The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ranong.phq, 2022-12-07 02:19:14

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

เรือที่มีส่วนของสระน้ำ จะต้องมีมุ้งลวดเพื่อป้องกันแมลงและตรวจสอบและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงอย่าง
สม่ำเสมอ ห้องพักขยะควรจะมีมุ้งลวดและตรวจสอบและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุแมลงวันและพาหะนำโรคอื่นๆ
มุง้ ลวดจำเป็นตอ้ งมสี ภาพดี และควรจัดเตรียมมุ้งสภาพดีสำหรับห้องนอนทซ่ี ง่ึ ไม่มีมงุ้ ลวด


2. สารฆ่าแมลง

เม่ือเรือออกจากพื้นท่ีที่มีพาหะนำโรคชุกชุม จะต้องใช้สารฆ่าแมลงพ่นปกติตามรอบเวลา สารฆ่าแมลงออกฤทธิ์
ตกค้างและสารฆ่าแมลงแบบฟุ้งกระจายในอากาศเพื่อควบคุมแมลงที่บินเข้ามาในเรือ สารฆ่าแมลงแบบ

ฟุ้งกระจายในอากาศ (Space sprays) พ่นสารฆ่าแมลงลักษณะหมอกหรือละอองฝอยและฆ่าแมลงท่ีสัมผัส
สารฆ่าแมลงที่ออกฤทธิ์ตกคา้ ง (Residual Spray) พน่ สารฆ่าแมลงมฤี ทธ์ติ กคา้ งบนพนื้ ผวิ ท่แี มลงเกาะพัก และ
คลาน และยังคงออกฤทธิ์อยู่ได้เป็นระยะเวลาหน่ึง แมลงที่คลานบนพ้ืนและพาหะนำโรคอ่ืนๆ น้ัน จะถูกกำจัด
ด้วยสารเคมีฆ่าแมลงทเี่ ฉพาะเจาะจง (Specific insecticides) โดยใชอ้ ย่างเหมาะสมกบั ลักษณะการคลานของ
แมลง แหลง่ ทีพ่ ักและการหลบซอ่ นตวั


การฉีดพ่นสารฆ่าแมลงซึง่ อาจมีสารพิษส่งผลต่อมนษุ ย์ พื้นท่ีท้งั หมดทีส่ มั ผสั กับอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ อาหาร
และเครอ่ื งดม่ื จะตอ้ งปดิ คลมุ หรือยา้ ยออกระหวา่ งดำเนนิ การฉีดพ่น


สารฆ่าแมลง (Insecticides) สารฆา่ หนู (Rodenticides) และสารมีพิษชนิดอ่นื ๆ รวมทงั้ อุปกรณท์ ใ่ี ชท้ ั้งหมดจะ
ต้องไม่เก็บในหรือพ้ืนท่ีสำหรับการจัดเก็บการเตรียมหรือการเสิร์ฟอาหารหรือเครื่องด่ืม นอกจากนี้ ไม่ควรเก็บ
สารพษิ ดังกลา่ วไวใ้ กล้ภาชนะสมั ผัสอาหารหรอื โตะ๊ อาหาร ผ้าปแู ละอุปกรณ์อ่ืนๆ ท่ใี ชส้ ำหรบั การจัดเตรยี มและ
เสริ ฟ์ อาหารและเครอ่ื งด่ืม เพอื่ ปอ้ งกนั การใชง้ านโดยไมต่ ัง้ ใจของสารพษิ เหลา่ นใี้ นอาหาร สารอันตรายดงั กลา่ ว
จะตอ้ งเกบ็ ไว้ในภาชนะท่มี สี แี ละทำเคร่ืองหมายไวอ้ ยา่ งชัดเจนวา่ “สารมพี ษิ ”


บทที่ 7 7.2.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ 7.2 การควบคมุ หนู


แนวทางการปฏิบตั ิ 7.2 การควบคมุ หนู


ตัวชว้ี ดั สำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 7.2

1. ท่กี นั หนูถกู ติดต้ังและบำรุงรักษา

2. กับดกั ถกู ใชเ้ พื่อควบคุมปรมิ าณของพาหะนำโรค

3. เหยื่อพิษถกู ใชเ้ พ่อื ควบคุมปรมิ าณของพาหะนำโรค

4. มกี ารตรวจสอบพาหะนำโรคเปน็ ประจำ

5. ปฏบิ ตั ติ ามหลักสขุ าภบิ าลเพ่ือลดแหล่งเพาะพันธห์ุ นู




150 คูม่ อื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


ข้อแนะนำสำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 7.2

1. ท่กี ันหนู

หนูสามารถเข้าถึงเรือได้หลายวิธีรวมถึงการเข้าถึงโดยตรงด้วยเชือกพวน (Hawsers) (สายสำหรับจอดเรือหรือ
ลากจงู เรอื ) และทางเดนิ หนอู าจซ่อนอย่ใู นสนิ ค้า รา้ นค้าของเรอื และวสั ดุอนื่ ๆ บนเรอื อย่างไรก็ตามการป้องกนั
หนโู ดยการสร้างทกี่ ้นั หนูจะสรา้ งความม่ันใจได้วา่ จะควบคุมหนบู นเรือได้เกอื บสมบรู ณ


เรือบางลำอาจติดตั้งที่กันหนูยากเนื่องจากต้องมีการเปล่ียนแปลงยาก อย่างไรก็ตามมีวิธีการกันหนูหลายวิธี

ที่ง่ายต่อการดำเนินการ วิธีการเหล่านี้จะช่วยลดการคุกคามของหนูและจะควบคุมประชากรหนูให้น้อยที่สุด
โดยตอ้ งมมี าตรการควบคมุ การปฏิบัตงิ านทีเ่ หมาะสมบนเรอื และติดตามอยา่ งสมำ่ เสมอ


ช่องซ่อนตัว โครงสร้างช่อง ช่องเปิดท่ีมีขนาดใหญ่เกิน (มากกว่า 1.25 ซม.) สำหรับพ้ืนที่อาหารและช่องว่าง
รอบ ๆ อุปกรณ์ติดต้ังที่เจาะทะลุ (เช่น ท่อหรือท่อลอดผ่านกำแพงหรือดาดฟ้า) โดยต้องติดตั้งท่ีกันหนู ชั้น
ฉนวนที่พันรอบๆ ท่อ ซง่ึ บางกวา่ 1.25 ซม. จะตอ้ งปอ้ งกันมวี สั ดุป้องกนั หนแู ทะ


วัสดุท่ีใช้กั้นหนูควรจะแข็งแรงและทนต่อความเสียหาย เช่น แผ่นโลหะหรือโลหะผสมเพื่อให้มีความแข็งแรง
และผา้ ตาข่ายลวด


ลวดโลหะหรือแผ่นเหล็กต้องมีความแข็งแรงเพียงพอและทนต่อการกัดกร่อน เช่น หากใช้อลูมิเนียมควรมีความ
หนา ตามขนาดวัดของ Brown&Sharp ซึ่งควรมากกว่าความหนาท่ีระบุโดยมาตรฐานวัดขนาดของมาตรฐาน
สหรัฐอเมริกาสำหรับเหล็กแผ่น เน่ืองจากอลูมิเนียมไม่แข็งแรงเท่าท่ีควร ตัวอย่างเช่น แผ่นอลูมิเนียมเบอร์ 16
(Brown & Sharp) จะใช้แทนแผ่นเหล็กเบอร์ 18 (มาตรฐานสหรัฐอเมริกา) สำหรับขนาดของผ้าลวดตาข่าย

จะใช้มาตรวัดขนาดของ Washburn & Moen


วสั ดุท่ีไม่ใชป้ อ้ งกนั หนูทีย่ อมให้ใชใ้ นบรเิ วณปอ้ งกนั หนไู ด้ โดยมีวสั ดุหุ้มบรเิ วณขอบหรอื สว่ นท่จี ะถกู แทะ วสั ดุไม้
และแรใ่ ยหินเปน็ ที่ยอมรบั ภายใตเ้ ง่อื นไขดังตอ่ ไปนี ้

l ไมจ้ ะตอ้ งแหง้ หรอื ผ่านการอบน้ำยาและไมม่ ีรอยแตก รอยแยกและเป็นรู
บทท่ี 7

l แผ่นและผนังท่ีมีส่วนประกอบอนินทรีย์ต้องมีความแข็งแรงและแข็งมีผิวเรียบ และทนต่อการกัดแทะ
ของหนู บญั ชีวสั ดุทไี่ ม่ใชว้ ัสดุปอ้ งกันหนูจะถกู รวบรวมใน nation health admiration หากมีวัสดุใหมท่ ่ไี ม่
พบในบัญชจี ะต้องขอ nation health admiration พิจารณาอนมุ ตั กิ ่อน

l แผน่ และผนงั ทีม่ ีสว่ นประกอบพิเศษท่ไี ดร้ บั รองตามข้างต้นจะตอ้ งเคลอื บปิดดว้ ยโลหะหรือใช้วัสดุที่แข็ง
แรงหุ้มด้านและผนังดังกล่าว วสั ดตุ า่ งๆ ในกลมุ่ น้ี จะตอ้ งผ่านการรับรองจาก nation health admiration
เพอ่ื ขน้ึ บญั ชีในวัสดทุ ่ีไมป่ อ้ งกนั หนทู ี่ยอมให้ใช้


ซีเมนต์ ผงขัดมัน (putty) สารอุดหรือยาพลาสติก ตะก่ัวและวัสดุอ่อนนุ่มอ่ืนๆ หรือที่แตกหักง่ายจะไม่ใช้เป็น
วัสดุปิดรูขนาดเล็กแทนวัสดุกั้นหนู วัสดุที่แห้งและแข็งตัวเร็วจะใช้ปิดรูรอบๆ สายไฟในปลอกหุ้มโดยต้องได้รับ
การอนุมัติจากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเรือ แผ่นใย ไม้อัดและแผ่นยิปซัมโดยท่ัวไปจะไม่ใช้เป็นวัสดุทำที่ก้ันหนู หาก
จะใช้ health admiration ทเี่ ก่ียวข้องควรเป็นผูพ้ ิจารณาอนมุ ัต


คู่มือสุขาภิบาลเรือ 151

Guide to ship sanitation


ส่วนหุ้มที่ไม่กันหนูไม่จำเป็นต้องติดที่กันหนู ถ้ามีแผ่นเหล็กปิดอยู่ห่างไม่เกิน 2 เซนติเมตร หรือเม่ือปิดอยู่กับ
วสั ดกุ นั หนูบนฉนวน ส่วนต่อทับซอ้ นกนั ไมจ่ ำเป็นตอ้ งหมุ้


ส่วนหมุ้ กันหนูทีม่ ีประสทิ ธภิ าพจะต้องมีความยาวที่เหมาะสมกบั เรือ ตอ้ งสามารถทนตอ่ แรงลมและควรติดตั้งให้
พอดีกับเชือกพวน (hawsers) ทเี่ ชอ่ื มต่อเรือไปทฝี่ ่งั


2. การวางกับดกั

ผู้จัดการเรือต้องมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบ โดยทำหน้าท่ีจัดทำแผนควบคุมพาหะนำโรค กับดักจะต้องวางหลัง
จากออกจากท่าเทียบเรือ ซงึ่ หนสู ามารถขึ้นเรือได้โดยตรงผ่านท่าเรอื หรอื สนิ คา้ หรือเสบยี ง ถ้ากับดักทกุ จดุ ไม่มี
หนูมาตดิ หลงั จากนนั้ 2 วนั สามารถนำออกได้ ถ้าพบหนตู ิดกับกับดัก กักดบั ทุกอนั จะตอ้ งถูกตดิ ต้งั จนกว่าจะ
ไม่พบหนูติดกับดักอีก ควรทำการบันทึกตำแหน่งกับดักท่ีหนูติด วันท่ี ลงในสมุดบันทึกของเรือ และทำสำเนา
แจกให้แกผ่ ู้ตรวจการด้านสุขาภบิ าลเรอื


3. การวางเหยื่อพิษ

สารเคมีฆ่าหนูโดยส่วนมากจะมีความเป็นพิษสูงและเป็นอันตรายต่อมนุษย์ หากใช้จะต้องปฏิบัติตามคำแนะนำ
อย่างระมัดระวัง บรรจุภัณฑ์จะต้องทำสัญลักษณ์ “สารมีพิษ” และเก็บให้ห่างจากพ้ืนที่เตรียมและเก็บอาหาร
โดยควรทำเป็นสีท่ีชัดเจน เพื่อป้องกันการใช้ในการเตรียมอาหารโดยไม่ได้ต้ังใจ ท้ังนี้ ควรจะต้องตรวจสอบการ
วางเหยือ่ พษิ อย่างถกู ต้องและสังเกตวา่ เหยอื่ พิษถูกหนกู นิ ไปหรอื ไม่


4. การตรวจสอบ

ส่ิงบ่งชี้ว่ามีหนูสามารถตรวจสอบได้จากมูลหนู รอยกัดแทะและคราบมัน การตรวจสอบปกติของเรือเพ่ือค้นหา
ส่ิงบ่งชี้ดังกล่าวจะแสดงให้เห็นว่าหนูสามารถเข้าถึงเรือได้หรือไม่ การตรวจสอบควรเน้นในพ้ืนท่ีที่จัดเก็บอาหาร
พื้นทเี่ ตรยี มอาหาร สถานทเี่ กบ็ และกำจดั ขยะรวมท้งั สินคา้ ขณะเทียบท่า


บทท่ี 7 การกั้นหนูทั้งหมดจะต้องมีสภาพที่ดี มีการตรวจสอบและบำรุงรักษาสม่ำเสมอ หากพบหนูจะต้องได้รับการ
จัดการทันที โดยไม่ส่งผลเสียหายต่อความปลอดภัยหรือสภาพของอาหาร การกำจัดหนูด้วยการใช้สารทางเคมี
วิธีการทางกายภาพหรือทางชีวภาพจะต้องดำเนินการโดยยึดหลักอาหารปลอดภัยและเหมาะสมตามหลัก
สุขาภิบาลอาหาร


5. สขุ อนามัย

หนูเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่ออาหาร บริเวณท่ีมีอาหารสามารถเป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแหล่งอาหารของหนู
การปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดีช่วยหลีกเล่ียงการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อหนู การสุขาภิบาลท่ีดี
การตรวจสอบของวัสดุท่ีเข้ามาและการติดตามสม่ำเสมอจะลดโอกาสของการบุกรุกของหนูและ จำกัดปริมาณ
สารเคมกี ำจดั หนทู ี่ต้องการใช








152 คู่มือสขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


บทที่ 8


การควบคุมโรคติดตอ่

ในสง่ิ แวดลอ้ ม


8. การควบคุมโรคติดตอ่ ในส่ิงแวดลอ้ ม





8.1 ความเป็นมา


ในบทนจ้ี ะกล่าวถงึ การจัดการกับเช้อื แฝงตวั เร้ือรังทที่ ำให้เกิดโรคบนเรือ


8.1.1 ความเสยี่ งทางสุขภาพเนอ่ื งมาจากเชอื้ แฝงตวั เรอื้ รงั ทท่ี ำใหเ้ กิดโรคบนเรือ


มีการระบาดของโรคอย่างฉับพลันหลายครั้งบนเรือ เน่ืองมาจากเช้ือก่อโรคที่แพร่ติดต่อกันได้ ไม่ว่าจะเป็น
อาการป่วยเฉียบพลันเก่ียวกับระบบทางเดินอาหาร (AGI) เช่น การติดเชื้อท้องเสียโนโรไวรัส (e.g.United
States Centers for Disease Control and Prevention, 2002) และอาการปว่ ยเฉยี บพลนั เกย่ี วกับระบบ
ทางเดนิ หายใจ (ARI) เช่น ไขห้ วัดใหญ่ (e.g.Brotherton et al., 2003) ยกตัวอย่างในปี 2002 ศูนยค์ วบคมุ
และป้องกันโรคของสหรัฐอเมริกาตรวจพบการระบาด จำนวน 21 ครั้ง บนเรือที่เดินทางมาถึงท่าเรือต่างๆ ใน
สหรัฐอเมรกิ า (กรณนี ี้ถกู ระบุไวว้ ่า สาเหตอุ าการปว่ ยของประชากรจำนวนน้อยกว่าร้อยละ 3 บนเรืออาจมาจาก
การติดเช้ือท้องเสียโนโรไวรัส (Norovirus) (United States Centers for Disease Control and
Prevention, 2002) โดยทั่วไปแล้ว โรคต่างๆ ท่ีเกิดจากเชื้อท่ีแพร่ติดต่อกันได้น้ัน มีที่มาจากการติดเชื้อของ
ระบบทางเดินอาหาร (ทางเดินอาหาร ลำไส้ และกระเพาะอาหาร) ซ่ึงทำให้เกิดอาการป่วยกะทันหัน อาทิเช่น
คลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย การติดเช้ือของระบบทางเดินหายใจก็สามารถเกิดขึ้นได้ และทำให้เกิดอาการไข้
ปวดเมอื่ ยกล้ามเนือ้ ไม่มแี รง เจ็บคอ หนาวสน่ั และไอ เปน็ ตน้ ถึงแมว้ า่ โรคเหล่านมี้ ักจะหายได้เองหรอื ไม่แสดง
อาการ แต่ก็สามารถทำให้เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะเม่ือเกิดกับกลุ่มคนที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น ในสภาพแวดล้อมที่จำกัด
บนเรอื โรคเหล่านี้สามารถแพรก่ ระจายไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และสง่ ผลตอ่ ประชากรจำนวนมากบนเรอื โรคเหลา่ นี้เอง
ก็พบได้บอ่ ยบนบก ทำใหย้ ากต่อการหลีกเลย่ี งทจี่ ะไมใ่ ห้มีผู้ปว่ ยเดินทางข้ึนมาบนเรือดว้ ย


ประเด็นหลักของบทน้ี คือ เช้ือที่ทำให้เกิดโรคซ่ึงแฝงตัวอยู่ในอากาศ น้ำ สิ่งที่อาเจียนออกมา เสมหะ และบน

พื้นผิวของสิ่งต่างๆ ได้เป็นเวลานานพอท่ีจะทำการแพร่เช้ือทางอ้อมจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่นได้อย่าง บทท่ี 8

งา่ ยดาย และนำไปสกู่ ารระบาดของโรค


เช้อื โรคหลายชนิด ได้แก่ โปรโตซัว แบคทีเรีย และไวรสั ตา่ งๆ ถกู แพรก่ ระจายออกไปผา่ นทางพื้นผิวของส่ิงของ
ต่างๆ หรือแม้กระทั่งในอากาศ อย่างไรก็ตาม การระบาดของโรคบนเรือจะมีนัยสำคัญและสามารถตรวจสอบ
พบ ไดน้ ั้น เช้อื โรคต้องมรี ะดบั การแพร่เชอ้ื ท่ีสงู มาก และดำเนินระยะฟกั ตวั ให้เสร็จสมบรู ณไ์ ดอ้ ย่างรวดเรว็ ก่อน
จะเริ่มเพ่ิมจำนวนเชื้อในสิ่งมีชีวิตท่ีรับเชื้อเข้าไป ดังน้ัน เช้ือต่างๆ ซ่ึงแฝงตัวได้ยาวนานในส่ิงแวดล้อมและก่อให้
เกิดการระบาดของอาการป่วยท่ีเก่ียวกับระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจบนเรือน้ัน จึงถือได้ว่าเป็นเชื้อ
ไวรสั ขณะที่ความร้เู ก่ยี วกับเชื้อไวรสั เหลา่ นี้และการจัดหมวดหมู่ให้กบั พวกมันกำลังเพ่มิ ข้นึ เป็นอยา่ งมาก ปัจจัย

คมู่ ือสขุ าภิบาลเรือ 155

Guide to ship sanitation


ความเส่ียงและมาตรการควบคุมต่างๆ ที่นำไปใช้บนเรือนั้น โดยรวมแล้วยังไม่แตกต่างจากเดิม กล่าวคือไม่ได้
คำนงึ ถงึ ประเภทของเช้อื ทกี่ ่อให้เกิดโรค


ยกตัวอย่างเช่น เมื่อผู้ป่วยปล่อยเช้ือท่ีก่อให้เกิดโรคออกมาผ่านทางอุจจาระหรืออาเจียน หลังจากมีการเช็ดก้น
เปล่ียนผา้ ออ้ ม หรือทำความสะอาดสิ่งท่ีเปื้อนอจุ จาระหรืออาเจียนแล้ว ถา้ ผู้ปว่ ยหรือผทู้ ี่ดแู ลผปู้ ่วยไมล่ า้ งมอื ให้
สะอาดท่ัวทกุ ซอกทกุ มมุ อุจจาระหรอื อาเจยี นซง่ึ ปนเป้อื นเชือ้ โรคกอ็ าจเหลอื ค้างอย่บู นมอื ของพวกเขา และอาจ
ไปตดิ อยตู่ ามพนื้ ผวิ ของวตั ถตุ า่ งๆ หรอื ในอาหารและนำ้ ทพ่ี วกเขาสมั ผสั บนเรอื เมอื่ บคุ คลอนื่ สมั ผสั สง่ิ ของเหลา่ นนั้
หรือบริโภคอาหารและน้ำดังกล่าว บุคคลน้ันอาจรับเอาเชื้อโรคซ่ึงสามารถเข้าสู่ร่างกายเมื่อมีการนำนิ้วเข้าปาก
หรอื ผา่ นทางอาหารและน้ำทีถ่ ูกปนเปอ้ื น


เชือ้ ที่ก่อให้เกดิ โรคยังสามารถแพรก่ ระจายผ่านทางอากาศ เชน่ การไอและจาม ซง่ึ เป็นการนำเอาเชื้อโรคออกมา
จากระบบทางเดินหายใจ


การแพร่เชื้อโรคโดยมีน้ำและอาหารเป็นสื่อก็อาจเกิดข้ึนได้เช่นเดียวกัน หัวข้อน้ีจะถูกพูดถึงในบทท่ี 2 และ 3
ตามลำดบั โดยมกี ารอภิปรายเปน็ พิเศษถึงความเสยี่ งจากเช้ือลีจโิ อเนลลา (Legionella spp.)


ในบทน้ีจะกล่าวถึงเช้ือโรคสองประเภทด้วยกัน ได้แก่ เช้ือโรคท่ีก่อให้เกิดอาการป่วยเฉียบพลันเก่ียวกับระบบ
ทางเดนิ อาหาร (AGI) ซ่ึงตามปกติแล้วจะแพร่กระจายผ่านพื้นผิวของวัตถตุ า่ งๆ เช่น มือจบั ประตู และเชอ้ื โรคที่
ก่อใหเ้ กดิ อาการปว่ ยเฉยี บพลนั เก่ยี วกบั ระบบทางเดนิ หายใจ (ARI) ซึง่ สว่ นใหญ่แล้วจะติดตอ่ กนั ทางอากาศ


อาการปว่ ยฉบั พลนั ของระบบทางเดินอาหาร

โดยปกติแล้ว เชื้อแฝงตัวเร้ือรังท่ีทำให้เกิดอาการป่วยฉับพลันของระบบทางเดินอาหารน้ันคือเช้ือไวรัสในวงศ์

คาลิซไิ วรัส (Calicivirus) แอสโทรไวรัส (Astrovirus) และรโี อไวรัส (Reovirus) เช้อื ไวรัสเหลา่ น้มี ักจะทำให้เกดิ
อาการท้องเสียและท้องร่วง โดยที่วงศ์คาลิซิไวรัสนั้นประกอบด้วยไวรัสสกุลโนโรไวรัส (Norovirus หรือที่เป็น
รู้จักในชื่อเดิมว่า Norwalk-like virus และ small round structured virus) ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดการ

บทที่ 8 ระบาดของโรคบนเรือมากที่สุด


ในที่น้ี โนโรไวรัสจะถือว่าเป็นตัวแทนของสาเหตุอาการป่วยฉับพลันของระบบทางเดินอาหาร (AGI) ขณะที่เช้ือ
อินฟลเู อนซาไวรัส (Influenza viruses) จะเปน็ ตัวแทนของสาเหตุอาการป่วยฉบั พลันของระบบทางเดนิ หายใจ
เน่ืองจากความคล้ายคลึงของลักษณะอาการป่วยและมาตรการควบคุม รวมไปถึงตัวอย่างปัจจัยความเสี่ยงและ
มาตรการควบคุมสำหรับนำไปใช้บนเรือ เมื่อเปรียบเทียบไวรัสท้ังสองประเภท โนโรไวรัสจะมีความรุนแรงของ
การแพร่เชื้อมากกว่า ต้านทานการฆา่ เชอ้ื โรคได้มากกวา่ และควบคุมไดย้ ากกวา่ ซง่ึ ในบทน้ี ความสนใจจะอยทู่ ่ี
โนโรไวรัสเป็นหลัก การควบคุมต่างๆ ในพ้ืนท่ีเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของโนโรไวรัสบนเรือจะช่วยลดการ
แพร่กระจายของเชอ้ื โรคอืน่ ๆท่อี อ่ นแอกวา่ ในบรรดาเช้ือแฝงตัวเร้ือรงั ท่ีทำให้เกดิ อาการป่วยได้ในคราวเดยี วกนั


156 ค่มู ือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


โนโรไวรัสนับว่าเป็นสาเหตุหลักของการระบาดของโรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบในผู้ใหญ่ทั่วโลก และ
เป็นอันดับสองรองจากโรตาไวรัส เมื่อพิจารณาสาเหตุทั้งหมดของโรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ การ
พฒั นาใหมๆ่ ในการวนิ จิ ฉยั โรคและการเฝา้ ระวงั โรคจะสามารถเปดิ เผยใหเ้ หน็ ถงึ การระบาดของโรคบนเรอื มากขนึ้
นอกจากนี้ นกั ทอ่ งเทย่ี วจากหลากหลายประเทศทวั่ โลกกอ็ าจมอี กี บทบาทหนงึ่ ทเ่ี ปน็ ไปไดก้ ็ คอื การเปน็ พาหะนำโรค
เน่ืองจากมีการตรวจพบความคลา้ ยคลงึ ของสายพนั ธข์ุ องโรคทเี่ กิดการระบาดข้ึนทัว่ โลก (White et al., 2002)


โนโรไวรสั สามารถแพรถ่ งึ กันไดผ้ ่านละอองจากการอาเจียน ซ่งึ เปน็ การแพรเ่ ชอ้ื ผา่ นทางอากาศ (Marks et al.,
2000) และผ่านการรับเอาอาเจียนหรืออุจจาระท่ีปนเปื้อนเช้ือโรคเข้าสู่ร่างกาย (ทั้งทางตรงและทางอ้อมผ่าน
พ้ืนผิวของส่ิงต่างๆ) พื้นผิวของวัตถุต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมสามารถถูกปนเป้ือนได้ตลอดเวลา และจะอยู่ในสภาพ
ปนเป้อื นนานเปน็ ระยะเวลาหน่งึ (Cheesbrough et al., 2000)


การแพร่ระบาดของโรคบนเรือสามารถดำเนินไปได้อย่างรวดเร็วทั้งลำ เพราะโนโรไวรัสมีระยะฟักตัวอยู่ท่ี
เพียง 12-48 ชั่วโมง และอัตราของผู้ที่ได้รับเช้ือและเกิดอาการป่วยมักจะสูง (บ่อยครั้งเกินร้อยละ 50) ในทุก
กลุ่มอายุ (United States Centers for Disease Control and Prevention, 2002) อาการของผู้ป่วยมัก
จะเร่ิมด้วยการอาเจียนแบบกะทันหัน หรือท้องเสีย บางรายอาจเป็นทั้งสองอย่าง อาจจะมีอาการไข้ ปวด
เม่ือยกล้ามเน้ือ ปวดท้องอย่างรุนแรง และอ่อนเพลียร่วมด้วย โดยส่วนใหญ่แล้วจะหายได้เองภายใน 12-60
ช่ัวโมง แทบไม่มีโอกาสที่จะป่วยหนักมากหรืออันตรายถึงแก่ชีวิต โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าได้รับการรักษาด้วย
การให้สารน้ำทางปาก


เนอ่ื งจากเชอ้ื ท่ีทำใหเ้ กิดโรคสามารถแฝงตัวอยูใ่ นส่ิงแวดล้อมได้นาน การระบาดของโรคอาจจะดำเนินต่อไปและ
สง่ ผลตอ่ ผู้โดยสารและลูกเรอื ต่อเนื่องหลายเท่ยี วเรอื ตดิ ตอ่ กัน เนอื่ งจากมีลกู เรือและผู้โดยสารกลมุ่ ใหม่ขึน้ มาบน
เรอื อยเู่ ป็นประจำ การทำความสะอาดเพื่อกำจดั เชอ้ื โรคหลังจากการระบาดของโรคจึงมคี วามสำคญั เป็นอย่างย่ิง


อัตราการแพร่ของเช้ือโนโรไวรัสเคยถูกพบสูงสุดอยู่ท่ี 106 วิริออน (virions) ต่ออุจจาระจำนวนหนึ่งกรัม ก่อน

จะลดลงไปอยู่ที่ 1,000 วิริออนต่ออุจจาระจำนวนหน่ึงกรัมในสามสัปดาห์ หลังจากผู้ป่วยประมาณร้อยละ 50 บทท่ี 8
หายจากโรค ทวา่ เชือ้ ยังถกู ตรวจพบไดถ้ ึง 7 สปั ดาห์หลงั จากอัตราการแพรเ่ ชือ้ อยู่ท่จี ดุ สงู สดุ (Tu et al., 2008)

ดังน้ัน ถึงแม้ว่าเรือจะถูกทำการฆ่าเชื้อโรคแล้ว การแพร่เช้ือโรคอาจยังเกิดขึ้นได้ผ่านเช้ือโรคที่ยังอยู่ในตัวผู้ป่วย

อีกหน่ึงสิ่งท่ีสำคัญจากช่วงเวลาของการแพร่เชื้อท่ียาวนานและมักจะไม่มีอาการแสดงออกมาให้เห็นก็คือ การที่

ผโู้ ดยสารและลกู เรอื บางคนมีแนวโน้มท่ีจะนำเชอ้ื กอ่ โรคซึง่ แฝงตวั ได้นานขึ้นมาบนเรือดว้ ย โดยไม่คำนึงวา่ ลกู เรือ

คนอ่ืนปฏิบัติอย่างไร ถึงแม้จะไม่มีการตรวจพบการระบาดของโรค แตค่ วรมีการสนั นิษฐานไว้เสมอวา่ บนเรอื นน้ั

มีผู้ป่วยซ่ึงไม่มีอาการป่วยอยู่ด้วย และควรมีการปฏิบัติตามข้อระมัดระวังเกี่ยวกับการแพร่เช้ืออย่างต่อเนื่อง

ไมใ่ ชเ่ พียงหลังจากที่การระบาดของโรคส่งผลตอ่ ผู้คนบนเรอื


คู่มอื สุขาภบิ าลเรอื 157

Guide to ship sanitation


อาการปว่ ยฉบั พลันของระบบทางเดินหายใจ

เชื้อแฝงตวั เร้อื รังที่ทำให้เกิดอาการป่วยฉับพลันของระบบทางเดนิ หายใจส่วนใหญน่ น้ั คือ เชื้อไวรัส ในวงศ์ ไรโน
ไวรัส (Rhinovirus) อะดีโนไวรัส (Adenovirus) อินฟลูเอนซาไวรัส (Influenza viruses) และโคโรนาไวรัส
(Coronavirus) เชอ้ื ไวรสั เหลา่ นม้ี กั จะทำใหเ้ กดิ อาการหนาวสนั่ และไอ ในบางรายอาการอาจจะหนกั ขน้ึ เชน่ มไี ข้
อนิ ฟลูเอนซาไวรสั เป็นสาเหตขุ องอาการป่วยทีร่ นุ แรงมากทีส่ ดุ ในบรรดาสาเหตขุ องการระบาดของโรคท ่ี ตรวจ
พบ อินฟลูเอนซาไวรัสถือว่าเป็นปัญหาปกติท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองบนเรือ เน่ืองจากความยากลำบากในการ
ควบคุมการแพร่กระจายของเช้ือ แม้กระทั่งในกลุ่มประชากรที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคมาส่วนหน่ึงแล้วก็ตาม
(Brotherton et al., 2000)


กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) (WHO, 2004) ถูกต้ังข้อสังเกตว่าเป็นโรคท่ีอาจจะถูกแพร่
กระจายโดยนกั ท่องเที่ยว โรคนซ้ี ึง่ เกดิ จากโคโรนาไวรสั ส่งผลให้เกดิ อาการทแี่ ตกต่างจากเหล่าไวรัสท่เี ปน็ สาเหตุ
ของโรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบตามท่ีกล่าวไว้ด้านบน โดยโรคน้ีจะเก่ียวข้องกับอาการป่วยของระบบ
ทางเดินหายใจ และมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าในช่วงแรกผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายเป็นไข้
หวัดใหญ่ อาการแทรกซอ้ นท่เี กิดตามมาได้คอื ปอดอกั เสบรนุ แรง และระบบทางเดินหายใจล้มเหลว ซึง่ เปน็
อันตรายถงึ ชวี ติ ความเสี่ยงของการแพร่เชอ้ื ของโรค SARS จากคนหนง่ึ ไปสอู่ กี คนหนึง่ ดเู หมอื นว่าลดลงได้ด้วย
การใชม้ าตรการควบคมุ ประเภทเดยี วกนั ทใี่ ชก้ บั โนโรไวรสั อนิ ฟลเู อนซาไวรสั และเชอื้ อนื่ ๆ ทมี่ คี วามใกลเ้ คยี งกนั


ตามที่ระบุไว้ในมาตราท่ี 37 ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR) ปี 2548 เรือที่เข้าเทียบท่าจะต้องรายงาน

ต่อเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสุขภาพบนเรือในระหว่างการล่องเรือ รวมถึงภาวะอนามัยของ
ผู้โดยสารและลูกเรือ ด้วยเหตุนี้ผู้ควบคุมยานพาหนะจะต้องกรอกเอกสารสำแดงสุขอนามัยของการเดินทาง
โดยพาหนะทางน้ำ และถ้ามีศัลยแพทย์ประจำเรือ ก็ให้ลงชื่อกำกับด้วย ก่อนจะส่งเอกสารไปให้เจ้าหน้าที่
สาธารณสุขหลงั จากเดนิ ทางถงึ ทา่ เรือแลว้


8.2 แนวทางการปฏิบัติ


บทท่ี 8 ในส่วนน้ีจะเสนอข้อมูลและคำแนะนำสำหรับผู้ใช้ ซึ่งจะมีการระบุหน้าที่ความรับผิดชอบต่างๆ และยกตัวอย่าง

ข้อควรปฏิบัติเพื่อการควบคุมความเสี่ยง จะมีการเสนอแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งแบ่งเป็น 3 หัวข้อ (ตาม
สถานการณ์ ที่มุ่งหวังและที่จะให้รักษาไว้คงเดิม) โดยแต่ละหัวข้อจะประกอบด้วยชุดตัวช้ีวัด (indicators) (ใช้
วดั ว่าบรรลุตามแนวทางการปฏิบตั หิ รอื ไม)่ และคำแนะนำเพิ่มเติม (guidance notes) (แนะนำการใช้แนวทาง
การปฏิบัติ และตัวชว้ี ัด และเน้นเกณฑท์ ่สี ำคญั ทีส่ ดุ ซ่ึงจำเปน็ ตอ้ งถูกพจิ ารณาเมอื่ มกี ารจัดลำดบั ความสำคัญใน
การลงมือปฏบิ ัติ)


158 ค่มู ือสุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


ปัจจัยความเสี่ยงในการเกิดการติดเช้ือจากเชื้อก่อโรคที่แพร่ติดต่อกันได้น้ัน โดยมากจะพบในกลุ่มบุคคลที่มี
ความใกลช้ ิดกับผูป้ ่วย (ยึดตาม de Wit, Koopmans & van Duynhoven, 2003) ประกอบไปดว้ ย

l มีผูป้ ่วยในครอบครวั หรือในกล่มุ

l มีการสมั ผสั กับผปู้ ว่ ย

l มสี ขุ ลกั ษณะอาหารและน้ำทีไ่ ม่ด

l มีการสมั ผัสทง้ั อุจจาระและอาเจียนซง่ึ สามารถแพรเ่ ชอ้ื ได้มากเท่าๆ กัน

l มีความใกล้ชิดกับผู้ปว่ ยทไี่ อหรอื จาม


ระดับนยั สำคัญของการสมั ผัสกบั ผูท้ ปี่ ่วยเพม่ิ ขึน้ เมอ่ื ผปู้ ่วยเปน็ เดก็ เลก็


ด้วยเหตุผลหลายประการ สภาพแวดล้อมบนเรือถือว่ามีความเส่ียงสูงมากต่อการระบาดของโรคในวงกว้าง

การระบาดของโรคบนบกหลายต่อหลายครั้งเกดิ จากสถานการณ์ ณ ชว่ งเวลาหนึ่งทห่ี ลายๆ คน มคี วามใกล้ชดิ
กับผู้ซ่ึงป่วย อย่างเช่น งานปาร์ตี้ ร้านอาหาร โรงเรียน และหอพัก สถานการณ์ท่ีมีความเสี่ยงสูงเหล่านี้
สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งหมดบนเรือ โดยมากห้องพักสำหรับผู้โดยสารบนเรือทำให้ผู้คนต้องอยู่ด้วยกันอย่างใกล้ชิด
บ่อยครั้ง คอื กลุม่ เดก็ ๆ แตบ่ างครงั้ ก็อาจจะมพี ืน้ ทใี่ หเ้ ด็กอยูแ่ ยกออกไปไดม้ ากกว่าผใู้ หญ


ในบทก่อนๆ หน้าของคู่มือนี้ ได้ให้ความสำคัญกับการป้องกันแหล่งที่มาของเช้ือมากกว่ากลยุทธ์การควบคุม

อยา่ งไรก็ตาม เหล่าเช้อื แฝงตวั เรอ้ื รงั ท่ที ำให้เกิดโรคนนั้ มีอยู่มากมายในกลมุ่ ประชากร ซึง่ บ่อยครงั้ ท่อี าการปว่ ย

ไม่ได้แสดงออกมาให้เห็น และในความเป็นจริงก็เป็นไปไม่ได้ที่จะพยายามไม่ให้มีผู้ท่ีป่วยติดเชื้อข้ึนมาบนเรือ


สิ่งท่ีควรให้ความสำคัญในกลยุทธ์การควบคุมเชื้อแฝงตัวเรื้อรังที่ก่อให้เกิดโรคคือ การปฏิบัติตามข้อระมัดระวัง

เกีย่ วกบั การแพรเ่ ชือ้ ทีเ่ หมาะสมอย่ตู ลอดเวลา เพ่ือปอ้ งกันการแพร่กระจายของเชอ้ื ขอ้ สันนษิ ฐานทวี่ ่าไมว่ า่ ใคร

ก็อาจป่วยอยู่นั้นให้ถือว่าเป็นจริงเสมอ แต่ให้สังเกตว่าคนท่ีอาการแสดงออกมาน้ันจะแพร่เชื้อได้มากกว่าคนที่

ไม่มีอาการแสดงออกมา และการปฏิบัติตามข้อระมัดระวังเก่ียวกับการแพร่เช้ือท่ีเข้มงวดมากขึ้นกว่าปกติน้ัน มี

ประโยชน์ต่อคนที่อาจป่วยเหล่าน้ัน และต่อการหาทางลดความเป็นไปได้ของผู้ป่วยที่จะแพร่เชื้อสู่คนอื่นบนเรือ

การระบาดของโรคที่ยืดเย้ือยาวนานออกไปอาจเกิดข้ึนเน่ืองจากการควบคุมเส้นทางการแพร่เช้ือบนเรือมีไม่มาก บทท่ี 8
หรอื ไม่ดพี อ


ความเชื่อมั่นในการใช้กลยุทธ์ควบคุมใดเพียงกลยุทธ์เดียวน้ันถือว่าไม่ควร และควรใช้มาตรการการป้องกันการ
แพรเ่ ชอื้ ที่หลากหลาย











คู่มอื สขุ าภิบาลเรือ 159

Guide to ship sanitation


8.2.1 แนวทางการปฏบิ ตั ิ 8.1 ชอ่ งทางการแพร่เช้ือบนเรือ


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 8.1 ทำใหช้ อ่ งทางการแพรเ่ ชอื้ บนเรอื นัน้ น้อยทส่ี ุด


ตัวชี้วดั สำหรบั แนวทางการปฏิบัติ 8.1

1. มกี ารส่งเสรมิ การมสี ุขลักษณะส่วนบุคคลทดี่ ีบนเรอื โดยมลี ูกเรือและทมี งานเปน็ ผู้กำหนด

2. มกี ารปฏบิ ัตติ ามหลกั สุขาภิบาลอาหารและนำ้ อยา่ งเข้มงวด

3. มีการดำเนินตามขอ้ ปฏิบตั ิที่เขม้ งวดในการทำความสะอาดและการกำจดั ของเสยี บนเรอื


ข้อแนะนำสำหรับแนวทางการปฏิบตั ิ 8.1

1. สุขลกั ษณะสว่ นบุคคล

การส่งเสริมและการสร้างสุขลักษณะส่วนบุคคลท่ีดีบนเรือ สามารถลดการแพร่กระจายของเชื้อแฝงตัวเร้ือรังที่
ทำให้เกดิ อาการปว่ ยไดเ้ ปน็ อย่างมาก ตัวอยา่ งของกจิ กรรมท่ีควรมกี ารส่งเสริม ไดแ้ ก


l การจัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์สำหรับการล้างมือและขจัดเชื้อโรคให้เพียงพอและพร้อมต่อการใช้งาน
ตามภัตตาคาร ห้องน้ำ ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก ศูนย์สุขภาพ และจุดทางเข้าต่างๆ โดยจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่
มองเห็นไดช้ ัด พร้อมทงั้ มปี ้ายบอกตำแหนง่


l การจัดเตรียมอุปกรณ์และสถานท่ีสำหรับการล้างมือ การทำให้มือแห้ง และการฆ่าเชื้อแบบท่ีไม่ต้องใช้มือ
สัมผัส (อาทิเช่น ระบบส่งน้ำ สบู่ และเจลล้างมือฆ่าเชื้อโรค ที่ผู้ใช้ไม่ต้องใช้มือกดสัมผัสส่วนอุปกรณ์ใด

เพ่อื ใชง้ าน)


l หลีกเลีย่ งการนำนิ้วเขา้ ไปในปาก หรอื เขา้ ใกลป้ าก ถ้าไมไ่ ด้มีการล้างมือก่อน

l หลีกเลย่ี งการวางทง้ิ สงิ่ ของทอี่ าจถกู นำเข้าไปในปากมากอ่ นหน้าน้

l การจดั เตรยี มคำแนะนำวิธกี ารลา้ งมอื และกำจดั เชื้อโรคทถี่ ูกต้อง

l การใชก้ ระดาษทิชชูปิดปากและจมูกเมื่อไอหรอื จาม และท้งิ เมอื่ ใช้เสร็จ


บทท่ี 8 2. สขุ ลักษณะอาหารและนำ้


การสง่ เสรมิ และปฏบิ ตั ติ ามหลกั สขุ ลกั ษณะอาหารและนำ้ บนเรอื สามารถลดการแพรก่ ระจายของเชอื้ แฝงตวั เรอื้ รงั
ทท่ี ำใหเ้ กดิ อาการปว่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก ตวั อยา่ งของกจิ กรรมทค่ี วรมกี ารสง่ เสรมิ ประกอบไปดว้ ย

l การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สุขลกั ษณะอย่างเข้มงวดในการจัดการอาหารและน้ำ ตามท่อี ธบิ ายไว้ในบทที่ 2 และ 3

ของคูม่ ือเลม่ น้ี

l การออกแบบให้อุปกรณ์แบบบริการตนเองแพร่เช้ือที่ก่อโรคให้ได้น้อยที่สุด และจัดคนดูแลอุปกรณ์เหล่าน้ี

อย่างใกล้ชดิ เพือ่ ไม่ใหม้ เี ด็กมาใช้งาน รวมถึงพจิ ารณาการเลิกใชอ้ ุปกรณ์สำหรับการรบั ประทานอาหารแบบ
การบรกิ ารตนเองในชว่ งทม่ี ีการระบาดใหญข่ องโรค


160 คู่มอื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


l การจำกัดความจำเป็นท่ีต้องสัมผัสกับผู้อื่นแบบทางอ้อม เช่น การใช้ภาชนะใส่เคร่ืองด่ืม และอุปกรณ์บน
โตะ๊ อาหารรว่ มกันกับผอู้ นื่


l การจัดเตรียมอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารแยกไว้สำหรับใช้ส่วนกลาง ในกรณีท่ีมีอาหารจานที่ต้องแบ่งกัน

รับประทาน เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีใครตักหรือหยิบอาหารด้วยมือ หรือด้วยช้อนหรือส้อมที่ถูกนำเข้า

ปากไปแล้ว


l การจัดเตรียมอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารและที่นั่งท่ีเหมาะสมเพื่อทำให้การส่งต่อหรือหยิบจับอาหารเกิดขึ้น
น้อยที่สุดขณะรบั ประทานอาหาร และบริการอาหารท่ตี ้องมกี ารหยบิ จบั ให้นอ้ ยท่ีสดุ


l ถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยงการหยิบจับอาหารเพื่อจะรับประทานได้ ควรมีการจัดเตรียมเจลล้างมือฆ่าเชื้อโรค
ไว้ให้ด้วย


3. หลักเกณฑข์ องสุขลักษณะท่ีด

การมีสุขลักษณะที่ดีจะสามารถลดการแพร่กระจายของเชื้อแฝงตัวเรื้อรังที่ทำให้เกิดอาการป่วยบนเรือได้
ตัวอย่างของกจิ กรรมทีค่ วรมีการส่งเสรมิ ได้แก


l การทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคสิ่งของต่างๆ ทั้งในระหว่างการเดินเรือและรอเดินเรือเท่ียวต่อไป ควรมี
การทำความสะอาดและฆ่าเช้ือโรคพ้ืนผิวของวัตถุใดๆ ก็ตาม ที่อาจถูกสัมผัสโดยผู้ป่วย ซ่ึงจะทำให้เกิด

แพร่กระจายของเช้ือได้ (ท่ีกดชักโครก ก๊อกน้ำ อุปกรณ์สำหรับรับประทานอาหารและดื่มน้ำ มือจับประตู
อุปกรณ์รโี มทคอนโทรล สวทิ ซส์ ำหรบั เปดิ ปดิ ไฟ วทิ ยุ และเครอ่ื งปรบั อากาศ เกา้ อี้ โตะ๊ พนื้ ผวิ เตยี ง และ
พรมตา่ งๆ)


l การจัดการระบายอากาศทดี่

l การเลือกใช้วัสดุที่ไม่มีความสามารถในดูดซึมส่ิงต่างๆ ง่ายต่อการทำความสะอาดและฆ่าเช้ือโรคมาเป็นพื้น

ผวิ ของวัตถตุ ่างๆ

l การจัดเตรียมพื้นท่ีแยกโดยเฉพาะสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ เพื่อลดความเส่ียงของการแพร่กระจายของเช้ือ

โรคระหวา่ งกลุ่ม


l การบังคับให้สวมใส่เส้ือและกางเกงชั้นใน หรือผ้าเช็ดตัวในซาวน่าและในพื้นท่ีส่วนรวม ซ่ึงไม่ต้องสวมใส่ บทท่ี 8

เส้ือผา้

l การทำความสะอาดอจุ จาระ หรอื อาเจยี นท่ีเปรอะเปอ้ื นบนเรือเพ่อื ฆ่าเชื้อโรคอยา่ งรวดเร็ว











คู่มอื สุขาภบิ าลเรอื 161

Guide to ship sanitation


8.2.2 แนวทางการปฏบิ ัติ 8.2 คุณภาพอากาศ


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 8.2 รักษาคุณภาพอากาศให้ดีเพ่ือลดความเสี่ยงของการแพร่เช้ือของโรคผ่านทาง
อากาศ


ตัวชว้ี ดั สำหรับแนวทางการปฏิบตั ิ 8.2

1. มีการรักษาคณุ ภาพอากาศใหด้ ีเพ่อื ป้องกันการแพร่เชอื้ ของโรคผ่านทางอากาศ


ข้อแนะนำสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 8.2

ในการช่วยรักษาคุณภาพอากาศบนเรือนั้น การทำให้อากาศหมุนเวียนได้ดีตลอดเวลา ปราศจากเช้ือโรคที่
อันตรายให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทำได้ ถือว่าเป็นเร่ืองสำคัญ ช่องอากาศเข้าควรได้รับการดูแลรักษาให้สะอาดและ
อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ อุปกรณ์กรองอากาศก็ควรอยู่ในสภาพท่ีสะอาดปลอดเชื้อโรค อุปกรณ์กรองอากาศที่
ไม่ใช่แบบใช้แล้วทิ้ง (แบบถาวร) ควรถูกทำความสะอาดตามคำแนะนำจากบริษัทผู้ผลิต โดยส่วนมากแล้วจะให้
ทำความสะอาดทุกเดือน ในส่วนของอุปกรณ์กรองอากาศที่ใช้แล้วทิ้ง ควรถูกเปล่ียนให้ถูกรุ่นตามข้อมูลจำเพาะ
จากบริษทั ผ้ผู ลิต โดยทวั่ ไปจะใหเ้ ปลีย่ นทกุ ๆ สามเดือน


ทุกห้องท่ีมีการติดต้ังเครื่องปรับอากาศควรอยู่ในสภาพท่ีสะอาดเรียบร้อย และเพ่ือหลีกเล่ียงการแพร่กระจาย
ของพิษอันตรายท้ังทางเคมีและทางชีวภาพ ห้องเหล่านี้ไม่ควรใช้เป็นคลังหรือที่เก็บวัตถุสารเคมี สินค้า และ
เครื่องใช้ในครัวเรือนต่างๆ และในห้องท่ีติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศ ไม่ควรให้มีการร่ัวของระบบเครื่องควบแน่น
สารทำความเยน็ (condensing unit) และระบบระบายความร้อน (cooling unit) ขน้ั ตอนการทำความสะอาด
และฆ่าเช้ือโรคระบบเครื่องปรับอากาศ ควรใช้สารเคมีให้ตรงชนิดตามที่ระบุไว้สำหรับแต่ละระบบ (ปลอดสาร
พิษ ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เป็นต้น) ผู้เดินเรือก็ควรเฝ้าสังเกตและบันทึกข้ันตอนการทำความสะอาดและ
บำรงุ รกั ษาระบบเคร่อื งปรับอากาศ


8.2.3 แนวทางการปฏิบตั ิ 8.3 กรณีที่มผี ู้ปว่ ยและเกดิ การระบาดของโรค

บทท่ี 8 แนวทางการปฏิบัติ 8.3 การตอบสนองอยา่ งมีประสทิ ธิภาพในกรณที ี่มีผปู้ ่วยและเกิดการระบาดของโรค


ตัวชีว้ ัดสำหรบั แนวทางการปฏิบัติ 8.3

1. ข้ันตอนปฏิบัติ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ มีอยู่พร้อมที่จะจัดการกับบุคคลที่มีอาการป่วยเพื่อทำให้การ

แพร่กระจายของโรคเกิดขน้ึ ตอ่ ไปได้น้อยท่สี ุด

2. ขั้นตอนปฏิบัติ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ มีอยู่พร้อมที่จะตอบโต้กับการระบาดของโรค พร้อมด้วย

มาตรการการควบคุมที่เพม่ิ มากขึ้น




162 คมู่ อื สุขาภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


ขอ้ แนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 8.3

1. จัดการกบั บุคคลท่ีมอี าการปว่ ย

เนอ่ื งจากขอบขา่ ยของคมู่ อื น้ี คอื เปน็ คมู่ อื สำหรบั แนะนำการฆา่ เชอ้ื โรคเทา่ นนั้ ผเู้ ดนิ เรอื จงึ ควรศกึ ษาคมู่ อื WHO

International medical guide for ships (WHO, 2007) และปรึกษาขอคำแนะนำจากแพทยใ์ นการจัดการ

กับผู้ป่วยแต่ละรายเป็นกรณีไปเม่ือเรือเดินทางถึงท่าถดั ไป


เมื่อพจิ ารณาแล้ว เปน็ ไปไดว้ า่ บุคคลท่ีมอี าการปว่ ยมโี อกาสแพร่เชือ้ ไดส้ ูง การปฏิบตั ติ ามทั้งมาตรการควบคมุ ท่ี
กำหนดไว้และมาตรการเพิ่มเติมกับผู้ป่วย ถือว่าเป็นการกระทำที่สมควร ตัวอย่างของกิจกรรมท่ีควรอยู่ใน

ขน้ั ตอนปฏิบัติ ได้แก่


l การใชร้ ะบบต่างๆ ที่สามารถตรวจจบั อาการของโรคได้เร็วที่สดุ เทา่ ที่จะทำได

l การให้คำแนะนำหรอื แม้กระทั่งบงั คบั ให้ผูท้ ม่ี ีอาการป่วยทำการสัมผัสตดิ ต่อกับผอู้ ่นื ใหน้ ้อยทสี่ ุด

l การขอให้ผู้ทม่ี ีอาการป่วยยกเลกิ การขนึ้ เรือ

l การสวมใสห่ นา้ กากอนามัย และถุงมอื ขณะทีเ่ ข้าใกล้ผู้ท่มี อี าการป่วย

l การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยเพ่ือการลดความเสี่ยงท่ีจะแพร่เช้ือของตนไปสู่ผู้อื่นให้มากที่สุดในเวลาท่ีจำเป็น

ตอ้ งอย่รู ่วมกบั ผู้อื่น เช่น ไม่ควรสัมผสั ผู้อื่นโดยตรง รวมถึงชว่ งทีท่ ักทายกนั (เชน่ จบั มือ จมุ พติ ) ให้อยู่ใน
ห้องพักนานเท่าที่จะทำได้เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้อื่นให้มากที่สุด และไม่ให้มีส่วนในการจัดการอาหาร
หรอื หน้าทีท่ อี่ าจนำไปสู่การแพรเ่ ชอ้ื ของโรคได

l การฉดี วัคซนี (ถ้าเปน็ ไปได)้ ให้แกล่ กู เรอื ทอ่ี าจสัมผัสกับผู้มอี าการปว่ ย

l การรกั ษาแบบการใชย้ าตา้ นไวรสั (หากเปน็ ไปได)้ เพอื่ ชว่ ยระงบั การตดิ เชอ้ื และการปลอ่ ยเชอื้


2. ตอบโตต้ อ่ การระบาดของโรค


การตอบโต้ท่ีเพิ่มระดับขึ้นต่อการระบาดของโรคสามารถลดความรุนแรงและระยะเวลาของการระบาดได้ และ

ยังช่วยป้องการการระบาดของโรคที่อาจส่งผลต่อนักท่องเที่ยวคนอ่ืนในภายหลัง ตัวอย่างกิจกรรมท่ีควรรวมอยู่

ในขั้นตอนปฏบิ ัติ ได้แก
่ บทท่ี 8

l การค้นหาและระบุต้นตอของการระบาดของโรค ถ้าลักษณะของการระบาดบ่งบอกถึงต้นกำเนิดเพียง


จุดเดียว มาตรการควบคุมท่ีเก่ียวข้องทั้งหมดต้องถูกตรวจสอบใหม่และบังคับใช้อย่างเคร่งครัด นอกจากน้ี

ควรมกี ารสบื สวนทางระบาดวทิ ยาเพอ่ื ระบหุ รอื แยกชนดิ อาหาร หรอื แหลง่ นำ้ ออกจากการใชง้ าน เนอื่ งจาก

การระบาดของโรคโดยมีอาหารและน้ำเป็นพาหะได้เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองบนเรือหลายลำ หลักเกณฑ์ของ

สขุ ลกั ษณะทดี่ ใี นหอ้ งครวั และการจัดการความปลอดภัยของนำ้ ดมื่ ต้องได้รับการทบทวนและตรวจสอบ


l การแนะนำให้ผู้โดยสารหรือลูกเรือที่มีอาการป่วยอยู่ในห้องพัก เช้ือไวรัสจะเร่ิมถูกแพร่ผ่านการขับถ่าย

สิ่งปฏิกูลและการหายใจในช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนที่อาการป่วยจะแสดงออกมา และจะแพร่ต่อไปได้เป็น

เวลาหลายสัปดาห์ ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่การแพร่เชื้อขั้นสูงสุดจะเกิดข้ึน 24-72 ชั่วโมง หลังจากเร่ิมมีอาการ

ค่มู อื สุขาภิบาลเรือ 163

Guide to ship sanitation


ป่วยก็ตาม ระยะเวลาการกักตัวผู้ป่วยควรข้ึนอยู่กับคำแนะนำทางการแพทย์ที่ระบุไว้ตามสาเหตุที่เป็นไป
ได้ของโรค

l การบังคับให้พนักงานทำความสะอาดและลูกเรือทำการล้างมือหลังจากสัมผัสกับผู้โดยสารหรือลูกเรือหรือ
วัตถทุ ีต่ ดิ เชอื้ โรค กอ่ นที่จะหยิบจบั อาหารหรือเครื่องดืม่ และเม่ือออกจากพ้ืนทีห่ รอื ห้องพกั ทไ่ี ดร้ ับเชอ้ื โรค

l การบังคับให้ลูกเรือหรือผู้ที่ดูแลผู้ป่วยสวมใส่หน้ากากอนามัยที่เหมาะสมเพ่ือป้องกันตนเองเวลาที่ต้อง
สัมผัสหรอื เข้าใกล้ชดิ กับผ้ปู ่วย

l การทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคในพ้ืนท่ีซ่ึงเปรอะเปื้อนอาเจียนหรืออุจจาระในทันที พนักงานทำความ
สะอาดจะต้องสวมถุงมือและผ้ากันเปื้อน ถึงแม้จะมีหลักฐานบอกถึงความเป็นไปได้ของการแพร่เช้ือผ่าน
ทางอากาศ การสวมใส่หน้ากากอนามัยก็ไม่ใช่สิ่งจำเป็น นอกเสียจากคาดว่าจะมีการกระจายเป็นละออง
ของส่ิงปนเปือ้ น

l ถ้าเป็นไปได้ ให้แยกผู้โดยสารที่กำลังขึ้นเรือและผู้โดยสารท่ีกำลังลงจากเรือ หากมีการระบาดของโรคเกิด
ขึ้นบนเรือ ควรมีการเลื่อนการขึ้นเรือของผู้โดยสารใหม่จนกว่าเรือจะได้รับการทำความสะอาดและฆ่าเช้ือ
ท่ัวทั้งลำ ช่วงเวลาการแยกประเภทของผู้โดยสารควรข้ึนอยู่กับคำแนะนำทางการแพทย์ท่ีระบุไว้ตาม
ลกั ษณะเฉพาะของโรค


ถ้าการระบาดของโรคดำเนินต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน แสดงว่าเชื้อที่ทำให้เกิดโรค เช่น โนโรไวรัส อาจจะยัง
ซอ่ นตวั อยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มบนเรือ เมือ่ เกดิ การระบาดของโรค จำเปน็ จะต้องมีแผนการทำความสะอาดและฆ่าเชือ้
โรคทรี่ วดเรว็ และครอบคลมุ ทั้งในระหวา่ งการระบาดและหลังจากการระบาด


ควรมีการให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการทำความสะอาดวัตถุต่างๆ ที่มักถูกจับต้อง อาทิเช่น ก็อกน้ำ มือจับ

ประตู ราวจับบนชักโครกและอ่างอาบน้ำ สำหรับเชื้อท่ีก่อให้เกิดอาการป่วยเฉียบพลันเกี่ยวกับระบบทางเดิน

อาหาร (AGI) ช่วงเวลาที่ควรดำเนินการทำความสะอาดครั้งสุดท้ายคือ อย่างน้อย 72 ช่ัวโมง หลังจากผู้ป่วย

คนสุดท้ายหายเป็นปกติ โดยได้คำนึงถึงช่วงการติดเช้ือสูงสุด (48 ชั่วโมง) รวมด้วยระยะการฟักตัวของเชื้อ

บทที่ 8 ส่วนใหญ่ (24 ชั่วโมง) ในผู้ที่เพิ่งได้รับเช้ือมาใหม่ และพื้นท่ีที่ได้รับเชื้อควรได้รับการทำความสะอาดและ
กำจัดเชื้อโรคเช่นกัน


ผ้าปูเตียงและม่านเตียงที่ปนเปื้อนเชื้อโรคต้องถูกวางอย่างระมัดระวังในถุงซักรีดที่เหมาะสมตามแนวทางการ
ปฏบิ ัตสิ ำหรบั เคร่อื งนอนท่ีติดเชอื้ (เชน่ ถุงซักผา้ ท่ีละลายน้ำได้ (Alginate Bag) ซึ่งยอ่ ยสลายไดแ้ ละมถี งุ ใบนอก
เป็นสีตามรหัสท่ีกำหนด) โดยท่ีไม่ทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อโรค หมอนท่ีปนเป้ือนควรถูกซักและรีดแบบ
เดยี วกนั กบั เครอื่ งนอนทตี่ ดิ เชอื้ แตใ่ หใ้ ชว้ ธิ กี ารฆา่ เชอื้ โรคแทน ถา้ หากหมอนถกู คลมุ ดว้ ยวสั ดกุ นั นำ้


การกำจดั เชือ้ โรคในพรมและผ้าตกแต่งจะมคี วามยากเป็นพิเศษ ไมแ่ นะนำให้ใช้ไฮโปคลอไรทเ์ พราะจะต้องมีการ
สัมผัสส่ิงท่ีปนเปื้อนเป็นเวลานานขณะทำความสะอาด และของหลายชิ้นซึ่งต้องถูกฆ่าเช้ือโรคนั้นไม่ทนต่อสาร

164 คู่มือสขุ าภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


ฟอกผ้าขาวได้ อาจจะใช้วิธีการทำความสะอาดแบบอบไอน้ำสำหรับพรมและผ้าตกแต่งท่ีทนต่อความร้อนได้
(พรมบางผืนอาจติดอยู่กับพ้ืน เนื่องจากทำมาจากวัสดุที่ไม่ทนความร้อน) อย่างไรก็ตาม การอบไอน้ำควรทำ
อย่างท่ัวถึง จะต้องใช้อุณหภูมิอย่างน้อยที่สุด 60 องศาเซลเซียส จึงจะทำการฆ่าเชื้อโรคได้สำเร็จ และในทาง
ปฏิบตั ิแลว้ การทดลองหลายครงั้ ไดแ้ สดงให้เหน็ วา่ ขณะท่ีมกี ารอบไอน้ำทำความสะอาด บอ่ ยครงั้ ท่ีอณุ หภูมิสูง
ตามท่ีกล่าวนั้นเข้าไปไม่ถึงเน้ือพรม การใช้เครื่องดูดฝุ่นทำความสะอาดพรมและพ้ืนขัดเงาไม่เป็นวิธีที่แนะนำ
เพราะจะทำใหเ้ ชื้อไวรสั หมุนเวียนกลบั มาใหมไ่ ด้


พืน้ ผิวแข็งทปี่ นเปอ้ื นควรถกู ลา้ งทำความสะอาดด้วยผงซักฟอกและน้ำร้อน ถูดว้ ยผ้าท่ีใช้คร้ังเดยี วแลว้ ทิ้ง กอ่ น
จะฆ่าเช้ือโรคด้วยวิธีท่ีเหมาะสม ผ้าที่ใช้แล้วท้ิงต้องถูกนำไปทิ้งอย่างปลอดภัยเพื่อท่ีจะไม่ให้ไปปนเปื้อนผู้อ่ืนได้
ผ้าม๊อบ ไม้ถูพ้ืนและผ้าเช็ดทำความสะอาดที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้จะต้องถูกซักล้างด้วยน้ำร้อนแบบเดียวกันกับ
เคร่อื งนอน








บทท่ี 8

คูม่ ือสุขาภบิ าลเรอื 165

Guide to ship sanitation


ภาคผนวก


ภาคผนวก


ตัวอย่างของส่ิงอันตราย มาตรการควบคุม ขั้นตอนการ
สงั เกตการณ์ และวธิ กี ารแก้ไขปญั หา สำหรบั ระบบนำ้ บรโิ ภคบนเรอื





แหลง่ เก็บน้ำ


สงิ่ อนั ตราย
มาตรการควบคุม
ขั้นตอนการสงั เกตการณ
์ วธิ ีการแก้ไขปญั หา

เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ อนั ตราย


แหล่งน้ำมีการปนเปอ้ื น
มีการตรวจสอบคุณภาพ เฝ้าสงั เกตระดบั จลุ นิ ทรียท์ ่ี กรองและฆา่ เชือ้ โรคในนำ้
แหล่งน้ำอย่างสมำ่ เสมอ
ชี้วดั คณุ ภาพน้ำ และความ หรอื ใช้น้ำจากแหลง่ อ่นื

ขุน่ ของนำ้


ตัวกรองเสยี หรือชำรดุ
มีการตรวจสอบอปุ กรณ์ เฝา้ สังเกตคุณภาพในการ ซ่อมหรือเปลย่ี นอุปกรณ์ที่
อยา่ งละเอียดและทำการ กรองของอุปกรณ์ด้วยการ ชำรดุ เสียหาย

บำรงุ รกั ษาอย่างสม่ำเสมอ
วัดคา่ ความขุ่นของน้ำ


สายยางปนเปอ้ื น
มกี ารทำความสะอาดและ ตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด ซ่อมหรอื เปลี่ยนอปุ กรณ์

ฆา่ เชือ้ โรคเป็นประจำ
เปน็ ประจำ
ทำความสะอาดและฆ่าเช้ือ
มกี ารซอ่ มแซมและบำรงุ โรคอุปกรณ

รกั ษาเป็นประจำ


กอ็ กน้ำปนเป้อื น
มกี ารเกบ็ อปุ กรณอ์ ยา่ ง ซ่อมหรอื เปลีย่ นอุปกรณ
์ ภาคผนวก
เหมาะสม และมกี ารตดิ ทำความสะอาดและฆา่ เชอ้ื
ป้ายบอกชัดเจน
โรคอปุ กรณ

มีการทำความสะอาดและ
ตรวจสอบอย่างละเอียด
ฆา่ เชือ้ โรคเปน็ ประจำ
เป็นประจำ

มกี ารซ่อมแซมและบำรงุ
รักษาเปน็ ประจำ


คมู่ ือสุขาภบิ าลเรอื 169

Guide to ship sanitation


สิง่ อนั ตราย
มาตรการควบคมุ
ข้นั ตอนการสังเกตการณ
์ วิธกี ารแกไ้ ขปัญหา

เหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ อนั ตราย


พบวา่ แหล่งเก็บนำ้ เช่ือมตอ่ มรี ูปแบบการขนสง่ นำ้ มัน ตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด ติดตง้ั ทอ่ ใหม ่

เขา้ กับทอ่ ของน้ำท่ดี ืม่ ไม่ได้ และการเดินทอ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง
เปน็ ประจำ
แยกส่วนของระบบออก

เมื่อมกี ารเติมน้ำมัน
มีการติดปา้ ยบอกถกู ตอ้ ง
เติมคลอรนี ระบายน้ำออก


ตอ้ งไม่มีช่องทางท่ปี ล่อยให้
นำ้ ท่ีดมื่ ไม่ไดห้ ลุดรอดเข้า
มา


อปุ กรณป์ ้องการไหลยอ้ น ต้องไม่มีจุดชำรุดเสยี หายท่ี ตรวจสอบอย่างละเอยี ด ซอ่ มหรอื เปลี่ยนอุปกรณ

กลับเสียหรอื ชำรุดเมือ่ มี ปล่อยให้น้ำท่ปี นเปอื้ นไหล เปน็ ประจำ พรอ้ มทำการ
การเตมิ นำ้ มัน
เขา้ มาได
้ ซอ่ มแซมและบำรุงรกั ษา





การจัดเกบ็ น้ำ


สง่ิ อันตราย
มาตรการควบคมุ
ขน้ั ตอนการสังเกตการณ
์ วธิ ีการแกไ้ ขปญั หา

เหตกุ ารณท์ ่เี ปน็ อนั ตราย


ตะกอนทีก่ น้ ถงั เกบ็ นำ้
มกี ารทำความสะอาดเปน็ ตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด
ตั้งขอ้ ปฏิบตั ิในการทำความ
ประจำ (เช่น ทกุ ๆ 6 เดอื น)
เป็นประจำ ทำเอกสาร สะอาดถงั เก็บนำ้


รายงาน


ตะแกรงเหล็กไวรเ์ มช
มีการตรวจสอบอย่าง ตรวจสอบดา้ นสุขอนามยั
ซ่อมหรอื เปลย่ี นอุปกรณ

ในท่อนำ้ ทง้ิ หรอื ท่อระบาย ละเอยี ดเป็นประจำ พรอ้ ม อย่างละเอยี ดเป็นประจำ

อากาศชำรดุ เสยี หาย
ทำการซ่อมแซมและบำรุง
รกั ษา

ตรวจสอบอย่างละเอียดเปน็ ซ่อมหรอื เปล่ยี นอุปกรณ

ภาคผนวก พบการเชอื่ มตอ่ กนั ระหว่าง
มแี ผนการดูแลควบคุม
ประจำ พร้อมทำการ
ถงั เก็บนำ้ ทีด่ มื่ ได้กบั ถงั
การเชอื่ มต่อ

หรอื ท่อของนำ้ ที่ด่มื ไมไ่ ด
้ ซ่อมแซมและบำรงุ รักษา


พบการชำรดุ ของถังเก็บน้ำ
มีการตรวจสอบดา้ น
ตรวจสอบอยา่ งละเอยี ดเปน็ ซอ่ มหรอื เปลีย่ นอุปกรณ

ทดี่ ม่ื
สุขอนามยั อยา่ งละเอยี ด
ประจำ พร้อมทำการ
เปน็ ประจำ
ซอ่ มแซมและบำรงุ รกั ษา


170 คมู่ ือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


ระบบการแจกจา่ ยน้ำ


ส่งิ อันตราย
มาตรการควบคมุ
ขั้นตอนการสงั เกตการณ
์ วิธีการแกไ้ ขปญั หา

เหตุการณ์ทเี่ ปน็ อนั ตราย


เกดิ การเช่ือมตอ่ กับทอ่ นำ้ ท่ี มีการป้องกันการเชื่อมตอ่ กัน ตรวจสอบอย่างละเอยี ดเป็น หยดุ การเชอ่ื มตอ่ กันของทอ่

ดมื่ ไมไ่ ด้
ของทอ่
ประจำ


มขี อ้ ปฏบิ ตั สิ ำหรบั การตรวจ
สอบการซอ่ มแซมและการ
บำรงุ รักษาอุปกรณ


มกี ารแยกแยะท่อและถงั เก็บ
ทถี่ ูกต้อง


ท่อน้ำชำรุดหรือร่ัว
มีขอ้ ปฏิบัตสิ ำหรับการตรวจ ตรวจสอบอยา่ งละเอยี ดเป็น ซอ่ มทอ่ ท่ชี ำรดุ หรอื ร่ัว

สอบ การซ่อมแซมและการ ประจำ

บำรุงรกั ษาอุปกรณ


อปุ กรณป์ อ้ งการไหลยอ้ น ตอ้ งไม่มีจดุ ชำรดุ เสยี หายท่ี ตรวจสอบอย่างละเอยี ดเป็น ซอ่ มหรือเปลยี่ นอปุ กรณ

กลบั เสยี หรือชำรดุ ณ จุดน้ำ ปล่อยให้น้ำท่ปี นเปื้อนไหล ประจำ

ออกทว่ั ท้ังระบบแจกจา่ ยนำ้
เขา้ มาได

ทดสอบอุปกรณป์ ้องการไหล
ยอ้ นกลบั


เกิดการปนเปือ้ นของนำ้ ต้องไม่มจี ดุ ชำรุดเสียหายท่ี ตรวจสอบการดำเนินงาน
อบรมให้ความรพู้ นักงาน

ระหวา่ งการซอ่ มแซม
ทำให้สิง่ ปนเป้ือนหลุดเขา้ มา เกบ็ ตวั อย่างน้ำ (เพ่อื จัดทำขอ้ ปฏบิ ตั ิในการ
หรือบำรงุ รักษาทอ่
ในท่อหรอื ถังเกบ็ นำ้ ที่ด่มื ได
้ วิเคราะห์จลุ ินทรยี ใ์ นน้ำ)
ดำเนนิ งาน

หรอื ถังเกบ็ น้ำ
มขี ้อปฏิบตั ิสำหรับการ ฆ่าเชอ้ื โรคบริเวณทม่ี รี อย
ซอ่ มแซมและบำรุงรกั ษา แตกและอุปกรณ์เชอ่ื มต่อ
อุปกรณ์อยา่ งถูกสขุ ลักษณะ
ของทอ่

มขี ้อปฏบิ ตั ิสำหรับการ
ทำความสะอาดและฆ่าเชือ้ ภาคผนวก
โรค


ทอ่ หรือถังเกบ็ นำ้ รวั่
มกี ารปอ้ งการการรัว่ ของ ตรวจสอบอยา่ งละเอียดเปน็ ซ่อมแซมอุปกรณ

อุปกรณ
์ ประจำ


มกี ารบำรงุ รักษาและฟ้ืนฟู เฝา้ สังเกตความดนั และการ
ระบบ
ไหลของนำ้


ค่มู ือสุขาภิบาลเรือ 171

Guide to ship sanitation


ส่งิ อันตราย
มาตรการควบคุม
ขั้นตอนการสังเกตการณ
์ วิธีการแกไ้ ขปญั หา

เหตกุ ารณ์ท่เี ปน็ อนั ตราย


วัสดุของท่อทีใ่ ช้มสี ารทีเ่ ปน็ ท่อต้องเปน็ วัสดุท่ีไม่มสี าร ตรวจสอบคณุ ลกั ษณะของ เปลีย่ นทอ่ ใหมถ่ ้าทอ่ ท่ีใช้มี
พษิ
พิษ มีการกำหนด
ทอ่ และวสั ดุทีใ่ ช้ทำท่อ
คุณลักษณะท่ไี ม่ถกู ต้อง


คุณลักษณะของวสั ดุของท่อ ตรวจสอบใบรับรอง
ทีใ่ ช
้ คุณลักษณะ


จำนวนสารตกค้างในนำ้ ไม่ ต้องมีจำนวนสารตกค้างมาก เผ้าสงั เกตปรมิ าณสาร สบื สวนสาเหตแุ ละปรบั ปรงุ
เพยี งพอตอ่ การฆา่ เช้อื โรค
พอในการป้องกันไมใ่ หเ้ ช้อื ตกคา้ ง คา่ pH และอณุ หภมู ิ แก้ไขให้ถกู ต้อง

โรคเกิดขน้ึ ใหม่ (เชน่ ของน้ำแบบออนไลน์

ปริมาณคลอรีนอสิ ระตกค้าง
ควรมากกวา่ 0.2 มิลลิกรัม/ เกบ็ ตวั อย่างนำ้ มาตรวจสอบ
ลติ ร)
เป็นประจำ































ภาคผนวก















172 คมู่ อื สขุ าภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


อภิธานศัพท์



Acceptable non-rat-proof วัสดุที่มีพ้ืนผิวทนต่อการกัดแทะของหนู มีแผ่นครอบปิดมุมตาม
material
ขอบสมั ผัส แต่หนูอาจเจาะผา่ นเข้ามาไดห้ ากขอบไมไ่ ดท้ ำจากวสั ดุ
วัสดปุ ้องกันหนูท่ยี อมรับได
้ ปอ้ งกนั การกัดแทะ

Accessible
บริเวณที่เข้าถึงได้เพื่อทำความสะอาดและตรวจสอบได้ด้วย

เข้าถึงได ้
เครือ่ งมอื อยา่ งง่าย เช่น ไขควง คีม หรือประแจ

Air gap
ไม่มีการกีดขวางระหว่างระยะห่างตามแนวดิ่ง ท่ีอากาศสามารถ
ชอ่ งว่างอากาศ
ผ่านได้สะดวกระหว่างช่องเปิดท่ีต่ำสุดของท่อหรือวาว์ลจ่ายน้ำสู่
ถังเก็บน้ำ การติดต้ังท่อประปาหรืออุปกรณ์อื่นๆ และระดับท่วม
Backflow
ของน้ำกับขอบที่รองรับหรือการรองรับอ่ืนๆ ช่องว่างอากาศต้องมี
การไหลย้อนกลับ
ขนาดอย่างน้อยเป็นสองเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อส่งน้ำ
Backflow preventer
หรอื วาล์ว หรอื อยา่ งนอ้ ง 2.5 เซนตเิ มตร

การปอ้ งกันการไหลย้อนกลบั
การไหลของน้ำหรือของเหลวอ่นื ๆ สารผสมหรือสารประกอบอื่นๆ
เข้าสู่ท่อกระจายน้ำอุปโภคจากแหล่งน้ำอ่ืนท่ีไม่ใช่แหล่งน้ำอุปโภค
Corrosion resistant
การไหลยอ้ นแบบกาลักนำ้ เป็นรปู แบบหนึง่ ของการไหลยอ้ นกลบั

ทนตอ่ การกดั กร่อน
การติดต้ังปั๊มป้องกันการไหลย้อนกลับของน้ำต้องติดตั้งในท่อ
Coved
กระจายน้ำอุปโภค ต้องติดตั้งตรงตำแหน่งจุดเช่ือมต่อท่อโดยตรง
สว่ นเวา้
หรือจุดเชื่อมต่อระหว่างระบบกระจายน้ำอุปโภคและของเหลว
สารผสมหรือสารประกอบจากแหล่งอ่ืนๆ อุปกรณ์บางชนิด ถูก
ออกแบบสำหรับใช้ภายใต้แรงดันน้ำแบบคงที่ ในขณะท่ีอุปกรณ์
อ่ืนๆ ถกู ออกแบบมาโดยไมใ่ ช้แรงดนั


สามารถทนต่อการกัดกร่อนได้โดยยังคงลักษณะของพื้นผิวได้ ภาคผนวก

ภายใต้สภาพแวดล้อมและการใช้งานในระยะเวลานาน

พ้ืนผิวที่ การขึ้นรูปหรือการออกแบบท่ีป้องกันการเกิดมุม

90 องศา หรอื นอ้ ยกวา่ เพอื่ ปอ้ งกนั การสะสมของฝนุ่ และสง่ิ สกปรก
และง่ายตอ่ การทำความสะอาด


คูม่ ือสุขาภิบาลเรือ 173

Guide to ship sanitation


Crew
บุคคลบนเรอื ทีไ่ มใ่ ช่ผโู้ ดยสาร

ลูกเรอื

Cross-connection
การเชื่อมต่อหรือโครงสร้างไม่มีระบบการป้องกัน ระหว่างน้ำ
การเช่อื มตอ่ ข้ามระบบ
แหล่งสาธารณะหรือแหล่งน้ำอ่ืนๆ กับระบบน้ำบริโภค อาจเกิด
การปนเปื้อนของน้ำที่ผ่านการใช้แล้ว น้ำอุตสาหกรรม ก๊าซ หรือ
Deck sink
สารอื่นๆ เข้าสู่ระบบน้ำอุปโภคได้ การจัดการทางผ่าน การเช่ือม
อ่างล้างจานแบบตดิ โต๊ะ
ต่อ การตัดบางส่วนออก การหมุนหรือการเปลยี่ นสลบั อปุ กรณ์ ไม่
Easily cleanable
ว่าจะเป็นอุปกรณ์ช่ัวคราวหรือถาวร อาจทำให้เกิดการไหลย้อน
ทำความสะอาดงา่ ย
กลับได้ควรคำนงึ ถึงการเชื่อมต่อขา้ มระบบด้วย

Flashing
อา่ งที่ยดึ ตดิ กับโต๊ะควรมีลักษณะโคง้ มน ลาดเอยี งเปน็ แอ่งกระทะ

แผ่นปดิ ครอบมุม

มีการออกแบบและสร้างจากวัสดุที่ทำความสะอาดง่ายและทั่วถึง
Floor sink
ดว้ ยวธิ ีการทำความสะอาดและอปุ กรณท์ ำความสะอาดแบบปกต

อ่างล้างจานแบบตดิ พน้ื
การปิดหรือครอบมมุ พืน้ ที่ หรอื ขอบต่างๆ ท่ีทำจากวสั ดุท่ยี อมรบั
Food contact surfaces
ได้ในพนื้ ท่ีปอ้ งกันหนู แผน่ ครอบต้องทำจากวัสดกุ ันหนู และกว้าง
พื้นผวิ สัมผสั อาหาร
มากพอทป่ี อ้ งกนั การแทะและแขง็ แรงทนทาน

ดูข้อมูลจากอ่างล้างจานแบบติดโตะ๊

ภาคผนวก Food handing areas

พ้ืนผิวของเครื่องใช้และภาชนะอุปกรณ์ที่อาหารสัมผัสและพ้ืนผิว
พน้ื ทีจ่ ดั การอาหาร
ที่อาหารอาจไหลหยดหรือกระเด็นกลับสู่พื้นผิวที่ปกติจะสัมผัส
Food preparation areas
อาหาร ส่ิงเหล่านี้รวมถึงพื้นท่ีบริเวณเคร่ืองทำน้ำแข็งเหนือรางน้ำ
พน้ื ท่เี ตรยี มอาหาร
แขง็ ไปยังถงั ใส่นำ้ แข็ง

Food service areas
พ้ืนท่ีใดก็ตามท่ีมีไว้เพ่ือจัดเก็บ ดำเนินการ เตรียมหรือ เสริฟ
พ้นื ทีใ่ ห้บริการอาหาร
อาหาร

พ้ืนที่ใดก็ตามที่มีไว้เพ่ือดำเนินการ ประกอบอาหารหรือเตรียม

เสริฟอาหาร

พื้นที่ใดก็ตามที่อาหารถูกนำออกมาให้บริการแก่ผู้โดยสารหรือลูก
เรอื (ไมร่ วมถึงการบริการภายในห้องพักผู้โดยสาร)


174 คู่มอื สขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


Food storage areas
พ้ืนท่ีใดก็ตามท่อี าหารหรอื ผลิตภัณฑ์อาหารถกู เกบ็ ไว ้

พืน้ ท่ีเกบ็ เสบียง


Greywater
นำ้ ท่ผี ่านการใช้แล้วท่ีมาจากหอ้ งครวั เคร่ืองลา้ งจาน ฝักบวั ซกั รีด
น้ำทผี่ ่านการใช้แล้ว
อ่างอาบน้ำและอ่างล้างหน้า ไม่รวมถึงน้ำเสียจากส้วม น้ำเสีย
Health-based target
จากห้องพยาบาล หรอื นำ้ ท้องเรือจากพน้ื ทีว่ า่ งของเคร่ืองจักร

เป้าหมายดา้ นสขุ ภาพ
เกณฑ์มาตรฐานเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาไปสู่เป้าหมายด้าน
สขุ ภาพหรอื ความปลอดภยั ทางนำ้ ทกี่ ำหนดไว้ ซงึ่ มอี ยู่ 4 เปา้ หมาย
Maximum opening
คือ เป้าหมายผลลัพธ์ด้านสุขภาพ เป้าหมายด้านคุณภาพน้ำ

ชอ่ งเปดิ ขนาดใหญ่สดุ
เป้าหมายด้านประสิทธิภาพ และเป้าหมายด้านเทคโนโลยี

Non-absorbent materials
ทเี่ ฉพาะเจาะจง

วัสดุท่ีมคี ุณสมบัตไิ ม่ดดู ซบั
ช่องเปิดขนาดใหญ่ที่สุดที่หนูไม่สามารถผ่านได้ ท้ังในพื้นท่ีกันหนู
Non-food contact surfaces
และท่พี บหนอู ยา่ งหนาแนน่ โดยไม่คำนงึ ถึงรปู ร่างของชอ่ งเปิด ซึง่
พื้นผิวทห่ี า้ มสัมผสั อาหาร
ปกตมิ ขี นาด 1.25 เซนตเิ มตร หรอื น้อยกว่า

Portable
วสั ดทุ ีพ่ ืน้ ผิวทนตอ่ การดูดซับความชน้ื

เคลอื่ นยา้ ยได

Potable water
พื้นผิวที่สัมผัสท้ังหมดนอกเหนือจากท่ีสัมผัสกับอาหารหรือพื้นผิว
นำ้ บรโิ ภค
ทสี่ มั ผสั จากการกระเดน็ ของอปุ กรณท์ อ่ี ยใู่ นทเี่ กบ็ อาหาร การเตรยี ม
และพนื้ ท่ีให้บรกิ ารอาหาร


ลักษณะอุปกรณ์ที่เคล่ือนย้ายสะดวก หรือมีล้อติด ตัวเล่ือนหรือ
ล้อเล่ือนมากับอุปกรณ์จักรกล สามารถเอียงทำความสะอาดได้
อยา่ งปลอดภัยหรือสามารถเคลือ่ นยา้ ยได้ดว้ ยคนเพยี งคนเดียว


น้ำจดื ท่ีใชส้ ำหรับการอปุ โภค เชน่ การดมื่ การลา้ ง แปรงฟัน อาบ ภาคผนวก
น้ำ หรือน้ำฝักบัว เพ่ือใช้ในการนันทนาการทางน้ำ เพ่ือใช้ในห้อง
พยาบาลบนเรือ เพ่ือจัดการ การเตรียมหรือปรุงประกอบอาหาร
และเพ่ือทำความสะอาดท่ีเก็บอาหารและท่ีเตรียมอาหาร ภาชนะ
อุปกรณ์และเครื่องใช้ น้ำอุปโภคที่ให้คำจำกัดความไว้ในคู่มือ
องค์การอนามัยโลกสำหรับคุณภาพน้ำดื่ม ว่าต้องไม่มีความเส่ียง
ต่อสุขภาพระหว่างการบริโภค รวมถึง ความไวรับที่แตกต่างกันท่ี
อาจจะเกดิ ขน้ึ ระหวา่ งการเกบ็ ไว้บริโภค


คูม่ อื สุขาภบิ าลเรือ 175

Guide to ship sanitation


Potable water tanks
ถังทุกประเภทที่ใช้เก็บน้ำบริโภคจากหน่วยผลิตเพื่อกระจายน้ำ
ถังบรรจนุ ำ้ บริโภค
และใชน้ ้ำเพอ่ื การบริโภค

Rat-proof area
พ้ืนที่ที่แยกจากพ้ืนท่ีอ่ืนอย่างชัดเจน มีการออกแบบและทำจาก
พืน้ ทก่ี ันหน
ู วสั ดทุ ก่ี นั หนไู ด

Rat-proof material
วสั ดทุ ่มี พี ืน้ ทีผ่ ิวและขอบทนต่อการกดั แทะของหน

วัสดกุ ันหน

Readily removable
สามารถแยกออกจากอุปกรณ์หลักได้โดยไม่ตอ้ งใช้เคร่ืองมือใดๆ

พร้อมถอดออก/เคลอื่ นย้ายได้ทันท ี

Removable
สามารถแยกออกจากอุปกรณ์หลักได้โดยใช้เคร่ืองมืออย่างง่าย
สามารถถอดออก/เคลอ่ื นย้ายได
้ เช่น ไขควง คีม หรอื ประแจ

Scupper
รางน้ำหรืออ่างรับนำ้ ลน้ เพ่ือระบายน้ำออก

ชอ่ งระบายน้ำขา้ งเรือ

Sealant
วสั ดทุ ี่ใชอ้ ดุ ป้องกนั การรวั่ ซมึ จากของเหลวหรือน้ำ

วัสดกุ นั รว่ั

Seam
จุดเปิดที่เชื่อมต่อระหว่างวัสดุท่ีคล้ายกันหรือแตกต่างกันสองชนิด
ตะเข็บ/รอยต่อ
จุดประสานรอยเชื่อมท่ีผวิ ขัดเรียบจะไมน่ ับว่าเปน็ ตะเขบ็ /รอยต่อ

Sewage
ของเสียท่ีเป็นของเหลวใดๆ ที่มาจากมนุษย์ สัตว์หรือพืช มี
ของเสยี /สง่ิ ปฏกิ ลู
ลักษณะเป็นสารแขวนลอยหรือสารละลาย รวมถึง ของเหลวที่มี
สารเคมเี ป็นองคป์ ระกอบ

Ship
เรือเดินสมุทรหรือเรือนำร่องเพื่อการท่องเท่ียวระหว่างประเทศ
หรือในประเทศ

ภาคผนวก เรอื
อ่างใดๆ ที่อยู่ในพืน้ ทีใ่ หบ้ รกิ ารดา้ นอาหารท่ไี ม่ได้ใช้สำหรบั ลา้ งมือ
และ/หรือลา้ งจาน

Utility sink

อ่างน้ำ










176 ค่มู ือสขุ าภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


เอกสารอ้างองิ







Bartram J et al., eds (2007). Legionella and the prevention of legionellosis. Geneva, World
Health Organization (http:// www.who.int/water_sanitation_health/emerging/

legionella.pdf, accessed 30 January 2011).


Bartram J et al. (2009). Water safety plan manual: step- by-step risk management for
drinking-water suppliers. Geneva, World Health Organization (http://whqlibdoc.
who.int/publications/2009/9789241562638_ eng.pdf, accessed 30 January 2011).


Brotherton JML et al. (2003). A large outbreak of influenza A and B on a cruise ship causing
widespread morbidity. Epidemiology and Infection, 130(2):263–271.


Cheesbrough JS et al. (2000). Widespread environmental contamination with Norwalk-like
viruses (NLV) detected in a prolonged hotel outbreak of gastroenteritis. Epidemiology
and Infection, 125(1):93–98.


Cruise Lines International Association (2010). The contribution of the North American cruise
industry to the U.S. economy in 2009. Prepared by Business Research and Economic
Advisors for the Cruise Lines International Association.


Delmont J et al. (1994). Harbour-acquired Plasmodium falciparum malaria. The Lancet,
344(8918):330–331.


de Wit MAS, Koopmans MPG, van Duynhoven YTHP (2003). Risk factors for norovirus, ภาคผนวก
Sapporo-like virus, and group A rotavirus gastroenteritis. Emerging Infectious Diseases

[serial online], December 2003 (http://www.cdc.gov/ncidod/EID/ vol9no12/02-

0076.htm, accessed 30 January 2011).


คมู่ ือสุขาภบิ าลเรือ 177

Guide to ship sanitation


Falkinham JO III (2003). Mycobacterial aerosols and respiratory disease. Emerging Infectious
Diseases [serial online], July 2003 (http://www.cdc.gov/ncidod/eid/ vol9no7/02-
0415.htm, accessed 30 January 2011).


FAO/WHO (1995). Codex Alimentarius: Vol. 1B—General requirements (food hygiene). Rome,
Food and Agriculture Organization of the United Nations and World Health
Organization, Joint FAO/WHO Food Standards Programme, Codex Alimentarius
Commission.


FAO/WHO (1997a). Codex Alimentarius: Supplement to volume 1B—General requirements
(food hygiene), 2nd ed. Rome, Food and Agriculture Organization of the United
Nations and World Health Organization, Joint FAO/WHO Food Standards Programme,
Codex Alimentarius Commission.


FAO/WHO (1997b). Codex Alimentarius: Food hygiene—Basic texts—General principles of
food hygiene, HACCP guidelines, and guidelines for the establishment of
microbiological criteria for foods. Rome, Food and Agriculture Organization of the
United Nations and World Health Organization, Joint FAO/WHO Food Standards
Programme, Codex Alimentarius Commission.


FAO/WHO (1999). Codex Alimentarius: Vol. 1A—General requirements, 2nd ed., revised.
Rome, Food and Agriculture Organization of the United Nations and World Health
Organization, Joint FAO/WHO Food Standards Programme, Codex Alimentarius
Commission.


ภาคผนวก FAO/WHO (2001). General standard for bottled/packaged drinking waters (other than natural
mineral waters). Rome, Food and Agriculture Organization of the United Nations and

World Health Organization, Joint FAO/WHO Food Standards Programme, Codex

Alimentarius Commission (Codex Standard 227-2001; http://

www.codexalimentarius.net/download/ standards/369/CXS_227e.pdf, accessed 30

January 2011).





178 คูม่ ือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


FAO/WHO (2003). Recommended international code of practice— General principles of food
hygiene. Rome, Food and Agriculture Organization of the United Nations and World
Health Organization, Joint FAO/WHO Food Standards Programme, Codex Alimentarius
Commission (CAC/RCP1-1969, Rev. 4-2003; http://www.codexalimentarius.net/
download/ standards/23/cxp_001e.pdf, accessed 30 January 2011).


Gustafson TL et al. (1983). Pseudomonas folliculitis: an outbreak and review. Reviews of
Infectious Diseases, 5:1–8.


IHS Fairplay (2010). World fleet statistics 2009. IHS Global Ltd.


IMO (1998). Guidelines for the control and management of ships’ ballast water to minimize
the transfer of harmful aquatic organisms and pathogens. London, International
Maritime Organization.


IMO (2009). International shipping and world trade facts and figures, October 2009.
International Maritime Organization, Maritime Knowledge Centre (http://www. imo.org/
KnowledgeCentre/ShippingFactsAndNews/ TheRoleandImportanceofInternationalShipping/
Documents/ International%20Shipping%20and%20World%20Trade%20 -
%20facts%20and%20figures%20oct%202009%20 rev1___tmp65768b41.pdf, accessed
30 January 2011).


IMO (2010). Life-Saving Appliance Code. In: Life-saving appliances, 2010 ed. London,
International Maritime Organization.


Lemmon JM, McAnulty JM, Bawden-Smith J (1996). Outbreak of cryptosporidiosis linked to an

indoor swimming pool. Medical Journal of Australia, 165:613.
ภาคผนวก

Lew JF et al. (1991). An outbreak of shigellosis aboard a cruise ship caused by a multiple-
antibiotic-resistant strain of Shigella flexneri. American Journal of Epidemiology,
134(4):413–420.


Marks PJ et al. (2000). Evidence for airborne transmission of Norwalk-like virus (NLV) in a hotel
restaurant. Epidemiology and Infection, 124:481–487.


คมู่ อื สขุ าภิบาลเรือ 179

Guide to ship sanitation


National Advisory Committee on Microbiological Criteria for Foods (1997). Hazard analysis
and critical control point principles and application guidelines. Washington, DC,
United States Department of Health and Human Services (http://www.fda.gov/Food/
FoodSafety/HazardAnalysisCriticalControlPointsHACCP/ ucm114868.htm, accessed 30
January 2011).


Ratnam S et al. (1986). Whirlpool associated folliculitis caused by Pseudomonas aeruginosa:
report of an outbreak and review. Journal of Clinical Microbiology, 23:655–659.


Rooney RM et al. (2004). A review of outbreaks of waterborne disease associated with ships:
evidence for risk management. Public Health Reports, 119:435–442.


Temeshnikova ND et al. (1996). The presence of Legionella spp. in the water system of ships.
In: Berdal B, ed. Legionella infections and atypical pneumonias. Proceedings of the
11th meeting of the European Working Group on Legionella Infections, Oslo, Norway,
June 1996. Oslo, Norwegian Defence Microbiological Laboratory.


Tu ETV et al. (2008). Norovirus excretion in an aged-care setting. Journal of Clinical
Microbiology, 46:2119–2121.


United Kingdom Food Standards Agency (2009). Food handlers: fitness to work. Regulatory
guidance and best practice advice for food business operators. London, Food
Standards Agency (http://www.food.gov.uk/multimedia/pdfs/publication/
fitnesstoworkguide09v3.pdf, accessed 30 January 2011).


United Nations (2008). Review of maritime transport. Geneva, United Nations Conference on

ภาคผนวก Trade and Development (Publication UNCTAD/RMT/2008).


United States Centers for Disease Control and Prevention (1996). Lake-associated outbreak of
Escherichia coli O157:H7—Illinois, 1995. Morbidity and Mortality Weekly Report,
45(21):437–439.


180 คู่มือสขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


United States Centers for Disease Control and Prevention (2000). Pseudomonas dermatitis/
folliculitis associated with pools and hot tubs—Colorado and Maine, 1999–2000.
Morbidity and Mortality Weekly Report, 49(48):1087–1091.


United States Centers for Disease Control and Prevention (2001a). Protracted outbreaks of
cryptosporidiosis associated with swimming pool use—Ohio and Nebraska, 2000.
Morbidity and Mortality Weekly Report, 50(20):406–410.


United States Centers for Disease Control and Prevention (2001b). Shigellosis outbreak
associated with an unchlorinated fill-and-drain wading pool—Iowa, 2001. Morbidity
and Mortality Weekly Report, 50(37):797–800.


United States Centers for Disease Control and Prevention (2002). Outbreaks of gastroenteritis
associated with noroviruses on cruise ships—United States. Morbidity and Mortality
Weekly Report, 51:1112.


White P et al. (2002). Norwalk-like virus 95/96-US strain is a major cause of gastroenteritis
outbreaks in Australia. Journal of Medical Virology, 68(1):113–118.


WHO (1997). Guidelines for drinking-water quality, 2nd ed. Vol. 3. Surveillance and control of
community supplies. Geneva, World Health Organization (http://www.who.int/
water_sanitation_ health/dwq/gdwqvol32ed.pdf, accessed 30 January 2011).


WHO (1999). Guidelines for safe disposal of unwanted pharmaceuticals in and after

emergencies: interagency guidelines. Geneva, World Health Organization (WHO/EDM/

PAR/99.2; http:// www.who.int/water_sanitation_health/medicalwaste/

unwantpharm.pdf, accessed 30 January 2011).
ภาคผนวก

WHO (2001). Sanitation on ships. Compendium of outbreaks of foodborne and waterborne
disease and Legionnaires’ disease associated with ships 1970–2000. Geneva, World
Health Organization (WHO/SDE/WSH/01.4; http:// www.who.int/water_sanitation_health/
hygiene/ships/ en/shipsancomp.pdf, accessed 30 January 2011).


ค่มู ือสขุ าภิบาลเรือ 181

Guide to ship sanitation


WHO (2004). WHO guidelines for the global surveillance of severe acute respiratory
syndrome (SARS). Updated recommendations. October 2004. Geneva, World Health
Organization (WHO/CDS/CSR/ ARO/2004.1; http://www.who.int/csr/resources/
publications/ WHO_CDS_CSR_ARO_2004_1.pdf, accessed 30 January 2011).


WHO (2005). Revision of the International Health Regulations. Geneva, World Health
Organization, Fifty-eighth World Health Assembly (WHA58.3, Agenda item 13.1, 23 May
2005; http:// whqlibdoc.who.int/publications/2008/9789241580410_ eng.pdf,
accessed 30 January 2011).


WHO (2006). Guidelines for safe recreational water environments. Vol. 2. Swimming pools
and similar environments. Geneva, World Health Organization (http://www.who.int/
water_sanitation_ health/bathing/srwe2full.pdf, accessed 30 January 2011).


WHO (2007). International medical guide for ships, 3rd ed. Geneva, World Health
Organization.


WHO (2009). Guide to hygiene and sanitation in aviation, 3rd ed. Module 1: Water; Module 2:
Cleaning and disinfection of facilities. Geneva, World Health Organization (http://
www.who. int/water_sanitation_health/hygiene/ships/guide_hygiene_ sanitation_
aviation_3_edition.pdf, accessed 30 January 2011).


WHO (2010). International Health Regulations (2005). Recommended procedures for

inspection of ships and issuance of Ship Sanitation Certificates. Draft document.

Geneva, World Health Organization (http://www.who.int/ihr/ports_airports/ssc_

ภาคผนวก guide_draft_27_may_2010.pdf, accessed 30 January 2011).


WHO (2011). Guidelines for drinking-water quality, 4th ed. Geneva, World Health Organization

(in press).









182 คู่มือสุขาภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


ภาคผนวก

คู่มอื สขุ าภบิ าลเรือ 183

Guide to ship sanitation


*XLGH WR
VKLS VDQLWDWLRQ

7KLUG HGLWLRQ

*HQHYD

ภาคผนวก

คมู่ อื สุขาภิบาลเรือ 185

Guide to ship sanitation


‹„”ƒ”› ƒ–ƒŽ‘‰—‹‰Ǧ‹Ǧ —„Ž‹…ƒ–‹‘ ƒ–ƒǣ
‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘Ǥ


—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘Ǥ ͵”† ‡†Ǥ
ͳǤ Š‹’• ʹǤ —„Ž‹… Š‡ƒŽ–Š ͵Ǥ ƒ‹–ƒ–‹‘ ͶǤ ‹•‡ƒ•‡ –”ƒ•‹••‹‘Ȅ’”‡˜‡–‹‘ ƒ† …‘–”‘Ž
ͷǤ ‘—‹…ƒ„Ž‡ †‹•‡ƒ•‡ …‘–”‘ŽȄ‡–Š‘†• ͸Ǥ
—‹†‡Ž‹‡• Ǥ ‹–Ž‡Ǥ

ͻ͹ͺ ͻʹ Ͷ ͳͷͶ͸͸ͻ Ͳ ȋ …Žƒ••‹ϐ‹…ƒ–‹‘ǣ ͺͳͲȌ

ภาคผนวก ̹ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ ʹͲͳͳ
ŽŽ ”‹‰Š–• ”‡•‡”˜‡†Ǥ —„Ž‹…ƒ–‹‘• ‘ˆ –Š‡ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ …ƒ „‡ ‘„–ƒ‹‡† ˆ”‘
”‡••ǡ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ǡ ʹͲ ˜‡—‡ ’’‹ƒǡ ͳʹͳͳ
‡‡˜ƒ ʹ͹ǡ ™‹–œ‡”Žƒ†
ȋ–‡Žǣ ΪͶͳ ʹʹ ͹ͻͳ ʹͶ͹͸Ǣ ˆƒšǣ ΪͶͳ ʹʹ ͹ͻͳ Ͷͺͷ͹Ǣ ‡ƒ‹Žǣ „‘‘‘”†‡”•̷™Š‘Ǥ‹–ȌǤ ‡“—‡•–•
ˆ‘” ’‡”‹••‹‘ –‘ ”‡’”‘†—…‡ ‘” –”ƒ•Žƒ–‡ ’—„Ž‹…ƒ–‹‘•Ȅ™Š‡–Š‡” ˆ‘” •ƒŽ‡ ‘” ˆ‘”
‘…‘‡”…‹ƒŽ †‹•–”‹„—–‹‘Ȅ•Š‘—Ž† „‡ ƒ††”‡••‡† –‘ ”‡••ǡ ƒ– –Š‡ ƒ„‘˜‡ ƒ††”‡••
ȋˆƒšǣ ΪͶͳ ʹʹ ͹ͻͳ ͶͺͲ͸Ǣ ‡ƒ‹Žǣ ’‡”‹••‹‘•̷™Š‘Ǥ‹–ȌǤ
Š‡ †‡•‹‰ƒ–‹‘• ‡’Ž‘›‡† ƒ† –Š‡ ’”‡•‡–ƒ–‹‘ ‘ˆ –Š‡ ƒ–‡”‹ƒŽ ‹ –Š‹• ’—„Ž‹…ƒ–‹‘ †‘
‘– ‹’Ž› –Š‡ ‡š’”‡••‹‘ ‘ˆ ƒ› ‘’‹‹‘ ™Šƒ–•‘‡˜‡” ‘ –Š‡ ’ƒ”– ‘ˆ –Š‡ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š
”‰ƒ‹œƒ–‹‘ …‘…‡”‹‰ –Š‡ Ž‡‰ƒŽ •–ƒ–—• ‘ˆ ƒ› …‘—–”›ǡ –‡””‹–‘”›ǡ …‹–› ‘” ƒ”‡ƒ ‘” ‘ˆ ‹–•
ƒ—–Š‘”‹–‹‡•ǡ ‘” …‘…‡”‹‰ –Š‡ †‡Ž‹‹–ƒ–‹‘ ‘ˆ ‹–• ˆ”‘–‹‡”• ‘” „‘—†ƒ”‹‡•Ǥ ‘––‡† Ž‹‡• ‘
ƒ’• ”‡’”‡•‡– ƒ’’”‘š‹ƒ–‡ „‘”†‡” Ž‹‡• ˆ‘” ™Š‹…Š –Š‡”‡ ƒ› ‘– ›‡– „‡ ˆ—ŽŽ ƒ‰”‡‡‡–Ǥ
Š‡ ‡–‹‘ ‘ˆ •’‡…‹ϐ‹… …‘’ƒ‹‡• ‘” ‘ˆ …‡”–ƒ‹ ƒ—ˆƒ…–—”‡”•ǯ ’”‘†—…–• †‘‡• ‘– ‹’Ž›
–Šƒ– –Š‡› ƒ”‡ ‡†‘”•‡† ‘” ”‡…‘‡†‡† „› –Š‡ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ ‹ ’”‡ˆ‡”‡…‡
–‘ ‘–Š‡”• ‘ˆ ƒ •‹‹Žƒ” ƒ–—”‡ –Šƒ– ƒ”‡ ‘– ‡–‹‘‡†Ǥ ””‘”• ƒ† ‘‹••‹‘• ‡š…‡’–‡†ǡ –Š‡
ƒ‡• ‘ˆ ’”‘’”‹‡–ƒ”› ’”‘†—…–• ƒ”‡ †‹•–‹‰—‹•Š‡† „› ‹‹–‹ƒŽ …ƒ’‹–ƒŽ Ž‡––‡”•Ǥ
ŽŽ ”‡ƒ•‘ƒ„Ž‡ ’”‡…ƒ—–‹‘• Šƒ˜‡ „‡‡ –ƒ‡ „› –‘ ˜‡”‹ˆ› –Š‡ ‹ˆ‘”ƒ–‹‘ …‘–ƒ‹‡† ‹
–Š‹• ’—„Ž‹…ƒ–‹‘Ǥ ‘™‡˜‡”ǡ –Š‡ ’—„Ž‹•Š‡† ƒ–‡”‹ƒŽ ‹• „‡‹‰ †‹•–”‹„—–‡† ™‹–Š‘—– ™ƒ””ƒ–›
‘ˆ ƒ› ‹†ǡ ‡‹–Š‡” ‡š’”‡•• ‘” ‹’Ž‹‡†Ǥ Š‡ ”‡•’‘•‹„‹Ž‹–› ˆ‘” –Š‡ ‹–‡”’”‡–ƒ–‹‘ ƒ† —•‡ ‘ˆ
–Š‡ ƒ–‡”‹ƒŽ Ž‹‡• ™‹–Š –Š‡ ”‡ƒ†‡”Ǥ  ‘ ‡˜‡– •ŠƒŽŽ –Š‡ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ „‡ Ž‹ƒ„Ž‡
ˆ‘” †ƒƒ‰‡• ƒ”‹•‹‰ ˆ”‘ ‹–• —•‡Ǥ

”‹–‡† ‹ ”ƒ…‡

‘˜‡” †‡•‹‰ „› ”ƒ›‘„Ž‡—ǡ ›‘ǡ ”ƒ…‡
ƒ›‘—– „› ‹‘–‡š– –› –†ǡ ƒ„‡””ƒǡ —•–”ƒŽ‹ƒ

186 คูม่ ือสขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


&RQWHQWV

‘”‡™‘”† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ˜‹‹

…‘™Ž‡†‰‡‡–• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ‹š

…”‘›• ƒ† ƒ„„”‡˜‹ƒ–‹‘• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ š‹‹‹

ͳ –”‘†—…–‹‘ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ

ͳǤͳ ‹‰‹ϐ‹…ƒ…‡ ‘ˆ •Š‹’• –‘ Š‡ƒŽ–Š ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳ

ͳǤʹ …‘’‡ǡ ’—”’‘•‡ ƒ† ‘„Œ‡…–‹˜‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤʹ

ͳǤ͵ ƒ”‘‹œƒ–‹‘ ™‹–Š ‘–Š‡” ‹–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ”‡‰—Žƒ–‹‘• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ͵

ͳǤ͵Ǥͳ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡‰—Žƒ–‹‘• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ͵
ͳǤ͵Ǥʹ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ„‘—” ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͶ
ͳǤ͵Ǥ͵ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ”‹–‹‡ ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ͹
ͳǤͶ ‘Ž‡• ƒ† ”‡•’‘•‹„‹Ž‹–‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͺ

ͳǤͶǤͳ ‡•‹‰‡”Ȁ…‘•–”—…–‘” ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͺ
ͳǤͶǤʹ ™‡”Ȁ‘’‡”ƒ–‘” ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͺ
ͳǤͶǤ͵ ƒ•–‡”Ȁ…”‡™ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͻ
ͳǤͶǤͶ ‘”– ƒ—–Š‘”‹–‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͻ
ͳǤͷ –”—…–—”‡ ‘ˆ –Š‡
—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͲ

ʹ ƒ–‡” ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳ

ʹǤͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͳ

ʹǤͳǤͳ –ƒ†ƒ”†• ”‡Žƒ–‡† –‘ ’‘–ƒ„Ž‡ ™ƒ–‡” ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳ͵ ภาคผนวก
ʹǤͳǤʹ ‘Ž‡ ‘ˆ –Š‡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡‰—Žƒ–‹‘• ȋʹͲͲͷȌ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͶ
ʹǤͳǤ͵ ‘–ƒ„Ž‡ ™ƒ–‡” •‘—”…‡• ˆ”‘ ƒ•Š‘”‡ ƒ† —•‡• ‘

„‘ƒ”† •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͷ
ʹǤͳǤͶ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ’‘–ƒ„Ž‡ ™ƒ–‡” ‘ •Š‹’•ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳ͸
ʹǤͳǤͷ ‘––Ž‡† ™ƒ–‡” ƒ† ‹…‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͺ
ʹǤͳǤ͸ ‡ϐ‹‹–‹‘•ǡ ‘˜‡”˜‹‡™ ƒ† ‘„Œ‡…–‹˜‡• ‘ˆ ™ƒ–‡”

•ƒˆ‡–› ’Žƒ• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͻ
ʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤʹͳ

ʹǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ʹǤͳǣ ƒ–‡” •ƒˆ‡–› ’Žƒ ˆ‘” •Š‘”‡ •—’’Ž‹‡•ǡ
†‡Ž‹˜‡”› •›•–‡ ƒ† „—‡” „‘ƒ–• ‘” „ƒ”‰‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ʹͳ
ʹǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ʹǤʹǣ ƒ–‡” “—ƒ–‹–› ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ʹͷ
ʹǤʹǤ͵
—‹†‡Ž‹‡ ʹǤ͵ǣ ƒ–‡” •ƒˆ‡–› ’Žƒ ˆ‘” •Š‹’ ™ƒ–‡” •—’’Ž› ǤǤǤǤǤǤǤ ʹ͸
ʹǤʹǤͶ
—‹†‡Ž‹‡ ʹǤͶǣ †‡’‡†‡– •—”˜‡‹ŽŽƒ…‡ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ Ͷ͹

LLL
คู่มือสขุ าภบิ าลเรอื
187
Guide to ship sanitation


͵ ‘‘† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͷͷ

͵Ǥͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͷͷ

͵ǤͳǤͳ ‘‘† •—’’Ž› ƒ† –”ƒ•ˆ‡” …Šƒ‹ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͷͷ
͵ǤͳǤʹ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ˆ‘‘† ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͷͷ
͵ǤͳǤ͵ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡‰—Žƒ–‹‘• ȋʹͲͲͷȌ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͷͺ
͵ǤͳǤͶ ˜‡”˜‹‡™ ‘ˆ ˆ‘‘† •ƒˆ‡–› ’Žƒ•ǡ ƒ† Šƒœƒ”† ƒƒŽ›•‹• ƒ†

…”‹–‹…ƒŽ …‘–”‘Ž ’‘‹–•ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͷͻ
͵Ǥʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ͸ʹ

͵ǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͳǣ ‘‘† •ƒˆ‡–› ’Žƒ• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͸͵
͵ǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥʹǣ ‘‘† ”‡…‡‹’– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͸Ͷ
͵ǤʹǤ͵
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥ͵ǣ “—‹’‡– ƒ† —–‡•‹Ž• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͸͹
͵ǤʹǤͶ
—‹†‡Ž‹‡ ͵ǤͶǣ ƒ–‡”‹ƒŽ• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͸ͻ
͵ǤʹǤͷ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͷǣ ƒ…‹Ž‹–‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͹ͳ
͵ǤʹǤ͸
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥ͸ǣ –‘”ƒ‰‡ǡ ’”‡’ƒ”ƒ–‹‘ ƒ† •‡”˜‹…‡ •’ƒ…‡• ǤǤǤǤǤǤ ͹ͷ
͵ǤʹǤ͹
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥ͹ǣ ‘‹Ž‡– ƒ† ’‡”•‘ƒŽ Š›‰‹‡‡ ˆƒ…‹Ž‹–‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͹ͺ
͵ǤʹǤͺ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͺǣ ‹•Š™ƒ•Š‹‰ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺͲ
͵ǤʹǤͻ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͻǣ ƒˆ‡ ˆ‘‘† •–‘”ƒ‰‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺʹ
͵ǤʹǤͳͲ
—‹†‡Ž‹‡ ͵ǤͳͲǣ ƒ‹–‡ƒ…‡ǡ …Ž‡ƒ‹‰ ƒ† †‹•‹ˆ‡…–‹‘ ǤǤǤǤǤ ͺͶ
͵ǤʹǤͳͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͳͳǣ ‡”•‘ƒŽ Š›‰‹‡‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺͷ
͵ǤʹǤͳʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͳʹǣ ”ƒ‹‹‰ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺ͹
͵ǤʹǤͳ͵
—‹†‡Ž‹‡ ͵Ǥͳ͵ǣ ‘‘† ™ƒ•–‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺͺ

Ͷ ‡…”‡ƒ–‹‘ƒŽ ™ƒ–‡” ‡˜‹”‘‡–• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺͻ

ͶǤͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͺͻ

ͶǤͳǤͳ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ”‡…”‡ƒ–‹‘ƒŽ ™ƒ–‡”
‡˜‹”‘‡–• ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͺͻ

ͶǤͳǤʹ ‡…”‡ƒ–‹‘ƒŽ ™ƒ–‡” ‡˜‹”‘‡– ‰—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͻͳ
ͶǤʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͻͳ

ภาคผนวก ͶǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͶǤͳǣ ‡•‹‰ ƒ† ‘’‡”ƒ–‹‘ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͻʹ
ͶǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͶǤʹǣ ‘‘Ž Š›‰‹‡‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͲͷ
ͶǤʹǤ͵
—‹†‡Ž‹‡ ͶǤ͵ǣ ‘‹–‘”‹‰ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͲ͹

ͷ ƒŽŽƒ•– ™ƒ–‡” ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͳͳ

ͷǤͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͳ

ͷǤͳǤͳ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š „ƒŽŽƒ•– ™ƒ–‡” ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͳ
ͷǤͳǤʹ –ƒ†ƒ”†• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͳ
ͷǤʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳʹ

ͷǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͷǤͳǣ ƒŽŽƒ•– ™ƒ–‡” ƒƒ‰‡‡– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳ͵
ͷǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͷǤʹǣ ƒŽŽƒ•– ™ƒ–‡” –”‡ƒ–‡– ƒ† †‹•’‘•ƒŽ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͶ

188 Gคู่มuiLอืdYe ส tขุo า s ภh*iิบpXาLsGลaHnเ รiWtRaือt iVoKnLS VDQLWDWLRQ


͸ ƒ•–‡ ƒƒ‰‡‡– ƒ† †‹•’‘•ƒŽ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͳ͹

͸Ǥͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳ͹

͸ǤͳǤͳ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ™ƒ•–‡• ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳ͹
͸ǤͳǤʹ –ƒ†ƒ”†• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͺ
͸Ǥʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͺ

͸ǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͸Ǥͳǣ ‡™ƒ‰‡ ƒ† ‰”‡›™ƒ–‡” ƒƒ‰‡‡– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͳͻ

͸ǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͸Ǥʹǣ ‘Ž‹† ™ƒ•–‡ ƒƒ‰‡‡– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹͳ
͸ǤʹǤ͵
—‹†‡Ž‹‡ ͸Ǥ͵ǣ ‡ƒŽ–ŠǦ…ƒ”‡ ƒ† ’Šƒ”ƒ…‡—–‹…ƒŽ ™ƒ•–‡
ƒƒ‰‡‡– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹ͵

͹ ‡…–‘” ƒ† ”‡•‡”˜‘‹” …‘–”‘Ž ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳʹͷ

͹Ǥͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹͷ

͹ǤͳǤͳ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ˜‡…–‘”• ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹͷ
͹ǤͳǤʹ –ƒ†ƒ”†• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹ͸
͹Ǥʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹ͸

͹ǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͹Ǥͳǣ •‡…– ˜‡…–‘” …‘–”‘Ž ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹ͹
͹ǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͹Ǥʹǣ ‘†‡– ˜‡…–‘” …‘–”‘Ž ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹͻ

ͺ ‘–”‘ŽŽ‹‰ ‹ˆ‡…–‹‘—• †‹•‡ƒ•‡• ‹ –Š‡ ‡˜‹”‘‡– ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳ͵͵

ͺǤͳ ƒ…‰”‘—† ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͵͵

ͺǤͳǤͳ ‡ƒŽ–Š ”‹•• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ’‡”•‹•–‡– ‹ˆ‡…–‹‘—•
ƒ‰‡–• ‘ •Š‹’• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͵͵

ͺǤʹ
—‹†‡Ž‹‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͵͸

ͺǤʹǤͳ
—‹†‡Ž‹‡ ͺǤͳǣ ”ƒ•‹••‹‘ ”‘—–‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͵ͺ
ͺǤʹǤʹ
—‹†‡Ž‹‡ ͺǤʹǣ ‹” “—ƒŽ‹–› ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͵ͻ
ͺǤʹǤ͵
—‹†‡Ž‹‡ ͺǤ͵ǣ ƒ•‡• ƒ† ‘—–„”‡ƒ• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳͶͲ

‡š šƒ’Ž‡• ‘ˆ Šƒœƒ”†•ǡ …‘–”‘Ž ‡ƒ•—”‡•ǡ ‘‹–‘”‹‰
’”‘…‡†—”‡• ƒ† …‘””‡…–‹˜‡ ƒ…–‹‘• ˆ‘” –Š‡ •Š‹’ ™ƒ–‡”
•—’’Ž› •›•–‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͶ͵


Ž‘••ƒ”› ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͶ͹

‡ˆ‡”‡…‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤͳͷͳ ภาคผนวก

&RQWHQWคV มู่ อื สขุ าYภบิ าลเรือ 189

Guide to ship sanitation


ƒ„Ž‡• ƒ–Š‘‰‡• ƒ† –‘š‹• Ž‹‡† –‘ ‘—–„”‡ƒ• ‘ˆ
ƒ„Ž‡ ʹǦͳ ™ƒ–‡”„‘”‡ †‹•‡ƒ•‡ ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š •Š‹’•ǡ
ͳ
ƒ—ƒ”› ͳͻ͹Ͳ Ȃ ͵Ͳ
—‡ ʹͲͲ͵ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳ͸
ƒ„Ž‡ ʹǦʹ šƒ’Ž‡• ‘ˆ ’ƒ”ƒ‡–‡”• ˆ”‡“—‡–Ž› –‡•–‡† ‹
ƒ„Ž‡ ͵Ǧͳ ’‘–ƒ„Ž‡ ™ƒ–‡” ƒ† –›’‹…ƒŽ ˜ƒŽ—‡• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͷͲ
ƒ„Ž‡ ͵Ǧʹ ‰‡–• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ˆ‘‘†„‘”‡ †‹•‡ƒ•‡ ‘—–„”‡ƒ•
™‹–Š‹ •Š‹’•ǡ ͳ
ƒ—ƒ”› ͳͻ͹Ͳ Ȃ ͵Ͳ
—‡ ʹͲͲ͵ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͷ͹
šƒ’Ž‡• ‘ˆ ’”‘’‡” ˆ‘‘† ”‡…‡‹’– –‡’‡”ƒ–—”‡•
ƒ† …‘†‹–‹‘• ˆ‘” ˆ‘‘†• •—’’Ž‹‡† –‘ •Š‹’ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͸͸

‹‰—”‡• …Š‡ƒ–‹… ‘ˆ •Š‹’ †”‹‹‰Ǧ™ƒ–‡” •—’’Ž› …Šƒ‹ǡ •Š‘™‹‰
‹‰—”‡ ʹǦͳ ͳȌ •‘—”…‡ǡ ʹȌ –”ƒ•ˆ‡” ƒ† †‡Ž‹˜‡”› •›•–‡ ƒ†
͵Ȍ •Š‹’ ™ƒ–‡” •›•–‡ ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ͳʹ
‹‰—”‡ ʹǦʹ ’’Ž‹…ƒ–‹‘ ‘ˆ ™ƒ–‡” •ƒˆ‡–› ’Žƒ• ǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤǤ ʹͲ

ภาคผนวก

190 คมู่ ือสYLุข า ภ บิ *าXลLเGรHือ WR VKLS VDQLWDWLRQ

Guide to ship sanitation


)RUHZRUG

‹•–‘”‹…ƒŽŽ›ǡ •Š‹’• Šƒ˜‡ ’Žƒ›‡† ƒ •‹‰‹ϐ‹…ƒ– ”‘Ž‡ ‹ –Š‡ ‰Ž‘„ƒŽ –”ƒ•‹••‹‘ ภาคผนวก
‘ˆ ‹ˆ‡…–‹‘—• †‹•‡ƒ•‡Ǥ ‘‡ ‘ˆ –Š‡ ‡ƒ”Ž‹‡•– ”‡…‘”†‡† ‡˜‹†‡…‡ ‘ˆ ƒ––‡’–•
–‘ …‘–”‘Ž Š—ƒ †‹•‡ƒ•‡ –”ƒ•‹••‹‘ ˜‹ƒ •Š‹’• †ƒ–‡• –‘ –Š‡ ͳͶ–Š
…‡–—”›ǡ ™Š‡ ’‘”–• †‡‹‡† ƒ……‡•• –‘ •Š‹’• •—•’‡…–‡† ‘ˆ …ƒ””›‹‰
–Š‡ ’Žƒ‰—‡Ǥ  –Š‡ ͳͻ–Š …‡–—”›ǡ –Š‡ •’”‡ƒ† ‘ˆ …Š‘Ž‡”ƒ ’ƒ†‡‹…• ™ƒ•
–Š‘—‰Š– –‘ Šƒ˜‡ „‡‡ ˆƒ…‹Ž‹–ƒ–‡† „› ‡”…Šƒ– •Š‹’’‹‰Ǥ ‘”Ž† ‡ƒŽ–Š
”‰ƒ‹œƒ–‹‘ ȋ Ȍ ”‡˜‹‡™ ‹†‡–‹ϐ‹‡† ‘”‡ –Šƒ ͳͲͲ †‹•‡ƒ•‡ ‘—–„”‡ƒ•
ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š •Š‹’• „‡–™‡‡ ͳͻ͹Ͳ ƒ† ʹͲͲ͵ ȋ ‘‘‡› ‡– ƒŽǤǡ ʹͲͲͶȌǤ
‘†ƒ›ǯ• ™‘”Ž† ϐŽ‡‡– ‘ˆ ’”‘’‡ŽŽ‡† •‡ƒ‰‘‹‰ ‡”…Šƒ– •Š‹’• ‘ˆ ‘”‡ –Šƒ
ͳͲͲ „‹ŽŽ‹‘ –‘‡• …‘’”‹•‡• ͻͻ ͹Ͷͳ •Š‹’•ǡ ™‹–Š ƒ ƒ˜‡”ƒ‰‡ ƒ‰‡ ‘ˆ
ʹʹ ›‡ƒ”•ǡ ”‡‰‹•–‡”‡† ‹ ‘”‡ –Šƒ ͳͷͲ ƒ–‹‘• ƒ† …”‡™‡† „› ‘”‡ –Šƒ
ƒ ‹ŽŽ‹‘ •‡ƒˆƒ”‡”• ‘ˆ ˜‹”–—ƒŽŽ› ‡˜‡”› ƒ–‹‘ƒŽ‹–› ȋ ƒ‹”’Žƒ›ǡ ʹͲͳͲȌǤ
‘”Ž† •‡ƒ„‘”‡ –”ƒ†‡ ϐ‹‰—”‡• •—‰‰‡•– –Šƒ– –Š‡ ƒ‘—– ‘ˆ ‰‘‘†• Ž‘ƒ†‡† ‘
•Š‹’• Šƒ• ‹…”‡ƒ•‡† …‘•‹†‡”ƒ„Ž› ‹ ”‡…‡– †‡…ƒ†‡•Ǣ ‹ ʹͲͲ͹ǡ ‹– ”‡ƒ…Š‡†
͹Ǥ͵ „‹ŽŽ‹‘ –‘‡•ǡ ƒ ˜‘Ž—‡ ‹…”‡ƒ•‡ ‘ˆ ͶǤͺΨ ‘˜‡” –Š‡ ’”‡˜‹‘—• ›‡ƒ”
ȋ ‹–‡† ƒ–‹‘•ǡ ʹͲͲͺȌǤ —”‹‰ –Š‡ –Š”‡‡ †‡…ƒ†‡• –‘ ʹͲͲͺǡ –Š‡ ƒ—ƒŽ
ƒ˜‡”ƒ‰‡ ‰”‘™–Š ”ƒ–‡ ‘ˆ ™‘”Ž† •‡ƒ„‘”‡ –”ƒ†‡ ™ƒ• ‡•–‹ƒ–‡† ƒ– ͵ǤͳΨ
ȋ ‹–‡† ƒ–‹‘•ǡ ʹͲͲͺȌǤ Š‡ •Š‹’’‹‰ ‹†—•–”› ƒŽ•‘ •—’’‘”–• –‘—”‹•
ƒ† ”‡…”‡ƒ–‹‘Ǥ ‡”‹…ƒ …”—‹•‡ •Š‹’• ƒŽ‘‡ …ƒ””‹‡† ͳ͵ǤͶ ‹ŽŽ‹‘ ’‡‘’Ž‡
†—”‹‰ ʹͲͲͻǡ ˆ‘” ƒ ƒ˜‡”ƒ‰‡ ’‡”‹‘† ‘ˆ ͹Ǥ͵ †ƒ›• ’‡” ’‡”•‘ǡ ƒ ’ƒ••‡‰‡”
—„‡” ‹…”‡ƒ•‡ ƒ˜‡”ƒ‰‹‰ ͶǤ͹Ψ ’‡” ›‡ƒ” ‘˜‡” –Š‡ ’”‡…‡†‹‰ ˆ‘—” ›‡ƒ”•
ȋ ”—‹•‡ ‹‡• –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ••‘…‹ƒ–‹‘ǡ ʹͲͳͲȌǤ ƒ˜ƒŽ •Š‹’• ƒŽ•‘ …ƒ””›
…‘•‹†‡”ƒ„Ž‡ —„‡”• ‘ˆ …”‡™ǡ •‘‡–‹‡• ‘”‡ –Šƒ ͷͲͲͲ ’‡” •Š‹’Ǥ
‡””‹‡• ƒ”‡ —„‹“—‹–‘—• ƒ”‘—† –Š‡ ™‘”Ž† ‹ ’‘”– …‹–‹‡• ƒ† ƒ– •‘‡ ”‹˜‡”
…”‘••‹‰• ƒ† ƒ”‡ —•‡† „› ƒ› ’‡‘’Ž‡ ‘ ƒ †ƒ‹Ž› „ƒ•‹•Ǥ
‡…ƒ—•‡ ‘ˆ –Š‡ ‹–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ–—”‡ ‘ˆ •Š‹’ –”ƒ•’‘”–ǡ ‹–‡”ƒ–‹‘ƒŽ
”‡‰—Žƒ–‹‘• ”‡Žƒ–‹‰ –‘ •ƒ‹–ƒ”› ƒ•’‡…–• ‘ˆ •Š‹’ –”ƒ•’‘”– Šƒ˜‡ „‡‡ ‹
’Žƒ…‡ ˆ‘” ‘”‡ –Šƒ ŠƒŽˆ ƒ …‡–—”›Ǥ Š‡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ”› ‡‰—Žƒ–‹‘•
‘ˆ ͳͻͷͳ ™‡”‡ ”‡’Žƒ…‡† „› –Š‡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡‰—Žƒ–‹‘• ȋ Ȍ
ƒ†‘’–‡† „› ‹ ͳͻ͸ͻǤ Š‡ ™‡”‡ ”‡˜‹•‡† ƒ– –Š‡ ‹ˆ–›Ǧ‡‹‰Š–Š
‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ••‡„Ž› ‹ ʹͲͲͷǤ
Š‡
—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘ Šƒ• „‡…‘‡ –Š‡ ‘ˆϐ‹…‹ƒŽ ‰Ž‘„ƒŽ
”‡ˆ‡”‡…‡ ‘ Š‡ƒŽ–Š ”‡“—‹”‡‡–• ˆ‘” •Š‹’ …‘•–”—…–‹‘ ƒ† ‘’‡”ƒ–‹‘Ǥ
–• ‘”‹‰‹ƒŽ ’—”’‘•‡ ™ƒ• –‘ •–ƒ†ƒ”†‹œ‡ –Š‡ •ƒ‹–ƒ”› ‡ƒ•—”‡• –ƒ‡ ‹
•Š‹’•ǡ –‘ •ƒˆ‡‰—ƒ”† –Š‡ Š‡ƒŽ–Š ‘ˆ –”ƒ˜‡ŽŽ‡”• ƒ† ™‘”‡”• ƒ† –‘ ’”‡˜‡–
–Š‡ •’”‡ƒ† ‘ˆ ‹ˆ‡…–‹‘ ˆ”‘ ‘‡ …‘—–”› –‘ ƒ‘–Š‡”Ǥ ‘†ƒ›ǡ Š‘™‡˜‡”ǡ
‰‹˜‡ –Š‡ —„‡” ‘ˆ •’‡…‹ϐ‹… ‰—‹†ƒ…‡ †‘…—‡–•ǡ …‘˜‡–‹‘• ƒ†
”‡‰—Žƒ–‹‘• …—””‡–Ž› ƒ˜ƒ‹Žƒ„Ž‡ –Šƒ– ’”‘˜‹†‡ ˆ—ŽŽ ƒ……‘—–• ‘ˆ –Š‡ †‡•‹‰

คมู่ อื สขุ า ภYบิLL าลเรอื 191

Guide to ship sanitation


ƒ† ‘’‡”ƒ–‹‘ƒŽ †‡–ƒ‹Ž ”‡Žƒ–‹‰ –‘ •Š‹’•ǡ –Š‡ ’”‹ƒ”› ƒ‹ ‘ˆ –Š‡ ‰—‹†‡ ‹•
–‘ ’”‡•‡– –Š‡ ’—„Ž‹… Š‡ƒŽ–Š •‹‰‹ϐ‹…ƒ…‡ ‘ˆ •Š‹’• ‹ –‡”• ‘ˆ †‹•‡ƒ•‡ ƒ†
–‘ Š‹‰ŠŽ‹‰Š– –Š‡ ‹’‘”–ƒ…‡ ‘ˆ ƒ’’Ž›‹‰ ƒ’’”‘’”‹ƒ–‡ …‘–”‘Ž ‡ƒ•—”‡•Ǥ
Š‡ ‰—‹†‡ ™ƒ• ϐ‹”•– ’—„Ž‹•Š‡† ‹ ͳͻ͸͹ ƒ† ƒ‡†‡† ‹ ͳͻͺ͹Ǥ Š‹• ”‡˜‹•‡†
–Š‹”† ‡†‹–‹‘ ‘ˆ –Š‡ ‰—‹†‡ Šƒ• „‡‡ ’”‡’ƒ”‡† –‘ ”‡ϐŽ‡…– –Š‡ …Šƒ‰‡• ‹
…‘•–”—…–‹‘ǡ †‡•‹‰ ƒ† •‹œ‡ ‘ˆ •Š‹’• •‹…‡ –Š‡ ͳͻ͸Ͳ• ƒ† –Š‡ ‡š‹•–‡…‡
‘ˆ ‡™ †‹•‡ƒ•‡• ȋ‡Ǥ‰Ǥ Ž‡‰‹‘‡ŽŽ‘•‹•Ȍ –Šƒ– ™‡”‡ ‘– ˆ‘”‡•‡‡ ™Š‡ –Š‡
ͳͻ͸͹ ‰—‹†‡ ™ƒ• ’—„Ž‹•Š‡†Ǥ
Š‡ ‰—‹†‡ Šƒ• „‡‡ †‡˜‡Ž‘’‡† –Š”‘—‰Š ƒ ‹–‡”ƒ–‹˜‡ •‡”‹‡• ‘ˆ †”ƒˆ–‹‰
ƒ† ’‡‡”Ǧ”‡˜‹‡™ •–‡’•Ǥ  ”‡˜‹•‹‰ –Š‡ ‰—‹†‡ǡ ‡š’‡”– ‡‡–‹‰• ™‡”‡ Š‡Ž†
‹ ‹ƒ‹ǡ ‹–‡† –ƒ–‡• ‘ˆ ‡”‹…ƒ ȋ Ȍǡ ‘ ͵ȂͶ …–‘„‡” ʹͲͲͳ ƒ† ‹
ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒǡ ‘ ͺȂͳͲ …–‘„‡” ʹͲͲʹ –‘ †‹•…—•• ƒ† ”‡…‘‡†
–Š‡ ’”‘’‘•‡† …‘–‡–•Ǥ š’‡”– ‡‡–‹‰• –‘ ”‡˜‹‡™ –Š‡ †”ƒˆ– ‰—‹†‡ ™‡”‡
Š‡Ž† ‘ ʹͷ …–‘„‡” ʹͲͲ͹ ‹ ‘–”‡ƒŽǡ ƒƒ†ƒǡ ƒ† ‘ ͳʹȂͳ͵ …–‘„‡”
ʹͲͲͻ ‹ ›‘ǡ ”ƒ…‡Ǥ ƒ”–‹…‹’ƒ–• ”‡’”‡•‡–‡† …”—‹•‡ •Š‹’ ‘’‡”ƒ–‘”•ǡ
•‡ƒˆƒ”‡” ƒ••‘…‹ƒ–‹‘•ǡ …‘ŽŽƒ„‘”ƒ–‹‰ ‡„‡” •–ƒ–‡• ˆ‘” –Š‡ ʹͲͲͷǡ
’‘”– •–ƒ–‡ …‘–”‘Žǡ ’‘”– Š‡ƒŽ–Š ƒ—–Š‘”‹–‹‡• ƒ† ‘–Š‡” ”‡‰—Žƒ–‘”›
ƒ‰‡…‹‡•Ǥ …‘’Ž‡–‡ Ž‹•– ‘ˆ …‘–”‹„—–‘”• –‘ –Š‡ ‰—‹†‡ …ƒ „‡ ˆ‘—† ‹ –Š‡
…‘™Ž‡†‰‡‡–• •‡…–‹‘Ǥ
Š‡
—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘ ƒ† –Š‡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡†‹…ƒŽ ‰—‹†‡ ˆ‘” •Š‹’•
ȋ ǡ ʹͲͲ͹Ȍ ƒ”‡ …‘’ƒ‹‘ ˜‘Ž—‡• ‘”‹‡–‡† –‘™ƒ”†• ’”‡˜‡–‹˜‡
Š‡ƒŽ–Š ƒ† …—”ƒ–‹˜‡ Š‡ƒŽ–Šǡ ”‡•’‡…–‹˜‡Ž›ǡ ‘ „‘ƒ”† •Š‹’•Ǥ

ภาคผนวก

192 คู่มอื สขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation

YLLL *XLGH WR VKLS VDQLWDWLRQ


$FNQRZOHGJHPHQWV ภาคผนวก

Š‡ ’”‡’ƒ”ƒ–‹‘ ‘ˆ –Š‹• –Š‹”† ‡†‹–‹‘ ‘ˆ –Š‡
—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘
‹˜‘Ž˜‡† –Š‡ ’ƒ”–‹…‹’ƒ–‹‘ ‘ˆ ƒ› ‡š’‡”–• ˆ”‘ †‹˜‡”•‡ †‡˜‡Ž‘’‹‰ ƒ†
†‡˜‡Ž‘’‡† …‘—–”‹‡•Ǥ
Š‡ ™‘” ™ƒ• ˆƒ…‹Ž‹–ƒ–‡† ‰”‡ƒ–Ž› „› –Š‡ ‡š‹•–‡…‡ ‘ˆ ’”‹‘” ‡†‹–‹‘• ƒ† „›
ƒ •›•–‡ƒ–‹… ”‡˜‹‡™ ‘ˆ ‘—–„”‡ƒ• ‘ „‘ƒ”† •Š‹’• ’”‡’ƒ”‡† „› ” ‘‹•‹
‘‘‡›ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™Š‹…Š ™ƒ• ’”‡˜‹‘—•Ž› ’—„Ž‹•Š‡† „› ȋʹͲͲͳȌǤ
Š‡ ‹–‡”ƒ–‹‘ƒŽ „”ƒ…Š ‘ˆ –Š‡ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ–‹‘ ‘—†ƒ–‹‘ǡ 
”„‘”ǡ ǡ •‡…‘†‡† ƒ •–ƒˆˆ ‡„‡” –‘
‡‡˜ƒ ™Š‘•‡ ƒ‹ Ž‹‡
‘ˆ ƒ…–‹˜‹–› ™ƒ• –Š‡ ‹‹–‹ƒŽ †‡˜‡Ž‘’‡– ‘ˆ –Š‹• ‰—‹†‡Ǥ
Š‡ ™‘” ‘ˆ –Š‡ ˆ‘ŽŽ‘™‹‰ ‹†‹˜‹†—ƒŽ• ™ƒ• …”—…‹ƒŽ –‘ –Š‡ †‡˜‡Ž‘’‡– ‘ˆ
–Š‹• ‡†‹–‹‘ ‘ˆ –Š‡
—‹†‡ –‘ •Š‹’ •ƒ‹–ƒ–‹‘ ƒ† ‹• ‰”ƒ–‡ˆ—ŽŽ› ƒ…‘™Ž‡†‰‡†ǣ

Ǥ †ƒ•ǡ ‹•Š‡”‹‡• ƒ† …‡ƒ• ƒƒ†ƒǡ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒ

Ǥ ‡•ǡ ‡–‡”• ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ –Žƒ–ƒǡ
Ǥ –—‡•ǡ ‘”–Š ‡‰‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š —–Š‘”‹–›ǡ ‹•„‘ǡ ‘”–—‰ƒŽ

Ǥ ƒ‹„”‹†‰‡ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ”ƒ•’‘”– ‘”‡”•ǯ ‡†‡”ƒ–‹‘ǡ ‘†‘ǡ
‰Žƒ†

Ǥ ƒ””‘™ǡ ‡–‡”• ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ –Žƒ–ƒǡ

Ǥ ƒ”–”ƒǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†
Ǥ ‡‹–œǡ ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǡ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ‘•ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†

Ǥ ”ƒ•–‘ǡ ‘”– ‡ƒŽ–Š ‡”˜‹…‡•ǡ ƒ•– ‘†‘ǡ ‘—–Š ˆ”‹…ƒ
Ǥ ”‘…™ƒ›ǡ ‘—–Šƒ’–‘ ‹–› ‘—…‹Žǡ ‘—–Šƒ’–‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ”‘™‡ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ – ‹…Šƒ‡Žǡ ƒ”„ƒ†‘•ǡ ‡•– †‹‡•
Ǥ ”›ƒ–ǡ Šƒ„‡” ‘ˆ Š‹’’‹‰ ‘ˆ ”‹–‹•Š ‘Ž—„‹ƒǡ ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ Ǥ ƒ’‘•ǡ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ”› ‘–”‘Ž ‰‡…› ȋ Ȍǡ ”ƒ•ÀŽ‹ƒǡ ”ƒœ‹Ž
Ǥ Šƒ”–‹‡”ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†
Ǥ Šƒ—Šƒǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‡™ ‡ŽŠ‹ǡ †‹ƒ
Ǥ ‘…•‡†‰‡ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†

Ǥ ‘ŽŽ‹‰ƒǡ ƒ”‹–‹‡ ƒ† ‘ƒ•–‰—ƒ”† ‰‡…›ǡ †‹„—”‰Šǡ …‘–Žƒ†

ค่มู ือสขุ า ภ Lบิ[ าลเรือ 193

Guide to ship sanitation


ภาคผนวก
Ǥ ‘–”—˜‘ǡ
‘•‡’Š ‘–”—˜‘ Ƭ ••‘…‹ƒ–‡• ǡ ƒ•Š‹‰–‘ǡ
Ǥ Ǥ ‘—”›ǡ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ”› ‘–”‘Ž ‰‡…› ȋ Ȍǡ ”ƒ•ÀŽ‹ƒǡ ”ƒœ‹Ž
Ǥ ”ƒ‡”ǡ ‡–‡”• ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ –Žƒ–ƒǡ
Ǥ Ǥ ‹‰—‡‹”‡†‘ †ƒ —Šƒǡ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ”› ‘–”‘Ž ‰‡…› ȋ Ȍǡ
”ƒ•ÀŽ‹ƒǡ ”ƒœ‹Ž
Ǥ Ǥ †ƒ ‘…Šƒǡ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ‹–ƒ”› ‘–”‘Ž ‰‡…› ȋ Ȍǡ ”ƒ•ÀŽ‹ƒǡ
”ƒœ‹Ž
Ǥ ƒ˜‹†•‘ǡ ‘‘† ƒ† ”—‰ †‹‹•–”ƒ–‹‘ǡ ‘ŽŽ‡‰‡ ƒ”ǡ
Ǥ ‡ƒ”•Ž‡›ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ Š‹’’‹‰ ‡†‡”ƒ–‹‘ǡ ‘†‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ‡‰‡”ƒǡ ˜ƒ‡”‡” ƒ•ƒǦ ƒ”†•ǡ —”—ǡ ‹Žƒ†
Ǥ ‡‘ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‘—…‹Ž ‘ˆ ”—‹•‡ ‹‡•ǡ ”Ž‹‰–‘ǡ
Ǥ †‘ ±— ƒ†‡‹”ƒǡ ‹”‡…–‘”ƒ–‡
‡‡”ƒŽ ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‹•„‘ǡ ‘”–—‰ƒŽ
Ǥ ‘‰Ž—ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‡‹Œ‹‰ǡ Š‹ƒ
Ǥ ŽŽ‹‘––ǡ ”ƒ•’‘”– ƒƒ†ƒǡ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ƒ‰ǡ ‡’ƒ”–‡– ‘ˆ ‡ƒŽ–Š —ƒ”ƒ–‹‡ǡ
‡‡”ƒŽ †‹‹•–”ƒ–‹‘ ‘ˆ
—ƒŽ‹–› —’‡”˜‹•‹‘ǡ •’‡…–‹‘ ƒ† —ƒ”ƒ–‹‡ ȋ Ȍǡ ‡‹Œ‹‰ǡ Š‹ƒ
Ǥ ‡”•‘ǡ ‘—–Š ƒ•–‡” ›†‡› —„Ž‹… ‡ƒŽ–Š ‹–ǡ ƒ†™‹…ǡ —•–”ƒŽ‹ƒ
Ǥ ‘”‡›ǡ ‡–‡”• ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ –Žƒ–ƒǡ
Ǥ Ǥ
ƒ„‘”ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ —„Ž‹… ‡ƒŽ–Šǡ ‘–‡˜‹†‡‘ǡ ”—‰—ƒ›
Ǥ
ƒ—ǡ ƒ„—”‰ ‘”– ‡ƒŽ–Š ‡–‡”ǡ ƒ„—”‰ǡ
‡”ƒ›
Ǥ
”‹ˆϐ‹ǡ ‘‘† –ƒ†ƒ”†• ‰‡…›ǡ ‘†‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ƒ†Œ‹…Š”‹•–‘†‘—Ž‘—ǡ ‹˜‡”•‹–› ‘ˆ Š‡••ƒŽ›ǡ ƒ”‹••ƒǡ
”‡‡…‡

Ǥ ƒ•‡ǡ ‘”–Š ‡•– ”—‹•‡•Š‹’ ••‘…‹ƒ–‹‘ǡ ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒ

Ǥ ƒ”„ǡ ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǡ ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ƒ”†›ǡ ƒ˜› ˜‹”‘‡–ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡–‡”ǡ ‘”ˆ‘Žǡ
Ǥ ƒ”’‡”ǡ ‡–‡”• ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ –Žƒ–ƒǡ
Ǥ ‘’‡ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ† ȋ•‡…‘†‡† „› –‡”ƒ–‹‘ƒŽǡ
 ”„‘”ǡ Ȍ
Ǥ ‘‰ǡ ‡’ƒ”–‡– ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‘‰ ‘‰ ’‡…‹ƒŽ †‹‹•–”ƒ–‹˜‡
‡‰‹‘ǡ Š‹ƒ

194 คมู่ ือสุขาภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation

[ *XLGH WR VKLS VDQLWDWLRQ


Ǥ —”ƒ‡˜ǡ ‡ƒŽ–Š ‹‹•–”›ǡ ‡–”‡ ‘ˆ –ƒ–‡ ƒ‹–ƒ”› ’‹†‡‹‘Ž‘‰‹…ƒŽ ภาคผนวก
—”˜‡› ‘ ƒ–‡” ƒ† ‹” ”ƒ•’‘”– ˆ‘” –Š‡ ‘”–ŠǦ ‡•–‡” ‡‰‹‘ ‘ˆ
—••‹ƒǡ – ‡–‡”•„—”‰ǡ —••‹ƒ ‡†‡”ƒ–‹‘
Ǥ ƒ–œǡ Š‹’’‹‰ ‡†‡”ƒ–‹‘ ‘ˆ ƒƒ†ƒǡ ‘–”‡ƒŽǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ‹„‡Žǡ ƒ ‡”‹…ƒ ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ǡ ‡‰‹‘ƒŽ ˆϐ‹…‡ǡ
ƒ•Š‹‰–‘ǡ

Ǥ ƒ‹”ƒǡ ‘”– ‡ƒŽ–Š ƒƒ‰‡”ǡ ™ƒœ—Ž—ǡ ‘—–Š ˆ”‹…ƒ
Ǥ Ǥ ‡—……‹ǡ ǡ ›‘ǡ ”ƒ…‡

Ǥ ‹…ŠƒŽ‘™•‹ǡ ‹–‡† –ƒ–‡• ‘ƒ•–
—ƒ”†ǡ ƒ•Š‹‰–‘ǡ
Ǥ ‹…Šƒ‰ǡ –ƒ–‡ †‹‹•–”ƒ–‹‘ ˆ‘” –”›Ȃ š‹– •’‡…–‹‘ ƒ†
—ƒ”ƒ–‹‡ ‘ˆ ‡‘’Ž‡ǯ• ‡’—„Ž‹… ‘ˆ Š‹ƒǡ ‡‹Œ‹‰ǡ Š‹ƒ
Ǥ
Ǥ Ǥ ‘Šƒƒ†ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ —ƒ‹–Š‹›ƒǡ —™ƒ‹–
Ǥ ‘–‘‡ǡ ˜ƒ‡”‡” ƒ•ƒǦ ƒ”†•ǡ —”—ǡ ‹Žƒ†
Ǥ ‘—…Š–‘—”‹ǡ ‹˜‡”•‹–› ‘ˆ Š‡••ƒŽ›ǡ ƒ”‹••ƒǡ
”‡‡…‡
Ǥ ‘—”ƒ„ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Š ƒ† ‘’—Žƒ–‹‘ǡ ƒ‹”‘ǡ ‰›’–
Ǥ ‘—••‹ˆǡ ‘Šƒ‡† ‹”’‘”–ǡ ƒ•ƒ„Žƒ…ƒǡ ‘”‘……‘

Ǥ ƒ†‡ƒ—ǡ ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǡ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ‡‹’’ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Š ƒ† ‘…‹ƒŽ ‘Ž‹…›ǡ ƒ†”‹†ǡ ’ƒ‹
Ǥ ǯ ƒŠ‘›ǡ ‡’ƒ”–‡– ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‘†‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ƒ––‡”•‘ǡ ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǡ ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ƒ—šǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ƒ”‹•ǡ ”ƒ…‡
Ǥ Ž‡’ǡ ‡–”‡ ˆ‘” ˆ‡…–‹‘—• ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Žǡ ƒ–‹‘ƒŽ •–‹–—–‡ ˆ‘”
—„Ž‹… ‡ƒŽ–Š ƒ† –Š‡ ˜‹”‘‡–ǡ •–‡”†ƒǡ –Š‡ ‡–Š‡”Žƒ†•
Ǥ ‘”–‡”ǡ ˜‹”‘‡–ƒŽ ”‘–‡…–‹‘ ‰‡…›ǡ ƒ•Š‹‰–‘ǡ
Ǥ —Ž‡ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ”‡–‘”‹ƒǡ ‘—–Š ˆ”‹…ƒ
Ǥ ‘‘‡›ǡ ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†
Ǥ ‘–Š‡”ƒǡ ••‘…‹ƒ–‹‘ ‘ˆ ‘”– ‡ƒŽ–Š —–Š‘”‹–‹‡•ǡ —…‘”ǡ ‰Žƒ†
Ǥ —‹–ƒ‹ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ‡‹Œ‹‰ǡ Š‹ƒ

Ǥ ƒǡ ‡’ƒ”–‡– ‘ˆ ‡ƒŽ–Š ƒ† ‰‡† ƒ”‡ǡ ƒ„‡””ƒǡ —•–”ƒŽ‹ƒ

Ǥ ƒ”—„„‹ǡ ‹–‡† –ƒ–‡• ‘ƒ•–
—ƒ”†ǡ ƒ•Š‹‰–‘ǡ

ค่มู ือสุขาภิบาลเรอื 195

$FNQRZOHGJHGPuHiQdeWVto ship [sLanitation


ภาคผนวก Ǥ ƒ••‘ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ”ƒ•’‘”– ‘”‡”•ǯ ‡†‡”ƒ–‹‘ǡ ƒ’‡ ƒƒ˜‡”ƒŽǡ
Ž‘”‹†ƒǡ
Ǥ …Š‹ˆ‡”Ž‹ǡ ‡…”‡–ƒ”‹ƒ– ‘ˆ –Š‡ ƒ”‹• ‡‘”ƒ†— ‘ˆ †‡”•–ƒ†‹‰ ‘
‘”– –ƒ–‡ ‘–”‘Žǡ Š‡ ƒ‰—‡ǡ –Š‡ ‡–Š‡”Žƒ†•
Ǥ …ŠŽƒ‹…Šǡ ƒ„—”‰ ‘”– ‡ƒŽ–Š ‡–‡”ǡ ƒ„—”‰ǡ
‡”ƒ›
Ǥ ‡˜‡‹…Šǡ ‘”– ‡ƒŽ–Š —–Š‘”‹–›ǡ ƒ„—”‰ǡ
‡”ƒ›
Ǥ Š‡™ƒ”†ǡ ‹˜‡”•‹–› ‘ˆ ‡–”ƒŽ ƒ…ƒ•Š‹”‡ǡ ‡•– —••‡šǡ ‰Žƒ†
Ǥ —”ƒŒǡ ƒ˜› ˜‹”‘‡–ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡–‡”ǡ ‘”ˆ‘Žǡ
Ǥ Šƒ‘”‡ǡ ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǡ ƒ…‘—˜‡”ǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ Š‘’•‘ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‘—…‹Ž ‘ˆ ”—‹•‡ ‹‡•ǡ ”Ž‹‰–‘ǡ
Ǥ Ǥ ”‹†ƒ†‡ǡ ‡–”‡ ˆ‘” ‹•‡ƒ•‡ ‘–”‘Ž ƒ† ”‡˜‡–‹‘ǡ ƒ…ƒ‘ ’‡…‹ƒŽ
†‹‹•–”ƒ–‹˜‡ ‡‰‹‘ǡ Š‹ƒ
Ǥ —––‹˜‹”‘Œƒƒǡ ‹‹•–”› ‘ˆ —„Ž‹… ‡ƒŽ–Šǡ ‘–Šƒ„—”‹ǡ Šƒ‹Žƒ†
Ǥ ƒ‰‡”ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ„‘—” ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ǡ
‡‡˜ƒǡ ™‹–œ‡”Žƒ†
Ǥ ƒŠƒ„ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Š ƒ† ‘’—Žƒ–‹‘ǡ ƒ‹”‘ǡ ‰›’–
Ǥ ƒŠƒ„‹ǡ ‹‹•–”› ‘ˆ ‡ƒŽ–Šǡ ƒ„ƒ–Ǧ ‡…Š“—ƒ”ǡ ‘”‘……‘
Ǥ ƒ‰ǡ ǡ ›‘ǡ ”ƒ…‡
Ǥ ‡•–ƒ…‘––ǡ ‘”– ‡ƒŽ–Š ‡”˜‹…‡•ǡ ‘—–Šƒ’–‘ ‹–› ‘—…‹Žǡ
‘—–Šƒ’–‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ Š‹–‡Š‘—•‡ǡ ƒƒ†‹ƒ ‘ƒ•–
—ƒ”†ǡ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒ
Ǥ ‹„‘™ǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ”‹–‹‡ ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ǡ ‘†‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ‹•‡ƒǡ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ Š‹’’‹‰ ‡†‡”ƒ–‹‘ǡ ‘†‘ǡ ‰Žƒ†
Ǥ ƒ”†ǡ Ǥ ‹˜‹°”‡ǡ Ǥ ƒ‰ ƒ† Ǥ Ǥ ‡—……‹ ’”‘˜‹†‡† •‡…”‡–ƒ”‹ƒŽ
ƒ† ƒ†‹‹•–”ƒ–‹˜‡ •—’’‘”– –Š”‘—‰Š‘—– –Š‡ ‡‡–‹‰• †—”‹‰ –Š‡
†‡˜‡Ž‘’‡– ‘ˆ –Š‡ ‰—‹†‡Ǥ Ǥ ‡‡”‡ ȋ ƒ–‡” —–—”‡•ǡ ‹˜‡”•‹–› ‘ˆ ‡™
‘—–Š ƒŽ‡•ǡ ›†‡›ǡ —•–”ƒŽ‹ƒǡ ƒ† ƒ–‡” —ƒŽ‹–› ‡•‡ƒ”…Š —•–”ƒŽ‹ƒȌ
ƒ† Ǥ Š‡ˆˆ‡” ȋ ––ƒ™ƒǡ ƒƒ†ƒȌ —†‡”–‘‘ –‡…Š‹…ƒŽ ™”‹–‹‰ ƒ† ‡†‹–‹‰
”‘Ž‡• ‹ †‡˜‡Ž‘’‹‰ –Š‡ ‰—‹†‡Ǥ Š‡ ’”‡’ƒ”ƒ–‹‘ ‘ˆ –Š‹• –Š‹”† ‡†‹–‹‘ ‘ˆ –Š‡
‰—‹†‡ ™‘—Ž† ‘– Šƒ˜‡ „‡‡ ’‘••‹„Ž‡ ™‹–Š‘—– –Š‡ ‰‡‡”‘—• •—’’‘”– ‘ˆ –Š‡
‹–‡† –ƒ–‡• ‡’ƒ”–‡– ‘ˆ ‡ƒŽ–Š ƒ† —ƒ ‡”˜‹…‡•ǡ –Š‡ ™‡†‹•Š
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡˜‡Ž‘’‡– ‘‘’‡”ƒ–‹‘ ‰‡…› ƒ† ‡ƒŽ–Š ƒƒ†ƒǤ

196 คมู่ ือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide [toLL s h i p s*aXnLiGtaHti oWRn VKLS VDQLWDWLRQ


$FURQ\PV DQG DEEUHYLDWLRQV

ƒ……‹†‡–ƒŽ ˆƒ‡…ƒŽ ”‡Ž‡ƒ•‡ ภาคผนวก

ƒ…—–‡ ‰ƒ•–”‘‹–‡•–‹ƒŽ ‹ŽŽ‡••
ƒ…—–‡ ”‡•’‹”ƒ–‘”› ‹ŽŽ‡••
…”‹–‹…ƒŽ …‘–”‘Ž ’‘‹–
…ˆ— …‘Ž‘›Ǧˆ‘”‹‰ —‹–
‘‘† ƒ† ‰”‹…—Ž–—”‡ ”‰ƒ‹œƒ–‹‘
‘ˆ –Š‡ ‹–‡† ƒ–‹‘•
ˆ‘‘† •ƒˆ‡–› ’Žƒ ‘” ˆ‘‘† •ƒˆ‡–› ’”‘‰”ƒ‡



—‹†‡Ž‹‡• ˆ‘” †”‹‹‰Ǧ™ƒ–‡” “—ƒŽ‹–›
Šƒœƒ”† ƒƒŽ›•‹• ƒ† …”‹–‹…ƒŽ …‘–”‘Ž ’‘‹–
Š‡–‡”‘–”‘’Š‹… ’Žƒ–‡ …‘—–
Š‡ƒ–‹‰ǡ ˜‡–‹Žƒ–‹‘ ƒ† ƒ‹”Ǧ…‘†‹–‹‘‹‰
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ Ž‡…–”‘–‡…Š‹…ƒŽ ‘‹••‹‘
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‡ƒŽ–Š ‡‰—Žƒ–‹‘•
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ„‘—” ”‰ƒ‹œƒ–‹‘
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ”‹–‹‡ ”‰ƒ‹œƒ–‹‘
–‡”ƒ–‹‘ƒŽ ”‰ƒ‹œƒ–‹‘ ˆ‘” –ƒ†ƒ”†‹œƒ–‹‘
͹͵Ȁ͹ͺ –‡”ƒ–‹‘ƒŽ ‘˜‡–‹‘ ˆ‘” –Š‡
”‡˜‡–‹‘ ‘ˆ ‘ŽŽ—–‹‘ ˆ”‘ Š‹’•
•’’Ǥ •‡˜‡”‡ ƒ…—–‡ ”‡•’‹”ƒ–‘”› •›†”‘‡
•’‡…‹‡•
‹–‡† –ƒ–‡• ‘ˆ ‡”‹…ƒ
—Ž–”ƒ˜‹‘Ž‡–
‘”Ž† ‡ƒŽ–Š ”‰ƒ‹œƒ–‹‘
™ƒ–‡” •ƒˆ‡–› ’Žƒ

คู่มือส ุข [าLภLL บิ าลเรือ 197

Guide to ship sanitation


,QWURGXFWLRQ

6LJQL¿FDQFH RI VKLSV WR KHDOWK ภาคผนวก
Š‹’• …ƒ Šƒ˜‡ •‹‰‹ϐ‹…ƒ…‡ –‘ ’—„Ž‹… Š‡ƒŽ–Š „‡›‘† –Š‡‹” ”‘Ž‡ ‹ •Š‹’Ǧ
ƒ…“—‹”‡† ‹ˆ‡…–‹‘Ǥ ‘” ‡šƒ’Ž‡ǡ •Š‹’• …ƒ –”ƒ•’‘”– ‹ˆ‡…–‡† Š—ƒ•
ƒ† ‘–Š‡” ˜‡…–‘”•ǡ •—…Š ƒ• ‘•“—‹–‘‡• ƒ† ”ƒ–•ǡ „‡–™‡‡ ’‘”–• ƒ† …ƒ
–Š‡”‡ˆ‘”‡ ƒ…– ƒ• ƒ ‡ƒ• ‘ˆ ƒ–‹‘ƒŽ ƒ† ‹–‡”ƒ–‹‘ƒŽ †‹••‡‹ƒ–‹‘ ‘ˆ
†‹•‡ƒ•‡ ƒ† †‹•‡ƒ•‡ ƒ‰‡–•Ǥ
‹•–‘”‹…ƒŽŽ›ǡ •Š‹’• Šƒ˜‡ ’Žƒ›‡† ƒ ‹’‘”–ƒ– ”‘Ž‡ ‹ –”ƒ•‹––‹‰
‹ˆ‡…–‹‘—• †‹•‡ƒ•‡• ƒ”‘—† –Š‡ ™‘”Ž†Ǥ Š‡ •’”‡ƒ† ‘ˆ …Š‘Ž‡”ƒ ’ƒ†‡‹…•
‹ –Š‡ ͳͻ–Š …‡–—”› ™ƒ• –Š‘—‰Š– –‘ „‡ Ž‹‡† –‘ –”ƒ†‡ ”‘—–‡• ƒ†
ˆƒ…‹Ž‹–ƒ–‡† „› ‡”…Šƒ– •Š‹’’‹‰Ǥ ˆˆ‘”–• –‘ …‘–”‘Ž –Š‡ ‘˜‡‡– ‘ˆ
Š—ƒ †‹•‡ƒ•‡ ‘ •Š‹’• …ƒ „‡ –”ƒ…‡† „ƒ… –‘ –Š‡ ‹††Ž‡ ‰‡•ǡ ™Š‡ǡ
‹ ͳ͵͹͹ǡ ‡‹…‡ ƒ† Š‘†‡• †‡‹‡† ƒ……‡•• –‘ •Š‹’• …ƒ””›‹‰ ’ƒ••‡‰‡”•
‹ˆ‡…–‡† ™‹–Š –Š‡ ’Žƒ‰—‡ǡ ‰‹˜‹‰ ”‹•‡ –‘ –Š‡ –‡” Dz“—ƒ”ƒ–‹‡dzǤ  ƒ””‹˜ƒŽǡ
–”ƒ˜‡ŽŽ‡”• ™‡”‡ †‡–ƒ‹‡† ‹ ‹•‘Žƒ–‹‘ ˆ‘” ͶͲ †ƒ›• „‡ˆ‘”‡ –Š‡› ™‡”‡
ƒŽŽ‘™‡† –‘ ’”‘…‡‡† –‘ –Š‡‹” ϐ‹ƒŽ †‡•–‹ƒ–‹‘Ǥ ˜‡”…”‘™†‹‰ ‘ •Š‹’•ǡ
ϐ‹Ž–Š ƒ† Žƒ… ‘ˆ ’‡”•‘ƒŽ Š›‰‹‡‡ ™‡”‡ ‘ˆ–‡ ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š ‡’‹†‡‹…•
‘ˆ ”‹…‡––•‹ƒŽ –›’Š—• ˆ‡˜‡”Ǥ ”‡˜‡–‹˜‡ ‡ƒ•—”‡•ǡ •—…Š ƒ• “—ƒ”ƒ–‹‡ǡ
†‡Ž‘—•‹‰ ƒ† ƒ‹–ƒ‹‹‰ ’‡”•‘ƒŽ …Ž‡ƒŽ‹‡•• „› —•‡ ‘ˆ •‘ƒ’ǡ ™‡”‡
‰”ƒ†—ƒŽŽ› ƒ†‘’–‡†ǡ ƒ† –Š‡ ‹…‹†‡…‡ ‘ˆ –›’Š—• †‡…”‡ƒ•‡†Ǥ
‘”‡ –Šƒ ͳͲͲ ‘—–„”‡ƒ• ‘ˆ ‹ˆ‡…–‹‘—• †‹•‡ƒ•‡• ƒ••‘…‹ƒ–‡† ™‹–Š •Š‹’•
™‡”‡ ”‡’‘”–‡† „‡–™‡‡ ͳͻ͹Ͳ ƒ† ʹͲͲ͵ ȋ ‘‘‡› ‡– ƒŽǤǡ ʹͲͲͶȌǤ ‡’‘”–‡†
‘—–„”‡ƒ• ‹…Ž—†‡† Ž‡‰‹‘‡ŽŽ‘•‹•ǡ ‹ϐŽ—‡œƒǡ –›’Š‘‹† ˆ‡˜‡”ǡ •ƒŽ‘‡ŽŽ‘•‹•ǡ
˜‹”ƒŽ ‰ƒ•–”‘‡–‡”‹–‹• ȋ‡Ǥ‰Ǥ ‘”‘˜‹”—•Ȍǡ ‡–‡”‘–‘š‹‰‡‹… •…Š‡”‹…Š‹ƒ …‘Ž‹
‹ˆ‡…–‹‘ǡ •Š‹‰‡ŽŽ‘•‹•ǡ …”›’–‘•’‘”‹†‹‘•‹• ƒ† –”‹…Š‹‘•‹•Ǥ ƒ˜ƒŽ •Š‹’•ǡ
…ƒ”‰‘ •Š‹’•ǡ ˆ‡””‹‡• ƒ† …”—‹•‡ •Š‹’• ™‡”‡ ƒŽŽ ƒˆˆ‡…–‡†ǡ ‘ˆ–‡ ™‹–Š •‡”‹‘—•
‘’‡”ƒ–‹‘ƒŽ ƒ† ϐ‹ƒ…‹ƒŽ …‘•‡“—‡…‡•Ǥ
Š‡•‡ ”‡’‘”–‡† ‘—–„”‡ƒ• ”‡’”‡•‡– Œ—•– ƒ •ƒŽŽ ’”‘’‘”–‹‘ ‘ˆ –Š‡ –‘–ƒŽ
†‹•‡ƒ•‡ „—”†‡ ƒ––”‹„—–ƒ„Ž‡ –‘ •Š‹’Ǧƒ…“—‹”‡† †‹•‡ƒ•‡Ǥ ‘” ‡˜‡”› ‘–‹ϐ‹‡†
ƒ† ”‡’‘”–‡† …ƒ•‡ Ž‹•–‡† ‹ ‘—–„”‡ƒ ”‡’‘”–•ǡ –Š‡”‡ ƒ”‡ Ž‹‡Ž› –‘ „‡ ƒ›
‘”‡ …ƒ•‡• –Šƒ– ‰‘ —”‡’‘”–‡†Ǥ
ˆ ’”‘’‡” …‘–”‘Ž ‡ƒ•—”‡• ƒ”‡ ‘– ‹ ’Žƒ…‡ǡ •Š‹’• ƒ”‡ ’ƒ”–‹…—Žƒ”Ž›
’”‘‡ –‘ †‹•‡ƒ•‡ ‘—–„”‡ƒ•Ǥ Š‹’• …‘–ƒ‹ ‹•‘Žƒ–‡† …‘—‹–‹‡• ™‹–Š
…Ž‘•‡ ƒ……‘‘†ƒ–‹‘•ǡ •Šƒ”‡† •ƒ‹–ƒ”› ˆƒ…‹Ž‹–‹‡• ƒ† …‘‘ ˆ‘‘†
ƒ† ™ƒ–‡” •—’’Ž‹‡•Ǥ —…Š …‘†‹–‹‘• …ƒ „‡ ˆƒ˜‘—”ƒ„Ž‡ –‘ –Š‡ •’”‡ƒ†
‘ˆ ‹ˆ‡…–‹‘—• †‹•‡ƒ•‡•Ǥ Š‡ ‹‡˜‹–ƒ„Ž‡ ’—„Ž‹…‹–› –Šƒ– …‘‡• ƒŽ‘‰ ™‹–Š ƒ

คู่มือสุขาภ บิ าลเรอื 199

Guide to ship sanitation


Click to View FlipBook Version