The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunshine Wind, 2022-09-16 02:12:11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

๖๒

ด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้ง

ลยีอวกาศ

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

ทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์ -

ตวั เองขณะโคจรรอบโลก ขณะท่ีโลกก็

บตัวเองด้วยเช่นกัน การหมุนรอบ

งโลกจากทิศตะวนั ตกไปทิศตะวันออก

งทวนเข็มนาฬิกาเม่ือมองจากขั้วโลก

าให้มองเห็น ดวงจันทร์ปรากฏขึ้น

ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ ต ก ท า ง ด้ า น ทิ ศ

หมนุ เวียนเปน็ แบบรูปซา้ ๆ

นทร์เป็นวัตถุท่ีเป็นทรงกลม แต่รูปร่าง - สังเกตรูปรา่ งของดวงจันทรใ์ นแต่ละคืนที่บ้าน

นทร์ท่ีมองเห็นหรือรูปรา่ งปรากฏของ ของนักเรียน
ร์บนท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแต่ละวัน

ต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏ

ท่ีมีขนาดเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องจนเต็ม

นั้นรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะ

ะมีขนาดลดลง อย่างต่อเน่อื งจนมองไม่

จันทร์ จากนั้นรูปร่างปรากฏของดวง

เป็นเสี้ยวใหญ่ขึ้นจนเต็มดวงอีกครั้ง

ยนแปลงเช่นนี้เป็นแบบรูปซ้ากัน ทุก

รหสั ตัวช้ีวัด ตัวช้วี ดั - ระบบส
ว ๓.๑ ป ๔/๓ ศูนย์กลา
๓. สร้างแบบจาลองแสดงองค์ประกอบของ เคราะห์แป
ระบบสุรยิ ะ และอธิบายเปรียบเทยี บคาบ การ ละดวงมีข
โคจรของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจาลอง แตกต่างก
แคระ ดา
ขนาดเล็ก
ขนาดเล็ก
เน่ืองจาก
ดาวตกหร

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ และความสัมพนั ธข์ องระบบ

กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลกรวมท้ังผลตอ่ ส่ิงมชี ีว

รหัสตัวชี้วดั ตัวชว้ี ดั

--

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๖๓

สุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็น สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน
างและมีบริวารประกอบด้วย ดาว -
ปดดวงและบริวาร ซึ่งดาวเคราะห์แต่
ขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์
กัน และยังประกอบด้วย ดาวเคราะห์
าวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุ
กอื่น ๆ โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ วัตถุ
กอื่น ๆ เมื่อเข้ามาในช้ันบรรยากาศ
กแรงโน้มถ่วงของโลก ทาให้เกิดเป็น
รอื ผีพงุ่ ไตแ้ ละอุกกาบาต

บโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภยั

วิตและสิง่ แวดล้อม

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน

--

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พอ่ื การดารงช

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ เพือ่ แกป้ ัญหา หรอื พฒั นางานอย

เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสิ่งแวดล้อ

รหัสตัวชี้วดั ตวั ช้ีวดั

--

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแกป้ ญั หา

และการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธ

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ัด

ว ๔.๒ ป ๔/๑ ๑. ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การ - การใช้เห

อธบิ ายการทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ จาก หรือเง่ือนไ

ปัญหาอย่างง่าย ในการแก

การคาดก

- สถานะเ

ให้ผลลัพธ

๖๔

ชวี ติ ในสังคมทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้าน

ย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้

อม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ

--

าที่พบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ข้นั ตอนและเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน

หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ -

ไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา

ก้ปัญหา การอธิบายการทางาน หรือ

การณผ์ ลลพั ธ์

เริ่มต้นของการทางานท่ีแตกต่างกนั จะ

ธท์ แ่ี ตกต่างกนั

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวช้วี ดั
ว ๔.๒ ป ๔/๒
- ตัวอย่าง

การคานว

และ มีกา

ระหว่างกัน

ต่าง ๆ

๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดย - การออก

ใช้ซอฟต์แวร์ หรอื สอื่ และตรวจหาขอ้ ผิดพลาด อ อ ก แ บ

และแก้ไข ออกแบบอ

- การเขีย

คาส่ัง ให้ค

ตาม ควา

ตรวจสอบ

ทาให้ผลล

จะไดผ้ ลลพั

- ตัวอยา่ ง

การตอบโต

ประจาวัน

การฝึกตร

ผู้อื่นจะช

ปญั หาได้ด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖๕
งปัญหา เช่น เกม OX, โปรแกรมท่ีมี
วณ, โปรแกรมท่ีมีตัวละครหลายตัว สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ารส่ังงานท่ีแตกต่าง หรือมีการส่ือสาร
น, การเดินทางไปโรงเรียนโดยวิธีการ -

กแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การ
บ โด ย ใช้ storyboard ห รื อ ก า ร
อัลกอรทิ มึ
ยนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของ
คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์
ามต้องการ หากมีข้อผิดพลาดให้
บ การทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่
ลัพธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่า
พธท์ ่ถี ูกต้อง
งโปรแกรมท่ีมเี ร่ืองราว เช่น นิทานท่มี ี
ต้กับผู้ใช้ การต์ นู สั้น เลา่ กจิ วัตร
น ภาพเคลอ่ื นไหว
รวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของ
ดยี ง่ิ ข้ึน

รหัสตัวชี้วัด ตัวช้วี ดั
ว ๔.๒ ป ๔/๓
-ซอฟต์แว
ว ๔.๒ ป ๔/๔
Scratch,

๓. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ และประเมนิ - การใช้ค

ความนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มลู ได้ ผลลัพธ

- การประ

พิจารณา

เผยแพรข่ ้อ

- เมื่อได้ข

จะต้องนา

เลือกขอ้ ม

- การทาร

นาข้อมูล

ตนเอง ท่ีเ

นาเสนอ (

๔. รวบรวม ประเมิน นาเสนอขอ้ มลู และ - การรวบ

สารสนเทศ โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ทีห่ ลากหลาย เพื่อ ตอ้ งการ เ

แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั - การประ

จัดกลุม่ เร

- วิเคราะ

ประเมนิ ท

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๖๖

วร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
logo -

คาค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ -
ธท์ ีร่ วดเรว็ และตรงตามความต้องการ
ะเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น
ประเภทของเว็บไซต์ ผู้เขียน วันที่
อมูล การอ้างอิง
ข้อมูลท่ีต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ
าเนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้ว
มลู ท่ีมคี วามสอดคล้องและสัมพันธ์กัน
รายงานหรือการนาเสนอข้อมูลจะต้อง
ลมาเรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของ
เหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมายและวิธีการ
(บรู ณาการกับวชิ าภาษาไทย)

บรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อ ที่
เตรียมอุปกรณใ์ นการจดบนั ทกึ
ะมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ
รยี งลาดับ การหาผลรวม
ะห์ผลและสร้างทางเลือกท่ีเป็นไปได้
ทางเลือก (เปรยี บเทยี บ ตัดสนิ )

รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชว้ี ดั
ว ๔.๒ ป ๔/๕
- การนาเ

ค ว า ม เห

เอกสารรา

- การใช

ชีวิตประ

กลางวันโ

และเก็บข

ประมวล

คุณค่าทาง

สาหรับ ๕

สารวจ ร

ขอ้ มูลดา้ น

๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั - การใช้เท

เข้าใจสิทธิและหนา้ ทขี่ องตน เคารพในสทิ ธิของ เขา้ ใจสิทธ

ผู้อืน่ แจง้ ผู้เก่ยี วข้องเมื่อพบข้อมลู หรอื บคุ คลที่ ผู้อ่ืน เช่น

ไมเ่ หมาะสม ไม่สร้าง ค

สแปม ข้อ

ส่วนตัวขอ

ข้อมูลส่วน

ไม่ได้รับอน

บญั ชขี องผ

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๖๗

เสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ห ม า ะ ส ม เช่ น ก า ร บ อ ก เล่ า
ายงาน โปสเตอร์ โปรแกรมนาเสนอ -
ช้ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ เพ่ื อ แ ก้ ปั ญ ห า ใน
จาวัน เช่น การสารวจเมนูอาหาร
โดยใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบสอบถาม
ข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานเพื่อ
ผลข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
งโภชนาการและสร้างรายการอาหาร
๕ วัน ใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการ
ายการอาหารที่เป็นทางเลือก และ
นโภชนาการ

ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธขิ อง
น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อ่ืน
ความเดือดร้อนต่อผู้อื่นโดยการส่ง
อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูล
องผู้อ่ืน ส่งคาเชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึง
นตัวหรือการบ้านของบุคคลอื่นโดย
นุญาต ไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์/ ช่ือ
ผู้อ่ืน

รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชี้วดั

- การสื่อส
- การปกป
ระบบเมื่อ
เลขประจา

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๖๘

สารอย่างมีมารยาทและรกู้ าลเทศะ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจาก -
อเลิกใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอก
าตัวประชาชน

ตัวชี้วัดและสาระกา

ช้ันประถมศ

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความส

ส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแท
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมช

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๑ ป ๕/๑
๑. บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของสิง่ มชี ีวติ - ส่ิงมีชีว
ท่ีเหมาะสมกบั การดารงชีวิตซึ่งเปน็ ผลมาจาก ลักษณะ ท
การปรบั ตวั ของสิง่ มีชวี ิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ ผลมาจาก

ดารงชีวิต
เช่น ผักตบ
ลอยน้าได
รากค้าจุน
การเคล่อื น

๖๙

ารเรียนร้แู กนกลาง

ศกึ ษาปที ี่ ๕

สัมพันธร์ ะหว่างสิง่ ไม่มชี วี ิตกับสง่ิ มชี ีวติ และความสมั พันธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชวี ิตกับ
ทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ
ชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ มรวมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
-
วิ ต ท้ั ง พื ช แ ล ะ สั ต ว์ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ
ท่ีเหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ซึง่ เป็น
ก การปรับตัวของส่ิงมีชีวิต เพื่อให้
ตและอยู่รอดได้ในแต่ละแหล่งท่ีอยู่
บชวามีช่องอากาศในก้านใบ ช่วยให้
ด้ ต้นโกงกางท่ีข้ึนอยู่ใน ป่าชายเลนมี
นทาให้ลาต้นไม่ล้ม ปลามีครีบช่วยใน
นท่ีในนา้

รหัสตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ดั
ว ๑.๑ ป ๕/๒
๒. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กบั - ใน แ ห
ว ๑.๑ ป ๕/๓
ว ๑.๑ ป ๕/๔ สิ่งมีชีวติ และความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ิตกบั ความสัมพ

ส่งิ ไม่มีชวี ติ เพื่อประโยชนต์ อ่ การดาเนินชีวติ ส่งิ ไมม่ ีชีวิต

๓. เขยี นโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าทขี่ อง ความสัมพ
ส่งิ มีชีวิตทเี่ ปน็ ผผู้ ลิตและผูบ้ รโิ ภคในโซ่อาหาร เป็นแหล่ง
๔. ตระหนกั ในคุณค่าของส่งิ แวดล้อมท่ีมีต่อ อ่อน ใช้อา
การดารงชวี ติ ของส่งิ มชี ีวติ โดยมีส่วนรว่ ม ใน - ส่ิงมีชีวิต
เป็นทอด
การดูแลรักษาส่งิ แวดล้อม
สามารถร

ผูผ้ ลิตและ

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของสิ่ง

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

รหัสตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ดั

--

๗๐

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน

ล่ ง ท่ี อ ยู่ ห นึ่ ง ๆ สิ่ ง มี ชี วิ ต จ ะ มี - สารวจ และอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

พันธ์ ซึ่งกันและกันและสัมพันธ์กับ ทพ่ี บในโรงเรียน และบรเิ วณหนา้ อาคารเรียน

ต เพ่ือประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิต เช่น - เขียนโซ่อาหารแสดงความสัมพันธ์ของ

พันธ์กัน ด้านการกินกันเป็นอาหาร สิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน และบริเวณหน้า

งที่อยู่อาศัย หลบภัยและเล้ียงดูลูก อาคารเรยี น

ากาศในการหายใจ

ตมีการกินกันเป็นอาหารโดยกินต่อกัน

ด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหารทาให้

ระบุบทบาทหน้าท่ีของส่ิงมีชีวิตเป็น

ะผบู้ รโิ ภค

งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลลค์ วามสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทขี่ อง
รงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันร วมท้ังนา

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่
- -

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่าย

ท่ีมผี ลต่อสง่ิ มีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของสิง่ มีชีวติ

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชี้วัด

ว ๑.๓ ป ๕/๑ ๑. อธิบายลักษณะทางพนั ธุกรรมทมี่ ีการ - สิ่งมีชีวิต

ถ่ายทอดจากพ่อแมส่ ลู่ ูกของพืช สตั ว์ และ จะมีการส

มนุษย์ โดยลูกท่ีเ

ว ๑.๓ ป ๕/๒ ๒. แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดยการถาม ทางพันธุก

คาถามเกีย่ วกบั ลกั ษณะท่ีคล้ายคลงึ กันของ พันธุกรรม
อน่ื
ตนเองกับพ่อแม่

- พืชมกี าร

ลักษณะขอ

- สัตว์มีก

เช่น สขี น

- มนุษย์ม

เช่น เชิงผ

การหอ่ ล้นิ

๗๑

ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรม

ต รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน

ตท้ังพืช สัตว์ และมนุษย์ เม่ือโตเต็มท่ี -

สืบพันธ์ุเพ่ือเพิ่มจานวนและดารงพันธ์ุ

เกิดมาจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะ

กรรมจากพ่อแม่ทาให้มีลักษณะทาง -

มที่เฉพาะแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตชนิด

รถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม เช่น
องใบ สดี อก
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะของขน ลกั ษณะของหู
มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ผมที่หน้าผาก ลักย้ิม ลักษณะหนังตา
น ลกั ษณะของติง่ หู

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสา

รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชวี้ ัด

ว ๒.๑ ป ๕/๑ ๑. อธิบายการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือทา - ก ารเป

ให้สสารรอ้ นขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลกั ฐานเชงิ เปล่ียนแป

ประจักษ์ ให้กับสสา

ของแข็งเป

การหลอม

จนถึงอกี ร

เรียกว่า ก

ลงถึงระด

ของเหลว

ความร้อน

เปล่ียนสถ

สสารบาง

ของแข็งเป

เรียกว่า ก

เปลี่ยนสถ

ของเหลว

๗๒

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ยี วระหว่าง

ารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ

ล่ี ยน ส ถ าน ะขอ งส สารเป็ น ก าร - ทดลอง และอธิบายการเปลี่ยนสถานะของน้า

ปลงทางกายภาพ เมื่อเพ่ิมความร้อน เม่ือได้รับความร้อน

ารถึงระดับหนึ่งจะทาให้สสารที่เป็น - วิเคราะห์ผลผลิตที่ได้ เมื่อให้ความร้อนกับน้า

ปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า จนน้าระเหยออกหมด

มเหลว และเม่ือเพ่ิม ความร้อนต่อไป

ระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแก๊ส

การกลายเป็นไอ แต่เม่ือลดความร้อน

ดับหนึ่งแก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็น

ว เรียกว่า การควบแน่น และถ้าลด

นต่อไปอีกจนถงึ ระดับหน่ึงของเหลวจะ

ถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว

ง ช นิ ด ส า ม า ร ถ เป ลี่ ย น ส ถ า น ะ จ า ก

ป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็น ของเหลว

การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถ

ถานะเป็นของแข็งโดยไม่ผ่าน การเป็น

เรยี กว่า การะเหิดกลับ

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชี้วัด - เมื่อใส่ส
ว ๒.๑ ป ๕/๒ ๒. อธบิ ายการละลายของสารในนา้ โดยใช้ เดียวกันก
ว ๒.๑ ป ๕/๓ หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ละลาย เร
๓. วเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงของสาร เมื่อเกิด
ว ๒.๑ ป ๕/๔ การเปล่ยี นแปลงทางเคมี โดยใชห้ ลักฐานเชิง - เมื่อผสม
ประจักษ์ เกิดขึ้น ซ
สารชนิดเ
๔. วเิ คราะหแ์ ละระบุการเปล่ียนแปลงที่ผนั ใหม่เกิดข
กลับไดแ้ ละการเปลี่ยนแปลงทผ่ี ันกลบั ไม่ได้ เปล่ียนแป
กลิ่นต่างจ
ตะกอนเก
อณุ หภูมิ

- เมื่อสา
สามารถเ
เปล่ียนแป
การกลาย
เกิดการเป
กลับเป็นส
กลับไม่ได้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๗๓
สารลงในน้าแล้วสารนั้นรวมเป็นเนื้อ
กับน้าท่ัวทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
รยี กสารผสมท่ีได้วา่ สารละลาย -
มสาร ๒ ชนิดขึ้นไปแล้วมีสารใหม่ -
ซ่ึงมีสมบัติต่างจากสารเดิม หรือเม่ือ
เดียว เกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีสาร -
ขึ้น การเปลี่ยนแปลงนี้เรียกว่า การ
ปลงทางเคมี ซึ่งสังเกตได้จากมีสี หรือ
จากสารเดิม หรือ มีฟองแก๊ส หรือมี
กิดขน้ึ หรือมีการเพมิ่ ข้ึนหรือลดลงของ

รเกิดการเปล่ียนแปลงแล้ว สาร
เปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการ
ปลงท่ีผันกลับได้ เช่น การหลอมเหลว
ยเป็นไอ การละลาย แต่สารบางอย่าง
ปลี่ยนแปลง แล้วไม่สามารถเปล่ียน
สารเดิมได้ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผัน
เชน่ การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลขอ

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

รหสั ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด
ว ๒.๒ ป ๕/๑
๑. อธิบายวธิ ีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรง - แรงลัพธ
ว ๒.๒ ป ๕/๒
ว ๒.๒ ป ๕/๓ ในแนวเดียวกนั ทีก่ ระทาตอ่ วตั ถใุ นกรณีทว่ี ตั ถุ แรงลัพธ์ขอ

ว ๒.๒ ป ๕/๔ อยูน่ ่ิงจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มีขนาดเท่า

ว ๒.๒ ป ๕/๕ ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทาต่อวัตถุที่ อยู่ในแนว
อยู่ในแนวเดยี วกันและแรงลัพธ์ท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ ขนาดเท่าก
๓. ใชเ้ ครื่องชัง่ สปรงิ ในการวัดแรงที่กระทาต่อ อยู่ในแนว
วัตถุ วตั ถทุ ีอ่ ยูน่
- การเขีย

๔. ระบผุ ลของแรงเสียดทานท่ีมตี อ่ การ สามารถเข

เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถจุ ากหลกั ฐาน ทิศทางขอ
ของแรงที่ก
เชิงประจกั ษ์
๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรง - แรงเสียด
ของวัตถุ เ
ท่ีอยูใ่ นแนวเดียวกนั ทกี่ ระทาตอ่ วัตถุ
ออกแรงก

เคลื่อนที่ แ

เคลื่อนท่ีขอ

ทานกจ็ ะท

๗๔

องแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนา

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
-
ธ์เป็นผลรวมของแรงที่กระทาต่อวัตถุ โดย
องแรง ๒ แรงท่ีกระทาต่อวัตถุเดียวกันจะ -
ากับผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อแรงทั้งสอง -
วเดียวกันและมีทิศทางเดียวกัน แต่จะมี
กับผลต่างของแรงทั้งสองเมื่อแรงท้ังสอง
วเดียวกันแต่มีทิศทางตรงข้ามกัน สาหรับ
นงิ่ แรงลพั ธท์ กี่ ระทาต่อวัตถุมีค่าเปน็ ศนู ย์
ย น แ ผ น ภ า พ ข อ ง แ ร ง ท่ี ก ร ะ ท า ต่ อ วั ต ถุ
ขียนได้โดยใช้ลูกศร โดยหัวลูกศรแสดง
องแรง และความยาวของลูกศรแสดงขนาด
กระทาตอ่ วตั ถุ
ดทานเป็นแรงท่ีเกิดข้ึนระหว่างผิวสัมผัส
เพื่อต้านการเคลื่อนท่ีของวัตถุนั้น โดยถ้า
กระทาต่อวัตถุท่ีอยู่นิ่งบนพ้ืนผิวหนึ่งให้
แรงเสียดทานจากพื้นผิวนั้นก็จะต้านการ
องวตั ถุ แตถ่ ้าวัตถุกาลังเคลื่อนที่ แรงเสียด
ทาใหว้ ัตถุนนั้ เคล่อื นท่ชี ้าลง หรอื หยุดนงิ่

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลง

ชีวิตประจาวนั ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับเสยี ง แสง และ

รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วดั

ว ๒.๓ ป ๕/๑ ๑. อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง จาก - การไดย้

หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เป็นของแ

ส่งผา่ นตวั

รหัสตัวชี้วดั ตวั ชวี้ ัด - เสียงท่ีไ
ว ๒.๓ ป ๕/๒ ข้ึนกับควา
๒. ระบุตวั แปร ทดลองและอธิบาย ลักษณะ โดยเม่ือแห
ว ๒.๓ ป ๕/๓ และการเกิดเสียงสงู เสยี งต่า เกดิ เสียงต
๓. ออกแบบการทดลองและอธิบาย ลกั ษณะ สูง ส่วนเส
ว ๒.๓ ป ๕/๔ และการเกิดเสียงดัง เสยี งคอ่ ย สั่นของแห
ว ๒.๓ ป ๕/๕ เสียงส่ันพ
๔. วดั ระดับเสยี งโดยใช้เครือ่ งมือวัดระดบั เสยี ง แหล่งกาเ
เสียงค่อย
๕. ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดบั - เสียงดังม
เสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลยี่ ง เสียงที่ก่อ
และลดมลพิษทางเสยี ง เสียง เดซ
เสียง

๗๕

งและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานใน

ะคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ

ยินเสียงน้ันต้องอาศัยตัวกลางโดยอาจ -

แข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะ

วกลางมายงั หู

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
ได้ยินมีระดับสูงต่าของเสียงต่างกัน
ามถี่ของการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง
หล่งกาเนิดเสียงส่ันด้วยความถ่ีต่าจะ
ต่า แต่ถ้าสั่นด้วยความถี่สูงจะเกิดเสียง
สียงดังค่อยที่ได้ยินข้ึนกับพลังงานการ
หล่งกาเนิดเสียง โดยเมื่อแหล่งกาเนิด
พลังงานมากจะเกิดเสียงดัง แต่ถ้า
เนิดเสียงส่ันด้วยพลังงานน้อยจะเกิด

มาก ๆ เป็นอันตรายต่อการได้ยินและ
อให้เกิดความราคาญเป็นมลพิษทาง
ซิเบลเป็นหน่วยท่ีบอกถึงความดังของ

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด

ปฏสิ มั พันธ์ภายในระบบสุรยิ ะท่สี ง่ ผลต่อสงิ่ มีชีวติ และการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโล

รหสั ตวั ชี้วดั ตัวช้วี ัด

ว ๓.๑ ป ๕/๑ ๑. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์ - ดาวท่ีมอ

และดาวฤกษจ์ ากแบบจาลอง บริเวณท่ีอ

ฤกษ์และด

แสงจึงสา

ไม่ใช่แหล

เนื่องจาก

เคราะห์แล

ว ๓.๑ ป ๕/๒ ๒. ใชแ้ ผนที่ดาวระบตุ าแหนง่ และเส้นทาง การ - การมอง

ขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้า และ จากจินตน

อธิบายแบบรูปเสน้ ทางการข้ึนและตก ของกลุ่ม ต่าง ๆ ทปี่

ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปี แต่ละดวง

การข้ึนแล

ปรากฏตา

การข้ึนแล

สามารถท

และมุมเง

สามารถใช

สงั เกตดาว

๗๖

ด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้ง

ลยอี วกาศ

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน

องเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น -

อยู่นอกบรรยากาศของโลกมีทั้งดาว

ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็นแหล่งกาเนิด

ามารถมองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์

ล่งกาเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้

กแสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาว

ล้วสะท้อนเขา้ สตู่ า

งเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด -

นาการของผ้สู ังเกต กล่มุ ดาวฤกษ์

ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์

งเรยี งกนั ท่ตี าแหน่งคงท่ี และมีเส้นทาง

ละตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซ่ึงจะ

าแหน่งเดิมการสังเกตตาแหน่งและ

ละตกของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์

ทาได้โดยใช้แผนท่ีดาว ซ่ึงระบุมุมทิศ

งยท่ีกลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกต

ช้มือในการประมาณค่าของมมุ เงยเม่ือ

วในท้องฟา้

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระ

กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลกรวมทั้งผลตอ่ ส่งิ มชี วี

รหัสตัวชี้วัด ตัวช้ีวดั

ว ๓.๒ ป ๕/๑ ๑. เปรียบเทยี บปริมาณนา้ ในแต่ละแหลง่ และ - โลกมีท้ัง

ระบุปรมิ าณน้าทีม่ นุษยส์ ามารถนามาใช้ ต่าง ๆ ท

ประโยชน์ได้ จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ มหาสมุทร

น้าในดิน

แบ่งเป็นน

มหาสมุท

ประมาณร

ป ริ ม า ณ น

น้าแข็งแล

แข็งคงตัวแ

ในดิน คว

น้าในสิ่งมีช

ว ๓.๒ ป ๕/๒ ๒. ตระหนักถงึ คุณค่าของนา้ โดยนาเสนอ - น้าจืดท่ีม

แนวทาง การใช้นา้ อยา่ งประหยดั และการ จึงควรใช้น

อนุรักษ์น้า น้า

๗๗

บบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย

วติ และส่ิงแวดล้อม

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่

งน้าจืดและน้าเค็มซึ่งอยู่ในแหล่งน้า -

ท่ีมีทั้งแหล่งน้าผิวดิน เช่น ทะเล

ร บึง แม่น้า และแหล่งน้าใต้ดิน เช่น

และน้าบาดาล น้าทั้งหมดของโลก

น้าเค็มประมาณร้อยละ ๙๗.๕ซึ่งอยู่ใน

รและแหล่งน้าอื่น ๆ และที่เหลืออีก

ร้อยละ ๒.๕ เป็นน้าจืด ถ้าเรียงลาดับ

น้าจืดจากมากไปน้อยจะอยู่ท่ี ธาร

ละพืดน้าแข็ง น้าใต้ดิน ช้ันดินเยือก

และน้าแข็งใต้ดิน ทะเลสาบ ความช้ืน

วามช้ืนในบรรยากาศ บึง แม่น้า และ

ชีวติ

มนุษย์นามาใช้ได้มีปริมาณน้อยมาก -

น้าอย่างประหยัดและร่วมกันอนุรักษ์

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้ีวัด - วัฏจักรน
ว ๓.๒ ป ๕/๓ ๓. สร้างแบบจาลองทอ่ี ธบิ ายการหมนุ เวียน รปู ซา้ เดมิ
ของน้าในวัฏจักรน้า บรรยากาศ
ว ๓.๒ ป ๕/๔ พฤติกรรม
๔. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดเมฆ หมอก ต่อวฏั จกั ร
น้าค้าง และน้าค้างแขง็ จากแบบจาลอง
- ไอนา้ ในอ
เล็ก ๆ โดย
เกสรดอกไ
น้าจานวน
พื้นดินมา
กลุ่มรวมก
ไอน้าที่คว
พื้ น ผิ ว วั ต
อณุ หภูมิ ใ
ก็จะกลาย

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๗๘

นา้ เป็นการหมุนเวยี นของนา้ ทม่ี แี บบ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ม และต่อเน่ืองระหว่างนา้ ใน -
ศ นา้ ผิวดนิ และน้าใต้ดนิ โดย
มการดารงชีวติ ของพืชและสตั วส์ ่งผล -
รนา้

อากาศจะควบแนน่ เป็นละอองนา้
ยมีละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง
ไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง เมื่อละออง
นมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูงจาก
าก เรียกว่า เมฆ แต่ละอองน้าท่ีเกาะ
กันอยู่ใกล้พ้ืนดิน เรียกว่า หมอก ส่วน
วบแน่นเป็นละอองน้าเกาะอยู่บน
ตถุใกล้พื้นดิน เรียกว่า น้าค้าง ถ้า
ใกล้พื้นดินต่ากวา่ จุดเยือกแข็ง น้าค้าง
ยเปน็ น้าค้างแข็ง

รหสั ตัวชี้วดั ตัวช้ีวดั - ฝน หิมะ
ว ๓.๒ ป ๕/๕ มสี ถานะต
๕. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และ จากละออ
ลูกเห็บ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ สามารถพ
หิมะเกิดจ
ผลึกนา้ แข
เกนิ กว่าอา
เกดิ จากหย
ถกู พายุพดั
มีขนาดให
นา้ แขง็ ขน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๗๙

ะ ลูกเห็บ เปน็ หยาดน้าฟา้ ซึ่งเปน็ น้าที่ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ต่าง ๆ ท่ีตกจากฟา้ ถึงพ้นื ดิน ฝน เกดิ -
องน้าในเมฆที่รวมตัวกนั จนอากาศไม่
พยุงไว้ไดจ้ ึงตกลงมา
จากไอนา้ ในอากาศระเหิดกลับเปน็
ขง็ รวมตัวกันจนมีน้าหนักมากข้ึนจน
ากาศจะพยงุ ไวจ้ งึ ตกลงมา ลูกเหบ็
ยดนา้ ท่ีเปลยี่ นสถานะเปน็ น้าแข็งแลว้
ดวนซา้ ไปซ้ามาในเมฆฝนฟ้าคะนองที่
หญ่และอยู่ในระดบั สูงจนเปน็ กอ้ น
นาดใหญ่ข้นึ แลว้ ตกลงมา

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารง

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอ

เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสงิ่ แวดล้อ

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวช้วี ดั

--

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญห

และการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธ

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชีว้ ดั

ว ๔.๒ ป ๕/๑ ๑. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การ - การใช้เห

อธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก หรือเงื่อนไ

ปัญหาอยา่ งง่าย ในการแก

การคาดก

- สถานะเ

ให้ผลลพั ธ

- ตั ว อ ย่

โปรแกรม

เรขาคณิต

ทางานบ้า

๘๐

งชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้และทักษะทางด้าน

อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้

อม

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่ิน

--

หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ธิภาพ รูเ้ ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ

หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ -

ไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา

ก้ปัญหา การอธิบายการทางาน หรือ

การณ์ผลลพั ธ์

เริ่มต้นของการทางานท่ีแตกต่างกันจะ

ธ์ที่แตกต่างกัน

า ง ปั ญ ห า เช่ น เก ม Sudoku ,

มทานายตัวเลข, โปรแกรมสร้างรูป

ตตามค่าข้อมูลเข้า, การจัดลาดับการ

านในช่วงวันหยุด, จดั วางของในครวั

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้วี ัด - การออก
ว ๔.๒ ป ๕/๒ เขยี น เป็น
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี กี ารใช้ - การออ
เหตผุ ลเชิงตรรกะอย่างงา่ ย ตรวจหา ตรวจสอบ
ขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข ผลลพั ธท์ ถ่ี
- หากมีข้อ
ละคาส่ัง
ใหท้ าการแ
- การฝึกต
ผู้อ่ืนจะช
ปญั หาได้ด
- ตัวอย่าง
เลขคู่เลข
ส่วนสูงแล
โปรแกรม
กาหนด
- ซอฟต์แ
Scratch,

๘๑

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
กแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดย -
นข้อความ หรอื ผังงาน
ก แ บ บ แ ล ะ เขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ท่ี มี ก า ร
บเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีเพื่อใหไ้ ด้
ถูกตอ้ งตรงตามความต้องการ
อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทางาน ที
เมื่อพบจุดท่ีทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
แก้ไขจนกวา่ จะได้ผลลพั ธท์ ถ่ี ูกต้อง
ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของ
ดยี งิ่ ข้นึ
งโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบ
ขค่ี โปรแกรมรับข้อมูลน้าหนักหรือ
ล้วแสดงผลความสมส่วนของร่างกาย,
มส่ังให้ ตัวละครทาตามเงื่อนไขที่

แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
logo

รหัสตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด
ว ๔.๒ ป ๕/๓
๓. ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ตดิ ต่อสอ่ื สาร - การค้น
และทางานร่วมกนั ประเมินความนา่ เชื่อถือของ พิจารณาผ
ขอ้ มูล - การติดต

บล็อก โปร
- การเขีย
ภาษาไทย
- การใช้อ
ทางานร่ว
กลุ่ม ประ
แลกเปล่ีย
ภายใต้การ
- การประ
เปรียบเท
ข้อมูลจาก
ผูเ้ ขยี น วัน
- ข้อมูลที่ด
ข้อดีและข

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๘๒

หาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และการ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
ผลการค้นหา -
ต่อส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล
รแกรมสนทนา
ยนจดหมาย (บูรณ าการกับวิชา
ย)
อินเทอร์เน็ตในการติดต่อส่ือสารและ
วมกัน เช่น ใช้นัดหมายในการประชุม
ะชาสัมพันธ์กิจกรรมในห้องเรียน การ
ยนความรู้ ความคิดเห็นในการเรียน
รดแู ลของครู
ะเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น
ทียบความสอดคล้อง สมบูรณ์ของ
กหลายแหล่ง แหล่งต้นตอของข้อมูล
นทเ่ี ผยแพร่ข้อมลู
ดีต้องมีรายละเอียดครบทุกด้าน เช่น
ขอ้ เสยี ประโยชน์และโทษ

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชว้ี ัด - การรว
ว ๔.๒ ป ๕/๔ ๔. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ขอ้ มลู และ ทางเลือก
สารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ เพื่อใช้ใน
ว ๔.๒ ป ๕/๕ หรอื บรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ ท่ีหลากหลาย เพ่อื อยา่ งมีปร
แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวนั - การใช้ซ
ที่หลากหล
๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มี ทางเลือก
มารยาท เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าที่ของตน เคารพ แ ก้ ปั ญ ห า
ในสทิ ธิของผู้อน่ื แจง้ ผเู้ ก่ยี วข้องเมื่อพบข้อมูล แม่นยา
หรอื บุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม - ตัวอย่าง
ท่ี ในท้องถ
พื้ น ที่ ว่ า ง
ความคิด
นาเสนอข
page

- อันตรา
ทางอินเทอ
- มารยาท
(บรู ณาการ

๘๓

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
บรวมข้อมูล ประมวลผล สร้าง -
ก ประเมินผล จะทาให้ได้สารสนเทศ
นการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้ -
ระสิทธิภาพ
ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ต
ลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้าง
ประเมินผล นาเสนอ จะช่วยให้การ
าทาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และ

งปัญหา เชน่ ถา่ ยภาพและสารวจแผน
ถน่ิ เพื่อนาเสนอแนวทางในการจดั การ
งให้เกิดประโยชน์ ทาแบบสารวจ
เห็นออนไลน์ และวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลโดยการใช้ Blog หรือ web

ยจากการใช้งานและอาชญากรรม
อรเ์ นต็
ทในการติดต่อส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต
รกบั วชิ าท่เี ก่ยี วขอ้ ง)

ตัวชีว้ ัดและสาระกา

ชนั้ ประถมศ

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความส

ส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแท

ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมช

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้วี ดั

--

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวติ หนว่ ยพื้นฐานของส่ิง

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความร้ไู ปใช้ประโยชน์

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวชี้วดั

ว ๑.๒ ป ๖/๑ ๑. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชนข์ อง - สารอาห

สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารทีต่ นเอง คาร์โบไฮเ

รับประทาน และน้า

๘๔

ารเรียนรแู้ กนกลาง

ศึกษาปที ี่ ๖

สมั พันธ์ระหวา่ งสงิ่ ไม่มีชวี ิตกับสิง่ มชี ีวิตและความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวิตกับ

ทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ

ชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมท้งั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ

--

งมีชวี ิต การลาเลียงสารผา่ นเซลลค์ วามสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทีข่ อง
รงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กันรวมท้ังนา

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ
-
หารที่อยู่ในอาหารมี ๖ ประเภท ได้แก่
เดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวัด
ว ๑.๒ ป ๖/๒
๒. บอกแนวทางในการเลอื กรับประทานอาหาร - อาหารแ
ว ๑.๒ ป ๖/๓
ให้ไดส้ ารอาหารครบถว้ นในสัดสว่ นทเี่ หมาะสม แตกต่างก

กับเพศและวยั รวมท้งั ความปลอดภัยตอ่ สารอาหา

สขุ ภาพ ประกอบด

๓. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของสารอาหาร โดย - สารอาห

การเลือกรับประทานอาหารท่ีมสี ารอาหาร ร่างกายแต
ครบถว้ นในสัดส่วนทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวัย และไขมัน

รวมทงั้ ปลอดภัยต่อสุขภาพ ร่างกาย

สารอาหา

ให้ ร่ า ง ก

รับประทา

มีการเปล่ี

และ มีสุข

พลังงานเพ

และให้ได

เหมาะสม

ชนิดและป

ความปลอ

๘๕

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่

แต่ละชนิดประกอบด้วยสารอาหาร ท่ี
กัน อาหารบางอย่างประกอบด้วย
ารประเภทเดียว อาหารบางอย่าง
ด้วยสารอาหารมากกวา่ หนงึ่ ประเภท
หารแต่ละประเภทมีประโยชน์ต่อ
ตกต่างกัน โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน
น เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่
ส่วนเกลือแร่ วิตามินและน้า เป็น
ารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย แต่ช่วย
ก า ย ท า งา น ได้ เป็ น ป ก ติ – ก า ร
านอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญ เติบโต
ยนแปลงของร่างกายตามเพศและวัย
ขภาพดี จาเป็นต้องรับประทานให้ได้
พียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ด้ ส า ร อ า ห า ร ค ร บ ถ้ ว น ใน สั ด ส่ ว น ที่
มกับเพศ และวัย รวมทั้งต้องคานึงถึง
ปรมิ าณของวตั ถุ เจือปนในอาหารเพื่อ
อดภัยต่อสุขภาพ

รหสั ตัวชี้วดั ตวั ชวี้ ดั - ระบบย่อ
ว ๑.๒ ป ๖/๔ ได้แก่ ปา
๔. สร้างแบบจาลองระบบย่อยอาหาร และ ลาไส้เล็ก
ว ๑.๒ ป ๖/๕ บรรยายหน้าทข่ี องอวัยวะในระบบย่อยอาหาร อ่อน ซ่ึงท
รวมทง้ั อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซมึ สารอาหาร
สารอาหาร - ปาก มีฟ
ลงและมีล
๕. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบย่อย นา้ ลาย มเี
อาหาร โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษา – หลอดอ
อวยั วะในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็นปกติ ปาก ไปย
อาหารมีก
สร้างจากก

๘๖

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ
าก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร -
ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตับ
ทาหน้าที่ร่วมกันในการย่อยและดูดซึม

ฟันช่วยบดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็ก
ล้ินช่วยคลุกเคล้าอาหารกับน้าลาย ใน
เอนไซมย์ อ่ ยแปง้ ใหเ้ ปน็ นา้ ตาล
อาหาร ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจาก
ยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะ
การย่อยโปรตีนโดยกรดและเอนไซม์ท่ี
กระเพาะอาหาร

รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชี้วดั

- ลาไส้เล็ก
เองและ
ค าร์โบ ไ
คาร์โบไฮ
เป็นสารอ
รวมถึงน้า
ผนังลาไส้เ
ยั งส่ ว น ต
คาร์โบไฮ
แหล่งพลัง
น้า เกลือ
ทางานได้เ
- ตับสร้า
ไขมันแตก
- ลาไส้ให
บริเวณท่ีม
เป็นกากอ
หนกั
- อวัยวะ
ความสาค
ให้ทางานเ


Click to View FlipBook Version