The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunshine Wind, 2022-09-16 02:12:11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

๘๗

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
กมีเอนไซม์ที่สร้างจากผนังลาไส้เล็ก -
จ าก ตั บ อ่ อ น ที่ ช่ ว ย ย่ อ ย โป รตี น
ฮ เด รต แ ล ะ ไข มั น โด ย โป รตี น
เดรต และไขมัน ที่ผ่านการย่อยจน
อาหารขนาดเล็กพอท่ีจะ ดูดซึมได้
า เกลือแร่ และวิตามิน จะถูกดูดซึม ท่ี
เล็กเข้าสู่กระแสเลือด เพ่ือลาเลียงไป
ต่ าง ๆ ข อ งร่างก าย ซ่ึ งโป รตี น
เดรต และไขมัน จะถูกนาไปใช้เป็น
งงานสาหรบั ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ส่วน
อแร่ และวิตามิน จะช่วยให้ร่างกาย
เป็นปกติ
งน้าดีแล้วส่งมายังลาไส้เล็กช่วยให้
กตัว
หญ่ทาหน้าที่ดูดน้าและเกลือแร่ เป็น
มีอาหารที่ย่อยไม่ได้ หรือย่อยไม่หมด
อาหาร ซึ่งจะถูกกาจัดออกทางทวาร

ะต่าง ๆ ใน ระบ บ ย่อยอาห าร มี
คัญ จึงควรปฏิบัตติ น ดูแลรักษาอวัยวะ
เป็นปกติ

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่าย

ที่มผี ลตอ่ ส่งิ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสง่ิ มชี วี ติ

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชว้ี ดั

--

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สา

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชีว้ ดั

ว ๒.๑ ป ๖/๑ ๑. อธบิ ายและเปรยี บเทียบการแยกสารผสม - สารผสม

โดยการหยบิ ออก การร่อน การใช้แมเ่ หลก็ ผสมกัน เช

ดงึ ดดู การรินออก การกรอง และการ ทราย วธิ ีก

ตกตะกอน โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทง้ั ขึ้นอยกู่ ับล

ระบวุ ธิ ีแก้ปญั หาในชวี ิตประจาวนั เกี่ยวกับการ ถา้ องคป์ ร

แยกสาร ของแขง็ ท

ใช้วิธกี ารห

ถ้ามีสารใด

การใช้แม่เ

ของแข็ง ท

รินออก ก

วิธีการแยก

ชวี ิตประจ

๘๘

ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สารพนั ธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

ต รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น

--

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหน่ยี วระหว่าง

ารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น

มประกอบด้วยสารตั้งแต่ ๒ ชนิดขึน้ ไป -

ช่น นา้ มนั ผสมนา้ ข้าวสารปนกรวด

การ ทเี่ หมาะสมในการแยกสารผสม

ลักษณะและสมบัติของสารท่ผี สมกัน

ระกอบของสารผสมเป็นของแข็งกับ

ที่มีขนาดแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน อาจ

หยิบออกหรือการรอ่ นผา่ นวสั ดุ ทมี่ รี ู

ดสารหน่งึ เปน็ สารแม่เหลก็ อาจใช้วธิ ี

เหลก็ ดึงดดู ถ้าองค์ประกอบเปน็

ทไ่ี ม่ละลายในของเหลว อาจใชว้ ธิ กี าร

การกรอง หรอื การตกตะกอน ซ่ึง

กสารสามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ น

จาวันได้

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลข

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

รหัสตวั ชี้วดั ตัวช้วี ดั

ว ๒.๒ ป ๖/๑ ๑. อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกดิ - วัตถุ ๒

จากวัตถทุ ่ีผ่านการขดั ถโู ดยใช้หลกั ฐานเชิง ใกล้กัน อ

ประจกั ษ์ เป็นแรงไ

ระหว่างวัต

ชนิด คือ

วัตถุท่ีมีปร

ตรงขา้ มกนั

๘๙

ของแรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถุ ลักษณะการเคลอ่ื นที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นา

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
-
ชนิดท่ีผ่านการขัดถูแล้ว เมื่อนาเข้า
อาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดขึ้นนี้
ไฟฟ้า ซึ่งเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดข้ึน
ตถุที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจไุ ฟฟ้ามี ๒
ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ
ระจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันผลักกัน ชนิด
นดงึ ดูดกัน

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลง

ชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณ์ท่เี กีย่ วขอ้ งกับเสยี ง แสง และ

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชีว้ ัด
ว ๒.๓ ป ๖/๑
๑. ระบสุ ่วนประกอบและบรรยายหน้าท่ี ของ - ว ง จ ร ไ
ว ๒.๓ ป ๖/๒
ว ๒.๓ ป ๖/๓ แต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย แ ห ล่ ง ก

ว ๒.๓ ป ๖/๔ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เคร่ืองใช้ไ

๒. เขยี นแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย ไฟฟ้า เช
หน้าท่ีให้พ

๓. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธี ไฟฟ้าทาห
ท่เี หมาะสมในการอธบิ ายวธิ ีการและผลของ ไฟ ฟ้ า แ
เคร่ืองใช้ไ
การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการต่อ เป็นพลังงา
เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และ - เมื่อนาเ
โดยให้ข้ัว
การประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน
ขั้วลบของ

ทาให้มีพ

ไฟฟ้า ซึ่ง

สามารถน

เช่น การต

๙๐

งและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานใน
ะคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
-
ไฟ ฟ้ า อ ย่ า ง ง่ า ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
า เนิ ด ไฟ ฟ้ า ส า ย ไฟ ฟ้ า แ ล ะ
ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า แหล่งกาเนิด
ช่น ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอรี่ ทา
พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนา
หน้าท่ีเชื่อมต่อระหว่างแหล่งกาเนิด
แ ล ะ เค ร่ื อ งใช้ ไฟ ฟ้ า เข้ า ด้ ว ย กั น
ไฟฟ้ามีหน้าท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟ้า
านอนื่
ซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน
บวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกับ
งอีกเซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบอนุกรม
ลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเครื่องใช้
ง ก า ร ต่ อ เซ ล ล์ ไ ฟ ฟ้ า แ บ บ อ นุ ก ร ม
น าไป ใช้ ป ร ะโย ช น์ ใน ชี วิ ต ป ร ะจ าวั น
ต่อเซลล์ไฟฟา้ ในไฟฉาย

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวัด
ว ๒.๓ ป ๖/๕
๕. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ี - การตอ่ ห
ว ๒.๓ ป ๖/๖
ทเ่ี หมาะสมในการอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟา้ หลอดไฟฟ
ว ๒.๓ ป ๖/๗
ว ๒.๓ ป ๖/๘ แบบอนกุ รมและแบบขนาน ไฟฟ้าทเี่ ห

๖. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความร้ขู องการต่อ ไฟฟา้ แบบ

หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน โดย หนึ่งออก

บอกประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกตใ์ ช้ใน ก็ยังสว่าง
สามารถน
ชีวติ ประจาวนั

๗. อธิบายการเกิดเงามดื เงามัวจากหลกั ฐาน หลอดไฟฟ
ไฟฟ้าแบบ
เชิงประจกั ษ์
๘. เขยี นแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงา ดวงหนึ่งได
- เมอื่ นาวัต
มดื เงามัว
ฉากรับแส

คล้ายวตั ถ

แสงบางส่ว

บรเิ วณท่ไี

บนฉากเล

๙๑

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมเมื่อถอด
ฟ้าดวงใดดวงหน่ึงออกทาใหห้ ลอด
หลือดบั ทั้งหมด ส่วนการตอ่ หลอด
บขนาน เมื่อถอดลอดไฟฟ้าดวงใดดวง
หลอดไฟฟ้าทเี่ หลือ
งได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การต่อ
ฟ้าหลายดวงในบ้านจึงต้องต่อหลอด
บขนานเพื่อเลือกใช้หลอดไฟฟ้าดวงใด
ด้ตามต้องการ
ตถทุ บึ แสงมากน้ั แสงจะเกิดเงาบน
สงที่อยดู่ า้ นหลงั วัตถุ โดยเงามีรูปร่าง
ถุท่ที าใหเ้ กดิ เงา เงามัวเปน็ บริเวณท่มี ี
วนตกลงบนฉาก ส่วนเงามดื เป็น
ไม่มีแสงตกลง
ลย

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเก

ปฏสิ ัมพันธภ์ ายในระบบสุริยะที่สง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และการประยกุ ต์ใช้เทคโนโล

รหัสตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ดั

ว ๓.๑ ป ๖/๑ ๑. สร้างแบบจาลองทอี่ ธิบายการเกดิ และ - เมอื่ โลกแ

เปรยี บเทียบปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา และ เสน้ ตรงเด

จนั ทรปุ ราคา เหมาะสม

ของดวงจัน

บริเวณเงา

ปรากฏกา

เต็มดวง ส

แหวน

- หากดว

เส้นตรงเด

เคล่ือนท่ีผ

มืดไป เกิด

จั น ท รุ ป ร

บางส่วน

๙๒

กิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ัง

ลยีอวกาศ

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน

และดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนว

ดยี วกนั กับดวงอาทติ ยใ์ นระยะทางท่ี

ทาให้ดวงจันทรบ์ งั ดวงอาทติ ย์ เงา

นทร์ทอดมายังโลก ผูส้ ังเกตท่ีอยู่

าจะมองเห็น ดวงอาทิตยม์ ืดไป เกิด

ารณ์สรุ ยิ ปุ ราคา ซ่ึงมีท้ังสรุ ิยุปราคา

สรุ ิยุปราคาบางสว่ น และสุรยิ ปุ ราคาวง

วงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนว
ดียวกันกับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์
ผ่านเงาของโลก จะมองเห็นดวงจันทร์
ดปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซ่ึงมีทั้ง
ราคาเต็มดวง และจันทรุปราคา

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวัด - เทคโนโล
ว ๓.๑ ป ๖/๒ มนุษย์ในก
๒. อธิบายพฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ กล้อง-โทร
และยกตัวอย่างการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ เพ่ือสารว
ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั จากข้อมลู ท่ี อวกาศ แล
รวบรวมได้ มีการนาเ
ป ร ะ ยุ ก ต
ดาวเทียม
หรือการส
อุปกรณ์วัด
นริ ภยั ชุด

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๙๓

ลยีอวกาศเร่ิมจากความต้องการของ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
การสารวจวัตถุท้องฟ้าโดยใช้ตาเปล่า -
รทรรศน์ และได้พัฒนาไปสู่การขนส่ง
วจอวกาศด้วยจรวดและยานขนส่ง
ละยังคงพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ปัจจุบัน
เท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ บ า ง ป ร ะ เภ ท ม า
ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การใช้
มเพ่ือการส่ือสาร การพยากรณ์อากาศ
สารวจทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
ดชีพจรและการเต้นของหัวใจ หมวก
ดกีฬา

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระ

กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลกรวมท้งั ผลตอ่ สิง่ มีชีว

รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ชวี้ ดั

ว ๓.๒ ป ๖/๑ ๑. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หิน - หินเป็น

ตะกอน และหินแปรและอธิบายวัฏจักรหินจาก ประกอบ

แบบจาลอง จาแนกห

ประเภท

แปร

- หินอัคน

หิน มีลักษ

ขนาดเล็ก

พรนุ

- หินตะก

เม่ือถูกแร

เกิดเป็นห

เป็ น เม็ ด ต

ละเอียด บ

จากการ

โดยเฉพาะ

ชั้น ๆ จงึ เร

๙๔

ะบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย

วิตและส่ิงแวดลอ้ ม

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่นิ

นวัสดุแข็งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ -สังเกต เปรียบเทียบ หินท่ีพบบริเวณหน้า

ด้วยแร่ตั้งแต่หน่ึงชนิดข้ึนไป สามารถ อาคารเรียนและหินทพี่ บบรเิ วณสวน

หินตามกระบวนการเกิดได้เป็น ๓

ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหิน

นีเกิดจากการเย็นตัวของแมกมา เน้ือ
ษณะเป็นผลึก ท้ังผลึกขนาดใหญ่และ
ก บางชนิดอาจเป็นเน้ือแก้ว หรือมีรู

กอน เกิดจากการทับถมของตะกอน
รงกดทับและมีสารเช่ือมประสานจึง
หิน เนื้อหินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะ
ตะกอน มีท้ังเน้ือหยาบและเน้ือ
บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกันเกิด
รตก ผลึ กห รือ ตก ตะกอ น จาก น้ า
ะน้าทะเล บางชนิดมีลกั ษณะเป็น
รียกอกี ชือ่ วา่ หนิ ชั้น

รหัสตัวชี้วัด ตัวช้วี ัด - หินแปร
ว ๓.๒ ป ๖/๒ อาจเป็นห
๒. บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ การกระท
ของหินและแรใ่ นชวี ติ ประจาวันจากข้อมูล ท่ี ปฏิกิริยาเ
รวบรวมได้ ของแรเ่ รีย
ออกเป็นแ
ความแขง็ ม
- หิ น ใน ธ
เป ลี่ ย น แ
ประเภทห
รูปการเป
วฏั จักร

- หินและ
แตกต่าง
ชีวิตประจ
ท า เ ค ร่ื อ
อุปกรณ์ท
ก่อสรา้ งตา่

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙๕
เกิดจากการแปรสภาพของหนิ เดิมซ่ึง
หินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร โดย สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
ทาของความร้อน ความดัน และ
เคมี เนื้อหินของหินแปรบางชนิดผลึก
ยงตัวขนานกัน เป็นแถบ บางชนดิ แซะ
แผ่นได้ บางชนิด เป็นเนื้อผลึกท่ีมี
มาก
ธ รรม ช าติ ทั้ ง ป ระ เภ ท มี ก าร
แ ป ล ง จ า ก ป ร ะ เ ภ ท ห น่ึ ง ไ ป เป็ น อี ก
หน่ึง หรือประเภทเดิมได้ โดยมีแบบ
ป ล่ี ย น แ ป ล ง ค ง ท่ี แ ล ะ ต่ อ เน่ื อ ง เป็ น

ะแร่แต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติ
กัน มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแร่ใน
จาวัน ในลักษณะต่าง ๆ เช่น นาแร่มา
งสาอาง ย าสีฟั น เคร่ืองป ระดับ
ทางการแพทย์ และนาหินมาใช้ในงาน
าง ๆ เป็นตน้

รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชว้ี ัด - ซากดกึ ด
ว ๓.๒ ป ๖/๓ ประทบั รอ
๓. สร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกิด ซากดึก โครงสรา้ ง
ดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดตี ปรากฏอย
ของซากดึกดาบรรพ์ บรรพ์ ท่ีห
ปลา เต่า ไ
- ซากดึกด
ท่ีช่วยอธิบ
ขณะเกิดส
บรรพ์ของ
น้ันอาจเค
พบซากด
บริเวณนั้น
ซากดึกดา
และเป็นข
สิง่ มชี ีวิต

๙๖

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
ดาบรรพเ์ กิดจากการทับถม หรือการ
อยของสิง่ มชี วี ติ ในอดตี จนเกดิ เปน็
งของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชวี ติ ที่
ยใู่ นหนิ ในประเทศไทยพบซากดึกดา
หลากหลาย เช่น พืช ปะการัง หอย
ไดโนเสาร์ และรอยตีนสตั ว์
ดาบรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐานหน่ึง
บายสภาพแวดล้อมของพ้ืนท่ีในอดีต
สิ่งมีชีวิตน้ัน เช่น หากพบซากดึกดา-
ง หอยน้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณ
คยเป็นแหล่งน้าจืดมาก่อน และหาก
ดึกดาบรรพ์ของพืช สภาพแวดล้อม
นอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากน้ี
าบรรพ์ยังสามารถใช้ระบุอายุของหิน
ข้อมูลในการศึกษาวิวัฒนาการของ

รหัสตัวชี้วดั ตัวช้ีวดั - ลมบก ล
ว ๓.๒ ป ๖/๔ ๔. เปรยี บเทยี บการเกดิ ลมบก ลมทะเล และ พื้นน้าร้อน
มรสุม รวมทั้งอธบิ ายผลที่มีต่อสง่ิ มชี วี ิตและ เหนือพ้ืนด
ว ๓.๒ ป ๖/๕ ส่ิงแวดล้อม จากแบบจาลอง เคลื่อนที่ขอ
ยงั บรเิ วณท
๕. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ - ลมบกแล
ประเทศไทย จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ชายฝั่ง โด
พัดจากชา
กลางวนั ท

- มรสุมเป็
โลก ซึ่งเป
ไทยได้รบั ผ
ประมาณก
ท า ให้ เกิ ด
ต ะ วั น ต ก
พฤษภาคม
ส่วนช่วงป
กลางเดือน
ประเทศไท
ต้ังตรงและ
ให้ได้รับค
อากาศจงึ ร

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๙๗

ลมทะเล และมรสุม เกิดจากพ้ืนดินและ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
นและเย็นไม่เท่ากันทาให้อุณหภูมิอากาศ -
ดินและพื้นน้าแตกต่างกัน จึงเกิด การ
องอากาศจากบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่า ไป
ท่ีมอี ุณหภูมิสูง
ละลมทะเลเปน็ ลมประจาถนิ่ ทีพ่ บบริเวณ
ดยลมบกเกิดในเวลากลางคืน ทาให้มีลม
ายฝ่ังไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเลเกิดในเวลา
ทาใหม้ ีลมพดั จากทะเลเขา้ ส่ชู ายฝ่ัง

นลมประจาฤดูเกิดบริเวณเขตร้อนของ
ป็นบริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศ
ผลจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ในชว่ ง
กลางเดือนตุลาคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ์
ด ฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสุม
เฉี ย ง ใต้ ใน ช่ ว ง ป ร ะ ม า ณ ก ล า ง เดื อ น
มจนถึงกลางเดือนตุลาคมทาใหเ้ กิดฤดูฝน
ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึง
นพฤษภาคมเป็นช่วงเปลี่ยนมรสุมและ
ทยอย่ใู กล้เสน้ ศูนยส์ ตู ร แสงอาทติ ยเ์ กือบ
ะตั้งตรงประเทศไทย ในเวลาเท่ียงวันทา
ความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างเต็มที่
ร้อนอบอ้าวทาใหเ้ กดิ ฤดรู อ้ น

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชวี้ ดั
ว ๓.๒ ป ๖/๖
ว ๓.๒ ป ๖/๗ ๖. บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของ นา้ ทว่ ม - น้ าท่ ว ม

ว ๓.๒ ป ๖/๘ การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถลม่ แผน่ ดินไหว สนึ ามิ แผ่นดินไห
ว ๓.๒ ป ๖/๙
๗. ตระหนักถึงผลกระทบของภยั ธรรมชาติและ และสิ่งแว

ธรณีพบิ ัติภัย โดยนาเสนอแนวทางในการเฝา้ - มนุษย์ค
เช่น ติดต
ระวงั และปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัยจากภัย
ธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกดิ ในท้องถนิ่ ยังชีพ ให้

ค า สั่ ง ข อ

เคร่งครัด

พบิ ัตภิ ยั

๘. สรา้ งแบบจาลองทอี่ ธิบายการเกดิ - ปรากฏก

ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ กระจกใน

ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสงิ่ มีชวี ิต ร้อนแล้ว

๙. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของปรากฏการณ์ ทาให้อาก

เรือนกระจกโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตน ดารงชวี ิต
เพื่อลดกจิ กรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊สเรือนกระจก - หากปรา

จะมีผลต

มนุษย์ จึง

แก๊สเรือนก

สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๙๘
ม ก ารกั ด เซ าะ ช าย ฝั่ ง ดิ น ถ ล่ ม
หว และ สึนามิ มีผลกระทบต่อชีวิต สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
วดลอ้ มแตกต่างกัน -
ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
ามข่าวสารอย่างสม่าเสมอ เตรียมถุง -
พร้อมใช้ตลอดเวลา และปฏิบัติตาม
อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง แ ล ะ เจ้ า ห น้ า ท่ี อ ย่ า ง
ดเม่ือเกิดภัยทางธรรมชาติและธรณี

การณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือน
นช้ันบรรยากาศของโลก กักเก็บความ
คายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผิวโลก
กาศ บนโลกมีอุณหภูมิเหมะสมต่อการ

ากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงมากข้ึน
ต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก
งควรร่วมกันลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิด
กระจก

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารง

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอ

เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และสิง่ แวดล้อ

รหสั ตวั ชี้วัด ตวั ชีว้ ัด

--

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญห

และการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธ

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวดั

ว ๔.๒ ป ๖/๑ ๑. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการอธบิ ายและ - การแก้ป

ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาท่ีพบใน แกป้ ัญหาไ

ชวี ติ ประจาวนั - การใช้เห

หรือเง่ือนไ

ในการแกป้

- การพิจ

ทางานแบ

ช่วยให้กา

อย่างมปี ร

๙๙

งชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้าน

อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้

อม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ

--

หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี ริยธรรม

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน

ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้ -

ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์

ไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา

ปญั หา

จ า ร ณ า ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง า น ท่ี มี ก า ร

บบวนซ้า หรือเงื่อนไขเป็นวิธีการท่ีจะ

ารออกแบบวิธีการแก้ปัญหาเป็นไป

ระสทิ ธภิ าพ

รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชวี้ ดั - ตัวอย่าง
ว ๔.๒ ป ๖/๒ ต้องการให
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพ่ือ ๑ – ๑,๐
แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวนั ตรวจหา คาถาม, ก
ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและแก้ไข คานงึ ถงึ ระ

- การออก
เขียน เปน็
- การออก
แปร การว
ขอ้ ผดิ พลา
เม่ือพบจดุ
แกไ้ ขจนก
- การฝึกต
ผอู้ ่ืนจะชว่
ปญั หาไดด้
- ตัวอยา่ ง
หาคา่ ค.ร
- ซอฟต์แว
Scratch,

๑๐๐

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
งปญั หา เชน่ การคน้ หาเลขหนา้ ท่ี
ห้เร็วทีส่ ุด, การทายเลข
๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบให้ถูกภายใน ๒๐
การคานวณเวลาในการเดินทาง โดย
ะยะทาง เวลา จดุ หยดุ พกั

กแบบโปรแกรมสามารถทาไดโ้ ดย
นข้อความ หรอื ผังงาน
กแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใชต้ วั
วนซ้า การตรวจสอบเงือ่ นไข – หากมี
าดใหต้ รวจสอบการทางาน ทลี ะคาสงั่
ดที่ทาให้ผลลพั ธไ์ ม่ถูกต้อง ให้ทาการ
กวา่ จะได้ผลลพั ธ์ที่ถูกต้อง
ตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ
วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของ
ดียง่ิ ขึ้น
งปญั หา เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรม
ร.น เกมฝึกพมิ พ์
วรท์ ่ีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่
logo

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชี้วัด
ว ๔.๒ ป ๖/๓
๓. ใช้อินเทอรเ์ นต็ ในการค้นหาข้อมลู อย่างมี - การคน้ ห
ว ๔.๒ ป ๖/๔
ประสทิ ธิภาพ ข้อมูลท่ีไ

รวดเร็วจา

และขอ้ มูล

– การใช้เ

ตัวดาเนิน

ชนดิ ของไฟ

- การจัด

โปรแกรมค

- การเรีย

กบั วิชาภา

๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานรว่ มกนั อย่าง - อันตรา

ปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องตน เคารพ ทางอนิ เทอ

ในสทิ ธิของผู้อ่นื แจ้งผูเ้ กยี่ วข้องเม่ือพบขอ้ มลู - วิธกี าหน

หรอื บคุ คลที่ไม่เหมาะสม - การกาห

เขา้ ถงึ )

- แนวทาง

อันตราย

อนิ เทอร์เน

๑๐๑

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
หาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เป็นการคน้ หา -
ได้ตรงตามความต้องการในเวลาท่ี
ากแหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือหลายแหล่ง -
ล มีความสอดคล้องกัน
เทคนิคการค้นหาขั้นสูง เช่น การใช้
นการ การระบุรูปแบบของข้อมูล หรือ
ฟล์
ด ล า ดั บ ผ ล ลั พ ธ์ จ า ก ก า ค้ น ห า ข อ ง
คน้ หา
บเรียง สรุปสาระสาคัญ (บูรณาการ
าษาไทย)
ยจากการใช้งานและอาชญากรรม
อรเ์ น็ต แนวทางในการป้องกนั
นดรหัสผ่าน
หนดสิทธิ์การใช้งาน (สิทธ์ิในการ

งการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์ –
ย จ า ก ก า ร ติ ด ต้ั ง ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ที่ อ ยู่ บ น
นต็

คาอธบิ ายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

รหัสวชิ า ว๑๑๑๐๑ เวลา ๑2๐ ชั่วโมง / ปี

.............................................................................................................................................................

ศกึ ษาพชื และสัตว์ สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมกับการดารงชีวิตของพืชและสตั วส์ ว่ นประกอบและหน้าที่ของ

รา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้งการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ การดูแลรักษาส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้องให้

ปลอดภัย ของเล่นและของใช้ วัสดุที่ใช้ทาของเล่นและของใช้ การจัดกลุ่มวัสดุโดยใช้สมบัติของวัสดุ การเกิดเสียง

และทิศทางการเคลอ่ื นที่ของเสียง ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวทีป่ รากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน

หนิ และลกั ษณะภายนอกของหนิ

โดยใช้แนวการจัดการเรยี นรู้เชิงรุกแบบรวมพลงั ด้วยวธิ ีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน5 ข้ันตอน GPAS

5 ขั้นตอน รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน การเรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสืบสอบความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ รวมทั้งการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและสะเต็ม เพ่ือการแก้ปัญหา

เชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้ใหม่และสิง่ ใหม่อยา่ งงา่ ย รวมทั้งการใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เพ่ือสนับสนนุ รวมทั้งการใช้

และสรา้ งโมเดล เพื่ออภิปรายสู่การเป็นผูม้ สี มรรถนะการรู้วทิ ยาศาสตร์

เพื่อการเป็นผู้รวู้ ิทยาศาสตร์ มคี วามสนใจ ความตระหนัก ความใฝ่รู้ เป็นผู้ทางานเป็นทีมและทางานแบบรวม

พลงั รวมทั้งมีความรบั ผิดชอบต่อตนเองและชมุ ชน

ศึกษาการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก เปรียบเทียบแสดงลาดับข้ันตอนการทางานหรือการ

แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ ใช้

เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม

ขอ้ ตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์เบื้องต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม

โดยใช้การแก้ปัญหาอย่างง่ายตามข้ันตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสารเบ้ืองตน้

เพื่อให้ผู้เขียนมีความกระตือรือร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามที่

กาหนดให้หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นแสดงความ

รับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสาเร็จ และ

ทางานรว่ มกับผู้อน่ื อย่างมีความสขุ

รหสั ตวั ชี้วัด

วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๑/๑

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒

มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑
วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
รวม ๑๕ ตัวช้ีวัด

คาอธิบายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

รหัสวชิ า ว๑๒๑๐๑ เวลา ๑2๐ ช่วั โมง / ปี

....................................................................................................................... ......................................

ศึกษาสิ่งรอบตัว ส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ชีวิตพืช ปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของ

พืช การสืบพันธุ์ของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก วัสดุรอบตัว สมบัติการดูดซับน้าของวัสดุสมบัติของวัสดุท่ีเกิดจาก

การนาวัสดุมาผสมกัน รวมท้ังการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ แสงและการมองเห็น การเคลื่อนที่ของแสงและ

แหลง่ กาเนดิ แสง การมองเหน็ วัตถุ ดนิ ในทอ้ งถ่ิน ส่วนประกอบของดนิ ชนดิ ของดิน และประโยชนข์ องดิน

โดยใช้แนวการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง ด้วยวิธีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน5 ขั้นตอน

GPAS 5 ขั้นตอน รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน การเรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสืบสอบความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ รวมทั้งการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและสะเต็ม เพ่ือการแก้ปัญหา

เชิงสร้างสรรค์ สร้างความรใู้ หม่และสิ่งใหมอ่ ยา่ งง่าย รวมทัง้ การใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ เพอ่ื สนบั สนุน รวมทั้งการใช้

และสร้างโมเดล เพ่อื อภิปรายส่กู ารเป็นผู้มสี มรรถนะการรวู้ ิทยาศาสตร์

เพ่ือการเป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ มีความสนใจ ความตระหนัก ความใฝ่รู้ เป็นผู้ทางานเป็นทีมและทางาน

แบบรวมพลงั รวมท้ังมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและชุมชน

ศกึ ษาและเขยี นแสดงลาดบั ขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปญั หาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์หรือ

ขอ้ ความ เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมใช้เทคโนโลยีใน

การสร้าง จดั หมวดหมู่ คน้ หา จดั เก็บ เรยี กใช้ข้อมลู ตามวัตถุประสงค์ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏบิ ตั ิ

ตามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์รว่ มกนั ดูแลรักษาอุปกรณ์เบอ้ื งตน้ ใช้งานเบ้ืองต้น โดยใชก้ ารแกป้ ัญหาอย่างง่าย

ตามขน้ั ตอนการแกป้ ัญหา มีทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเบื้องต้น

เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ขียนมคี วามกระตอื รือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคดิ สร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั เรื่องที่จะศกึ ษาตามที่

กาหนดให้หรือตามความสนใจ มีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟังความคิดเห็นผอู้ ่ืนแสดงความ

รับผิดชอบด้วยการทางานที่ได้รบั มอบหมายอยา่ งมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสาเรจ็ และ

ทางานร่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งมีความสุข

รหสั ตวั ช้ีวัด

ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3

ว 1.3 ป.2/1

ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4

ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2

ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2

วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔

รวม ๑๖ ตัวชี้วดั

คาอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

รหัสวิชา ว๑๓๑๐๑ เวลา ๑2๐ ชั่วโมง / ปี

.............................................................................................................................................................

ศึกษาปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ วัตถุ

รอบตัวเรา วัตถุที่ทาจากช้นิ ส่วนย่อยชนิดเดียวกันประกอบกัน และการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทาให้รอ้ นหรือเย็น

แรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ผลของแรงต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไมส่ ัมผัสท่ีมีผล

ต่อการเคล่ือนที่ของวัตถุ แม่เหล็กและสมบัติของแม่เหล็ก แหล่งพลังงานและไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงาน การทางาน

ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า แหล่งพลงั งานทใ่ี ชผ้ ลิตไฟฟ้า ประโยชน์ อันตราย และการรู้จักใช้ไฟฟ้า การเคล่ือนทขี่ องดวง

อาทิตย์ แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์กลางวัน กลางคืน ทิศ และความสาคัญของดวงอาทิตย์

อากาศรอบตัวเรา ส่วนประกอบของอากาศความสาคัญของอากาศ มลพษิ ทางอากาศ รวมทั้งการเกิดลมและอิทธิพล

ของลมทม่ี ีต่อมนุษย์

โดยใชแ้ นวการจัดการเรียนรู้เชงิ รุกแบบรวมพลัง ดว้ ยวิธีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน 5 ข้ันตอน GPAS

5 ขั้นตอน รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน การเรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสืบสอบความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ รวมทั้งการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และสะเต็มเพื่อการแก้ปัญหา

เชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้ใหม่และส่ิงใหม่อยา่ งง่าย รวมท้ังการใช้หลักฐานเชิงประจักษเ์ พอ่ื สนับสนุน รวมท้ังการใช้

และสร้างโมเดล เพอ่ื อภปิ รายสกู่ ารเป็นผมู้ สี มรรถนะการรวู้ ิทยาศาสตร์ เพ่อื เป็นผู้รวู้ ทิ ยาศาสตร์ มีความสนใจ ความ

ตระหนัก ความใฝ่รู้ เป็นผทู้ างานเป็นทีมและทางานแบบรวมพลงั รวมท้ังมีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและชมุ ชน

ศึกษาแนวคิดหลกั ของการแก้ปัญหาโดยใชเ้ หตผุ ล เง่ือนไข กฎเกณฑ์ วิธีการ และการใช้อัลกอริทึมในการเรียง

ลาดับ ข้ันตอนของการแก้ปัญหา การใช้เกมการแก้ปัญหา เพ่ือฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบการทางานของ

คอมพวิ เตอร์ เครื่องมือสาหรบั การเขียนโปรแกรม การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม การเขยี นโปรแกรม การ

ค้นหาขอ้ มลู โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การสบื คน้ ข้อมูลผ่าน Search Engine การพิจารณาข้อมูล ความนา่ เชื่อถือ

เปรียบ เทียบข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การกาหนดหัวข้อและอุปกรณ์ ในการรวบรวมข้อมูล การใช้ซอฟต์แวร์

นาเสนอข้อมูลในการทางานต่าง ๆ การใช้ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลคา การใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางาน การใช้ซอฟต์แวรใ์ น

การนาเสนอข้อมูล และแนวคิดที่เก่ียวขอ้ งกับการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย โดยคานึงถึงประโยชน์และผลกระทบ

จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและขอ้ ปฏิบัติในการใชอ้ ินเทอร์เน็ต

โดยใช้การแก้ปัญหาอย่างง่ายตามข้ันตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสารเบื้องต้น เพื่อให้ผู้เขียนมีความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษา

ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นแสดง

ความรบั ผดิ ชอบด้วยการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จนงานลุลว่ งเป็นผลสาเร็จ

และทางานร่วมกบั ผ้อู นื่ อยา่ งมคี วามสุข

รหสั ตัวชี้วดั

ว 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4

ว 2.1 ป.3/1, ป.3/2

ว 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 2.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ว 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ว 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔, ป๓/๕
รวม ๒๕ ตัวชี้วดั

คาอธิบายรายวชิ า

กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔

รหสั วชิ า ว๑๔๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

............................................................................................................................. ................................

ศกึ ษาความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต ลกั ษณะและการดารงชีวติ ของส่งิ มชี ีวิตกลมุ่ พืช กลุ่มสตั ว์และกลุ่มไม่ใช่

พืชและสัตว์ พืชและประเภทของพืช ความหลากหลายของพืชและการจัดจาแนก สัตว์และประเภทของสัตว์ ความ

หลากหลายของสัตว์และการจัดจาแนก สมบัติของวัสดุ การนาสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน

สสารและสถานะของสสาร สมบัติของสสารท้ัง 3 สถานะ แรงและการเคล่ือนที่ แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และ

นา้ หนักของวตั ถุ มวลของวตั ถุทม่ี ีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ แสงและตัวกลางของแสง การข้ึนและ

ตกของดวงจันทร์ รวมทั้งการเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งของดวงจันทร์ และดาวในระบบสุริยะ

โดยใช้แนวการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง ด้วยวิธีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน5 ขั้นตอน

GPAS 5 ขั้นตอน รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน การเรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสืบสอบความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ รวมทั้งการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและสะเต็ม เพื่อการแก้ปัญหา

เชิงสร้างสรรค์ สรา้ งความร้ใู หม่และส่ิงใหม่อยา่ งง่าย รวมทง้ั การใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ เพอ่ื สนบั สนุน รวมท้ังการใช้

และสรา้ งโมเดล เพือ่ อภิปรายสกู่ ารเป็นผมู้ สี มรรถนะการร้วู ิทยาศาสตร์

เพ่ือการเป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ มีความสนใจ ความตระหนัก ความใฝ่รู้ เป็นผู้ทางานเป็นทีมและทางานแบบ

รวมพลงั รวมทง้ั มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและชุมชน

ศึกษาการใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์จากปัญหาอย่างง่าย

ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข การใช้

อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การรวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและ

สารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง

ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน การเคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไม่

เหมาะสม

โดยใช้การค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง

ตรรกะในการแก้ปัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางานร่วมกนั

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสนใจ มุ่งมั่นในส่ิงท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความ

สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงและรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน

แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัดซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็น

ผลสาเร็จ และทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ตระหนักในคุณค่าของความรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และทา

โครงงานหรือชิน้ งานตามท่ีกาหนดให้หรอื ตามความสนใจ

รหสั ตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.4/1
ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 2.3 ป.4/1
ว 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4

วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวม ๒๑ ตัวชี้วดั

๑๐๖

คาอธิบายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

รหสั วิชา ว ๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

............................................................................................................................. ................................

ศึกษาชีวิตกับส่ิงแวดล้อม การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อมการ

ดารงพันธ์ุของสิ่งมีชีวิต ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์ และมนุษย์ ลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันของตนเองกับ

พ่อแม่ การเปล่ียนแปลงของสารในชีวิตประจาวัน การเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การละลายของสารในน้า

การเปล่ยี นแปลงของสารเมอื่ เกิดการเปลย่ี นแปลงทางเคมี แรงในชวี ิตประจาวัน การหาแรงลพั ธ์ของแรงหลายแรง

ในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ แรงเสียดทานและผลของแรงเสียดทาน เสียงและการได้ยิน การได้ยินเสียงผ่าน

ตัวกลางต่าง ๆ เสียงสูง เสียงต่า เสียงดัง และเสียงค่อย การใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง ความแตกต่างของดาว

เคราะห์กบั ดาวฤกษ์ ตาแหน่งและเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาว แหล่งน้าในทอ้ งถิ่นและการใชป้ ระโยชน์ ความ

จาเป็นของน้าต่อชีวิตและการประหยัดน้า ปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเกี่ยวข้องกับวัฏจักรน้า วัฏจักรน้า เมฆ หมอก

นา้ คา้ ง และน้าคา้ งแขง็ รวมทัง้ ฝน หิมะ และลกู เห็บ

โดยใชแ้ นวการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง ด้วยวิธีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน5 ข้นั ตอน

GPAS 5 ขั้นตอน รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน การเรียนรู้ผ่านการใช้กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือสืบสอบความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ รวมท้ังการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและสะเต็ม เพ่ือการ

แก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้ใหม่และส่ิงใหม่อย่างง่าย รวมทั้งการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อ

สนับสนนุ รวมทัง้ การใช้และสรา้ งโมเดล เพ่อื อภิปรายสู่การเปน็ ผู้มีสมรรถนะการรวู้ ิทยาศาสตร์

เพ่ือการเป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ มีความสนใจ ความตระหนัก ความใฝ่รู้ เป็นผู้ทางานเป็นทีมและทางาน

แบบรวมพลงั รวมทั้งมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและชมุ ชน

ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จาก

ปัญหาอย่างง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและ

แก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลรวบรวม

ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย

เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน

เคารพในสิทธขิ องผู้อื่น แจง้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม

โดยใช้การค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิง

ตรรกะในการแกป้ ัญหา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการทางานรว่ มกัน

เพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามที่

กาหนดให้หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน แสดงความ

รับผิดชอบดว้ ยการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสาเร็จ และ

ทางานร่วมกับผู้อื่นอยา่ งมีความสุข

๑๐๗

รหัสตวั ชวี้ ดั
ว 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1, ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1, ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5

รวมทงั้ หมด 27 ตัวชวี้ ดั
วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕

รวม ๓๒ ตัวช้ีวดั

๑๐๘

คาอธบิ ายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

รหัสวชิ า ว๑๖๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง / ปี

............................................................................................................................. ................................

ศึกษาร่างกายของเรา อาหาร สารอาหาร และพลังงาน ระบบย่อยอาหาร สารผสม วิธกี ารแยกสารผสม

ไฟฟ้า แรงไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้า ปรากฏการณ์ของโลก เงามืดและเงามัว จันทรุปราคาและ

สุริยุปราคา เทคโนโลยีอวกาศ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ หิน ใน

ทอ้ งถน่ิ ประเภทของหินและการเกิด วัฏจักรของหิน ประโยชนข์ องหินและแร่ ซากดึกดาบรรพ์ ลมบก ลมทะเล

และมรสมุ ภยั ธรรมชาติ และปรากฏการณ์เรอื นกระจก

โดยใชแ้ นวการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ แบบรวมพลงั ด้วยวิธีการสอนแบบสืบสอบ แนวการสอน 5 ข้ันตอน

GPAS 5 ขนั้ ตอน รูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน การเรยี นรูผ้ า่ นการใช้กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่ือสืบสอบความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการเศรษฐกิจแบบพอเพียงและสะเต็มเพื่อ

การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้ใหม่และส่ิงใหม่อย่างง่าย รวมท้ังการใช้หลักฐานเชิงป ระจักษ์เพ่ือ

สนับสนนุ รวมทง้ั การใชแ้ ละสร้างโมเดล เพือ่ อภิปรายสูก่ ารเป็นผู้มสี มรรถนะการรวู้ ทิ ยาศาสตร์

เพอ่ื การเป็นผู้ร้วู ิทยาศาสตร์ มีความสนใจ ความตระหนัก ความใฝ่รู้ เปน็ ผู้ทางานเป็นทมี และทางาน

แบบรวมพลัง รวมทง้ั มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและชุมชน

ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจาวัน

ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายและตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหา

ข้อมลู อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานรว่ มกันอยา่ งปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าทีข่ อง

ตน เคารพในสิทธิของผ้อู ่นื แจง้ ผู้เกย่ี วขอ้ งเม่อื พบขอ้ มลู หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม

โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการ

แก้ปัญหา ใช้แนวคิดของการทางานแบบวนซ้า ใช้เทคนิคการค้นหาขั้นสูงในการค้นหาข้อมูลท่ีรวดเร็วจาก

แหล่งข้อมูลท่นี ่าเชื่อถือ การกาหนดรหสั ผา่ น กาหนดสิทธ์กิ ารใชง้ าน แนวทางการตรวจสอบและปอ้ งกนั มัลแวร์

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่

กาหนดให้หรือตามความสนใจ มีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟังความคดิ เห็นผู้อ่ืนแสดงความ

รบั ผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์จนงานลุล่วงเป็นผลสาเร็จ

และทางานร่วมกนั กับผอู้ นื่ อย่างมีความสขุ

รหสั ตวั ชี้วดั
วทิ ยาศาสตร์
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๖/๑

๑๐๙

มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๖/๑
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป’๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๓๐ ตัวช้ีวัด

๑๑๐

การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

เพ่ือท่ีจะทราบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใด

จาเป็นต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ในอดีตที่ผ่านมา การวัดและประเมินผลส่วนใหญ่ให้

ความสาคัญกับการใช้ข้อสอบซ่ึงไม่สามารถสนองเจตนารมณ์การเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนคิด ลงมือปฏิบัติ

ด้วยกระบวนการหลากหลาย เพ่ือสร้างองค์ความรู้ ดังนั้น ผู้สอนต้องตระหนักว่าการเรียนการสอนและการ

วดั ผลประเมินผลเป็นกระบวนการเดียวกัน และจะต้องวางแผนไปพรอ้ มๆ กัน

แนวทางการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้จะบรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนการสอนที่วางไว้ได้ ควรมี

แนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. ต้องวัดและประเมินผลท้ังความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มในวิทยาศาสตร์ รวมทัง้ โอกาสในการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น

๒. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้ทู ี่กาหนดไว้
๓. ตอ้ งเก็บข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวัดและประเมนิ ผลอยา่ งตรงไปตรงมา และต้องประเมินผลภายใตข้ ้อมูล

ท่มี ีอยู่
๔. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปที่

สมเหตุสมผล
๕. การวัดและประเมินผลต้องมคี วามเที่ยงตรงและเป็นธรรม ทงั้ ในด้านของวธิ กี ารวัด โอกาสของการ

ประเมิน

จดุ มุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผล

๑. เพื่อวินิจฉัยความรูค้ วามสามารถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม
ของผเู้ รียน และเพ่อื ซ่อมเสริมผเู้ รยี นให้พัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะได้เต็มตามศกั ยภาพ

๒. เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมูลปอ้ นกลับให้แก่ตัวผูเ้ รียนเองวา่ บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรูเ้ พยี งใด
๓. เพ่ือใช้ข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของการเรียนรู้การวัด

และประเมินผลจึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัดและ
ประเมินผลท่ีสามารถสะท้อนผลการเรียนรู้อย่างแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุมกระบวนการ
เรียนรู้และผลการเรียนรู้ท้ัง 3 ด้านตามท่ีกล่าวมาแล้วจึงต้องวัดและประเมินผลจากสภาพจริง
(authentic assessment)

การวดั และประเมินผลจากสภาพจริง
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ

ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ในการทากิจกรรมเหล่าน้ีต้องคานึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนจึง
อาจทางานชิ้นเดียวกันได้เสร็จในเวลาท่ีแตกต่างกัน และผลงานท่ีได้ก็อาจแตกต่างกันด้วย เมื่อผู้เรียนทา
กิจกรรมเหล่านีแ้ ล้วก็จะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เชน่ รายงาน ช้นิ งาน บนั ทกึ และรวมถึงทกั ษะปฏิบตั ติ ่างๆเจต

๑๑๑

คติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่ผู้เรียนได้ทาและผลงานเหล่าน้ี

ต้องใช้วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพ่ือช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและ

ความรู้สึกนึกคิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมีการ

ประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่างๆ ที่สอดคล้องกับชีวิตจริง และต้องประเมินอย่าง

ต่อเนอื่ ง เพ่อื จะได้ขอ้ มูลทีม่ ากพอท่ีจะสะท้อนความสามารถท่แี ท้จริงของผู้เรียนได้

ลักษณะสาคญั ของการวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ

๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงมีลักษณะที่สาคัญคือใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดที่
ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผู้เรียนในด้านของผู้ผลิตและกระบวนการที่
ได้ผลผลิต มากกว่าท่จี ะประเมนิ ว่าผเู้ รยี นสามารถจดจาความรอู้ ะไรไดบ้ ้าง

๒. เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียน เพื่อวินิจฉัยผู้เรียนในส่วนท่ีควรส่งเสริมและส่วนท่ีควร
จะแก้ไขปรับปรุง เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและ
ความต้องการของแต่ละบคุ คล

๓. เป็นการประเมินที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมประเมินผลงานของทั้งตนเองและของเพื่อน
รว่ มหอ้ ง เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนรู้จกั ตวั เอง เชอ่ื มั่นในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้

๔. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการ
สอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียนแต่
ละบคุ คลได้หรอื ไม่

๕. ประเมินความสามารถของผู้เรยี นในการถ่ายโอนการเรยี นรู้ไปสชู่ ีวติ จริงได้
๖. ประเมินด้านต่างๆ ดว้ ยวิธีท่หี ลากหลายในสถานการณ์ตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เน่อื ง

วธิ ีการและแหลง่ ข้อมลู ทีใ่ ช้

เพ่ือให้การวัดและประเมินผลไดส้ ะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรยี น ผลการประเมินอาจจะได้มา

จากแหล่งข้อมูลและวิธีการตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี

๑. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบุคคลหรอื รายกล่มุ
๒. ชน้ิ งาน ผลงาน รายงาน
๓. การสัมภาษณ์
๔. บันทกึ ของผ้เู รยี น
๕. การประชุมปรกึ ษาหารือรว่ มกันระหว่างผเู้ รยี นและครู
๖. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏิบัติ (practical assessment)
๗. การวัดและประเมนิ ผลด้านความสามารถ (performance assessment)
๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้โดยใช้แฟ้มผลงาน (portfolio assessment)

๑๑๒

การวดั และประเมินผลด้านความสามารถ (performance assessment)
ความสามารถของผู้เรียนประเมินได้จากการแสดงออกโดยตรงจากการทางานต่างๆ เป็นสถานการณ์ที่

กาหนดให้ ซึ่งเป็นของจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาหรือปฏิบัติงานได้จริง
โดยประเมินจากกระบวนการทางาน กระบวนการคิด โดยเฉพาะความคิดข้ันสูง และผลงานที่ได้ลักษณะสาคัญของ
การประเมินความสามารถคือ กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน วิธีการทางานผลสาเร็จของงาน มีคาสั่งควบคุม
สถานการณ์ในการปฏิบัติงาน และมีเกณฑ์การให้คะแนนท่ีชัดเจน การประเมินความสามารถท่ีแสดงออกของผู้เรียน
ทาไดห้ ลายแนวทางตา่ งๆ กนั ข้ึนอยกู่ ับสภาพแวดล้อมสภาวการณ์ และความสนใจของผู้เรียน ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

๑. มอบหมายงานให้ทา งานท่ีมอบให้ทาต้องมีความหมาย มีความสาคัญ มีความสัมพันธ์กับหลักสูตร
เน้ือหาวิชา และชีวิตจริงของผู้เรียน ผู้เรียนต้องใช้ความรู้หลายด้านในการปฏิบัติงานท่ีสามารถสะท้อนให้เห็นถึง
กระบวนการทางาน และการใช้ความคิดอย่างลึกซ้ึง
ตวั อย่างงานที่มอบหมายใหท้ า เชน่

- บทความในเร่ืองที่กาลังเป็นประเด็นที่น่าสนใจและมีความสาคัญอยู่ในขณะน้ัน เช่น พายุ ฝนดาวตก น้า
จะทว่ มประเทศไทยจริงหรือ การโคลนนิ่งสิง่ มีชีวติ

- รายงานสิ่งท่ีผู้เรียนสนใจโดยเฉพาะ เช่น การศึกษาวงชีวิตของแมลงวันทอง การสารวจความหลากหลาย
ของพชื ในบรเิ วณโรงเรียน

- ส่ิงประดิษฐ์ที่ได้จากการทากิจกรรมที่สนใจ เช่น การสร้างระบบนิเวศจาลองในระบบปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้
ควบคุมการปิดเปิดน้า ชดุ อุปกรณ์ตรวจสภาพดิน เครื่องรอ่ นท่สี ามารถ
รอ่ นได้ไกลและอยู่ในอากาศไดน้ าน

๒. การกาหนดชิ้นงาน หรืออุปกรณ์ หรือส่ิงประดิษฐ์ให้ผู้เรียนวิเคราะห์องค์ประกอบและกระบวนการ
ทางาน และเสนอแนวทางเพื่อพัฒนาให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ให้นักเรียนทดลองใช้อุปกรณ์แสดงการเกิดกระแส
อากาศ บันทกึ ผลการทดลอง พรอ้ มกับอภปิ รายเพื่อตอบปัญหาต่อไปน้ี

๒.๑ ถ้านักเรียนจดุ เทียนไขจะเกิดอะไรข้ึน
๒.๒. ถา้ นักเรยี นดับเทียนไขจะเกดิ อะไรข้ึน
๒.๓. อปุ กรณ์นที้ างานได้อย่างไร เพราะเหตุใด
๒.๔. ถา้ นกั เรยี นจะปรับปรุงอุปกรณช์ ุดน้ีใหท้ างานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ จะปรบั ปรงุ
อะไรบ้าง อย่างไร เพราะเหตใุ ด
๒.๕. ถ้าตอ้ งปรบั ปรุงอุปกรณ์ให้ดีขึน้ จะมีวธิ กี ารทาและตรวจสอบได้อย่างไร
๒.๖. ถา้ จะนาอุปกรณ์ที่ปรับปรุงแลว้ ไปใชป้ ระโยชน์ จะใช้ทาประโยชน์อะไรได้บา้ ง
๓. กาหนดตัวอย่างช้ินงานให้ แล้วให้ผู้เรียนศึกษางานน้ัน และสร้างชิ้นงานท่ีมีลักษณะของการทางานได้
เหมือนหรือดีกว่าเดิม เช่น การประดิษฐ์เคร่ืองร่อน การทาสไลด์ถาวรศึกษาเน้ือเยื่อพืช การทากระดาษจากพืชใน
ทอ้ งถ่ิน ฯลฯ
๔. สร้างสถานการณ์จาลองท่สี ัมพันธ์กบั ชีวติ จริงของผู้เรียน โดยกาหนดสถานการณ์
แลว้ ให้ผ้เู รยี นลงมอื ปฏบิ ตั เิ พื่อแกป้ ัญหา

๑๑๓

ตัวอย่างสถานการณ์ท่ี ๑
"มลี าไยท่ีเกบ็ มาจากสวน 4 แหง่ ต้องการตรวจสอบว่าลาไยจากสวนใดมีความหวานมากท่สี ุด"

๑) ใช้หลักการออสโมซสิ
๒) ใชว้ ธิ ีการอนื่ ให้นักเรียน
๓) บอกขัน้ ตอนของวิธีการตรวจสอบของแต่ละวิธี
๔) ระบวุ ิธกี ารเกบ็ ข้อมูลของแตล่ ะวิธี
๕) เลือกวธิ ีการทดสอบจากที่กาหนดไว้ใน 1) หรือ 2) พร้อมให้เหตผุ ลท่ีเลือก
๖) ดาเนนิ การตรวจสอบโดยใชว้ ิธีการออสโมซิสและวิธที เี่ ลือกในข้อ ๓
๗. เปรยี บเทยี บผลการทดลองและลงข้อสรปุ ว่าวธิ ใี ดไดผ้ ลดีกว่ากัน

ตัวอย่างสถานการณ์ที่ ๒
ถ้านักเรียนมีเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ประกอบด้วยหลอดไฟ 3 หลอด พัดลมติดเพดาน ให้นักเรียนออกแบบผังวงจร

ท่ีติดกับอุปกรณ์ พร้อมกบั ให้เหตุผลประกอบ

ตวั อย่างสถานการณท์ ่ี ๓
โรงงานทากระทะแห่งหน่ึงต้องการทดสอบวัสดุท่ีมีผู้นามาเสนอขาย จานวน 3 ชนิด ว่าชนิดใดเหมาะท่ีสุด

จงึ ให้พนักงานทดสอบ แลว้ มารายงานให้ทราบ
๑) นักเรียนคิดวา่ ปัญหาคืออะไร
๒) ถ้านักเรียนตอ้ งทดสอบ จะต้องวางแผนการตรวจสอบและลงมือปฏบิ ัติอย่างไร
๓) การรายงานผลการทดสอบจะมีเนื้อหาสาระอะไรบ้าง

ตวั อย่างสถานการณ์ท่ี ๔
"มคี ากลา่ ววา่ ไม่สามารถชบุ เหล็กให้เป็นทองได้โดยตรง"

๑) นักเรยี นจะมีวธิ ีการทดสอบคากลา่ วนี้ได้อย่างไรบ้าง
๒) นักเรยี นคิดว่าวธิ กี ารทดสอบใดจะได้ผลดีทสี่ ุด
๓) จงวจิ ารณ์ว่าวธิ กี ารทดสอบทเ่ี ลือกนั้นเป็นไปได้เพียงใด
๔) จะทาการทดสอบเพ่ือยืนยันได้อย่างไรวา่ วิธที ีเ่ ลือกน้ันถูกต้องแผงไฟรวม

ตวั อยา่ งสถานการณ์ท่ี ๕
"นักเรยี นเชือ่ หรือไมว่ ่าน้าทะเลจะไม่เป็นฟองกับสบู่"

๑) นักเรยี นจะมีวธิ ีใดบา้ งที่จะตรวจสอบว่าข้อความนเี้ ป็นจริงหรือเป็นเท็จ
๒) จงเลือกวธิ ีทค่ี ดิ วา่ สามารถทดสอบได้ผลดที ี่สุด พร้อมทง้ั ให้เหตุผลประกอบ
๓ จงลงมอื ทดสอบดว้ ยวิธกี ารท่ีเลือก
๔) จงวิจารณว์ า่ วธิ ที ่เี ลือกมาทดสอบแตกต่างกันอย่างไร

๑๑๔

ตวั อยา่ งสถานการณ์ที่ ๖
"นา้ บาดาลท่ีนามาใชบ้ รโิ ภคไมส่ ะอาดเพียงพอ"

๑) มีวิธที ดสอบไดอ้ ย่างไรวา่ ข้อความดังกล่าวเป็นจริง
๒) วธิ ีการใดจะช่วยให้การตรวจสอบได้ผลดีทีส่ ุด
๓) ถ้าตรวจสอบแลว้ พบว่าน้าบาดาลน้ันไมส่ ะอาด ทา่ นจะมีวธิ แี ก้ไขอย่างไร
๔) วธิ ีใดนา่ จะใชท้ าให้นา้ บาดาลสะอาดทสี่ ุด เพราะเหตุใดจึงเลือกวิธีน้ี
๕) จงแสดงวิธกี ารตรวจสอบและทาใหน้ า้ บาดาลสะอาดจนใชบ้ ริโภคได้

ตวั อย่างสถานการณท์ ่ี ๗
เมอื่ หย่อนสง่ิ ของต่างๆ ลงในสระนา้

๑) จงวเิ คราะห์และอธบิ ายว่า เพราะเหตุใดสิ่งของบางชนดิ จึงจม บางชนดิ จงึ ลอย
๒) จงวางแผนและเลือกวิธที จี่ ะทดสอบสมมติฐาน อธิบายด้วยวา่ เหตใุ ดจงึ เลือกวิธีน้ัน
๓) จะนาความร้จู ากการศึกษาเร่ืองนี้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้อย่างไร
ตัวอยา่ งสถานการณท์ ี่ ๘
จงวิเคราะห์แรงเสียดทานท่ีเกิดข้ึนในการข่จี ักรยาน
๑) หาวิธลี ดแรงเสียดทานให้เหลือน้อยทส่ี ุดเท่าท่จี ะทาได้
2) ออกแบบจักรยานท่มี ีแรงเสยี ดทานน้อยทีส่ ุดเทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปได้
การประเมินตามสภาพจริงยังคงใช้การทดสอบด้วยการเขียนตอบ แต่จะลดการทดสอบท่ีวัดด้านความรู้ความจา โดย
จะมุ่งเน้นประเมินด้านความเข้าใจ การนาไปใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการคิดข้ันสูง แบบทดสอบใน
ลักษณะน้ีจะต้องสร้างสถานการณ์ ซึ่งส่วนใหญ่ต้องสัมพันธ์กับชีวิตจริงของนักเรียน แล้วให้นักเรียนตอบคาถามโดย
เขยี นตอบ ลักษณะของคาถามควรนาไปสู่การวดั ทีส่ ูงกวา่ ความรู้ความจา

การประเมนิ ผลการเรียนรโู้ ดยใช้แฟ้มผลงาน (portfolio assessment)
แฟม้ ผลงานคืออะไร
เมื่อผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทั้งในห้องเรียนหรือนอก

ห้องเรียนก็ตาม ก็จะมีผลงานท่ีได้จากการทากิจกรรมเหล่าน้ันปรากฏอยู่เสมอ ซ่ึงสามารถจาแนกผลงานออกตาม
กจิ กรรมต่างๆ ดงั น้ี

๑. การฟังบรรยาย เม่ือผู้เรียนฟังการบรรยายก็จะมีสมุดจดคาบรรยาย ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของบันทึกอย่าง
ละเอียดหรือบันทึกแบบย่อ ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับลักษณะของความชอบและความเคยชินของผู้เรียนในการบันทึกคา
บรรยาย

๒. การทาการทดลอง ผลงานของผู้เรียนท่ีเก่ียวข้องกับการทดลอง อาจประกอบด้วยการวางแผนการ
ทดลองทั้งในรูปของบันทึกอย่างเป็นระบบหรือบันทึกแบบย่อ การบันทึกวิธีการทดลอง ผลการทดลองและปัญหาท่ี

๑๑๕

พบขณะทาการทดลอง การแปลผล สรุปผลและการอภิปรายผลการทดลอง และผลงานสุดท้ายท่ีเกี่ยวข้องกับการ
ทดลอง คอื การรายงานผลการทดลองท่ผี ู้เรียนอาจทาเป็นกลมุ่ หรือเดี่ยวก็ได้

๓. การอภิปราย ผลงานของผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับการอภิปราย คือ วางหัวข้อและข้อมูลท่ีจะนามาใช้ในการ
อภิปราย ผลทไี่ ดจ้ ากการอภปิ รายรวมท้ังข้อสรุปต่างๆ

๔. การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จัดเป็นผลงานท่ีสาคัญประการหนึ่งของผู้เรียนท่ีเกิดจากการได้รับมอบหมาย
จากครูผูส้ อนให้ไปคน้ ควา้ หาความรู้ในเรอ่ื งต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับหัวข้อหรือประเดน็ ที่กาลังศึกษา ผลงานท่ไี ด้จากการ
ค้นคว้าเพ่ิมเติมอาจอยู่ในรูปของรายงาน การทาวิจัยเชิงเอกสารหรือบันทึกประเด็นสาคัญซ่ึงอาจนามาใช้
ประกอบการอภปิ รายในชวั่ โมงเรียนก็ได้

๕. การศึกษานอกสถานที่ การศึกษานอกสถานที่จัดเป็นวิธีการท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง
กับเรื่องที่กาลังศึกษา ผลงานท่ีได้อาจประกอบด้วยการบันทึกการสังเกต การตอบคาถามหรือปัญหาจากใบงาน การ
เขียนรายงานสิ่งที่ค้นพบ

๖. การบันทึกรายวัน เป็นผลงานประการหน่ึงของผู้เรียนท่ีอยู่นอกเหนือจากผลงานที่แสดงถึงการเรียนรู้
โดยตรง แต่จะช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ประเมินได้เข้าใจในประเด็นหรือสิ่งที่ผู้เรียนนึกคิดเก่ียวกับการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ด้วยนอกจากกิจกรรมท่ีได้กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีกิจกรรมอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอน ซึ่ง
ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความสามารถอื่นๆ อีกด้วยเช่น การสื่อสาร ผลงานเหล่าน้ีถ้าได้รับการเก็บรวบรวมอย่าง
มีระบบด้วยตัวผู้เรียนเองตามช่วงเวลา ท้ังก่อนและหลังการทากิจกรรมเหล่าน้ี โดยได้รับคาแนะนาจากผู้สอน และ
ผู้เรียนฝึกทาจนเคยชินแล้วจะถือเป็นผลงานท่ีสาคัญย่ิงท่ีใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ของ
ผเู้ รยี นตอ่ ไป

ในการวัดและประเมินผลด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมถึงการที่นักเรียนได้แสดงให้ครูเห็นถึงความรู้
ความสามารถที่ครูได้คาดหวังว่านักเรียนจะมีความรู้เกิดขึ้นจากการเรียนรู้นั้น การวัดและประเมินผลในด้านน้ี จะ
ช่วยสะท้อนให้ครูและนักเรียนได้ทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด มีอะไรท่ีครูควรให้
ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ และเรียนรู้ไปมากน้อยเพียงใดตามจุดประสงค์ที่ครูต้ังไว้ อาจใช้วิธีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทง้ั การสอบย่อยและการสอบใหญ่ การให้นกั เรยี นสอบปฏิบตั ิการต่างๆ เปน็ ตน้

แนวทางการให้คะแนนเพ่ือการประเมิน
จากที่กล่าวมาแล้วว่า การประเมินจากสภาพจริงให้ความสาคัญต่อการประเมินโดยใช้ข้อสอบแบบเขียน

ตอบน้อยมา แต่จะให้ความสาคัญต่อการแสดงออกที่แท้จริงของนักเรียนขณะทากิจกรรม งานหรือกิจกรรมที่
กาหนดให้นักเรียนทาจะมีแนวทางไปสู่ความสาเร็จของงานและมีวิธีการหาคาตอบหลายแนวทาง คาตอบท่ีได้
อาจมิใช่ในแนวทางที่กาหนดไว้เสมอไป จึงทาให้การตรวจให้คะแนนไม่สามารถให้อย่างชัดเจนแน่นอนเหมือน
การตรวจให้คะแนนแบบข้อสอบเลือกตอบ ดังน้ันการประเมินจากสภาพจริง จึงต้องมีการกาหนดแนวทางการ
ให้คะแนนอย่างชัดเจน การกาหนดแนวทางอาจจัดทาโดยครู คณะครูหรือครแู ละนักเรียนกาหนดร่วมกัน แนว
ทางการประเมินนั้นจะต้องมีมาตรวัดว่านักเรียนทาอะไรได้สาเร็จ และระดับความสาเร็จอยู่ในระดับใด แนว
ทางการประเมนิ ท่มี ีมาตรวัดนี้ เรียกว่า Rubric การประเมนิ โดยองิ Rubric นี้ โดยทั่วไปมี 2 แบบคอื

๑๑๖

๑. การใหค้ ะแนนภาพรวม (Holistic score)
๒. การใหค้ ะแนนแยกองคป์ ระกอบ (Analytic score)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสติปัญญา (Intellectual) ที่นักวิทยาศาสตร์และผู้ท่ีนา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่างๆ ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 13 ทักษะ ทักษะท่ี 1-8 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ข้ันพ้ืนฐาน และทักษะที่ 9-13 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันสูงหรือข้ันผสมหรือขั้นบูรณาการ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทง้ั 13 ทักษะ มีดังนี้

๑. การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่
ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ เพ่ือค้นห้าข้อมูลซ่ึงเป็นรายละเอียดของส่ิงนั้น
โดยไม่ใส่ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ
และข้อมูลท่ีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็นได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์น้ัน ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิด
ทักษะนี้ประกอบด้วยการช้ีบ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการกะประมาณและการบรรยายการ
เปลีย่ นแปลงของสิ่งทีส่ ังเกตได้

๒. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพ่ิมความคิดเห็นให้กับข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต
อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วย ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ี คือ การ
อธิบายหรือสรุป โดยเพมิ่ ความคิดเห็นให้กับข้อมูลโดยใชค้ วามรหู้ รือประสบการณ์เดิมมาชว่ ย

๓. การจาแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลาดับวัตถุหรือส่ิงที่มีอยู่ใน
ปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ และเกณฑด์ ังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสมั พันธ์อย่างใดอย่างหน่ึง
ก็ได้ ความสามารถท่ีแสดงว่าเกิดทักษะน้ีแล้ว ได้แก่ การแบ่งพวกของส่ิงต่างๆ จากเกณฑ์ท่ีผู้อ่ืนกาหนดให้ได้
นอกจากนั้นสามารถเรียงลาดับสิ่งของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกับบอกได้ว่าผู้อ่ืนแบ่งพวกของสิ่งของนั้นโดยใช้
อะไรเปน็ เกณฑ์

๔. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและการใช้เครื่องมือนั้นทาการวัดหาปริมาณของ
ส่ิงต่างๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับส่ิงที่วัด แสดงวิธีใช้เครื่องมืออย่างถูกต้อง พร้อมท้ังบอก
เหตผุ ลในการเลือกใช้เครื่องมือ รวมทั้งระบุหนว่ ยของตวั เลขท่ีได้จากการวัดได้

๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุและการนาตัวเลขที่แสดงจานวนที่
นับได้มาคิดคานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือการหาค่าเฉล่ีย ความสามารถที่แสดงให้เห็นวา่ เกิดทักษะนี้ ได้แก่
การนับจานวนสิ่งของได้ถูกต้อง เช่น ใช้ตัวเลขแทนจานวนการนับได้ ตัดสินได้ว่าวัตถุ ในแต่ละกลุ่มมีจานวนเท่ากัน
หรือแตกต่างกัน เป็นต้น การคานวณ เช่น บอกวิธีคานวณ คิดคานวณ และแสดงวิธีคานวณได้อย่างถูกต้อง และ
ประการสดุ ท้ายคือ การหาค่าเฉล่ีย เชน่ การบอกและแสดงวธิ ีการหาค่าเฉลีย่ ได้ถูกต้อง

๖. การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา(Using Space/Time Relationships)

๑๑๗

สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างท่ีวัตถุน้ันครองท่ีอยู่ ซึ่งมีรูปร่างลักษะเช่นเดียวกับวัตถุน้ันโดยท่ัวไป
แล้วสเปสของวตั ถุจะมี ๓ มิติ คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสงู

ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวตั ถุ ได้แก่ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์
ระหว่างตาแหน่งท่ีของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหาความสัมพันธ์
ระหว่างสเปสกับสเปส ได้แก่ การชี้บ่งรูป 2 มิติ และ 3 มิติได้ สามารถวาดภาพ 2 มิติ จากวัตถุหรือจากภาพ 3
มติ ิ ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนตาแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุกับเวลา
หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุท่ีเปลี่ยนไปกับเวลาความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหา
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ การบอกตาแหน่งและทิศทางของวัตถุโดยใช้ตัวเองหรือวัตถุอ่ืนเป็นเกณฑ์
บอกความสัมพันธ์ระหวา่ งการเปลย่ี นตาแหน่ง เปล่ยี นขนาด หรือปรมิ าณของวัตถุกับเวลาได้

๗. การสื่อความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนาข้อมูลท่ีได้จาการสังเกต การวัด การ
ทดลอง และจากแหล่งอื่นๆ มาจัดกระทาเสียใหม่โดยการหาความถี่ เรียงลาดับ จัดแยกประเภท หรือคานวณหาค่า
ใหม่ เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายได้ดีข้ึน โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เป็นต้น ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้แล้ว คือการเปล่ียนแปลงข้อมูลให้อยู่
ในรูปใหม่ท่ีเข้าใจดีขึ้น โดยจะต้องรู้จักเลือกรูปแบบที่ใช้ในการเสนอข้อมลู ได้อย่างเหมาะสม บอกเหตุผลในการเสนอ
ข้อมูลในการเลือกแบบแสนอข้อมูลนั้น การเสนอข้อมูลอาจกระทาได้หลายแบบดังท่ีกล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะการ
เสนอข้อมูลในรูปของตาราง การบรรจุข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางปกติจะใส่ค่าของตัวแปรอิสระไว้ทางซ้ายมือของ
ตาราง และค่าของตัวแปรตามไว้ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของตัวแปรอสิ ระไวใ้ ห้เรียงลาดับจากค่าน้อยไปหา
คา่ มาก หรือจากค่ามากไปหาค่าน้อย๘.การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนคาตอบล่วงหน้าก่อนการ
ทดลอง โดยอาศัยปรากฏการณ์ท่ีเกิดซ้า หลักการ กฎ หรือ ทฤษฏีที่มีอยู่แล้วในเร่ืองนั้นมาช่วยสรุป เช่น การ
พยากรณ์ข้อมูลเก่ียวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตารางหรือกราฟ ซ่ึงทาได้สองแบบ คือ การพยากรณ์ภายใน
ขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ กับการพยากรณ์นอกขอบของข้อมูลท่ีมีอยู่ เช่น การพยากรณ์ผลของข้อมูลเชิงปริมาณ
เป็นต้น

๙. การชี้บ่งและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง การช้ีบ่งตัวแปร
ตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ในสมมตุ ฐิ าน หน่งึ ๆ

ตัวแปรต้น หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลต่างๆ หรือสิ่งที่เราต้องการทดลองดูว่าเป็นสาเหตุที่
กอ่ ใหเ้ กดิ ผลเชน่ นั้นจริงหรือไม่

ตวั แปรตาม หมายถึง สิ่งท่ีเป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น เมื่อตวั แปรต้นหรือสิ่งท่ีเป็นสาเหตุเปลี่ยนไป ตัว
แปรตามหรือส่ิงที่เป็นผลจะแปรตามไปดว้ ย

ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ หมายถึง สิ่งอ่ืนๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่จะทาให้ผลการทดลอง
คลาดเคล่ือน ถ้าหากว่าไม่มีการควบคุมให้เหมือนกัน

๑๐. การตั้งสมมุติฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่อนทาการ
ทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คาตอบที่คิดล่วงหน้านี้ ยังไม่ทราบ

๑๑๘

หรือยังไม่เป็นทางการ กฎหรือทฤษฏีมาก่อน สมมุติฐาน คือคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้ามีกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอก
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นอาจถูกหรอื ผิดก็ได้ซ่ึงทราบได้ภายหลังการทดลอง
หาคาตอบเพ่ือสนับสนุนสมมุติฐานหรือคัดค้านสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ ส่ิงท่ีควรคานึงถึงในการตั้งสมมุติฐาน คือ การบอก
ชื่อตัวแปรต้นซึ่งอาจมีผลตอ่ ตัวแปรตามและในการตั้งสมมุติฐานต้องทราบตัวแปรจากปัญหาและสภาพแวดล้อมของ
ตัวแปรนั้น สมมุติฐานท่ีตั้งข้ึนสามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการทดลอง ซ่ึงต้องทราบว่าตัวแปรไหนเป็นตัว
แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรทีต่ ้องควบคุมใหค้ งท่ี

๑๑. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally) หมายถึง การ
กาหนดความหมายและขอบเขตของค่าต่างๆ ท่ีอยู่ในสมมุติฐานท่ีต้องการทดลองและบอกวิธีวัดตัวแปรท่ีเกี่ยวกับ
การทดลองน้นั

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบจากสมมุติฐานท่ีต้ังไว้
ในการทดลองจะประกอบไปด้วยกจิ กรรม ๓ ขน้ั คอื

๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจรงิ
๑๒.๒ ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจริงและให้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
๑๒.๓ การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทกึ ข้อมูลที่ไดจ้ ากการทดลองซึ่งอาจเป็นผล
จากการสังเกต การวัด และอ่ืนๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง การบันทึกผลการทดลอง อาจอยู่ในรูปตารางหรือ
การเขียนกราฟ ซ่ึงโดยทั่วไปจะแสดงค่าของตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระบนแกนนอนและค่าของตัวแปรบนแกนตั้ง
โดยเฉพาะในแต่ละแกนต้องใช้สเกลที่เหมาะสม พร้อมท้ังแสดงให้เห็นถึงตาแหน่งของค่าของตัวแปรทั้งสองบนกราฟ
ดว้ ย
ในการทดลองแต่ละคร้ังจาเป็นอาศัยการวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆ ที่เก่ียวข้อง คือสามารถที่จะบอกชนิดของ
ตวั แปรในการทดลองว่า ตวั แปรนั้นเป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม หรอื ตวั แปรที่ตอ้ งควบคุม ในการทดลองหน่ึงๆต้อง
มีตัวแปรตัวหน่ึงเท่าน้ันท่ีมีผลต่อการทดลอง และเพื่อให้แน่ใจว่าผลท่ีได้เกิดจากตัวแปรนั้นจริงๆ จาเป็นต้องควบคุม
ตวั แปรอื่นไม่ให้มผี ลต่อการทดลอง ซึง่ เรียกตวั แปรนวี้ ่าตัวแปรทตี่ ้องควบคุมให้คงที่
๑๓. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conlusion) การ
ตีความหมายข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลท่ีมีอยู่ การตีความหมายข้อมูล ใน
บางคร้ังอาจต้องใช้ทักษะอื่นๆ ด้วย เช่น การสังเกต การคานวณ เป็นต้น และการลงข้อสรุป หมายถึง การสรุป
ความสัมพันธ์ของข้อมูลท้ังหมด ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอกความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิด
อะไรข้ึนกับตัวแปรตามขณะที่ตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงหรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรก่อนท่ีกราฟเส้นโค้งจะเปล่ียนทิศทางและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรหลังจากท่ีกราฟเส้นโค้ง
เปล่ียนทิศทางแลว้ .

๑๑๙

จิตวทิ ยาศาสตร์

คณุ ลักษณะด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ ลักษณะชบ้ี ง่ /พฤตกิ รรม
๑. เหน็ คณุ คา่ ทางวิทยาศาสตร์ ๑.๑ นิยมยกยอ่ งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑.๒ นิยมยกยอ่ งความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์
๒. คุณลกั ษณะทางวทิ ยาศาสตร์ ๑.๓ เพ่ิมพูนความรู้และประสบการณท์ างวิทยาศาสตร์
๒.๑ ความมีเหตผุ ล ๑.๔ ตระหนักความสาคญั ของวิทยาศาสตร์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ

๒.๒ ความอยากร้อู ยากเหน็ ๒.๑.๑ การยอมรบั ข้อสรุปท่ีมเี หตุผล
๒.๓ ความใจกว้าง ๒.๑.๒ มคี วามเชอ่ื วา่ สง่ิ ที่เกิดข้ึนต้องมีสาเหตุ
๒.๔ ความมรี ะเบยี บในการทางาน ๒.๑.๓ นยิ มยกย่องบคุ คลทีม่ คี วามคิดอย่างมีเหตผุ ล
๒.๑.๔ เห็นคุณค่าในการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับหรือปฏิบัติ
๒.๕ การมคี า่ นิยมต่อความเสียสละ ตาม
๒.๒.๑ ชอื่ ว่าวิธกี ารทดลองค้นควา้ จะทาให้ค้นพบวธิ กี ารแก้ปญั หาได้
๒.๖ การมคี า่ นิยมต่อความซ่ือสัตย์ ๒.๒.๒ พอใจใฝ่หาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เพ่มิ เตมิ
๒.๗ การมีค่านยิ มต่อการประหยัด ๒.๒.๓ ชอบทดลองค้นควา้
๒.๓.๑ ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของความมเี หตผุ ลของผอู้ ่นื
๒.๓.๒ ยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ และคาวิจารณ์ของผูอ้ ื่น
๒.๔.๑ ตระหนักถึงการระวังรักษาความปลอดภัยของ
ตนเองและเพ่ือนในขณะทดลองวิทยาศาสตร์
๒.๔.๒ เห็นคุณค่าของการระวังรักษาเครื่องมือที่ใช้มิให้แตกหัก
เสียหาย ในขณะทดลองวิทยาศาสตร์
๒.๕.๑ ตระหนักถึงการทางานให้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายโดยไม่
คานึงถงึ ผลตอบแทน
๒.๕.๒ เตม็ ใจที่จะอุทศิ ตนเพ่ือการสรา้ งผลงานทางวทิ ยาศาสตร์

๒.๖.๑ เห็นคณุ คา่ ตอ่ การเสนอผลงานตามความเป็นจรงิ ท่ที ดลองได้
๒.๖.๒ ตาหนบิ ุคคลทนี่ าผลงานผู้อ่นื มาเสนอเป็นผลงานของตนเอง

๒.๗.๑ ยนิ ดีทีจ่ ะรักษาซ่อมแซมส่งิ ที่ชารดุ ให้ใชก้ ารได้
๒.๗.๒ เห็นคุณคา่ ของการใช้วัสดุอุปกรณ์อยา่ งประหยัด
๒.๗.๓ เหน็ คณุ ค่าของวสั ดทุ ่เี หลอื ใช้


Click to View FlipBook Version