The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ranong.phq, 2022-12-07 02:19:14

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

คู่มือสุขาภิบาลเรือ Guide to ship sanitation

3.2.8 แนวทางการปฏิบตั ิ 3.8: ทล่ี า้ งจาน


แนวทางการปฏิบตั ิ 3.8 เครอื่ งมอื และอปุ กรณล์ ้างจานท่เี พียงพอและมีประสทิ ธิภาพ


ตัวช้ีวดั สำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.8

1. เครอ่ื งมือและอุปกรณใ์ นการล้างจานมีเพยี งพอ เหมาะสม ปลอดภยั และมีประสิทธิภาพ

2. ของเสยี ทีเ่ กดิ จากการล้างจานจะไม่ปนเป้อื นซำ้ ในนำ้ ที่ใชล้ า้ งจาน


บทท่ี 3 ขอ้ แนะนำสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.8

1. อปุ กรณใ์ นการลา้ งจาน

แนะนำให้ฉีดน้ำล้างพ้ืนท่ีก่อนล้างภาชนะ หากต้องใช้อ่างล้างมือสำหรับการล้างส่ิงสกปรกออกก่อนอาจจำเป็น

ตอ้ งใช้ตะแกรงดักเศษอาหารแบบถอดได


สว่ นประกอบของเครือ่ งล้างจานทง้ั หมดรวมถงึ สายไฟทห่ี ่อหุ้มจะตอ้ งยกสูงจากพ้ืนอยา่ งน้อย 15 ซม. เพอ่ื ใหพ้ ้น
การระบายน้ำ


แผงสเตนเลสสตีลท่ีถอดได้จะต้องจัดให้มีเพ่ือป้องกันสายไฟและพื้นที่ทางเทคนิคจากการกระเด็นของนำ้ กรวย
เคร่ืองบด โต๊ะเคร่ืองบด และโต๊ะรับจานจะต้องสร้างขึ้นจากสตนเลสสตีลท่ีมีการเช่ือมเป็นเน้ือเดียวกันอย่างต่อ
เนอ่ื ง โครงสรา้ งสำหรบั รองรบั เครอื่ งลา้ งจานจะตอ้ งสรา้ งจากสเตนเลสหลกี เลยี่ งการใชเ้ หลก็ ทาส


เครื่องล้างจานจะต้องได้รับการออกแบบและกำหนดขนาดสำหรับการใช้งานตามวัตถุประสงค์และติดต้ังตามคำ
แนะนำของผผู้ ลิต


เคร่ืองล้างจานที่ใช้น้ำยาเคมีฆ่าเช้ือโรคจะต้องติดตั้งอุปกรณ์ท่ีเตือนด้วยเสียงหรือมองเห็นได้เมื่อต้องเพิ่มน้ำยา
เคมฆี ่าเชือ้ โรค


เคร่ืองล้างจานต้องมีแผน่ ขอ้ มลู ท่มี องเหน็ ไดแ้ ละอา่ นไดง้ ่าย แผ่นขอ้ มลู รวมถึงผังท่ีแสดงส่วนประกอบของเคร่ือง
และข้อกำหนดการใชง้ านของเคร่อื ง ดังนี้

l อุณหภูมิทต่ี ้องการสำหรบั การลา้ งก่อน การลา้ ง และการฆา่ เชอ้ื

l ความดันท่ีใช้สำหรับฉีดพ่นน้ำสะอาดในการล้างฆ่าเชื้อโรค ยกเว้นว่าเคร่ืองได้รับการออกแบบให้ใช้เฉพาะ

การล้างโดยใช้เคร่อื งสูบนำ้ ยาฆ่าเชื้อเทา่ น้ัน

l ความเรว็ สายพานลำเลยี งสำหรบั เครอ่ื งลำเลยี งหรอื รอบเวลาสำหรบั เครอ่ื งลา้ งจานแบบอยกู่ บั ท
ี่
l ความเข้มขน้ ของสารเคมี (ถา้ ใชส้ ารเคมฆี ่าเชือ้ )


อ่างล้างจานแบบ 3 หลุมที่มีการแยกเศษอาหารออกก่อน จะต้องจัดให้มีในห้องครัวหลัก ห้องครัวลูกเรือ ห้อง
ครวั แยก และหอ้ งครวั เตม็ รปู แบบอน่ื ๆ พรอ้ มพน้ื ทล่ี า้ ง สำหรบั พนื้ ทเ่ี ตรยี ม เนอื้ ปลาและผกั จะตอ้ งมอี า่ งลา้ งจาน
สามตอนอย่างน้อยหน่ึงชุด หรือเคร่ืองล้างจานอัตโนมัติท่ีมีการแยกเศษอาหารออกก่อน อ่างล้างจะต้องมีขนาด

100 คู่มอื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


ท่ใี หญ่พอที่จะใหอ้ ปุ กรณห์ รือชน้ิ สว่ นทใ่ี หญ่ท่ีสุดท่ีใชใ้ นพื้นทนี่ ัน้ จมลงใตน้ ้ำได้ อ่างลา้ งควรมีมมุ เช่ือมภายในทีต่ อ่
เน่ือง การล้างด้วยเคร่ืองล้างจานและถังล้างควรติดต้ังแผ่นกั้นและม่านหรือวิธีการอื่นเพื่อลดการปนเป้ือนข้าม
ของน้ำก่อนและหลังกระบวนการล้าง เคร่ืองล้างจานแบบพาสทรู คือ มีสายพานเคลื่อนท่ีไปเหมาะสำหรับการ
ใชง้ านกว่ารุ่นทอ่ี ยูใ่ ต้เคาน์เตอร์


อ่างล้างจานที่ใช้น้ำร้อนในการฆ่าเช้ือ (ยกเว้นกลุ่มท่ีใช้สารฮาโลเจนสำหรับขั้นตอนการฆ่าเชื้อ) จะต้องติดตั้ง

เครอื่ งวดั อณุ หภูมทิ ่สี ามารถมองเห็นและอา่ นได้ง่าย ตะกร้าที่ทำด้วยสแตนเลสท่มี ดี ้ามจับยาว หรือระบบการทำ

งานอ่นื ๆ ตอ้ งมวี าล์วควบคุมเพื่อควบคุมอณุ หภูมขิ องน้ำ
บทท่ี 3

ต้องมีช้ันวางที่เพียงพอสำหรับการจัดเก็บภาชนะรองรับสิ่งสกปรกและอุปกรณ์ทำความสะอาด เช่น พื้นที่เก็บ

ภาชนะรองรับสงิ่ สกปรกจะต้องมพี น้ื ท่ปี ระมาณหนึง่ ในสามของพ้นื ทจี่ ัดเตรยี มไวส้ ำหรับอปุ กรณท์ ำความสะอาด

ต้องใช้ช้ันวางของทั้งช้ันวางแบบทึบหรือแบบเปิด แผ่นรองบนชั้นวางท่ีเป็นของแข็งจะต้องได้รับการออกแบบ

เพ่อื ให้ระบายน้ำออกทปี่ ลายแต่ละดา้ นของแผน่ รองลงไปดา้ นลา่ ง


จำเป็นต้องมีการระบายอากาศอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันการเกิดหยดน้ำเกาะบนเพดานหรือผนัง อุปกรณ์กรอง
ใดๆ ทต่ี ิดตงั้ อยู่เหนอื อุปกรณล์ ้างจานจะต้องถอดออกเพอ่ื ทำความสะอาดได้งา่ ย


2. การจัดการเศษอาหาร

พื้นที่เตรยี มอาหารจำเปน็ ทกุ แห่งต้องมีพน้ื ทเ่ี พียงพอสำหรับวางถังขยะมลู ฝอย เครอ่ื งบดเศษอาหาร หรอื เครือ่ ง
ย่อยเศษอาหาร เครอ่ื งบดเศษอาหารเปน็ อปุ กรณเ์ สริมในครัวและบาร์


สำหรับโต๊ะที่เก็บจานอาหารที่ใช้แล้วและที่เป้ือนเศษอาหาร ต้องติดตั้งเคร่ืองบดเศษอาหารหรือเคร่ืองย่อยเศษ
อาหาร พ้ืนโต๊ะต้องทำเป็นรางตามความยาวของโต๊ะและลาดเอียงลงไปเครือ่ งบดเศษอาหารหรือเคร่ืองย่อยเศษ
อาหาร เพ่ือสะดวกในการกวาดเศษอาหารลงเครอ่ื งบดเศษอาหารหรือเคร่ืองยอ่ ยเศษอาหาร ขอบด้านหลงั ของ
โตะ๊ เชือ่ มตดิ กับผนัง หรือมรี ะยะห่างสำหรับการทำความสะอาดเปน็ ระยะ 45 ซม. ระหว่างโต๊ะและผนัง โตะ๊ ดัง
กล่าวจะต้องได้รับการออกแบบเพ่ือระบายของเสียท่ีเป็นของเหลว และป้องกันการปนเปื้อนของพ้ืนผิวที่อยู่
ติดกัน


เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำไหลมารวม โต๊ะที่สะอาดควรติดต้ังรางระบายน้ำแบบข้ามเคาน์เตอร์ท่ีมีท่อระบายน้ำไป
ที่ทางออกจากเคร่ืองและลาดเอียงไปยังรูระบายน้ำข้างเรือ ต้องติดต้ังรางน้ำและท่อระบายน้ำชุดที่สองหากราง
แรกไม่สามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่โต๊ะทั้งหมดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความยาวของท่อระบายน้ำต้องส้ัน
ท่ีสดุ และหากเป็นไปไดจ้ ะตอ้ งวางท่อระบายนำ้ ในแนวด่ิงโดยไมม่ มี มุ


ขอ้ แนะนำตอ่ ไปนีจ้ ะใช้เพอื่ ปอ้ งกันการปนเป้อื นน้ำลา้ งกอ่ นและหลงั การลา้ ง


l รางระบายน้ำแบบข้ามเคาน์เตอร์พร้อมกับท่อระบายน้ำใช้ ในการแยกน้ำที่ใช้การล้างกับน้ำสะอาดหลัง 101
การล้าง


คู่มอื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


l แผ่นกั้นกันการกระเด็นของน้ำต้องมีความสูงเพียงพอโดยสูงกว่า 10 ซม. เหนือขอบระดับน้ำล้นของอ่าง
ล้างจานและอ่างล้างหลงั การลา้ ง


l ท่อระบายนำ้ ลน้ ในอา่ งล้างจานต้องอยู่ในระดบั ทต่ี ำ่ กวา่ ระดับน้ำลน้ อยา่ งนอ้ ย 10 ซม.


3.2.9 แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.9 การเก็บรกั ษาอาหารอยา่ งปลอดภยั


แนวทางการปฏิบตั ิ 3.9 การเกบ็ รักษาอาหารอย่างปลอดภัย




บทท่ี 3 ตวั ชีว้ ดั สำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 3.9


1. อณุ หภูมทิ ใี่ ชใ้ นการจัดเก็บอาหารไมเ่ อ้ือตอ่ เจรญิ เตบิ โตของจุลินทรยี ก์ อ่ โรค

2. แยกอาหารพรอ้ มรับประทานออกจากอาหารดิบ

3. แยกเกบ็ อาหารทั้งหมดและป้องกนั การปนเป้อื น


ขอ้ แนะนำสำหรบั แนวทางการปฏิบัติ 3.9

1. อุณหภมู

การควบคุมอุณหภูมิของอาหารท่ไี มเ่ หมาะสม เปน็ หนึง่ ในสาเหตทุ ี่พบการเนา่ เสียของอาหารบนเรอื และการเจ็บ
ป่วยท่ีเกิดจากอาหารบ่อยท่ีสุด บนเรือโดยสารมีการเตรียมอาหารท่ีหลากหลายในเวลาเดียวกันสำหรับคน
จำนวนมาก อาจเพิ่มความเส่ียงของการเตรียมอาหารที่ผิดพลาดและการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิที่ไม่น่าพอใจ
เช่น การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษจากเชื้อ Staphylococcus บนเรือท่องเท่ียว เกิดข้ึนจากการเตรียม
ขนมปังอบในปริมาณมากโดยผ้สู ัมผสั อาหารหลายคน เปน็ โอกาสท่ที ำให้เชอ้ื Staphylococcus ปนเปอื้ นลงใน
ขนมปังอบ การท้ิงขนมปังอบไว้เป็นเวลานานในอุณหภูมิท่ีอุ่น ทำให้เกิดสารพิษของแบคทีเรียที่เรียกว่า
Enterotoxin


ในการจัดเลี้ยงสำหรับคนจำนวนมาก มักจำเป็นต้องเตรียมอาหารก่อนเป็นเวลานานก่อนการเลี้ยงจะเริ่มข้ึน
ทำให้ต้องเก็บอาหารไว้ในตู้เย็น ในเคร่ืองมือที่ให้ความร้อน หรือในเตาในสภาวะอุณหภูมิธรรมดา ถ้าข้ันตอน
การผลิตมีความเข้มงวดในการควบคุมอุณหภูมิที่เก็บอาหารในระดับที่ทำให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญเติบโตได้
รวมทั้งสามารถควบคุมอันตรายที่อาจเกิดข้ึนได้ ผู้ประกอบการเรือจะต้องจัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อให้
แน่ใจว่ามีการควบคุมอุณหภูมิอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงเป็นสิ่งสำคัญต่อความปลอดภัยของอาหาร โดยจะต้อง
ตรวจสอบอุปกรณ์การตรวจวัดและบันทึกอุณหภูมิเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ เครื่องมือต้องได้รับการทดสอบ
ความถูกต้องของการตรวจวดั และทดสอบความแมน่ ยำในการตรวจวัด


ควรวัดอุณหภูมิในตู้เย็นและตู้แช่แข็งโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบติดตั้งภายใน จำเป็นต้องมีช้ันวางจำนวนที่เพียง
พอในทุกหน่วยทำความเย็นเพื่อป้องกันการวางซ้อนหรือกองทับกันและเพ่ือให้มีการระบายอากาศ และ
ทำความสะอาดอย่างเหมาะสม ตัวอย่างของอุณหภูมิการเก็บรักษาอาหารที่เหมาะสม ดูได้จากเอกสารของ
โครงการสุขาภิบาลเรือ ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกา และคณะกรรมการ Codex

102 คู่มอื สขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


Alimentarius Commission ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดเก็บอาหารบนเรือโดยสารและเรือท่องเท่ียวโดยเฉพาะ
เอกสารเหล่านี้ต้องได้รับการตรวจสอบความทันสมัยเป็นระยะ และผู้ประกอบการเรือควรพิจารณาฉบับที่เป็น
ปัจจุบนั


เมื่ออาหารโดยเฉพาะเนื้อสัตว์หรือสัตว์ปีกปริมาณมากมารวมกัน และปรุงไม่สุกหรือละลายไม่เพียงพอ

เน่อื งจากระยะเวลาในการปรงุ อาหารสัน้ เกินไปและอุณหภมู ติ ำ่ เกนิ ไป Salmonella และแบคทีเรียอน่ื ๆ อาจ

คงอยรู่ อดในอาหารได้ สงิ่ ทตี่ ามมาคอื การเกบ็ รกั ษาอาหารทไี่ มด่ ี จะทำใหเ้ กดิ การขยายจำนวนของสง่ิ มชี วี ติ ดงั กลา่ ว

ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ ส่ิงท่ีสำคัญคือ เมื่อนำเนื้อสัตว์หรือสัตว์ปีกปริมาณมากมาร่วมกันทำการละลาย บทที่ 3
น้ำแข็งก่อนที่จะปรุงอาหาร ข้อควรระวังจะต้องดำเนินการเพื่อให้อาหารท่ีปรุงสุกแล้วเย็นลงอย่างรวดเร็ว และ

อาหารที่จะไมป่ รุงทนั ทกี ็ตอ้ งเกบ็ ในที่เยน็ อยา่ งรวดเร็วเชน่ กนั


2. การแยกอาหารดิบและอาหารปรงุ สุกพรอ้ มรบั ประทาน

เชื้อโรคสามารถปนเปื้อนจากอาหารชนิดหนึ่งไปยังอาหารอื่น โดยการสัมผัสโดยตรง โดยผู้สัมผัสอาหาร พื้นผิว
สัมผัสอาหาร หรือการแพร่เช้ือผ่านอากาศ บางครั้งพ้ืนท่ีในห้องครัวก็เป็นข้อจำกัด การป้องกันท่ีดีคือการแยก
อาหารดบิ และอาหารปรุงสุกอย่างชัดเจน


อาหารดิบโดยเฉพาะอย่างยิ่งเน้ือสัตว์จำเป็นต้องแยกกันอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นทางกายภาพ หรือโดยเวลา
จากอาหารปรงุ สุกพร้อมรบั ประทาน พรอ้ มกบั การทำความสะอาดทันทอี ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการฆ่าเชื้อโรค
ทเี่ หมาะสมของพนื้ ผิว เคร่อื งใช้ อุปกรณ์ อปุ กรณ์ตดิ ตัง้ และอุปกรณต์ ่างๆ ตอ้ งไดร้ บั การทำความสะอาดอยา่ ง
ทวั่ ถึง และในกรณีทีจ่ ำเปน็ จะตอ้ งฆา่ เชอ้ื หลังจากมกี ารบรรจุอาหารดบิ


3. การแยกอาหารจากแหลง่ ปนเป้อื น


ต้องมีการจัดการท่ีดีเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของอาหารโดยวัตถุแปลกปลอม เช่น เศษแก้วหรือโลหะ จาก
เคร่ืองจักร ฝุ่น ไอหรือควันท่ีเป็นอันตราย และสารเคมีที่ไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการบำรุง
รกั ษาเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ต่างๆ


3.2.10 แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.10 การบำรุงรักษา การทำความสะอาด และการฆ่าเช้อื โรค


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.10 การบำรุงรักษา การทำความสะอาด และการฆ่าเชื้อ


ตัวชีว้ ัดสำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 3.10

1. มโี ปรแกรมท่ีครอบคลมุ การบำรงุ รักษา การทำความสะอาด และการฆา่ เชอื้


ข้อแนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.10

โปรแกรมการบำรุงรักษา การทำความสะอาด และการฆ่าเช้ือโรค ทำให้มั่นใจว่าทุกพ้ืนที่ที่สัมผัสอาหารมีความ
สะอาดเพียงพอ รวมถึง การทำความสะอาดอุปกรณ์ทำความสะอาด โปรแกรมการทำความสะอาดและการฆ่า

คมู่ ือสุขาภิบาลเรือ 103

Guide to ship sanitation


เช้ือโรคจะต้องได้รับการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ เพื่อความเหมาะสม

มีประสิทธิผลและอาจจำเป็นถา้ ต้องจัดทำเป็นเอกสาร


การทำความสะอาดตอ้ งกำจดั เศษอาหารและสงิ่ สกปรกทอี่ าจเปน็ สาเหตขุ องการปนเปอ้ื น วธิ กี ารทำความสะอาด


ที่จำเป็นข้ึนอยู่กับลักษณะของอาหารและขนาดของเรือ อาจจำเป็นต้องฆ่าเชื้อโรคหลังจากทำความสะอาด


สารเคมีที่ใช้ทำความสะอาดควรได้รับการจัดการและใช้อย่างระมัดระวัง และเป็นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิต

สารเคมีสำหรับทำความสะอาดควรเก็บแยกจากอาหาร โดยเก็บในภาชนะที่ระบุหรือมีป้ายบอกท่ีชัดเจนเพ่ือ

บทท่ี 3 หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของการปนเปื้อน ห้องครัวและพื้นท่ีของอาหารและอุปกรณ์จำเป็นต้องดูแลรักษาไว้ใน
สภาพที่เหมาะสมโดยการบำรุงรกั ษาใหม้ สี ภาพดังน
ี้

l ระบวุ ธิ กี ารและขนั้ ตอนการทำความสะอาดและฆา่ เช้อื โรคอย่างชัดเจน


l ดำเนินการตามที่ระบุไว้ โดยเฉพาะในข้ันตอนท่สี ำคัญ


l ปอ้ งกนั การปนเป้ือนของอาหาร (เชน่ จากเศษสง่ิ สกปรกและสารเคม)ี


การทำความสะอาดจะต้องดำเนินการโดยวิธีการทางกายภาพ เช่น ความร้อน การขัดถู การล้างด้วยน้ำที่มี

แรงดันสูง การทำความสะอาดด้วยแรงดนั สญุ ญากาศ หรือวิธกี ารอ่นื ๆ ทีห่ ลีกเลย่ี งการใช้นำ้ หรือวิธกี ารทางเคมี
การใช้ผงซักฟอก ด่าง หรือกรด หรือโดยการใช้ร่วมกันระหว่างวิธีการทางกายภาพและทางเคมี ข้ันตอนการ
ทำความสะอาดอาจเก่ียวกบั เรือ่ งต่อไปน
ี้
l การกำจัดเศษสงิ่ สกปรกท้งั หมดจากพืน้ ผวิ

l การใช้นำ้ ยาซักผา้ เพือ่ ล้างเศษดนิ และฟลิ ์มแบคทีเรียออก

l การล้างด้วยนำ้ ที่สะอาด เพอื่ กำจัดเศษดินใหห้ ลดุ ออกและกำจัดผงซกั ฟอกตกคา้ ง

l การฆา่ เชอื้ ในกรณที ีจ่ ำเป็น


ตำแหน่งท่ีต้องใชโ้ ปรแกรมการทำความสะอาดใหร้ ะบุเปน็ ลายลักษณ์อักษร

l พืน้ ทท่ี จี่ ะทำความสะอาด เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครือ่ งใช

l วัสดุทำความสะอาด อุปกรณ์เคร่อื งมือ และสารเคมีที่จะใช้

l ใครเป็นผ้รู บั ผิดชอบงานทมี่ ีหน้าท่โี ดยตรง

l วธิ ีการใช้งาน รวมถึงการถอดและประกอบช้ินสว่ นอปุ กรณข์ องเคร่อื งมือ

l ขอ้ ควรระวังเพอื่ ความปลอดภัย

l ความถีใ่ นการทำความสะอาดและการติดตามตรวจสอบการดำเนนิ งาน

l มาตรฐานทจ่ี ะทำใหส้ ำเรจ็ (ตามมาตรฐาน)


นอกจากนี้ บางครั้งอาจมีการทำความสะอาดเป็นพิเศษ เช่น ในช่วงระยะเวลาหกเดือนหรือรายปี ข้ึน
อยู่กับการใช้งานและข้อกำหนดของพ้ืนท่ีเฉพาะ (เช่น ระบบท่อลำเลียงและระบบท่อแยก) โปรแกรมการ
ทำความสะอาดอาจต้องทำในบริเวณสถานท่ีนั้น สำหรับทำความสะอาดส่ิงแวดล้อม ต้องมีวิธีการท่ีเหมาะสม
สำหรับการทำความสะอาดวสั ดุที่ใชท้ ำความสะอาดบรเิ วณนัน้


104 คมู่ อื สขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


ในระหว่างการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดแมลงและสัตว์นำโรค อาหารทุกชนิด ภาชนะอุปกรณ์เคร่ืองใช้ อุปกรณ์
การเตรียมอาหารและอุปกรณ์ทำความสะอาดทั้งหมด ควรปิดคลุมเพ่ือป้องกันการปนเป้ือนจากสารพิษ และ
ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำในการใชส้ ารเคมีอย่างระมดั ระวงั (ดบู ทท่ี 7)


3.2.11 แนวทางการปฏิบตั ิ 3.11 สุขวิทยาสว่ นบุคคล


แนวทางการปฏิบตั ิ 3.11 สุขวิทยาสว่ นบุคคลทถ่ี ูกตอ้ งในการสัมผสั อาหาร


ตวั ชี้วัดสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.11
บทท่ี 3
1. ผู้สัมผสั อาหารทุกคนต้องมีสขุ อนามัยสว่ นบุคคลท่ีด

2. ผู้สมั ผัสอาหารท่ที ราบหรืออาจเปน็ อนั ตราย ไมไ่ ด้รบั อนุญาตให้สมั ผัสอาหาร


ขอ้ แนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.11

ลูกเรอื รวมถึงช่างซ่อมบำรงุ ผู้ท่ีไม่รักษาความสะอาดส่วนบุคคลอย่างเหมาะสม หรือผู้ทมี่ ีอาการปว่ ย สามารถ
ทำใหอ้ าหารเกดิ การปนเป้อื นและสง่ ผ่านเช้ือโรคไปสู่ผู้โดยสารได


1. สุขวทิ ยาสว่ นบคุ คลของผสู้ มั ผัสอาหาร

ผู้สัมผัสอาหารต้องมีการรักษาความสะอาดส่วนบุคคลที่เหมาะสม สวมใส่เส้ือผ้า หมวกคลุมผม และรองเท้าที่
เหมาะสม หากผสู้ มั ผสั อาหารมบี าดแผล อนญุ าตใหท้ ำงานไดแ้ ตต่ อ้ งปดิ แผลดว้ ยวสั ดกุ นั นำ้ ทเ่ี หมาะสม


ชุดท่ีสวมใส่ควรมีสีอ่อน ไม่ให้มีช่องกระเป๋า ด้านใน และไม่ใช่ชุดเป็นช้ินเดียวติดกัน ซึ่งอาจเกิดการปนเป้ือน
จากพืน้ ไดใ้ นระหว่างการใชห้ อ้ งนำ้ บางครั้งตอ้ งใชถ้ ุงมอื แบบใชค้ รัง้ เดียวท้ิงเมื่อมีการสมั ผัสอาหาร อยา่ งไรกต็ าม
ผสู้ ัมผสั อาหารอาจนำไปใชใ้ นทางท่ผี ดิ ไดจ้ ากความเคยชินของสุขอนามยั ท่ปี ลอดภยั

ผ้สู ัมผสั อาหารต้องลา้ งมือทกุ คร้งั เพือ่ ความปลอดภัยของอาหาร เช่น

l ก่อนการสัมผัสอาหารทกุ ครัง้

l หลงั จากการใช้หอ้ งน้ำทุกคร้งั

l หลังจากสมั ผสั อาหารดบิ หรอื อปุ กรณ์อนื่ ๆ ที่จะนำไปสูก่ ารปนเปอื้ นของอาหาร


ผู้ที่เก่ียวข้องกับอาหารควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสอาหารที่ปรุงเสร็จพร้อมรับประทาน และหลีกเล่ียงพฤติกรรมที่
จะนำไปสู่การปนเปอื้ นสู่อาหาร เช่น

l การหยบิ จับเงิน

l การสบู บุหร่

l การถ่มน้ำลาย

l การเคีย้ วหรือการกนิ

l การจามหรือไอใสอ่ าหารโดยไม่มกี ารปอ้ งกัน


ค่มู อื สุขาภบิ าลเรอื 105

Guide to ship sanitation


สุขลกั ษณะส่วนบุคคล เช่น การสวมใสเ่ ครอื่ งประดับ นาฬกิ า หรือไมส่ วมใสอ่ ุปกรณ์อนื่ ๆ เข้าไปในพ้นื ทเ่ี ตรยี ม
อาหารที่จะนำไปส่คู วามไม่ปลอดภัยของอาหาร


2. ผูส้ ัมผัสอาหารทม่ี อี าการป่วย

ลูกเรือหรือผู้ต้องสงสัยว่าป่วยหรือเป็นโรคท่ีอาจส่งต่อผ่านทางอาหาร ไม่ควรได้รับการอนุญาตให้เข้ามาในพ้ืนท่ี

เตรียมอาหาร หากมีแนวโน้มว่าจะทำให้เกิดการปนเปื้อนสู่อาหาร ทุกคนท่ีอาจนำไปสู่การปนเป้ือนของอาหาร

ต้องมีการรายงานการป่วยหรืออาการต่างๆ ทันที ตัวอย่างการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสในกระเพาะอาหาร

บทท่ี 3 และลำไส้ที่เกิดจากอาหาร พบผู้สัมผัสอาหาร 6 คน มีอาการป่วย แต่ไม่รายงานอาการป่วยของพวกเขา
เน่ืองจากมีกังวลเก่ียวกับความปลอดภัยในงานที่ทำ จากการสอบสวนการระบาด พบว่า มีความเก่ียวข้องกับ


ข้ันตอนการเตรียมสลัดผลไม้สดแบบบุฟเฟ่ต์ 2 ครงั้ ซ่ึงเปน็ ประเด็นที่ยากต่อการแกไ้ ข เน่อื งจากผู้สัมผัสอาหาร

อาจจะปฏิเสธวา่ ตวั เองมอี าการป่วยเพราะกลัวการถูกลงโทษ และเมื่ออาการป่วยทุเลาลง บคุ คลน้นั อาจจะยงั มี

การตดิ เชือ้ อย่หู รอื อาจมีการกลับมาปว่ ยซำ้ ได้ ดังนน้ั ผสู้ ัมผัสอาหารไม่ควรทำงานเกี่ยวกับอาหารอย่างน้อย 48

ช่ัวโมง หลังจากหายจากอาการป่วย ในทางปฏิบัติ ตามข้อแนะนำน้ีผู้ป่วยอาจจะยังมีการติดเช้ือนานอีกเป็น

สัปดาห์แม้ว่าอาการป่วยจะทุเลาลง ดังน้ัน ผู้สัมผัสอาหารท่ีมีอาการป่วยควรมีการส่งเสริมให้มีการระมัดระวัง

เป็นพเิ ศษ


เงื่อนไขท่ีควรรายงานเพื่อการบริหารจัดการ หากมีความจำเป็นในการตรวจสุขภาพทางการแพทย์ และ/หรือ
การแยกผู้ปว่ ยดว้ ยโรคตา่ งๆ ออกจากการสัมผสั อาหาร ไดแ้ ก่

l โรคดีซา่ น

l โรคอุจจาระร่วง

l อาเจียน

l ไข้

l เจบ็ คอเนือ่ งจากมีไข้

l ไอ

l แผลติดเชือ้ ทผี่ วิ หนงั (แผลถูกนำ้ รอ้ นลวก บาดจากของมคี ม หรืออน่ื ๆ)

l สัมผัสของเสียหรอื สารคดั หลง่ั จาก หู ตา หรอื จมกู


พนักงานที่เก่ียวข้องกับการสัมผัสอาหารที่เข้ามาใหม่ ต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะทางสุขภาพ และพนักงานที่
สัมผัสอาหารทุกคนมีการต้องติดตามสถานะทางสุขภาพหลังจากออกจากการทำงานไปแล้ว ข้อคำถามท่ี
เก่ียวข้องศึกษาได้จาก คำแนะนำด้านกฎระเบียบและแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องสำหรับผู้ประกอบการอาหาร
(United Kingdom Food Standards Agency, 2009) ซ่ึงได้รวบรวมคำถามสำหรับถามพนักงานเพื่อ
พิจารณาการจ้างพนักงานใหม่ท่ีเก่ียวข้องกับการสัมผัสอาหารหรือการรับกลับเข้ามาทำงานใหม่หลังจากท่ีออก
จากงานไปเป็นระยะเวลานาน


106 คมู่ ือสุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


3.2.12 แนวทางการปฏิบตั ิ 3.12 การจดั อบรม


แนวทางการปฏบิ ัติ 3.12 ผสู้ มั ผัสอาหารต้องได้รบั การอบรมทเี่ หมาะสมเกย่ี วกบั อาหารปลอดภยั


ตวั ชวี้ ัดสำหรับแนวทางการปฏบิ ัติ 3.12

1. มโี ครงการฝกึ อบรมผปู้ ระกอบอาหารท่คี รอบคลุม


ข้อแนะนำสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 3.12

ผู้ท่ีมีส่วนสัมผัสในการเตรียมอาหารท้ังทางตรงและทางอ้อม จำเป็นต้องได้รับการอบรม และ/หรือเข้าใจใน

สขุ อนามัยทางดา้ นอาหารในระดบั ที่เหมาะสมและสามารถนำไปปฏบิ ัติได้
บทที่ 3

การอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารเป็นส่ิงท่ีจำเป็น ผู้สัมผัสอาหารทุกคนต้องตระหนักถึงกฎระเบียบและ

ความรับผิดชอบต่อการป้องกันการปนเปื้อนของอาหาร ผู้ประกอบอาหารจำเป็นต้องมีความรู้และทักษะท่ี
สามารถจัดการอาหารใหถ้ กู สุขลักษณะ ผู้ประกอบอาหารต้องเข้มงวดและมเี ทคนิคการจัดการท่ีปลอดภยั ในการ
ล้างสารเคมีท่ีอาจเป็นอันตราย ซ่ึงรวมถึงผู้ท่ีเข้ามาทำการซ่อมแซม บำรุงรักษาในพื้นท่ีในการประกอบอาหาร
ลูกจ้างทุกคนไม่จำเป็นต้องได้รับการอบรมเก่ียวกับสุขอนามัยทางด้านอาหาร แต่ควรตระหนักถึงสุขลักษณะ

ทเ่ี หมาะสมตอ่ การทำงาน


มีการประเมินผลการจัดอบรมเป็นระยะและต้องดำเนินโครงการ มีการควบคุมดูแลและตรวจสอบเป็นประจำ
เพอ่ื มั่นใจวา่ ขนั้ ตอนการดำเนินงานยังมปี ระสทิ ธิภาพอย
ู่

ผู้จัดการและผู้ควบคุมทุกขั้นตอนการเตรียมอาหารจำเป็นต้องมีความรู้หลักการของสุขาภิบาลอาหารและการ
ปฏบิ ตั ทิ สี่ ามารถระบคุ วามเสยี่ งและจดั การกบั ขอ้ บกพรอ่ งไดเ้ มอื่ จำเปน็ การฝกึ อบรมขน้ั สงู ควรมเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั
การจดั การและระบบของ HACCP


3.2.13 แนวทางการปฏิบัติ 3.13 ขยะเศษอาหาร


แนวทางการปฏิบัติ 3.13 การรวบรวมและการกำจดั ขยะเศษอาหารทถ่ี ูกหลกั สุขวทิ ยา


ตวั ชวี้ ัดสำหรับแนวทางการปฏิบัติ 3.13

1. การจัดการขยะเศษอาหารเพ่อื ป้องกันการปนเปอ้ื นส่อู าหารและป้องกันการแพรพ่ ันธุ์ของหนอนพยาธิ


ขอ้ แนะนำสำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 3.13

ขยะเศษอาหารและของเสยี เปน็ แหล่งของหนแู ละพยาธิ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงแมลงวนั และแมลงสาบ การรวบรวม
เก็บพักและกำจัดท่ีเหมาะสมของของเสียบนเรือ บนฝั่ง และในน้ำที่บริเวณฝ่ัง เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ
และความรำคาญต่อสาธารณะ


คูม่ อื สุขาภบิ าลเรอื 107

Guide to ship sanitation


เรือทุกลำต้องติดตั้งอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการจัดเก็บขยะ เศษอาหารท่ีปลอดภัย ขยะเศษอาหาร
ทั้งหมดต้องรวบรวมและเก็บพักในภาชนะบรรจุที่กันน้ำ ไม่ดูดซึม และง่ายต่อการทำความสะอาด มีฝาปิด
มิดชิดและควรปิดสนิทเม่ือมีการเตรียมอาหารและให้บริการ และมีการทำความสะอาดในพื้นท่ีจัดเก็บอาหาร
ภาชนะบรรจุต้องมีพ้ืนที่เพียงพอในการรองรับของเสีย โดยเฉพาะโครงสร้างและการใช้งานที่เหมาะสมหรือเปิด
เมื่อจำเปน็ หลงั จากเทภาชนะบรรจขุ ยะทุกครัง้ ต้องทำการลา้ ง ขดั และฆา่ เช้อื โรค เพอื่ ป้องกันกลิน่ เหม็น และ
ลดการดึงดูดหนู แมลงวัน และแมลงสาบ และไม่ควรเปิดภาชนะบรรจุของเสียท้ิงไว้ ยกเว้นช่วงที่จำเป็นใน
การเตรยี มอาหารและขั้นตอนการทำความสะอาด


บทที่ 3 คุณลักษณะและปริมาณของเสียท่ีเกิดข้ึนบนเรือในพื้นท่ีต่างๆ เป็นสิ่งสำคัญในการวางแผนเพ่ือป้องกัน


การปนเปอื้ นสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม ผทู้ ท่ี ำหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการเกบ็ รวบรวมของเสยี ควรสวมใสอ่ ปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล
รวมถึงถุงมือพเิ ศษชนิดใช้แล้วท้งิ หนา้ กาก และ/หรือ แวน่ ตาป้องกัน รองเทา้ บูท และชดุ ปอ้ งกนั ท่เี หมาะสม


108 คู่มือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


บทท่ี 4


สง่ิ แวดลอ้ ม

ในการนันทนาการทางน้ำ


4. สิง่ แวดล้อมในการนันทนาการทางนำ้





4.1 ความเป็นมา


บทน้ีมุ่งเน้นไปท่ีโรคติดเชื้อจากน้ำที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมของน้ำนันทนาการบนเรือโดยสาร บทก่อนหน้า
(บทที่ 2) กล่าวถึงโรคที่เกี่ยวข้องกบั นำ้ ทใี่ ช้สำหรบั บริโภคบนเรอื


สระว่ายน้ำและสภาพแวดล้อมของน้ำนันทนาการอาจอยู่ภายนอกหรือภายในอาคารหรือท้ังสองอย่าง ซึ่งน้ำน้ัน

อาจเป็นน้ำประปาหรือน้ำทะเลได้รับหรือไม่ได้รับการควบคุมผ่านความร้อนหรือไม่ผ่านความร้อน สำหรับ

วัตถุประสงค์ของคู่มือส่วนน้ี สระว่ายน้ำ อ่างน้ำร้อน สระน้ำวน สระสปา และสระน้ำขนาดย่อมจะได้รับ


การพจิ ารณาร่วมกันภายใต้หวั ข้อของสภาพแวดลอ้ มของนำ้ นันทนาการ
บทท่ี 4

4.1.1 ความเสี่ยงดา้ นสขุ ภาพทีเ่ กีย่ วข้องกบั การนนั ทนาการทางน้ำ


สภาพแวดล้อมของน้ำนันทนาการสามารถทำให้เกิดความเสี่ยงต่างๆ ทางสุขภาพ อันตรายท่ีเกิดขึ้นทันทีและ
รุนแรงที่สุดเกิดจากอุบัติเหตุการจมน้ำ แหล่งท่ีมาของอันตรายอ่ืนๆ คือ การบาดเจ็บที่ร้ายแรงหรืออันตรายถึง
ชีวิต ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากการลื่นไถลและสะดุดหรือจากการติดอยู่ในเชือกและร้ัวหรืออุปกรณ์ เช่น บันไดและ

ท่อระบายน้ำหลายครั้ง เคยมีกรณีที่นักว่ายน้ำตัวโยนหลุดออกจากสระว่ายน้ำไปกระแทกกับพื้นผิวน้ำทะเลที่มี
คลื่นแรง ในสว่ นทเ่ี ก่ียวกับการสขุ าภิบาลเรอื การว่ายนำ้ และใชส้ ระวา่ ยน้ำ สปา สามารถทำใหต้ ดิ โรคไดห้ ลาย
อย่าง ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการท้องเสีย หรือติดเช้ือบริเวณผิวหนัง หู ตา และระบบทางเดินหายใจส่วนบน

อ่างน้ำร้อน และอ่างน้ำวน รวมถึงอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องอาจเป็นที่อยู่อาศัยชั้นเลิศของเชื้อแบคทีเรีย Legionella
และ Mycobacterium spp. นอกจากน้ี เช้อื แบคทีเรีย Pseudomonas aeruginosa มักพบอย่ใู นสระน้ำวน
และมรี ายงานการตดิ เชือ้ ท่ีผิวหนัง เมือ่ การออกแบบสระว่ายนำ้ หรือการจดั การไม่ดี


โดยปกติจุลชีพก่อโรค ซ่ึงแพร่เช้ือผ่านทางอุจจาระท่ีเข้าสู่อีกคนหนึ่งทางปาก มีความเกี่ยวข้องกับสระว่ายน้ำ
และสระสปา การปนเป้ือนเกิดข้ึนเมื่อเชื้อโรคอยู่ในของเสียของมนุษย์หรือในกากมูลของสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือถูก
ปล่อยโดยตรงจากผู้ใช้สระท่ีติดเช้ือ หน่ึงในเชื้อโรคที่สำคัญคือ เช้ือ Cryptosporidium spp. ซ่ึงมีตัวแพร่เช้ือ
(oocysts) ที่ทนทานตอ่ คลอรีนสูงแมจ้ ะเปน็ คลอรีนระดับสงู ทส่ี ดุ ท่มี ักใช้ในการฆา่ เชือ้ โรคตกค้างในสระนำ้ กต็ าม
มีการรายงานผู้ป่วยโรค Cryptosporidiosis จากการว่ายน้ำเป็นหลายพันกรณี (Lemmon, McAnulty &
Bawden-Smith, 1996; United States Centers for Disease Control and Prevention, 2001a) และ
ด้วยเหตุดังกล่าวสระว่ายน้ำสาธารณะหลายแห่งอาจถูกปิดชั่วคราว ในกรณีท่ีคุณภาพน้ำและการบำบัดน้ำมี
ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ จะเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียจาก Shigella spp. (United States Centers for
Disease Control and Prevention, 2001b) และ Escherichia coli O157: H7 (United States Centers
for Disease Control and Prevention, 1996) ซง่ึ มีความเกย่ี วข้องกับสระว่ายน้ำและสระสปา


คูม่ ือสขุ าภิบาลเรอื 111

Guide to ship sanitation


การติดเชื้อท่ีพื้นผิว เช่น ผิวหนัง และหู มีความเก่ียวข้องกับสระสปาท่ีมีการฆ่าเชื้อโรคไม่เพียงพอ การติดเช้ือ
เหล่านี้เกิดข้ึนจากเช้ือก่อโรคฉวยโอกาส (Opportunistic pathogens) ที่มักพบในน้ำและดิน สภาพแวดล้อม
ของน้ำนันทนาการมีความเส่ียงสูงเพราะนอกจากทำให้เห็นถึงระดับความอันตรายแล้ว ยังช่วยให้เชื้อโรคเข้าถึง
ตัวมนุษย์ง่ายข้ึนอีกด้วย การปรากฏตัวของสารอินทรีย์และอุณหภูมิที่สูงขึ้นรวมถึงสภาพแวดล้อมหลากหลาย
ของน้ำนันทนาการสามารถทำให้เกิดสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมสำหรบั การเพ่มิ จำนวนของเชอ้ื ก่อโรค ทส่ี ามารถ
ติดเชื้อเย่ือเมือก ปอด ผิวหนัง และแผล การท่ีจำนวนสารฆ่าเช้ือโรคตกค้างลดลงในสภาพแวดล้อมเหล่านี

จะทำใหม้ กี ารแพรก่ ระจายของเช้ือโรคดังกล่าวในระดับทไี่ ม่ปลอดภยั


การติดเชื้อ Pseudomonas aeruginosa มีความเกี่ยวข้องกับจำนวนการติดเช้ือทางผิวหนังและหูที่เกิดจาก
การแช่น้ำท่ีมีการฆ่าเช้ือไม่เพียงพอ (Gustafson et al., 1983; Ratnam et al., 1986; United States
Centers for Disease Control and Prevention, 2000) อาการประกอบไปด้วยการติดเช้อื ทีห่ ูดา้ นนอกและ

บทที่ 4 ช่องหู (“นำ้ เขา้ หู” หรือหชู ้ันนอกอักเสบ) และการตดิ เชื้อทผี่ วิ หนงั เช่น ผวิ หนงั อกั เสบและการอักเสบที่รากขน

บริเวณที่มีละอองลอย เมื่ออุณหภูมิในสภาพแวดล้อมของน้ำนันทนาการสูงข้ึน จะพบเช้ือ Legionella spp.

ที่ก่อให้เกิดการระบาดของโรค Legionnaires (ปอดอักเสบลีเจียนแนร์) ซ่ึงเก่ียวข้องกับอ่างน้ำร้อนรวมไปถึง
การระบาดของโรคต่างๆ บนเรอื ซึง่ ถกู อภปิ รายถึงในบทวเิ คราะห์โดย Rooney และคณะ (2004) เม่อื เร็วๆ น้

มกี ารตดิ เชอื้ มยั โคแบคทเี รยี ม (Mycobacterial) เกย่ี วเนอ่ื งกบั โรคปอดอกั เสบทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั การสมั ผสั ละอองลอย
จากการวา่ ยน้ำและใช้สระสปา (Falkinham, 2003)


ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากจุลินทรีย์อาจเกิดขึ้นเม่ือมีการใช้ตัวฆ่าเช้ือโรค ตัวอย่างเช่น อันตรายจากการ
เติมสารเคมีฆ่าเช้ือมากเกินความจำเป็น ไม่ว่าโดยตรงหรือเป็นผลจากการฆ่าเชื้อ ผลพลอยได้จากการฆ่าเชื้อโรค
เกิดข้ึนเม่ือคลอรีนทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ ซึ่งพบได้ในผิวหนังที่ลอก เหงื่อ และปัสสาวะ และมีก่อตัวของ
สารประกอบในรูปของออร์กาโนเฮไลด์ เช่น คลอโรฟอร์ม นอกจากน้ี โอโซนกส็ ามารถทำปฏิกริ ยิ าและก่อให้เกิด
ผลพลอยได้อ่ืนๆ เช่นกัน สารประกอบพลอยได้เหล่าน้ีมีความสำคัญต่อสุขภาพในระดับท่ีไม่แน่นอนเมื่อมีความ
เข้มข้นต่ำ แต่อาจมีความเก่ียวข้องเล็กน้อยกับโรคมะเร็งบางชนิด หรือส่งผลที่ไม่พึงประสงค์ต่อการตั้งครรภ์
หากบริโภคหรอื สูดดมในปริมาณมากเปน็ เวลานาน (WHO, 2011)


ระดบั การอปุ โภคนำ้ นนั ทนาการมคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั ความเสยี่ ง ยงิ่ จำนวนคนใชน้ ำ้ มากเทา่ ไร ความเขม้ ขน้
ของเชือ้ โรคกจ็ ะย่ิงถูกปลอ่ ยออกมามากขนึ้ ความต้องการระบบฆ่าเชอ้ื โรคกม็ ากขน้ึ และจำนวนคนท่ีอาจตดิ เชอื้
กเ็ พ่มิ มากขึ้น


สระว่ายน้ำมีความน่าดึงดูดอย่างย่ิงสำหรับเด็กและทารก ซ่ึงก่อให้เกิดความเสี่ยงท่ีเพ่ิมข้ึนจากการปนเป้ือนและ
มีความเส่ียงด้านความปลอดภัยเพิ่มขึ้น เด็กและทารกมีโอกาสมากกว่าผู้ใหญ่ท่ีจะกลืนน้ำในสระว่ายน้ำ และ

ติดเชอ้ื โรคในลำไสแ้ ละอน่ื ๆ อกี มากมาย และพวกเขามแี นวโนม้ ทจี่ ะปลอ่ ยอจุ จาระลงสนู่ ำ้ ไมว่ า่ จะเปน็ การละเลง
ปา้ ยหรอื ปลอ่ ยอจุ จาระโดยไมต่ ง้ั ใจ (AFR) สดุ ทา้ ยแลว้ เดก็ และทารกมแี นวโนม้ มากกวา่ ผใู้ หญท่ จ่ี ะประมาทเกย่ี วกบั


112 ค่มู อื สขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


การลน่ื ลม้ สะดดุ และจมนำ้ ปจั จยั เสยี่ งทสี่ ำคญั อกี ประการหนงึ่ ทม่ี ผี ลตอ่ สระนำ้ บนเรอื คอื การเคลอื่ นทขี่ องตวั เรอื
ซึ่งการเคลอ่ื นท่นี เ้ี พิม่ โอกาสในการเกดิ อบุ ตั เิ หตตุ ่างๆ เป็นพิเศษ


4.1.2 แนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกับสง่ิ แวดล้อมในการนันทนาการทางน้ำ


The Guidelines for safe recreational water environments, volume 2, Swimming pools and
similar environments (WHO, 2006) ควรใชอ้ า้ งอิงเมอ่ื กลา่ วถึงสิ่งแวดล้อมของน้ำนนั ทนาการ ควรใหค้ วาม
สำคัญกับการใช้แนวทางการจัดการความเส่ียงเชิงป้องกันหลายขั้นสำหรับความปลอดภัยของน้ำนันทนาการ
(WHO, 2006)


4.2 แนวทางการปฏิบตั ิ


ส่วนนี้ให้ข้อมูลและคำแนะนำโดยระบุความรับผิดชอบและจัดหาตัวอย่างแนวทางปฏิบัติท่ีสามารถควบคุม
บทท่ี 4
ความเสย่ี ง นำเสนอแนวทางเฉพาะสามแนวทาง (มงุ่ ไปทส่ี ถานการณแ์ ละรกั ษาไว)้ ซง่ึ มาพรอ้ มกบั ชดุ ของตวั ชวี้ ดั

(ตรวจวัดเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติ) และคำอธิบายเพิ่มเติมของแนวทางปฏิบัติ (คำแนะนำในการใช้

แนวทางและตัวช้ีวัดในทางปฏิบัติเน้นประเด็นท่ีสำคัญท่ีสุดท่ีต้องพิจารณาเม่ือจัดลำดับความสำคัญในการ

ดำเนนิ การ)


4.2.1 แนวทางการปฏบิ ัติ 4.1 การออกแบบและการดำเนนิ การ


แนวทางการปฏบิ ัติ 4.1 สระน้ำได้รับการออกแบบและดำเนินการในรูปแบบที่ลดความเส่ียงให้อยู่ในระดับ
ท่ีปลอดภัย


ตัวชี้วัดสำหรับแนวทางการปฏิบัติ 4.1

1. การไหลเวยี นและระบบชลศาสตร์ของนำ้ ผสานกันเพยี งพอท่จี ะทำการฆา่ เชือ้ โรคได

2. การออกแบบรองรบั จำนวนผใู้ ชง้ านท่เี ปน็ ไปไดจ้ รงิ

3. การกรองถูกออกแบบมาเพอื่ ขจัดตวั แพร่เชือ้ โรค (oocysts และ cysts)

4. การฆา่ เช้อื ถูกออกแบบมาเพอื่ ยับยง้ั เชื้อโรค

5. แบคทเี รีย Legionella ถูกควบคมุ โดยการใช้สารชีวฆาตและการหมุนเวยี นของนำ้

6. การระบายอากาศถูกออกแบบมาเพ่ือรักษาคุณภาพอากาศในสภาพแวดล้อมของน้ำนันทนาการภายใน

อาคาร


ข้อแนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 4.1

การระบาดของโรคอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการเกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบท่ีไม่ดี ดังนั้น
กลยุทธ์แรกในการป้องกันโรคคือ การออกแบบสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการให้มีประสิทธิภาพเพียงพอกับ
ขอบเขตและลักษณะการใช้งาน สาเหตุทั่วไปของการระบาดอีกอย่างคือ การดำเนินการควบคุมท่ีไม่เหมาะสม
เช่น การปล่อยให้สภาพแวดล้อมทางน้ำนันทนาการถูกใช้งานเกินปริมาณความจุหรือมีข้ันตอนการปฏิบัติงานท่ี
ไมด่ ี ดังน้ัน จงึ ควรปฏิบัตติ ามขอ้ จำกดั ทางการออกแบบและเปดิ ใชง้ านระบบต่างๆ อยู่ตลอดเวลา


คูม่ ือสขุ าภบิ าลเรอื 113

Guide to ship sanitation


ระบบการบำบดั นำ้ สามารถลดระดบั การปนเปอ้ื นได้ แต่อาจต้องทำงานเกินขดี จำกัด ดงั น้ัน จึงไมค่ วรเชือ่ มัน่ กับ
การบำบดั เพียงอย่างเดียว ซ่งึ ยังมีการปอ้ งกันอกี หลายประการทคี่ วรดำเนินการอยา่ งแขง็ ขนั ประกอบดว้ ย

l การเตมิ นำ้ และรกั ษาสภาพแวดล้อมนำ้ นนั ทนาการด้วยการใชน้ ำ้ ทป่ี ลอดภยั ท่สี ุด

l การควบคมุ อัตราการใช้งานให้อยู่ภายในขดี ความสามารถทีอ่ อกแบบมาโดยการจัดการจำนวนผใู้ ช้งาน

l การใช้งานระบบบำบดั เพ่อื ควบคมุ การปนเปือ้ นรปู แบบตา่ งๆ

l การดำเนินการอย่างรวดเร็วเพื่อทำความสะอาดสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการในสถานการณ์จำเป็นและ

กำจัดการปนเป้ือนทม่ี องเหน็ เชน่ อจุ จาระทีถ่ กู ปล่อยออกมา


การออกแบบสระว่ายน้ำต้องเป็นไปตามการใช้งานจริง ตัวอย่างเช่น จำนวนและประเภทของผู้ใช้ อุณหภูมิของ
การใช้งานและข้อควรพิจารณาด้านสุขภาพอย่างเป็นพิเศษสำหรับกลุ่มผู้ใช้บางกลุ่ม ซ่ึงจะมีผลต่อรายละเอียด
ว่าควรออกแบบ กอ่ สรา้ งและจดั การสระว่ายนำ้ อยา่ งไร ข้อพจิ ารณาโดยเฉพาะอาจรวมถึง


บทที่ 4 l เวลาทำการทุกวัน


l ช่วงเวลาสูงสุดของการใชง้ าน

l จำนวนผู้ใชท้ ี่คาดการณ

l ข้อกำหนดพเิ ศษ เชน่ อุณหภูมิและอปุ กรณ์


สระว่ายน้ำ และอ่างอาบน้ำ ต้องปลอดภัย ข้อกำหนดด้านคุณภาพของน้ำจำเป็นต้องเหมาะสมกับปัจจัย

การออกแบบดงั ตอ่ ไปน
้ี
l การออกแบบทางชลศาสตร์ของสระว่ายน้ำท่ีถูกต้อง (เพ่ือให้แน่ใจว่ามีการกระจายสารฆ่าเชื้อโรค


ทั่วท้ังสระ)

l การไหลเวียนท่ีมีประสิทธิภาพเพียงพอในสระว่ายน้ำหมุนเวียน เช่น การไหลเวียนน้ำภายในสระว่ายน้ำ


มคี วามสมบรู ณ์ โดยมีการเปลย่ี นนำ้ ทกุ 6 ช่ัวโมง หรอื น้อยกวา่ ในระหวา่ งชว่ั โมงทำการของสระ

l การติดตั้งระบบบำบัดท่ีมีประสิทธิภาพ (เพื่อกำจัดมลพิษจากฝุ่นละออง และจุลินทรีย์ที่ทนต่อการ


ฆ่าเช้ือ)

l การติดตั้งระบบฆ่าเชื้อ (ยับยั้งเช้ือจุลินทรีย์ก่อโรค เพ่ือทำให้น้ำไม่สามารถส่งผ่านและแพร่กระจาย

จลุ ินทรียก์ ่อโรค)

l การใช้ระบบเติมน้ำจดื เปน็ ระยะๆ (เพือ่ เจอื จางส่ิงทไี่ มส่ ามารถกำจดั ออกจากนำ้ ไดโ้ ดยการบำบัด)


การควบคมุ เชอ้ื โรคมกั จะทำไดโ้ ดยการการหมนุ เวยี นนำ้ ในสระผา่ นการบำบดั (โดยปกตจิ ะเปน็ รปู แบบของการกรอง
รว่ มกบั การฆา่ เชอื้ โรค) และการใชส้ ารฆา่ เชอื้ ตกคา้ งเพอ่ื ยบั ยง้ั จลุ นิ ทรยี ท์ เ่ี ขา้ สสู่ ระวา่ ยนำ้ ผา่ นผใู้ ชส้ ระนำ้











114 คมู่ อื สขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


ควรมีสมาชิกลูกเรือคนหน่ึงได้รับมอบหมายให้ดูแลเก่ียวกับสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการและควรเป็นลูกเรือ

ทผ่ี า่ นการฝึกฝนมาอย่างเหมาะสม


A. สระว่ายนำ้

สระว่ายน้ำและแหล่งน้ำสำหรับสระจำเป็นต้องได้รับการออกแบบ ก่อสร้างและดำเนินการในมุมมองด้าน
สุขภาพและการป้องกันความปลอดภัยของผู้ใช้สระ ประเด็นด้านการออกแบบ ก่อสร้าง และการดำเนินการ
เหล่าน้ี ถูกสรุปไว้ในย่อหน้าด้านล่าง รวมถึงรายละเอียดเก่ียวกับข้อกำหนดเฉพาะของสระน้ำและประเภทของ

สปา ดงั อธบิ ายไว้ด้านล่าง


1. การไหลเวยี นและชลศาสตร์

วัตถุประสงค์ของการให้ความสำคัญกับการไหลเวียนและชลศาสตร์คือ เพื่อมั่นใจว่าสระว่ายน้ำท้ังสระได้รับการ

ดูแลอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ น้ำท่ีผ่านการบำบัดจะต้องไปถึงทุกส่วนของสระว่ายน้ำ และน้ำท่ีปนเปื้อน บทท่ี 4
ต้องถูกกำจัด โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากจุดท่ีถูกใช้งานและทำให้ปนเป้ือนมากท่ีสุดโดยผู้ใช้สระน้ำ ไม่เช่นน้ันแม้จะ

มีการบำบัดน้ำที่ดี แต่ก็อาจไม่สามารถทำให้น้ำมีคุณภาพที่ดีได้ การออกแบบและวางตำแหน่งของทางเข้า

ทางออกและดงึ นำ้ กลับมคี วามสำคญั อยา่ งมาก


สระว่ายน้ำมักใช้น้ำทะเลหรือน้ำประปาที่ไหลผ่านช่องว่างอากาศหรืออุปกรณ์ป้องกันการไหลย้อนกลับ ระดับ
การเติมน้ำในสระจะอยู่ระดับตะแกรงสระน้ำ น้ำที่ล้นจากสระจะถูกแรงโน้มถ่วงดึงกลับตรงลงสู่ถัง สำหรับ
หมุนเวียนผ่านระบบกรองหรือจะถูกกำจัดในฐานะน้ำเสีย เคร่ืองกวาดตะกอนบนผิวน้ำต้องสามารถจัดการกับ
น้ำในปรมิ าณทมี่ ากพอ เช่น ประมาณ 80% ของอตั ราการกรองของระบบไหลเวยี น ระบบเคร่ืองกวาดตะกอน
ควรมจี ำนวนมากพอ เชน่ อย่างน้อยหนึ่งเครื่องสำหรับพื้นทผี่ ิวสระว่ายน้ำขนาด 47 ตารางเมตร


อัตราการไหลเวียนมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการหมุนเวียน ซึ่งเป็นเวลาที่น้ำปริมาณเทียบเท่ากับน้ำท้ังหมด
ในสระใชใ้ นการไหลผา่ นตวั กรองและระบบบำบัดน้ำเสียและไหลกลบั เข้าสระ


ตามหลักการแลว้ ชว่ งเวลาการหมุนเวียนนำ้ ต้องเหมาะสมกับประเภทของสระ เปน็ การดที ีก่ ารหมนุ เวยี นจะตอ้ ง
ได้รบั การออกแบบให้แตกตา่ งกันในส่วนต่างๆ ของสระวา่ ยนำ้ : ระยะเวลายาวนานข้ึนในพืน้ ท่ลี ึก ระยะเวลาสั้น
ลงในที่ตื้น การฆ่าเชื้อโรคและการบำบัดไม่สามารถกำจัดมลพิษท้ังหมดได้ การออกแบบสระว่ายน้ำจึงควร
ตระหนักถึงความจำเป็นในการเจือจางน้ำในสระด้วยน้ำจืด การเจือจางน้ำจะจำกัดการสะสมของมลพิษจากผู้ใช้
สระน้ำ (เช่น ส่วนประกอบของเหง่ือ และปัสสาวะ) และจากผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากการฆ่าเช้ือโรคและ

สารเคมีละลายน้ำ และมลพิษอนื่ ๆ


ท่อระบายน้ำต้องติดต้ังท่ีจุดต่ำสุดในสระว่ายน้ำและอุปกรณ์ของระบบระบายน้ำต้องมีเพียงพอเพ่ือระบายน้ำ
อย่างรวดเร็ว ท่อระบายน้ำจากสระควรแยกจากกัน อย่างไรก็ตามเม่ือท่อระบายน้ำถูกต่อกับระบบระบายน้ำ
อื่นๆ วาล์วน้ำล้นต้องถูกติดตั้งในสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการเพื่อป้องกันการเช่ือมต่อข้ามกัน ต้องจัดเตรียม


คู่มอื สขุ าภบิ าลเรอื 115

Guide to ship sanitation


ฝาปิดทอ่ ระบายน้ำประเภท Antivortex และ anti-entanglement ซ่งึ สร้างจากวัสดุท่ที นทาน มองเหน็ ได้งา่ ย
และง่ายตอ่ การทำความสะอาด


สระว่ายน้ำสำหรับเด็กสามารถมีระบบหมุนเวียนโดยเฉพาะการกรองและระบบฮาโลเจน เนื่องจากเด็กๆ เป็น
แหล่งท่ีมีแนวโน้มการก่อโรค อัตราการหมุนเวียนของน้ำจะต้องเพียงพอซึ่งควรสูงกว่าในสระผู้ใหญ่ เช่น

อยา่ งน้อยทกุ ๆ 30 นาท


2. จำนวนผใู้ ชส้ ระน้ำ

จำนวนผู้ใช้สระน้ำท่ีเหมาะสมกับการใช้งานจริงต้องถูกพิจารณาท้ังในช่วงการออกแบบและการให้บริการ

ของสระ ระบบการหมุนเวียนและการบำบัดรวมถึงปริมาตรทางชลศาสตร์จะเป็นตัวกำหนดจำนวนท่ีเหมาะสม
แต่กค็ วรพิจารณาความเป็นไปได้ในทางปฏิบัตทิ ่จี ะคงจำนวนไว้ภายใต้เกณฑก์ ารออกแบบเช่นกนั


บทท่ี 4 3. การกรอง


การควบคุมความใสเก่ียวข้องกับการบำบัดน้ำที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ซึ่งปกติจะเกี่ยวข้องกับการกรอง และ
การรวมตะกอน การกรองมีความสำคัญต่อคุณภาพน้ำที่ดีซ่ึงมีผลกระทบต่อท้ังความใสทางทัศนียภาพและ

การฆ่าเช้ือโรค การฆ่าเชื้อโรคจะลดลงเมื่อความใสของน้ำลดลง เนื่องจากอนุภาคท่ีเก่ียวข้องกับความขุ่นอาจไป
อยู่รอบจุลินทรียแ์ ละปกป้องจุลนิ ทรยี จ์ ากการทำปฏกิ ริ ิยาของสารฆา่ เชือ้ โรค นอกจากนี้ การกรองมคี วามสำคัญ
ต่อการกำจัด Cryptosporidium oocysts และ Giardia cysts และโปรโตซัวอ่ืนๆ ที่ค่อนข้างทนต่อคลอรีน

ฆา่ เชอื้ โรค


ตวั กรองจำเปน็ ตอ้ งถกู ออกแบบใหก้ ำจดั อนภุ าคในอตั ราทเ่ี พยี งพอ เชน่ การกำจดั อนภุ าคทงั้ หมดทมี่ ขี นาดใหญก่ วา่
10 ไมครอน ออกจากน้ำทง้ั สระภายใน 6 ชวั่ โมง หรอื น้อยกวา่ ตัวกรองอาจเปน็ ชนดิ ไสก้ รอง (cartridge) หรือ
ชนิดสารตัวกรอง (เช่น ตัวกรองทรายเร็วด้วยความดัน ตัวกรองทรายอัตรากรองสูง ตัวกรองดินเบาหรือ

ตัวกรองทรายด้วยแรงโน้มถ่วง) ตัวกรองแบบสารตัวกลางทั้งหมดจะต้องสามารถทำการล้างย้อนกลับได้ และ
ควรมีอุปกรณ์เสริมสำหรับตัวกรอง เช่น เกจวัดความดัน วาล์วระบายอากาศ และตัวบ่งช้ีอัตราการไหลตามท่ี
กำหนด การเข้าถึงเคร่ืองกรองทรายควรคงไว้อยู่เสมอ เพ่ือที่เคร่ืองจะได้รับการตรวจสอบเป็นประจำอย่างน้อย
ทกุ สปั ดาห ์ และสารตวั กรองจะตอ้ งถกู เปลีย่ นเปน็ ระยะๆ


ปจั จยั ทมี่ คี วามสำคญั ในการพจิ ารณาการออกแบบระบบกรองดว้ ยสารตวั กรองชนดิ เมด็ (เชน่ ทราย) ประกอบดว้ ย

l อัตราการกรอง: ย่ิงอัตราการกรองสูงขึ้น ประสิทธิภาพการกรองก็จะยิ่งลดลง ตัวกรองละเอียดที่มีอัตรา

กรองสูงบางชนิดไม่สามารถจับกับอนุภาคและคอลลอยด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่ากับตัวกรองที่มีอัตรา
การกรอง ปานกลาง และไม่สามารถใช้ร่วมกบั สารตกตะกอนตา่ งๆ

l ความลกึ ของตวั กรอง: ความลกึ ของตวั กรองทถี่ กู ตอ้ งเปน็ สง่ิ สำคญั ตอ่ ประสทิ ธภิ าพการกรอง

l จำนวนตัวกรอง: สระว่ายน้ำจะได้รับประโยชน์อย่างมากจากความยืดหยุ่นและการป้องกันที่เพิ่มขึ้น เม่ือมี
ตัวกรองมากกว่าหนึ่งตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสระว่ายน้ำยังคงสามารถใช้งานได้ตามปกติด้วยการหมุนเวียน

116 ค่มู อื สขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


น้ำที่ลดลงด้วยเครื่องกรองตัวหนึ่ง ขณะที่อีกตัวกำลังถูกตรวจสอบหรือซ่อมแซมน้ำท่ีกรองผ่านตัวกรอง
หน่งึ สามารถใช้ในการล้างย้อนตวั กรองอีกตวั หนงึ่ ได

l การล้างย้อน: การทำความสะอาดถังตัวกรองซึ่งอุดตันด้วยสารแขวนลอย เรียกว่า การล้างย้อน

ซึ่งสามารถทำได้โดยการย้อนกลับการไหล การทำให้ทรายเหลว และการส่งน้ำในสระกลับผ่านตัวกรองไป
ยังที่ท้ิงของเสีย การล้างย้อนควรปฏิบัติตามท่ีผู้ผลิตตัวกรองแนะนำ หรือเม่ือพบว่าความขุ่นเกินค่าที่
อนญุ าตหรอื ไม่ได้มกี ารล้างย้อนกลบั เมือ่ ผา่ นไประยะเวลาหน่งึ แล้ว


จำเปน็ ตอ้ งมที กี่ รองผมระหวา่ งจดุ นำ้ ออกของนำ้ สระวา่ ยนำ้ และดา้ นดดู ของเครอ่ื งสบู นำ้ เพอื่ กำจดั สงิ่ แปลกปลอม
เชน่ เส้นผม สำลี และเข็มหมุด สว่ นทีถ่ อดออกไดข้ องตัวกรองควรจะทนตอ่ การกัดกรอ่ นและมรี ูหลายๆ รู ที่มี
ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางน้อยกวา่ 6 มิลลิเมตร


สารสร้างตะกอน (และสารก่อการจับกลุ่ม) เพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดสารละลาย สารคอลลอยด์ หรือ
บทท่ี 4
สารแขวนลอย โดยนำตะกอนออกจากสารละลายหรือสารแขวนลอยในรูปแบบของแข็ง (การแข็งตัว) จากนั้น

จับกลุ่มของแข็งเข้าด้วยกัน (การจับตัวเป็นก้อน) ทำให้เกิดอนุภาคท่ีตกตะกอนซ่ึงติดในตัวกรองได้ง่ายข้ึน


สารสร้างตะกอนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยกำจัด Giardia infective cysts และ oocysts ของ

Cryptosporidium spp. ซ่ึงไม่เช่นน้ันก็อาจผ่านตัวกรองไปได้ ประสิทธิภาพของสารสร้างตะกอนข้ึนอยู่กับ


ค่าความเป็นกรด-ด่าง ซึ่งจำเป็นต้องถูกควบคุมการปั๊มสารเคมีควรกำหนดปริมาณสารสร้างตะกอนได้น้อย


ตามที่กำหนดได้อย่างแม่นยำและสามารถปรับเข้ากับข้อกำหนดตามจำนวนผู้ใช้สระน้ำได้ การสร้างตะกอน

จำเปน็ ต้องดำเนินการเพอื่ การกรองทมี่ ีประสิทธภิ าพ โดยข้นึ อยกู่ ับกระบวนการกรองทีเ่ ลือกใช


4. การใช้สารเคมีรวมถงึ การฆ่าเชือ้ โรค

การฆ่าเชื้อโรคเป็นกระบวนการที่ทำใหจ้ ุลนิ ทรยี ท์ ที่ ำให้เกิดโรคถกู กำจดั หรอื ถูกยบั ย้ังโดยสารเคมี (เชน่ คลอรีน)
หรือทางกายภาพ (เช่น การกรอง การใช้รังสียูวี) คือ ทำให้ไม่มีความเส่ียงที่มีนัยสำคัญต่อการติดเชื้อ

การหมุนเวียนน้ำในสระน้ำจะถูกฆ่าเช้ือ โดยใช้กระบวนการบำบัดและน้ำทั้งหมดจะถูกฆ่าเชื้อ โดยการใช้สาร

ฆา่ เชอ้ื โรคตกค้างซ่งึ จะยบั ยง้ั เชอ้ื โรคท่ีเขา้ สูน่ ำ้ โดยผ้ใู ชส้ ระนำ้


สำหรับการฆ่าเช้ือโรคโดยสารเคมีที่ควบคุมการเติบโตของส่ิงมีชีวิตใดๆ ความต้องการสารออกซิแดนซ์ท่ีของน้ำ
ทก่ี ำลงั ได้รับการบำบดั จะต้องมาเปน็ อนั ดบั แรก และจะต้องมสี ารเคมเี หลอื เพียงพอตอ่ การฆา่ เชอ้ื โรค


ประเดน็ ทตี่ อ้ งพิจารณาในการเลือกสารฆ่าเชอ้ื และระบบการใชง้ าน ได้แก ่

l ความปลอดภยั

l ความสบาย (เชน่ หลกี เล่ียงการระคายเคืองผวิ หนงั )

l ความเข้ากันได้กบั แหล่งน้ำ (ความกระด้างและความเป็นดา่ ง)

l ประเภทและขนาดของสระว่ายน้ำ (สารฆ่าเช้ืออาจเสื่อมสภาพหรือสูญหายเพราะระเหยจากสระว่ายน้ำ

กลางแจง้ )


คู่มือสุขาภบิ าลเรอื 117

Guide to ship sanitation


l ความสามารถในการออกซิเดช่ัน

l จำนวนผ้ใู ชส้ ระน้ำ (เหงอ่ื และปัสสาวะจากผใู้ ช้สระน้ำจะเพ่มิ ความต้องการสารฆา่ เชื้อ)

l การดำเนนิ การของสระน้ำ (เชน่ การควบคุมและการจัดการ)

ทางเลือกของสารฆ่าเชอ้ื ทใี่ ช้เป็นส่วนหนงึ่ ของการบำบัดน้ำ สระว่ายนำ้ ควรเป็นไปตามเกณฑ์ดังต่อไปน
้ี
l มีประสิทธิภาพในการยับยงั้ จลุ ินทรียท์ ่ที ำให้เกดิ โรคไดอ้ ย่างรวดเร็ว

l ความสามารถในการออกซเิ ดช่นั อย่างตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ช่วยควบคุมส่ิงปนเป้อื นในระหวา่ งท่สี ระนำ้ ถกู ใช้

l ค่าความแตกต่างท่ีมากระหว่างความเข้มข้นท่ีมีประสิทธิภาพของสารเคมีกับความเข้มข้นท่ีส่งผลเสียต่อ

สขุ ภาพของมนุษย์

l ความพร้อมในการกำหนดความเข้มข้นของสารฆ่าเชื้อท่ีใช้กับน้ำในสระได้อย่างง่ายและรวดเร็ว


(วธิ ีวเิ คราะหแ์ ละทดสอบ)

l ศักยภาพในการวัดความเข้มข้นของสารฆ่าเช้ือโดยวิธีวัดกระแสไฟฟ้า เพื่อให้สามารถควบคุมการใช้สาร


บทท่ี 4 ฆา่ เชอ้ื โดยอัตโนมัติและบนั ทึกคา่ ท่วี ัดได้อย่างต่อเน่ือง


สารฆา่ เชื้อที่ใชก้ นั โดยทัว่ ไป ไดแ้ ก ่

คลอรีน: คลอรีนเป็นสารฆ่าเชื้อในสระน้ำที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยปกติจะอยู่ในรูปของแก๊สคลอรีน โซเดียม
หรือแคลเซยี มไฮโปคลอไรต์ หรอื คลอรีนไอโซไซยานูเรต คลอรนี มรี าคาถูกและสะดวกในการผลิต จัดเก็บ ขนสง่
และใช้งาน สารประกอบคลอรีนไอโซไซยานูเรตเป็นสารประกอบผลึกสีขาว มีกลิ่นคลอรีนเล็กน้อย เมื่อถูก
ละลายในนำ้ จะใหค้ ลอรนี อสิ ระ ไดถ้ กู นำมาใชใ้ นสระวา่ ยนำ้ กลางแจง้ ขนาดเลก็ บนเรอื เปน็ สว่ นใหญ่ สารดงั กลา่ ว
เปน็ แหล่งคลอรีนทางอ้อมในรปู ของสารอินทรีย์ (กรดไซยานูรกิ ) ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคลอรนี ตกค้างและระดบั
ของกรดไซยานูริกน้ันมีความสำคัญและยากต่อการคงไว้ คลอริเนทเต็ทไอโซไซยานูเรทไม่เหมาะกับจำนวนผู้ใช้
ที่หลากหลายซึ่งมักพบในสระน้ำขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามคลอรีนประเภทน้ีมีประโยชน์เป็นพิเศษกับสระว่ายน้ำ
กลางแจง้ ท่ไี ดร้ บั แสงแดดโดยตรง เพราะรงั สยี วู จี ะสลายคลอรนี ไดอ้ ย่างรวดเรว็

โอโซน: โอโซนเป็นสารออกซิไดซ์และสารฆ่าเช้ือที่มีประสิทธิภาพท่ีสุดสำหรับการบำบัดน้ำในสระว่ายน้ำและ

สปา โอโซนเมื่อทำงานร่วมกับคลอรีนหรือโบรมีนจะเป็นระบบฆ่าเช้ือโรคท่ีมีประสิทธิภาพมาก แต่การใช้โอโซน
เพียงอย่างเดียวไม่สามารถรับรองความสามารถในการฆ่าเชื้อโรคตกค้างได้ท่ัวสระว่ายน้ำ โอโซนมักถูกใช้เป็น

ขน้ั ตอนการบำบดั ตามดว้ ยขนั้ ตอนการกำจดั โอโซน และการเตมิ สารฆา่ เชอ้ื โรคตกคา้ ง เชน่ คลอรนี โอโซนสว่ นเกนิ
จะต้องถูกทำลายโดยตัวกรองถ่านกัมมันต์ เนื่องจากผู้ใช้สระว่ายน้ำและพนักงานจะสูดก๊าซท่ีเป็นพิษน้ีเข้าไปได้
สารฆา่ เช้อื ตกคา้ งเองกค็ วรถูกกำจดั ออกโดยตัวกรองถา่ นกมั มันต์ก่อนจะถูกใส่ไปในนำ้ หลงั จากข้ันตอนน้ ี

รังสอี ลั ตราไวโอเลต: เชน่ เดียวกบั โอโซน รังสยี ูวี คอื การบำบดั ในห้องเฉพาะที่ทำใหน้ ำ้ หมุนเวียนมคี วามบริสุทธ์ิ
ยับย้ังจุลินทรีย์ และทำลายสารพิษบางชนิดด้วยปฏิกิริยาออกซิเดช่ันด้วยแสง วิธีนี้ลดความต้องการคลอรีนของ
นำ้ ท่บี ริสุทธิ์ แต่ไม่ท้ิงสารฆ่าเชือ้ ตกค้างนำ้ ในสระ ดงั นัน้ การฆา่ เช้อื โรคโดยคลอรนี จึงยังมีความจำเป็น และเพ่ือ
ให้รังสียูวีมีประสิทธิภาพสูงสุด น้ำจะต้องได้รับการเตรียมก่อนการบำบัดเพื่อกำจัดอนุภาคที่ก่อให้เกิดความขุ่น
และขดั ขวางการแทรกซึมของรงั สียวู ีหรอื ดดู ซับพลงั งานยวู ี


118 คูม่ ือสุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


การเพิ่มจำนวนของจุลินทรีย์บนพื้นผิวอาจก่อให้เกิดปัญหาและโดยทั่วไปจะถูกควบคุมโดยการทำความสะอาด
และการฆ่าเชือ้ เช่น การใช้สารเคมใี นจำนวนท่ีมากกวา่ ปกต ิ

วธิ กี ารเตมิ สารฆา่ เชอ้ื ตา่ งๆ ลงในสระนำ้ จะสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการฆา่ เชอื้ สารฆา่ เชอ้ื แตล่ ะประเภทอาจกำหนด
ปรมิ าณทตี่ อ้ งใชไ้ วโ้ ดยเฉพาะ แตห่ ลกั การดงั ตอ่ ไปนส้ี ามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ทกุ สารฆา่ เชอ้ื

l การกำหนดปริมาณสารฆ่าเชื้อโรคโดยอัตโนมัติเป็นท่ีนิยม ตัวตรวจจับไฟฟ้าจะตรวจสอบค่าความเป็น

กรด-ด่างและระดับสารฆ่าเชื้อตกค้างอย่างต่อเนื่อง และปริมาณสารฆ่าเช้ือโรคจะถูกปรับให้เหมาะสม

เพ่ือรักษาระดับปริมาณสารที่ถูกต้อง การตรวจสอบระบบอย่างสม่ำเสมอ (รวมถึงทำการทดสอบตัวอย่าง
นำ้ ในสระดว้ ยตนเอง) และการจดั การที่ดีมคี วามสำคญั

l การกำหนดปรมิ าณสารฆา่ เชอื้ ดว้ ยมอื (เชน่ การใสส่ ารเคมลี งในสระวา่ ยนำ้ โดยตรง) ไมค่ อ่ ยมคี วามเทย่ี งตรง
ระบบการกำหนดปริมาณสารด้วยมอื ต้องมกี ารจัดการทีด่ ีในการดำเนินงานและการตรวจสอบ และมีความ
สำคญั อย่างยิง่ ทจี่ ะต้องไมม่ ผี ้ใู ช้สระน้ำอยู่ในสระจนกวา่ สารเคมจี ะกระจายทั่วสระนำ้


l ความพยายามชดเชยการขาดประสิทธิภาพของการบำบัดโดยการใช้สารเคมีในจำนวนท่ีมากกว่าปกติ บทที่ 4

เป็นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นการปกปิดข้อบกพร่องของการออกแบบหรือการดำเนินงาน

ซึ่งอาจกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาอน่ื ๆ และนำมาซึง่ ผลพลอยได้ทไ่ี ม่พงึ ประสงค

l ตวั ปั๊มสารเคมีควรออกแบบใหส้ ามารถปิดตัวเองไดห้ ากระบบไหลเวยี นลม้ เหลว (ทง้ั นี้ เคร่อื งตรวจสอบการ
เตมิ อตั โนมตั คิ วรเปิดใชง้ านอย)ู่ เพ่ือให้แน่ใจวา่ การกระจายของสารเคมีจะหยุดลง

l สารฆ่าเชื้อตกค้างมักจะถูกเติมในขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการบำบัด วิธีการบำบัดการตกตะกอน

การกรองและการเติมโอโซนจะทำให้น้ำใสสะอาด ลดปริมาณสารอินทรีย์ และลดจำนวนจุลินทรีย์ลง
จำนวนมาก และทำใหส้ ารฆ่าเชอ้ื โรคหลงั การบำบดั ทำงานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้นและลดปริมาณสารฆา่ เชื้อ
โรคทต่ี อ้ งใช้ลงได้

l ถือว่ามีความสำคัญที่สารฆ่าเช้ือและสารเคมีปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง จะถูกผสมกับน้ำเป็นอย่างด ี

ณ จุดจ่ายสาร

l ระบบการจา่ ยสารเคมเี ชน่ เดียวกับการไหลเวียนควรดำเนินตอ่ เนือ่ ง 24 ชัว่ โมงต่อวัน

การเกิดผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการฆ่าเช้ือโรคสามารถถูกควบคุมได้โดยการลดการใช้สารต้ังต้นอินทรีย์
(สารประกอบที่ทำปฏิกิริยากับสารฆ่าเชื้อเพ่ือก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์พลอยได้) โดยมีการปฏิบัติท่ีถูกสุขอนามัย
(การอาบน้ำก่อนการว่ายน้ำ) และเพ่ิมประสิทธิภาพสูงสุดของการกำจัดด้วยการบำบัดน้ำในสระว่ายน้ำท่ีมีการ
จัดการท่ีดี การควบคุมผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการฆ่าเช้ือโรคน้ันเก่ียวข้องกับการเจือจาง การบำบัด และการ
ปรับเปลี่ยนหรือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการฆ่าเช้อื โรค เนื่องจากไอออนของโบรไมด์ที่อยู่ในนำ้ เค็ม ผลิตภัณฑ์พลอยได้
ที่เกิดขึ้นในน้ำและอากาศของสระน้ำทะเลบนเรือจะกลายเป็นโบรโมฟอร์มซึ่งอาจเป็นผลมาจากการบำบัดด้วย
คลอรนี หรือโอโซน

นับว่าหลีกเล่ียงไม่ได้ท่ีผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการฆ่าเช้ือโรคชนิดระเหยได้จะเกิดขึ้นในน้ำ และปล่อยสู่อากาศ
อนั ตรายนสี้ ามารถถกู จดั การไดใ้ นระดบั หนง่ึ ผ่านการระบายอากาศทดี่ ี การใช้เครื่องวเิ คราะห์ชว่ ยในการกำหนด
ปริมาณอัติโนมัติและปรับสภาพที่เหมาะสมท่ีสุด เพื่อความปลอดภัยของสระว่ายน้ำ เช่น การเติมสารเคมีโดย
อัตโนมัติเพื่อการฆ่าเชื้อโรคและการปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง จะต้องมีจุดเก็บตัวอย่างน้ำทั้งระบบเพื่อใช้

ค่มู อื สขุ าภบิ าลเรอื 119

Guide to ship sanitation


ทดสอบระดบั ฮาโลเจนและเทยี บมาตรฐานเครอ่ื งวเิ คราะหอ์ ยา่ งสมำ่ เสมอ ควรจดั ใหม้ อี ปุ กรณฆ์ า่ เชอื้ ทใี่ ชฮ้ าโลเจน
และควบคุมด้วยเคร่ืองวิเคราะห์ตามที่กำหนด อาจจำเป็นต้องทำให้ม่ันใจว่าค่าความเป็นกรด-ด่าง จะถูกปรับ
โดยการใชก้ รดและเบสทเี่ หมาะสมและใชส้ ารบฟั เฟอรเ์ พอ่ื ทำใหค้ า่ ความเปน็ กรด-ดา่ งมเี สถยี รภาพ และขน้ั ตอนน้ี
สามารถเพิม่ ลงในฟังก์ชันการทำงานของเคร่อื งวเิ คราะหไ์ ด้


5. การควบคมุ Legionella

ในสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการ เปน็ ไปไมไ่ ดท้ ีจ่ ะรกั ษาอุณหภมู ิภายนอกใหค้ งอยใู่ นชว่ ง 25-50 องศาเซลเซยี ส
อยา่ งไรกต็ ามระดับของ Legionella spp. สามารถควบคุมได้โดยใช้มาตรการการจัดการท่ีเหมาะสม ประกอบ
ไปด้วยการกรองและการคงสารฆ่าเช้ือโรคไว้อย่างต่อเนื่องในสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการ และการทำความ
สะอาดทางกายภาพของอุปกรณ์สระว่ายน้ำสปาทั้งหมดรวมถึงท่อต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง และระบบปรับอากาศห้อง
ที่เป็นท่ีต้ังของสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการจะต้องมีการระบายอากาศท่ีดี เพ่ือหลีกเลี่ยงการสะสมตัวของ
Legionella spp. ในอากาศภายในอาคาร ดังนั้น จึงจำเป็นต้องออกแบบและใช้กลยุทธ์การจัดการต่างๆ


บทท่ี 4 ซึง่ อาจรวมถึง


l การใส่สารชีวฆาตลงในน้ำสปา ท่อประปา และตัวกรอง โดยปกติสปาประเภทน้ำวนจะต้องรักษาคลอรีน
อิสระใหเ้ หลืออยู่ระหวา่ ง 3 และ 10 มิลลิกรัม/ลิตร หรือโบรมีนอิสระให้อยูร่ ะหว่าง 4 และ 10 มลิ ลิกรัม/
ลติ ร (WHO, 2006) และเพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ ฮาโลเจนอสิ ระนั้นมีประสิทธภิ าพสำหรับการฆ่าเชือ้ มีความจำเป็น
ต้องรกั ษาหรอื ปรับค่าความเป็นกรด-ด่างอย่เู สมอโดยท่วั ไปอยูใ่ นช่วง 7.2–7.8


l ความมั่นใจว่าพนักงานได้รับการฝึกอบรมและมีทักษะที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานกับสิ่งอำนวยความ
สะดวกดา้ นนันทนาการ


l การใชน้ ำ้ หมนุ เวียนอย่างตอ่ เนือ่ งในอา่ งนำ้ วนและสระสปา

l การทำความสะอาดระบบตวั กรอง (เชน่ ตัวกรองล้างย้อนกลบั )

l การทำความสะอาดสงิ่ โดยรอบสระนำ้

l การแทนทีน่ ้ำในอ่างนำ้ วน และสระสปาทกุ วันเป็นสดั ส่วน (เช่น 50%)

l การระบายนำ้ อย่างสมบูรณ์สำหรบั อ่างนำ้ วน สระสปา และสระวา่ ยน้ำทีม่ อี ณุ หภมู ติ ามธรรมชาติ และการ

ทำความสะอาดพ้ืนผิวและท่อท้ังหมดอย่างสม่ำเสมอ

l การบำรงุ รักษาและทำความสะอาดระบบทำความร้อน ระบายอากาศ และระบบปรบั อากาศทใ่ี ชง้ านอยู่ใน

ห้องท่ีมสี ระว่ายน้ำสปา

l การติดตั้งสัญลักษณ์ที่แสดงข้อควรระวังมาตรฐานด้านความปลอดภัยใกล้กับสภาพแวดล้อมน้ำนันทนาการ

ซึง่ เตือนผทู้ ่มี ีภาวะภมู ิคุม้ กันบกพรอ่ งหรือผู้ที่ทานยาภูมิคมุ้ กนั ไมใ่ หอ้ ยใู่ นสภาพแวดล้อมน้ำนนั ทนาการ


การทำความสะอาดระบบไหลเวยี นทง้ั หมดเปน็ ประจำประกอบดว้ ย สปา สเปรย์ ปม๊ั และทอ่ ตา่ งๆ เปน็ สง่ิ สำคญั
มากและอาจต้องใช้สารฆ่าเช้ือในปริมาณที่ค่อนข้างเข้มข้น เน่ืองจาก Legionella spp. สามารถคงอยู่ในกลุ่ม
ของแบคทีเรยี ทเ่ี กาะตดิ (คราบบนพื้นผวิ ของอปุ กรณ์และทอ่ ) ซึ่งทำใหย้ ากต่อการยบั ย้งั


ผู้ใช้สระน้ำจะต้องได้รับการส่งเสริมให้อาบน้ำก่อนลงน้ำ ซึ่งการอาบน้ำจะขจัดมลพิษต่างๆ เช่น เหง่ือ

เคร่ืองสำอาง และเศษเน้ือตาย ท่ีจะกลายเป็นแหล่งสารอาหารในการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย และยังเป็น


120 คมู่ อื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


ตวั ลบล้าง การออกซิไดซ์สารชีวฆาต นอกจากน้ี อาจมกี ารควบคุมความหนาแน่นของผ้ใู ช้สระน้ำและระยะเวลา
การใชอ้ า่ งนำ้ วน และอา่ งสปา ส่ิงอำนวยความสะดวกสระสปาอาจต้องกำหนดช่วงเวลาการพักระบบระหวา่ งวัน
เพ่ือความเขม้ ข้นของสารฆ่าเชือ้ ฟนื้ คนื ตัว


การควบคุมตา่ งๆ ควรดำเนนิ การเป็นระยะ ตัวอยา่ งเช่น ทกุ เดอื น ทุกไตรมาส หรือทุกปี ขึ้นอยู่กบั ประเภทของ
สภาพแวดลอ้ มของเรอื การทดสอบนไ้ี มค่ วรแทนทหี่ รอื นำมาใชก้ อ่ นเพอ่ื เนน้ กลยทุ ธก์ ารควบคมุ ตา่ งๆ นอกจากนี้
การทดสอบน้ันค่อนข้างมีความเฉพาะด้านและจำเป็นต้องดำเนินการในห้องปฏิบัติการท่ีมีอุปกรณ์ครบครัน

โดยเจ้าหน้าที่ที่มีประสบการณ์ ดังน้ัน โดยท่ัวไปการทดสอบจึงไม่ได้ดำเนินการโดยลูกเรือหรือในระหว่างการ
เดินทาง การสมุ่ ตวั อย่างการตรวจสอบควรมงุ่ เนน้ ท่ีมาตรการทรี่ ุนแรงของระบบและสถานท่ที ี่มีความเสี่ยงสูง


6. คุณภาพอากาศ

การจัดการคุณภาพอากาศเป็นสิ่งสำคัญ เช่นเดียวกับคุณภาพน้ำในสระว่ายน้ำ สปา และสภาพแวดล้อมน้ำ
นันทนาการท่ีคล้ายคลึงกัน ห้องที่ทำเป็นสปาควรมีการระบายอากาศที่ดีเพื่อหลีกเล่ียงการสะสมของ บทท่ี 4

Legionella spp. ในอากาศภายในอาคาร นอกจากนี้ การระบายอากาศจะช่วยลดการสัมผัสกับผลิตภัณฑ์

พลอยไดท้ เี่ กดิ จากการฆา่ เชอ้ื โรคในอากาศ การระบายอากาศทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอควรสามารถลดความเสย่ี ง

จาก Legionella spp. ได้ แต่ส่ิงสำคัญคอื ตวั ระบบเองจะต้องไมม่ คี วามเสีย่ ง พน้ื ผวิ ทั้งหมดของระบบ HVAC

ท่ีให้บริการในห้องที่มีสปา หรือสระว่ายน้ำควรได้รับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อทางกายภาพเพ่ือควบคุม

กลุ่มแบคทีเรยี ที่จะมาเกาะตดิ


ดา้ นการออกแบบและกอ่ สร้างอืน่ ๆ

ห้องเคร่ืองกลของสระว่ายน้ำจะต้องสามารถเข้าถึงได้ง่ายและมีการระบายอากาศที่ดี และจะต้องจัดให้มี

นำ้ ประปาในหอ้ ง และเพื่อชว่ ยในการบำรุงรักษาอยา่ งต่อเนื่อง การทำเคร่ืองหมายลกู ศรระบุทศิ ทางการไหลบน
ท่อทั้งหมด รวมถึงการบำรุงรักษาแผนภาพแสดงการไหลและคำแนะนำในการทำงานในสถานท่ีให้พร้อมใช้งาน
เสมอถือว่ามีประโยชน์อย่างย่ิง ห้องเครื่องกลสระว่ายน้ำและระบบหมุนเวียนต้องได้รับการออกแบบให้
ปลอดภัยและง่ายต่อการจัดเก็บและเติมสารเคมีในถังสารเคมี จำเป็นต้องมีการติดต้ังท่อระบายน้ำใน

ห้องเครื่องกลสระว่ายน้ำ เพื่อให้ระบบสูบน้ำและระบบกรองท้ังหมดทำการระบายน้ำได้อย่างรวดเร็ว โดยมี

ท่อระบายน้ำขนาดใหญเ่ พียงพออยา่ งนอ้ ย 8 เซนตเิ มตร ถูกตดิ ต้ังอยู่ทีจ่ ดุ ตำ่ สุดของระบบ


เพอ่ื ชว่ ยลดความเสยี่ งในการจมนำ้ ระดบั ความลึกของสระ และเครื่องหมายบอกความลกึ ตอ้ งถูกแสดงไว้อยา่ ง
เด่นชัด สามารถมองเห็นได้จากดาดฟ้าเรือและในสระน้ำ เคร่ืองหมายบอกความลึกต้องระบุเป็นหน่วยฟุตหรือ
เมตรหรอื ทั้งสอง และตอ้ งมตี วั บ่งชคี้ วามลึกทุกๆ จุดทคี่ วามลกึ เปลีย่ นอย่างมีนยั สำคัญ (1 เมตร)








คมู่ ือสขุ าภิบาลเรือ 121

Guide to ship sanitation


B. สระน้ำหมนุ เวียน

อุปกรณ์และข้ันตอนการปฏิบัติงานต้องสามารถทำให้น้ำภายในสระน้ำไหลเวียนได้อย่างสมบูรณ์ ในระดับ
ความถี่ทเี่ พียงพอ เช่น มีการเปลยี่ นน้ำทุกๆ 6 ชวั่ โมง หรอื นอ้ ยกวา่ ในชว่ งที่สระน้ำเปดิ ใหบ้ รกิ าร อปุ กรณค์ วร
ประกอบด้วยตัวกรอง เคร่ืองมือ และอุปกรณ์อื่นๆ สำหรับการฆ่าเช้ือและการบำบัด ซึ่งอาจจำเป็นต้องเป็นไป
ตามระเบียบปฏิบัติของประเทศนั้นๆ ป๊ัมน้ำชนิดแรงเหวี่ยงท่ีสามารถล่อน้ำได้เองเหมาะสำหรับใช้หมุนเวียนน้ำ
ในสระน้ำ


C. สระวา่ ยน้ำประเภทน้ำไหลผ่าน

สระวา่ ยนำ้ ประเภทนำ้ ไหลผ่าน ถือวา่ เปน็ ประเภทสระทเ่ี หมาะสมทีส่ ดุ สำหรับการก่อสรา้ ง การตดิ ตง้ั และการ
ปฏิบัติงานบนเรือ จำนวนผู้ใช้สระน้ำท่ีสามารถใช้สระพร้อมกันในคราวเดียวได้อย่างปลอดภัย และผู้ที่สามารถ
ใช้สระว่ายน้ำได้ในระยะเวลาหนึ่งวันจะถูกกำหนดโดยพื้นที่ของสระว่ายน้ำ และอัตราการเปล่ียนถ่ายน้ำ ดังนั้น

บทท่ี 4 ควรออกแบบสระน้ำโดยคำนึงถึงจำนวนผู้ใช้สระท่ีเป็นไปได้สูงสุดและพื้นที่ว่างสูงสุดที่สามารถสร้างสระน้ำได้

หลกั การดังต่อไปน้ี ควรนำมาใช้ในการออกแบบสระนำ้ ประเภทนำ้ ไหลผา่ น

l การออกแบบความจุของสระว่ายน้ำควรพิจารณาบนพ้ืนฐานของพ้ืนที่ เช่น พื้นท่ี 2.6 ตารางเมตร


ต่อผู้ใช้สระน้ำ สำหรับการบำรุงรักษาน้ำในสระให้สะอาดอย่างน่าพึงพอใจน้ัน อัตราการไหลของ

น้ำสะอาดจำเป็นต้องเพียงพอสำหรับการเปลี่ยนน้ำทุกๆ 6 ชั่วโมงหรือน้อยกว่านั้น น้ำที่ไหลผ่านจะต้อง

ถูกส่งไปยังสระว่ายน้ำผ่านทางเข้าหลายทาง เพื่อให้แน่ใจว่ามีการจ่ายน้ำท่ีเท่าเทียมกัน ทางเข้าเหล่านี้
สามารถรบั นำ้ จากทอ่ สาขาซงึ่ ตอ่ จากสายจา่ ยหลกั ทฝ่ี ง่ั ความดนั ของวาลว์ ทเ่ี ตมิ นำ้ ใกลส้ ระวา่ ยนำ้ การควบคุม
การไหลของนำ้ จะต้องเป็นอิสระจากวาลว์ เติมนำ้

l น้ำไหลล้นจะต้องถูกปล่อยลงในท่อระบายน้ำผิวหน้า (skim gutters) หรือเขตกั้นน้ำล้นขอบสระ

ที่ใกล้เคียงกันซ่ึงช่องระบายแต่ละช่องต้องเว้นระยะห่างกันไม่เกิน 3 เมตร และปล่อยน้ำไปยังระบบ

ของเสีย

l ด้านล่างของสระว่ายน้ำควรเอียงไปทางท่อระบายน้ำ หรือทำให้สามารถระบายน้ำในสระได้อย่างสมบูรณ์
ทางด้านความปลอดภัย ความลาดเอียงส่วนใดก็ตามของก้นสระที่มีระดับน้ำอยู่ต่ำกว่าระดับท่ียืนถึงคือ

1.8 เมตร ไมค่ วรมคี วามลาดชนั มากกวา่ 1:15 และเพอ่ื ความปลอดภยั ไมค่ วรมกี ารเปลยี่ นแปลงความลาดชนั
อยา่ งฉบั พลนั ในบริเวณท่ีความลกึ ของน้ำไม่เกิน 1.5 เมตร

l เพื่อช่วยลดความเส่ียงในการจมน้ำ ความลึกของสระน้ำและเครื่องหมายบอกความลึกจะต้องแสดงอย่าง
เด่นชัด เพ่ือให้สามารถมองเห็นได้จากดาดฟ้าเรือและในสระน้ำ เครื่องหมายบอกความลึกต้องระบุเป็นฟุต
หรือเมตรหรือทั้งสองอย่าง และต้องติดตั้งไว้ทุกๆ ระดับความลึกท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำคัญ

(1 เมตร) และควรจะมรี ะบบจ่ายนำ้ รวมไปถึงปม๊ั นำ้ แยกไว้ใช้ต่างหากสำหรับสภาพแวดลอ้ มนำ้ นนั ทนาการ
จุดรับน้ำจะต้องอยู่ก่อนช่องระบายน้ำและของเสียทั้งหมด อย่างไรก็ตามหากสระว่ายน้ำจะมีการเติมน้ำ
และใช้งานแค่ในขณะที่เรืออยรู่ ะหว่างการเดนิ ทาง อาจจะใช้ปม๊ั น้ำดับเพลิงหรือปม๊ั นำ้ สขุ าภบิ าล หรือใช้ป๊มั
ทั้งสองรว่ มกัน





122 คมู่ อื สขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


สงิ่ ต่อไปนสี้ ามารถนำไปปฏิบตั เิ พือ่ ลดความเสย่ี งการปนเป้อื น

l สายส่งน้ำไปยังสระว่ายน้ำควรอยู่แยกจากสายชนิดอ่ืนๆ ท่ีมีท่ีมาอยู่ใกล้กับบริเวณปล่อยน้ำออกของปั๊ม

หรือวาล์วท่อร่วม หรือจุดที่มีการปล่อยน้ำสูงสุดหรือใกล้สูงสุดของป๊ัมน้ำดับเพลิงหรือปั๊มน้ำสุขาภิบาล

เป็นประจำ

l หากน้ำทะเลถูกดูดลงสระน้ำ ไม่ควรนำน้ำออกขณะเรืออยู่ท่ีท่าเรือหรือแล่นอยู่บนน้ำทะเลมีการปนเป้ือน

ควรติดตั้งวาล์วสำหรับปิดที่เขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยใกล้กับจุดท่ีน้ำทะเลถูกดูดขนึ้ พรอ้ มตดิ ปา้ ยแจง้ ว่า “กรุณาปิดวาล์ว
ขณะอยู่ท่ีท่าเรือ” ระบบจ่ายน้ำทะเลแบบไหลผ่านสำหรับสระว่ายน้ำควรใช้เฉพาะในขณะท่ีเรือกำลังแล่น
และอยู่ห่างจากแผ่นดินเกินกว่า 12 ไมล์ทะเล สระว่ายน้ำ (เมื่ออยู่ในโหมดน้ำทะเลไหลผ่าน) ควรมีการ
ระบายน้ำออกก่อนที่เรือจะถึงท่าเรือและปล่อยให้สระไม่มีน้ำเช่นนั้นขณะอยู่ที่ท่าเรือ หากสระน้ำไม่ได้
ระบายนำ้ ออกก่อนที่จะมาถงึ ท่าเรอื ระบบเติมนำ้ ทะเลของสระวา่ ยนำ้ ควรจะถูกปดิ ท่ี 12 ไมล์ทะเลก่อนถงึ
แผน่ ดิน และระบบการหมุนเวียนน้ำควรใชร้ ว่ มกบั การกรองและฮาโลจีเนช่ันทเ่ี หมาะสม


D. สปาน้ำวน
บทที่ 4

อา่ งนำ้ วนนนั้ ตอ้ งรองรบั ผใู้ ชจ้ ำนวนมากเมอื่ เทยี บกบั ปรมิ าณนำ้ ดว้ ยอณุ หภมู ขิ องนำ้ ทส่ี งู และการปนั่ ปวนของนำ้

ทีร่ วดเรว็ อาจเป็นเรือ่ งยากท่จี ะรกั ษาคา่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง คณุ ภาพทางจลุ ชวี วทิ ยา และจำนวนสารฆา่ เช้ือโรค
ตกค้างไวไ้ ด้ในระดบั ท่ีน่าพอใจ


การดำเนินงานของสระน้ำวนต้องได้รับการดูแลเพิ่มเติมจากปกติ น้ำอุปโภคบริโภคท่ีจ่ายให้กับระบบน้ำวน

จะตอ้ งนำสง่ ผา่ นชอ่ งวา่ งอากาศหรอื อปุ กรณป์ อ้ งกนั การไหลยอ้ นกลบั ทไี่ ดร้ บั การรบั รอง อปุ กรณก์ รองนำ้ จะตอ้ ง
สามารถกำจดั อนภุ าคทง้ั หมดทีม่ ีขนาดใหญ่กวา่ 10 ไมครอน ออกจากปรมิ าณน้ำวนทั้งหมดได้ภายใน 30 นาที
หรือน้อยกว่า ตัวกรองสามารถเป็นชนิดไส้กรอง ตัวกรองทรายเร็วด้วยความดัน ตัวกรองทรายอัตรากรองสูง

ตวั กรองดนิ เบา หรอื ตวั กรองทรายดว้ ยแรงโนม้ ถว่ ง สามารถทำการตดิ กระจกใสเพม่ิ ในฝง่ั ลา้ งยอ้ นของตวั กรองได ้


ระบบน้ำล้นต้องได้รับการออกแบบเพื่อให้รักษาระดับน้ำ แนะนำให้น้ำล้นจากสระน้ำวนไหลด้วยแรงโน้มถ่วง
ตรงไปสู่ถังขนาดใหญ่ (make-up tank) เพ่ือให้หมุนเวียนผ่านระบบตัวกรองหรือกำจัดเป็นของเสีย

การหมนุ เวียนน้ำวนต้องใชป้ ั๊มน้ำชนดิ แรงเหวี่ยงท่ีสามารถลอ่ นำ้ ได้เอง


ควรมีการจดั เตรยี มเครื่องดกั จับตะกอนบนผวิ น้ำทุกๆ 14 ตารางเมตร หรอื ตามสดั ส่วนของพ้นื ผวิ น้ำ ระดับการ
เติมนำ้ วนต้องอยรู่ ะดบั ผวิ หนา้ รางนำ้ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งการทำงานของเครือ่ งกวาดตะกอน


จำเป็นต้องมีกลไกควบคุมอุณหภูมิน้ำไม่ให้เกิน 40 องศาเซลเซียส เพ่ือหลีกเล่ียงการถูกลวกและความร้อนที่สูง
เกินไป ถังขนาดใหญ่สำหรับบรรจุน้ำ (make-up tank) อาจใช้ในการทดแทนน้ำท่ีสูญเสียไปจากการกระเดน็
และระเหย ทอ่ นำ้ ลน้ ควรมขี นาดเปน็ อยา่ งนอ้ ยสองเทา่ ของทอ่ นำ้ เขา้ และอยดู่ า้ นลา่ งถงั จา่ ยนำ้ ระบบจะตอ้ งใหม้ ี
การบำบดั นำ้ ดว้ ยสารเคมจี ำนวนมากหรอื ฮาโลจเี นชน่ั ขน้ั สงู เปน็ ประจำ (เชน่ รายวนั ) และควรมอี ปุ กรณฮ์ าโลจเี นชน่ั
ทส่ี ามารถรกั ษาระดบั ฟรฮี าโลเจน ใหอ้ ยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสมตลอดระยะเวลาการใชง้ าน





คมู่ ือสขุ าภบิ าลเรือ 123

Guide to ship sanitation


E. สระสปา

สระสปา มีสภาพการใช้งานท่ีไม่เหมือนสระชนิดอ่ืนและสร้างปัญหาท่ีแตกต่างออกไปต่อผู้ปฏิบัติงาน

การออกแบบและการดำเนินงานของสิ่งอำนวยความสะดวกเหล่าน้ี ทำให้ยากท่ีจะมีสารฆ่าเชื้อโรคตกค้าง

เพียงพอ จึงอาจต้องใช้สารฆ่าเชื้อตกค้างปริมาณมากข้ึน เนื่องจากจำนวนผู้ใช้งานและอุณหภูมิที่สูงข้ึน ซ่ึงทั้ง
สองอยา่ งน้ที ำใหส้ ูญเสยี สารฆ่าเช้อื ตกค้างไปอย่างรวดเรว็ มากขน้ึ

การทำให้ความเข้มข้นของ Pseudomonas aeruginosa น้อยกว่า 1 cfu/100 มิลลิลิตรนั้น สามารถทำได้
ด้วยการระเบียบจัดการท่ีดี มาตรการการจัดการความเสี่ยงท่ีสามารถใช้เพ่ือจัดการแบคทีเรียไม่แตกตัว

(non-enteric) ประกอบด้วย การระบายอากาศ การทำความสะอาดอุปกรณ์ และการตรวจสอบความเหมาะสม
ของการฆ่าเชอ้ื โรค สระสปาท่ไี มไ่ ด้ใชว้ ิธีการฆา่ เชอื้ จำเปน็ ตอ้ งใช้วธิ กี ารบำบดั น้ำอนื่ ๆ เพ่ือให้น้ำมีความปลอดภัย
ทางจลุ ชวี วทิ ยา หากไมม่ วี ธิ อี น่ื ในการปอ้ งกนั การปนเปอื้ นของจลุ นิ ทรยี ์ การแลกเปลย่ี นของนำ้ ตอ้ งมอี ตั ราทส่ี งู มาก

แมจ้ ะไมไ่ ดผ้ ลเตม็ ทก่ี ต็ าม ในสระสปาทไี่ มต่ อ้ งการใหใ้ ชส้ ารฆา่ เชอ้ื โรคหรอื ทยี่ ากตอ่ การรกั ษาจำนวนสารฆา่ เชอ้ื โรค

บทที่ 4 ตกค้างให้เพียงพอ การให้ความร้อนน้ำสปาจนมีอุณหภูมิถึง 70 องศาเซลเซียส เป็นประจำทุกวันในช่วงที่ไม่ได้

ใช้งานอาจช่วยควบคุมการเพ่ิมจำนวนของจุลินทรีย์ได้ เพื่อป้องกันจำนวนผู้มาใช้ท่ีมากเกินไปของสระสปา

บางประเทศได้แนะนำให้ติดต้ังท่ีนั่งสำหรับผู้ใช้สระสปาอย่างชัดเจน โดยแต่ละท่ีนั่งแจ้งปริมาตรสระน้ำข้ันต่ำ
ปริมาตรสระรวมขน้ั ตำ่ และความลกึ ของน้ำสูงสดุ


4.2.2 แนวทางการปฏิบตั ิ 4.2 สขุ าภบิ าลสระวา่ ยนำ้


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 4.2 สุขาภบิ าลสระว่ายน้ำไดร้ บั การดูแลอยา่ งต่อเน่ือง

ตวั ช้วี ดั สำหรับแนวทางการปฏบิ ัติ 4.2

1. ส่งเสรมิ การอาบน้ำกอ่ นลงสระน้ำ

2. ส่งเสรมิ การใช้ห้องส้วมก่อนลงสระนำ้

3. มีข้ันตอนการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อการอาเจียนและการปล่อยอุจจาระโดยไม่ตั้งใจ

(AFRs)

ข้อแนะนำสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 4.2

1. การอาบนำ้ ก่อนลงสระนำ้

การอาบน้ำก่อนลงสระจะทำการชำระเหงือ่ ปัสสาวะ อจุ จาระ เคร่ืองสำอาง นำ้ มนั อาบแดด และสง่ิ อ่ืนๆ ทอ่ี าจ
ปนเปอื้ นในนำ้ ผลทไี่ ดค้ อื นำ้ ในสระทสี่ ะอาดขนึ้ การฆา่ เชอื้ โรคงา่ ยขน้ึ โดยใชป้ รมิ าณสารเคมที น่ี อ้ ยลง และนำ้ ในสระ
เหมาะสมกับการลงไปว่ายมากยิ่งข้ึน ฝักบัวท่ีใช้อาบก่อนลงสระน้ำควรตั้งอยู่ติดกับสระน้ำและน้ำที่อาบควรมี
คณุ ภาพเทา่ กบั นำ้ ดม่ื เนอ่ื งจากเดก็ และผใู้ หญบ่ างคนอาจดม่ื นำ้ ทอี่ าบ นำ้ จากการอาบตอ้ งไหลไปยงั ทที่ ง้ิ นำ้ เสยี

2. การเขา้ หอ้ งนำ้ กอ่ นวา่ ยนำ้

ต้องจัดให้มีห้องส้วม ซ่ึงสามารถใช้งานได้สะดวกก่อนลงสระน้ำและหลังจากข้ึนจากสระน้ำ ผู้ใช้ควรได้รับการ

ส่งเสรมิ ให้เขา้ หอ้ งสว้ มก่อนอาบน้ำ เพ่ือลดการปสั สาวะในสระว่ายน้ำและการปลอ่ ยอุจจาระโดยไม่ตั้งใจ (AFRs)

124 คมู่ อื สุขาภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็กถ่ายปัสสาวะก่อนว่ายน้ำ มีการกำหนดอายุสำหรับเด็ก เช่น เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
อาจไม่ไดร้ บั อนญุ าตให้ใชส้ ระบางประเภท


3. โรคอุจจาระรว่ งและปล่อยอุจจาระโดยไม่ตัง้ ใจ

จำเป็นต้องลดการปล่อยอุจจาระโดยไม่ตั้งใจและการอาเจียนให้น้อยที่สุด และตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพ
เมอ่ื เกดิ เหตดุ งั กลา่ วขน้ึ การปลอ่ ยอจุ จาระโดยไมต่ งั้ ใจดเู หมอื นวา่ จะเกดิ ขนึ้ คอ่ นขา้ งบอ่ ยและเปน็ ไปไดว้ า่ สว่ นใหญ่
จะตรวจไมพ่ บ ผดู้ ำเนนิ งานสระวา่ ยนำ้ ทเ่ี ผชญิ กบั การปลอ่ ยอจุ จาระโดยไมต่ ง้ั ใจหรอื การอาเจยี นในนำ้ สระวา่ ยนำ้
ตอ้ งรีบดำเนินการทันท ี


หากอุจจาระที่ถูกปล่อยเป็นอุจจาระแข็งควรเก็บกู้อย่างรวดเร็วและท้ิงอย่างเหมาะสม อุปกรณ์ท่ีใช้เก็บอุจจาระ
จะต้องถูกฆ่าเชื้อเพื่อกำจัดแบคทีเรียและไวรัสใดๆ ที่อาจติดอยู่ไม่ให้กลับไปยังสระได้ในคร้ังต่อไปท่ีใช้งาน
อุปกรณ์ดังกล่าว ตราบใดที่สระน้ำยังคงทำงานอย่างเหมาะสมในด้านอ่ืนๆ (การฆ่าเชื้อสิ่งตกค้าง ฯลฯ ) ก็ไม่
จำเป็นต้องดำเนนิ การใดๆ เพ่ิมเตมิ

บทที่ 4

หากมีการปล่อยอุจจาระเหลว (ท้องเสีย) หรือมีการอาเจียนเกิดขึ้น สถานการณ์อาจเป็นอันตรายได้ แม้ว่าสาร
ฆ่าเช้ือส่วนใหญ่จะจัดการได้ค่อนข้างดีกับแบคทีเรียและไวรัสหลายชนิดในการปล่อยอุจจาระโดยไม่ต้ังใจ
(AFRs) และอาเจียน อาการท้องร่วงหรืออาเจียนอาจเกิดจากผู้ที่ติดเชื้อปรสิตโปรโตซัว Cryptosporidium
และ Giardia ขนั้ แพรเ่ ช้อื ของเชื้อโรค (oocysts/cysts) ค่อนข้างทนตอ่ คลอรนี ฆา่ เชอื้ ในระดับความเข้มขน้ ที่ใช้
งานจริง ผู้ใชส้ ระท้งั หมดตอ้ งออกจากสระทันท ี


วธิ ีการทปี่ ลอดภัยท่สี ุดหากเหตกุ ารณ์เกิดขึน้ ในสระนำ้ ขนาดเล็ก อ่างน้ำรอ้ น หรอื อ่างนำ้ วน คอื การเอานำ้ ออก
และทำความสะอาดสระก่อนเติมน้ำและเปิดใช้งานอีกครั้ง อย่างไรก็ตามวิธีนี้อาจเป็นไปได้ยากสำหรับสระน้ำ
ขนาดใหญ่ หากไม่สามารถระบายน้ำทิ้งได้ สามารถทำตามข้ันตอนด้านล่างน้ีแต่ทว่ายังเป็นวิธีแก้ไข ที่ยังไม่
สมบรู ณน์ กั เนื่องจากเป็นการลดแต่ไม่ไดก้ ำจดั ความเสี่ยง

l ให้คนออกจากสระน้ำทันท

l รกั ษาระดับสารฆา่ เชือ้ ใหอ้ ยูใ่ นระดบั สูงสดุ ของปริมาณทแี่ นะนำ

l ดูดน้ำและทำความสะอาดสระว่ายน้ำ

l ใช้การตกตะกอน น้ำจะถูกกรองหกรอบการหมุนเวียน อาจใช้เวลาถึงหน่ึงวันและอาจหมายถึงการปิดสระ

นำ้ จนกวา่ จะถงึ วนั ถดั ไป

l ล้างยอ้ นตวั กรอง (นำ้ จากการลา้ งย้อนจะไปยังท่ที ้ิงนำ้ เสยี )

l เม่ือเปิดใช้งานสระว่ายน้ำอีกคร้ัง


ผปู้ ฏิบัตงิ านสระนำ้ สามารถช่วยปอ้ งกันการปลอ่ ยอุจจาระลงในสระน้ำ โดยปฏบิ ตั ิดังน้

l ไมค่ วรใหเ้ ด็ก (หรือผู้ใหญ)่ ทีม่ ปี ระวตั ิทอ้ งเสยี ลงสระน้ำ

l กระตุน้ ให้ผปู้ กครองมั่นใจวา่ ลกู ๆ ของพวกเขาเข้าหอ้ งนำ้ ก่อนวา่ ยนำ้

l การอาบนำ้ กอ่ นการวา่ ยนำ้ เปน็ สง่ิ ทดี่ แี ละผปู้ กครองควรสนบั สนนุ ใหล้ กู อาบนำ้ กอ่ นลงสระนำ้

l หากเปน็ ไปได้ เด็กเลก็ ควรถูกจำกดั พื้นท่ี โดยให้ว่ายในสระทเ่ี ลก็ พอทีจ่ ะสามารถปลอ่ ยน้ำออกได้ หากเกดิ

การปลอ่ ยอจุ จาระหรืออาเจยี นโดยไมต่ ้งั ใจ


คู่มือสุขาภิบาลเรอื 125

Guide to ship sanitation


l ผชู้ ่วยชีวิตหรอื ผูด้ ูแลสระว่ายนำ้ ทีอ่ ยปู่ ระจำสระ (หากม)ี ควรคอยดูแลและเฝา้ ระวังการปล่อยอจุ จาระหรอื
อาเจียนโดยไมต่ ้งั ใจ


4.2.3 แนวทางการปฏบิ ัติ 4.3 การตรวจสอบ


แนวทางปฏบิ ัติ 4.3 ตวั วดั ค่าต่างๆ (Parameters) ไดร้ ับการตรวจสอบและรกั ษาให้อยูใ่ นช่วงเป้าหมาย

ตัวชีว้ ัดสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 4.3

1. รักษาความขุ่นของนำ้ ในสระใหอ้ ยู่ในชว่ งเปา้ หมาย

2. รักษาระดบั สารฆา่ เชอ้ื และคา่ pH ให้อยใู่ นช่วงเปา้ หมาย

3. รักษาคุณภาพของจุลินทรีย์ให้อยู่ในช่วงเป้าหมายและมีข้ันตอนท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือตอบสนองต่อ

เหตุการณท์ ไ่ี มพ่ งึ ประสงค์


บทท่ี 4 ข้อแนะนำสำหรับแนวทางการปฏิบตั ิ 4.3


การตรวจสอบมาตรการควบคุมอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยในการเตือนล่วงหน้าถึงความผิดปกติ ซ่ึงอาจประกอบ
ไปด้วย

l การตรวจสอบและการปรับค่าสารฆา่ เช้อื โรคทเ่ี หลอื ตกค้าง และค่าความเปน็ กรด-ด่าง

l การตรวจสอบการบำรงุ รักษาและทำความสะอาด

l การตรวจสอบสภาพทางกายภาพของสภาพแวดลอ้ มน้ำนันทนาการ ตัวกรอง และอุปกรณ์

l ดำเนนิ การเฝา้ ระวงั การเจบ็ ปว่ ยของระบบทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง (เชน่ ปอดบวม) ในผโู้ ดยสารและพนกั งาน

โดยการบันทึกการเข้ารับบริการจากหน่วยแพทย์บนเรือท้ังหมด เพื่อคาดการณ์หรือยืนยันผู้ป่วยที่เป็นโรค
ปอดอักเสบ ตัววัดค่าต่างๆ ที่ง่ายและค่าใช้จ่ายไม่สูงสำหรับการตรวจวัดที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในทันที
ได้แก่ ค่าความขุ่น ปริมาณสารฆ่าเช้ือตกค้าง และค่า pH จะต้องได้รับการตรวจสอบ อย่างสม่ำเสมอใน
สระนำ้ ทกุ ประเภท

1. ความข่นุ

ความสามารถในการมองเห็นเด็กเล็กซ่ึงอยู่ท่ีก้นสระว่ายน้ำ หรือเคร่ืองหมายต่างๆ ท่ีด้านล่างของสระว่ายน้ำ
จากตำแหน่งของผู้ช่วยชีวิตหรือผู้ดูแลสระว่ายน้ำในขณะท่ีพื้นน้ำกำลังเคล่ือนไหวมีความสำคัญอย่างมาก

ขดี จำกัดความขุน่ ทีห่ นว่ ยวัดความขุ่น 0.5 nephelometric (NTU) หรือเทียบเท่าเป็นค่าเป้าหมายทีเ่ หมาะสม
สำหรบั นำ้ ทผ่ี ่านการบำบดั มาอย่างดี ความขุ่นท่มี ากเกนิ ไปแสดงให้เห็นว่าคณุ ภาพนำ้ แยล่ งและเป็นอันตรายที่มี
นัยสำคัญต่อสุขภาพ หากพบว่าความขุ่นมากเกินไปควรดำเนินการตรวจสอบโดยทันทีและอาจปิดสระว่ายน้ำ

ในชว่ งท่ีดำเนินการแกไ้ ข

2. ระดบั สารฆ่าเชือ้ และค่าความเปน็ กรด-ด่าง

สำหรับสระว่ายน้ำสาธารณะท่ีมีระบบชลศาสตร์และการกรองที่ดีและให้บริการกับผู้ใช้ไม่เกินจำนวนความจุที่
ออกแบบมาควรมีการฆ่าเช้ือโรคอย่างมีประสิทธิภาพเป็นประจำด้วยระดับคลอรีนอิสระ 1 มิลลิกรัม/ลิตร
ตลอดท้ังสระ ในสระน้ำที่มีการดำเนินการอย่างดีก็เป็นไปได้ท่ีจะดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย กรณีที่คลอรีน
อสิ ระ ในสระนำ้ เหลือต่ำกว่า (0.5 มิลลิกรัม/ลิตร) จะถอื วา่ ยอมรับได้หากมกี ารใช้โอโซนหรอื การฆ่าเชอ้ื โรคดว้ ย

126 คู่มือสุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


แสงอัลตราไวโอเลตร่วมด้วย ในขณะเดียวกันอ่างน้ำร้อนอาจต้องใช้คลอรีนอิสระในระดับที่สูงกว่า (ช่วงตั้งแต่

2 ถึง 3 มลิ ลิกรมั /ลติ ร) เนอื่ งจากมจี ำนวนผใู้ ช้มากกว่าและอุณหภมู ิสงู กวา่ (WHO, 2006)


สารฆ่าเช้ือตกค้างต้องได้รับการตรวจสอบโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างก่อนท่ีจะเปิดใช้งานสระน้ำและในระหว่าง
เวลาท่ีให้บริการ (จะดีมากหากเป็นช่วงเวลาท่ีมีจำนวนผู้ใช้สระสูง) (WHO, 2006) ความถี่ของการทดสอบใน
ระหวา่ งการใช้สระว่ายน้ำขน้ึ อยู่กบั ลกั ษณะและการใชส้ ระว่ายนำ้ ควรเก็บตัวอยา่ งท่ีความลกึ 5–30 เซนตเิ มตร
ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่เหมาะสมเพราะการสุ่มเก็บตัวอย่างเป็นประจำจะบอกได้ว่าบริเวณใดในสระว่ายน้ำที่มีสาร
ฆ่าเชื้อโรคตกค้างต่ำท่ีสุด ตัวอย่างน้ำบางครั้งควรนำมาจากส่วนอ่ืนๆ ของสระว่ายน้ำและระบบไหลเวียน

หากผลการทดสอบตามกิจวัตรอยู่นอกชว่ งทแ่ี นะนำ จำเปน็ ต้องทำการประเมินและดำเนนิ การแก้ไขสถานการณ์
คา่ ความเปน็ กรด-ดา่ งของนำ้ ในสระจะตอ้ งไดร้ บั การดแู ลรกั ษาใหอ้ ยใู่ นชว่ งทแี่ นะนำ เพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ การฆ่าเช้ือโรค
และการสร้างตะกอนเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมทส่ี ดุ


หากใช้คลอรีนฆ่าเชื้อควรรักษาค่าความเป็นกรด-ด่างให้อยู่ระหว่าง 7.2 ถึง 7.8 และอยู่ระหว่าง 7.2 ถึง 8.0 บทท่ี 4

หากใชโ้ บรมนี และกระบวนการฆา่ เชอื้ โรคอน่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ชค้ ลอรนี (WHO, 2006) ในการดำเนนิ การดงั กลา่ ว การวดั คา่
ความเป็นกรด-ด่างเป็นประจำมีความสำคัญมาก และจำเป็นต้องปรับค่าอย่างต่อเนื่องหรือเป็นระยะๆ

สำหรับสระท่ีถูกใช้งานอย่างหนักจะต้องมีการวัดค่า pH อย่างต่อเน่ืองและปรับค่าโดยอัตโนมัติ ในส่วนของ

สระวา่ ยน้ำทีใ่ ช้งานน้อยกวา่ อาจวดั ค่าความเป็นกรด-ดา่ งด้วยมือกอ็ าจเพียงพอ


หลกี เลย่ี งการกอ่ ตวั ของผลติ ภณั ฑพ์ ลอยไดท้ จ่ี ากการฆา่ เชอื้ โรคทม่ี ากเกนิ ไป หรอื การระคายเคอื งตอ่ พน้ื ผวิ เยอื่ เมอื ก
เนื่องมาจากสารฆ่าเช้ือโรค ควรทำการรักษาระดับสารฆ่าเชื้อโรคตกค้างไว้ในระดับท่ีสอดคล้องกับคุณภาพ

ทางจุลชีววิทยาท่ีน่าพอใจแต่ไม่มากเกินไปโดยไม่จำเป็น ผู้ปฏิบัติงานควรพยายามรักษาระดับคลอรีนตกค้างให้
ต่ำกวา่ 5 มลิ ลกิ รัม/ลติ ร ในทุกจดุ ในสระว่ายน้ำหรอื สปา


3. คุณภาพจุลินทรยี ์

มีความเสี่ยงไม่มากท่ีจะเกิดการปนเปื้อนจุลินทรีย์อย่างมีนัยสำคัญ หรืออาการป่วยในสระว่ายน้ำที่มีการจัดการ
ท่ีดีหรืออยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีคล้ายกัน โดยที่ความเข้มข้นของสารฆ่าเชื้อโรคท่ีตกค้างมากเพียงพอ ค่าความ
เป็นกรด-ดา่ งถกู คงไว้ในระดับทีเ่ หมาะสม ตัวกรองที่ทำงานไดด้ แี ละมีการตรวจสอบตวั วดั ตา่ งๆ ทไี่ ม่ใช่จุลนิ ทรีย์
อยเู่ ปน็ ประจำ อยา่ งไรกต็ ามตวั อยา่ งนำ้ ในสระวา่ ยนำ้ สาธารณะกค็ วรไดร้ บั การตรวจสอบในชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม
สำหรับตัววัดท่ีเป็นจุลินทรีย์ประกอบด้วย HPC โคลิฟอร์มท่ีทนความร้อนหรือเชื้อ E.coli แบคทีเรีย
Pseudomonas aeruginosa แบคทเี รยี Legionella spp. และแบคทเี รยี Staphylococcus aureus โดย
ความถข่ี องการตรวจสอบและการปฏบิ ตั ติ ามแนวทางจะแตกตา่ งกนั ไปตามจลุ นิ ทรยี ช์ วี้ ดั และประเภทของสระนำ้


หากค่าตัววัดเกินจากที่แนวทางการปฏิบัติงานกำหนดไว้ ผู้ดำเนินงานสระว่ายน้ำควรตรวจสอบความขุ่น ระดับ
สารฆ่าเชื้อโรคตกค้างและค่าความเป็นกรด-ด่าง จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างอีกคร้ัง หากพบว่า ค่าเกินระดับ
วิกฤตท่ีกำหนดไว้ในแนวทางปฏิบัติควรปิดสระน้ำและดำเนินการสอบสวนและแก้ไขปัญหา แนะนำให้ทำการ

ตรวจสอบคณุ ภาพของจลุ นิ ทรียต์ อ่ ไปนี้

l HPC (37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง) เป็นตัววัดค่าประชากรแบคทีเรียโดยรวมภายในสระน้ำ

แนะนำวา่ ระดับท่ใี ชง้ านไดค้ วรนอ้ ยกว่า 200 cfu/มิลลลิ ติ ร


คมู่ อื สขุ าภบิ าลเรอื 127

Guide to ship sanitation


l โคลิฟอร์มชนิดทนความร้อน (Thermotolerant coliforms) และเชื้อ E.coli เป็นตัววัดค่า

การปนเป้ือนของอุจจาระ ควรตรวจวัดค่าโคลิฟอร์มทนความร้อน (Thermotolerant coliforms) และ
เชอื้ E.coli ในสระนำ้ อา่ งนำ้ รอ้ น และสปา ระดบั ทใ่ี ชง้ านไดค้ วรนอ้ ยกวา่ 1 cfu หรอื 1 mpn/100 มลิ ลลิ ติ ร

l แนะนำให้ทำการตรวจสอบระดับเช้ือ Pseudomonas aeruginosa ในอ่างน้ำร้อนและสปา

เปน็ ประจำ โดยเฉพาะสระว่ายนำ้ ที่มปี ัญหาในการดำเนนิ งาน (เช่น ความล้มเหลวของการฆา่ เชื้อโรค หรอื
ปญั หาทเี่ ก่ียวขอ้ งกับตัวกรองหรอื ทอ่ น้ำ) และมกี ารเสือ่ มคุณภาพของนำ้ ในสระหรือพบปัญหาสขุ ภาพต่างๆ
สำหรับสระว่ายน้ำท่ีถูกฆ่าเชื้ออย่างต่อเนื่อง แนะนำว่าระดับท่ีใช้งานได้ควรต่ำกว่า 1 cfu/100 มิลลิลิตร
หากพบวา่ มคี า่ สงู (> 100 cfu/100 มิลลลิ ติ ร) ผ้ดู ำเนินงานสระวา่ ยน้ำควรตรวจสอบค่าความขุน่ ปริมาณ
สารฆ่าเช้ือโรคตกค้างและค่าความเป็นกรด-ด่าง ก่อนจะทำการเก็บตัวอย่างอีกครั้ง แล้วล้างย้อนให้ท่ัวถึง
รอให้น้ำหมุนเวียนหน่ึงรอบจากน้ันจึงเก็บตัวอย่างอีกคร้ัง หากพบว่าค่าเชื้อ P. aeruginosa ยังคงสูงอยู่
ควรปดิ สระวา่ ยนำ้ และเรม่ิ ทำความสะอาดและฆา่ เชอื้ โรค และควรปดิ อา่ งนำ้ รอ้ น ถา่ ยนำ้ ทง้ิ ทำความสะอาด
และเตมิ นำ้ ใหม่

บทท่ี 4 l การตรวจสอบค่าเชื้อ Legionella spp. อยู่เป็นระยะมีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างย่ิงสำหรับอ่างน้ำร้อน

เพื่อตรวจดูว่าตัวกรองมีเช้ือโรคอาศัยอยู่หรือไม่ แนะนำว่าระดับท่ีใช้งานได้ควรน้อยกว่า 1 cfu/100
มลิ ลลิ ติ ร หากพบวา่ เชอื้ เกนิ คา่ ทก่ี ำหนด อา่ งนำ้ รอ้ นควรถกู ปดิ ระบายนำ้ ทงิ้ ทำความสะอาดและเตมิ นำ้ ใหม่
การเติมคลอรีนจำนวนมากอาจเหมาะสมหากสงสยั วา่ ตัวกรองมเี ช้ือโรคอาศยั อยู่

l ไม่แนะนำให้มีการตรวจสอบค่าเชื้อ Staphylococcus aureus เป็นประจำ แม้ว่าการตรวจสอบ

อาจดำเนินการโดยเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบคุณภาพน้ำในวงกว้างเม่ือสงสัยว่ามีปัญหาสุขภาพ

ที่เก่ยี วขอ้ งกบั สระว่ายน้ำ หากมีการสุ่มตวั อย่าง ควรมรี ะดบั นอ้ ยกวา่ 100 cfu/100 มิลลลิ ิตร


คำแนะนำเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การทดสอบเชอื้ Legionella spp. สามารถคน้ ควา้ ไดจ้ าก Bartram และคณะ (2007)


128 คูม่ อื สขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


บทที่ 5


นำ้ อับเฉาเรอื


5 น้ำอบั เฉาเรอื





5.1 ความเป็นมา


ในบทน้ี จะเป็นรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการน้ำอับเฉาเรือ ซ่ึงรวมไปถึงแนวทางการเก็บรักษา
และวิธีการในการกำจดั อยา่ งปลอดภัย


5.1.1 ความเส่ียงทางสขุ ภาพท่ีเกยี่ วข้องกับนำ้ อบั เฉาเรือ


การใชน้ ำ้ อบั เฉาในการเดนิ เรอื นน้ั มคี วามจำเปน็ อยา่ งยงิ่ ในการรกั ษาสมดลุ ของเรอื เดนิ สมทุ รและใชใ้ นการนำทาง
การเดินเรือให้สามารถเดนิ ทางไดอ้ ย่างปลอดภยั กว่าร้อยละ 30-50 ของนำ้ หนักท่บี รรทุกบนเรอื นั้นเปน็ น้ำหนัก
ของน้ำอับเฉาเรือหรือเทียบเท่ากับปริมาตรของน้ำ ตั้งแต่ 200-10,000,000 ลิตร ดังน้ัน ด้วยปริมาตรน้ำใน
จำนวนมหาศาลจึงทำให้น้ำอับเฉาเรือมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อสุขภาพมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นตัวการสำคัญท่ีจะนำ

ไปสู่การเกิดและการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ และในแต่ละปีกว่า 7,000 ชนิด ของสิ่งมีชีวิตในท้องทะเลรองรับ


นำ้ อับเฉาเรอื ท่ถี กู เทท้ิงกลายเป็นความกงั วลอย่างยิ่ง เนื่องจากกิจกรรมดงั กลา่ วน้ีเปน็ อีกแหล่งเพาะพนั ธ์ุเชอ้ื โรค บทท่ี 5

ที่สำคัญท่ีจะสามารถถ่ายทอดลงสู่ทะเลได้ ยกตัวอย่างเช่น เช้ือ Vibrio Cholerae O1 และ O139 ซึ่งเป็น

เช้อื โรคทีส่ ามารถกอ่ ใหเ้ กิดการแพร่ระบาดของอหิวาตกโรคในทะเลได้


5.1.2 มาตรฐานทีเ่ ก่ียวข้องกบั น้ำอบั เฉาเรอื


การประชุมคณะกรรมการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมทางทะเล หรือ Marine Environment Protection
Committee: MEPC ใน ค.ศ.1993 ได้มีการประยุกต์คำแนะนำหลักการในการป้องกันความเส่ียงจากเช้ือ
จุลินทรีย์ท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซ่ึงพบได้ในน้ำอับเฉาเรือและกากตะกอนภายในเรือ ต่อมาใน ค.ศ.1997
สมัชชาองคก์ ารทางทะเลระหวา่ งประเทศ (International Maritime Organization หรือ IMO) ได้นำแนวทาง
การควบคุมและจดั การการเดินเรอื สมทุ รในสว่ นของ A.868 (20)


ซง่ึ มเี นอ้ื หาเกยี่ วขอ้ งกบั การลดการถา่ ยทอดเชอื้ กอ่ โรคจากนำ้ อบั เฉาเรอื จากนน้ั ใน ค.ศ.2004 จงึ เกดิ ความรว่ มมอื
ในการจัดทำอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย การควบคุมและจัดการน้ำอับเฉาเรือและตะกอนภายใน

เรือเดินสมุทร จุดประสงค์ภายใต้อนุสัญญานี้ เพื่อช่วยในการป้องกัน การลด และกำจัดความเส่ียงต่างๆ จาก
การปนเปอื้ นเชือ้ โรคตอ่ สัตวน์ ำ้ ซ่งึ จะสง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมสขุ ภาพ ประชาชนทรัพยากรตา่ งๆ นอกจากน้ี
ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการให้คำแนะนำในการหลีกเล่ียงผลกระทบต่างๆ ท่ีไม่พึงประสงค์จากการควบคุม
และยังช่วยในการสนับสนุนและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ โดยมาตรการในการตรวจสอบและการ
ป้องกันความเสี่ยงทางสุขาภิบาลจากน้ำอับเฉาเรือ จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องพิจารณาในขั้นตอนซึ่งได้ประกาศไว้
ในอนสุ ญั ญาฉบับดงั กลา่ ว ต้ังแต่นัน้ เปน็ ต้นมาอนุสัญญาจึงได้มกี ารกำหนดระบบการจดั การนำ้ อับเฉาเรอื ภายใน

คูม่ ือสุขาภบิ าลเรือ 131

Guide to ship sanitation


เรือเดินสมุทร โดยน้ำอับเฉาเรือจำเป็นที่จะต้องมีการบำบัดและปรับปรุงคุณภาพก่อนที่จะทำการปล่อยหรือ
ระบายลงสู่ทะเล ซึ่งก็เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติของมาตรฐานการจัดการน้ำอับเฉาเรือ โดยระบุไว้ใน

ข้อกำหนดส่วนของ D-2 ของอนสุ ญั ญา


ในส่วนน้ี ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องกบั อนสุ ญั ญานี้ จำเป็นต้องปฏบิ ัตติ ามกฎข้อบงั คบั อย่างเครง่ ครดั ทงั้ ในการปอ้ งกนั
การลด และการหลีกเลย่ี งการปล่อยหรอื ระบายของเสียท่ีมีเชือ้ โรคหรอื สัตวน์ ้ำทเี่ ปน็ โรคลงส่ทู ะเล


5.2 แนวทางการปฏบิ ัติ


ในส่วนนี้จะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลและคำแนะนำต่างๆ สำหรับผู้ปฏิบัติงานในการเดินเรือ ซ่ึงจะระบุ
หน้าที่ความรับผิดชอบ นอกจากน้ี ยังยกตัวอย่างแนวทางปฏิบัติท่ีสามารถลดและควบคุมความเสี่ยงได้ โดยจะ
ประกอบไปดว้ ย 2 สว่ นหลกั ๆ คอื (1) ตวั ชวี้ ดั ทใ่ี ชใ้ นการตรวจประเมนิ วา่ มกี ารปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
หรือไม่ และ (2) คำแนะนำเพ่ิมเติมในการนำแนวทางไปปรับใช้ในสถานการณ์จริง โดยจะช่วยช้ีเฉพาะใน
ประเดน็ ท่ีสำคญั และจำเปน็ ในการพิจารณา


บทที่ 5 ในบางครง้ั การดแู ลรกั ษาและควบคมุ ใหร้ ะบบบำบดั นำ้ อบั เฉาเรอื อาจเกดิ ขอ้ ผดิ พลาด ไมเ่ ปน็ ไปอยา่ งทค่ี วรจะเปน็
และมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่สถานการณ์ท่ีไม่ปลอดภัย ดังนั้น ในคำแนะนำจะมีการเน้นย้ำให้การจัดการมุ่งเน้น


ไปท่กี ารผสมผสานการใช้วิธีการท่ีหลากหลายเพ่ือป้องกันการเกดิ ปัญหา เช่น


l การเลือกแหล่งนำ้ ทมี่ คี วามสะอาด ปลอดภัย เพือ่ ใช้เป็นนำ้ อบั เฉาเรอื


l ตรวจสอบให้มัน่ ใจว่า ระบบการจัดการนำ้ อับเฉาเรอื เหมาะสมและเพียงพอตอ่ การเดินเรอื


l หมั่นตรวจสอบการเปล่ยี นถ่าย ระบาย นำ้ อับเฉาเรอื อยเู่ ปน็ ประจำ


นอกจากนี้ ผูป้ ฏิบตั ิงานกับท่าเรอื รวมไปถึงลกู เรอื ทกุ คนจำเปน็ อย่างย่ิงทีจ่ ะตอ้ งไดร้ บั การฝึกอบรม ไม่วา่ จะเป็น
ในส่วนของการมีความรู้ในด้านการดูแลรักษา การป้องกันส่ิงแวดล้อม แนวทางการปฏิบัติงานให้มีความ
ปลอดภัย เริ่มต้ังแต่การเก็บรวบรวม การนำส่ง จนไปถึงการกำจัด ตลอดจนการศึกษากฎระเบียบข้อบังคับ
ต่างๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง








132 คมู่ อื สุขาภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


5.2.1 แนวทางการปฏิบัติ 5.1 แนวทางการจัดการนำ้ อบั เฉาเรือ


แนวทางการปฏิบตั ิ 5.1 ตอ้ งมกี ารออกแบบและดำเนนิ การตามแผนการจดั การน้ำอบั เฉาเรือ


ตวั ชว้ี ดั สำหรับแนวทางการปฏิบัติ 5.1

1. มกี ารทบทวนแผนการจัดการน้ำอบั เฉาเรอื อยา่ งสมำ่ เสมอ

2. มีการดำเนินการตามขอ้ กำหนดและขอ้ ปฏิบตั ติ า่ งๆ ตามแผนงานท่ไี ดว้ างไว้

3. มีการเก็บบันทกึ แผนการจัดการนำ้ อบั เฉาเรอื และมกี ารตรวจสอบความถูกต้อง

4. มีมาตรการในการตรวจสอบที่เช่อื ถอื ได


ข้อแนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ัติ 5.1

แผนการในการจัดการน้ำอับเฉาเรือจะต้องได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าท่ี (ข้อกำหนด B-1 ของอนุสัญญา
ระหว่างประเทศว่าด้วยการควบคุมและจัดการน้ำอับเฉาเรือและตะกอนภายในเรือ) แผนการในการจัดการ

น้ำอับเฉาเรือของเรือเดินสมุทรแต่ละลำมีรายละเอียดแนวทางและคำอธิบายในการดำเนินงานที่แตกต่างกัน
ออกไป ระบบการจัดการน้ำอับเฉาเรือนั้นต้องได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่หรือผู้ที่มีอำนาจตามข้อกำหนด

ขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ซ่ึงได้ระบุแนวทางสำหรับการรับรองไว้ (Resolution MEPC.174(58)) บทท่ี 5

โดยจะต้องรับรองระบบไม่ว่าจะเป็นการรับรองการใช้สารเคมี การใช้สาร Biocide การใช้กลไกที่เก่ียวข้องกับ
ทางชีวภาพ หรือการใช้สารใดๆ ทส่ี ง่ ผลตอ่ คณุ ลกั ษณะของน้ำอบั เฉาเรอื


ภายในเรือจำเป็นต้องมีสมุดบันทึกสำหรับน้ำอับเฉาเรือ (ข้อกำหนด B-2) เพ่ือใช้ในการจดบันทึกตั้งแต่กิจกรรม
การนำน้ำอับเฉาเรือเข้ามาบรรจุภายในเรือ การหมุนเวียนน้ำอับเฉาเรือ การบำบัดน้ำอับเฉาเรือ ไปจนกระท่ัง
การปลอ่ ยระบายนำ้ อบั เฉาเรอื ลงสทู่ ะเล และควรมกี ารบนั ทกึ ชว่ งเวลาทมี่ กี ารระบายนำ้ อบั เฉาเรอื นลี้ งสแู่ หลง่ นำ้
ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการระบายน้ำอับเฉาเรือลงสู่แหล่งรองรับ การระบายโดยไม่เจตนาหรือแม้กระท่ังการระบาย
น้ำอับเฉาเรอื ในกรณีฉกุ เฉนิ


นอกจากนี้ ภายในเรอื เดนิ สมทุ รมคี วามจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ บั การสำรวจและรบั การรบั รอง (Article 7 การสำรวจ
และการให้การรับรอง) โดยเจ้าหน้าที่ประจำท่าเรือ (Article 9 การตรวจเรือ) ซ่ึงเป็นบุคคลที่สามารระบุได้ว่า
เรอื เดนิ สมทุ รลำนี้ มเี อกสารรบั รองทถี่ กู ตอ้ ง และสามารถตรวจสอบไดจ้ ากสมดุ บนั ทกึ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั นำ้ อบั เฉาเรอื
หรือเป็นบุคคลที่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำอับเฉาเรือได้ ในกรณีที่พบว่า เรือเดินสมุทรมีข้อบกพร่องหรือไม่เป็น

ไปตามขอ้ กำหนด กอ็ าจมกี ารดำเนนิ การตรวจสอบโดยละเอยี ด โดยผตู้ รวจสอบนนั้ จะมขี นั้ ตอนในการดำเนนิ การ
ตรวจสอบ เพ่ือให้สามารถมั่นใจได้ว่า เรือลำนี้สามารถปล่อยหรือระบายน้ำอับเฉาภายในเรือออกได้โดยที่ไม่ก่อ
ใหเ้ กิดอันตรายตอ่ สิง่ แวดล้อมทางทะเล สุขภาพมนษุ ย์ ทรพั ย์สิน และทรัพยากรต่างๆ








คู่มอื สขุ าภบิ าลเรอื 133

Guide to ship sanitation


ข้อกำหนดเรื่องการจัดการน้ำอับเฉาเรือ ถูกระบุไว้ในข้อกำหนด B-3 ในหัวข้อการจัดการน้ำอับเฉาสำหรับเรือ
โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

l เรือท่ีมีการก่อสร้างก่อน ค.ศ.2009 และมีถังบรรจุน้ำอับเฉาเรือขนาดในช่วง 1,500-5,000 ลูกบาศก์เมตร
จะต้องมีการจัดการน้ำอับเฉาภายในเรือ โดยอย่างน้อยจะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานของการเปล่ียนถ่าย

นำ้ อบั เฉาเรอื (Ballast water exchange standard) และภายหลงั ค.ศ.2014 จะตอ้ งผา่ นเกณฑข์ อ้ กำหนด
มาตรฐานประสิทธภิ าพของนำ้ อบั เฉาเรือ (Ballast water performance standard)

l เรอื ทม่ี ีการกอ่ สร้างก่อน ค.ศ.2009 และมถี งั ขนาดบรรจุน้ำอับเฉาเรอื นอ้ ยกวา่ 1,500 ลกู บาศกเ์ มตร หรอื
มากกว่า 5,000 ลูกบาศก์เมตร จะต้องมีการจัดการน้ำอับเฉาภายในเรือ โดยอย่างน้อยจะต้องผ่านเกณฑ์
มาตรฐานของการเปลยี่ นถา่ ยนำ้ อบั เฉาเรอื (Ballast water exchange standard) และภายหลงั ค.ศ.2016
จะต้องผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานประสิทธิภาพของน้ำอับเฉาเรือ (Ballast water performance
standard)

l เรือท่ีมีการก่อสร้างต้ังแต่ ค.ศ.2009 และมีถังขนาดบรรจุน้ำอับเฉาเรือน้อยกว่า 5,000 ลูกบาศก์เมตร

จะต้องมีการจัดการน้ำอับเฉาภายในเรือ โดยอย่างน้อยจะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพของ

นำ้ อบั เฉาเรือ (Ballast water performance standard)

l เรือที่มีการก่อสร้างระหว่าง ค.ศ.2009-2012 และมีถังขนาดบรรจุน้ำอับเฉามากกว่าหรือเท่ากับ 5,000

บทท่ี 5 ลกู บาศกเ์ มตร จะตอ้ งมกี ารจดั การนำ้ อบั เฉาภายในเรอื โดยอยา่ งนอ้ ยจะตอ้ งผา่ นเกณฑม์ าตรฐานขอ้ กำหนด

D-1 หรอื D-2 และภายหลงั ค.ศ. 2016 จะตอ้ งผา่ นเกณฑข์ อ้ กำหนดมาตรฐานประสทิ ธภิ าพของนำ้ อบั เฉาเรอื
(Ballast water performance standard)

l เรอื ทม่ี กี ารกอ่ สรา้ งใน ค.ศ. 2012 เปน็ ตน้ ไป และมถี งั ขนาดบรรจนุ ำ้ อบั เฉาเรอื มากกวา่ 5,000 ลกู บาศกเ์ มตร
จะต้องผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานประสิทธิภาพของน้ำอับเฉาเรือ (Ballast water performance
standard)


5.2.2 แนวทางการปฏิบตั ิ 5.2 การบำบดั และกำจดั น้ำอบั เฉาเรือ


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 5.2 นำ้ อบั เฉาภายในเรอื จะต้องไดร้ บั การบำบัดและกำจัดอยา่ งปลอดภัย



ตัวชวี้ ัดสำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 5.2

1. การกำจดั นำ้ อับเฉาเรือจะต้องมีการดำเนินการอยา่ งปลอดภยั


2. การระบายน้ำอบั เฉาเรือทงิ้ ลงสู่แหลง่ น้ำจะกระทำไดเ้ ฉพาะในบริเวณทไ่ี ดร้ บั อนญุ าต


ขอ้ แนะนำสำหรบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ 5.2

1. การกำจดั นำ้ อบั เฉาเรือ

โดยปกติเรือเดินสมุทรจะไม่ได้รับอนุญาตให้มีการระบายน้ำอับเฉาเรือ น้ำมันใต้ท้องเรือหรือของเหลวใดใดที่มี
สารปนเปื้อน รวมไปถึงสารพิษ ลงในบริเวณแหล่งน้ำหากแหล่งน้ำน้ันถูกใช้สำหรับอุปโภคบริโภค หรือเป็น
บรเิ วณที่อยู่ในเขตหวงห้ามจากทางราชการหรอื หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ


134 คู่มือสขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


การระบายนำ้ อบั เฉาเรอื ทง้ิ ลงในทะเล ไมว่ า่ จะเปน็ บรเิ วณทา่ เรอื หรอื บรเิ วณชายฝง่ั จะอยภู่ ายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบ
ของเจ้าหนา้ ที่ในพื้นท่นี น้ั ๆ นอกจากนี้ ยงั หมายความรวมถงึ การห้ามไม่ใหท้ ิ้งน้ำเสีย เศษอาหาร วตั ถทุ ่ีสามารถ
เกดิ การยอ่ ยสลายได้ สารพิษลงในน้ำมันใตท้ อ้ งเรอื


ทั้งน้ี อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการควบคุมและจัดการน้ำอับเฉาเรือและตะกอนภายในเรือเดินสมุทร

ได้นิยามมาตรฐานการเปล่ียนถ่ายน้ำอับเฉาเรือและมาตรฐานประสิทธิภาพของน้ำอับเฉาเรือ ไว้ดังรายละเอียด
ตอ่ ไปน้ี


ข้อกำหนด D-1 เร่ือง มาตรฐานการเปลี่ยนถ่ายน้ำอับเฉาเรือกำหนดไว้ว่า เรือเดินสมุทรจะต้องดำเนินการ
เปลี่ยนถ่ายน้ำอับเฉาเรือ โดยระดับการเปล่ียนถ่ายท่ีแนะนำคือ ประมาณ 95% ของปริมาตรน้ำอับเฉาเรือ
ท้ังหมด สำหรับเรือเดินสมุทรที่มีการเปลี่ยนถ่ายน้ำอับเฉาเรือโดยวิธีการสูบน้ำผ่าน (Pumping-through
method) จะต้องทำการสูบน้ำผ่านอย่างน้อย 3 เท่าของปริมาตรน้ำอับเฉาเรือท่ีบรรจุอยู่ในแต่ละถัง เพื่อให้
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ในกรณีท่ีทำการสูบน้ำผ่านน้อยกว่า 3 เท่าของปริมาตรน้ำอับเฉาเรือท่ีบรรจุอยู่ใน
แต่ละถังยังถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ เนื่องจากสามารถแสดงให้เห็นว่าเรือเดินสมุทรลำนี้ยังคงมี
ประสิทธิภาพของระดับการเปลย่ี นถ่ายอยา่ งนอ้ ย 95%


บทที่ 5

ข้อกำหนด D-2 เรื่อง มาตรฐานประสิทธิภาพของน้ำอับเฉาเรือ กำหนดไว้ว่า เรือเดินสมุทรท่ีมีการจัดการ

น้ำอับเฉาเรือ สามารถระบายน้ำอับเฉาเรือทิ้งได้ โดยปริมาตรน้ำอับเฉาเรือ 1 ลูกบาศก์เมตรหรือมากกว่า
สามารถพบสง่ิ มชี วี ติ ไดไ้ มเ่ กนิ จำนวน 10 หนว่ ย และเปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทม่ี ขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางตำ่ สดุ ทสี่ ามารถยอมรบั ได้
มีค่าเท่ากับ 50 ไมโครเมตร ปริมาตรน้ำอับเฉาเรือ 1 มิลลิลิตร สามารถพบส่ิงมีชีวิตได้ไม่เกินจำนวน

10 หน่วย และเป็นสิ่งมีชีวิต ท่ีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางต่ำสุดท่ีสามารถยอมรับได้มีค่าอยู่ในช่วง

10-50 ไมโครเมตร โดยการระบาย ถา่ ยเท หรอื ทงิ้ น้นั จะตอ้ งไม่เกนิ ค่ามาตรฐานความเขม้ ข้นที่กำหนดไว้


จุลินทรยี ท์ ใ่ี ช้เป็นตัวช้วี ดั สภาวะทางสุขภาพของมนษุ ย์ มีดังต่อไปนี้

l Vibrio cholera (O1 และ O139) ความเขม้ ขน้ ตำ่ กวา่ 1 cfu/100 ml หรอื ตำ่ กวา่ 1 cfu/g ของน้ำหนักเปียก

ของตวั อยา่ งแพลงก์ตอนสตั ว

l Escherichia coli ความเข้มขน้ ต่ำกว่า 250 cfu/100 ml

l Intestinal enterrococci ความเข้มข้นตำ่ กวา่ 100 cfu/100 ml


นอกจากนี้ การจัดการน้ำอับเฉาเรือในแนวทางอื่นๆ ก็สามารถท่ีจะกระทำได้เพื่อใช้เป็นอีกหน่ึงทางเลือก
สำหรับมาตรฐานข้อ 2 ข้างต้น โดยวิธีการดังกล่าวควรอยู่ในระดับที่มั่นใจได้ว่า ได้มีการพิจารณาและปกป้อง

ส่ิงแวดล้อมทางทะเล สุขภาพของมนุษย์ ทรัพย์สิน และทรัพยากรต่างๆ และควรเป็นวิธีการที่ได้รับการรับรอง
จากคณะกรรมการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมทางทะเล (MEPC)





คู่มือสขุ าภบิ าลเรือ 135

Guide to ship sanitation


ภายใน Article ที่ 5 เรื่อง พ้ืนที่สำหรับรวบรวมตะกอน กล่าวไว้ว่า ผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับหน้าท่ีนี้จะต้องจัด
เตรียมพ้ืนท่ีสำหรับการทำความสะอาดหรือซ่อมแซมถังน้ำอับเฉาภายในเรือ เพื่อใช้ในการรองรับตะกอนและ
โดยปกติจะต้องมีการจัดเตรียมเรือและ/หรือรถบรรทุกสำหรับรองรับของเสียต่างๆ หรืออาจจะใช้เป็นระบบ

ท่อลำเลยี ง โดยเช่ือมตอ่ ระหว่างชายฝง่ั ทะเลบริเวณท่าเรือเพ่ือรับของเสียเขา้ สรู่ ะบบบำบดั นำ้ เสยี ตอ่ ไป


ในกรณีที่พื้นท่ีให้บริการบริเวณท่าเรือหรือบริเวณชายฝ่ังทะเลไม่มีการจัดเตรียมท่อหรือระบบการลำเลียง

ขนถ่ายของเสียท่ีเหมาะสม เรือเดินสมุทรจำเป็นต้องจัดเตรียมระบบดังกล่าวน้ี โดยท่อท่ีนำมาใช้เป็นส่วนของ
การเช่ือมต่อขนถ่ายของเสียจะต้องมีขนาดใหญ่เพยี งพอที่จะสามารถระบายของเสยี ได้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว และ
ส่งต่อไปยังระบบบำบัดของเสียหรือบริเวณอื่นๆ ท่ีเหมาะสมต่อไป นอกจากนี้ ท่อท่ีนำมาใช้ยังควรเลือกใช้ท่อที่
มีความทนทาน มีลักษณะทึบแสง มีผิวสัมผัสภายในเรียบ และต้องมีลักษณะที่แตกต่างจากท่อน้ำบริโภคหรือ

ท่อน้ำสะอาดอ่ืนๆ ควรมีการกำกับด้วยข้อความอย่างชัดเจนว่า “เป็นท่อสำหรับลำเลียงของเสียเท่านั้น”

โดยภายหลังการใช้งานทกุ ครัง้ จะต้องมกี ารทำความสะอาดฆ่าเช้อื โรค และจดั เก็บในสถานท่ีที่เหมาะสม


2. การระบายน้ำอับเฉาเรอื

ภายใต้ข้อกำหนดท่ี B-4 การเปลี่ยนถ่ายน้ำอับเฉาเรือ ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย การควบคุมและ

บทท่ี 5 การจัดการนำ้ อบั เฉาเรอื และตะกอนเรอื เดินสมทุ รทุกลำทมี่ กี ารเปลี่ยนถ่ายน้ำอับเฉาเรอื ควรปฏิบัตดิ งั ต่อไปนี้


l การเปล่ียนถ่ายน้ำอับเฉาเรือ ควรกระทำที่ระยะห่างจากฝ่ังอย่างน้อย 200 ไมล์ทะเล ท่ีระดับความลึก
อยา่ งนอ้ ย 200 เมตร ซ่ึงเปน็ คา่ ท่ไี ด้จากคำแนะนำของคณะกรรมการองคก์ ารทะเลระหวา่ งประเทศ


l ในกรณีที่เรือเดินสมุทรไม่สามารถปฏิบัติได้ตามคำแนะนำข้างต้น ให้กระทำการเปล่ียนถ่ายน้ำอับเฉาเรือ

ท่ีระยะห่างไกลจากฝั่งมากที่สุดเท่าท่ีจะสามารถกระทำได้ อย่างน้อยควรห่างออกจากชายฝั่งทะเล
ประมาณ 50 ไมล์ทะเล ระดบั ความลึกอย่างน้อย 200 เมตร


และหากเรือเดินสมุทรยังไม่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกล่าวได้ จะมีการกำหนดพื้นท่ีให้เป็นบริเวณท่ีให้
เรอื เดนิ สมทุ รสามารถเปลยี่ นถา่ ยนำ้ อบั เฉาเรอื ได้ เรอื เดนิ สมทุ รทกุ ลำควรมกี ารระบายนำ้ อบั เฉาเรอื และตะกอนเรอื
จากพื้นทท่ี ีไ่ ด้กำหนดไว้ เพื่อใหเ้ ป็นไปตามแผนงานการจดั การน้ำอบั เฉาเรือ (ขอ้ กำหนด B-4)

















136 คู่มือสขุ าภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


บทที่ 6


การจดั การของเสยี


6. การจดั การของเสีย





6.1 ความเปน็ มา


เนอื้ หาบทนเ้ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การของขยะทเ่ี ปน็ ของแขง็ (เชน่ ขยะเปยี ก) และขยะทเี่ ปน็ ของเหลว (เชน่ นำ้ เสยี
และน้ำที่ผา่ นการใชแ้ ลว้ ) บนเรือ รวมถึงการเก็บรวบรวม และการกำจดั ทปี่ ลอดภยั


6.1.1 ความเสีย่ งดา้ นสขุ ภาพท่ีเกยี่ วข้องกับของเสยี บนเรือ


การจัดการและการกำจัดของเสียบนเรือที่ไม่ปลอดภัย อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนได้ คน
สามารถรับสัมผัสได้โดยตรงทั้งบนเรือและท่าเรือหากเกิดการสัมผัสกับของเสียที่ได้รับการจัดการที่ถูกต้องและ
ปลอดภัย การรับสัมผัสผ่านทางสิ่งแวดล้อมซ่ึงเป็นสาเหตุของการเกิดโรค หรือสารที่เป็นอันตรายจากการ
จัดการท่ีไมป่ ลอดภยั แต่อย่างไรก็ตามของเสียเหลา่ นมี้ ีวิธีการจัดการและกำจัดอย่างถูกต้องเพ่ือปอ้ งกนั อนั ตราย
ทจ่ี ะเกดิ ข้ึน


ของเสียประกอบด้วย จุลชีพท่ีเป็นอันตราย สารก่อโรคทางเคมีหรือทางกายภาพ เช่น ของมีคมท่ีเป็นอันตราย
หรือติดเชื้อ เข็มฉีดยาท่ีใช้แล้วเป็นหน่ึงในตัวอย่างที่สามารถส่งผ่านเช้ือโรคได้ เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ C และ
โรคไวรัสภมู คิ ุม้ กนั บกพร่อง


ความเส่ียงที่เกิดข้ึนจากการจัดการของเสียในเรือที่ไม่เหมาะสมมีจำนวนเพ่ิมมากขึ้นสำหรับการให้บริการบนเรือ บทที่ 6
และทีอ่ ยอู่ าศยั บรเิ วณทา่ เรือ ของเสียบนเรือรวมถงึ น้ำเสีย น้ำทใ่ี ชแ้ ล้ว (เป็นนำ้ เสียประเภทหน่งึ เกิดจากการใช้
งานทัว่ ไปไมม่ กี ารปนเปือ้ นสิ่งปฏิกลู จากมนุษย์ เช่น การอาบน้ำ อา่ งลา้ งมือ การซกั ผา้ ) ขยะมูลฝอย และนำ้ ทง้ิ
จากเครือ่ งแยกนำ้ มันและน้ำ นำ้ หล่อเยน็ หม้อต้มและเคร่อื งกำเนดิ ไอนำ้ ของเสยี ทางการแพทย์ (เช่น ของเสยี
จากการทำหัตถการ ของเสียจากห้องปฏิบัติการ และของเสียจากการรักษาสัตว์) น้ำเสียจากอุตสาหกรรม

(เช่น จากการล้างรูป) และของเสียอันตราย (สารกัมมันตรังสี ของเสียเคมีและชีวภาพ และของเสียจาก
ผลิตภณั ฑเ์ ภสชั กรรมทไี่ ม่ต้องการ)


ขยะเศษอาหาร และขยะอ่ืนๆ เป็นที่กักเก็บเช้ือโรคต่างๆ และเป็นอยู่ของสัตว์ท่ีเป็นพาหะนำโรค สัตว์ฟันแทะ
แมลงวนั และแมลงสาบ เปน็ ต้น ซึ่งอาจนำไปสูก่ ารแพร่เชอื่ โรคได้ (อา้ งใน บทที่ 7)


ขอ้ จำกดั ของการเกบ็ ของเสยี อนั ตรายระหวา่ งเดนิ เรอื คอื จำเปน็ ตอ้ งเกบ็ ของเสยี นนั้ ไวบ้ นเรอื เปน็ ระยะเวลาหนง่ึ
ข้ันตอนในการบรรจุและเก็บของเสียอันตรายมีความเสี่ยงต่อลูกเรือและนำไปสู่การเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
หากเกดิ การหกหรอื ร่วั ไหล ของเสยี จำเปน็ ตอ้ งมกี ารจัดการที่เหมาะสมตามกฎและขอ้ แนะนำในการกำจัด





คู่มือสขุ าภบิ าลเรือ 139

Guide to ship sanitation


6.1.2 มาตรฐาน


การจดั การของเสียจากเรือถกู รวมไว้ใน IHR 2005 และในอนุสัญญาระหวา่ งประเทศเพื่อการปอ้ งกนั มลพษิ จาก
เรือ International Convention for the Prevention of Pollution from Ships (MARPOL 73/78, แก้ไข
เพิ่มเติม) 1 MARPOL ถูกนำมาใช้โดย International Conference on Marine Pollution in 1973 และมี
การแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ทันสมัย รวมถึง protocol ในปี 1978 ซึ่งมีการแก้ไขและรวบรวมไว้ในเวอร์ชันรวมในปี
2002 กฎขอ้ บงั คับทคี่ รอบคลุมแหลง่ กำเนิดมลพษิ ตา่ งๆ จากเรอื ถูกรวบรวมไว้ใน 6 ภาคผนวก ของการประชมุ

l Annex I. กฎขอ้ บงั คบั การป้องกันมลพิษจากนำ้ มนั

l Annex II. กฎขอ้ บงั คบั การควบคุมมลพิษของเหลวที่เปน็ สารมีพษิ ในปริมาณมาก

l Annex III. การป้องกันมลพษิ จากสารอันตรายออกสูท่ ะเลในรูปของบรรจภุ ณั ฑ

l Annex IV. การป้องกนั มลพษิ จากน้ำเสยี จากเรอื (บังคบั ใช้ 27 กนั ยายน 2003)

l Annex V. การป้องกนั มลพษิ จากขยะจากเรอื

l Annex VI. การป้องกนั มลทางอากาศจากเรอื (ถกู นำมาใชใ้ นปี 1997)


ของเสยี ทางการแพทยจ์ ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การจดั การทเี่ ฉพาะมากขนึ้ ขอ้ มลู การจดั การของเสยี ทางการแพทยส์ ามารถ
หาได้จาก http://www/healthcarewaste.org/en/115_overview.html และใน Guidelines for safe
disposal of unwanted pharmaceuticals in and after emergencies (WHO, 1999).


6.2 แนวทางการปฏิบัติ


บทที่ 6 เนื้อหาส่วนนี้เป็นการแนะนำผู้ใช้เก่ียวกับข้อมูลและแนวทาง การระบุความรับผิดชอบ และการยกตัวอย่าง
การปฏิบัติในการควบคุมความเสี่ยง 3 แนวทาง ที่จะกล่าวถึง คือ การนำเสนอพร้อมกับตัวช้ีวัด (indicators)
(การประเมินวา่ เป็นไปตามข้อแนะนำหรอื ไม่) และบนั ทกึ แนวทางการปฏบิ ตั ิ (guidance notes) (คำแนะนำใน
การนำข้อแนะนำและตัวชี้วัดไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติ ส่วนท่ีสำคัญท่ีจำเป็นต้องพิจารณาในการจัดลำดับ
ความสำคญั ในการปฏบิ ตั


การแพร่กระจายและอันตรายจากของเสียมคี วามสมั พนั ธ์กับการเกบ็ รวบรวมและการกำจัดท่ไี ม่ถกู ตอ้ ง การเกดิ
ของเสีย การเก็บรวบรวมกลายเป็นแหล่งกำเนิดที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้น กลยุทธ์ในการป้องกันโรค ใน
อันดับแรกควรมีการลดปริมาณการเกิดของเสียอันตรายและมีการจัดการที่ดี ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีระบบการ
เก็บรวบรวมและการคดั แยกที่ถูกต้องเหมาะสมของของเสยี ทีเ่ กดิ ข้ึนบนเรือ


ในบางกรณี ไม่มีระบบการจัดการหรือบำบัดของเสียส่งผลให้เกิดสถานการณ์ท่ีไม่ปลอดภัยขึ้นได้ ดังนั้น

ไม่ควรพึ่งพาระบบการบำบัดและการจัดการเพียงอย่างเดียว อุปสรรคของการจัดการของเสียในหลายรูปแบบ
ควรไดร้ ับการปรบั ปรงุ ดงั นี


l มีการพิจารณาว่าของเสียบนเรือเกิดจากอะไร การเลือกกิจกรรมหรือการปฏิบัติที่ทำให้ลดของเสียอันตราย
ณ แหล่งกำเนดิ กอ่ น


l มกี ารจัดหาอุปกรณ์ เครือ่ งมอื ทีเ่ หมาะสม เพ่ือระบบการจัดการของเสยี ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ

l มีแนวปฏิบตั ทิ ี่ดเี กี่ยวกบั การเกบ็ รวบรวมและการคัดแยกของเสีย


140 คมู่ ือสขุ าภิบาลเรือ

Guide to ship sanitation


เจ้าหนา้ ทแ่ี ละลกู เรอื ประจำทา่ เรอื จำเป็นตอ้ งได้รบั การฝึกอบรมเกย่ี วกับการปอ้ งกนั สิง่ แวดล้อม ระบบความ
ปลอดภยั และขอ้ กำหนดท่เี ก่ียวข้อง รวมถึงผ้ทู ีม่ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งกับการเก็บ การรวบรวม และการกำจัดของเสยี
จำเปน็ ต้องไดร้ บั การฝกึ อบรมเกย่ี วกับข้อกำหนดทเ่ี ก่ยี วขอ้ งและการปอ้ งกนั ตนเองเมอื่ ตอ้ งสมั ผสั กบั ของเสีย


6.2.1 แนวทางการปฏิบตั ิ 6.1 การจดั การนำ้ เสยี และน้ำท่ผี ่านการใช้แลว้


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 6.1 การบำบดั การกำจดั น้ำเสียและนำ้ ทผี่ า่ นการใชแ้ ล้วอยา่ งปลอดภยั


ตวั ช้ีวดั สำหรับแนวทางการปฏิบัติ 6.1

1. มีระบบการสุขาภิบาลท่ีเหมาะสมสำหรับของเสียที่เป็นของเหลว น้ำเสียและน้ำท่ีผ่านการใช้แล้วควรได้รับ

การบำบดั ทถี่ ูกต้องปลอดภัยได้คา่ ตามมาตรฐานทก่ี ำหนด

2. มีระบบดกั จบั ไขมนั จากน้ำท่ีมไี ขมันปนเปอ้ื น

3. มีระบบการบำบดั ทเี่ หมาะสมในการรองรบั และการปล่อยนำ้ เสียและนำ้ ท่ีผา่ นการใชแ้ ลว้


ขอ้ แนะนำสำหรับแนวทางการปฏิบัติ 6.1

1. การกำจดั นำ้ เสียและของเสยี ท่เี ป็นของเหลว

เรือไม่ได้รับการยกเว้นในการอนุญาตให้ปล่อยน้ำเสียหรือของเหลวอ่ืนที่มีการปนเป้ือนหรือของเสียท่ีเป็น
อันตรายลงออกนอกพื้นท่ีเรือได้ ซ่ึงการนำน้ำบริโภคขึ้นมาใช้บนเรือหรือการปล่อยของเสียต่างๆ จะต้อง
ปฏิบัติกฎของ เจ้าหน้าในพ้ืนที่นั้นๆ การปล่อยออกนอกเรือบริเวณอ่าว ท่าเรือ หรือบริเวณชายฝั่งแม่น้ำ

จะต้องเป็นไปตามข้อบังคับของหน่วยงานท่ีกำกับดูแลในพ้ืนท่ีเหล่าน้ี น้ำเสีย เศษอาหาร สารพิษต่างๆ ต้อง
ไม่ปล่อยทิ้งลงสู่ท้องเรือ

บทท่ี 6

ในหลายประเทศอาจจัดให้มีเรือบรรทุกพิเศษเพื่อรับของเสียเหล่านี้หรือมีระบบการเชื่อมต่อกับท่อรองรับน้ำเสีย
บนฝั่ง บางท่าเรือพ้ืนท่ีจอดเรือไม่ได้มีท่อหรือระบบเช่ือมต่อเพ่ือรับของเสีย เรือต้องมีท่อพิเศษขนาดใหญ่พอที่
จะระบายของเสียได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงท่อต้องมีความแข็งแรงคงทน พื้นผิวข้างในเรียบ และขนาดท่ีแตกต่างจาก
ท่อน้ำบริโภคหรือน้ำท่ีรับเข้าไปและมีข้อความ “สำหรับปล่อยน้ำเสียเท่านั้น” (FOR WASTE DISCHARGE
ONLY) หลังใช้งานเสร็จต้องมีการทำความสะอาดท่อโดยการล้างด้วยน้ำท่ีสะอาดและเก็บท่อที่เก็บเฉพาะท่ีมี
ขอ้ ความ “ท่อระบายนำ้ เสีย” (WASTE DISCHARGE HOSE)


ข้อห้ามไม่ให้ปล่อยของเสียใกล้แหล่งน้ำสำหรับบริโภคหรือในแหล่งน้ำท่ีมีมาตรการป้องกันและควบคุมของ
มลพษิ ทมี่ ผี ลบงั คบั ใช้จะต้องมกี ารจดั ใหม้ ีถังกักเกบ็ หรืออปุ กรณ์บำบัดน้ำเสยี บนเรือ


การออกแบบและก่อสร้างระบบต้องไม่ให้มีการรั่วของของเสียและจำเป็นต้องมีมาตรการการตรวจสอบและ
ป้องกันการรั่วหรือการระเบิด อุปกรณ์ป้องกันการไหลย้อน (vacuum breakers) หรือช่องว่างอากาศจะต้อง
ติดตั้งในสายจ่ายน้ำไปยังเครื่องบดตะกอน ทุกท่อต้องมีสัญลักษณ์ของสีและข้อความ (เช่น เป็นไปตาม
มาตรฐาน ISO 14726:2006) อย่างน้อยทุกๆ 5 เมตร เพื่อป้องกันการสับสนและการปนเปื้อนข้ามกับท่อน้ำ
บริโภค ท่อระบายดินและน้ำจำเป็นต้องมีการตรวจสอบและซ่อมบำรุงบ่อยๆ เพื่อป้องกันการอุดตันหรือการ
ย้อนเข้าของนำ้ เสยี นำ้ ทีผ่ ่านการใช้แล้วหรือนำ้ ปนเปอ้ื นจากการติดตั้งและพืน้ ท่ีว่างของระบบรวบรวมของเสยี


คมู่ ือสขุ าภบิ าลเรือ 141

Guide to ship sanitation


2. การดกั จับไขมัน

ขยะจากครวั ทงั้ หมด ยกเวน้ ขยะทั่วไป ส่วนใหญม่ ีไขมันเป็นองคป์ ระกอบตอ้ งไดร้ บั การบำบัดโดยระบบดกั ไขมัน
ก่อนทจ่ี ะปลอ่ ยทิ้งหรอื บำบดั บนเรอื และตอ้ งเป็นไปตามขอ้ กำหนดของประเทศนน้ั ๆ ไขมนั ทถี่ ูกรวบรวมไดอ้ าจ
ถูกนำไปกำจัดโดยการเผา การเก็บรวบรวมก่อนนำไปกำจัดบริเวณฝ่ังหรือในน้ำในทะเลลึก การปล่อยลงน้ำ
ทำไดห้ ลังจากมีระยะหา่ งท่ีเหมาะสมจากแนวชายฝัง่ เช่น 3 ไมล์ทะเล (12 ไมล์ทะเลในอาณาเขตทะเล) ตามกฎ
ของทน่ี ้นั ๆ

3. การบำบดั

เรือทุกลำจะต้องติดต้ังอุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวกในการจัดการของเสียจากห้องส้วมและโถปัสสาวะ
หัตถการทางการแพทย์และพ้ืนท่ีดูแลผู้ป่วย และเคร่ืองบดเศษอาหาร สิ่งอำนวยความสะดวกเหล่านี้รวมถึง
ระบบบำบดั และถังเกบ็ รวบรวม อปุ กรณ์ตอ้ งมีความเหมาะสมทง้ั ระบบปัม๊ และระบบท่อ ถังเกบ็ รวบรวมของเสีย
ต้องมคี วามปลอดภัยในการตอ่ กบั ระบบปลอ่ ยของเสียทิง้ ท่ีทา่ เรือหรือเรือบรรทุก การออกแบบระบบบำบัดและ
การกักเก็บต้องมีปริมาตรท่ีเหมาะสม (เช่น 114 ลิตรของของเหลวต่อคนต่อวัน) และต้องได้รับการอนุมัติจาก
ผมู้ อี ำนาจของประเทศทข่ี ึ้นทะเบียน

สำหรับเรอื ท่ีมปี รมิ าณน้ำเสยี ปกตทิ ่จี ะทำการบำบัดมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่เกนิ 4,750 ลติ รต่อวนั การบำบดั ตอ้ งมี
การออกแบบการปล่อยน้ำทิ้งในปริมาณท่ีได้คุณภาพ เช่น ค่าความต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายสาร
อินทรีย์ไม่เกิน 50 มลิ ลกิ รมั ต่อลติ ร คา่ ของแขง็ แขวนลอย ไมเ่ กนิ 150 มิลลิกรัมต่อลิตร และปรมิ าณโคลิฟอรม์
ไมเ่ กนิ 1,000 ตอ่ 100 มิลลิลติ ร


บทท่ี 6 กากตะกอนส่วนเกินต้องมีการเก็บหรือกำจัดที่เหมาะสมบนฝั่งหรือทะเลลึก สำหรับเรือที่มีอัตราการไหลของ

น้ำเสียท่ีต้องบำบัดค่อนข้างน้อย น้อยกว่า 4,750 ลิตรต่อวัน การบำบัดอาจมีข้อจำกัด โดยมีการปล่อยน้ำ
ผ่านเครื่องบดและตามด้วยการฆ่าเช้ือโรคเพื่อควบคุมปริมาณโคลิฟอร์มไม่เกิน 1,000 ต่อ 100 มิลลิลิตร
ก่อนปล่อยทิ้ง

การเติมคลอรีน หรือวิธีการฆ่าเชื้อท่ีมีผลใกล้เคียงกัน จำเป็นต้องมีการติดต้ังเพื่อให้น้ำท้ิงเป็นไปตามข้อกำหนด
ทก่ี ำหนดโดยหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง


6.2.2. แนวทางการปฏบิ ัติ 6.2 การจดั การขยะ


แนวทางการปฏิบัติ 6.2 การบำบัดและการกำจดั ขยะอย่างปลอดภัย

ตัวชีว้ ัดสำหรับแนวทางการปฏิบัติ 6.2

1. มีการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมขยะที่ปลอดภัย

2. มีการเก็บกากตะกอนส่วนเกินที่ปลอดภัยกอ่ นนำไปกำจัดด้วยวิธที ีเ่ หมาะสม


142 คู่มือสขุ าภบิ าลเรอื

Guide to ship sanitation


ขอ้ แนะนำสำหรับแนวทางการปฏิบตั ิ 6.2

1. ส่งิ อำนวยความสะดวกในการเกบ็ รวบรวมของเสีย

เพ่ือป้องกันการกัดกร่อนจากขยะและเศษอาหาร ภาชนะรองรับควรเป็นสเตนเลส และเป็นไปตามมาตรฐาน
การเกบ็ การเตรยี ม และการบรกิ ารอาหาร ดาดฟ้าต้องมีจากวัสดทุ มี่ คี วามทนทาน ไม่ดูดซบั ไม่กัดกร่อน และ
มีช่องข้างในท่ีเหมาะสม อย่างน้อย 10 มิลลิเมตร ของทุกด้าน การติดตั้งช่องระบายอากาศจะต้องอยู่ใน
ตำแหน่งส่วนบนของช่องหรือบนหัวเรือ เพ่ือช่วยในการทำความสะอาดและกำจัดการหกร่ัวไหล ที่ด้านล่างของ
เพลาลฟิ ตท์ กุ ตัว จะตอ้ งมกี ารจัดหาแพลตฟอรม์ ลฟิ ต์และลิฟต์บรรทกุ ขนาดเลก็


หากจำเป็นต้องมกี ารขนสง่ ของเสีย ภายในลฟิ ต์บรรทกุ ขนาดเล็กตอ้ งทำดว้ ยวัสดุสเตนเลสและสามารถทำความ
สะอาดได้ หรือเปน็ ไปตามมาตรฐานของพื้นที่บริการอาหารอ่นื ๆ ปมุ่ กดลิฟต์บรรทุกขนาดเล็กควรมีฝาครอบ ท่ี
เหมาะสม ถ้ามีการติดตั้งปล่องท้ิงขยะ โครงสร้างต้องเป็นสเตนเลสหรือหรือวัสดุที่ใกล้เคียง และสามารถ
ทำความสะอาดดว้ ยระบบอตั โนมัติ


ในห้องล้างอุปกรณ์การจัดการของเสีย กำแพงก้ัน หัวเรือและดาดฟ้าจะต้องมีการสร้างข้ึนเพื่อให้ได้มาตรฐาน
เดียวกับการจัดเก็บ การเตรียมและการบริการอาหาร การติดต้ังระบบล้างแบบแรงดันควรจัดให้มีทางรับและ
ระบายน้ำ พื้นท่ีปิดหรือห้องสำหรับเคร่ืองซักผ้าอาจใช้แทนระบบล้างแบบแรงดันและอ่างลอยได้ การระบาย
อากาศทเ่ี หมาะสมจำเปน็ สำหรบั การสกัดไอน้ำและความร้อน


ห้องเก็บขยะควรมีการระบายอากาศท่ีดี และมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ขยะเปียกต้องมีการเก็บใน บทที่ 6
พื้นที่ท่ีมีระบบปิดท่ีหนาแน่นและควบคุมอุณหภูมิให้เย็น พื้นท่ีต้องเป็นไปตามข้อกำหนดสำหรับความสะดวกใน

การเก็บอาหารด้วย ห้องต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมท่ีจะรองรับขยะท่ีไม่สามารถนำไปกำจัดได้ เนื่องจากมีระยะ

เวลาเก็บกกั ทยี่ าวนาน จึงตอ้ งมกี ารแยกออกจากพื้นท่ีที่ทำการเตรยี มและเกบ็ อาหาร


การเก็บรวบรวมขยะและกระบวนการอ่ืนๆ ต้องมีที่สะดวกไว้สำหรับล้างทำความสะอาดมือและมีระบบน้ำร้อน
และน้ำเยน็ และการเชอ่ื มตอ่ ท่อต้องมเี พียงพอกบั ปริมาณการระบายเพอื่ ปอ้ งกันน้ำล้น โตะ๊ ทใ่ี ชใ้ นพนื้ ทกี่ ารแยก
ขยะตอ้ งทำดว้ ยสเตนเลสหรอื วสั ดทุ ใ่ี กลเ้ คยี งและปดิ มมุ โดยรอบโตะ๊ ชนั้ วางตอ้ งเหมาะสมอยา่ งนอ้ ย 8 เซนตเิ มตร
และมีท่ีคลุม ถ้ามีการปล่อยน้ำบนโต๊ะ ต้องปล่อยลงท่อท่ีต่อไว้โดยตรงและมีเครื่องกรองน้ำ ชั้นเก็บของต้อง

ทำด้วยวัสดุท่ีทำความสะอาดง่าย และเก็บให้ไกลจากอาหาร แสงสว่างที่เพียงพอต่อระดับการทำงาน คือ

ไม่นอ้ ยกว่า 220 ลักซ์ การตดิ ตงั้ ไฟต้องเหมาะกับโลหะสเตนเลส เพ่ือป้องกันการแตก


เพื่อความสะดวกในการเก็บ ภาชนะโลหะท่ีบรรจุส่วนบนและส่วนล่างต้องแยกออกจากกันได้และมีพ้ืนผิวเรียบ
ภาชนะบรรจุกระดาษ ไม้ พลาสติก และวัสดุใกล้เคียงอื่น ควรมีลักษณะเรียบเพื่อเพิ่มพื้นที่และเพ่ือประหยัด
พื้นท่ีในการเก็บ ขยะแห้งต้องเก็บในถังขยะที่ปิดแน่น เพื่อป้องกันน้ำหรือสัตว์แทะและหนอนพยาธิ ภาชนะ
บรรจุต้องผ่านการทำความสะอาดทุกคร้ังหลังเทขยะออกและทำความสะอาดด้วยสารฆ่าแมลง หรือสารกำจัด
ศตั รพู ืช เพื่อลดการแพร่พนั ธ์ุของสัตวแ์ ทะและหนอนพยาธ


คูม่ อื สขุ าภบิ าลเรือ 143

Guide to ship sanitation


2. กากตะกอนสว่ นเกิน

โดยทว่ั ไปแล้วกากตะกอนสว่ นเกนิ จะถูกจดั เกบ็ อย่างเหมาะสมเพอ่ื การกำจัดท่ีเหมาะสมไปยังสถานที่บนบกหรือ
ในทะเลลกึ


6.2.3 แนวทางการปฏิบตั ิ 6.3 การจดั การของเสยี ทางการแพทย์และผลติ ภัณฑ์เภสชั กรรม


แนวทางการปฏบิ ัติ 6.3 การบำบัด การกำจัดของเสียทางการแพทย์และผลิตภัณฑ์เภสัชกรรม


อยา่ งปลอดภัย





ตวั ช้ีวัดสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 6.3

การบำบดั และการกำจดั ของเสยี ทางการแพทยแ์ ละผลติ ภณั ฑเ์ ภสัชกรรมอยา่ งปลอดภัย


ขอ้ แนะนำสำหรับแนวทางการปฏบิ ตั ิ 6.3

ของเสียผลิตภัณฑ์เภสัชกรรมท่ีเกิดขึ้นบนเรือต้องมีการจัดการท่ีถูกต้องเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะ
เกิดขึ้นกับส่ิงแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ โดยเฉพาะของเสียผลิตภัณฑ์เภสัชกรรมรวมถึงการหลีก
เลีย่ งการกำจดั ของผลิตภัณฑท์ ี่ย่อยสลายยาก ซึ่งอาจรวมถงึ แบคทเี รียท่ีเปน็ อนั ตรายในระบบบำบัดนำ้ เสีย และ
หลกี เลี่ยงการเผาผลติ ภณั ฑ์เภสัชกรรมที่อณุ หภูมิตำ่ หรอื ในภาชนะเปิด





บทที่ 6 ของเสยี ทางการแพทย์ หมายถึง ของเสียทกุ อยา่ งที่เกิดจากการวินิจฉัยผ้ปู ว่ ย การรักษาผู้ปว่ ย หรอื การใหว้ ัคซีน
ของเสยี ทางการแพทย์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ของเสียทตี่ ดิ เชื้อ และของเสยี ทไี่ ม่ตดิ เช้ือ ของเสยี ท่ีตดิ
เช้ือทางการแพทย์ หมายถึง ของเหลว หรือของแข็งท่ีมีการปนเปื้อนเช้ือโรคท่ีรุนแรงและไม่รุนแรงที่เป็นสาเหตุ
ของโรคติดเชือ้ ในผูท้ ีส่ มั ผัสของเสียนัน้ ๆ ของเสียทไี่ มต่ ดิ เชือ้ ทางการแพทย์ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ที่เกดิ ขึ้นจาก
การวนิ จิ ฉยั หรือรักษาทางการแพทย์ แต่จดั ไมอ่ ยใู่ นประเภทของเสียทีต่ ิดเช้ือ


เรือทุกลำต้องมีอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกในการบำบัดหรือการจัดเก็บของเสียทางการแพทย์ที่ถูกต้อง
ปลอดภัย ของเสียที่ติดเชื้อต้องมีการเก็บท่ีปลอดภัย หรือการทำลายเช้ือ (เช่น การนึ่งด้วยไอน้ำ) และบรรจุใน
ภาชนะทีเ่ หมาะสมเพอื่ นำไปกำจัดบนฝ่ัง ของเสียทางการแพทย์ควรมสี ญั ลกั ษณ์ข้อความทช่ี ัดเจน เรอื อาจมีการ
ติดต้ังเตาเผาท่ีเหมาะได้ ในการเผากระดาษ และเศษผ้าท่ีเป็นของเสียทางการแพทย์ แต่ไม่ใช่สำหรับพลาสติก
หรือวัสดุอ่ืนทีเ่ ปยี ก ของเสียมคี มต้องมกี ารทำลายเชือ้ และเก็บรวบรวมในภาชนะบรรจพุ ลาสติก และนำไปกำจดั
บนฝัง่ ของเสียมคี มอื่นๆ ต้องนำไปกำจัดบนฝงั่ เช่นเดยี วกบั ของเสยี มีคมจากทางการแพทย์


ของเสียทางการแพทย์ที่เป็นของเหลว อาจกำจัดโดยระบบบัดน้ำเสียได้ สำหรับของเสียท่ีไม่ติดเชื้อ อาจกำจัด
รวมกับของเสียทวั่ ไปได้ หากไม่จำเป็นต้องผ่านการฆ่าเชื้อดว้ ยระบบนึ่งดว้ ยไอน้ำ หรือวิธีเฉพาะอ่ืนๆ เจ้าหน้าที่
ทเี่ ก่ียวข้องกับการจดั การของเสยี ทางการแพทยต์ ้องไดร้ ับวคั ซีนตา้ นเชือ้ ไวรัสตับอักเสบบ


หมายเหตุ คู่มือการแพทย์ระหว่างประเทศสำหรับเรือขององค์การอนามัยโลก (WHO, 2007) และคู่มือการแพทย์ในบาง
ประเทศ


144 คู่มือสขุ าภบิ าลเรือ

Guide to ship sanitation


บทท่ี 7


การควบคมุ พาหะและแหล่งรงั โรค


7. การควบคุมพาหะและแหล่งรงั โรค





7.1 ความเป็นมา


บทนีจ้ ะเก่ยี วขอ้ งกับการจดั การพาหะนำโรคและแหลง่ โรคบนเรอื


IHR 2005 กล่าวว่า ผู้ดำเนินการบนเรือควรจะ “ควบคุมเรือไม่ให้มีการติดเชื้อหรือปนเป้ือนจากพาหะและ
แหล่งโรค” โดยเรือทุกลำควรมีการฆ่าเช้ือโรคและทำให้ปราศจากพาหะนำโรคโดยปฏิบัติตามคำแนะนำของ
WHO เพ่ือควบคุมพาหะนำโรค WHO ได้เสนอวิธีการควบคุมพาหะนำโรคและวัสดุท่ีใช้ รัฐเจ้าของธง (State)
ควรยอมรบั การฆา่ เชอ้ื โรค การกำจดั หนู และมาตรการควบคุมอนื่ ๆ ทป่ี ระยกุ ตใ์ ช้ของรัฐเจ้าของธง (State) อ่นื ๆ
หากวิธีการและวัสดุที่ใช้เป็นไปตามคำแนะนำของ WHO การพบพาหะนำโรคบนเรือ และควรกำจัดพาหะนำ
โรคเหล่านี้ด้วยวิธีต่างๆ จะกล่าวอยู่ใน Ship Sanitation Control Certificate (Articles22 and 24,
Annexes3,4 และ 5)


การควบคุมพาหะนำโรคทั้งในและโดยรอบท่าเรือถือเป็นส่วนหนึ่งใน IHR2005 State parties ควร
ต้องควบคุมดูแลส่ิงอำนวยความสะดวกของท่าเรือให้ปลอดภัย ตรงตามหลักสุขาภิบาลและปราศจากแหล่งเชื้อ
โรคและการปนเป้ือนจากพาหะและแหล่งโรค การใช้มาตรการควบคุมพาหะควรกำหนดระยะครอบคลุมอย่าง
น้อย 400 เมตร จากอาคารผู้โดยสาร (Passenger terminals) และพ้ืนท่ีดำเนินการ (Operational areas)
หากพบพาหะนำโรคมากกว่าระยะท่ีกำหนดไว้ ควรมเี อกสาร Guidelines เฉพาะ


7.1.1 ความเส่ยี งด้านสุขภาพท่ีเกี่ยวข้องกบั พาหะนำโรคบนเรอื
บทท่ี 7

การควบคมุ พาหะนำโรค เช่น แมลงและสัตว์ฟนั แทะมคี วามสำคญั อย่างยงิ่ ในการดแู ลสขุ ภาพของผู้ใช้บรกิ ารบน

เรอื นอกจากน้ี ยงุ หนูตวั เล็กและตัวใหญ่ แมลงสาบ แมลงวนั และหมัดหนู สามารถแพรก่ ระจายโรคได้เช่นกนั


หนูอาศัยอยู่บริเวณของท่าเรือ และเป็นพาหะนำโรคต่างๆ เช่น กาฬโรค (Plague) ไข้รากสาดใหญ่ (Murine
typhus) โรคซาลโมเนลโลสิส (Salmonellosis) โรคทรคิ ิโนซิส (Trichinosis) โรคฉห่ี นู (Leptospirosis) และ
โรคไข้หนกู ดั (Rat bite fever)


โรคมาลาเรียสามารถติดต่อสู่คนโดยมียุงเป็นพาหะนำโรค หากไม่มีการควบคุม ยุงสามารถแพร่พันธุ์และอาศัย
บนเรือได้ การติดเชื้อมาลาเรียบนเรือระหว่างเดินทาง มีความเส่ียงต่อสุขภาพและชีวิตต่อลูกเรือและผู้โดยสาร
ขณะเดินทางบนเรือมีข้อจำกัดต่อการวินิจฉัยเบ้ืองต้นและการรักษาที่เหมาะสม ผู้โดยสารและพาหะนำโรคบน
เรือสามารถแพรก่ ระจายโรคสู่คนบนท่าเรอื ได


คมู่ ือสุขาภบิ าลเรือ 147

Guide to ship sanitation


7.1.2 มาตรฐาน


Article 20 ของ IHR2005 หน่วยงานสุขภาพ (health authorities) ทำให้ม่ันใจว่าท่าเรือมีความสามารถใน
การตรวจสอบเรอื และออกเอกสารทงั้ Ship Sanitation Control Certificates (SSCC) เพ่ือใหม้ ีการทำลาย
เชื้อและกำจัดการปนเป้ือน รวมทั้งการควบคุมพาหะนำโรคบนเรือโดยตรง หรือ Ship Sanitation Control
Exemption Certificates (SSCEC) ในกรณที ไ่ี ม่พบการปนเปอ้ื นใดๆ


Annex 1 ของ IHR2005 อธิบายว่าความสามารถในท่ีน้ี ประกอบด้วย ความสามารถในการกำจัดหน ู

การทำลายเชอื้ และการกำจัดการปนเปื้อนบนเรอื


Annex 4 ของ IHR2005 อธบิ ายขั้นตอนของการออก Certificates และประเทศที่พบพาหะนำโรค (ไม่วา่ จะ
เกิดโรคข้ึนหรือไม่ ต้องมีพ้ืนฐานการจัดการในการออก Ship Sanitation Control Certificates (SSCC)

เพ่อื กำจัดการปนเปอื้ นของพาหะนำโรคบนเรอื


Annex 5 ของ IHR2005 อธิบายการควบคุมโรคทเ่ี กดิ จากพาหะนำโรคเป็นสือ่ และจัดเตรียมการควบคมุ สขุ ภาพ
ด้วยการควบคมุ พาหะนำโรคที่ถกู ต้อง


7.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ


ใน section นี้กล่าวถึง ข้อมูลที่ผู้ใช้ประโยชน์และแนวทางการปฏิบัติ โดยระบุบทบาทหน้าท่ีและให้ข้อมูลการ
ฝึกปฏิบัติท่ีสามารถควบคุมความเสี่ยงได้ แนวทางการปฏิบัติเฉพาะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ รูปแบบเพ่ือ
รักษาโดยกำหนดตัวชี้วัด (มาตรการควบคุมที่ต้องผ่าน) และข้อเสนอแนะ (ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้
แนวทางการปฏิบัติ และตวั ชว้ี ดั ในทางปฏบิ ตั ิ โดยเน้นในประเดน็ ท่ีสำคญั ท่ีจำเป็นตอ้ งปฏบิ ตั เิ ป็นอันดบั แรก)


บทที่ 7

ท่าเรือได้รับและส่งสินค้าและผู้โดยสารทั่วโลก ดังน้ัน ท่าเรือจะมีความเสี่ยงจากพาหะนำโรคจากประเทศต่างๆ
และท่าเรือต่างๆ ทว่ั โลก กิจกรรมต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ บนท่าเรอื เช่น การจัดการอาหารซ่ึงเป็นแหลง่ อาหารของสตั ว์
หลายชนิด ทั้งนี้ การแยกกักผู้โดยสารและลูกเรือโดยการวินิจฉัยและรักษาโรคทางการแพทย์ทำได้ยากและมี
ความเสี่ยงมากในกรณีท่ีป่วยรุนแรง โดยธรรมชาติผู้โดยสารอาศัยกันหนาแน่นบนเรือจะส่งเสริมให้เกิดการแพร่
กระจายของโรคและเพ่ิมปริมาณอาหารและ Host ของพาหะนำโรค


การระบาดของโรคข้นึ อยู่กับการพบพาหะนำโรคบนเรอื ซง่ึ ขาดการควบคมุ และสขุ าภบิ าลทีด่ พี อบนเรอื และขาด
การปอ้ งกันการปนเป้อื นในจุดปนเป้ือนเรม่ิ ต้น ความผิดพลาดในการป้องกนั นำไปส่กู ารปนเปื้อนซึง่ ขยายจนยาก
จะควบคุม


การใชว้ ธิ กี ารปอ้ งกนั ทด่ี คี อื การลดโอกาสการบกุ รกุ การหลบซอ่ นและการแพรพ่ นั ธขุ์ องพาหะนำโรค คอื วธิ คี วบคมุ
พน้ื ฐานทดี่ ี ด้วยวธิ ีท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพไดแ้ ก่


148 คู่มอื สุขาภิบาลเรอื

Guide to ship sanitation


l มุ้งลวดเพือ่ ดกั พาหะนำโรค

l การควบคุมพาหะนำโรคบนเรอื

l การกำจดั แหล่งทอี่ ยูอ่ าศัยของพาหะนำโรค

l ลดโอกาสสัมผสั สิง่ ท่กี ่อโรคจากพาหะนำโรคของผูโ้ ดยสารและลกู เรอื


มาตรการควบคมุ ดังตอ่ ไปนีค้ วรใชห้ น่ึงหรอื มากกว่าหนึ่งมาตรการเพ่อื ควบคมุ พาหะนำโรค

l การตรวจสอบพ้นื ท่บี นเรอื เป็นประจำ โดยเฉพาะทส่ี ิง่ พาหะนำโรคมักอาศัยอยู่ ได้แก่ หอ้ งเกบ็ อาหาร พ้นื ที่

จดั การอาหารและท้ิงขยะ

l กำจดั จดุ หลบซ่อนและจุดสะสมของพาหะนำโรค เช่น ขยะ เศษอาหารและจุดสกปรก

l ทำความสะอาดท่พี ักอาศยั และพ้ืนท่ีเก็บ เตรียมและเสริ ฟ์ อาหาร หรอื พ้ืนที่ลา้ งและจัดเกบ็ จานและภาชนะ

l เกบ็ และกำจัดขยะเศษอาหารและขยะอย่างเหมาะสม (see chapter 3)

l กำจัดแหล่งอาศัยของตัวอ่อนแมลง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรดูแลรักษาสภาพ เช่น ป้องกันน้ำขังบนเรือ

ชูชีพ

l ใชต้ ะแกรงติดชอ่ งเปิดทีส่ มั ผสั อากาศดา้ นนอกท้งั หมดระหวา่ งฤดทู พี่ บแมลงชนดิ นนั้ แพรห่ ลาย

l ประยุกต์ใชส้ ารฆ่าแมลงอย่างเหมาะสม


พาหะนำโรคจะเขา้ สู่เรือขณะเทยี บทา่ มาตรการควบคมุ เพื่อลดการแพร่พันธุ์ของเชอื้ โรค เป็นท่ีสำคัญ มาตรการ
ควบคุมเหลา่ นี้ต้องดำเนนิ การภายใต้เจา้ หนา้ ของเรอื ทีร่ บั ผดิ ชอบโดยตรงและตรวจสอบอย่างเปน็ ประจำ


7.2.1 แนวทางการปฏบิ ัติ 7.1 การควบคมุ แมลงนำโรค


แนวทางการปฏบิ ตั ิ 7.1 การควบคมุ แมลง
บทที่ 7

ตัวชวี้ ัดสำหรับแนวทางการปฏิบัติ 7.1

1. ใช้มงุ้ ลวดดกั แมลงเพ่ือป้องกนั แมลงเขา้ สู่เรอื

2. ใช้สารฆา่ แมลงเพอ่ื ควบคุมปรมิ าณพาหะนำโรคในอากาศและพ้นื ผวิ


ข้อแนะนำสำหรบั แนวทางการปฏิบตั ิ 7.1

1. มงุ้ ลวด

หอ้ งนอน ห้องเกบ็ ของ และหอ้ งรับประทานอาหาร พ้นื ทพี่ ักผ่อนหยอ่ นใจในร่ม และพน้ื ทท่ี ่ีเก่ยี วข้องกับอาหาร

ทั้งหมดต้องมีมุ้งลวดเพ่ือป้องกันแมลงวันและยุง ช่องของตะแกรงไม่ควรเกินกว่า 1.6 มิลลิเมตร ประตูมุ้งลวด

ควรเปิดออกข้างนอกและปิดเอง มุ้งลวดต้องไม่ชำรุดเสียหายง่าย ควรทำจากลวดโลหะหนักหรือโลหะอ่ืนๆ

ทง้ั นี้ รวมถงึ การใช้ metal kick plates


คมู่ อื สขุ าภิบาลเรือ 149

Guide to ship sanitation


Click to View FlipBook Version