The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunshine Wind, 2022-09-16 02:12:11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

๑๒๐

อภธิ านศัพท์
ศพั ทท์ ี่เกยี่ วขอ้ งกับตวั ชี้วัดกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

๑ กาหนดปัญหา define problem ระบุคาถาม ประเด็นหรือ สถานการณ์ท่ีเป็นข้อสงสัย

เพ่อื นาไปสกู่ ารแกป้ ญั หาหรือ อภิปรายรว่ มกนั

๒ แกป้ ัญหา solve problem หาคาตอบของปัญหาที่ยังไม่รู้ วิธีการมาก่อน ทั้ง

ปัญหาท่ี เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ โดยตรงและ

ปัญหาในชีวิต ประจาวันโดยใช้เทคนิคและ วิธีการ

ต่างๆ

๓ เขียนแผนผัง/วาดภาพ construct diagram/ นาเสนอข้อมูลหรือผลการสารวจ ตรวจสอบด้วย

illustrate แผนผงั กราฟ หรือภาพวาด

๔ คาดคะเน Predict คาดการณ์ผลท่ีจะเกิดข้นึ ในอนาคต โดยอาศยั ข้อมูลท่ี

สังเกตได้ และประสบการณท์ ี่มี

๕ คานวณ Calculate หาผลลัพธ์จากข้อมูล โดยใช้ หลักการ ทฤษฎีหรือ

วธิ กี ารทาง คณติ ศาสตร์

๖ จาแนก Classify จัดกลุ่มของสิ่งต่างๆ โดยอาศัย ลักษณะท่ีเหมือนกัน

เปน็ เกณฑ์

๗ ตัง้ คาถาม ask question พูดหรือเขียนประโยค หรือวลี เพ่ือให้ได้มาซึ่งการ

คน้ หา คาตอบท่ีต้องการ

๘ ทดลอง conduct/experiment ปฏิบัติการเพ่ือหาคาตอบ ของคาถาม หรือปัญหาใน

การ ทดลอง โดยต้ังสมมติฐานเพ่ือ เป็นแนวทางใน

การกาหนด ตัวแปรและวางแผนดาเนินการ เพ่ือ

ตรวจสอบสมมตฐิ าน

๙ นาเสนอ Present แสดงข้อมูล เร่ืองราว หรือ ความคิด เพ่ือให้ผู้อื่นรับรู้

หรอื พิจารณา

๑๐ บรรยาย Describe ให้รายละเอียดของเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ท่ี

เกิดขน้ึ ให้ ผู้อ่นื ไดร้ บั รู้ดว้ ยการบอก หรือเขียน

๑๑ บอก Tell ใหข้ อ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริง แก่ผอู้ ื่น ด้วยการพดู หรอื เขียน

๑๒ บนั ทึก Record เขียนข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต เพ่ือช่วยจา หรือเพ่ือ

เป็นหลักฐาน

๑๓ เปรยี บเทยี บ Compare บอกความเหมือน และ/หรือ ความแตกต่าง ของสิ่งท่ี

เทยี บเคียงกัน

๑๒๑

ท่ี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

๑๔ แปลความหมาย Interpret แสดงความหมายของข้อมูล จากหลักฐานท่ีปรากฏ

เพอ่ื ลงข้อสรปุ

๑๕ ยกตวั อย่าง give examples ให้ข้อมูลเหตุการณ์หรือสถานการณ์ เพื่อแสดงความ

เขา้ ใจในสิง่ ทไ่ี ด้ เรียนรู้

๑๖ ระบุ identify ชบ้ี อกสงิ่ ตา่ งๆ โดยใช้ข้อมูล ประกอบอย่างเพยี งพอ

๑๗ เลือกใช้ select พิจารณา และตัดสินใจนาวัสดุ สิ่งของ อุปกรณ์หรือ

วธิ ีการ มาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม

๑๘ วัด measure หาขนาด หรือปริมาณ ของ สิ่งต่างๆ โดยใช้เคร่ืองมือ

ทเ่ี หมาะสม

๑๙ วเิ คราะห์ analyze แยกแยะ จัดระบบ เปรียบเทียบ จัดลาดับ จัด

จาแนก หรือ เชอ่ื มโยงข้อมูล

๒๐ สร้างแบบจาลอง construct model นาเสนอแนวคิด หรือเหตุการณ์ ในรูปของแผนภาพ

ช้ินงาน สมการ ข้อความ คาพูดและ/ หรือใช้

แบบจาลองเพ่ืออธิบาย ความคิด วัตถุ หรือเหตุการณ์

ตา่ งๆ

๒๑ สังเกต Observe หาข้อมูลด้วยการใช้ประสาท สัมผัสทั้งห้า ท่ี

เหมาะสมตาม ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ โดยไม่ใช้

ประสบการณเ์ ดมิ ของผ้สู ังเกต

๒๒ สารวจ explore หาข้อมูลเก่ียวกับสิ่งต่างๆ โดยใช้วีธีการและเทคนิคท่ี

เหมาะสม เพื่อนาข้อมูลมาใช้ ตามวัตถุประสงค์ที่

กาหนดไว้

๒๓ สบื คน้ ขอ้ มลู search หาข้อมูล หรือข้อสนเทศท่ีมี ผู้รวบรวมไว้แล้วจาก

แหลง่ ต่างๆ มาใชป้ ระโยชน์

๒๔ สื่อสาร communicate นาเสนอ และแลกเปล่ียน ความคิด ข้อมูล หรือผล

จากการ สารวจตรวจสอบ ดว้ ยวธิ ี ที่เหมาะสม

๒๕ อธบิ าย explain กล่าวถึงเร่ืองราวต่างๆ อย่างมี เหตุผล และมีข้อมูล

หรือ ประจกั ษพ์ ยานอ้างองิ

๒๖ อภิปราย discuss แสดงความคิดเห็นต่อประเด็น หรือคาถามอย่างมี

เหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ ของผู้

อภปิ รายและขอ้ มลู ประกอบ

๒๗ ออกแบบการทดลอง design experiment กาหนด และวางแผนวิธีการ ทดลองให้สอดคล้องกับ

สมมติฐานและตัวแปรต่างๆ รวมทัง้ การบนั ทกึ ขอ้ มูล

๑๒๒

ศพั ทท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ตวั ชว้ี ัดสาระเทคโนโลยี

ที่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ความหมาย

๑ การใช้ลิขสิทธ์ิของผู้อื่น fair use การนาส่ือ หรือข้อมูลที่เป็น ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นไปใช้โดย

โดยชอบธรรม ชอบ ด้วยกฎหมาย ภายใต้เงื่อนไข บางประการ เช่น ๑)

นาไปใช้ในการศึกษา หรือ การค้า ๒) งานนั้นเป็นงาน

วิชาการ หรือ บันเทิง ๓) คัดลอกเพียงส่วนน้อย หรือ

คัดลอกจานวนมาก ๔) ทาให้เจ้าของเสียผลประโยชน์

ทางการเงิน มากนอ้ ยเพยี งใด

๒ การตรวจและแก้ไข debugging กระบวนการในการค้นหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม เพ่ือ

ข้อผิดพลาด แก้ไขใหท้ างานได้ถูกต้อง

๓ การประมวลผลข้อมลู data การดาเนินการต่างๆ กับข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มี

processing ความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนา ไปใช้งานมาก

ยง่ิ ขึ้น

๔ การรวบรวมข้อมลู data กระบวนการในการรวบรวม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่ง

collection ข้อมูลตา่ งๆ

๕ ข้อมลู ปฐมภมู ิ primary data ข้อมูลที่รวบรวมโดยตรง จากแหล่งข้อมูลขั้นต้น โดยอาจ

ใชว้ ิธีการสังเกต การทดลอง การสารวจ การสัมภาษณ์

๖ เทคโนโลยี technology สิ่งท่ีมนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซ่ึงอาจเป็นได้ท้ังชิ้นงาน

หรือ วิธีการ เพ่ือใช้แก้ปัญหาสนอง ความต้องการ หรือ

เพิ่ม ความสามารถในการทางาน ของมนุษย์

๗ แนวคิดเชิงคานวณ computational กระบวนการในการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์อย่างมี

thinking เหตุผล เป็นข้ันตอน เพ่ือหาวิธีการ แก้ปัญหาในรูปแบบท่ี

สามารถ นาไปประมวลผลได้

๘ แนวคิดเชงิ นามธรรม abstraction พิจารณารายละเอียดท่ีสาคัญ ของปัญหา แยกแยะ

การ สาระสาคญั ออกจากสว่ นทไี่ มส่ าคัญ

๙ ระบบทางเทคโนโลยี technological กลุ่มของส่วนต่างๆ ต้ังแต่ สองส่วนข้ึนไป ประกอบเข้า

system ด้วยกัน และทางานร่วมกัน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์

โดยในการทางานของระบบ ทางเทคโนโลยจี ะประกอบไป

ด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และ

ผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากน้ีระบบทาง

เทคโนโลยี อาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้

ปรับปรุง การทางานไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์

๑๒๓

ท่ี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย
๑๐ เหตุผลเชิงตรรกะ logical การใช้เหตุผล กฎ กฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่เก่ียวข้อง เพื่อ
๑๑ เหตุผลวิบตั ิ reasoning แก้ปัญหาได้ครอบคลมุ ทุกกรณี
logical fallacy การใช้เหตุผลที่ผิดพลาดไม่อยู่บน พ้ืนฐานของความจริง
๑๒ อัตลักษณ์ ไม่มีน้าหนัก สมเหตุสมผลมาสนับสนุน หรือ ชี้นาข้อสรุป
Identity ทผี่ ดิ ให้ดนู ่าเชอ่ื ถือ
๑๓ อลั กอริทึม ลักษณะเฉพาะหรือข้อมูลสาคัญ ท่ีบ่งบอกถึงความเป็น
algorithm ตัวตนของ บุคคลหรือส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เช่น ช่ือบัญชีผู้ใช้
๑๔ แอปพลเิ คชนั ใบหนา้ ลายนวิ้ มอื
software ขั้นตอนในการแก้ปัญหาหรือ การทางาน โดยมีลาดับของ
application คาส่ังหรือวิธีการท่ีชัดเจน ท่ีคอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติ
ตามได้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ีทางาน บนคอมพิวเตอร์สมาร์ตโฟน
แท็บเลต็ หรอื อุปกรณ์เทคโนโลยี อนื่ ๆ

๑๒๔

สว่ นท่ี ๒

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา

โรงเรียนวัดบางหญ้าแพรกเป็นโรงเรียนจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีท่ี ๑ ถึง ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๖ ในการจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ันโรงเรียนได้
ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยได้กาหนดรายละเอียดของรหัสวิชา ช่ือวิชา และ
โครงสร้างรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโรงเรียนวดั บางหญา้ แพรก ไวด้ งั นี้

๑๒๕

โครงสรา้ งเวลาเรียน
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบางหญ้าแพรก พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา

เวลาเรียน

กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดบั ประถมศกึ ษา

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔. ป.๕ ป.๖

กล่มุ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

-วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

-วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

ภาษาต่างประเทศ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน) ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

๑.กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๒.ลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

๓.กิจกรรมชมรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๔.กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
ประโยชน์

รายวิชาเพิ่มเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

ตา้ นทจุ ริต ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐

ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ซ่อมเสริม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นเกาะน้อย ๑๒๖
ระดับประถมศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๙๒๐
รายวิชา/กิจกรรม ๒๐๐
รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐
๘๐
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๔๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๔๐
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๔๐
๔๐
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ๔๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑ ๔๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ๒๐๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๑๒๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐
รายวิชาเพม่ิ เติม
ส ๑๑๒๐๑ ต้านทุจรติ ๑ ๔๐(๓๐/๑๐)
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐
๑.แนะแนว ๑๒๐
๒.ลกู เสือ-เนตรนารี และกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กิจกรรมชมุ นมุ /ชมรม ๔๐
กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
๑.ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซอ่ มเสริม

รวมเวลาเรียน

* หมายเหตุ ผ้เู รียนทากจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นเกาะน้อย ๑๒๗
ระดับประถมศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๘๘๐
รายวิชา/กิจกรรม ๒๐๐
รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐
๘๐
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๔๐
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๔๐
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ๔๐
๔๐
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ๔๐
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๒ ๔๐
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ ๒๐๐
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ ๑๒๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๔๐
รายวิชาเพม่ิ เติม
ส ๑๑๒๐๒ ต้านทุจรติ ๒ ๔๐(๓๐/๑๐)
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐
๑.แนะแนว ๑๒๐
๒.ลกู เสือ-เนตรนารี และกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กิจกรรมชมุ นมุ /ชมรม ๔๐
กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
๑.ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซอ่ มเสริม

รวมเวลาเรียน

* หมายเหตุ ผ้เู รียนทากจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นเกาะน้อย ๑๒๘
ระดับประถมศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๘๘๐
รายวิชา/กิจกรรม ๒๐๐
รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐
๘๐
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๔๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๔๐
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๔๐
๔๐
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ๔๐
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๓ ๔๐
ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๒๐๐
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๑๒๐
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๔๐
รายวิชาเพม่ิ เติม
ส ๑๑๒๐๓ ต้านทุจรติ ๓ ๔๐(๓๐/๑๐)
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐
๑.แนะแนว ๑๒๐
๒.ลกู เสือ-เนตรนารี และกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กิจกรรมชมุ นมุ /ชมรม ๔๐
กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
๑.ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซอ่ มเสริม

รวมเวลาเรียน

* หมายเหตุ ผู้เรียนทากจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นเกาะน้อย ๑๒๙
ระดับประถมศกึ ษา
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๘๘๐
รายวชิ า/กิจกรรม ๑๖๐
รายวชิ าพื้นฐาน ๑๖๐
๘๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๔๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๘๐
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ ๔๐
๘๐
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔ ๘๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔ ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๔๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๔๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๑๒๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ ๔๐
รายวิชาเพมิ่ เติม
ส ๑๑๒๐๔ ตา้ นทุจรติ ๔ ๔๐(๓๐/๑๐)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑.แนะแนว ๒๐๐
๒.ลูกเสอื -เนตรนารี และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กิจกรรมชมุ นุม/ชมรม ๑๒๐
กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร
๑.ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซ่อมเสริม

รวมเวลาเรียน

* หมายเหตุ ผูเ้ รียนทากจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นเกาะน้อย ๑๓๐
ระดับประถมศกึ ษา
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๘๘๐
รายวชิ า/กิจกรรม ๑๖๐
รายวชิ าพื้นฐาน ๑๖๐
๘๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๔๐
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๘๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๔๐
๘๐
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ๘๐
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ๕ ๘๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๔๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๔๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๑๒๐
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ ๔๐
รายวิชาเพมิ่ เติม
ส ๑๑๒๐๕ ตา้ นทุจรติ ๕ ๔๐(๓๐/๑๐)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑.แนะแนว ๒๐๐
๒.ลูกเสอื -เนตรนารี และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กิจกรรมชมุ นุม/ชมรม ๑๒๐
กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร
๑.ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซ่อมเสริม

รวมเวลาเรียน

* หมายเหตุ ผูเ้ รียนทากจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นวัดเกาะน้อย ๑๓๑
ระดับประถมศกึ ษา
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลาเรียน (ชม./ป)ี
๘๘๐
รายวิชา/กิจกรรม ๑๖๐
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๖๐
๘๐
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๔๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๘๐
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๔๐
๘๐
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ๘๐
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ๖ ๘๐
ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๖ ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๖ ๔๐
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ ๔๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๑๒๐
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ ๔๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม
ส ๑๑๒๐๖ ตา้ นทุจริต ๖ ๔๐(๓๐/๑๐)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑.แนะแนว ๒๐๐
๒.ลกู เสอื -เนตรนารี และกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๘๐
๓.กจิ กรรมชมุ นมุ /ชมรม ๑๒๐
กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร
๑.ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ ๑,๒๐๐
๒.ซอ่ มเสรมิ

รวมเวลาเรยี น

* หมายเหตุ ผเู้ รยี นทากจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี

๑๓๒

โครงสรำ้ งหลักสูตรช้นั ปี
ระดับประถมศึกษำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑

วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ รหัสวิชา ว๑๑๑๐๑ ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ๑๒๐ ช่วั โมง/ปี

ประกอบด้วย วทิ ยาศาสตร์ ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ๘๐ ชว่ั โมง/ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒

วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ รหสั วิชา ว๑๒๑๐๑ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ๑๒๐ ชั่วโมง/ปี

ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๘๐ ช่วั โมง/ปี

วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ๔๐ ช่วั โมง/ปี

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓

วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ รหัสวิชา ว๑๓๑๐๑ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๑๒๐ ชั่วโมง/ปี

ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ปี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔

วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ รหสั วชิ า ว๑๔๑๐๑ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑๒๐ ชั่วโมง/ปี

ประกอบด้วย วทิ ยาศาสตร์ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ปี

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕

วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ รหสั วชิ า ว๑๕๑๐๑ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๑๒๐ ชัว่ โมง/ปี

ประกอบดว้ ย วิทยาศาสตร์ ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ๘๐ ช่ัวโมง/ปี

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๔๐ ช่วั โมง/ปี

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ รหัสวิชา ว๑๖๑๐๑ ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ๑๒๐ ช่ัวโมง/ปี

ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์ ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ๔๐ ชวั่ โมง/ปี

๑๓๓

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
รหสั วชิ า ว๑๑๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง / ปี

ชอ่ื หน่วยกำรเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

รหสั ตัวช้ีวดั จำนวน นำ้ หนัก
คะแนน
(ช่วั โมง)
๑๐
หนว่ ยที่ ๑ การเรียนรู้ส่ิงตา่ งๆรอบตัว บรู ณาการ ๑๐
๑๕
- เรียนรแู้ บบนกั วิทยาศาสตร์ (การสบื เสาะหาความรู้) และทักษะทางวทิ ยาศาสตร์
๑๐
- เรยี นรู้แบบนกั วิทยาศาสตร์ (การสงั เกตและการลง ๑๕

ความเหน็ จากข้อมูล) ๑๐

- เรียนรแู้ บบนกั วิทยาศาสตร์ (การจาแนกประเภท) ๑๐
๗๐
- เรยี นรู้แบบนกั วทิ ยาศาสตร์ (การพยากรณ์)

หนว่ ยท่ี ๒ ตวั เรา สตั ว์ และพืชรอบตวั ว๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ๒๙

- ร่างกายของเรา ว๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒

- สัตว์และพชื รอบตัวเรา

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๑

หนว่ ยท่ี ๓ สิ่งต่างๆรอบตัวเรา ว๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ๒๓

- วัสดรุ อบตวั เรา (วตั ถุ และวัสดุ) ว๒.๓ ป.๑/๑

- วัสดรุ อบตัวเรา (วัสดใุ นชวี ติ ประจาวนั )

- เสยี งในชวี ติ ประจาวนั

หนว่ ยท่ี ๔ โลกและท้องฟา้ ของเรา ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ๑๖

- หิน ว ๓.๒ ป.๑/๑

- ท้องฟา้ และดวงดาว

สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๑

รวม ๑๐ ๘๐

๑๓๔

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

รหัสวชิ า ว๑๑๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง / ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

ช่อื หน่วยกำรเรียนรู้ รหัสตัวชี้วัด จำนวน(ชวั่ โมง) นำ้ หนักคะแนน

บทที่ ๑ โป้ง กอ้ ย และอ่ิม ว๔.๒ ป.๑/๑ ๔๒

- การเปรยี บเทยี บความเหมือน

- การเปรยี บเทียบความแตกต่าง

บทที่ ๒ ครอบครวั ของเรา ว๔.๒ ป.๑/๒ ๔๒

- แสดงลาดบั ข้นั ตอน

- อัลกอลิทึมอย่างงา่ ย

บทที่ ๓ เส้นทางกลบั บ้าน ว๔.๒ ป.๑/๑ ๔๒

- แกป้ ัญหาโดยการลองผดิ ลองถกู

บทที่ ๔ โปรแกรมแกห้ วิ ว๔.๒ ป.๑/๒, ป.๑/๓ ๔ ๒

- แก้ปญั หาโดยการแสดงลาดับขั้นตอน

- เขียนโปรแกรมเบื้องต้นให้ตัวละครเคลือ่ นที่

บทท่ี ๕ หนนู อ้ ยบา้ นนา ว๔.๒ ป.๑/๔, ป.๑/๕ ๓ ๒

- ชื่อของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์

- ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอร์

- วธิ ีใชง้ านคอมพวิ เตอร์อยา่ งปลอดภัย

- วธิ ดี แู ลรักษาอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์

สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๑๕

บทที่ ๖ งานบ้านงานเรา ว๔.๒ ป.๑/๓ ๕๓

- แกป้ ญั หาโดยการแสดงลาดับข้นั ตอน

- เขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้นโดยใช้บตั รคาส่ัง

บทที่ ๗ วนั งานโรงเรยี น ว๔.๒ ป.๑/๑ ๕๓

- ค้นหาสิ่งของจากภาพ

- คน้ หาสงิ่ ของจากสถานการณจ์ รงิ

บทท่ี ๘ ฝนตกนา้ ท่วม ว๔.๒ ป.๑/๓ ๕๒

- แสดงลาดบั ข้นั ตอนในการแกป้ ญั หา

- อลั กอลิทึมอยา่ งงา่ ย

บทท่ี ๙ ทุง่ ข้าวรวงทอง ว๔.๒ ป.๑/๔ ๔๒

๑๓๕

- เปดิ ปดิ และบันทกึ ไฟล์

- วาดรปู โดยใชโ้ ปรแกรมกราฟกิ

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๑ ๕
๓๐
รวม ๕ ๔๐
น้ำหนัก
โครงสร้างรายวิชา คะแนน

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ๑๐
รหสั วิชา ว๑๒๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง / ปี
๑๕
ชื่อหน่วยกำรเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน
รหสั ตวั ช้ีวดั ๑๐
๑๕
(ช่วั โมง)

หน่วยที่ ๑ การเรยี นรู้ส่ิงต่างๆรอบตวั บูรณาการ ๑๔

- ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์

- การสืบเสาะหาความรู้

หนว่ ยที่ ๒ วสั ดแุ ละการใชป้ ระโยชน์ ว๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ๒๕

- สมบตั กิ ารดดู ซับน้าของวสั ดุ ป.๒/๓, ป.๒/๔

- สมบัตขิ องวัสดทุ ี่ได้จากการผสมวสั ดุ

- การใชป้ ระโยชน์จากวัสดุ

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๑

หนว่ ยท่ี ๓ แสงและส่ิงมีชีวติ ว๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ๒๓

- แสงและการมองเห็น ป.๒/๓

- สิง่ มีชีวติ และสิง่ ไม่มีชีวิต ว๑.๓ ป.๒/๑

- ชวี ิตพืช ว๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒

หน่วยท่ี ๔ โลกและท้องฟ้าของเรา ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ๑๖ ๑๐

- ดินในทอ้ งถิ่น ๑ ๑๐
๘๐ ๗๐
- ประโยชนข์ องดนิ

สอบปลายภาคเรียนที่ ๒

รวม ๑๒

๑๓๖

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

รหัสวิชา ว๑๒๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง / ปี

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

ชอื่ หน่วยกำรเรียนรู้ รหัสตวั ชี้วัด จำนวน(ชั่วโมง) นำ้ หนักคะแนน

บทที่ ๑ ปัดกวาดเชด็ ถู จัดตจู้ ัดโต๊ะ ว๔.๒ ป.๒/๑ ๔ ๒

- จัดลาดบั ข้นั ตอนในการทางาน

- เปรยี บเทยี บผลจากการจดั ลาดบั แบบตา่ งๆ

บทท่ี ๒ อะตอมอร่าม ยามรุง่ อรุณ ว๔.๒ ป.๒/๒ ๔ ๒

- เขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชบ้ ัตรคาส่งั

- ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข

บทท่ี ๓ รัตตกิ าล ว๔.๒ ป.๒/๔ ๔ ๒

- ขอ้ ตกลง/วธิ รี ักษา/วิธีใชง้ าน คอมพิวเตอร์

บทท่ี ๔ นกั อา่ นจ๋ิว ว๔.๒ ป.๒/๓ ๔ ๒

- สรา้ งและจดั หมวดหมู่ไฟล์และโฟลเดอร์

- เรียกคนื ไฟล์จากถังรีไซเคลิ

- ใช้งานโปรแกรมประมวลคา

บทท่ี ๕ บางกอกมเี สาชิงช้า บนทอ้ งฟ้ามีทางชา้ งเผือก ว๔.๒ ป.๒/๔ ๓ ๒

- วธิ ปี อ้ งกันขอ้ มลู ส่วนตัว

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๑ ๑๑

บทที่ ๖ งานเล้ียงชมรมกบั ขนมเจ้าปญั หา ว๔.๒ ป.๒/๑ ๕ ๓

- แกป้ ัญหาโดยการแสดงลาดับขั้นตอน

- แก้ปัญหาอยา่ งงา่ ย

บทที่ ๗ เกมเสน้ ทางปรศิ นา ว๔.๒ ป.๒/๒ ๕ ๓

- เขยี นโปรแกรมท่ีมเี งื่อนไขโดยใชบ้ ตั รคาส่ัง

บทที่ ๘ เชฟนา่ เลิฟ คนเสิร์ฟนา่ รัก ว๔.๒ ป.๒/๒ ๕ ๒

- เขียนโปรแกรมท่ีมีเงื่อนไขโดยใชบ้ ัตรคาส่งั

บทที่ ๙ งานประจาปี ๔.๐ ว๔.๒ ป.๒/๔ ๔ ๒

- ประโยชน์ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

สอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ๔ ๑๑
รวม ๔๐ ๓๐

๑๓๗

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
รหสั วชิ า ว๑๓๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง / ปี

ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

รหสั ตัวช้ีวดั จำนวน น้ำหนัก
คะแนน
(ชั่วโมง)
๑๐
หน่วยที่ ๑ การเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตวั บรู ณาการ ๑๔
๑๕
- ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์

- การสบื เสาะหาความรู้

หน่วยที่ ๒ การดารงชีวิตและการเปล่ียนแปลงสาร ว๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/ ๒๕

- การดารงชีวิต ๓, ป.๓/๔

- การเปล่ยี นแปลงสาร ว๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

หนว่ ยท่ี ๓ พลังงาน สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๑ ๑๐
- แรงและการเคลื่อนท่ี ๒๓ ๑๕
- แมเ่ หลก็ ว๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒,
- ไฟฟา้ ในชีวิตประจาวัน ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒,
ป.๓/๓

หนว่ ยที่ ๔ อากาศและท้องฟ้าของเรา ว๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ๑๖ ๑๐

- อากาศ ป.๓/๓ ๑ ๑๐
๘๐ ๗๐
- ทอ้ งฟา้ ของเรา ว๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒,

ป.๓/๓, ป.๓/๔

สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒

รวม ๒๐

๑๓๘

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

รหัสวชิ า ว๑๓๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง / ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

ช่อื หน่วยกำรเรยี นรู้ รหสั ตวั ช้ีวัด จำนวน(ชวั่ โมง) น้ำหนกั คะแนน

บทท่ี ๑ Coding อะไรเอ่ย ว๔.๒ ป.๓/๑ ๔ ๒

- อัลกอลิทึมอยา่ งง่าย

- แก้ปญั หาอย่างงา่ ย

บทท่ี ๒ ตามใจฉนั กาหนด ว๔.๒ ป.๓/๒ ๔ ๒

- เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย

- ตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม

บทที่ ๓ ทอ่ งโลกกว้าง ว๔.๒ ป.๓/๓ ๔ ๒

- รู้จกั อินเตอรเ์ นต็

บทที่ ๔ โลกไร้พรมแดน ว๔.๒ ป.๓/๓ ๔ ๒

- เข้าสูร่ ะบบอนิ เตอร์เนต็ (สบื ค้นความรู)้

บทท่ี ๕ คน้ หาเรอ่ื งราว ว๔.๒ ป.๓/๓ , ๓ ๒

- หาขอ้ มลู ท่ีสนใจจากอินเตอร์เนต็ ป.๓/๔

สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ ๑๑

บทท่ี ๖ หนูนอ้ ยนกั ขาย ว๔.๒ ป.๓/๓ , ๕ ๓

- รวบรวมขอ้ มลู ป.๓/๔

- นาเสนอขอ้ มลู โดยใช้ซอฟต์แวร์

บทท่ี ๗ ปลอดภยั ไว้ก่อน ว๔.๒ ป.๓/๕ ๕ ๓

- รจู้ ักเทคโนโลยสี ารสนเทศ

- ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย

บทท่ี ๘ ชวี ิตรวดเรว็ ด้วนเทคโนโลยี ว๔.๒ ป.๓/๔ , ๕ ๒

- การใชเ้ ทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวัน ป.๓/๕

บทที่ ๙ ขอ้ ตกลงของสว่ นรวม ว๔.๒ ป.๓/๕ ๔ ๒

- ขอ้ ตกลงในการใช้อินเตอร์เนต็

สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๑๑

รวม ๕ ๔๐ ๓๐

๑๓๙

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
รหสั วิชา ว๑๔๑๐๑
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี
ช่อื หน่วยกำรเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์

รหสั ตวั ช้ีวัด จำนวน น้ำหนัก
คะแนน
(ชวั่ โมง)
๑๐
หน่วยท่ี ๑ การเรยี นรู้สงิ่ ตา่ งๆรอบตัว บรู ณาการ ๑๐
๑๐
- การสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์
๑๐
- การวดั และการใชจ้ านวนของนักวทิ ยาศาสตร์
๑๐
- การทดลองของนักวิทยาศาสตร์ ๑๕

หน่วยท่ี ๒ สง่ิ มชี ีวติ ว๑.๒ ป.๔/๑ ๑๖ ๑๕

- สง่ิ มชี ีวิตรอบตวั และการจัดกลุม่ สง่ิ มีชีวิต ว๑.๓ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/ ๑๐
๘๐
- ส่วนต่างๆของพืชดอก ๓, ป.๔/๔

หนว่ ยที่ ๓ แรงและพลังงาน ว๒.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓ ๑๓

- มวลและแรงโนม้ ถ่วงของโลก

- ตวั กลางของแสง

สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ ๑

หนว่ ยที่ ๔ วัสดแุ ละสสาร ว๒.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/ ๒๕

- ความแข็งของวสั ดุ ๓, ป.๔/๔

- สภาพยดื หยุ่นของวัสดุ

- การนาความร้อนของวัสดุ

- การนาไฟฟา้ ของวัสดุ

- สถานะของสาร

หน่วยที่ ๕ โลกและอวกาศ ว ๓.๑ ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/ ๑๔

- ดวงจนั ทรข์ องเรา ๓, ป.๔/๔

- ระบบสรุ ยิ ะของเรา

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๒ ๑

รวม ๑๖ ๘๐

๑๔๐

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔

รหัสวิชา ว๑๔๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง / ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

ชอ่ื หน่วยกำรเรียนรู้ รหสั ตวั ช้ีวดั จำนวน(ชว่ั โมง) น้ำหนักคะแนน

บทท่ี ๑ เทีย่ วบา้ นคุณย่า ว๔.๒ ป.๔/๑ ๔ ๑

- รจู้ ักความหมายของอัลกอลิทมึ

- ใชอ้ ลั กอลิทมึ แก้ปัญหาในชวี ิตประจาวัน

- ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา

บทที่ ๒ โปรแกรมแสนสนกุ ว๔.๒ ป.๔/๒ ๔ ๑

- รู้จกั โปรแกรม Scratch

- เขียนโปรแกรมเบื้องต้น

บทที่ ๓ หนทางหมน่ื ลี้เร่มิ ต้นทีธ่ งเขียว ว๔.๒ ป.๔/๒ ๔ ๑

- เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย

- ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดโดยตรวจสอบการทางานทีละ

คาสั่ง

บทที่ ๔ ลอยฟา้ ตะลุยสวน ว๔.๒ ป.๔/๔ ๔ ๑

- รวบรวมขอ้ มลู

- ประมวลผลข้อมลู

บทที่ ๕ แสบตอ้ งเสิร์ช ว๔.๒ ป.๔/๓, ๓ ๑

- คน้ หาข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ น็ต ป.๔/๕

- ประเมินความน่าเชื่อถือของขอ้ มูล

- ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๑๕

บทที่ ๖ บางแสน แสนสขุ ว๔.๒ ป.๔/๔ ๔ ๑.๕

- วเิ คราะหป์ ัญหา สร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา

- ประมวลข้อมูลเพื่อใช้แก้ปญั หา

บทที่ ๗ ชารต์ ชาร์ต ชารต์ นอ้ งเคยเห็นชาร์ตหรือเปลา่ ว๔.๒ ป.๔/๔ ๕ ๑.๕

- เลือกชนิดแผนภมู ใิ หเ้ หมาะสมกับข้อมูล

- ใช้ซอฟต์แวรใ์ นการนาเสนอข้อมลู

บทท่ี ๘ อยา่ ไว้ใจทาง อย่าวางใจขา่ ว ว๔.๒ ป.๔/๓, ๕ ๑

- ประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของข้อมลู และการอ้างอิง ป.๔/๕

แหล่งที่มา

บทที่ ๙ บ้ังไฟบุปผชาติ ว๔.๒ ป.๔/๑, ๕ ๑๔๑

- ทานายผลลัพธ์จากการแก้ปัญหา/ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ป.๔/๒ ๑ ๑
๔๐
สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๕
๒๐
รวม ๕

๑๔๒

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕
รหสั วิชา ว๑๕๑๐๑
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี
ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์

รหัสตัวชี้วัด จำนวน น้ำหนกั
คะแนน
(ชวั่ โมง)

หนว่ ยท่ี ๑ การเรียนรู้สง่ิ ต่างๆรอบตวั บูรณาการ ๕

- เสน้ ทางขยะจากมือเรา และทกั ษะทางวิทยาศาสตร์

หน่วยท่ี ๒ แรงและพลังงาน ว๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ๑๗ ๑๕

- แรงลพั ธ์และแรงเสียดทาน ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕ ๑๗ ๑๐

- เสยี ง ว๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ๑ ๑๐
๑๘ ๑๕
ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕ ๒๑ ๑๕
๑ ๑๐
หนว่ ยท่ี ๓ การเปลีย่ นแปลงของสาร ว๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ๘๐ ๘๐

- การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ป.๕/๓,ป.๕/๔

- การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

- การเปล่ยี นแปลงทีผ่ นั กลบั ไดแ้ ละผนั กลับไมไ่ ด้

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑

หน่วยท่ี ๔ วฏั จกั ร ว๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

- วัฏจักรน้า ว๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒,

- วฏั จักรการปรากฏของกลมุ่ ดาว ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕

หน่วยที่ ๕ สิง่ มีชีวิต ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒,

- ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสิ่งมชี วี ติ ป.๕/๓,ป.๕/๔

- ส่ิงมีชวี ิตกับส่งิ แวดลอ้ ม ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๒

รวม ๒๗

๑๔๓

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕

รหัสวชิ า ว๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

ชอ่ื หน่วยกำรเรียนรู้ รหสั ตวั ชี้วัด จำนวน(ชั่วโมง) นำ้ หนักคะแนน

บทท่ี ๑ ตุ๊กตาแม่ลูกดก ว๔.๒ ป.๕/๑ ๔ ๑

- เขยี นรหสั ลาลองเพ่ือแสดงขั้นตอนแก้ปญั หาหรือการ

ทางาน

บทที่ ๒ ชมิ ชอป แชะ ว๔.๒ ป.๕/๓, ๔ ๑

- เขียนอีเมลเพือ่ ติดตอ่ ส่ือสาร ป.๕/๕

- มารยาทในการใช้งานสมาร์ตโฟนในทส่ี าธารณะ

บทที่ ๓ เส้นทางเดนิ เหนือเรือนยอดไม้ ว๔.๒ ป.๕/๔ ๔ ๑

- ตรวจหา และแกไ้ ขข้อผิดพลาดของข้อมูล

- ประมวลผล และนาเสนอข้อมลู

- ใชซ้ อฟต์แวร์เพ่ือแกป้ ัญหาในชีวิตประจาวัน

บทท่ี ๔ ดาวกระจายทคี่ า่ ยลกู เสอื ว๔.๒ ป.๕/๒ ๔ ๑

- เขียนโปรแกรมโดยใช้การทางานแบบวนซ้า

- ตรวจสอบ และแก้ไขข้อผดิ พลาดของโปรแกรม

บทที่ ๕ ไลฟ์สาระ ว๔.๒ ป.๕/๓, ๓ ๑

- ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีมารยาท ป.๕/๕

- แยกแยะขอ้ เท็จจริงกับขอ้ คิดเหน็

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๑ ๑๕

บทที่ ๖ โรบอทเอ็กโป ว๔.๒ ป.๕/๒ ๔ ๑.๕

- เขยี นโปรแกรมแบบมีเงอ่ื นไข

บทท่ี ๗ แฟนตะกร้อ ว๔.๒ ป.๕/๕ ๕ ๑.๕

- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั

บทท่ี ๘ กฬี าฮาเฮ ว๔.๒ ป.๕/๑ ๕ ๑

- ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา

บทท่ี ๙ ดาวหาง ณ กลางหาว ว๔.๒ ป.๕/๓ ๕ ๑

- ใชอ้ ินเตอร์เน็ตค้นหาความรู้

- ประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมลู

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๒ ๑๕

รวม ๕ ๔๐ ๒๐

๑๔๔

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖
รหสั วิชา ว๑๖๑๐๑
เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง / ปี
ช่อื หน่วยกำรเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์

รหัสตัวชี้วัด จำนวน นำ้ หนกั
คะแนน
(ช่ัวโมง)

หนว่ ยที่ ๑ การเรยี นรู้สิ่งตา่ งๆรอบตัว บรู ณาการ ๔

- การสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์

หนว่ ยท่ี ๒ อาหาร ระบบต่างๆในรา่ งกาย ว๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ๑๕ ๑๐

- อาหารและสารอาหาร ป.๖/๓,ป.๖/๔, ป.๖/๕

- ระบบตา่ งๆในร่างกาย

- การแยกสาร

หนว่ ยที่ ๓ พลงั งานไฟฟา้ ว๒.๒ ป.๖/๑ ๒๐ ๑๕

- การแยกสาร ว๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒,

- ไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั ป.๖/๓,ป.๖/๔, ป.๖/๕,

- วงจรไฟฟ้า ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๑ ๑ ๑๐

หนว่ ยที่ ๔ สาร ว๒.๑ ป.๖/๑ ๑๕ ๑๕

- การแยกสาร

หน่วยท่ี ๕ ปรากฎการณ์โลก ว๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ๒๔ ๑๕

- ปรากฎการณ์บนท้องฟ้าและเทคโนโลยอี วกาศ ว๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒,

- โลกและการเปลี่ยนแปลง ป.๖/๓,ป.๖/๔, ป.๖/๕,

ป.๖/๖,

ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๑ ๑๐

รวม ๒๖ ๘๐ ๘๐

๑๔๕

โครงสร้างรายวชิ า

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

รหสั วิชา ว๑๖๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง / ปี

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

ช่อื หน่วยกำรเรยี นรู้ รหัสตัวช้ีวัด จำนวน(ชั่วโมง) นำ้ หนักคะแนน

บทที่ ๑ จดั ตกแต่งสวน ว๔.๒ ป.๖/๑ ๔ ๑

- เขยี นรหัสลาลองเพ่ือแสดงขั้นตอนแก้ปญั หา

บทที่ ๒ โดดเดน่ ดงั ว๔.๒ ป.๖/๓, ๔ ๑

- เขยี นอีเมลเพ่ือติดต่อสื่อสาร ป.๖/๔

- เผยแพรผ่ ลงานทางสื่อออนไลน์

บทท่ี ๓ เสน้ ทางเดนิ ผจญภยั ว๔.๒ ป.๖/๒ ๔ ๑

- ตรวจหา และแกไ้ ขข้อผิดพลาดของขอ้ มูล

- ประมวลผล และนาเสนอข้อมูล

- ใชซ้ อฟต์แวร์เพอื่ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวนั

บทที่ ๔ หนา้ บา้ นฉนั มีอะไร ว๔.๒ ป.๖/๒ ๔ ๑

- เขยี นโปรแกรมโดยใช้การทางาน

- ตรวจสอบ และแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม

บทที่ ๕ ไลฟส์ ด ว๔.๒ ป.๖/๓, ๓ ๑

- ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย และมีมารยาท ป.๖/๔

- แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ข้อคิดเห็น

สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๑๕

บทที่ ๖ โรบอทในเขาวงกต ว๔.๒ ป.๖/๒ ๔ ๑.๕

- เขยี นโปรแกรมแบบมีเงอื่ นไข

บทที่ ๗ ข่าวออนไลน์ ว๔.๒ ป.๖/๔ ๕ ๑.๕

- ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั

บทท่ี ๘ กฬี าสสี านสัมพันธ์ ว๔.๒ ป.๖/๑ ๕ ๑

- ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา

บทท่ี ๙ เทคโนโลยีอวกาศ ว๔.๒ ป.๖/๓ ๕ ๑

- ใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตค้นหาความรู้

- ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมลู

สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๑๕

รวม ๔ ๔๐ ๒๐

๑๔๖

สว่ นที่ ๓
คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ในส่วนของการจัดทาคาอธิบายรายวิชาของหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ัน โรงเรียนได้ดาเนินการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีของชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ โดยเขียนในลกั ษณะความเรียง
ระบุองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามธรรมชาติของวิชาเป็นการ
เขียนในภาพรวมท่ีตอ้ งการให้เกิดกับผเู้ รียนและสะทอ้ นตัวชว้ี ดั ในรายวชิ าพ้นื ฐานหรอื ผลการเรียนรู้
ในรายวชิ าเพ่ิมเตมิ คาอธิบายรายวิชาจงึ ประกอบด้วยสว่ นประกอบดังตอ่ ไปนี้

- รหัสวิชา
- ช่ือรายวิชา
- กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
- ชั้นปี
- จานวนเวลาเรยี น

๑๔๗

คาอธบิ ายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

รหสั วชิ า ว๑๑๑๐๑ เวลา ๑2๐ ชั่วโมง / ปี

............................................................................................................................. ................................

ศึกษา วิเคราะห์ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของสัตว์
ในบริเวณท่ีอาศัยอยู่ รวมถึงหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืช อีกท้ังหน้าที่และการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ นอกจากน้ีมีการจัดกลุ่มของวัสดุตามสมบัติที่สังเกตได้ การเกิดเสียงและทิศทาง การ
เคลื่อนท่ีของเสียง ทั้งนี้รวมถึงปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน ลกั ษณะภายนอกของหิน และ
สามารถแก้ปัญหาโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์หรือข้อความ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย จากการใช้สื่อซอฟต์แวร์ การ
ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเกบ็ เรียกใชข้ ้อมูล การใชค้ อมพวิ เตอร์และการดแู ลรักษาอุปกรณ์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สอ่ื สารสงิ่ ท่ีเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการตดั สินใจ

เกดิ การรบั รู้ และเห็นคณุ คา่ ของการนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสมท่พี ึงประสงค์ต่อการดาเนินชีวิตในปจั จุบนั

รหัสตัวช้ีวดั
วิทยาศาสตร์
มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๑/๑
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕

รวม ๑๕ ตัวช้ีวัด

๑๒๙

คาอธบิ ายรายวิชา

กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒

รหัสวชิ า ว๑๒๑๐๑ เวลา ๑2๐ ชัว่ โมง / ปี

........................................................................................................................................... ..................

ศึกษา วเิ คราะห์ ความต้องการแสงและน้าเพอื่ การเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชวี ิตของพืชดอก รวมถึง
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต อีกทั้งสมบัติของวัสดุและการนาสมบัติของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทา
วัตถุในชีวิตประจาวัน ท้ังนี้วัสดุท่ีใช้แล้วมีประโยชน์สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากนี้การเคล่ือนที่ของ
แสงจากแหล่งกาเนิดแสง ส่งผลให้สามารถมองเห็นวัตถุ และเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายจากการ
มองวัตถบุ ริเวณที่มีแสงสว่างไมเ่ หมาะสม นอกจากนี้ในเรื่องของดินมีส่วนประกอบที่หลากหลาย และสามารถ
จาแนกชนิดของดินโดยใช้เกณฑ์ของลักษณะเนื้อดินและการจับตัว รวมถึงอธิบายการใช้ประโยชน์จากดิน
อีกทั้งสามารถแก้ปัญหาโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย จากการใช้ส่ือ
ซอฟตแ์ วร์ การใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดเกบ็ เรยี กใช้ขอ้ มูล การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถสอ่ื สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้ และมีความสามารถในการตัดสนิ ใจ

เกิดการรับรู้ และเห็นคุณคา่ ของการนาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมทีเ่ หมาะสมท่ีพึงประสงคต์ ่อการดาเนินชวี ิตในปจั จบุ ัน

รหัสตัวช้ีวดั
วทิ ยาศาสตร์
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓
มาตรฐาน ว ๑.๓ ป.๒/๑
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔

รวม ๑๖ ตัวชีว้ ัด

๑๓๐

คาอธิบายรายวชิ า

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

รหัสวิชา ว๑๓๑๐๑ เวลา ๑2๐ ช่ัวโมง / ปี

............................................................................................................................. ................................

ศึกษา วิเคราะห์ ส่ิงที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ รวมถึง

ประโยชน์ของอาหาร น้า และอากาศ สามารถดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่านี้อย่างเหมาะสม อีกท้ัง

บรรยายและเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์ นอกจากน้ีมีเรื่องของส่วนประกอบของวัตถุ และการ

เปล่ียนแปลงของวัสดุเม่ือทาให้ร้อนขึ้นหรือทาให้เย็นลง โดยการเปล่ียนแปลงและการเคลื่อนท่ีของวัตถุเกิด

จากแรง ท้ังแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสท่ีมีผลต่อการเคลื่อนท่ีของวัตถุ รวมถึงการดึงดูดระหว่างแม่เหล็กกับ

วัตถุ ขั้วแม่เหล็ก และการเปล่ียนพลังงาน การทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า และแหล่งพลังงานในการผลิต

ไฟฟ้า รวมถึงประโยชน์และโทษของไฟฟ้า โดยนาเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย อีกทั้งใน

เรอ่ื งของเส้นทางการข้นึ และตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวนั กลางคืน และการกาหนดทิศ ความสาคัญของ

ดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมีชีวิต รวมไปถึงส่วนประกอบและความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทาง

อากาศต่อสิ่งมีชวี ิต การนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ นอกจากน้ีสามารถ

อธิบายการเกิดลมและบรรยายประโยชน์และโทษของลม อีกท้ังสามารถแสดงอัลกอริทึมในการทางาน

แก้ปัญหาโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย จากการใช้ส่ือซอฟต์แวร์ และใช้

อนิ เทอร์เน็ตในการคน้ หาความรู้ และรวบรวมประมวลผล และนาเสนอข้อมูลโดยใชซ้ อฟตแ์ วร์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล

การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ

สามารถส่อื สารสิ่งทเ่ี รียนรู้ และมีความสามารถในการตดั สนิ ใจ

เกิดการรับรู้ และเห็นคณุ คา่ ของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์

จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสมท่ีพงึ ประสงคต์ ่อการดาเนนิ ชีวิตในปัจจุบัน

รหัสตวั ชี้วดั

วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔

มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒

มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓, ป.๓/๔

มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓

มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔, ป๓/๕

รวม ๒๕ ตัวช้ีวัด

๑๓๑

คาอธบิ ายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔

รหสั วิชา ว๑๔๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

.............................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ หน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอก ส่วนประกอบของพืชดอก ความ

แตกต่างของลักษณะของส่ิงมีชีวิตออกเป็น กลุม่ พืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเป็น

พืชดอกและพืชไม่มีดอก จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะ

ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลา กลุ่มสตั ว์สะเทินน้าสะเทินบก กลมุ่ สัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลมุ่ สัตว์

เล้ียงลูกด้วยนม ตัวอย่างของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม นอกจากนี้เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของวัสดุจากการ

ทดลองและระบกุ ารนาสมบัตขิ องวสั ดุไปใช้ในชีวติ ประจาวันโดยผ่านกระบวนการออกแบบชนิ้ งาน แลกเปลย่ี น

ความคิดกับผู้อ่ืนโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างด้านความแข็ง และสภาพความ

ยดื หยุ่น การนาความรอ้ น การนาไฟฟ้า ของวัสดุ สมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ การสงั เกต มวล ความตอ้ งการ

ที่อยู่ รูปรา่ งและปรมิ าตรของสสาร เคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับการวดั มวล และปริมาตรของสสาร ทง้ั ๓ สถานะ ผล

ของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดน้าหนักของวัตถุ มวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการ

เปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ วัตถุท่ีเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถทุ ึบแสง ลักษณะการ

มองเห็นผ่านวัตถุ แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ แบบจาลองอธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลง

รูปร่างของดวงจันทร์ และสามารถพยากรณ์รูปร่างของดวงจันทร์ที่ปรากฏ แบบจาลองแสดงองค์ประกอบของ

ระบบสรุ ยิ ะ และเปรียบเทียบคาบของการโคจรของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจาลองได้

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง

ง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไขใช้

อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตลอดจนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบ

เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์

และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และมีความสามารถ

ในการตดั สินใจ

เกิดการรับรู้ และเห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสมท่ีพงึ ประสงคต์ ่อการดาเนินชีวติ ในปัจจุบัน

รหัสตวั ช้ีวดั

วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๔/๑

มาตรฐาน ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๔/๑

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒, ป.๔/๓

วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕

รวม ๒๑ ตัวชว้ี ัด

๑๓๒

คาอธบิ ายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕

รหัสวิชา ว ๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

.............................................................................................................................................................

ศึกษา วเิ คราะห์ โครงสรา้ งและลกั ษณะของส่งิ มีชีวิตทเ่ี หมาะสมกบั การ และการปรบั ตวั ของสิง่ มชี ีวติ ในแต่ละแหลง่ ที่
อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อการ
ดารงชวี ิตในห่วงโซ่อาหารและบทบาทหนา้ ทข่ี องส่ิงมชี ีวติ ที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซอ่ าหาร ส่วนลกั ษณะทางพันธกุ รรมท่ีมี
การถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ ว่ามีลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การเปลี่ยนสถานะของ
สสารและการเปล่ียนแปลงทางเคมี ส่วนวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันท่ีกระทาต่อวัตถุอยู่นิ่ง การใช้
เครือ่ งชง่ั สปรงิ ในการวดั แรงทีก่ ระทาต่อวัตถุ สง่ ผลต่อแรงเสยี ดทานท่มี ตี อ่ การเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ และการเขยี น
แผนภาพของแรง ทาให้ได้ยินเสียงผ่านตวั กลาง การเกิดเสียงสูง เสียงตา่ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิด
เสียงดัง เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัดระดับเสียง เพื่อหาแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง
และสามารถหาความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษจ์ ากแบบจาลอง โดยการใช้แผนที่ดาวระบตุ าแหน่งและเส้นทางการ
ข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า เพ่ือระบุปริมาณน้าในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้าท่ีมนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
แนวทางการใช้น้าอยา่ งประหยัดและการอนรุ ักษ์น้า มีแบบจาลองการหมุนเวียนของนา้ ในวัฏจักรน้า ที่ไดจ้ ากกระบวนการเกิด
เมฆ หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็ง จากแบบจาลอง และกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ ตลอดจนการใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย สามารถออกแบบ และเขียน
โปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ หรอื สื่อ และตรวจหาข้อผดิ พลาดและแกไ้ ข โดยใช้อินเทอร์เนต็ คน้ หาขอ้ มูล ติดตอ่ สอ่ื สาร
และทางานรว่ มกนั เพอ่ื ประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูล รวบรวม ผลประเมิน นาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟตแ์ วร์
หรือบรกิ ารบนอนิ เตอร์เน็ตที่หลากหลาย

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูลการเปรยี บเทียบ
ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ

เกิดการรับรู้ และเห็นคุณค่าของส่ิงแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
ส่ิงแวดล้อม นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมท่ีพึง
ประสงค์ต่อการดาเนนิ ชีวติ ในปจั จบุ ัน

รหสั ตัวช้วี ดั

วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐาน ว ๑.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔

มาตรฐาน ว ๑.๓ ป๕/๑, ป๕/๒

มาตรฐาน ว ๒.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔

มาตรฐาน ว ๒.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕

มาตรฐาน ว ๒.๓ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป๕/๑, ป๕/๒

มาตรฐาน ว ๓.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

มาตรฐาน ว ๔.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕

รวม ๓๒ ตวั ชว้ี ดั

๑๓๓

คาอธบิ ายรายวชิ า

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖

รหัสวชิ า ว๑๖๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

.............................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห์ สารอาหารประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ีตนเองรับประทานเพ่ือการเลือก

รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ังความปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยมี

แบบจาลอง ระบบย่อยอาหาร อวัยวะในระบบย่อยอาหารมีหน้าที่สาหรับการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร

ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็นปกติ มีการแยกสารผสม โดยการ

หยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน สามารถหาวิธีการแก้ปัญหาใน

ชีวิตประจาวันเกี่ยวกับการแยกสาร การเกิดผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถู จากส่วนประกอบ หน้าท่ี ของ

วงจรไฟฟ้าแต่ละสว่ นอย่างง่าย โดยมีแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน สามารถใช้การต่อหลอดไฟฟ้า

แบบอนกุ รมและขนานด้วยวธิ ีการที่เหมาะสม มีประโยชน์ ข้อจากดั ของการเกดิ เงามดื เงามัว จากแผนภาพรงั สีของแสงแสดง

การเกิดเงามืดเงามัว จากแบบจาลองปรากฏการณ์สุริยุปราคา และจันทรุปราคา มีการพัฒนาของเทคโนโลยีอวกาศและการ

ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ส่วนกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ดูจากแบบจาลองวัฏจักรหิน เพื่อหา

ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจาวัน มีแบบจาลองการเกิดของซากดึกดาบรรพ์สภาพแวดล้อมในอดีต ท่ีเกิดจากลมบก

ลมทะเล และมรสุม จากแบบจาลอง สามารถส่งผลต่อการเกิดของมรสุมในฤดูตา่ งๆ ของประเทศไทย เกิดผลกระทบของ น้า

ท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ร่วมถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย เพื่อหาแนว

ทางการเฝ้าระวังและปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภัยจากภัยธรรมชาติ จากแบบจาลองเพ่อื อธิบายการเกดิ และผลของปรากฏการณเ์ รือน

กระจก กจิ กรรมท่ีก่อให้เกิดแก๊สเรอื นกระจกท่มี ที าใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกลูกเหบ็

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียน
โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไขใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม
ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เข้าใจสิทธแิ ละหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธขิ องผอู้ ่ืน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรยี บเทยี บข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ

เกดิ การรบั รู้ และเหน็ คณุ ค่าของการนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านยิ มทเ่ี หมาะสมทพ่ี ึงประสงค์ต่อการดาเนินชีวติ ในปัจจุบนั

รหัสตวั ชี้วดั

วิทยาศาสตร์

มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕

มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๖/๑

มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๖/๑

มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒

มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป’๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๓๐ ตวั ชี้วดั

๑๓๔

ส่วนท่ี ๔

กำรวดั ผลและประเมินผลกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ความสาคญั ของการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้และพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียนตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด ของหลกั สูตร นาผลไปปรับปรงุ พัฒนาการจัดการเรียนรู้และใชเ้ ปน็ ข้อมูลสาหรับ
การตัดสินผลการเรียน โดยมีองค์ประกอบของการวัดผลและประเมินการเรียนรู้ท่ีหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดจุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา
มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กาหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ที่กาหนดในสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิด
วิเคราะหแ์ ละเขียน มีคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น

แนวทางการวัดและประเมนิ ผล
การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียน

ตามตัวช้ีวัดในรายวิชาพื้นฐาน ตามท่ีกาหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ ใช้วิธีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย
จากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความรูค้ วามสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนโดย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอนโดยสังเกตพัฒนาการและ
ความประพฤติของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การประเมินตามสภาพจริง เช่นการ
ประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน เป็นต้น ควบคู่กับการใช้
การทดสอบแบบต่างๆ อย่างสมดุลและครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ โดยให้
ความสาคญั กับการประเมินผลระหว่างเรียนมากกว่าการประเมินปลายปี/ปลายภาค และใชเ้ ป็นข้อมูลเพ่อื การ
ประเมนิ การเลื่อนชั้นและการจบการศกึ ษา

และเพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพผู้สอนต้องตรวจสอบความรู้ความสามารถที่แสดง
พัฒนาการของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง และผู้เรียนต้องรับผิดชอบและตรวจสอบความก้าวหน้าของ
ตนเองอย่างสม่าเสมอเช่นกัน หน่วยการเรยี นรู้เป็นส่วนที่ผู้สอนและผู้เรียนใช้ตรวจสอบย้อนกลับว่าผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้หรือยัง การประเมินในระดับชั้นเรียนต้องอาศัยท้ังผลการประเมินย่อยเพ่ือพัฒนา และการ
ประเมนิ ผลรวมเพ่ือสรปุ ผลการเรยี นร้เู ม่อื จบหน่วยการเรยี นรู้และจบรายวชิ า

๑๓๕

วธิ ีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ให้บรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนรู้ท่ีวางไว้ควรมีแนวทาง

ดังต่อไปน้ี

๑. ต้องวัดทั้งความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม

รวมท้งั โอกาสในการเรียนของผู้เรยี น

๒. วธิ กี ารวดั ผลและประเมนิ ผล ตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด/ ผลการเรยี นร้ทู ่ี

กาหนดไว้

๓. ต้องเก็บข้อมูลท่ีได้จากการวัดผลและประเมินผลตามความเป็นจริงและต้องประเมินผลภายใต้

ขอ้ มูลทม่ี ีอยู่

๔. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุป

ที่สมเหตสุ มผล

๕. การวัดผลตอ้ งเทยี่ งตรงและเปน็ ธรรม ท้ังดา้ นของวธิ ีการวดั โอกาสของการประเมนิ

การวดั และประเมนิ ผลจากสภาพจริง
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ

ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ในการทากิจกรรมเหล่านี้ต้องคานึงว่าผูเ้ รียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนจึง
อาจทางานช้ินเดียวกันได้เสร็จในเวลาท่ีแตกต่างกัน และผลงานที่ได้ก็อาจแตกต่างกันด้วย เม่ือผู้เรียนทา
กิจกรรมเหล่าน้ีแล้วก็จะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่างๆ
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีผู้เรียนได้ทาและผลงาน
เหล่าน้ีต้องใช้วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพ่ือช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถ
และความรู้สึกนึกคิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมี
การประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับชีวิตจริง และต้องประเมินอย่าง
ต่อเนอ่ื ง เพอ่ื จะได้ข้อมูลทมี่ ากพอทจี่ ะสะท้อนความสามารถท่แี ทจ้ รงิ ของผ้เู รียนได้
ลกั ษณะสาคญั ของการวัดและประเมินผลจากสภาพจริง

๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงมีลักษณะท่ีสาคัญคือใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดท่ี
ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผู้เรียนในด้านของผู้ผลิตและกระบวนการที่ได้ผลผลิต
มากกวา่ ทจ่ี ะประเมินวา่ ผูเ้ รยี นสามารถจดจาความร้อู ะไรไดบ้ า้ ง

๒. เป็นการประเมนิ ความสามารถของผเู้ รียน เพ่ือวินจิ ฉยั ผู้เรียนในสว่ นท่ีควรสง่ เสรมิ และสว่ นที่ควรจะ
แก้ไขปรับปรุง เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความต้องการของ
แต่ละบุคคล

๓. เป็นการประเมินท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดม้ ีสว่ นร่วมประเมินผลงานของทั้งตนเองและของเพื่อนรว่ ม
ห้อง เพื่อสง่ เสริมให้ผเู้ รียนรู้จักตวั เอง เช่ือมน่ั ในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองได้

๔. ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการ
สอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคลได้
หรอื ไม่

๑๓๖

๕. ประเมนิ ความสามารถของผ้เู รยี นในการถา่ ยโอนการเรยี นรู้ไปส่ชู ีวติ จริงได้
๖. ประเมินดา้ นต่างๆ ดว้ ยวิธที หี่ ลากหลายในสถานการณ์ต่างๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

วิธกี ารและแหลง่ ข้อมลู ที่ใช้
เพอื่ ให้การวัดและประเมินผลได้สะท้อนความสามารถทแ่ี ท้จรงิ ของผู้เรยี น ผลการประเมนิ อาจจะได้มา

จากแหล่งขอ้ มลู และวธิ กี ารตา่ งๆ ดังต่อไปนี้
๑. สงั เกตการแสดงออกเป็นรายบุคคลหรือรายกลมุ่
๒. ชิน้ งาน ผลงาน รายงาน
๓. การสมั ภาษณ์
๔. บนั ทกึ ของผู้เรียน
๕. การประชมุ ปรึกษาหารือรว่ มกันระหว่างผูเ้ รียนและครู
๖. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏบิ ตั ิ (practical assessment)
๗. การวดั และประเมินผลดา้ นความสามารถ (performance assessment)
๘. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้โดยใชแ้ ฟม้ ผลงาน (portfolio assessment)

การวดั และประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ (performance assessment)
ความสามารถของผู้เรียนประเมินได้จากการแสดงออกโดยตรงจากการทางานต่างๆ เป็นสถานการณ์ที่

กาหนดให้ ซึ่งเป็นของจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาหรือปฏิบัติงานได้จริง
โดยประเมินจากกระบวนการทางาน กระบวนการคิด โดยเฉพาะความคิดขั้นสูง และผลงานที่ได้ลักษณะสาคัญของ
การประเมินความสามารถคือ กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน วิธีการทางานผลสาเร็จของงาน มีคาสั่งควบคุม
สถานการณ์ในการปฏิบัติงาน และมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน การประเมินความสามารถท่ีแสดงออกของผเู้ รียน
ทาได้หลายแนวทางตา่ งๆ กนั ข้นึ อยู่กบั สภาพแวดล้อมสภาวการณ์ และความสนใจของผู้เรยี น ดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้

๑. มอบหมายงานให้ทา งานที่มอบให้ทาต้องมีความหมาย มีความสาคัญ มีความสัมพันธ์กับหลักสูตร
เน้ือหาวิชา และชีวิตจริงของผู้เรียน ผู้เรียนต้องใช้ความรู้หลายด้านในการปฏิบัติงานท่ีสามารถสะท้อนให้เห็นถึง
กระบวนการทางาน และการใช้ความคิดอย่างลึกซ้ึง

ตัวอย่างงานที่มอบหมายให้ทา เชน่
- บทความในเรื่องที่กาลังเป็นประเด็นที่น่าสนใจและมีความสาคัญอยู่ในขณะน้ัน เช่น พายุ ฝนดาวตก น้า
จะทว่ มประเทศไทยจริงหรือ การโคลนน่ิงสิง่ มชี ีวติ
- รายงานส่ิงท่ีผู้เรียนสนใจโดยเฉพาะ เช่น การศึกษาวงชีวิตของแมลงวันทอง การสารวจความหลากหลาย
ของพชื ในบรเิ วณโรงเรยี น
- ส่ิงประดิษฐ์ที่ได้จากการทากิจกรรมท่ีสนใจ เช่น การสร้างระบบนิเวศจาลองในระบบปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้
ควบคุมการปิดเปิดน้า ชุดอปุ กรณต์ รวจสภาพดิน เครือ่ งร่อนทีส่ ามารถ
ร่อนไดไ้ กลและอยู่ในอากาศไดน้ าน
๒. การกาหนดช้ินงาน หรืออุปกรณ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ให้ผู้เรียนวิเคราะห์องค์ประกอบและกระบวนการ
ทางาน และเสนอแนวทางเพื่อพัฒนาให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ให้นักเรียนทดลองใช้อุปกรณ์แสดงการเกิดกระแส
อากาศ บนั ทึกผลการทดลอง พรอ้ มกับอภิปรายเพื่อตอบปัญหาต่อไปน้ี

๒.๑ ถ้านกั เรียนจุดเทียนไขจะเกิดอะไรข้ึน
๒.๒. ถา้ นักเรยี นดบั เทียนไขจะเกิดอะไรข้ึน

๑๓๗

๒.๓. อปุ กรณ์นีท้ างานได้อย่างไร เพราะเหตุใด
๒.๔. ถ้านกั เรยี นจะปรบั ปรุงอุปกรณช์ ุดน้ีใหท้ างานมีประสิทธภิ าพมากข้นึ จะ
ปรับปรงุ อะไรบ้าง อย่างไร เพราะเหตุใด
๒.๕. ถา้ ต้องปรับปรงุ อุปกรณ์ใหด้ ีขึ้น จะมีวธิ กี ารทาและตรวจสอบได้อย่างไร
๒.๖. ถา้ จะนาอปุ กรณ์ท่ีปรับปรุงแลว้ ไปใช้ประโยชน์ จะใชท้ าประโยชน์อะไรได้บ้าง
๓. กาหนดตัวอย่างชิ้นงานให้ แล้วให้ผู้เรียนศึกษางานนั้น และสร้างชิ้นงานที่มีลักษณะของการทางานได้
เหมือนหรือดีกว่าเดิม เช่น การประดิษฐ์เครื่องร่อน การทาสไลด์ถาวรศึกษาเน้ือเยื่อพืช การทากระดาษจากพืชใน
ทอ้ งถ่ิน ฯลฯ
๔. สร้างสถานการณจ์ าลองทส่ี ัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรยี น โดยกาหนดสถานการณ์
แล้วให้ผเู้ รยี นลงมือปฏบิ ตั เิ พื่อแกป้ ัญหา

ตวั อยา่ งสถานการณท์ ่ี ๑
"มลี าไยท่ีเกบ็ มาจากสวน ๔ แหง่ ต้องการตรวจสอบว่าลาไยจากสวนใดมีความหวานมากทีส่ ุด"

๑) ใชห้ ลกั การออสโมซสิ
๒) ใชว้ ิธีการอนื่ ใหน้ กั เรียน
๓) บอกขั้นตอนของวธิ กี ารตรวจสอบของแตล่ ะวิธี
๔) ระบวุ ิธกี ารเก็บข้อมูลของแตล่ ะวธิ ี
๕) เลือกวธิ ีการทดสอบจากที่กาหนดไวใ้ น ๑) หรอื ๒) พร้อมให้เหตผุ ลที่เลือก
๖) ดาเนนิ การตรวจสอบโดยใชว้ ธิ กี ารออสโมซสิ และวิธที ีเ่ ลือกในข้อ ๓
๗. เปรียบเทียบผลการทดลองและลงข้อสรปุ ว่าวธิ ีใดได้ผลดีกว่ากัน

ตัวอยา่ งสถานการณ์ท่ี ๒
ถา้ นักเรยี นมีเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ประกอบด้วยหลอดไฟ ๓ หลอด พัดลมติดเพดาน ให้นักเรยี นออกแบบผังวงจร

ทีต่ ิดกับอุปกรณ์ พรอ้ มกับให้เหตุผลประกอบ

ตวั อย่างสถานการณ์ท่ี ๓
โรงงานทากระทะแห่งหน่ึงต้องการทดสอบวัสดุที่มีผู้นามาเสนอขาย จานวน ๓ ชนิด ว่าชนิดใดเหมาะท่ีสุด

จงึ ให้พนักงานทดสอบ แลว้ มารายงานให้ทราบ
๑) นักเรียนคดิ วา่ ปญั หาคืออะไร
๒) ถา้ นกั เรยี นต้องทดสอบ จะตอ้ งวางแผนการตรวจสอบและลงมือปฏบิ ตั ิอย่างไร
๓) การรายงานผลการทดสอบจะมเี นื้อหาสาระอะไรบา้ ง

ตัวอย่างสถานการณท์ ี่ ๔
"มคี ากลา่ ววา่ ไมส่ ามารถชบุ เหล็กให้เปน็ ทองไดโ้ ดยตรง"

๑) นกั เรยี นจะมวี ธิ ีการทดสอบคากล่าวนี้ได้อย่างไรบ้าง
๒) นกั เรยี นคิดว่าวิธีการทดสอบใดจะไดผ้ ลดีท่ีสุด
๓) จงวิจารณ์ว่าวิธกี ารทดสอบที่เลือกน้ันเป็นไปได้เพยี งใด
๔) จะทาการทดสอบเพื่อยืนยันได้อย่างไรวา่ วธิ ีทเ่ี ลือกน้ันถูกต้องแผงไฟรวม

๑๓๘

ตัวอย่างสถานการณ์ท่ี ๕
"นักเรียนเชอื่ หรือไมว่ า่ น้าทะเลจะไม่เป็นฟองกับสบู่"

๑) นกั เรียนจะมวี ธิ ีใดบ้างที่จะตรวจสอบว่าข้อความนเี้ ป็นจริงหรือเป็นเท็จ
๒) จงเลอื กวิธีที่คิดว่าสามารถทดสอบได้ผลดที ่ีสุด พรอ้ มทั้งใหเ้ หตุผลประกอบ
๓ จงลงมอื ทดสอบด้วยวิธกี ารท่ีเลือก
๔) จงวจิ ารณ์ว่าวิธีที่เลือกมาทดสอบแตกต่างกนั อย่างไร

ตัวอย่างสถานการณท์ ี่ ๖
"นา้ บาดาลทีน่ ามาใชบ้ รโิ ภคไมส่ ะอาดเพียงพอ"

๑) มวี ธิ ที ดสอบไดอ้ ย่างไรว่าข้อความดังกล่าวเป็นจริง
๒) วธิ ีการใดจะช่วยให้การตรวจสอบไดผ้ ลดีที่สดุ
๓) ถา้ ตรวจสอบแลว้ พบวา่ น้าบาดาลน้ันไม่สะอาด ทา่ นจะมีวธิ แี กไ้ ขอย่างไร
๔) วิธใี ดน่าจะใช้ทาใหน้ ้าบาดาลสะอาดที่สดุ เพราะเหตุใดจึงเลือกวิธนี ้ี
๕) จงแสดงวธิ กี ารตรวจสอบและทาให้นา้ บาดาลสะอาดจนใช้บริโภคได้

ตัวอยา่ งสถานการณท์ ี่ ๗
เม่ือหยอ่ นส่งิ ของต่างๆ ลงในสระนา้

๑) จงวิเคราะห์และอธิบายว่า เพราะเหตุใดสิ่งของบางชนิดจึงจม บางชนิดจงึ ลอย
๒) จงวางแผนและเลือกวธิ ที ี่จะทดสอบสมมติฐาน อธบิ ายด้วยว่าเหตใุ ดจงึ เลือกวธิ ีนน้ั
๓) จะนาความรูจ้ ากการศึกษาเรื่องน้ีไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้อย่างไร

ตัวอย่างสถานการณท์ ี่ ๘
จงวเิ คราะหแ์ รงเสียดทานท่ีเกิดข้ึนในการขจี่ ักรยาน

๑) หาวิธีลดแรงเสยี ดทานให้เหลือน้อยท่สี ดุ เท่าที่จะทาได้
๒) ออกแบบจักรยานทมี่ ีแรงเสียดทานน้อยทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็นไปได้
การประเมินตามสภาพจรงิ ยังคงใช้การทดสอบด้วยการเขียนตอบ แตจ่ ะลดการทดสอบทว่ี ัดด้านความรู้ความจา โดย
จะมุ่งเน้นประเมินด้านความเข้าใจ การนาไปใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการคิดขั้นสูง แบบทดสอบใน
ลักษณะนี้จะต้องสร้างสถานการณ์ ซง่ึ สว่ นใหญ่ต้องสัมพันธ์กับชีวติ จริงของนักเรียน แลว้ ให้นักเรียนตอบคาถามโดย
เขยี นตอบ ลักษณะของคาถามควรนาไปสู่การวดั ท่สี ูงกว่าความรู้ความจา

การประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แฟ้มผลงาน (portfolio assessment)
แฟม้ ผลงานคืออะไร
เมื่อผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทั้งในห้องเรียนหรือนอก

ห้องเรียนก็ตาม ก็จะมีผลงานที่ได้จากการทากิจกรรมเหล่าน้ันปรากฏอยู่เสมอ ซ่ึงสามารถจาแนกผลงานออกตาม
กิจกรรมต่างๆ ดงั นี้

๑๓๙

๑. การฟังบรรยาย เม่ือผู้เรียนฟังการบรรยายก็จะมีสมุดจดคาบรรยาย ซึ่งอาจอยู่ในรูปของบันทึกอย่าง
ละเอียดหรือบันทึกแบบย่อ ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับลักษณะของความชอบและความเคยชินของผู้เรียนในการบันทึกคา
บรรยาย

๒. การทาการทดลอง ผลงานของผู้เรียนท่ีเกี่ยวข้องกับการทดลอง อาจประกอบด้วยการวางแผนการ
ทดลองทั้งในรูปของบันทึกอย่างเป็นระบบหรือบันทึกแบบย่อ การบันทึกวิธีการทดลอง ผลการทดลองและปัญหาท่ี
พบขณะทาการทดลอง การแปลผล สรุปผลและการอภิปรายผลการทดลอง และผลงานสุดท้ายที่เก่ียวข้องกับการ
ทดลอง คือการรายงานผลการทดลองที่ผู้เรยี นอาจทาเป็นกลุม่ หรือเด่ียวก็ได้

๓. การอภปิ ราย ผลงานของผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับการอภิปราย คือ วางหัวข้อและข้อมูลท่ีจะนามาใช้ในการ
อภปิ ราย ผลท่ีได้จากการอภปิ รายรวมทั้งข้อสรุปต่างๆ

๔. การศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม จัดเป็นผลงานที่สาคัญประการหน่ึงของผู้เรียนที่เกิดจากการได้รับมอบหมาย
จากครูผู้สอนให้ไปค้นคว้าหาความรู้ในเร่ืองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือประเด็นท่ีกาลังศึกษา ผลงานท่ีได้จาก
การค้นคว้าเพ่ิมเติมอาจอยู่ในรูปของรายงาน การทาวิจัยเชิงเอกสารหรือบันทึกประเด็นสาคัญซึ่งอาจนามาใช้
ประกอบการอภปิ รายในชว่ั โมงเรียนก็ได้

๕. การศึกษานอกสถานที่ การศึกษานอกสถานที่จัดเป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง
กบั เรือ่ งท่ีกาลังศึกษา ผลงานที่ได้อาจประกอบด้วยการบันทึกการสังเกต การตอบคาถามหรอื ปัญหาจากใบงาน การ
เขยี นรายงานสิ่งที่ค้นพบ

๖. การบันทึกรายวัน เป็นผลงานประการหน่ึงของผู้เรียนที่อยู่นอกเหนือจากผลงานท่ีแสดงถึงการเรียนรู้
โดยตรง แต่จะช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ประเมินได้เข้าใจในประเด็นหรือสิ่งที่ผู้เรียนนึกคิดเก่ียวกับการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ด้วยนอกจากกิจกรรมท่ีได้กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอน ซึ่ง
ผู้เรยี นสามารถแสดงออกถึงความสามารถอื่นๆ อีกด้วยเช่น การสื่อสาร ผลงานเหล่าน้ีถ้าได้รับการเก็บรวบรวมอย่าง
มีระบบด้วยตัวผู้เรียนเองตามช่วงเวลา ทั้งก่อนและหลังการทากิจกรรมเหล่านี้ โดยได้รับคาแนะนาจากผู้สอน และ
ผู้เรียนฝึกทาจนเคยชินแล้วจะถือเป็นผลงานท่ีสาคัญย่ิงท่ีใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ของ
ผู้เรียนตอ่ ไป

ในการวัดและประเมินผลด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมถึงการที่นักเรียนได้แสดงให้ครูเห็นถึงความรู้
ความสามารถที่ครูได้คาดหวังว่านักเรียนจะมีความรู้เกิดข้ึนจากการเรียนรู้นั้น การวัดและประเมินผลในด้านนี้ จะ
ช่วยสะท้อนให้ครูและนักเรียนได้ทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด มีอะไรท่ีครูควรให้
ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ และเรียนรู้ไปมากน้อยเพียงใดตามจุดประสงค์ที่ครูต้ังไว้ อาจใช้วิธีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ท้งั การสอบย่อยและการสอบใหญ่ การให้นกั เรียนสอบปฏบิ ัติการต่างๆ เปน็ ต้น

แนวทางการใหค้ ะแนนเพื่อการประเมนิ
จากท่ีกล่าวมาแล้วว่า การประเมินจากสภาพจริงให้ความสาคัญต่อการประเมินโดยใช้ข้อสอบแบบเขียน

ตอบน้อยมา แต่จะให้ความสาคัญต่อการแสดงออกที่แท้จริงของนักเรียนขณะทากิจกรรม งานหรือกิจกรรมท่ี
กาหนดให้นักเรียนทาจะมีแนวทางไปสู่ความสาเร็จของงานและมีวิธีการหาคาตอบหลายแนวทาง คาตอบท่ีได้
อาจมิใช่ในแนวทางท่ีกาหนดไว้เสมอไป จึงทาให้การตรวจให้คะแนนไม่สามารถให้อย่างชัดเจนแน่นอนเหมือน
การตรวจให้คะแนนแบบข้อสอบเลือกตอบ ดังนั้นการประเมินจากสภาพจริง จึงต้องมีการกาหนดแนวทางการ
ให้คะแนนอย่างชัดเจน การกาหนดแนวทางอาจจัดทาโดยครู คณะครหู รือครูและนักเรียนกาหนดร่วมกัน แนว
ทางการประเมินน้ันจะต้องมีมาตรวัดว่านักเรียนทาอะไรได้สาเร็จ และระดับความสาเร็จอยู่ในระดับใด แนว
ทางการประเมนิ ทม่ี ีมาตรวดั นี้ เรียกวา่ Rubric การประเมินโดยอิง Rubric น้ี โดยทั่วไปมี ๒ แบบคอื

๑๔๐

๑. การใหค้ ะแนนภาพรวม (Holistic score)
๒. การให้คะแนนแยกองคป์ ระกอบ (Analytic score)

แนวปฏบิ ตั ิในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เรี ย น ต้ อ ง อ ยู่ บ น ห ลั ก ก า ร พื้ น ฐ า น ส อ ง ป ร ะ ก า ร คื อ
การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้
ประสบผลสาเร็จนั้น นักเรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของนักเรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้
นกั เรยี นเกิด การพัฒนาและเรยี นรอู้ ยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา มี
รายละเอียด ดงั น้ี

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครู
ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย
เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้ม
สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยครู ผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินตนเอง
เพ่ือนประเมินเพื่อน ผูป้ กครองรว่ มประเมิน ในกรณที ไ่ี มผ่ ่านตวั ชีว้ ัดใหม้ ีการสอนซอ่ มเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า นักเรียนมพี ัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อันเป็นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะต้องได้รบั การพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรยี นการสอนของตนดว้ ย ท้ังนี้
โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินท่ีสถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผล การ
เรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่า
ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนาผลการ
เรียนของผู้เรยี นในสถานศกึ ษาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาจะเป็นข้อมูล
และสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อ
การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ผ้ปู กครองและชุมชน

๑๔๑

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพ
นักเรียน ที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่ม
นักเรยี นทัว่ ไป กล่มุ นักเรียนทม่ี คี วามสามารถพิเศษ กลุ่มนกั เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนต่า กลุม่ ผู้เรียนที่มี
ปัญหาดา้ นวนิ ัยและพฤติกรรม กลุ่มนักเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มนักเรียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสงั คม
กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจาก การประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการ
ดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการ
เรยี น

สถานศึกษาในฐานะผู้รบั ผดิ ชอบจัดการศกึ ษา จะต้องจดั ทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
สถานศกึ ษา เพือ่ ให้บคุ ลากรท่เี ก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายถือปฏิบตั ิรว่ มกนั

เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น

๑. การตัดสนิ การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนานักเรียนแต่ละคนเป็น
หลัก และต้องเก็บข้อมูลของนักเรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสริม
ผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเ้ รียนต้องมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด
(๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัด และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของ
จานวนตวั ชีว้ ัด
(๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ไม่น้อยกว่าระดับ “๑” จึงจะถือว่า
ผ่านเกณฑ์ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
(๔) นักเรียนต้องได้รบั การประเมิน และมผี ลการประเมิน การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ใน
ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ “ผ่าน” ข้ึนไป และมีผลการ
ประเมนิ กจิ กรรมพฒั นานักเรียน ในระดบั “ผ่าน”

การพิจารณาเล่ือนชั้น ถ้านักเรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และพิจารณาเห็นว่าสามารถ
พัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้ผ่อนผันให้เลื่อนช้ันได้ แต่หากนักเรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมี
แนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาตอ่ การเรยี นในระดบั ชัน้ ท่ีสงู ข้ึน ให้ต้ังคณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซ้าชัน้ ได้ ท้ังน้ใี ห้
คานึงถงึ วุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของนกั เรยี นเปน็ สาคัญ

๑๔๒

๑.๒ การใหร้ ะดับผลการเรียน

ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ระดับผลการเรียนหรือระดับ

คุณภาพการปฏิบัติของนักเรยี น เป็นระบบตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั ดงั น้ี

ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนร้อยละ

๔ ผลการเรยี นดีเยยี่ ม ๘๐ - ๑๐๐

๓.๕ ผลการเรียนดมี าก ๗๕ - ๗๙

๓ ผลการเรียนดี ๗๐ - ๗๔

๒.๕ ผลการเรยี นค่อนขา้ งดี ๖๕ - ๖๙

๒ ผลการเรียนนา่ พอใจ ๖๐ - ๖๔

๑.๕ ผลการเรยี นพอใช้ ๕๕ - ๕๙

๑ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นตา่ ๕๐ - ๕๔

๐ ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ ๐ - ๔๙

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน ให้ระดับผลการ
ประเมนิ เปน็ ดีเย่ยี ม ดี ผา่ น และไมผ่ ่าน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และ
ไม่ผา่ น

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและนักเรียนทราบความก้าวหน้า ในการ

เรียนรู้ของนักเรียน ต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรือ
อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ ครัง้

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของนักเรียนท่ีสะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้

๒. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คือ ระดับ
ประถมศกึ ษา
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศกึ ษา

(๑) นกั เรียนเรยี นรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ท่ี
กาหนด

(๒) นักเรยี นตอ้ งมีผลการประเมินรายวชิ าพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามทก่ี าหนด

๑๔๓

(๓) นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การ
ประเมินตามท่ีกาหนด

(๔) นักเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามทีก่ าหนด

(๕) นักเรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่
กาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้
คณะกรรมการของสถานศึกษา ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

๑๔๔

อภิธานศพั ท์

ศัพทท์ ่เี กย่ี วข้องกับตัวช้วี ดั กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

๑ กาหนดปญั หา define problem ระบุคาถาม ประเด็นหรือ สถานการณ์ท่ีเป็น

ข้อสงสัย เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาหรือ

อภิปรายร่วมกนั

๒ แก้ปญั หา solve problem หาคาตอบของปัญหาท่ียังไม่รู้ วิธีการมาก่อน

ทั้งปัญ หาท่ี เก่ียวข้องกับวิท ยาศาสตร์

โดยตรงและปัญหาในชีวิต ประจาวันโดยใช้

เทคนคิ และ วธิ ีการตา่ ง ๆ

๓ เขียนแผนผัง/วาดภาพ construct diagram/ นาเสนอข้อมูลหรือผลการสารวจ ตรวจสอบ

illustrate ด้วยแผนผัง กราฟ หรอื ภาพวาด

๔ คาดคะเน Predict คาดการณ์ผลที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดย

อาศัยข้อมูลทสี่ งั เกตได้ และประสบการณ์ท่มี ี

๕ คานวณ calculate หาผลลัพธ์จากข้อมลู โดยใช้ หลักการ ทฤษฎี

หรือวธิ ีการทาง คณติ ศาสตร์

๖ จาแนก Classify จัดกลุ่มของส่ิงต่าง ๆ โดยอาศัย ลักษณะที่

เหมือนกันเป็นเกณฑ์

๗ ต้ังคาถาม ask question พดู หรอื เขียนประโยค หรือวลี เพ่ือให้ได้มาซ่ึง

การค้นหา คาตอบทีต่ ้องการ

๘ ทดลอง conduct/experiment ปฏิบัติการเพ่ือหาคาตอบ ของคาถาม หรือ

ปัญหาในการ ทดลอง โดยต้ังสมมติฐานเพ่ือ

เป็นแนวทางในการกาหนด ตัวแปรและ

วางแผนดาเนินการ เพือ่ ตรวจสอบสมมตฐิ าน

๙ นาเสนอ Present แสดงข้อมูล เร่ืองราว หรือ ความคิด เพื่อให้

ผูอ้ ื่นรับรู้ หรอื พจิ ารณา

๑๐ บรรยาย describe ให้ ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ งเห ตุ ก า ร ณ์ ห รื อ

ปรากฏการณ์ท่เี กิดขึ้นให้ ผู้อื่นได้รบั รดู้ ้วยการ

บอก หรอื เขียน

๑๔๕

ท่ี ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ความหมาย

๑๑ บอก Tell ใหข้ อ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริง แก่ผู้อน่ื ดว้ ยการพูด

หรือเขียน

๑๒ บนั ทึก Record เขียนข้อมูลท่ไี ด้จากการสังเกต เพอื่ ชว่ ยจา

หรอื เพ่ือเปน็ หลักฐาน

๑๓ เปรยี บเทียบ Compare บอกความเหมือน และ/หรือ ความแตกตา่ ง

ของสิง่ ที่ เทยี บเคยี งกัน

๑๔ แปลความหมาย Interpret แสดงความหมายของข้อมลู จากหลักฐานที่

ปรากฏ เพอ่ื ลงข้อสรปุ

๑๕ ยกตวั อย่าง give examples ใหข้ ้อมลู เหตุการณห์ รือสถานการณ์ เพื่อแสดง

ความเขา้ ใจในสงิ่ ท่ีได้ เรยี นรู้

๑๖ ระบุ identify ชบี้ อกสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใชข้ ้อมูล ประกอบอย่าง

เพียงพอ

๑๗ เลอื กใช้ select พิจารณ า และตัดสินใจนาวัสดุ สิ่งของ

อุปกรณห์ รอื วิธกี าร มาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม

๑๘ วดั measure หาขนาด หรือปริมาณ ของ ส่ิงต่าง ๆ โดยใช้

เครื่องมอื ทีเ่ หมาะสม

๑๙ วิเคราะห์ analyze แยกแยะ จัดระบบ เปรียบเทียบ จัดลาดับ

จดั จาแนก หรอื เชอื่ มโยงข้อมูล

๒๐ สร้างแบบจาลอง construct model นาเสนอแนวคิด หรือเหตุการณ์ ในรูปของ

แผนภาพ ชิ้นงาน สมการ ข้อความ คาพูด

และ/ หรือใช้แบบจาลองเพอื่ อธิบาย ความคิด

วตั ถุ หรือเหตุการณ์ ต่าง ๆ

๒๑ สังเกต Observe หาข้อมูลด้วยการใช้ประสาท สัมผัสทั้งห้า

ที่เหมาะสมตาม ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ โดยไม่

ใช้ ประสบการณเ์ ดิมของผู้สงั เกต

๒๒ สารวจ explore หาข้อมูลเก่ียวกับส่ิงต่าง ๆ โดยใช้วีธีการและ

เทคนิคท่ี เหมาะสม เพื่อนาข้อมูลมาใช้ ตาม

วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้

๑๔๖

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

๒๓ สืบค้นขอ้ มูล search หาข้อมูล หรือขอ้ สนเทศท่ีมี ผ้รู วบรวมไว้แลว้

จากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใชป้ ระโยชน์

๒๔ ส่ือสาร communicate นาเสนอ และแลกเปลยี่ น ความคิด ข้อมูล

หรอื ผลจากการ สารวจตรวจสอบ ดว้ ยวิธี

ที่เหมาะสม

๒๕ อธบิ าย explain กลา่ วถึงเรอ่ื งราวต่าง ๆ อย่างมี เหตุผล และมี

ขอ้ มลู หรือ ประจกั ษ์พยานอ้างองิ

๒๖ อภปิ ราย discuss แสดงความคดิ เห็นตอ่ ประเด็น หรือคาถาม

อยา่ งมีเหตผุ ล โดยอาศัยความรแู้ ละ

ประสบการณ์ ของผู้อภิปรายและข้อมลู

ประกอบ

๒๗ ออกแบบการทดลอง design experiment กาหนด และวางแผนวธิ ีการ ทดลองให้

สอดคล้องกับ สมมตฐิ านและตัวแปรต่าง ๆ

รวมทงั้ การบนั ทึกข้อมูล

ศัพท์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ตวั ชว้ี ัดสาระเทคโนโลยี ๑๔๗

ท่ี ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ความหมาย
การนาส่ือ หรอื ขอ้ มลู ที่เปน็ ลิขสทิ ธ์ิของผู้อนื่
๑ การใชล้ ขิ สทิ ธ์ิของผอู้ ืน่ fair use ไปใช้โดยชอบ ดว้ ยกฎหมาย ภายใต้เง่ือนไข
บางประการ เช่น ๑) นาไปใช้ในการศึกษา
โดยชอบธรรม หรอื การคา้ ๒) งานนั้นเป็นงานวชิ าการ หรอื
บนั เทงิ ๓) คัดลอกเพยี งส่วนน้อย หรือ
๒ การตรวจและแก้ไข debugging คดั ลอกจานวนมาก ๔) ทาใหเ้ จา้ ของเสีย
ข้อผิดพลาด ผลประโยชน์ ทางการเงนิ มากนอ้ ยเพยี งใด
กระบวนการในการค้นหา ข้อผดิ พลาดของ
๓ การประมวลผลข้อมูล data processing โปรแกรม เพื่อแก้ไขใหท้ างานได้ถูกต้อง
การดาเนินการตา่ ง ๆ กบั ข้อมูล เพ่ือให้ได้
๔ การรวบรวมข้อมลู data collection ผลลพั ธท์ ่มี คี วามหมาย และมีประโยชนต์ ่อ
๕ ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ primary data การนา ไปใช้งานมากย่ิงขน้ึ
กระบวนการในการรวบรวม ขอ้ มูลที่เก่ียวข้อง
๖ เทคโนโลยี technology จากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ
ข้อมลู ทีร่ วบรวมโดยตรง จากแหลง่ ข้อมูล
๗ แนวคดิ เชิงคานวณ computational ขนั้ ตน้ โดยอาจ ใช้วิธีการสังเกต การทดลอง
thinking การสารวจ การสมั ภาษณ์
สง่ิ ทม่ี นุษย์สร้างหรือพฒั นาขึ้น ซ่ึงอาจเปน็ ได้
๘ แนวคิดเชิงนามธรรม abstraction การ ทงั้ ชน้ิ งาน หรอื วิธกี าร เพ่ือใช้แก้ปัญหาสนอง
ความตอ้ งการ หรือเพิม่ ความสามารถในการ
ทางาน ของมนุษย์
กระบวนการในการแก้ปัญหา การคดิ
วเิ คราะหอ์ ย่างมีเหตุผล เป็นขั้นตอน เพื่อหา
วธิ ีการ แก้ปญั หาในรปู แบบท่ีสามารถ นาไป
ประมวลผลได้
พิจารณารายละเอยี ดทสี่ าคญั ของปัญหา
แยกแยะสาระสาคัญ ออกจากส่วนที่ไมส่ าคัญ

๑๔๘

ศัพท์ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับตัวชีว้ ัดสาระเทคโนโลยี

ที่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย

๙ ระบบทางเทคโนโลยี technological กลมุ่ ของสว่ นตา่ ง ๆ ตัง้ แต่ สองส่วนขึน้ ไป

system ประกอบเข้า ด้วยกัน และทางานร่วมกัน

เพอ่ื ให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ โดยในการทางาน

ของระบบ ทางเทคโนโลยจี ะประกอบไปด้วย

ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และ

ผลผลิต (output) ทส่ี ัมพันธ์กัน นอกจากนี้

ระบบทางเทคโนโลยี อาจมขี ้อมูลย้อนกลบั

(feedback) เพ่อื ใชป้ รบั ปรุง การทางานไดต้ าม

วัตถปุ ระสงค์

๑๐ เหตุผลเชงิ ตรรกะ logical reasoning การใช้เหตุผล กฎ กฎเกณฑ์ หรือเงอ่ื นไขท่ี

เก่ยี วขอ้ ง เพื่อ แกป้ ัญหาไดค้ รอบคลุมทกุ กรณี

๑๑ เหตผุ ลวิบัติ logical fallacy การใชเ้ หตุผลทผี่ ดิ พลาดไม่อยู่บน พื้นฐานของ

ความจริง ไม่มนี ้าหนกั สมเหตุสมผลมา

สนับสนนุ หรอื ช้นี าข้อสรปุ ท่ีผดิ ใหด้ ูนา่ เชือ่ ถือ

๑๒ อตั ลกั ษณ์ Identity ลักษณะเฉพาะหรือข้อมลู สาคัญ ท่บี ่งบอกถึง

ความเปน็ ตวั ตนของ บคุ คลหรอื สิง่ ใดสงิ่ หน่ึง

เช่น ช่อื บญั ชผี ู้ใชใ้ บหน้า ลายนว้ิ มอื

๑๓ อัลกอริทึม algorithm ขั้นตอนในการแกป้ ัญหาหรือ การทางาน โดยมี

ลาดับของ คาสั่งหรอื วิธีการท่ีชัดเจน ท่ี

คอมพวิ เตอร์สามารถปฏบิ ัติ ตามได้

๑๔ แอปพลเิ คชัน software ซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ีทางาน บนคอมพวิ เตอร์

application สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต หรอื อปุ กรณเ์ ทคโนโลยี

อน่ื ๆ

๑๔๙

ภาคผนวก

๑๕๐

คาสั่งโรงเรยี นบ้านหว้ ยแหง้

ท่ี ๔๓ / 256๔

เรอื่ ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2564

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 25๕๑

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ออกคาส่ังท่ี สพฐ.1239/2560 เรื่องการใช้มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม( ฉบับปรับปรุง 2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อมและความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นการเสริมสร้างศักยภาพคนในชาติ ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระดับสากล
สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ นักเรียนมีศักยภาพในการ
แข่งขันและดารงชีวิตอยา่ งสร้างสรรค์ในประชาคมโลกตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้โรงเรียนบ้าน
ห้วยแห้งสามารถใช้หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 25๕๑ จึงแต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2564
ของโรงเรียนบา้ นหว้ ยแห้ง ดังตอ่ ไปนี้

1. นางสาวสุพรทพิ ย์ จนิ ตนชตู ิกร ประธานกรรมการ

2. นายสถาพร จนั ทร์เพชร ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาทป่ี รกึ ษา

3. นายสามารถ สุวรรณนวล กรรมการ

๔. นางสาวสนั ศนยี ์ กลุ พรหม กรรมการ

๕. นายธีรเดช สุขบัวแกว้ กรรมการ

๖. นางสาวนนั ทกิ า สุวรรณรตั น์ กรรมการ

๗. นางสาวนสุ ราพร สงชาติ กรรมการ


Click to View FlipBook Version