The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunshine Wind, 2022-09-16 02:12:11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสตู รสถานศกึ ษา
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

(ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๑)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

พทุ ธศกั ราช๒๔๕๑

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖

โรงเรยี นบา้ นห้วยแหง้

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฏรธ์ านี เขต ๓
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่มน้ี ได้จัดทาขึ้นโดยยึดตามหลักสูตรกลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งมีรายเอียดของหลักสูตร คือ ความนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างเวลาเรียน คาอธิบายรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา การจดั การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้

หลักสูตรสถานศึกษานี้มีรายละเอียดและเนื้อหาสาระสาคัญเพียงพอที่สามารถจะ
นาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนโดยเริ่มใช้หลักสูตรดังกล่าวกับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ และในปีการศึกษา
๒๕๖๒ ใช้กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ ใช้หลักสูตรกับนักเรียนทุกระดับ
ชัน้ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ให้บรรลเุ ป้าหมายตามมาตรฐานและตัวชี้วัดท่ีหลักสูตรกลุม่ สาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดไว้ และในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ให้เปลี่ยนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ เปน็ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผู้จัดทา



สำรบัญ

คำนำ หน้ำ
สำรบญั ก
ส่วนท่ี ๑ ความนา .......................................................................................... ข

ตวั ชว้ี ัดช้นั ป.ี ..................................................................................... ๑๖
ตวั ชีว้ ัดสาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น......... ๒๖
สว่ นท่ี ๒ โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา....................................................... ๑๐๖
โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสูตรโรงเรียนบ้านเกาะนอ้ ย................. ๑๐๗
โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันปี .................................................................. ๑๑๔
๑๑๕
โครงสร้างรายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑........... ๑๑๗
โครงสรา้ งรายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒........... ๑๑๙
โครงสรา้ งรายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓........... ๑๒๑
โครงสร้างรายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔........... ๑๒๓
โครงสรา้ งรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕........... ๑๒๕
โครงสรา้ งรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖........... ๑๒๗
๑๓๔
สว่ นท่ี ๓ คาอธบิ ายรายวชิ า............................................................................ ๑๔๙
สว่ นที่ ๔ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๕๐
๑๕๑
ภาคผนวก......................................................................................... ๑๕๒
คาส่ังแตง่ ตัง้ คณะกรรมการจัดทาหลกั สูตร....................................
เอกสารอ้างองิ .................................................................................
คณะผู้จัดทา.....................................................................................

สว่ นท่ี ๑

ความนา

ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ไี ด้กาหนดสาระ
การเรยี นรู้ออกเป็น ๔ สาระ ได้แก่ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ สาระที่
๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยี ซ่ึงองค์ประกอบของหลักสูตร ท้ังในด้านของ
เนื้อหา การจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล การเรียนรู้น้ันมีความสาคัญอย่างย่ิงในการ
วางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันให้มี ความต่อเน่ืองเชื่อมโยงกันตั้งแต่ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ สาหรับกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้
กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพ้ืนฐาน เพ่ือให้สามารถ นา
ความรู้น้ีไปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ โดยจัด
เรียงลาดับความยากง่าย ของเน้ือหาทั้ง ๔ สาระในแต่ละระดับช้ันให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ
เรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด
สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่ สาคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหา
อย่างเปน็ ระบบ สามารถตดั สินใจโดยใชข้ อ้ มูลหลากหลายและประจกั ษ์พยานทต่ี รวจสอบได้ สถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีท่ีมุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากท่ีสุด จึงได้จัดทาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนา หนังสือเรียน คู่มือครู ส่ือประกอบการเรียนการสอน ตล อดจนการวัดและ
ประเมินผล โดยตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทจี่ ัดทาข้ึนนี้
ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้ เดียวกันและระหว่างสาระการ
เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนการเชื่อมโยงเน้ือหาความรู้ ทาง
วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ี ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลง และ
ความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์สรุป
เปน็ แผนภาพได้ดงั น้ี

สาระที่ ๑ สาระท่ี ๒ ๒
วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
- มาตรฐาน ว ๑.๑-ว ๑.๓ - มาตรฐาน ว ๒.๑-ว ๒.๓ สาระท่ี ๓
วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ - มาตรฐาน ว ๓.๑-ว ๓.๒
วิทยำศำสตร์และ

เทคโนโลยี

สาระท่ี ๔
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว ๔.๑-ว ๔.๒

วทิ ยาศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ  สาระชวี วิทยา  สาระเคมี  สาระฟิสกิ ส์
 สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ



เปา้ หมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต
สารวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนาผลมาจัดระบบ หลักการ
แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วย
ตนเองมากที่สุด น่ันคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ต้ังแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เม่ืออยู่ใน
สถานศึกษาและเม่ือออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแลว้
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ์ นสถานศกึ ษามเี ป้าหมายสาคัญ ดังน้ี

๑. เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานในวิทยาศาสตร์
๒. เพอ่ื ให้เข้าใจขอบเขต ธรรมชาติและข้อจากดั ของวิทยาศาสตร์
๓. เพือ่ ใหม้ ที กั ษะทสี่ าคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคดิ คน้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ
ทักษะในการสอื่ สาร และความสามารถในการตดั สินใจ
๕. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ
สภาพแวดลอ้ มในเชิงทีม่ อี ทิ ธพิ ลและผลกระทบซง่ึ กันและกนั
๖. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจในเร่ืองวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
สงั คมและการดารงชีวิต
๗. เพ่ือให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์

เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการ เช่ือมโยง
ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบ
เสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรม
ด้วยการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้นั โดยกาหนดสาระสาคญั ดังนี้

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การ
ดารงชวี ิตของมนุษยแ์ ละสตั วก์ ารดารงชวี ติ ของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการ
ของสิ่งมีชวี ติ

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การ
เคลอื่ นที่ พลงั งาน และคลืน่

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสรุ ยิ ะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลีย่ นแปลงทางธรณวี ทิ ยา กระบวนการ เปลย่ี นแปลง
ลมฟา้ อากาศ และผลต่อสง่ิ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม

✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิต ใน

สังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์
อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสง่ิ แวดล้อม



● วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา
เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การส่ือสาร ในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ติ จรงิ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต

กบั ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ กบั ส่งิ มชี ีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญ หาและผลกระทบท่ีมีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน
สัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่ ของอวัยวะต่างๆ ของพชื ทที่ างานสัมพันธก์ ัน รวมทั้งนา
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง
พนั ธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพ
และววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวติ รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัติ

ของ สสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ
ลกั ษณะ การเคลือ่ นที่แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถรุ วมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอน
พลงั งาน ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของ คลนื่ ปรากฏการณ์
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้ัง นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ

เอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และ
การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้า อากาศแล ะ
ภูมอิ ากาศโลก รวมทัง้ ผลตอ่ สง่ิ มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม



สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการ

เปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขนั้ ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา
ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี ริยธรรม

วสิ ยั ทัศนก์ ลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิสยั ทัศน์
มุ่งให้ผู้เรียน มีความสามารถในการเรียนรู้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ รวมทั้งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม
คา่ นิยมที่เหมาะสมตอ่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ

ตามมาตรฐานที่กาหนด ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั น้ี

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานมงุ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ

ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อ
ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ
ถกู ต้องตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่อื สารท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพือ่ การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง
สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดาเนินชวี ิตประจาวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง การทางาน และการอยูร่ ว่ มกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง



เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง
ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้

สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง
๖. ม่งุ มัน่ ในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

ค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๒. ซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ นสง่ิ ที่ดีงามเพ่อื ส่วนรวม
๓. กตัญญูต่อพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเลา่ เรียนทัง้ ทางตรง และทางออ้ ม
๕. รักษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
๖. มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผอู้ ่ืน เผอ่ื แผแ่ ละแบ่งปนั
๗. เขา้ ใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ทีถ่ ูกต้อง
๘. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรูจ้ กั การเคารพผใู้ หญ่
๙. มีสตริ ูต้ ัว รคู้ ดิ รู้ทา รปู้ ฏบิ ัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
๑๐.รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาท

สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั
รจู้ ักอดออมไว้ใชเ้ มื่อยามจาเป็น มไี วพ้ อกนิ พอใช้ ถา้ เหลือก็แจกจ่ายจาหนา่ ย และพร้อมท่ี

จะขยายกจิ การ เมื่อมีความพรอ้ ม เม่ือมีภูมิคมุ้ กนั ทีด่ ี
๑๑. มีความเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความ

ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา
๑๒. คานงึ ถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชน์ของตนเอง



ทักษะมจี าเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีทุกคนจะตอ้ งเรยี นรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ ๓R x ๗C
๓R คอื Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขยี นได)้ , และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
๗C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน

การแก้ปญั หา)
Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม)
Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ

ภาวะผนู้ า)
Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศ และ

รูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื )
Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร)
Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนร)ู้

คณุ ภำพผู้เรียน

จบชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๓

❖ เข้าใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุ และการเปล่ียนแปลง
ของวสั ดรุ อบตัว

❖ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนท่ีของ
วตั ถุ พลังงานไฟฟา้ และการผลิตไฟฟา้ การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น

❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ข้ึนและตกของ
ดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกาหนดทิศ ลักษณะของหิน การจาแนกชนิดดินและการใช้
ประโยชน์ ลักษณะและความสาคญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม

❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต
สารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างงา่ ย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบด้วย
การเขยี นหรอื วาดภาพ และสอื่ สารส่ิงท่เี รียนรูด้ ว้ ยการเลา่ เร่ือง หรอื ด้วยการแสดงทา่ ทางเพอ่ื ให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ

❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ส่ือสารเบื้องตน้ รักษาข้อมูลส่วนตัว

❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี
กาหนดให้หรอื ตามความสนใจ มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรับฟังความคดิ เหน็ ผู้อนื่

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์
จนงานลลุ ่วงเปน็ ผลสาเร็จ และทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งมีความสขุ



❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต
ศึกษาหาความรเู้ พ่มิ เตมิ ทาโครงงานหรอื ชิ้นงานตามทก่ี าหนดให้หรือตามความสนใจ

จบชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๖
❖ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรบั ตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต

ในแหลง่ ที่อยู่ การทาหนา้ ทข่ี องส่วนต่าง ๆ ของพชื และการทางานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์
❖ เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร

การละลาย การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงท่ีผันกลับได้และผนั กลับไมไ่ ด้ และการแยกสารอยา่ ง
ง่าย

❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ
ผลท่ีเกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบื้องต้น
ของเสยี ง และแสง

❖ เข้าใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์
การข้ึนและตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ การใช้แผนทีด่ าว การเกดิ อุปราคา พฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยี
อวกาศ

❖ เขา้ ใจลักษณะของแหลง่ น้า วฏั จักรนา้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นา้ ค้าง น้าคา้ งแข็ง หยาดน้า
ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก
ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก

❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธภิ าพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี
ของตน เคารพสิทธขิ องผ้อู ่ืน

❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ
คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาท่ีจะสารวจตรวจสอบ
วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บ
รวบรวมข้อมลู ทั้งเชิงปรมิ าณและคุณภาพ

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบใน
รูปแบบที่เหมาะสม เพ่ือส่ือสารความร้จู ากผลการสารวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ลและหลักฐานอ้างองิ

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในส่ิงท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คิดเหน็ ผู้อน่ื



❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์
จนงานลุล่วงเปน็ ผลสาเรจ็ และทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดารงชวี ิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผูค้ ิดค้นและศึกษาหา
ความรเู้ พ่ิมเตมิ ทาโครงงานหรอื ชน้ิ งานตามที่กาหนดใหห้ รือตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤตกิ รรมเกี่ยวกบั การใช้ การดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อมอย่างรคู้ ุณคา่

ทำไมตอ้ งเรยี นวิทยำศำสตร์

วิทยาศาสตร์มบี ทบาทสาคัญย่ิงในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เก่ียวข้องกบั ทุก
คนท้ังในชีวิตประจาวนั และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ
ท่ีมนุษย์ได้ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่าน้ีล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์
ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิด
เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มี
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์
พยานทตี่ รวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่งึ เป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ (K knowledge-
based society) ดังนั้นทุกคนจงึ จาเป็นตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาให้ร้วู ิทยาศาสตร์ เพ่ือท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมี
คณุ ธรรม

เรยี นรอู้ ะไรในวิทยำศำสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรม์ ุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วทิ ยาศาสตรท์ ี่เน้นการเช่ือมโยงความรูก้ ับ
กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมื อ
ปฏบิ ตั ิจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชัน้ โดยกาหนดสาระสาคัญไว้ ๔ สาระ ดังน้ี

 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับชีวิตในส่ิงแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การ
ดารงชวี ติ ของมนษุ ยแ์ ละสัตว์ การดารงชีวิตของพชื พันธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการ
ของส่งิ มีชีวิต

 วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การ
เคลอ่ื นที่ พลงั งาน และคล่ืน

 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับโลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับการ
เปลี่ยนแปลงของโลก

 เทคโนโลยี

๑๐

 การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความ
เข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยีเพื่อดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะ
ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด
สรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบ
ตอ่ ชวี ิต สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม

 วทิ ยาการคานวณ เรยี นรเู้ ก่ยี วกบั การพัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจ มที ักษะ
การคิด เชิงคานวณ การคิดวเิ คราะห์ แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ดา้ นวิทยาการ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสติปัญญา (Intellectual) ที่นักวิทยาศาสตรแ์ ละผู้ท่ีนา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น ๑๓ ทักษะ ทักษะท่ี ๑-๘ เป็นทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และทักษะท่ี ๙-๑๓ เป็นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้ันสูงหรือขั้นผสมหรือขั้น
บรู ณาการ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ้ัง ๑๓ ทักษะ มดี งั นี้

๑. การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง
รวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ เพื่อค้นห้าข้อมูลซ่ึงเป็น
รายละเอียดของสิ่งนั้น โดยไม่ใส่ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมูลเชิง
คุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลที่เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตเห็นได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์น้ัน
ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ีประกอบด้วยการชี้บ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการกะ
ประมาณและการบรรยายการเปล่ยี นแปลงของส่ิงที่สังเกตได้

๒. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพ่ิมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการ
สังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วย ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ี
คอื การอธบิ ายหรือสรุป โดยเพมิ่ ความคิดเห็นให้กับข้อมลู โดยใช้ความรหู้ รือประสบการณ์เดิมมาช่วย

๓. การจาแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลาดับวัตถุหรือส่ิงที่มีอยู่ใน
ปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ และเกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่าง
หน่ึงก็ได้ ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะนี้แล้ว ได้แก่ การแบ่งพวกของสิ่งต่าง ๆ จากเกณฑ์ที่ผู้อื่นกาหนดให้
ได้ นอกจากนั้นสามารถเรียงลาดับส่ิงของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกับบอกได้ว่าผู้อื่นแบ่งพวกของสิ่งของนั้น
โดยใช้อะไรเปน็ เกณฑ์

๔. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและการใช้เคร่ืองมือนั้นทาการวัดหา
ปริมาณของส่ิงต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขท่ีแน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับส่ิงท่ีวัด แสดงวิธีใช้เคร่ืองมืออย่างถูกต้อง
พร้อมท้ังบอกเหตุผลในการเลือกใช้เคร่ืองมือ รวมท้ังระบหุ น่วยของตัวเลขที่ไดจ้ ากการวดั ได้

๑๑

๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุและการนาตัวเลขท่ีแสดง
จานวนท่ีนับได้มาคิดคานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือการหาค่าเฉล่ีย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิด
ทักษะน้ี ได้แก่ การนับจานวนส่ิงของได้ถูกต้อง เช่น ใช้ตัวเลขแทนจานวนการนับได้ ตัดสินได้ว่าวัตถุ ในแต่ละ
กลุ่มมีจานวนเท่ากันหรือแตกต่างกนั เป็นต้น การคานวณ เช่น บอกวิธคี านวณ คิดคานวณ และแสดงวิธคี านวณ
ได้อย่างถูกต้อง และประการสุดท้ายคือ การหาค่าเฉล่ยี เชน่ การบอกและแสดงวธิ ีการหาค่าเฉล่ียไดถ้ ูกต้อง

๖. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกั บเวลา (Using Space/Time
Relationships)

สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างท่ีวัตถุนั้นครองท่ีอยู่ ซึ่งมีรูปร่างลักษะเช่นเดียวกับวัตถุนั้น
โดยท่วั ไปแลว้ สเปสของวตั ถุจะมี ๓ มิติ คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสูง

ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ๓ มิติ กับ ๒ มิติ
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งที่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหน่ึง ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหา
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส ได้แก่ การชี้บ่งรูป ๒ มิติ และ ๓ มิติได้ สามารถวาดภาพ ๒ มิติ จากวัตถุ
หรือจากภาพ ๓ มติ ิ ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตาแหน่งท่ีอยู่ของ
วัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุท่ีเปลี่ยนไปกับเวลาความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิด
ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ การบอกตาแหน่งและทิศทางของวัตถุโดยใช้ตัวเองหรือ
วัตถอุ น่ื เปน็ เกณฑ์ บอกความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการเปล่ียนตาแหนง่ เปลี่ยนขนาด หรอื ปรมิ าณของวัตถุกับเวลาได้

๗. การสื่อความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้จาการสังเกต การวัด
การทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทาเสียใหม่โดยการหาความถ่ี เรียงลาดับ จัดแยกประเภท หรือ
คานวณหาค่าใหม่ เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีข้ึน โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ
ไดอะแกรม กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เป็นต้น ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ีแล้ว คือการ
เปล่ียนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปใหม่ที่เข้าใจดีขึ้น โดยจะต้องรู้จักเลือกรูปแบบท่ีใช้ในการเสนอข้อมูลได้อย่าง
เหมาะสม บอกเหตุผลในการเสนอข้อมูลในการเลือกแบบแสนอข้อมูลนั้น การเสนอข้อมูลอาจกระทาได้หลาย
แบบดังที่กล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะการเสนอข้อมูลในรูปของตาราง การบรรจุข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางปกติจะ
ใส่ค่าของตัวแปรอิสระไว้ทางซ้ายมือของตาราง และค่าของตัวแปรตามไว้ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของ
ตัวแปรอสิ ระไวใ้ ห้เรียงลาดับจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรอื จากคา่ มากไปหาค่าน้อย ๘ . ก า ร พ ย า ก ร ณ์
(Predicting) หมายถึง การคาดคะเนคาตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยปรากฏการณ์ท่ีเกิดซ้า หลักการ
กฎ หรือ ทฤษฏีท่ีมีอยู่แล้วในเร่ืองน้ันมาช่วยสรุป เช่น การพยากรณ์ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่เป็น
ตารางหรือกราฟ ซึ่งทาได้สองแบบ คือ การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ กับการพยากรณ์นอกขอบ
ของข้อมลู ที่มีอยู่ เชน่ การพยากรณผ์ ลของข้อมลู เชิงปริมาณ เป็นตน้

๘. การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทานายหรือการคาดคะเนคาตอบ โดยอาศัย
ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกตหรอื การทาซา้ ผ่านกระบวนการแปรความหายของขอ้ มลู จากสัมพนั ธภ์ ายใต้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์

๑๒

ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทานายผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อมูลบน
พน้ื ฐานหลักการ กฎ หรอื ทฤษฎที ่ีมีอยู่ ท้ังภายในขอบเขตของข้อมูล และภายนอกขอบเขตของข้อมูลในเชิง
ปรมิ าณได้

๙. การช้ีบ่งและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง การช้ี
บ่งตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรทต่ี ้องควบคุมให้คงท่ีในสมมตุ ิฐาน หน่งึ ๆ

ตัวแปรต้น หมายถึง ส่ิงที่เป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือสิ่งที่เราต้องการทดลองดูว่า
เปน็ สาเหตทุ ีก่ ่อให้เกิดผลเช่นน้นั จริงหรือไม่

ตัวแปรตาม หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น เมื่อตัวแปรต้นหรือสิ่งท่ีเป็นสาเหตุ
เปลี่ยนไป ตัวแปรตามหรือส่งิ ท่ีเปน็ ผลจะแปรตามไปดว้ ย

ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงท่ี หมายถึง ส่ิงอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นท่ีจะทาให้ผลการ
ทดลองคลาดเคล่อื น ถา้ หากว่าไมม่ ีการควบคุมใหเ้ หมือนกัน

๑๐. การตั้งสมมุติฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่อน
ทาการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คาตอบท่ีคิดล่วงหน้าน้ี ยังไม่
ทราบ หรือยังไม่เป็นทางการ กฎหรือทฤษฏีมาก่อน สมมุติฐาน คือคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้ามีกล่าวไว้เป็นข้อความ
ที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามสมมุติฐานท่ีต้ังข้ึนอาจถูกหรือผิดก็ได้ซ่ึงทราบได้ภายหลัง
การทดลองหาคาตอบเพ่ือสนับสนุนสมมุติฐานหรือคัดค้านสมมุติฐานที่ต้ังไว้ ส่ิงที่ควรคานึงถึงในการตั้ง
สมมุติฐาน คือ การบอกชื่อตัวแปรต้นซ่ึงอาจมีผลต่อตัวแปรตามและในการต้ังสมมุติฐานต้องทราบตัวแปรจาก
ปัญหาและสภาพแวดล้อมของตัวแปรนั้น สมมุติฐานท่ีตั้งข้ึนสามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการทดลอง
ซึ่งต้องทราบว่าตวั แปรไหนเป็นตวั แปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรทตี่ ้องควบคุมให้คงที่

๑๑. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally)
หมายถึง การกาหนดความหมายและขอบเขตของค่าต่าง ๆ ที่อยู่ในสมมุติฐานที่ต้องการทดลองและบอกวิธีวัด
ตัวแปรท่ีเกีย่ วกบั การทดลองนนั้

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบจาก
สมมตฐิ านทตี่ งั้ ไว้ ในการทดลองจะประกอบไปด้วยกจิ กรรม ๓ ข้นั คอื

๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจริง
๑๒.๒ ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจรงิ และให้อุปกรณ์ได้อย่างถกู ต้องและ
เหมาะสม
๑๒.๓ การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทกึ ข้อมูลที่ได้จากการทดลองซ่ึงอาจ
เป็นผลจากการสังเกต การวัด และอ่ืน ๆ ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และถูกต้อง การบันทึกผลการทดลอง อาจอยใู่ นรูป
ตารางหรือการเขียนกราฟ ซึ่งโดยท่ัวไปจะแสดงค่าของตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระบนแกนนอนและค่าของตัว
แปรบนแกนต้ัง โดยเฉพาะในแต่ละแกนต้องใช้สเกลท่ีเหมาะสม พร้อมท้ังแสดงให้เห็นถึงตาแหน่งของค่าของตัว
แปรทงั้ สองบนกราฟดว้ ย

๑๓

๑๓.การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conclusion)

การตีความหมายข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลท่ีมีอยู่ การตีความหมายข้อมูล

ในบางคร้ังอาจต้องใช้ทักษะอื่นๆ ด้วย เช่น การสังเกต การคานวณ เป็นต้น และการลงข้อสรุป หมายถึง การ

สรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอก

ความสัมพันธ์ของข้อมูลได้ เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็

สามารถอธิบายได้วา่ เกิดอะไรข้ึนกับตัวแปรตามขณะท่ีตัวแปรอิสระเปล่ียนแปลงหรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้

อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรก่อนท่ีกราฟเส้นโค้งจะเปลี่ยนทิศทางและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัว

แปรหลงั จากที่กราฟเสน้ โค้งเปล่ียนทศิ ทางแล้ว

จติ วทิ ยำศำสตร์

คุณลกั ษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ลักษณะช้ีบ่ง/พฤติกรรม

๑.เหน็ คณุ ค่าทางวิทยาศาสตร์ ๑.๑ นิยมยกยอ่ งกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑.๒ นยิ มยกยอ่ งความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์
๒.คณุ ลกั ษณะทางวิทยาศาสตร์ ๑.๓ เพม่ิ พนู ความรแู้ ละประสบการณท์ างวทิ ยาศาสตร์
๒.๑ ความมเี หตุผล ๑.๔ ตระหนักความสาคัญของวิทยาศาสตร์ ในการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
๒.๒ ความอยากรูอ้ ยากเหน็
๒.๑.๑ การยอมรบั ข้อสรปุ ที่มเี หตุผล
๒.๑.๒ มคี วามเช่ือวา่ สง่ิ ท่ีเกดิ ข้ึนตอ้ งมีสาเหตุ
๒.๑.๓ นิยมยกยอ่ งบคุ คลทมี่ ีความคดิ อย่างมเี หตผุ ล
๒.๑.๔ เห็นคุณค่าในการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับ
หรือปฏิบตั ิตาม
๒.๒.๑ ช่อื วา่ วธิ ีการทดลองค้นคว้าจะทาให้ค้นพบวิธีการ
แก้ปญั หาได้

๒.๓ ความใจกวา้ ง ๒.๒.๒ พอใจใฝห่ าความรทู้ างวิทยาศาสตรเ์ พ่ิมเติม
๒.๔ ความมรี ะเบยี บในการทางาน ๒.๒.๓ ชอบทดลองคน้ คว้า
๒.๕ การมีค่านยิ มต่อความเสียสละ
๒.๓.๑ ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของความมเี หตผุ ลของ
ผอู้ ืน่
๒.๓.๒ ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นและคาวจิ ารณ์ของผูอ้ ่ืน

๒.๔.๑ ตระหนกั ถงึ การระวังรักษาความปลอดภยั ของ
ตนเองและเพ่ือนในขณะทดลองวทิ ยาศาสตร์
๒.๔.๒ เหน็ คุณคา่ ของการระวังรักษาเครื่องมือที่ใช้มใิ ห้
แตกหกั เสียหาย ในขณะทดลองวทิ ยาศาสตร์

๒.๕.๑ ตระหนกั ถึงการทางานใหส้ าเร็จลุล่วงตามเปา้ หมาย
โดยไม่คานึงถงึ ผลตอบแทน
๒.๕.๒ เตม็ ใจทีจ่ ะอทุ ิศตนเพื่อการสรา้ งผลงานทาง

๑๔

คุณลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ลักษณะชี้บ่ง/พฤตกิ รรม
๒.๖ การมีค่านยิ มต่อความซอื่ สตั ย์
วทิ ยาศาสตร์
๒.๗ การมคี ่านยิ มต่อการประหยัด
๒.๖.๑ เหน็ คุณค่าต่อการเสนอผลงานตามความเปน็ จริงที่
ทดลองได้
๒.๖.๒ ตาหนิบุคคลท่นี าผลงานผอู้ ่นื มาเสนอเปน็ ผลงานของ
ตนเอง
๒.๗.๑ ยนิ ดีที่จะรักษาซ่อมแซมส่งิ ทช่ี ารดุ ใหใ้ ชก้ ารได้
๒.๗.๒ เหน็ คณุ ค่าของการใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์อยา่ งประหยดั
๒.๗.๓ เหน็ คุณคา่ ของวสั ดุท่ีเหลือใช้

๑๕

ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี

สำระท่ี ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญ หาและผลกระทบท่ีมีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหา
ส่งิ แวดลอ้ มรวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ป.๑ ตวั ช้ีวดั ชัน้ ปี ป.๓
ป.๒ ป.๖
๑. ระบุชือ่ พชื และสตั ว์ทอี่ าศัยอยู่
บริเวณต่าง ๆ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ ป.๕
๒. บอกสภาพแวดล้อม ทีเ่ หมาะสม
กบั การดารงชีวิตของ สัตวใ์ นบรเิ วณที่ ๑. บรรยายโครงสรา้ ง และลักษณะ
อาศัยอยู่ ของสงิ่ มชี ีวติ ที่เหมาะสมกบั การ
ดารงชีวิตซึง่ เปน็ ผลมาจากการปรบั ตัว
ป.๔ ของสิง่ มชี ีวติ ใน แต่ละแหล่งที่อยู่
๒. อธบิ าย ความสมั พันธ์ระหวา่ ง
สง่ิ มชี วี ิตกับส่งิ มชี ีวิต และ
ความสมั พนั ธ์ ระหว่างสิง่ มชี ีวิตกบั
ส่ิงไมม่ ีชวี ติ เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การดารง
ชวี ิต
๓. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาท
หนา้ ท่ีของส่งิ มีชีวติ ทเี่ ป็น ผ้ผู ลติ และ
ผู้บริโภคในโซอ่ าหาร
๔. ตระหนกั ในคุณค่าของสง่ิ แวดล้อม
ที่มี ต่อการดารงชีวิต ของสงิ่ มีชีวติ โดย
มสี ว่ นรว่ มในการดแู ลรกั ษาสิง่ แวดล้อม

๑๖

สำระท่ี ๑ วทิ ยำศำสตรช์ วี ภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและ

ออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของ โครงสรา้ ง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ทที่ างานสัมพันธ์

กนั ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กนั รวมท้ังนาความรู้ไป

ใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวดั ชนั้ ปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑. ระบุชอ่ื บรรยายลกั ษณะและบอก ๑. ระบวุ า่ พืชตอ้ งการแสงและน้าเพ่ือ ๑. บรรยายสิ่งทจ่ี าเป็นต่อการดารงชวี ติ

หน้าทข่ี องส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายมนุษย์ การเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมลู จาก และการเจรญิ เติบโตของมนุษยแ์ ละสัตว์

สตั ว์ และพืช รวมทัง้ บรรยายการทา หลกั ฐานเชิงประจักษ์ โดยใชข้ อ้ มลู ท่ีรวบรวมได้

หนา้ ท่ีร่วมกันของสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ๒. ตระหนกั ถึงความจาเป็นทพ่ี ืชต้อง ๒. ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร นา้

มนษุ ยใ์ นการทากิจกรรมตา่ งๆ จาก ไดร้ ับน้าและแสงเพ่ือการเจริญเติบโต และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสตั ว์

ข้อมลู ท่รี วบรวมได้ โดยดแู ลพืชใหไ้ ดร้ บั ส่งิ ดังกลา่ วอย่าง ใหไ้ ดร้ บั ส่งิ เหลา่ น้ีอยา่ งเหมาะสม

๒. ตระหนกั ถึงความสาคัญของสว่ น เหมาะสม ๓. สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักร

ตา่ งๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแล ๓. สรา้ งแบบจาลองทีบ่ รรยายวฏั จักชีวิต ชวี ติ ของสัตว์ และเปรยี บเทยี บ วฏั จักร

ส่วนตา่ งๆ อย่างถกู ต้อง ให้ปลอดภยั และ ของพืชดอก ชวี ิตบางชนิด

รกั ษาความสะอาดอยู่เสมอ ๔. ตระหนกั ถึงคณุ ค่าของชีวิตสตั ว์ โดย

ไมท่ าใหว้ ฏั จกั รชวี ติ ของสัตว์

เปล่ยี นแปลง

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. บรรยายหนา้ ท่ีของราก ลาต้น ใบ - ๑. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชน์
และดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมลู ท่ี
สารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหาร

รวบรวมได้ ตนเองรับประทาน

๒. บอกแนวทางในการเลือกรบั ประทาน

อาหารใหไ้ ด้สารอาหารครบถ้วนใน

สัดส่วนทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวัย

รวมท้ังความปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ

๓. ตระหนกั ถึงความสาคัญของ

สารอาหาร โดยการเลือกรบั ประ ทาน

อาหารท่ีมีสารอาหารครบถ้วนในสัดสว่ น

ท่ีเหมาะสมกับเพศและวยั รวมทั้ง

ปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ๔. สร้างแบบจาลอง

ระบบยอ่ ยอาหาร และบรรยายหน้าท่ี

ของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้ง

อธบิ ายการย่อยอาหารและการดดู ซมึ

สารอาหาร

๑๗

๕. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบ
ย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการ
ดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบย่อยอาหารให้
ทางานเป็นปกติ

สำระที่ ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ

ววิ ฒั นาการ ของสิ่งมชี วี ติ รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วดั ช้ันปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

- ๑. เปรยี บเทยี บ ลักษณะของส่งิ มชี ีวติ -
และสงิ่ ไม่มีชีวติ จากข้อมลู ทีร่ วบรวม
ได้

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. จาแนกสงิ่ มีชวี ิตโดยใชค้ วาม ๑. อธบิ ายลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่มี
เหมือนและความแตกตา่ งของลักษณะ การถ่ายทอดจากพ่อแมส่ ่ลู ูกของพชื
ของส่ิงมชี ีวิต ออกเป็น กลุ่มพชื กลุ่ม สัตว์ และมนษุ ย์
สตั ว์ และกล่มุ ทไ่ี ม่ใช่พืชและสตั ว์ ๒. แสดงความอยากรูอ้ ยากเหน็ โดย
๒. จาแนกพชื ออกเป็นพืชดอกและพืช การถามคาถามเกย่ี วกับลักษณะท่ี
ไมม่ ดี อก โดยใช้การมดี อกเป็นเกณฑ์ คลา้ ยคลงึ กนั ของตนเองกับพ่อแม่
โดยใชข้ ้อมูลท่รี วบรวมได้
๓. จาแนกสัตวอ์ อกเป็นสตั วม์ กี ระดูกสนั

หลังและสตั วไ์ มม่ ีกระดกู สันหลัง โดยใช้

การมีกระดูกสนั หลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้

ขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้

๔. บรรยายลกั ษณะ เฉพาะที่สงั เกตได้

ของสัตว์มกี ระดกู สันหลังในกลุ่มปลา

กล่มุ สัตวส์ ะเทินน้าสะเทนิ บก กลุ่ม

สัตวเ์ ล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั ว์

เลยี้ งลูกดว้ ยน้านม และยกตัวอย่าง

สิ่งมชี ีวติ ในแต่ละกลุ่ม

๑๘

สำระที่ ๒ วิทยำศำสตร์กำยภำพ

มำตรฐำน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ อง

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ

สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

ตวั ช้ีวดั ชั้นปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑. อธบิ ายสมบัติที่สังเกตไดข้ องวัสดุที่ ๑. เปรยี บเทียบสมบัติการดดู ซับนา้ ของวสั ดุ ๑. อธบิ ายวา่ วตั ถปุ ระกอบข้ึนจาก
ใชท้ าวัตถุซึ่งทาจากวสั ดุชนิดเดยี วหรือ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระบกุ าร ชน้ิ ส่วน ยอ่ ย ๆ ซึ่งสามารถแยกออก
หลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลกั ฐาน นาสมบัติการดดู ซับนา้ ของวัสดไุ ป จากกันได้และประกอบกนั เป็นวัตถุชน้ิ
เชงิ ประจกั ษ์ ประยกุ ต์ใช้ในการทาวตั ถใุ นชวี ติ ประจาวนั ใหม่ได้ โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์
๒. ระบุชนดิ ของวสั ดแุ ละจดั กลุ่มวสั ดุ ๒. อธิบายสมบัตทิ สี่ ังเกตไดข้ องวัสดทุ ีเ่ กิด ๒. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ
ตามสมบตั ทิ สี่ ังเกตได้ จากการนาวัสดุมาผสมกนั โดยใชห้ ลักฐาน เมื่อทาให้ร้อนข้นึ หรือทาให้เยน็ ลง โดย
เชงิ ประจักษ์ ใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ป.๔ ๓. เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ ส่ี ังเกตไดข้ องวัสดุ
เพ่อื นามาทาเปน็ วตั ถใุ นการใช้งานตาม ป.๖
วัตถุประสงค์ และอธบิ ายการนาวสั ดทุ ่ใี ช้
แล้วกลบั มาใช้ใหม่โดยใชห้ ลักฐานเชงิ
ประจักษ์
๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนาวสั ดุท่ี
ใชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่ โดยการนาวสั ดุทีใ่ ช้
แล้วกลบั มาใชใ้ หม่

ป.๕

๑. เปรยี บเทยี บสมบัตทิ างกายภาพ ๑. อธบิ ายการเปล่ียนสถานะ ของสสารเมื่อ ๑. อธิบายและเปรยี บเทียบการแยก
ด้านความแข็ง สภาพยืดหย่นุ การนา ทาให้สสารรอ้ นข้นึ หรือเย็นลง โดยใช้ สารผสมโดยการหยบิ ออก การรอ่ น
ความรอ้ น และการนาไฟฟา้ ของวัสดุ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ การใช้แมเ่ หลก็ ดึงดดู การรนิ ออก การ
โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์จากการ ๒. อธบิ ายการละลายของสารในนา้ โดยใช้ กรอง และการตกตะกอน โดยใช้
ทดลองและระบกุ ารนาสมบตั เิ รื่อง หลักฐานเชิงประจกั ษ์ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ รวมทงั้ ระบวุ ธิ ี
ความแขง็ สภาพยืดหยนุ่ การนาความ ๓. วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงของสารเมอ่ื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวนั เกี่ยวกบั การ
ร้อน และการนาไฟฟ้าของวสั ดไุ ปใช้ใน เกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมี โดยใช้ แยกสาร
ชีวติ ประจาวนั ผา่ นกระบวนการ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ออกแบบช้นิ งาน ๔. วเิ คราะห์และระบุการเปลีย่ นแปลงท่ีผัน
๒. แลกเปลี่ยนความคิดกบั ผูอ้ ื่นโดย กลบั ไดแ้ ละการเปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ไมไ่ ด้
การอภปิ รายเก่ียวกบั สมบัติทาง
กายภาพของวัสดอุ ยา่ งมเี หตผุ ลจาก
การทดลอง
๓. เปรยี บเทยี บสมบัติของสสารทงั้ ๓
สถานะ จากขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสังเกต
มวล การตอ้ งการทอ่ี ยู่ รปู ร่างและ
ปริมาตรของสสาร
๔. ใชเ้ ครอ่ื งมือเพื่อวัดมวล และ
ปรมิ าตรของสสารทั้ง ๓ สถานะ

๑๙

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวนั ผลของแรงที่กระทาตอ่ วัตถุ ลกั ษณะ

การเคล่อื นทีแ่ บบ ต่างๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

- - ๑. ระบผุ ลของแรงท่มี ตี ่อการ
เปล่ียนแปลง การเคลอื่ นที่ของวัตถุ
จากหลักฐานเชิงประจักษ์
๒. เปรยี บเทยี บและยกตัวอยา่ งแรง
สมั ผสั และแรงไม่สมั ผสั ท่ีมผี ลตอ่ การ
เคลื่อนทีข่ องวัตถโุ ดยใช้หลกั ฐานเชิง
ประจักษ์
๓. จาแนกวตั ถุโดยใชก้ ารดงึ ดดู กับ
แม่เหลก็ เป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชงิ
ประจักษ์
๔. ระบขุ วั้ แม่เหลก็ และพยากรณ์ผลท่ี
เกิดขนึ้ ระหวา่ งขัว้ แม่เหล็กเมือ่ นามา
เขา้ ใกลก้ นั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. ระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งท่ีมตี อ่ วตั ถุ ๑. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรง ๑. อธิบายการเกดิ และผลของแรง
จากหลักฐานเชิงประจักษ์ หลายแรงในแนวเดียวกันท่ีกระทาต่อ ไฟฟ้าซ่งึ เกิดจากวตั ถุทผ่ี ่านการ ขดั ถู
๒. ใช้เครอื่ งช่งั สปริงในการวดั น้าหนัก วัตถุในกรณีท่ีวัตถุอยู่น่ิงจากหลักฐาน
ของวัตถุ เชิงประจักษ์ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
๓. บรรยายมวลของวัตถทุ ม่ี ีผลตอ่ การ ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทา
เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจาก ต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรง
หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ลัพธท์ ่ีกระทาตอ่ วตั ถุ
๓. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงท่ี
กระทาตอ่ วตั ถุ
๔. ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานท่มี ตี อ่ การ
เปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจาก
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน
และแรงท่ีอยู่ในแนวเดียวกันท่ีกระทา
ต่อวตั ถุ

๒๐

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวัดชนั้ ปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑. บรรยายการเกิดเสียงและทิศ ๑. บรรยายแนวการเคล่อื นที่ของแสง ๑. ยกตวั อย่างการเปลย่ี นพลงั งานหน่งึ
ทางการเคลื่อนทขี่ องเสียงจาก จากแหล่งกาเนดิ แสง และอธิบายการ ไปเปน็ อกี พลงั งานหนึง่ จากหลักฐานเชิง
หลักฐานเชิงประจักษ์ มองเหน็ วัตถุ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
ประจักษ์ ๒. บรรยายการทางานของเครอ่ื งกาเนดิ
ป.๔ ๒. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้ของ ไฟฟ้าและระบุแหลง่ พลงั งานในการ
การมองเหน็ โดยเสนอแนะแนว ผลติ ไฟฟา้ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้
ทางการปอ้ งกนั อันตรายจากการมอง ๓. ตระหนกั ในประโยชน์และโทษของ
วตั ถทุ ่อี ยูใ่ นบริเวณทีม่ แี สงสว่างไม่ ไฟฟ้าโดยนาเสนอวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ ง
เหมาะสม ประหยดั และปลอดภัย

ป.๕ ป.๖

๑. จาแนกวตั ถเุ ป็นตัวกลางโปรง่ ใส ๑. อธบิ ายการไดย้ ินเสียงผา่ นตัวกลาง ๑. ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหน้าท่ี

ตวั กลางโปรง่ แสง และวัตถทุ บึ แสง จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้

จากลกั ษณะการมองเหน็ สิ่งต่าง ๆ ๒. ระบุตัวแปร ทดลองและอธิบาย อยา่ งง่ายจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

ผา่ นวัตถนุ ้ันเปน็ เกณฑโ์ ดยใชห้ ลักฐาน ลักษณะและการเกิด เสยี งสูง เสียงตา่ ๒. เขยี นแผนภาพและต่อวงจร ไฟฟา้

เชิงประจกั ษ์ ๓. ออกแบบการทดลองและอธิบาย อยา่ งง่าย

ลักษณะและการเกิด เสียงดัง เสียง ๓. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ย

ค่อย วธิ ที ี่เหมาะสมในการอธบิ ายวิธีการและ

๔. วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัด ผลของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รม

ระดับเสยี ง ๔. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรขู้ อง

๕. ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่อง การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมโดยบอก

ระดับเสียงโดยเสนอแนะแนวทางใน ประโยชน์และการประยกุ ต์ใช้ใน

การหลกี เลี่ยงและลดมลพษิ ทางเสียง ชวี ิตประจาวนั

๕. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย

วิธที เ่ี หมาะสมในการอธบิ ายการตอ่

หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน

๖. ตระหนักถึงประโยชน์ของความร้ขู อง

การตอ่ หลอดไฟฟ้า

แบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอก

ประโยชน์ ขอ้ จากดั และการประยกุ ตใ์ ช้

ในชวี ิตประจาวนั

๗. อธบิ ายการเกดิ เงามดื เงามัวจาก

หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

๘. เขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการ

เกิด เงามืดเงามวั

๒๑

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ
ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี อวกาศ

ตัวชี้วดั ช้นั ปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑.ระบดุ าวที่ปรากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลา - ๑. อธิบายแบบรูป เส้นทางการขึ้น

กลางวนั และกลางคนื จากข้อมูลที่ และตกของ ดวงอาทติ ยโ์ ดยใช้

รวบรวมได้ หลกั ฐานเชิง ประจักษ์

๒. อธิบายสาเหตทุ มี่ องไมเ่ หน็ ดาวสว่ น ๒. อธบิ ายสาเหตกุ ารเกิดปรากฏการณ์

ใหญใ่ นเวลากลางวันจากหลกั ฐานเชงิ การข้นึ และตกของดวงอาทติ ย์ การเกดิ

ประจักษ์ กลางวนั กลางคนื และการ กาหนดทิศ

โดยใช้ แบบจาลอง

๓. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของ ดวง

อาทิตย์ โดย บรรยายประโยชน์ของ

ดวงอาทติ ยต์ อ่ สง่ิ มีชีวติ

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. อธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขึ้น ๑. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาว ๑. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธิบายการเกดิ

และตกของ ดวงจนั ทร์ โดยใช้ เคราะห์และดาวฤกษจ์ ากแบบจาลอง และเปรยี บเทยี บ ปรากฏการณ์

หลกั ฐานเชิง ประจักษ์ ๒. ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและ สรุ ิยุปราคาและ จันทรุปราคา

๒. สรา้ งแบบจาลองที่ อธิบายแบบรูป เส้นทาง การขึ้นและตกของกลุ่มดาว ๒. อธบิ าย พฒั นาการ ของเทคโนโลยี

การเปลย่ี นแปลง รูปรา่ งปรากฏของ ฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบาย แบบรูป อวกาศ และ ยกตวั อยา่ งการนา

ดวงจนั ทร์ และพยากรณร์ ูปร่างปรากฏ เส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาว เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน

ของดวงจนั ทร์ ฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปี ชีวิตประจาวนั จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้

๓. สรา้ งแบบจาลอง แสดงองค์

ประกอบ ของระบบสรุ ยิ ะ และอธบิ าย

เปรียบเทยี บคาบ การโคจรของ ดาว

เคราะห์ตา่ งๆ

จากแบบจาลอง

๒๒

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง

ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง ผล
ต่อสิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม

ตัวช้ีวดั ชนั้ ปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑. อธบิ ายลักษณะภายนอกของ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของดิน และ ๑. ระบสุ ่วนประกอบของอากาศ บรรยาย
หินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ที่สังเกต จาแนกชนดิ ของดนิ โดยใชล้ กั ษณะ ความสาคญั ของอากาศ และผลกระทบของมลพิษ
ได้ เนอ้ื ดินและการจับตัวเป็นเกณฑ์ ทางอากาศ ตอ่ สง่ิ มชี ีวิต จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้
๒. อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากดนิ ๒. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของอากาศ โดยนาเสนอ
จากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการลดการเกดิ มลพิษทาง
อากาศ
๓. อธิบายการเกดิ ลมจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
๔. บรรยายประโยชน์และโทษของลมจากข้อมลู ท่ี
รวบรวมได้

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. เปรยี บเทยี บปริมาณนา้ ใน แต่ ๑. เปรียบเทียบปริมาณน้าใน แต่ละ ๑. เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ หนิ อัคนี หนิ
ละแหลง่ และระบปุ ริมาณนา้ ที่
มนษุ ย์สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ แหล่งและระบุปริมาณน้าที่มนุษย์ ตะกอน และหนิ แปร และอธิบาย วัฏจกั รหนิ จาก
ได้ จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ จาก แบบจาลอง
๒. บรรยายและยก ตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชนข์ อง
ข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ หินและแรใ่ นชีวิต ประจาวันจากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้
๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้า โดย ๓. สรา้ งแบบจาลองท่อี ธบิ ายการเกดิ ซากดกึ ดา

น าเสนอแนวทางการใช้ น้ าอย่ าง บรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของซาก
ประหยดั และการอนุรักษน์ ้า
ดกึ ดาบรรพ์

๓. สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการ ๔. เปรยี บเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ
รวมทั้งอธิบายผลทมี่ ีต่อสง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม
หมนุ เวียนของน้าในวัฏจักรนา้
๔. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ จากแบบจาลอง
หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็ง จาก ๕. อธิบายผลของมรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศ
ไทย จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้
แบบจาลอง
๕. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน ๖. บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของนา้ ท่วม การ
หิ ม ะ แ ล ะ ลู กเห็ บ จ าก ข้อมู ล ที่ กัดเซาะชายฝ่งั ดินถลม่ แผ่นดนิ ไหว สึนามิ
๗. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณี
รวบรวมได้
พิบตั ภิ ยั โดยนาเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวังและ

ปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภยั จากภยั ธรรมชาติและธรณี

พิบัติภัยทอ่ี าจเกดิ ในท้องถิน่

๘. สรา้ งแบบจาลองทอ่ี ธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์

เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก

ต่อสงิ่ มชี ีวิต

๙. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของปรากฏการณ์เรอื น

กระจกโดยนาเสนอแนวทาง การปฏิบัติตนเพือ่ ลด

กิจกรรมที่กอ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรือนกระจก

๒๓

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการ

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอยา่ ง เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่งิ แวดล้อม

ตัวชี้วัดชน้ั ปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓

---

ป.๔ ป.๕ ป.๖
---

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น

ข้นั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม

ตวั ช้ีวัดช้ันปี

ป.๑ ป.๒ ป.๓

๑. แกป้ ัญหาอยา่ งงา่ ย โดยใชก้ ารลอง ๑. แสดงลาดบั ขนั้ ตอนการทางาน ๑. แสดงอลั กอรทิ มึ ในการทางานหรือ
การแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ
ผดิ ลองถกู การเปรยี บเทยี บ หรอื การแกป้ ญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้ สญั ลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ
๒. เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
๒. แสดงลาดบั ขน้ั ตอนการทางาน ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ ซอฟตแ์ วรห์ รอื ส่ือ และตรวจหา
ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม
หรือการแก้ปญั หาอย่างงา่ ย โดยใช้ ๒. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ ๓. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้
๔. รวบรวม ประมวลผล และ
ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือข้อความ ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา นาเสนอขอ้ มลู โดยใช้ซอฟต์แวรต์ าม
วตั ถปุ ระสงค์
๓. เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ ขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั ปฏิบัตติ ามข้อตกลงในการ
ซอฟตแ์ วร์ หรือสื่อ ๓. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จดั ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต

๔. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จดั เก็บ หมวดหมู่ ค้นหา จัดเกบ็ เรียกใช้

เรียกใชข้ ้อมูลตามวัตถุ ประสงค์ ข้อมูลตามวตั ถปุ ระสงค์

๕. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ๔. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง

ปลอดภยั ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลงในการ ปลอดภัย ปฏบิ ตั ิ ตามขอ้ ตกลงใน

ใช้คอมพิวเตอรร์ ่วมกันดแู ลรกั ษา การใช้คอมพวิ เตอร์ รว่ มกนั ดูแล

อุปกรณเ์ บอ้ื งตน้ ใช้งานอย่าง รกั ษา อปุ กรณเ์ บือ้ งตน้ ใช้งานอย่าง

เหมาะสม เหมาะสม

๒๔

ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการ ๑ . ใช้ เห ตุ ผ ล เชิ งต รรก ะ ใน ก าร ๑. ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ าย

แกป้ ัญหา การอธิบายการทางาน การ แก้ปัญหา การอธิบาย การงาน การ และ ออกแบบวธิ กี าร แกป้ ญั หาทพี่ บ

คาดการณผ์ ลลพั ธ์ จากปญั หาอย่าง คาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่าง ใน ชีวิตประจาวัน

งา่ ย งา่ ย ๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่าง

๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรม ๒. ออกแบบและเขียน โปรแกรมท่ีมี งา่ ยเพ่ือแกป้ ัญหาในชีวิต ประจาวัน

อย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือสือ่ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผดิ พลาดของ โปรแกรม

และตรวจหาข้อผดิ พลาดและแก้ไข ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแกไ้ ข และแกไ้ ข

๓. ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตคน้ หาความรู้ และ ๓ . ใช้อิน เท อร์เน็ ต ค้ น ห าข้อมู ล ๓. ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตในการคน้ หาขอ้ มูล

ประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูล ติดต่อสื่อสาร และทางานร่วมกัน อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๔. รวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมลู ประเมินความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มลู ๔. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ทางาน

และสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟตแ์ วรท์ ่ี ๔. รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล ร่วมกนั อย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและ

หลากหลาย เพอ่ื แกป้ ญั หาใน และสารสนเทศ ตามวตั ถุประสงค์โดย หนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธขิ องผอู้ ืน่

ชวี ติ ประจาวัน ใช้ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ห รื อ บ ริ ก า ร บ น แจ้งผู้เกยี่ วขอ้ งเม่ือพบข้อมลู หรอื

๕. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง อินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย เพื่อ บคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม

ปลอดภัย เขา้ ใจ สิทธแิ ละหน้าที่ ของ แกป้ ัญหาใน ชีวติ ประจาวัน

ตน เคารพใน สทิ ธขิ องผอู้ นื่ แจง้ ๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง

ผู้เก่ียวขอ้ งเมอื่ พบขอ้ มูลหรอื บคุ คลท่ี ปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและ

ไมเ่ หมาะสม หนา้ ท่ขี องตน เคารพในสทิ ธิ ของผ้อู ่ืน

แจ้งผู้เก่ียวข้อง เมื่อพบข้อมูลหรือ

บคุ คล ท่ไี ม่เหมาะสม

ตัวชวี้ ัดสำระกำรเรยี นรู้แกนกล

ชั้นประถมศ

สำระท่ี ๑ วทิ ยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์

ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลยี่ นแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายข

ในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อมรวมทั้งนาความรู้ไปใ

รหัสตวั ชี้วดั ตัวช้วี ดั ส

ว ๑.๑ ป ๑/๑ ๑. ระบชุ ่อื พืชและสตั ว์ที่อาศัยอย่บู ริเวณต่าง -บริเวณต่า
ว ๑.๑ ป ๑/๒ ๆ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ต้นไม้ สวนห
หลายชนิดอ
๒. บอกสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมกับการ -บริเวณ ที่
ดารงชวี ติ ของสัตวใ์ นบรเิ วณท่ีอาศัยอยู่ แตกต่างกัน
บริเวณจะม

พืชและสัตว
น้า มีน้าเป็น
เป็นที่หลบภ

ปลา บริเวณ
อยู่ และมีอา
- ถ้าสภาพแ

อยู่มีการเป
ของพชื และ

๒๖

ลำงและสำระกำรเรียนรู้ท้องถ่นิ

ศึกษำปีที่ ๑

ระหว่างส่งิ ไมม่ ีชีวิตกับสงิ่ มีชีวิตและความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่งิ มีชีวติ กับส่ิงมชี วี ิตต่างๆ ใน

ของประชากรปัญหาและผลกระทบทมี่ ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แนวทาง

ใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น สนามหญ้า ใต้ -สารวจ สังเกต และรวบรวมพืช และสัตว์ท่ีพบ

หย่อม แหล่งน้า อาจพบพืชและสัตว์ บริเวณโรงเรยี นบา้ นหว้ ยแห้ง

อาศัยอยู่ -ตรวจสอบ และระบสุ ง่ิ มชี วี ติ ทพ่ี บบรเิ วณ

แตกต่างกันอาจพบพืชและสัตว์ โรงเรียนบา้ นหว้ ยแหง้

น เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละ -ระบุปัญหา เสนอแนวทางในการแก้ไข และ
มี ความเหมาะสมต่อการดารงชีวติ ของ อนรุ ักษส์ ภาพแวดลอ้ ม

ว์ ท่ีอาศัยอย่ใู นแตล่ ะบรเิ วณ เช่น สระ

นที่อยู่ อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย

ภัยและมี แหล่งอาหารของหอยและ

ณต้นมะม่วงมี ต้นมะม่วงเป็นแหล่งท่ี

าหารสาหรับกระรอกและมด

แวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัย

ปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อการดารงชีวิต

ะสัตว์

สำระที่ ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องสิง่ มชี ีวิต หน่วยพื้นฐานของสิง่

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

รหัสตัวชี้วดั ตัวชีว้ ดั - มนุษย์ม
ว ๑.๒ ป ๑/๑ แตกต่างก
๑. ระบชุ ื่อ บรรยายลักษณะและบอกหนา้ ท่ี เช่น ตามีห
ของสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และ ตาเพ่ือป้อ
พืช รวมท้ังบรรยายการทาหน้าทร่ี ว่ มกัน ของ ฟังเสียง โ
สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการทา ของเสียง
กิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ และมีริมฝ
หยิบ จับ
มีหน้าท่ีคว
ร่างกาย เป
ต่าง ๆ ขอ
ทากิจกรร
- สัตว์มีหล
ลักษ ณ ะ
เหมาะสม
แผ่น ส่วน
สาหรบั ใช

๒๗

งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของ
รงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันรวมทั้งนา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน

มีส่วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะและหน้าที่ -ระบุส่วนประกอบ และบอกหน้าที่ของอวัยวะ

กัน เพ่ือให้เหมาะสมในการดารงชีวิต ภายนอกของสัตว์และพืชที่พบบริเวณโรงเรียน

หน้าที่ ไว้มองดู โดยมีหนังตาและขน บา้ นหว้ ยแห้ง

องกันอันตรายให้กับตา หูมีหน้าท่ีรับ

โดยมีใบหูและรูหู เพ่ือเป็นทางผ่าน

ปากมีหน้าที่พูด กินอาหาร มีช่องปา

ฝีปากบนล่าง แขนและมือมีหน้าท่ียก

มีท่อนแขนและน้ิวมือที่ขยับได้ สมอง

วบคุมการทางานของส่วนต่าง ๆ ของ

ป็นกอ้ นอยู่ในกะโหลกศีรษะ โดยส่วน

องร่างกายจะทาหน้าที่ร่วมกันในการ

รม ในชีวิตประจาวัน

ลายชนิด แต่ละชนิดมีส่วนต่าง ๆ ท่ีมี

ะแล ะห น้ าที่ แ ตก ต่ างกัน เพ่ื อให้

ม ในการดารงชีวิต เช่น ปลามีครีบเป็น

นกบ เต่า แมว มีขา ๔ ขาและมีเท้า

ใ้ นการเคลื่อนท่ี

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้วี ดั
ว ๑.๒ ป๑/๒
- พืชมีส่ว

แตกต่างก

โดยท่ัวไป

แขนงเป็น

ลักษณะเป

ทาหน้าที่

เปน็ แผน่ แ

พืชหลายช

หน้าที่สืบ

ห่อหุ้มเมล

ใหมไ่ ด้

๒. ตระหนกั ถึงความสาคัญของส่วนตา่ ง ๆ ของ - มนุษย์ใช

รา่ งกายตนเอง โดยการดแู ลส่วนต่าง ๆ กิจกรรมต

อยา่ งถูกต้อง ใหป้ ลอดภัย และรกั ษา ความ ใช้ส่วนตา่ ง

สะอาดอยเู่ สมอ ปลอดภัย

ใชต้ ามองต

ดูแลตาให

ความสะอ

๒๘

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณ ะและหน้าท่ี -
กัน เพื่อให้เหมาะสมในการดารงชีวิต
ป รากมีลักษณะเรียวยาว และแตก
นรากเล็ก ๆ ทาหน้าที่ดูดน้า ลาต้นมี
ป็นทรงกระบอกตั้งตรงและมีกิ่งก้าน
ชูกิ่งก้าน ใบ และดอก ใบมีลักษณะ
แบน ทาหน้าทีส่ ร้างอาหาร นอกจากน้ี
ชนิดอาจมีดอกที่มีสี รูปร่างต่าง ๆ ทา
บพันธ์ุ รวมท้ังมีผลท่ีมีเปลือก มีเน้ือ
ล็ด และมีเมล็ดซ่ึงสามารถงอกเป็นต้น

ชส้ ่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทา
ตา่ ง ๆ เพื่อการดารงชีวิต มนุษย์จึงควร
ง ๆของรา่ งกายอยา่ งถูกต้อง
และรักษา ความสะอาดอยู่เสมอ เช่น
ตัวหนงั สือในที่ ๆ มีแสงสว่างเพยี งพอ
ห้ปลอดภยั จากอันตราย และรักษา
อาดตาอยู่เสมอ

สำระที่ ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มำตรฐำน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของกา

พนั ธกุ รรมทีม่ ผี ลต่อสง่ิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการขอ

รหัสตวั ชี้วดั ตัวชี้วัด
- -

สำระท่ี ๒ วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ

มำตรฐำน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สา

รหสั ตัวชี้วัด ตัวชีว้ ดั
ว ๒.๑ ป ๑/๑
๑. อธิบายสมบตั ทิ ีส่ ังเกตได้ของวัสดทุ ใ่ี ชท้ าวัตถุ -วัสดุท่ีใ
ว ๒.๑ ป ๑/๒
ซง่ึ ทาจากวัสดุชนดิ เดยี ว หรือหลายชนิด ชนิด เช

ประกอบกันโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ กระดาษ

๒. ระบชุ นดิ ของวัสดุและจัดกลมุ่ วสั ดตุ าม ได้ต่าง ๆ

สมบตั ทิ ี่สังเกตได้ ยืดหดได

- สมบตั

เหมือนก

จัดกลมุ่ ว

ประกอบ

กระดุม

๒๙

ารถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง

องสงิ่ มชี ีวติ รวมทง้ั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน
- -

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ ง

ารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น

ใช้ทาวัตถุที่เป็นของเล่น ของใช้ มีหลาย -อธิบายสมบัติของวัสดุท่ีใช้ทาอุปกรณ์และ

ช่น ผ้า แก้ว พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน เครอื่ งมือในการเกษตร

ษ โลหะ วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติท่ีสังเกต

ๆ เช่น สี นุ่ม แข็ง ขรุขระ เรียบ ใส ขุ่น

ด้ บดิ งอได้

ตทิ ี่สงั เกตได้ของวสั ดแุ ต่ชนดิ อาจ

กัน ซ่ึงสามารถนามาใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการ

วัสดุได้ วัสดุบางอยา่ งสามารถนามา

บกนั เพอื่ ทาเป็นวตั ถตุ ่าง ๆ เช่น ผา้ และ

ใชท้ าเส้อื ไมแ้ ละโลหะ ใชท้ ากระทะ

สำระท่ี ๒ วิทยำศำสตร์กำยภำพ

มำตรฐำน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลขอ

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวดั
- -

สำระที่ ๒ วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแ

ชวี ติ ประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท์ ี่เก่ยี วข้องกบั เสยี ง แสง และ

รหัสตัวชี้วดั ตัวช้วี ัด -เสียงเกิด
ว ๒.๓ ป ๑/๑ เสียงเป็นแ
๑. บรรยายการเกดิ เสยี งและทิศทาง การ เสียงตาม
เคล่อื นที่ของเสยี งจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ม นุ ษ ย์ส
แหล่งกาเน

๓๐

องแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนา

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่
- -

และการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานใน

ะคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

ดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุท่ีทาให้เกิด -จาแนกแหล่งท่ีมาของเสียงรอบ ๆ โรงเรียน

แหล่งกาเนิดเสียงซึ่งมีทั้งแหล่งกาเนิด บ้านห้วยแห้ง เช่น กิจกรรมฟังเสียงธรรมชาติ

มธรรมชาติและแหล่งกาเนิดเสียงท่ี รน่ื รมย์

ร้างขึ้ น เสี ยงเค ลื่ อน ที่ อ อ กจาก

นิดเสยี งทกุ ทิศทาง

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด

ปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสุริยะทส่ี ่งผลต่อส่ิงมีชวี ิตและการประยุกตใ์ ช้เทคโนโล

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชี้วดั

ว ๓.๑ ป ๑/๑ ๑. ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน - บนท้อ

และกลางคนื จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ซ่ึงในเวล

ว ๓.๑ ป ๑/๒ ๒. อธบิ ายสาเหตทุ ่ีมองไมเ่ ห็นดาวส่วนใหญ่ ใน อาจมอง
เวลากลางวันจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ไมส่ ามา
-ใน เว ล

เน่ืองจา

ดาว ส่ว

มองเห็น

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระ

กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลกรวมท้ังผลต่อสิ่งมีชีว

รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชวี้ ัด

ว ๓.๒ ป ๑/๑ ๑. อธิบายลักษณะภายนอกของหนิ จาก -หินที่อ

ลักษณะเฉพาะตวั ที่สงั เกตได้ เฉพาะต

ความแข

๓๑

ด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ัง

ลยีอวกาศ

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว สังเกตดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและ

ลากลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตย์และ กลางคืน ท่บี ้าน /โรงเรยี น
งเห็นดวงจันทร์บางเวลาในบางวัน แต่
ารถมองเหน็ ดาว -

า ก ล า ง วั น ม อ ง ไม่ เห็ น ด า ว ส่ ว น ให ญ่

ากแสงอาทิตย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของ

วนในเวลากลางคืนจะมองเห็นดาวและ

นดวงจนั ทร์ เกอื บทุกคืน

บบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย

วติ และส่งิ แวดล้อม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น

อยู่ในธรรมชาติมีลักษณ ะภายนอก -สังเกตลักษณะของหินท่ีพบบริเวณโรงเรียน

ตัว ที่สังเกตได้ เช่น สี ลวดลาย น้าหนัก บ้านหว้ ยแหง้ ชมุ ชนของตนเอง

ข็ง และเนือ้ หนิ

สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มำตรฐำน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารง

วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแกป้ ัญหา หรือพฒั นางานอย

เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อ

รหัสตัวชี้วัด ตัวชวี้ ดั
- -

สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มำตรฐำน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญห

และการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธ

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด
ว ๔.๒ ป ๑/๑
๑. แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถูก - การแก้ป

การเปรียบเทยี บ ใช้ขน้ั ตอน

- ปัญหาอ

แตกตา่ งข

ว ๔.๒ ป ๑/๒ ๒. แสดงลาดบั ข้ันตอนการทางาน หรือ การ - การแสด
แก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรือ เขยี น บอก
ขอ้ ความ - ปัญหาอ
แตกตา่ งข

๓๒

งชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ค วามรู้และทักษะทางด้าน

ย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้

อม

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ
- -

หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ

ปัญหาให้ประสบความสาเร็จทาได้โดย แกป้ ัญหาต่างๆในการดาเนนิ กิจกรรมประจาวนั

นการแก้ปัญหา ในโรงเรียนบ้านห้วยแหง้ ได้ เช่น การวางรองเท้า

อย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด การจัดกระเปา๋ นักเรยี น การจัดเก็บอุปกรณ์แปรง
ของภาพการจดั หนงั สอื ใส่กระเปา๋ ฟันฯลฯ

ดงขน้ั ตอนการแก้ปญั หาทาได้โดยการ -
กเล่า วาดภาพ หรอื ใช้สญั ลกั ษณ์
อย่างงา่ ย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจดุ
ของภาพ การจดั หนังสือใส่กระเปา๋

รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้วี ัด - การเขีย
ว ๔.๒ ป ๑/๓ ๓. เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ คาสั่ง ใหค้
หรือสื่อ - ตัวอย่าง
ว ๔.๒ ป ๑/๔ ตัวละครย
๔. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดเก็บ เรียกใช้ รูปร่าง
ขอ้ มูลตามวตั ถุประสงค์ - ซอฟต์แว
เช่น ใช้บั
Code.org

- การใชง้ า
การใช้เมา
อปุ กรณ์เท
-การใช้งาน
และออกจ
จดั เก็บ กา
โปรแกรมป
โปรแกรมน
-การสร้าง
ให้เรียกใช

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓๓
ยนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของ
คอมพวิ เตอร์ทางาน สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
งโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมส่ังให้ -
ย้ายตาแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลี่ยน
-
วร์ หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
ต ร คาสั่ งแ ส ด งการเขีย น โป รแ กรม ,
g
านอุปกรณเ์ ทคโนโลยเี บอื้ งตน้ เชน่
าส์ คียบ์ อรด์ จอสัมผัส การเปิด-ปิด
ทคโนโลยี
นซอฟต์แวรเ์ บื้องต้น เชน่ การเขา้
จากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การ
ารเรยี กใช้ไฟล์ ทาได้ในโปรแกรม เช่น
ประมวลคา โปรแกรมกราฟิก
นาเสนอ
งและจดั เก็บไฟลอ์ ยา่ งเป็นระบบจะทา
ช้ ค้นหาข้อมูลไดง้ ่ายและรวดเรว็

รหสั ตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด - การใช้เท
ว ๔.๒ ป ๑/๕ เช่น รู้จัก
๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เผ ย แ พ ร่ ข
ปฏบิ ัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ ส่วนตัวกับ
ร่วมกัน ดแู ลรักษาอุปกรณเ์ บื้องตน้ ใช้งาน แจ้งผู้เก่ีย
อย่างเหมาะสม เก่ยี วกบั กา
- ข้อปฏิบ
อุปกรณ์ เ
สะอาด ใช
- การใช้ง
ถูกต้อง ก
เวลานาน

๓๔

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
กข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการ
ข้อมูลส่วนตัว และไม่บอกข้อมูล
บบุคคลอื่นยกเว้นผู้ปกครอง หรือครู
ยวข้องเม่ือต้องการ ความช่วยเหลือ
ารใชง้ าน
บัติในการใช้งานและการดูแลรักษา
เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความ
ชอ้ ุปกรณอ์ ยา่ งถกู วิธี
งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้
ก า ร พั ก ส า ย ต า เม่ื อ ใช้ อุ ป ก ร ณ์ เป็ น
ระมัดระวังอุบตั เิ หตจุ ากการใช้งาน

ตัวชีว้ ัดและสาระกา

ชนั้ ประถมศ

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความส

ส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแท

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมช

รหัสตวั ช้ีวัด ตัวชว้ี ัด

--

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องส่ิงมชี ีวติ หน่วยพืน้ ฐานของสิ่ง

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

รหสั ตัวชี้วัด ตวั ช้วี ัด

ว ๑.๒ ป ๒/๑ ๑. ระบวุ า่ พืชตอ้ งการแสงและนา้ เพอ่ื การเจรญิ - พืชต้องก

เตบิ โต โดยใชข้ อ้ มูลจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

ว ๑.๒ ป ๒/๒ ๒. ตระหนกั ถงึ ความจาเป็นท่ีพชื ต้องได้รบั นา้
และแสงเพื่อการเจรญิ เติบโต โดยดแู ลพชื ให้ได้
รบั สง่ิ ดังกล่าวอยา่ งเหมาะสม

๓๕

ารเรยี นรแู้ กนกลาง

ศกึ ษาปที ี่ ๒

สมั พันธ์ระหว่างสิง่ ไม่มีชีวิตกับสง่ิ มีชีวติ และความสัมพันธ์ระหวา่ งสิง่ มีชวี ิตกับ

ทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ

ชาติและการแกไ้ ขปญั หาส่งิ แวดลอ้ มรวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ

--

งมชี ีวิต การลาเลยี งสารผา่ นเซลล์ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าทขี่ อง
รงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันร วมทั้งนา

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่
การนา้ แสง เพ่ือการเจรญิ เตบิ โต
-นาพืชท้องถิ่นหรือบริเวณโรงเรียนบ้านห้วย
แ ห้ ง ม าท ด ล อ งเกี่ ย ว กั บ ปั จ จั ย ใน ก า ร
เจริญเตบิ โตของพืช

-ปลูกพืชอย่างง่าย เช่นหัวหอมแดง บริเวณ
ห้องเรียนหรือสวนโรงเรียนบ้านหว้ ยแห้ง

รหัสตัวชี้วดั ตัวช้ีวัด - พืชดอ
ว ๑.๒ ป ๒/๓ การสืบพ
๓. สรา้ งแบบจาลองท่บี รรยายวฏั จักรชวี ิตของ เมล็ด เม
พืชดอก จะเจริญ
เจริญเติ
อีกหมุน
ดอก

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่าย

ท่มี ีผลต่อสง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ

รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ดั

ว ๑.๓ ป ๒/๑ ๑. เปรียบเทยี บลักษณะของสิ่งมชี วี ิตและ - ส่ิงที่อยู่

ส่งิ ไมม่ ชี วี ิต จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ สิ่งไม่มีชีว

หายใจ เ

ตอบสนอ

ลักษณะค

ไม่มีลักษณ

๓๖

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน
-
อกเมื่อเจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมี
พันธ์ุเปล่ียนแปลงไปเปน็ ผล ภายในผลมี
ม่ือเมล็ดงอก ต้นอ่อนท่ีอยู่ภายในเมล็ด
ญ เติบโตเป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่จะ
บโต ออกดอกเพ่ือสืบพันธ์ุมีผลต่อไปได้
นเวียนต่อเนื่องเป็นวัฏจักรชีวิตของพืช

ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม

ต รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน

รอบตัวเรามีท้ังที่เป็นสิ่งมีชีวิตและ -สารวจสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิตในห้องเรียน

วิต ส่ิงมีชีวิตต้องการอาหาร มีการ และบรเิ วณรอบ โรงเรียนบ้านห้วยแห้ง

เจริญ เติบโต ขับถ่าย เคลื่อนไหว

องต่อส่ิงเร้า และสืบพันธ์ุได้ลูกที่มี

คล้ายคลึงกับพ่อแม่ ส่วนสิ่งไม่มีชวี ิตจะ

ณะดังกล่าว

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สา

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชี้วัด

ว ๒.๑ ป ๒/๑ ๑. เปรียบเทียบสมบตั ิการดดู ซับนา้ ของวัสดุ - วัสดุแต่ล

โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ และระบกุ ารนา กัน จึงนาไ

สมบัติการดดู ซับน้าของวสั ดไุ ปประยกุ ต์ใช้ ใน กัน เช่น ใช

การทาวัตถใุ นชีวิตประจาวนั พลาสตกิ

ว ๒.๑ ป ๒/๒ ๒. อธิบายสมบัตทิ ่ีสงั เกตได้ของวัสดทุ เ่ี กิดจาก - วัสดบุ า

การนาวสั ดมุ าผสมกนั โดยใช้หลกั ฐานเชิง ไดส้ มบัติท

ประจกั ษ์ ตอ้ งการ เ

ทาขนมไท

ทากระปกุ

ทาคอนกร

ว ๒.๑ ป ๒/๓ ๓. เปรียบเทียบสมบตั ิท่สี งั เกตได้ของวัสดุ เพื่อ - การนาว

นามาทาเป็นวตั ถุในการใชง้ านตามวัตถปุ ระสงค์ วัตถุประส

และอธิบายการนาวสั ดุทีใ่ ชแ้ ล้วกลับมาใช้ใหม่ แล้วอาจน

โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แล้ว อาจน

ว ๒.๑ ป ๒/๔ ๔. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องการนาวัสดุที่ใช้ ประดษิ ฐ์ ถ

แลว้ กลบั มาใช้ใหม่ โดยการนาวสั ดทุ ใี่ ชแ้ ลว้

กลบั มาใชใ้ หม่


Click to View FlipBook Version