรียนและ ก่อนเรียนและ

กอ่ นเรียนและ หลังเรียนได้ หลังเรียนได้ หลังเรียนได้ หลังเรียนได้

หลังเรยี น ถู ก ต้ อ ง ถู ก ต้ อ ง ถู ก ต้ อ ง ถูก ต้ อ งน้ อ ย

มากกวา่ 8 ข้อ ระห ว่าง 5-7 ระห ว่าง 2-3 กวา่ 2 ขอ้

ข้อ ข้อ

ความถกู ต้อง เติมคำท่ีขาด เติมคำท่ีขาด เติมคำที่ขาด เติมคำท่ีขาด

ของการทำใบ ห า ย ไ ป ไ ด้ ห า ย ไ ป ไ ด้ ห า ย ไ ป ไ ด้ ห า ย ไ ป ไ ด้

งานที่ 1 อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง

20-25 ข้อ 15-19 ขอ้ 10-14 ขอ้ 0-9 ข้อ

249

8. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็นสิ่งท่ีผู้สอนต้องทำทุกครั้งเมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน
ในแต่ละคาบ และตอ้ งทำทันทีเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีสมบรู ณ์มากทสี่ ดุ โดยเขยี นบันทึกผลการจดั การเรียนรู้
ท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน และแนวทางการแก้ไข
ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียน เพ่ือนำข้อมูลท่ีได้รับมาปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาการจัดการ
เรียนรใู้ นคร้งั ต่อไปใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ

1. ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................

2. ปญั หาและอปุ สรรค
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................

3. แนวทางการแกไ้ ข
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................

ลงชอื่ .................................................
(..........................................)
ผู้สอน

วนั ที.่ ............./................./...............

250

แบบฟอรม์ แผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วชิ า...............................ชอื่ รายวิชา ..............................................................................................
หนว่ ยการเรยี นรเู้ รือ่ ง..........................................................................จำนวน...................คาบ/สปั ดาห์
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี.........เร่อื ง.....................................................................เวลา....................นาที
ระดบั ช้นั .....................................ภาคการศึกษาที.่ .......................ปกี ารศกึ ษา.......................................
ผสู้ อน .................................................................วันท่.ี .............เดือน.............................พ.ศ................

สาระสำคัญ
..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
........................................ ................................. ....................................................... ...................

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง
..................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ดา้ นความรู้ (K) เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
1.1 ………………………………………………………………………………………….……………………
1.2 ………………………………………………………………………………………………………………
1.3 ………………………………………………………………………………………………………………
1.4 ………………………………………………………………………………………………………………
2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามรูค้ วามสามารถ
2.1 ………………………………………………………………………………………………………………
2.2 ………………………………………………………………………………………………………………
2.3 ……………………………………………………………………………………………………………….
3. ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมเี จตคติ
3.1 …………………………………………………………………………………………….…………………
3.2 …………………………………………………………………………….…………………………………
3.3 ……………………………………………………….………………………………………………………

251

สาระการเรียนรู้
..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นำ
1. ……………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………….......................................................................
2. ………………………………………………………………………………………………………….………………

…………………………………………………………………………………....................................................................

ขัน้ สอน
1. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขน้ั สรปุ
1. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….…………………………………………………..
2. ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….…………………………………………………..

252

สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
1. ……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….…………………………………………………………………..
3. ……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….…………………………………………………………………..

การวัดและประเมินผล
วธิ กี ารวัดและประเมินผล
1. ……………………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………….……………………………………….………………………………..

เคร่อื งมือการวดั และประเมินผล
1. ……………………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………….……………………………………….………………………………..

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล ระดับคะแนน 1
เกณฑ์ 4 32

253

บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
1. ผลการจัดการเรียนรู้

............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................................................................ ........................

2. ปัญหาและอุปสรรค
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................................................................ ........................

3. แนวทางการแก้ไข
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................

ลงช่ือ................................................

(..............................................)
ผู้สอน

วันที่............../................./...............

254

ขน้ั ตอนการเตรียมแผนการจดั การเรยี นรู้

ก่อนเร่ิมเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศควร
ดำเนินการตามคำถามแต่ละข้ันเพื่อช่วยออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุ
ตามวัตถปุ ระสงค์การเรียนร้ทู ก่ี ำหนดไว้

ขน้ั ที่ 1 ร่างกิจกรรมการเรียนรู้

ข้ันน้ีเป็นการกำหนดสิ่งท่ีผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้และสามารถปฏิบัติได้เมื่อส้ินสุดการ
เรียนการสอนเพ่ือช่วยให้ผู้สอนระบุวัตถุประสงค์การเรียนรู้สำหรับผู้เรียน ผู้สอนควรตอบคำถาม
ต่อไปน้ี

1.1 หวั ข้อของบทเรียนคืออะไร
1.2 ผู้เรยี นจะได้เรยี นร้อู ะไร
1.3 ผ้เู รียนเข้าใจและสามารถปฏิบตั ิเรือ่ งใดได้เม่ือส้นิ สุดการเรียนการสอน
เมื่อผู้สอนร่างวัตถุประสงค์การเรียนรู้แล้ว จัดอันดับตามความสำคัญ ข้ันนี้จะช่วยกำหนด
ระยะเวลาของการทำกิจกรรม และวิธีนำผู้เรียนไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีมีความสำคัญมากท่ีสุด
กอ่ น ในกรณที เ่ี วลาของการสอนไมเ่ พยี งพอ ผู้สอนจงึ ควรพจิ ารณาคำถามตอ่ ไปนี้
1.4 มโนทัศน์ แนวคิด หรือทักษะใดที่สำคัญมากที่สุดท่ีต้องการให้ผู้เรียนได้รับและ

นำไปใช้ได้
1.5 เหตุใดมโนทศั น์ แนวคดิ หรอื ทักษะนั้นจงึ มีความสำคญั
1.6 ถา้ มเี วลาสอนไมเ่ พยี งพอ มโนทัศน์ แนวคิด หรอื ทกั ษะใดที่ตดั ออกไม่ได้

ขัน้ ที่ 2 พฒั นาขน้ั นำ

เม่ือผู้สอนจัดลำดับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามความสำคัญแล้ว ออกแบบกิจกรรมเฉพาะที่
ตอ้ งการนำไปใช้เพ่ือชว่ ยใหผ้ ู้เรียนสรา้ งความเข้าใจและนำส่งิ ที่เรยี นรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ เน่ืองจากในช้ัน
เรียนหน่ึงประกอบด้วยผู้เรียนที่มีความรู้และประสบการณ์หลากหลาย ผู้เรียนบางคนอาจคุ้นเคยกับ
หวั ขอ้ ของบทเรียนมากอ่ นแลว้ ผ้สู อนควรเร่มิ ตน้ โดยถามคำถามนำหรือใช้กิจกรรมท่ีสามารถวัดความรู้
เดิมของผู้เรียนได้ เช่น อาจรวบรวมข้อมลู ภมู ิหลงั ของผเู้ รียนจากการส่งแบบสำรวจอเิ ล็กทรอนิกส์หรือ
ให้ผู้เรียนเขียนข้อมูลส่วนตัวลงบนกระดาษที่ได้รับแจก ข้อมูลท่ีได้สามารถนำมาเป็นส่วนช่วยในการ
เริ่มออกแบบขั้นนำ กิจกรรมการเรยี นรู้ และเม่ือผู้สอนทราบความรเู้ ดมิ ของผู้เรียน ก็จะทำให้ตดั สินใจ
ไดว้ ่าควรใหค้ วามสำคัญกับเรอ่ื งใดตอ่ ไป

255

การเริ่มขั้นนำให้เร้าความสนใจและกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิด ผู้สอนควรเลือกใช้แนวทางที่
หลากหลาย อาทิ การบอกเลา่ เร่ืองสว่ นตัว เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ การยว่ั ยุกระบวนการคิด การ
ยกตัวอย่างเหตุการณ์จริง การรับชมวิดีโอคลิป การให้คำถาม/ปัญหา และอ่ืน ๆ ผู้สอนควรพิจารณา
คำถามต่อไปนเี้ มอื่ พัฒนาข้ันนำ

2.1 ผ้เู รยี นจะเข้าใจเนื้อหาทส่ี อนได้อยา่ งไร
2.2 การนำเสนอเน้ือหาควรใช้วธิ ีการใด

ขั้นท่ี 3 พฒั นาขน้ั สอน (องคป์ ระกอบหลักของการเรยี นการสอน)

ผู้สอนควรจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย (ตัวอย่างของจริง ของเลียนแบบ
รูปภาพ) เพ่ือดึงความสนใจของผู้เรียนท่ีมีแบบการเรียนรู้ต่างกัน เม่ือผู้สอนวางแผนกิจกรรมและ
ตัวอย่าง ควรประมาณเวลาท่ีต้องใช้ในแต่ละกิจกรรมและในแต่ละส่ือ รวมถึงเวลาสำหรับการอธิบาย
เพ่ิมเติมของผู้สอนหรือการอภิปรายหลังการทำกจิ กรรมของผู้เรียนด้วย และกำหนดวิธีการตรวจสอบ
ความเขา้ ใจของผ้เู รยี น คำถามตอ่ ไปน้ีจะชว่ ยผู้สอนออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ได้

3.1 การอธิบายเนอื้ หาตามหัวข้อ/ประเดน็ ตา่ ง ๆ ควรใชว้ ธิ กี ารใด
3.2 ผเู้ รียนจะมีสว่ นรว่ มในเนือ้ หาตามหวั ขอ้ นน้ั ไดอ้ ย่างไร
3.3 การใช้ตัวอย่างของจริง ของเลียนแบบ หรือสถานการณ์ใดบ้างที่จะช่วยให้
ผู้เรียนเขา้ ใจเนื้อหาตามหวั ข้อนน้ั
3.4 ผู้เรียนจำเป็นต้องทำอะไรเพอ่ื ให้ตนเองเขา้ ใจเนื้อหาตามหัวขอ้ มากยง่ิ ข้นึ

ขัน้ ท่ี 4 ตรวจสอบความเขา้ ใจ

หลังจากอธิบายหัวข้อและยกตัวอย่างต่าง ๆ ประกอบแล้ว ผู้สอนจำเป็นต้องตรวจสอบความ
เข้าใจของผู้เรียน (ใช้คำถาม – ฉันจะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนกำลังเรียนรู้) ลองคิดคำถามเฉพาะที่
ผู้สอนสามารถถามผู้เรียนเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจได้ อาจเขียนลงบนกระดาษ แล้วถอดความสิ่งท่ี
เขียนเพื่อนำไปสร้างเป็นคำถามโดยใช้วิธีการต่าง ๆ พยายามคาดเดาคำตอบของผู้เรียนไว้ล่วงหน้า
และกำหนดให้ผู้เรียนตอบปากเปล่าหรอื เขียนตอบ และทส่ี ำคัญ ผู้สอนควรตงั้ คำถามถามตวั เองดงั นี้

4.1 คำถามใดทฉ่ี ันจะถามผ้เู รียนเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ
4.2 ฉันจะให้ผูเ้ รยี นทำอะไรเพอื่ แสดงให้เหน็ วา่ ผ้เู รียนกำลงั เรียนรู้เน้อื หา
4.3 เม่ือพิจารณาวัตถุประสงค์การเรียนรู้แต่ละข้อ กิจกรรมใดท่ีฉันจะให้ผู้เรียนทำ
เพอ่ื ตรวจสอบว่าผู้เรียนไดบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์แตล่ ะข้อแล้ว

256

เทคนิคสำคัญท่ีช่วยผู้สอนจัดการกับเวลาคือ คาดเดาคำถามของผู้เรยี นไว้ลว่ งหน้า เม่ือเตรียม
แผนการจัดการเรียนรู้ คิดแนวคำถามท่ีเอ้ือต่อการอภิปรายหรือถามคำถามท่ีนอกเหนือจากประเด็น
ในชัน้ เรียน

ขัน้ ที่ 5 พัฒนาขัน้ สรปุ

เม่ือสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนอาจเป็นผู้สรุปประเด็นสำคัญของบทเรียนด้วย
ตนเอง (อาจใช้ข้อความทว่ี ่า วนั น้ีเราพูดคุยเกี่ยวกับ....) หรือผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเป็นผูส้ รุปเอง หรือให้
ผู้เรียนเขียนสรุปลงบนกระดาษว่าประเด็นสำคัญของบทเรียนวันนี้มีอะไรบ้าง หรือผู้สอนอาจทบทวน
คำตอบของผู้เรียนเพ่ือเพิ่มความเข้าใจและอธิบายเพ่ิมเติมในหัวข้อที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจน การสรุป
บทเรียนไมใ่ ช่เพยี งแต่เป็นการสรปุ ประเด็นสำคัญ แต่ยงั เป็นการนำเสนอหวั ข้อบทเรียนครง้ั ต่อไปอยา่ ง
คร่าว ๆ ช่วยกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนสนใจและเช่ือมโยงแนวคดิ จากการเรยี นรู้เดิมไปสกู่ ารเรียนรใู้ หม่

ขนั้ ท่ี 6 กำหนดระยะเวลาตามความเป็นจรงิ

การจัดการเรียนการสอนท่ีไม่ทันต่อระยะเวลาท่ีกำหนดไว้และไม่ครอบคลุมประเด็นสำคัญที่
วางแผนไว้ บางคร้ังอาจมาจากการตั้งวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ทมี่ ากเกินไป ในการจดั การเรียนการสอน
แต่ละคร้ังควรมีมโนทัศน์ แนวคิด หรือทักษะหลัก ๆ เพียง 2-3 อย่าง และผู้สอนควรปรับแผนการ
จัดการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้เรียนขณะสอน จำนวนวัตถุประสงค์การเรียนรู้แต่ละข้อที่
กำหนดไว้ก่อนหน้าจะช่วยให้ผู้สอนสอนได้ตรงจุดและปรับแก้แผนการจัดการเรียนรู้ตามความ
เหมาะสมได้ การใช้ตัวอย่างเพ่ิมเติมอ่ืน ๆ หรือกิจกรรมเสริมจะทำให้การเรียนการสอนยืดหยุ่นข้ึน
ระยะเวลาตามความเป็นจริงสะท้อนให้เห็นถึงความยืดหยุ่นและความพร้อมในการปรับให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมในช้นั เรียน และผูส้ อนควรใช้เทคนิคตอ่ ไปนี้เพือ่ กำหนดระยะเวลาตามความเป็นจริง

6.1 กำหนดระยะเวลาท่ีจะใช้ในแต่ละกิจกรรมโดยประมาณ และวางแผนสำรอง
เวลาเพ่มิ เติมในแต่ละกิจกรรมดว้ ย

6.2 เมื่อเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ต่อมาเป็นการระบุเวลาที่คาดว่าจะใช้ใน
แตล่ ะกจิ กรรม

6.3 ควรใช้เวลา 4-5 นาทีในตอนท้ายการเรียนการสอน เพ่ือตอบคำถามของผู้เรียน
และเพอ่ื สรุปประเดน็ หลักใหช้ ัดเจน

6.4 เตรียมกิจกรรมเสรมิ หรือคำถามสำหรบั การอภิปรายในกรณีทีม่ เี วลาเหลือ
6.5 ในกรณีท่ีไม่ทันอาจยืดหยุ่นและพร้อมปรับแผนการจัดการเรียนรู้ให้ตรงตาม
ความต้องการของผู้เรียนและมุ่งเน้นประโยชน์ท่จี ะเกิดขึน้ มากกว่ายึดติดกบั แผนการจดั การเรยี นรูเ้ ดิม

257

ขั้นท่ี 7 นำเสนอแผนการจดั การเรยี นรู้

เมอื่ ผู้เรยี นทราบถงึ ส่ิงที่จะไดเ้ รียนรู้และได้ปฏิบัติในชนั้ เรียนจะช่วยสร้างความสนใจแก่ผู้เรยี น
มากย่ิงข้ึน ดังนั้น ผู้สอนจึงควรเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้และหัวข้อสั้น ๆ ตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ลงบนกระดานหรือบอกผู้เรียนว่าวันน้ีจะได้เรียนรู้และปฏิบัติสิ่งใดบ้าง การจัดลำดับเนื้อหา
อย่างมีความหมายช่วยให้ผูเ้ รยี นไม่เพียงแต่จดจำได้ดีขึน้ แตย่ ังเข้าใจเนื้อหาท่ีผู้สอนนำเสนอไดม้ ากข้ึน
ด้วย

ข้ันท่ี 8 สะท้อนคดิ แผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการจัดการเรียนรู้อาจไม่ประสบความสำเร็จและผลการจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตามท่ี
คาดหวังอาจเป็นส่งิ ท่ีเกิดข้ึนกับผู้สอน ผู้สอนจึงควรใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 นาทีหลังการเรียนการสอน
เพื่อสะท้อนคิดถึงส่ิงที่ทำแล้วได้ผลดีและสาเหตุท่ีสนับสนุนให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี และส่ิงที่ทำไม่ตรงกับ
แผนการจัดการเรียนรู้ การระบุความสำเร็จและความล้มเหลวของการจัดเวลาและกิจกรรมช่วยให้
ผู้สอนปรับแผนการจัดการเรียนรู้ได้ง่ายข้ึน ผู้สอนสามารถใช้ข้อมูลเหล่าน้ี อาทิ ผลป้อนกลับจาก
ผู้เรียน การสังเกต การดูวิดีโอเทปการสอนของตน และการปรึกษากับเพื่อนร่วมกัน เพื่อรับทราบผล
การวางแผนและการจัดการเวลาในชนั้ เรียนของตนได้

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพไมจ่ ำเป็นต้องมีเอกสารประกอบหรือคำอธิบายจำนวน
มาก แต่ควรมีโครงร่างที่ระบุเป้าหมายของการสอน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ และวิธีการบรรลุ
วัตถุประสงค์ เป็นเพียงเคร่ืองมือท่ีเตือนให้ผู้สอนทราบถึงส่ิงที่ทำและวิธีการทำ ที่สำคัญ ผู้สอนควร
ปรับมโนทัศน์ของตนว่า ในการจัดการเรียนรู้อาจมีบางอย่างไม่เป็นไปตามแผนการที่วางไว้ ผู้สอนจึง
ควรเรียนรู้และปรับแก้ตามสถานการณ์ท่เี กดิ ข้ึนอย่างเหมาะสม

258

ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ (1)

รหสั วชิ า 1543603 ชอ่ื รายวิชา ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

หน่วยการเรยี นรู้เร่ือง การพฒั นาทกั ษะการฟงั และการพูด จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การขอร้อง เวลา 50 นาที

ระดับชน้ั ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561

ผู้สอน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัชรพล วิบลู ยศริน วนั ที่ 17 เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2561

สาระสำคัญ
การขอร้องเป็นการแสดงความต้องการให้บุคคลใดบุคคลหนงึ่ กระทำตามที่ผู้ขอต้องการ หรือ

แสดงความต้องการของตนในการทำสิ่งใดส่ิงหนึ่ง การขอร้องอย่างสุภาพเป็นส่ิงจำเป็นในสังคมไทย
เพราะเป็นการแสดงออกถึงมารยาทอันงดงาม และการขอร้องอยา่ งสุภาพจะชว่ ยให้ผู้ขอได้รับส่ิงท่ีขอ
ตามตอ้ งการ

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง
เพือ่ ให้ผ้เู รียนสามารถสนทนาขอบคุ คลอ่ืนได้อย่างสุภาพเหมาะสมกบั กาลเทศะ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K) เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจ
1.1 อ่านและบอกคำทใี่ ช้ในการขอร้องได้
1.2 เลือกใชค้ ำหรือวลีทเี่ หมาะสมกบั ตนในการขอร้องได้
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนมคี วามรคู้ วามสามารถ
- ใชภ้ าษาสภุ าพในการขอร้องไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เพื่อให้ผู้เรียน
3.1 มเี จตคตทิ ่ดี ีต่อการใช้ภาษาไทยอยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
3.2 แสดงออกและปฏบิ ตั ติ นตามขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรมไทย

สาระการเรียนรู้
1. คำศัพทท์ ่เี ก่ยี วขอ้ งกับการขอรอ้ ง
2. บทสนทนาเรือ่ ง ไปตลาดกับเรา

259

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (การใช้แบบเรียน)
ขั้นนำ
ให้ผู้เรียนดูรูปภาพแสดงการขอร้อง และนำสนทนาเกี่ยวกับภาพดังกล่าว โดยให้ผู้เรียน

รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นแล้วเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรยี นเร่ือง การขอรอ้ ง

ขัน้ สอน
1. ให้ผูเ้ รียนฝกึ อ่านออกเสียงคำศัพท์
2. อา่ นบทสนทนาเรือ่ ง ไปตลาดกับเรา ในแบบเรียนสนทนาภาษาไทย ใหผ้ ู้เรียนฟัง 1 รอบ
และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั โครงสร้างประโยค
3. แบ่งผู้เรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ กลุม่ ที่ 1 เป็นตัวละครช่ือ นาตาลี และกลมุ่ ที่ 2 เป็นตวั ละคร
ช่ือ ปลา อ่านบทสนทนาโต้ตอบกัน 1 รอบ แล้วให้แต่ละกลุ่มสลับตัวละครกัน แล้วอ่านอีก 1 รอบ
โดยผสู้ อนเป็นตัวละครชื่อ ภูผา
4. ให้ผู้เรียนจับกลุ่มกับเพ่ือน (3 คน ต่อ 1 กลุ่ม) กำหนดเวลาให้ผู้เรียน 15 นาที เพ่ือ
ฝกึ ซ้อมการขอรอ้ ง โดยใชแ้ บบทดสอบการสนทนาแล้วออกมาสนทนาหน้าชั้นเรียนจนครบทุกกลุ่ม
5. ขออาสาสมัครผู้เรียนออกมาสนทนากับผู้สอนทีละคนจบครบ (หากไม่มีผู้เรียน
อาสาสมัคร ให้ผู้สอนใช้ดุลยพินิจเลือกผู้เรียนที่มีความพร้อมมากท่ีสุดออกมาก่อน) พร้อมบันทึก
คะแนนทไ่ี ดร้ บั

ขั้นสรุป
1. รว่ มกนั อา่ นทบทวนคำศพั ท์และบทสนทนาเร่ือง ไปตลาดกับเรา
2. สรปุ คะแนนและให้ผลป้อนกลับแกผ่ เู้ รยี นรายบคุ คล

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1. รปู ภาพบุคคลที่แสดงอาการขอรอ้ ง

260

2. แบบเรยี นสนทนาภาษาไทย
3. แบบทดสอบการสนทนา
4. แบบบันทกึ คะแนน

การวดั และประเมินผล
วธิ ีการวดั และประเมินผล
1. พิจารณาการออกเสียงคำศัพทใ์ นชนั้ เรยี น
2. พิจารณาการสนทนาในช้ันเรยี น
3. ประเมินการใชภ้ าษาในสถานการณ์จรงิ

เครอื่ งมอื การวดั และประเมินผล
- แบบวัดทักษะการฟงั และการพดู ภาษาไทยสำหรับผู้เรยี นชาวต่างชาติ

เกณฑ์การวัดและประเมินผล1

เกณฑ์ ระดับคะแนน

1. ความเข้าใจความหมาย 4 32 1

เข้าใจความหมาย เขา้ ใจประโยค เขา้ ใจบางคำหรือ เข้าใจส่ิงท่ีผูเ้ รียน
ทกุ ประโยคทพี่ ดู พดู เพียงเลก็ นอ้ ย
เป็นสว่ นมาก รอ้ ย บางวลพี อสมควร หรอื ไมเ่ ข้าใจเลย
คำศัพทแ์ ละ
ละ 61-80 รอ้ ยละ 41-60 โครงสรา้ งของ
ประโยคถูกต้อง
2. ความถูกต้องของการใช้ คำศัพท์ และ คำศพั ทถ์ กู ต้อง คำศัพท์ถูกตอ้ ง น้อยมากหรอื ไม่
ถกู ต้องเลย
คำและประโยค โครงสรา้ งของ เป็นสว่ นใหญร่ อ้ ย พอสมควร รอ้ ยละ
ออกเสียงผดิ จน
ประโยคถูกตอ้ ง ละ 80 ขึ้นไปและ 60 ขน้ึ ไปและมี ผ้ฟู งั ไมเ่ ขา้ ใจ
บอ่ ยคร้งั
ทัง้ หมด มปี ญั หาทาง ปัญหาทาง

โครงสรา้ งของ โครงสร้างของ

ประโยคน้อยมาก ประโยคพอสมควร

ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 20 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 40

3. ความชัดเจนในการออก ออกเสยี งเหมอื น ออกเสียงไมผ่ ิด ออกเสียงผิดบ่อย
เสยี ง เจา้ ของภาษา ไมม่ ี
มากนัก แต่ยังไม่ ทำใหเ้ ขา้ ใจยาก
สำเนยี งภาษาแม่
ของตน เหมือนเจ้าของ ต้องพดู ซำ้ จงึ เขา้ ใจ

ภาษา

1 อ้างอิงจากงานวจิ ัยเรื่อง รูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตามแนวคิดการ
สอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารบนส่อื สังคมของวชั รพล วบิ ูลยศรนิ กนกพรรณ วิบลู ยศรนิ และฤดี กมลสวสั ดิ์ (2561)

261

เกณฑ์ 4 ระดับคะแนน 1

4. ความคลอ่ งแคล่วในการ พูดไดท้ ุกหัวขอ้ 32 พูดตดิ ขัด ไม่
สื่อสาร หรอื ประเด็นได้ สามารถ
พดู ได้อยา่ งราบรนื่ พูดช้ามากและไม่ ปะตดิ ปะต่อ
อยา่ งราบรื่น แตย่ ังทราบว่า สมำ่ เสมอ มีความ เรื่องราวจนไม่
เหมอื นเจา้ ของ ไม่ใช่เจ้าของภาษา ลงั เลในการพดู อยู่ สามารถสนทนา
ภาษา เมือ่ พิจารณา บา้ ง บางประโยค กนั ได้
ความเรว็ และ ไมส่ มบรู ณ์
ความสมำ่ เสมอ
ของการพูด

5. ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง นำขอ้ ความที่ นำขอ้ ความที่ นำข้อความที่ นำขอ้ ความท่ี
คำตอบ เกย่ี วข้องมาพดู เกีย่ วขอ้ งมาพูด เกย่ี วขอ้ งมาพูด เก่ยี วขอ้ งมาพูด
เป็นสว่ นมากรอ้ ย สมควร ร้อยละ น้อยมากหรือไมม่ ี
อย่างครบถ้วน ละ 61-80 41-60 เลย

262

บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
1. ผลการจดั การเรียนรู้
1.1 ผู้เรียนชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (จำนวน 17 คน จากจำนวนท้ังหมด 25 คน) อ่านออก

เสียงและบอกคำทใ่ี ชใ้ นการขอร้องไดม้ ากกว่าร้อยละ 80
1.2 ผู้เรียนชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (จำนวน 22 คน จากจำนวนท้ังหมด 25 คน) เลือกใช้

คำและวลไี ด้อยา่ งเหมาะสมในการขอร้องได้มากกว่ารอ้ ยละ 80
1.3 จากการสังเกตพบว่าผู้เรียนชาวต่างชาติส่วนใหญ่ให้ทำความร่วมมือในการทำ

กิจกรรมเป็นอย่างดี มีความต้ังใจในการฝึกฝนและพัฒนาทักษะการพูดของตน เม่ือขออาสาสมัคร
ผเู้ รียนออกมาก็พรอ้ มใหค้ วามร่วมมืออยา่ งเต็มที่และเต็มใจ

2. ปญั หาและอุปสรรค
ผู้เรียนสับสนในการออกเสียงคำว่า ฉัน ระหว่างการออกเสียงว่า /ฉัน/ กับ /ช้ัน/ เพราะ

เคยได้ยนิ เพอ่ื นชาวไทยออกเสียงวา่ /ชน้ั / แทนทจี่ ะออกเสียงตรงตามรปู ว่า ฉนั

3. แนวทางการแกไ้ ข
ผสู้ อนแก้ไขความเข้าใจให้ผู้เรียนทราบว่าในการออกเสียงคำบางคำของคนไทยมักไม่ตรง

ตามรูปอย่างคำว่า ฉัน คนไทยจะพูดว่า /ชั้น/ ซึ่งถือว่าไม่ผิดแต่ไม่สามารถเขียนให้ตรงกับการออก
เสยี งได้ คล้ายคลงึ กบั คำวา่ เป็นอยา่ งไร คนไทยก็มกั พูดวา่ /เปน็ ยงั ไง/

ลงช่ือ วชั รพล วิบูลยศรนิ
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วบิ ลู ยศริน)
ผู้สอน
วันท่ี 17 / ส.ค. / 2561

263

ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ (2)

รหัสวิชา 1543603 ชอื่ รายวชิ า ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ

หน่วยการเรยี นรเู้ รือ่ ง การพฒั นาทกั ษะการฟังและการพูด จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 เรอื่ ง การส่ังอาหารและรสชาติ เวลา 50 นาที

ระดบั ชัน้ ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561

ผสู้ อน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วิบลู ยศรนิ วนั ที่ 20 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561

สาระสำคัญ
อาหารนับเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต การสั่งอาหารสำหรับผู้เรียนชาวต่างชาติจึงถือ

เป็นส่ิงจำเป็นอย่างหนึ่ง เพ่ือสั่งอาหารได้ตรงความต้องการและความชอบให้มากที่สุด โดยเฉพาะ
อาหารไทยส่วนมากมรี สชาตหิ ลากหลาย จงึ ควรทราบคำศพั ทแ์ ละสว่ นประกอบสำคัญต่าง ๆ ด้วย

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั
เพื่อให้ผู้เรยี นสนทนาเก่ียวกับการสั่งอาหารและรสชาติกบั บุคคลอ่นื ไดอ้ ย่างเหมาะสม

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K) เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
1.1 เลอื กใช้คำศพั ทไ์ ด้ถูกต้องตรงตามความหมายและบรบิ ทของการใช้
1.2 ใชป้ ระโยคได้ถูกต้องตรงตามโครงสร้างทางไวยากรณ์
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นมีความรู้ความสามารถ
2.1 ฟังเสียงคำศัพท์ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการส่ังอาหาร และรสชาติได้ถูกต้อง
2.2 ฟงั สถานการณ์การสนทนาทเ่ี กยี่ วข้องกบั การสง่ั อาหาร และรสชาติไดถ้ ูกต้อง
2.3 พดู สง่ั อาหารและบอกรสชาติตามสถานการณ์ที่กำหนดได้ถูกต้อง
3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นมีเจตคติ
3.1 มีเจตคติท่ีดีตอ่ การใชภ้ าษาไทยอยา่ งเหมาะสมกับบรบิ ททางสงั คม
3.2 แสดงออกและปฏบิ ัตติ นตามขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรมไทย

สาระการเรยี นรู้
1. คำศพั ท์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการสัง่ อาหารและรสชาติ
2. บทสนทนาเรื่อง อยากกินก๋วยเต๋ยี วเนือ้ น้ำตกครับ

264

3. โครงสรา้ งทางไวยากรณ์
4. คำศัพทเ์ สริม
5. ขอ้ สังเกตทางภาษา
6. ขอ้ สงั เกตทางวฒั นธรรม
7. แบบฝึกหัดบทที่ 6

กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแนวคิดของการสอนภาษาเพื่อการสือ่ สาร (การใช้เวบ็ ไซต์)
ข้นั นำเสนอ
1. (ออนไลน์) ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาการออกเสียงคำศพั ทบ์ ทที่ 6 ในเว็บไซต์ https://learnthai4u.

wordpress.com/2016/11/18/chapter6 โดยเปิดคลิปวิดีโอคำศัพท์ประจำบทแล้วให้ฟังและฝึก
ออกเสียงตาม

2. (ออนไลน์) ให้ผู้เรียนศึกษาสถานการณ์การสนทนาบทที่ 6 จากคลิปวิดีโอในเว็บไซต์ด้วย
ตนเอง

3. (ในช้ันเรียน) แจกเอกสารหน้าเว็บของบทที่ 6 พร้อมอธิบายโครงสร้างทางไวยากรณ์
คำศพั ท์เสริม ขอ้ สังเกตทางภาษาและทางวัฒนธรรมทเ่ี กีย่ วข้องกับการสัง่ อาหารและรสชาติ

ขนั้ ฝึกฝน
1. (ในชั้นเรียน) กำหนดเวลา 10-15 นาที ให้ผู้เรียนกับคู่ร่วมกันศึกษาบทสนทนาบทที่ 6
และฝึกฝนการสนทนาตามเอกสารหน้าเว็บขา้ งต้น แต่เปลย่ี นเป็นข้อมูลของตนเอง
2. (ในช้นั เรียน) สุ่มเรียกผู้เรียนทีละ 1 คู่ ออกมาพูดตามหัวข้อการส่ังอาหารและรสชาติ เมื่อ
พูดจบสุ่มเลือกผู้เรียนอีก 1 คู่ กล่าวสรุปการพูดของเพ่ือน แล้วจึงพูดส่ังอาหารและบอกรสชาติกับคู่
ตนเอง และสุม่ เลือกผู้เรียนต่อไป ทำเชน่ นีจ้ บครบทุกคู่
3. (ในช้ันเรียน) สรุปผลและให้คำแนะนำเพื่อการพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของผู้เรียน
ในภาพรวม

ข้นั นำผลงานไปใช้
1. (ในชั้นเรียน) ให้ผู้เรียนแต่ละคู่นำภาษาไปใช้สถานการณ์จริง โดยให้เลือกเพียง 1
สถานการณ์ที่ปรากฏอยู่ในแบบฝกึ หัดของเอกสารหนา้ เว็บ แล้วสร้างบทสนทนาเกี่ยวกับการส่ังอาหาร
และรสชาติ โดยอาศัยโครงสร้างทางไวยากรณ์และคำศัพท์เสริมเป็นแนวทางสำคัญ พร้อมฝึกฝนด้วย
ตนเอง

265

2. (ในช้ันเรยี น) แจง้ ใหผ้ ู้เรียนทราบว่ากอ่ นเร่ิมการเรยี นการสอนในสัปดาหห์ นา้ ผู้เรยี นแต่ละ
คจู่ ะต้องออกมาสนทนาตามสถานการณ์ในคาบเรียนวนั น้ีเพ่ือเป็นการเก็บคะแนน

3. (ในช้ันเรยี น) ประเมินผลและใหค้ ะแนนสถานการณ์การสนทนา พรอ้ มใหข้ ้อเสนอแนะเพ่ือ
การพฒั นาตนเองให้ผู้เรียนแต่ละคู่ไดร้ บั ทราบ

สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
1. เวบ็ ไซต์ https://learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter6
2. แทบ็ เลต็ หรือคอมพิวเตอร์แบบวางตกั
3. เอกสารหนา้ เว็บของบทที่ 6

การวดั และประเมินผล
วิธีการวัดและประเมนิ ผล
1. พิจารณาการออกเสยี งคำศัพทใ์ นชนั้ เรียน

2. พิจารณาการสนทนาในชนั้ เรียน

3. ประเมนิ การใช้ภาษาในสถานการณจ์ รงิ

เครื่องมือการวดั และประเมินผล
- แบบวดั ทกั ษะการฟงั และการพดู ภาษาไทยสำหรับผ้เู รียนชาวตา่ งชาติ

เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

1. ความเข้าใจความหมาย 4 321

เข้าใจความหมาย เขา้ ใจประโยค เขา้ ใจบางคำหรอื เขา้ ใจสงิ่ ท่ีผเู้ รียน
ทุกประโยคท่ีพดู
เป็นสว่ นมาก รอ้ ย บางวลพี อสมควร พดู เพียงเลก็ นอ้ ย

ละ 61-80 ร้อยละ 41-60 หรอื ไมเ่ ข้าใจเลย

2. ความถูกต้องของการใช้ คำศพั ท์ และ คำศัพท์ถูกต้อง คำศพั ทถ์ ูกตอ้ ง คำศพั ท์และ

คำและประโยค โครงสรา้ งของ เป็นสว่ นใหญร่ ้อย พอสมควร รอ้ ยละ โครงสรา้ งของ

ประโยคถูกตอ้ ง ละ 80 ข้นึ ไปและ 60 ขนึ้ ไปและมี ประโยคถกู ตอ้ ง

ท้ังหมด มีปัญหาทาง ปญั หาทาง นอ้ ยมากหรอื ไม่

โครงสร้างของ โครงสร้างของ ถกู ตอ้ งเลย

ประโยคนอ้ ยมาก ประโยคพอสมควร

ไม่เกนิ รอ้ ยละ 20 ไมเ่ กินรอ้ ยละ 40

266

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

3. ความชัดเจนในการออก 4 32 1
เสียง
ออกเสียงเหมือน ออกเสยี งไมผ่ ดิ ออกเสยี งผิดบ่อย ออกเสียงผดิ จน
4. ความคล่องแคล่วในการ เจ้าของภาษา ไมม่ ี ผู้ฟังไม่เขา้ ใจ
สื่อสาร สำเนยี งภาษาแม่ มากนัก แต่ยังไม่ ทำใหเ้ ข้าใจยาก บอ่ ยครง้ั
ของตน
5. ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง พูดไดท้ กุ หวั ขอ้ เหมอื นเจา้ ของ ตอ้ งพดู ซ้ำจงึ เขา้ ใจ พูดตดิ ขดั ไม่
คำตอบ หรือประเดน็ ได้ สามารถ
อยา่ งราบร่นื ภาษา ปะตดิ ปะตอ่
เหมอื นเจา้ ของ เรื่องราวจนไม่
ภาษา พดู ไดอ้ ย่างราบรนื่ พูดช้ามากและไม่ สามารถสนทนา
กันได้
นำข้อความที่ แต่ยงั ทราบว่า สมำ่ เสมอ มีความ
เกย่ี วข้องมาพูด นำข้อความท่ี
อยา่ งครบถ้วน ไม่ใช่เจา้ ของภาษา ลงั เลในการพดู อยู่ เกีย่ วขอ้ งมาพูด
นอ้ ยมากหรอื ไมม่ ี
เม่อื พจิ ารณา บา้ ง บางประโยค เลย

ความเร็วและ ไม่สมบรู ณ์

ความสมำ่ เสมอ

ของการพดู

นำขอ้ ความที่ นำขอ้ ความท่ี

เกย่ี วข้องมาพดู เกย่ี วข้องมาพูด

เปน็ ส่วนมากรอ้ ย สมควร ร้อยละ

ละ 61-80 41-60

267

บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
1. ผลการจัดการเรียนรู้
1.1 ผูเ้ รยี นชาวต่างชาติออกเสียงคำศพั ทต์ ามคลิปวิดีโอไดช้ ัดเจนมากกวา่ ร้อยละ 80
1.2 ผู้เรียนชาวต่างชาติเลือกใช้คำจากคำศัพท์เสริมแทนที่ในบทสนทนาของตนเองได้

อย่างเหมาะสมในการส่ังอาหารและรสชาติได้มากถึง 11 คู่ (มีเพยี ง 1 คน ยังใช้คำไม่เหมาะสม โดยใช้
วา่ “อยากกินกว๋ ยเตี๋ยวเปร้ยี ว”)

2. ปญั หาและอุปสรรค
สถานการณ์ในคลิปวิดีโอดำเนินไปอย่างรวดเร็ว ตัวละครพูดเป็นธรรมชาติแบบคนไทย

ท่ัวไป ซึ่งค่อนข้างไว ผู้เรียนบางคนฟังไม่ทันและต้องเปิดให้ฟังร่วมกันซ้ำหลายรอบ และต้องให้เวลา
ผู้เรียนบางคนเปิดฟังซ้ำจากแท็บเล็ตของตนเองจนกว่าจะเข้าใจ ซ่ึงใช้เวลานานพอสมควรกว่าจะ
ดำเนินกจิ กรรมฝึกฝน

3. แนวทางการแกไ้ ข
ผ้สู อนขออาสาสมัครผู้เรยี นที่มีทกั ษะทางภาษาสูงออกมาจำลองสถานการณใ์ นคลปิ วิดีโอ

โดยพูดให้ช้าลง แต่ยังคงเป็นธรรมชาติ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนบางคนเข้าใจการนำคำศัพท์หรือวลีไปใช้ใน
การสนทนาได้อยา่ งเหมาะสม

ลงชือ่ วชั รพล วบิ ลู ยศริน
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วบิ ลู ยศริน)
ผสู้ อน
วันที่ 20 / ส.ค. / 2561

268

ตวั อย่างแผนการจัดการเรยี นรภู้ าษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ (3)

รหสั วิชา 1543603 ชื่อรายวชิ า ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ

หน่วยการเรยี นรูเ้ รอื่ ง การพฒั นาทกั ษะการพดู จำนวน 3 คาบ/สปั ดาห์

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง ตัวเลข และวัน เดอื น ปี เวลา 50 นาที

ระดบั ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561

ผูส้ อน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วบิ ลู ยศริน วันท่ี 24 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2561

สาระสำคญั
ตัวเลขมีความสำคัญกับการบ่งบอกปริมาณหรือจำนวนนับของส่ิงต่าง ๆ ในการสนทนาเป็น

อย่างมาก อีกทั้งการทราบและเรียกวัน เดือน ปีอย่างถูกต้อง ก็เป็นพื้นฐานประการหนึ่งของการบอก
เวลา ทำให้การสื่อสารระหวา่ งคู่สนทนาเกดิ ความเขา้ ใจได้ตรงกัน โดยเฉพาะการนัดหมายจะเกิดความ
แม่นยำ ไมม่ ีผดิ พลาด

ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวัง
เพ่ือให้ผู้เรียนนำตัวเลข และวัน เดือน ปีไปใช้ในการพูดกับบุคคลอื่นได้อย่างเหมาะสมตรง

ตามวัตถปุ ระสงค์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K) เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ
1.1 เลอื กใช้คำศพั ทไ์ ด้ถกู ต้องตรงตามความหมายและบรบิ ทของการใช้
1.2 ใชป้ ระโยคได้ถูกต้องตรงตามโครงสรา้ งทางไวยากรณ์

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ความสามารถ
2.1 ออกเสยี งคำศัพทท์ ี่เกี่ยวข้องกับตัวเลข และวนั เดือน ปีไดถ้ ูกตอ้ ง
2.2 ใช้ตัวเลข และวัน เดอื น ปี ตามสถานการณ์ท่ีกำหนดได้ถกู ต้อง

3. ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) เพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นมีเจตคติ
3.1 มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการใช้ภาษาไทยอยา่ งเหมาะสมกับบรบิ ททางสงั คม
3.2 แสดงออกและปฏิบตั ิตนตามขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรมไทย

269

สาระการเรยี นรู้
1. การใช้แอปพลิเคชันไลน์
2. คำศัพทเ์ กีย่ วข้องกับตัวเลข และวัน เดอื นปี
3. การสัมภาษณ์

กิจกรรมการเรยี นรู้ (การใช้การสนทนาออนไลน)์
1. ขออาสาสมัครผู้เรยี นชาวไทยตามจำนวนผู้เรยี นชาวต่างชาติเข้ามาในช้ันเรยี น เพ่ือร่วมกับ

จับคบู่ ัดด้ี (Buddy) โดยถอื หมายเลขประจำตัวไว้
2. ให้ผู้เรียนดาวน์โหลดแอปพลิเคชันไลน์ลงในโทรศัพท์เคล่ือนที่แบบสมาร์ตโฟนของตน

สาธิตการลงทะเบียนและอธิบายวิธีการใช้งานตามลำดับ
ข้นั นำ
1. ให้ผู้เรียนจับสลากเลือกบัดด้ีของตน (สลากเป็นตัวอักษรบอกหมายเลข เช่น หนึ่ง สอง

สาม) เม่ือจับสลากได้หมายเลขใดก็ตามแล้ว ให้เดินตามหาเพื่อนชาวไทยที่ถือหมายเลข 1 2 3 ฯลฯ
โดยต้องเลือกให้ตรงกัน เมื่อเลือกได้ถูกต้องแล้ว ให้นั่งลงข้างกัน แนะนำตนเอง สร้างความรู้จักกัน
ระหวา่ งรอการจับสลากแลว้ เสร็จ

2. ใหผ้ ู้เรยี นแลกเปลย่ี นไลนก์ ับเพอ่ื นชาวไทย แล้วผสู้ อนนำรายช่ือผู้เรียนชาวต่างชาติเข้าไลน์
กลุม่ ของชั้นเรียน ซ่ึงจะใช้ในการส่งใบงานสำหรับการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ และส่งงาน

3. ให้ผู้เรียนศึกษาการออกเสียงคำศัพท์บทที่ 3 ในเว็บไซต์ https://learnthai4u.
wordpress.com/2016/11/18/chapter3 โดยเปิดคลิปวิดีโอคำศัพท์ประจำบทแล้วให้ฟังและฝึก
ออกเสยี งตาม

ขน้ั สอน
1. มอบหมายกิจกรรมสัมภาษณ์เพ่ือนชาวไทย โดยส่งไฟล์ใบงานเรื่อง วันน้ีเธอทำอะไร ผ่าน
ไลน์กลมุ่
2. ให้ผู้เรียนดาวนโ์ หลดใบงาน แลว้ สมั ภาษณ์เพ่ือนชาวไทยตามข้อคำถามที่กำหนดในใบงาน
โดยต้องบันทกึ เสียงการสัมภาษณไ์ ว้ด้วย
3. เม่ือสมั ภาษณเ์ สรจ็ แล้ว ให้แต่ละคนสง่ ไฟล์เสยี งมายังไลนก์ ล่มุ

ขั้นสรุป
1. เปิดไฟล์เสียงของแต่ละคนให้ฟังพร้อมกัน (ผู้สอนบันทึกข้อผิดพลาดหรือประเด็นที่
น่าสนใจเกบ็ ไว้) และให้ผเู้ รยี นคนอืน่ (รวมถงึ เพอื่ นชาวไทย) รว่ มกันแสดงความคิดเห็น

270

2. อธิบายแก้ไขข้อผิดพลาดในภาพรวมและชี้ประเด็นที่น่าสนใจ (ถ้ามี) แล้วสรุปเนื้อหา
ตัวเลข วนั เดอื น ปี

หมายเหตุ : ผู้สอนมอบหมายกิจกรรมนอกชั้นเรียนที่ต้องทำงานร่วมกันกับผู้เรียนชาวไทยต่อเนื่องไป
เร่ือย ๆ โดยมอบหมายเป็นข้อความตัวอักษรผ่านแอปพลิเคชันไลน์ แล้วส่งเป็นข้อความเสียงกลับมา
(หากผู้เรียนยังไม่คุ้นชินกบั การพมิ พ์ภาษาไทย) โดยมุ่งเน้นการฝึกการใช้ภาษาให้เกิดความคล่องแคล่ว
มากกวา่ ความถกู ตอ้ ง

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1. เวบ็ ไซต์ https://learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter3
2. แอปพลเิ คชันไลน์
3. ใบงานเร่อื ง วนั น้ีเธอทำอะไร

การวดั และประเมินผล
วธิ กี ารวัดและประเมินผล
1. พิจารณาการออกเสียงจากข้อความเสียง

2. ประเมินการใชภ้ าษาจากการสัมภาษณ์

เครื่องมือการวัดและประเมินผล
- แบบวัดทักษะการฟังและการพดู ภาษาไทยสำหรับผเู้ รยี นชาวต่างชาติ

เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

1. ความเข้าใจความหมาย 4 32 1

เขา้ ใจความหมาย เขา้ ใจประโยค เข้าใจบางคำหรอื เข้าใจสง่ิ ท่ีผู้เรยี น
ทกุ ประโยคทพ่ี ูด พดู เพยี งเล็กนอ้ ย
เป็นสว่ นมาก ร้อย บางวลีพอสมควร หรือไมเ่ ขา้ ใจเลย
คำศพั ท์และ
ละ 61-80 ร้อยละ 41-60 โครงสร้างของ
ประโยคถกู ต้อง
2. ความถูกต้องของการใช้ คำศัพท์ และ คำศัพทถ์ ูกตอ้ ง คำศัพทถ์ ูกตอ้ ง นอ้ ยมากหรอื ไม่

คำและประโยค โครงสรา้ งของ เปน็ ส่วนใหญร่ อ้ ย พอสมควร ร้อยละ

ประโยคถูกตอ้ ง ละ 80 ขนึ้ ไปและ 60 ขึ้นไปและมี

ทั้งหมด มีปญั หาทาง ปัญหาทาง

271

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

3. ความชัดเจนในการออก 4 32 1
เสียง
4. ความคลอ่ งแคล่วในการ ออกเสียงเหมือน โครงสรา้ งของ โครงสรา้ งของ ถูกตอ้ งเลย
สื่อสาร เจ้าของภาษา ไมม่ ี
สำเนยี งภาษาแม่ ประโยคน้อยมาก ประโยคพอสมควร ออกเสยี งผิดจน
5. ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง ของตน ผฟู้ ังไม่เขา้ ใจ
คำตอบ พดู ได้ทุกหวั ขอ้ ไมเ่ กินร้อยละ 20 ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 40 บ่อยครงั้
หรอื ประเดน็ ได้
อย่างราบรนื่ ออกเสียงไมผ่ ิด ออกเสยี งผิดบ่อย พดู ตดิ ขดั ไม่
เหมือนเจ้าของ สามารถ
ภาษา มากนกั แต่ยังไม่ ทำให้เขา้ ใจยาก ปะตดิ ปะตอ่
เรอ่ื งราวจนไม่
นำขอ้ ความที่ เหมอื นเจา้ ของ ต้องพูดซำ้ จงึ เขา้ ใจ สามารถสนทนา
เกย่ี วขอ้ งมาพดู ได้ กนั ได้
อย่างครบถว้ น ภาษา
นำขอ้ ความท่ี
พดู ได้อย่างราบรน่ื พูดชา้ มากและไม่ เกย่ี วข้องมาพูดได้
นอ้ ยมากหรือไมม่ ี
แตย่ ังทราบวา่ สมำ่ เสมอ มีความ เลย

ไมใ่ ชเ่ จา้ ของภาษา ลังเลในการพดู อยู่

เม่อื พิจารณา บา้ ง บางประโยค

ความเรว็ และ ไมส่ มบรู ณ์

ความสมำ่ เสมอ

ของการพดู

นำขอ้ ความท่ี นำขอ้ ความที่

เกี่ยวข้องมาพูดได้ เก่ยี วข้องมาพูดได้

เป็นส่วนมากร้อย พอสมควร ร้อยละ

ละ 61-80 41-60

272

บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
1. ผลการจดั การเรยี นรู้
1.1 ผู้เรียนชาวต่างชาติช่ืนชอบการจับคู่กับเพื่อนชาวไทย เพราะได้ทำกิจกรรมเพื่อฝึก

ภาษาในสถานการณจ์ ริง โดยมเี พื่อนชาวไทยให้ความชว่ ยเหลือ
1.2 ผู้เรียนชาวต่างชาติบางคู่ใช้เวลาในการเตรียมตัวก่อนสัมภาษณ์ค่อนข้างนาน เพราะ

ตอ้ งการให้ผลานออกมาดที ีส่ ดุ โดยไมต่ อ้ งสัมภาษณ์ซ้ำหลาย ๆ รอบ

2. ปญั หาและอปุ สรรค
2.1 ผู้เรียนชาวต่างชาติ ซ่ึงเป็นผู้เรียนชาวจีน ไม่คุ้นเคยกับการใช้งานแอปพลิเคชันไลน์

จงึ อาจสร้างความสบั สนในการใชง้ านชว่ งแรก
2.2 ผู้เรียนเริ่มต้นบันทึกใหม่ทุกครั้งเม่ือพูดผิดหรือไม่ถูกต้อง จึงใช้เวลาในการทำ

กจิ กรรมคอ่ นขา้ งนานกว่าเวลาทกี่ ำหนด

3. แนวทางการแกไ้ ข
3.1 ผู้สอนใหเ้ พื่อนชาวไทยชว่ ยเหลือผู้เรยี นชาวตา่ งชาติเมอ่ื ประสบปัญหาทางเทคนิค
3.2 ผู้สอนกำหนดเวลาให้ผู้เรียนทราบอย่างชัดเจนว่า กิจกรรมนี้จะหมดเวลาเม่ือใดและ

ทุกคนต้องหยุดการสัมภาษณ์และส่งไฟล์มายังไลน์กลุ่มทันที โดยพิจารณาจากเวลาท่ีบันทึกในระบบ
หากใครส่งชา้ จะถูกหกั คะแนน 0.5 คะแนนต่อ 1 นาที

ลงช่อื วชั รพล วิบลู ยศรนิ
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วิบลู ยศริน)
ผ้สู อน
วนั ท่ี 24 / ส.ค. / 2561

273

ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (4)

รหสั วชิ า 1543603 ชอื่ รายวิชา ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

หน่วยการเรยี นรู้เรื่อง การพัฒนาทกั ษะการเขียน จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 เรื่อง อารมณ์และความรู้สกึ เวลา 50 นาที

ระดับชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

ผู้สอน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัชรพล วบิ ูลยศรนิ วันท่ี 16 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2561

สาระสำคญั
การบอกอารมณ์และความรู้สึกเป็นการส่ือสารท่ีถ่ายทอดความต้องการและความพึงพอใจ

ของผู้พูดที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ ได้ ภาษาไทยมีคำท่ีบ่งบอกถึงอารมณ์และความรู้สึกท่ีหลากหลายจึงควร
ระมัดระวังการเลือกใช้คำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบุคคลท่ีกำลังสนทนาด้วยเพ่ือเป็นการสร้าง
ความเข้าใจอนั ดีต่อกนั และกัน

ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั
เพื่อให้ผู้เรียนเขียนถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกของตนลงในอนุทิน (Diary) ได้อย่าง

เหมาะสม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้ (K) เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
1.1 เลอื กใชค้ ำศัพท์ได้ถูกต้องตรงตามความหมายและบรบิ ทของการใช้
1.2 ใชป้ ระโยคได้ถกู ต้องตรงตามโครงสรา้ งทางไวยากรณ์

2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถ
2.1 เลือกใช้คำศพั ท์ที่เกยี่ วข้องกบั อารมณ์และความร้สู ึกได้ถูกต้อง
2.2 เขยี นถา่ ยทอดอารมณ์และความรสู้ กึ ลงในอนุทนิ ไดเ้ หมาะสม

3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมเี จตคติ
3.1 มีเจตคติทด่ี ีต่อการใชภ้ าษาไทยอยา่ งเหมาะสมกบั บรบิ ททางสงั คม
3.2 แสดงออกและปฏบิ ัตติ นตามขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรมไทย

274

สาระการเรยี นรู้
1. การสรา้ งและการใชง้ านบล็อก
2. คำศัพท์เกย่ี วข้องกับอารมณ์และความรูส้ กึ
3. โครงสรา้ งทางไวยากรณ์
4. คำศัพท์เสรมิ
5. ขอ้ สงั เกตทางภาษา
6. ข้อสังเกตทางวัฒนธรรม
7. การเขยี นอนุทิน

กจิ กรรมการเรียนรู้ตามแนวคดิ ของการสอนภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร (การใช้บล็อก)
ผู้สอนนำผู้เรียนเข้าใช้งานห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ก่อนเร่ิมกิจกรรมการเรียนรู้ สาธิตการ

สมัครสมาชกิ เวบ็ ไซต์บล็อกเกอร์ แล้วอธิบายวิธีการใช้งานตามลำดับ เม่ือผู้เรียนดำเนินการสมัครและ
ฝกึ ฝนการใช้งานบล็อกแล้ว ให้เริ่มขั้นนำเสนอภาษา

ขนั้ นำเสนอ
1. ให้ผู้เรียนศึกษาคำศัพท์และสถานการณ์การสนทนาบทที่ 12 ในเว็บไซต์ https://
learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter12 ดว้ ยตนเอง
2. อธิบายโครงสร้างทางไวยากรณ์ คำศัพท์เสริม ข้อสังเกตทางภาษาและทางวัฒนธรรมท่ี
เกยี่ วข้องกับอารมณ์และความรสู้ กึ

ขน้ั ฝึกฝน
1. กำหนดเวลา 30 นาที ให้ผู้เรียนเขียนบอกเล่าเรื่องราวของเมื่อวานตั้งแต่ตื่นนอนตอนเช้า
จนถงึ เขา้ นอนตอนกลางคนื โดยใหเ้ ขียนแสดงอารมณ์และความร้สู ึกทเ่ี กดิ ขน้ึ ด้วย
2. เดินสำรวจรอบห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพ่ือให้ความช่วยเหลือผู้เรียนท่ีประสบปัญหา
ทางเทคนิค หรือตอบคำถามหากผู้เรียนมขี อ้ สงสัยใด ๆ
3. ให้ผู้เรียนแต่ละคนนำเสนอการเขียนในบล็อกของตน ผู้สอนและผู้เรียนคนอื่นร่วมแสดง
ความคดิ เห็นหรอื ให้คำแนะนำ

ขน้ั นำผลงานไปใช้
1. ใหผ้ ูเ้ รียนพิจารณาปรบั แก้ตามความคดิ เหน็ หรอื คำแนะนำข้างตน้ กอ่ นส่งหรือโพสต์

275

2. แจ้งให้ผู้เรียนทราบว่า ผู้เรียนต้องเขียนอนุทินบอกเล่าเรื่องราวท่ีเกิดขึ้นทุกวันเสาร์
นับตั้งแต่สัปดาห์น้ีจนถึงสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอน โดยผู้เรียนคนอ่ืนจะต้องแสดงความ
คิดเห็นในอนุทินของเพื่อนอยา่ งน้อย 3 คน ให้แลว้ เสรจ็ ภายในวันอาทติ ย์

3. สรุปเนอ้ื หาเรอ่ื งอารมณแ์ ละความรู้สกึ และกจิ กรรมการเขยี นอนทุ ินในบลอ็ ก

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
2. เว็บไซต์ https://learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter12
3. บล็อกสว่ นตัวของผูเ้ รียน

การวดั และประเมินผล
วิธีการวดั และประเมินผล
1. พิจารณาการเลือกใช้คำศัพทใ์ นอนุทิน

2. ประเมนิ การเขยี นถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สกึ

เครือ่ งมอื การวัดและประเมินผล
- แบบประเมินทักษะการเขยี นภาษาไทยสำหรับผูเ้ รียนชาวต่างชาติ

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

เกณฑ์ ระดับคะแนน
4321

1. ความถูกตอ้ งของการ คำศพั ทแ์ ละ คำศพั ท์ถูกต้องตรง คำศพั ทถ์ กู ต้องตรง คำศัพท์และ

เลอื กใช้คำและประโยค โครงสรา้ งของ ตามบรบิ ทเปน็ ตามบรบิ ท โครงสร้างของ

ตรงตามบริบท ประโยคถูกตอ้ ง สว่ นใหญ่ร้อยละ พอสมควร ร้อยละ ประโยคถูกตอ้ ง

ตรงตามบริบท 80 ขึ้นไปและมี 60 ขน้ึ ไปและมี ตรงตามบรบิ ท

ท้ังหมด ปัญหาทาง ปญั หาทาง นอ้ ยมากหรือไม่

โครงสรา้ งของ โครงสร้างของ ถูกต้องเลย

ประโยคนอ้ ยมาก ประโยคพอสมควร

ไมเ่ กินรอ้ ยละ 20 ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 40

2. หลกั ภาษา ไมม่ ีข้อผดิ พลาดใน มีขอ้ ผิดพลาดเพียง มีข้อผดิ พลาดบ้าง มขี อ้ ผิดพลาดเป็น

การใชห้ ลักภาษา เล็กนอ้ ย 1-2 ข้อ 3-4 ขอ้ ในการใช้ ส่วนใหญม่ ากกว่า

ในการใชห้ ลัก หลกั ภาษา 5 ข้อขน้ึ ไปในการ

276

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

3. ความสัมพนั ธ์ของ 4 32 1
แนวคดิ
เช่อื มโยงสมั พนั ธ์ ภาษา ใช้หลกั ภาษา
กนั อย่างดีเยยี่ ม เช่ือมโยงสัมพันธ์
แนวคดิ สนับสนนุ เชือ่ มโยงสมั พนั ธ์ คอ่ นขา้ งเชอื่ มโยง แนวคิดสนับสนนุ
วัตถปุ ระสงคห์ รอื วตั ถุประสงคห์ รือ
ขอ้ โตแ้ ยง้ อย่าง กนั แนวคิด สมั พนั ธก์ นั ขอ้ โตแ้ ยง้ นอ้ ยมาก
ชดั เจน ผู้อา่ น หรอื แทบไมม่ ีเลย
เขา้ ใจเหตผุ ลของ สนับสนุน แนวคิดสนบั สนุน ผอู้ า่ นยังไมเ่ ข้าใจ
การนำเสนอได้ เหตผุ ลของการ
วัตถุประสงคห์ รือ วตั ถปุ ระสงคห์ รอื นำเสนอ หรอื
เขา้ ใจอยา่ ง
ขอ้ โต้แยง้ อย่าง ขอ้ โตแ้ ยง้ ผู้อา่ น คลุมเครือ

พอเหมาะ ผู้อ่าน เขา้ ใจเหตผุ ลของ

เข้าใจเหตผุ ลของ การนำเสนอได้

การนำเสนอเปน็ คอ่ นขา้ งพอใช้

ส่วนใหญ่

4. การเขียนสะกดคำและ ใชเ้ ครื่องหมาย ใช้เครื่องหมาย ใชเ้ ครื่องหมาย ใชเ้ คร่ืองหมาย
การใชเ้ ครื่องหมายวรรค วรรคตอนหรอื วรรคตอนหรือ วรรคตอนหรือ วรรคตอนหรือ
ตอน สะกดคำได้ถกู ตอ้ ง สะกดคำผิดพลาด สะกดคำผิดพลาด สะกดคำผดิ พลาด
เหมาะสม เพยี งเล็กนอ้ ย 1-2 บา้ ง 3-4 แหง่ เป็นส่วนใหญ่
แห่ง มากกว่า 5 แห่ง

277

บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้
1. ผลการจดั การเรียนรู้
ผู้เรียนชาวต่างชาติแสดงความคิดเห็นว่า การใช้บล็อกมีความน่าสนใจและยังไม่เขียน

อนุทินออนไลน์มากอ่ น ผู้เรียนส่วนมากแสดงอารมณ์และความรู้สึกพ้ืนฐานไดเ้ ป็นอย่างดี เช่น สนุก ดี
ใจ เศร้า โกรธ แต่มีผู้เรียนส่วนน้อยท่ีมีปัญหาในการเลือกใช้คำ เช่น ผมเป็นคนอารมณ์สงบ (ผู้เรียน
ตอ้ งการสื่อวา่ ตนเองเป็นคนใจเย็นหรืออารมณ์เย็น) แต่ก็ได้รบั คำแนะนำจากผู้เรียนคนอ่ืน จงึ ปรับแก้
กอ่ นส่งเรยี บร้อยแลว้

2. ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เรียนบางคนพิมพ์ภาษาไทยได้ค่อนข้างช้า เพราะยังไม่คุ้นเคยกับแป้นพิมพ์ภาษาไทย

เท่าท่คี วร และบางคนมีปญั หากบั วิธีการใชง้ านทเ่ี ป็นภาษาไทย

3. แนวทางการแกไ้ ข
ผู้สอนอนุญาตให้ผู้เรียนที่ไม่เข้าใจวิธีการใช้งานให้เปลี่ยนการแสดงผลภาษาเป็น

ภาษาองั กฤษได้ ส่วนผเู้ รียนที่ประสบปัญหาดา้ นการพิมพ์ภาษาไทย ผู้สอนนัดหมายเวลานอกช้ันเรียน
เพ่อื ฝกึ ฝนการพิมพภ์ าษาไทยให้เปน็ กรณีพิเศษ

ลงชื่อ วชั รพล วิบูลยศรนิ
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วิบูลยศริน)
ผสู้ อน
วนั ที่ 16 / ส.ค. / 2561

278

ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ (5)

รหัสวิชา 1543603 ชอื่ รายวิชา ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ

หนว่ ยการเรยี นรู้เรื่อง การพฒั นาทักษะการเขยี น จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14 เรอ่ื ง การท่องเท่ียว เวลา 50 นาที

ระดบั ชน้ั ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561

ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วบิ ูลยศรนิ วันที่ 30 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2561

สาระสำคญั
ประเทศไทยมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีสวยงามและน่าสนใจหลากหลายท่ี ทั้งสถานท่ีท่องเที่ยวทาง

ธรรมชาติและทางวัฒนธรรม กล่าวได้ว่าการท่องเท่ียวเป็นการเดินทางเพ่ือพักผ่อนหย่อนใจหรือเพ่ือ
ความสนุกสนานต่ืนเต้น หาความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ การเรียนรู้เกี่ยวกับการท่องเท่ียวจะช่วยให้
สามารถวางแผนการเดนิ ทางและบอกเลา่ ความประทบั ใจในสถานท่แี ต่ละแห่งได้

ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั
เพ่ือให้ผู้เรียนร่วมกันเขียนบันทึกการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยเพ่ือบอกเล่าความ

ประทบั ใจในสถานทไี่ ด้อย่างเหมาะสม

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ดา้ นความรู้ (K) เพื่อใหผ้ ู้เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
1.1 เลอื กใช้คำศัพท์ได้ถูกต้องตรงตามความหมายและบรบิ ทของการใช้
1.2 ใช้ประโยคได้ถกู ต้องตรงตามโครงสรา้ งทางไวยากรณ์

2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ความสามารถ
2.1 เลือกใช้คำศพั ท์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การท่องเทีย่ วและความประทบั ใจไดถ้ ูกตอ้ ง
2.2 ร่วมกันเขียนบอกเล่าความประทับใจจากการท่องเที่ยวในประเทศไทยได้อย่าง

เหมาะสม

3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เพือ่ ให้ผู้เรยี นมเี จตคติ
3.1 มเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ การใชภ้ าษาไทยอย่างเหมาะสมกับบริบททางสงั คม
3.2 แสดงออกและปฏิบัตติ นตามขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรมไทย

279

สาระการเรยี นรู้
1. การใช้งานวิกิ
2. คำศัพทเ์ กย่ี วข้องกับการท่องเทยี่ ว
3. การเขียนบนั ทึกการเดนิ ทาง

กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแนวคดิ ของการสอนภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (การใช้วกิ )ิ
หลังจากการจัดทัศนศึกษานอกสถานที่ในจังหวัดเชียงใหม่ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ผู้สอนนำ

ผู้เรียนเข้าใช้งานห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ แล้วสาธิตการลงทะเบียนสมัครใช้วิกิ พร้อมสาธิต
วธิ กี ารใช้งาน (ผู้สอนต้องจัดเตรยี มวิกไิ วล้ ่วงหนา้ ใหค้ รบตามจำนวนกล่มุ ของผูเ้ รียน)

ข้นั นำเสนอภาษา
1. ให้ผู้เรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วเขียนส่งอเี มลของผ้เู รียนแตล่ ะคนในกลุ่มใหผ้ สู้ อน
เพอ่ื ดำเนนิ การเพม่ิ รายช่ือเข้าวิกขิ องกลุ่ม
2. ให้ผู้เรียนศึกษาคำศัพท์และสถานการณ์การสนทนาบทที่ 10 ในเว็บไซต์ https://
learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter10 ดว้ ยตนเอง

ขน้ั ฝกึ ฝนการใช้ภาษา
1. ให้ผู้เรียนระดมสมองร่วมกันบนวิกิเกี่ยวกับการไปทัศนศึกษา ณ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ
สปั ดาหท์ ีผ่ ่านมา แลว้ เลอื กหัวข้อทนี่ ่าสนใจเหมาะสำหรับเขยี นเปน็ บนั ทกึ การเดินทาง
2. กำหนดเวลา 20 นาที ให้ผู้เรียนร่วมกันเขียนร่างบันทึกการเดินทาง (ไม่จำเป็นต้องเสร็จ
สมบูรณ)์
3. นำเสนอร่างบันทึกการเดินทาง พร้อมแนวคิด ผู้เรียนและผู้สอนคนอ่ืนร่วมกันแสดงความ
คดิ เหน็ และคำแนะนำ

ขน้ั นำภาษาไปใช้
1. มอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการเขียนบันทึกการเดินทางร่วมกันในวิกินอกชั้น
เรยี นให้แล้วเสรจ็ ภายใน 1 สปั ดาห์
2. ตรวจสอบการเข้าใช้งานและการปรับแก้จากประวัติการแก้ไขในวิกิของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม
หากพบว่าผู้เรียนคนใดไม่มีส่วนร่วม ให้ผู้สอนเสริมแรงและเน้นย้ำผู้เรียนให้ตระหนักถึงความสำคัญ
ของตนในฐานะส่วนหนงึ่ ของกลุ่ม
3. เมื่อการเขียนบันทึกการเดินทางเสร็จสมบูรณ์ทุกกลุ่มแล้ว ให้ผู้เรียนต่างกลุ่มเข้าแสดง
ความคิดเหน็ ของเพื่อนอยา่ งนอ้ ยคนละ 3 กลุ่ม จากนั้นผสู้ อนประเมนิ ผลการเขียนรว่ มกนั ของกลุม่

280

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1. เวบ็ ไซต์ https://learnthai4u.wordpress.com/2016/11/18/chapter10

2. วกิ ิของกลุ่มผ้เู รียน

การวัดและประเมนิ ผล
วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
1. พจิ ารณาการเลือกใช้คำศัพทใ์ นวกิ ิ

2. ประเมินการเขียนบอกเล่าความประทับใจเกี่ยวกับการท่องเท่ยี วในประเทศไทย

เคร่ืองมอื การวัดและประเมินผล
- แบบประเมินทักษะการเขยี นภาษาไทยสำหรบั ผเู้ รยี นชาวตา่ งชาติ

เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

เกณฑ์ ระดบั คะแนน

1.วัตถปุ ระสงค์ 4 32 1

นำเสนอ นำเสนอ ไมไ่ ด้นำเสนอ ไมไ่ ด้นำเสนอ
วัตถปุ ระสงค์ วตั ถุประสงค์ หรือ
แปลกใหม่ ชัดเจน วตั ถุประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ เสนอวัตถปุ ระสงค์
เรา้ ความสนใจ ไม่ชดั เจน
และสอดคลอ้ งกบั แปลกใหม่ แตย่ งั ใหม่ ๆ หรอื กล่าว
เนือ้ หา
ไม่สอดคลอ้ งกบั นอกประเดน็ ไป

เนือ้ หา จากเนอ้ื หา

บางคร้งั

2. ชอ่ื เรือ่ ง ตั้งช่ือเรือ่ งสมั พันธ์ ต้งั ชอื่ เร่อื งสัมพนั ธ์ ต้งั ชอ่ื เร่ือง ไมไ่ ดต้ งั้ ชื่อเรอื่ ง
กบั เนื้อเรอ่ื งเป็น
อย่างดี ผ้อู ่านคาด กับเนอื้ เรอ่ื ง ผู้อา่ น คอ่ นข้างสัมพนั ธ์ หรือการตัง้ ชื่อเรือ่ ง
เดาเน้อื หาจากชื่อ
เรื่องไดโ้ ดยง่าย คาดเดาเน้ือหาจาก กบั เนอื้ เรอ่ื ง ผ้อู ่าน ไมส่ มั พันธ์กับเนอื้

ชือ่ เรื่องได้ คาดเดาเน้อื หาจาก เร่ืองหรอื สมั พันธ์

พอสมควร ชอื่ เรอื่ งได้บา้ ง กนั น้อยมาก ผู้อ่าน

ไมส่ ามารถคาดเดา

เน้อื หาจากชื่อเร่ือง

ได้

3. บทนำ อธิบายภูมิหลงั - อธิบายภมู หิ ลงั - อธบิ ายภมู ิหลัง - ไมม่ แี บบแผนใน

281

เกณฑ์ 4 ระดบั คะแนน 1
32
4. เนื้อเร่ือง ความเป็นมาของ การเขยี นบทนำ
เรอ่ื งอยา่ งมี ความเปน็ มา ความเปน็ มา แต่ คลุมเครือ ขาด
ประสทิ ธภิ าพ พอเหมาะ ชัดเจน เชื่อมโยงเข้าสเู่ น้ือ ความชัดเจน
แตข่ าด เร่ืองไมไ่ ด้
รายละเอียดสำคญั
ไปบา้ ง

แสดงมุมมองของ แสดงมมุ มองของ แสดงมมุ มองของ ไม่ได้แสดงมุมมอง
ผเู้ ขียนเอาไว้อยา่ ง ผู้เขียนไว้ ผู้เขียน แต่ยงั ไม่ ของผเู้ ขียนหรอื
เหมาะสม ชัดเจน ชดั เจนเทา่ ท่คี วร แสดงไวอ้ ยา่ งไม่
และเทย่ี งตรง เหมาะสม ชดั เจน

5. บทสรปุ สรปุ ความคดิ รวบ สรุปเนอ้ื เรือ่ งตาม นำเน้ือเรือ่ งมาสรุป ไมไ่ ดส้ รปุ เน้อื เรือ่ ง
ยอดของเนอ้ื เรอ่ื ง ประเดน็ สำคญั แต่ ใหม่ แตข่ าด หรือประเด็นหลัก
6. ความถูกต้องของการ ครบถว้ นและเนน้ ไม่ครบทกุ ประเด็น ประเดน็ สำคญั 3- ใด ๆ อาจมบี า้ งแต่
เลอื กใช้คำและประโยค ความสำคญั ของ ขาดเพียงเล็กนอ้ ย 4 ประเดน็ พอ ไม่ชดั เจนและไมม่ ี
ตรงตามบริบท ใจความหลกั ที่ 1-2 ประเดน็ แต่ มองเห็นภาพรวม ประสิทธภิ าพ มอง
สัมพนั ธ์กบั เนอ้ื พอมองเห็น แตไ่ ม่ชัดเจน ไม่เหน็ ภาพรวม
7. หลกั ภาษา เรอ่ื ง ภาพรวม
8. ความสัมพนั ธข์ อง
คำศพั ท์และ คำศพั ท์ถูกตอ้ งตรง คำศพั ท์ถกู ต้องตรง คำศพั ท์และ
โครงสรา้ งของ ตามบริบทเป็น ตามบริบท โครงสรา้ งของ
ประโยคถกู ต้อง ส่วนใหญ่รอ้ ยละ พอสมควร ร้อยละ ประโยคถกู ตอ้ ง
ตรงตามบรบิ ท 80 ขนึ้ ไปและมี 60 ข้นึ ไปและมี ตรงตามบริบท
ทง้ั หมด ปญั หาทาง ปญั หาทาง น้อยมากหรอื ไม่
โครงสร้างของ โครงสร้างของ ถกู ต้องเลย
ไม่มขี อ้ ผดิ พลาดใน ประโยคน้อยมาก ประโยคพอสมควร
การใชห้ ลกั ภาษา ไม่เกินรอ้ ยละ 20 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 40 มขี อ้ ผิดพลาดเป็น
มีขอ้ ผดิ พลาดเพยี ง มีข้อผดิ พลาดบา้ ง ส่วนใหญม่ ากกวา่
เชอ่ื มโยงสมั พนั ธ์ เล็กนอ้ ย 1-2 ข้อ 3-4 ขอ้ ในการใช้ 5 ขอ้ ขึน้ ไปในการ
ในการใช้หลกั หลักภาษา ใชห้ ลักภาษา
ภาษา เชอ่ื มโยงสัมพันธ์
เชื่อมโยงสัมพันธ์ คอ่ นขา้ งเช่อื มโยง

282

เกณฑ์ ระดับคะแนน

แนวคดิ 4 32 1

กนั อยา่ งดเี ย่ียม กัน แนวคิด สมั พันธ์กนั แนวคิดสนบั สนุน
แนวคิดสนับสนุน วตั ถปุ ระสงคห์ รือ
วัตถปุ ระสงคห์ รอื สนบั สนุน แนวคดิ สนับสนนุ ขอ้ โต้แย้งนอ้ ยมาก
ข้อโต้แย้งอย่าง หรือแทบไมม่ ีเลย
ชัดเจน ผู้อ่าน วตั ถปุ ระสงคห์ รือ วตั ถุประสงค์หรือ ผู้อ่านยังไมเ่ ข้าใจ
เขา้ ใจเหตผุ ลของ เหตุผลของการ
การนำเสนอได้ ข้อโตแ้ ย้งอย่าง ข้อโตแ้ ย้ง ผ้อู า่ น นำเสนอ หรือ
เข้าใจอย่าง
พอเหมาะ ผู้อา่ น เขา้ ใจเหตผุ ลของ คลุมเครือ

เข้าใจเหตผุ ลของ การนำเสนอได้

การนำเสนอเป็น คอ่ นขา้ งพอใช้

ส่วนใหญ่

9. การเขยี นสะกดคำและ ใชเ้ ครอื่ งหมาย ใช้เครือ่ งหมาย ใชเ้ ครือ่ งหมาย ใชเ้ ครอ่ื งหมาย
การใชเ้ ครอื่ งหมายวรรค วรรคตอนหรือ วรรคตอนหรอื วรรคตอนหรอื วรรคตอนหรือ
ตอน สะกดคำไดถ้ กู ต้อง สะกดคำผดิ พลาด สะกดคำผดิ พลาด สะกดคำผิดพลาด
เหมาะสม เพียงเลก็ น้อย 1-2 บา้ ง 3-4 แห่ง เปน็ สว่ นใหญ่
แห่ง มากกว่า 5 แห่ง

283

บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้
1. ผลการจัดการเรียนรู้
1.1 ผู้เรียนชาวต่างชาติแสดงความเห็นว่า การเขียนรว่ มกันเป็นกลุ่มดีกว่าการเขียนตาม

ลำพัง เพราะหากเขียนคนเดียวก็ไม่ทราบว่าจะเขียนอย่างไร แต่เมื่อได้เขียนกับเพื่อนทำให้ความคิด
ขยายออกไปได้กวา้ งขวางขน้ึ

1.2 การเขียนร่วมกันของแต่ละกลุ่มค่อนข้างยาวกว่าและมีคุณภาพมากกว่าการเขียน
แบบปกติท่วั ไป โดยพบขอ้ ผิดพลาดน้อยกว่าเน่ืองจากผู้เรยี นแต่ละคนในกลุ่มช่วยกนั อ่านหรอื พจิ ารณา
แล้วแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง

2. ปัญหาและอปุ สรรค
ผู้เรียนชาวต่างชาติบางคนยังไม่มีส่วนร่วมในการเขียน เนื่องจากไม่เข้าใจการใช้วิกิ และ

บางคนไมท่ ราบว่าจะเขียนต่อจากเพ่อื นในกลุม่ อยา่ งไร

3. แนวทางการแกไ้ ข
3.1 ผู้สอนนัดหมายผู้เรียนท่ียังไม่เข้าใจวิธีการใช้วิกินอกชั้นเรียน แล้วสาธิตประกอบการ

อธิบายพร้อมให้ผู้เรียนปฏิบตั ิตามดว้ ย
3.2 ผสู้ อนชแ้ี จงแนวทางและวธิ ีการเขียนร่วมกันให้กับผู้เรยี นท่ีไม่แน่ใจว่าตนเองจะเขยี น

ตอ่ จากเพอื่ นในกลุม่ อยา่ งไร

ลงช่อื วชั รพล วิบูลยศรนิ
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วชั รพล วบิ ูลยศรนิ )
ผสู้ อน
วนั ที่ 6 / ก.ย. / 2561

284

บทสรุป

แผนการจัดการเรียนรู้เปรียบเสมือนกับแผนท่ีที่บอกผู้สอนว่าควรใช้เส้นทางใดจึงจะถึง
จุดหมายปลายทางที่กำหนดไว้ ผู้สอนควรดำเนินการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไป
ตามเป้าหมายและตามข้ันตอนอย่างเป็นระบบ และท่ีสำคัญ ผู้สอนควรเขียนอธิบายการเดินทางตาม
แผนที่หรือแผนการจัดการเรียนรู้โดยละเอียด และคำนึงอยู่เสมอว่าหากตนเองไม่สามารถมาสอนได้
ผู้อื่นท่ีนำแผนการจัดการเรียนรู้ของตนไปใช้ต้องเข้าใจและสามารถสอนแทนได้เสมือนตนเองเป็น
ผู้สอน โดยเฉพาะแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศควรอธิบายกิจกรรมการ
เรียนรู้อย่างละเอียด ชัดเจน เพราะถ้าผู้สอนเขียนไม่ละเอียด ไม่ชัดเจนแล้ว เมื่อนำไปสอนอาจเกิด
ความผิดพลาด ยิ่งถ้าเป็นความผิดพลาดดา้ นเน้ือหาความรู้จะแก้ไขให้เข้าใจใหม่ได้ยาก และการเขียน
แผนการจดั การเรียนร้ดู ังกล่าวควรมุ่งเนน้ ตามแนวคิดของการสอนภาษาเพอ่ื การสอื่ สารเพื่อเสรมิ สร้าง
ความสามารถด้านการสอื่ สารของผเู้ รยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพด้วย

คำถามทบทวน

1. หากผู้สอนไม่จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศไว้ก่อน
ลว่ งหนา้ จะสง่ ผลอย่างไรต่อการจดั การเรยี นการสอน

2. แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศมีกี่องค์ประกอบ อธิบายแต่
องคป์ ระกอบมาพอสังเขป

3. แผนการจัดการเรียนรภู้ าษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศตามแนวคิดของการสอนภาษา
เพื่อการส่ือสารมลี ักษณะอย่างไร

4. การบันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเป็นประโยชน์
อยา่ งไรตอ่ ผู้สอน

5. การบันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเป็นประโยชน์
อย่างไรต่อผเู้ รยี น

285

เอกสารอา้ งองิ

เฉลิมลาภ ทองอาจ, วัชรพล วบิ ูลยศริน, และสุมิตรา คุณวัฒน์บณั ฑติ (2554). คมู่ ือโมดูล 5 การใช้สื่อ
และแหล่งการเรียนรู้. ใน พรทิพย์ แข็งขัน (บ.ก.), คู่มือฝึกอบรมครูภาษาไทยระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย (หนา้ 146-191). คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรทิพย์ แข็งขัน, เฉลิมลาภ ทองอาจ, และนวพร สุรนาคะพันธ์ุ. (2554). คู่มือโมดูล 6 การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้. ใน พรทิพย์ แข็งขัน (บ.ก.), คู่มือฝึกอบรมครูภาษาไทยระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (หน้า 192-250). คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2555). สอนเขียนแผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสำคัญ.
สำนกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

วัชรพล วิบูลยศริน, กนกพรรณ วิบูลยศริน, และฤดี กมลสวัสด์ิ. (2561). รูปแบบการเรียนการสอน
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตามแนวคิดการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารบนสื่อสังค ม.
สำนกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.ิ

สคุ นธ์ ภูริเวทย์. (2546). การออกแบบการสอน. สำนกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั รามคำแหง.
Bloom B. S. (1956). Taxonomy of educational objectives. David McKay.
British Council. (2013). Lesson plans. http://www.teachingenglish.org.uk/lesson-plans
English Club. (2013). What is a lesson plan?. http://www.englishclub. com/esl-lesson-

plans/what-is-a-lesson-plan.htm
Mikova, S. (2013). Strategies for effective lesson planning. University of Michigan.

http://www.crlt.umich.edu/print/240
Ur, P. (2012). A course in English Language teaching (2nd ed.). Cambridge University

Press.

บรรณานุกรม

หนงั สือและบทความในหนังสือ
กมลรัตน์ คะนองเดช. (2542). พัฒนาการทางภาษากับการสอนภาษาเด็กต่างวัฒนธรรม (พิมพ์ครั้งท่ี

2). สถาบนั ราชภฏั ยะลา.
กองวิเทศสัมพันธ์. (2544). การสัมมนาระดับภูมิภาคว่าด้วยการเรียนการสอนภาษาไทยในบริบท

ไทยศกึ ษา. โรงพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กำชยั ทองหลอ่ . (2552). หลกั ภาษาไทย. รวมสาสน์ .
กศุ ยา แสงเดช. (2545). การสอนแบบ “การสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร” การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่

เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ
เฉลิมลาภ ทองอาจ, วชั รพล วิบูลยศริน, และสมุ ิตรา คุณวัฒน์บณั ฑติ (2554). คมู่ อื โมดลู 5 การใชส้ ่ือ

และแหล่งการเรียนรู้. ใน พรทิพย์ แข็งขัน (บ.ก.), คู่มือฝึกอบรมครูภาษาไทยระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (หนา้ 146-191). คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ทศั นยี ์ ศภุ เมธี. (2542). การสอนภาษาไทย. สถาบันราชภฏั ธนบรุ .ี
ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน : องค์ความรเู้ พ่อื การจัดกระบวนการเรียนรู้ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

(พิมพ์คร้งั ที่ 8). สำนักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
เบญจวรรณ ก่ีสุขพันธ์. (2552). EDUC 103 หลักสูตรกับการจัดการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พรทิพย์ แข็งขัน, เฉลิมลาภ ทองอาจ, และนวพร สุรนาคะพันธ์ุ. (2554). คู่มือโมดูล 6 การวัดและ

ประเมินผลการเรียนรู้. ใน พรทิพย์ แข็งขัน (บ.ก.), คู่มือฝึกอบรมครูภาษาไทยระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (หน้า 192-250). คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2555). สอนเขียนแผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสำคัญ.
สำนักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

288

วัชรพล วิบูลยศริน. (2557). นวัตกรรมและส่ือการเรียนการสอนภาษาไทย (พิมพ์คร้ังท่ี 2).
สำนักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

ศรีวิไล พลมณี. (2545). พื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. ศูนย์ไทยศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2545). คู่มือการสอนภาษาไทยเบื้องต้นในบริบทไทยศึกษาสำหรับ
ชาวต่างชาติ. ทบวงมหาวทิ ยาลัย.

สร้อยสน สกลรักษ์. (2553). 2719388 การสอนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ. คณ ะ
ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

สคุ นธ์ ภรู เิ วทย.์ (2546). การออกแบบการสอน. สำนกั พิมพม์ หาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2531). วิธีสอนภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2552). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพ์คร้ังท่ี 8). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

สุไร พงษ์ทองเจริญ. (2525). วธิ ีสอนภาษาอังกฤษสำหรับผู้เร่ิมเรียน. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2536). การสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา เล่ม 3. คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

อมรา ประสทิ ธ์ริ ฐั สินธ์ุ. (2533). ภาษาศาสตร์สังคม. โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
อรุณี วริ ยิ ะจิตรา. (2532). การเรยี นการสอนภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร. อักษรเจริญทัศน.์

บทความในวารสารและหนังสอื ประมวลบทความในการประชุมทางวชิ าการ
คิม ยอง แอ. (2554). ความเป็นมาของการศึกษาภาษาไทยในประเทศเกาหลี วิทยาเขตกรุงโซล [การ

นำเสนอด้วยวาจา]. การสัมมนานานาชาติการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ,
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

289

คิม ฮง คู .(2554). การเรียนการสอนภาษาไทยระดับบัณฑิตศึกษาในสาธารณรัฐเกาหลี [การนำเสนอ
ด้วยวาจา]. การสัมมนานานาชาติการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ,
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, กรุงเทพฯ.

จินตนา แซนดิแลนด์ซ. (2544). การเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติ : มุมมองจาก
ออสเตรเลีย [การนำเสนอด้วยวาจา]. การสัมมนาระดับภูมิภาคว่าด้วยการเรียนการสอน
ภาษาไทยในบริบทไทยศึกษา, กองวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย,
กรงุ เทพฯ.

ฌองส์ ฮวันซึง. (2554). การเรียนการสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัยฮันกุ๊กภาษาและกิจการ
ต่างประเทศ วิทยาเขตยงอิน (Global Campus) [การนำเสนอด้วยวาจา]. การสัมมนา
นานาชาติการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
กรุงเทพฯ.

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (2554). การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : จากปัจจัยพื้นฐานสู่
กลวธิ ีสอน. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องนานากลวิธีการสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ.
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

วัชรพล วิบูลยศริน. (2556ก). กลยุทธ์การจัดการเรยี นร้แู บบร่วมมอื สำหรบั การสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาตา่ งประเทศ. วารสารสังคมมนุษย์, 31(1), 87-99.

__________. (2556ข). การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตามแนวคิดการสอน
ภาษาเพื่อการส่ือสาร. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ 2556, โรงแรมทวิน ทาวเวอร์, รองเมอื ง, กรุงเทพฯ.

เวบ็ ไซต์
ฐานเศรษฐกิจ. (2562). “ญี่ปุ่น” ...อันดับที่ 1 นักลงทุนรายใหญ่ในไทย. http://www.thansettakij.

com/content/207209
มหาวิทยาลัยโตเกียวศึกษาต่างประเทศ. (2562). ประวัติความเป็นมา. http://www.tufs.ac.jp/

documentsabouttufs/overview/multi_brochures/2015_Thai.pdf

290

เอกสารอนื่ ๆ

กรรณิการ์ กาญจันดา. (2546). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร
เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการฟัง พูด ภาษาอังกฤษ และแรงจูงใจของนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3. [วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑติ ]. มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

กฤษณา เมืองโคตร. (2553). การพัฒนาการเรียนรคู้ ำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 4 โดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่

คำพันธ์ แสนสุข. (2556). การศึกษาการเรียนรู้การฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาท่ี 1 ดว้ ยวิธีการสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง โรงเรยี นมธั ยมวัดใหม่กรง
ทองในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี [วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ ]. มหาวทิ ยาลยั รงั สิต.

ชลชลิตา แตงนารา. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชา
ภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย โดยใช้วิธีสอนเพ่ือการส่ือสารรวมการฝึกแบบฟังพูด. คณะ
ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร.

ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรือง. (2542). การศึกษาเปรียบเทียบแบบการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครและโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดเขตเมืองฟูกูโอกะ ประเทศญี่ปุ่น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

ดวงชีวา ทิพย์แดง. (2549). การพัฒนาบทเรียนการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารเพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษสำหรับบุคลากรสวนกล้วยไม้ [วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ ]. มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.

นราวดี หลิมศิริ. (2553). การเปรียบเทียบความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความคงทนในการเรียนรู้
คำศัพท์และความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แนวการสอนโดยตรงกับ
แนวการสอนโดยอ้อม [วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ]. มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

291

ปนัดดา ปานะนิล. (2554). การใช้วิธีการสอนแบบตรงเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่าน
ภาษาองั กฤษและแรงจูงใจของนักเรยี นท่ีมีภาวะความบกพร่องทางการเรียนรู้ [วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ ]. มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่

ปรียา หิรัญประดิษฐ์. (2545). สถานภาพการเรียนและการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศใน
ประเทศไทย. สาขาวชิ าศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.

พระฉัตรเทพ พุทธชูชาติ. (2549). การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษที่เน้นเน้ือหาพระพุทธศาสนาตาม
แนวการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่.

พลอยส่องแสง พานโพธ์ิทอง. (2549). ความเข้าใจและการประยกุ ต์แนวคดิ การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ
ก า ร สื่ อ ส า ร ข อ ง ค รู ใน โ ร ง เรี ย น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ใ น เข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า จั ง ห วั ด น ค ร ป ฐ ม
[วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ]. จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

พัชราวลัย วงศ์บุญสิน และคณะ. (2556). การพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากรเพื่อรองรับการ
เปิดเสรีอาเซียน. ศนู ย์บรกิ ารวชิ าการแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ไพโรจน์ เสรีวงศ์. (2541). ผลของการสอนอ่านโดยแนวคิดวิธีธรรมชาติท่ีมีต่อความเขาใจในการอ่าน
ภาษาไทยของนักเรียนชาวเขาในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

ฟาง จื่อหว่ี. (2552). ชุดการสอนทักษะการพูดภาษาไทยเพ่ือการท่องเที่ยวและการโรงแรมสำหรับ
นักศึกษาจนี [สารนพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑติ ]. มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

ฟู่ เจิงโหย่ว. (2544). การเรียนการสอนภาษาไทยในมุมมองจากมหาวทิ ยาลัยปกั กิ่ง [การนำเสนอด้วย
วาจา]. การสัมมนาระดับภูมิภาคว่าด้วยการเรียนการสอนภาษาไทยในบริบทไทยศึกษา,
กองวิเทศสัมพนั ธ์ สำนักงานปลดั ทบวงมหาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ.

มงคล ออกแมน. (2535). การรับรู้และความต้องการเก่ียวกับการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารของครู
ภาษาอังกฤษโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสระบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

292

รุ่งรัตน์ มองทะเล. (2546). การใช้การสอนแบบชักชวนเสริมด้วยการสอนแบบสร้างสรรค์องค์ความรู้
นิยม เพ่ือส่งเสริมความสามารถทางการฟังพูด และลดความวิตกกังของนักเรียน.
[วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑติ ]. มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่

วัชรพล วิบูลยศริน, กนกพรรณ วิบูลยศริน, และฤดี กมลสวัสด์ิ. (2561). รูปแบบการเรียนการสอน
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตามแนวคดิ การสอนภาษาเพื่อการส่อื สารบนสื่อสังคม.
สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ.

วัชรพล วิบูลยศริน. (2553). การสร้างแบบเรียนสนทนาภาษาไทยเบื้องต้นสำหรบั ผู้เรียนภาษาไทยใน
ฐานะภาษาตา่ งประเทศ [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

__________. (2556ค). การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสานตามแนวการสือ่ สารแบบ
มีส่วนร่วมโดยใช้เทคนิคการเขียนรอบวงบนสื่อสังคมเพื่อเสริมสร้างความสามารถด้านการ
เขียนวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/12345 6789/43767

วีรยุทธ พจน์เสถียรกุล. (2554). การเรียนการสอนภาษาไทยสำหรับชาวญี่ปุ่น. [การนำเสนอด้วย
วาจา]. การสัมมนานานาชาติการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ, มหาวิทยาลัย
ศรีนครนิ ทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ศรีวิไล พลมณี. (2552). การออกแบบชุดฝึกอบรมครูผู้สอนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนที่พูดภาษาอื่น.
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

ศศิภา ไชยวงศ์. (2553). การใช้การสอนแบบชักชวนร่วมกับกิจกรรมบทบาทสมมุติเพ่ือเพ่ิมพูนการฟัง
พดู ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารและลดความวิตกกังวลของนักเรียนในชมรมมัคคุเทศก์น้อย
[วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบณั ฑติ ]. มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่

สุนิสา สุพรรณ. (2540). การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษโดยใชแนวคิดวิธีธรรมชาติสำหรับนักศึกษา
คหกรรม [วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ]. มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.


Click to View FlipBook Version