The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunshine Wind, 2022-09-16 02:12:11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์

๓๗

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่าง

ารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

ละชนิดมีสมบัติการดูดซับน้าแตกต่าง - สังเกตลักษณะการใช้งานและสมบัติของวัสดุ

ไปทาวัตถุเพื่อใช้ประโยชน์ได้แตกต่าง ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจาวัน
ช้ผ้าท่ีดูดซับนา้ ได้มากทาผ้าเชด็ ตวั ใช้

ซง่ึ ไมด่ ูดซบั น้าทาร่ม

างอย่างสามาถนามาผสมกันซงึ่ ทาให้ - สงั เกต และจาแนกวัสดุ ท่เี กิดจากการการนา

ทเี่ หมาะสมเพ่ือนาไปใชป้ ระโยชน์ตาม วสั ดุมาผสมกัน โดยสังเกตจากของใชส้ ่วนตัว

เชน่ แปง้ ผสมน้าตาลและนา้ กะทิ ใช้ ของใช้ภายในห้องเรยี นและโรงเรยี น

ทย ปนู ปลาสเตอรผ์ สมเยอื่ กระดาษใช้

กออมสิน ปนู ผสมหิน ทราย และนา้ ใช้

รีต

วสั ดมุ าทาเป็นวัตถใุ นการใชง้ าน ตาม - นาวัสดุท่ีพบในท้องถ่ิน/โรงเรียน มาออกแบบ

สงค์ขน้ึ อยู่กบั สมบตั ิของวัสดุ วัสดทุ ี่ใช้ และสร้างช้นิ งานใหมท่ ่ใี ช้ประโยชน์ได้

นากลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ เช่น กระดาษใช้

นามาทาเป็นจรวดกระดาษ ดอกไม้

ถงุ ใส่ของ เปน็ ต้น

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวนั ผลขอ

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้วี ดั

ว ๒.๒ ป ๒/๑ ๑. ทดลองและอธิบายแรงท่ีเกิดจากแม่เหลก็ - แม่เหล

แม่เหล็ก

และสามา

ว ๒.๒ ป ๒/๒ ๒. อธบิ ายการนาแมเ่ หลก็ มาใช้ประโยชน์ - แม่เหล

ใช้ และน

ได้

ว ๒.๒ ป ๒/๓ ๓. ทดลองและอธบิ ายแรงไฟฟ้าที่เกดิ จากการถู - เมอื่ ถูว

วตั ถบุ างชนดิ จะดึงดดู ห

แรงไฟฟ้า

๓๘

องแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนทีแ่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนา

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ
ล็กมีแรงดึงดูดหรือผลักระหว่างแท่ง -
รอบแท่งแม่เหล็กมีสนามแม่เหล็ก
ารถดึงดดู วัตถุทท่ี าดว้ ยสารแมเ่ หล็ก -
ล็กมปี ระโยชนใ์ นการทาของเลน่ ของ
นาไปแยกสารแมเ่ หล็กออกจากวตั ถุอื่น -

วตั ถบุ างชนดิ แล้วนาเข้าใกล้กนั
หรือผลักกันได้ แรงท่ีเกดิ ขึน้ น้ีเรยี กว่า
และวตั ถนุ นั้ จะดึงดูดวัตถุเบา ๆได้

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปล

ในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกบั เสยี ง แสง แ

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ดั

ว ๒.๓ ป ๒/๑ ๑. บรรยายแนวการเคลอื่ นที่ของแสงจาก - แสงเคล

แหล่งกาเนดิ แสง และอธบิ ายการมองเหน็ วตั ถุ เป็นแนวต

จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ให้มองเห

ว ๒.๓ ป ๒/๒ ๒. ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรูข้ องการ แหล่งกาเ

มองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกัน โด ย ต รง

อนั ตราย จากการมองวัตถุที่อยใู่ นบริเวณทีม่ ี แหล่งกาเ
แสงไปกระ
แสงสว่าง ไมเ่ หมาะสม

ท่ีสว่าง มา

ได้ จึงต้อง

แสงที่มีคุณ

สว่างให้เห

เช่น การอ

โทรศพั ทเ์ ค

๓๙

ลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงาน

และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน

ล่ือนท่ีจากแหล่งกาเนิดแสงทุกทิศทาง -

ตรง เม่ือมีแสงจากวัตถุมาเข้าตาจะทา

ห็นวัตถุน้ัน การมองเห็นวัตถุที่เป็น

เนิดแสง แสงจากวัตถุนั้นจะเข้าสู่ตา

ง ส่ ว น ก าร ม อ งเห็ น วั ต ถุ ที่ ไม่ ใช่

เนิดแสง ต้องมีแสงจากแหล่งกาเนิด

ะทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสง

าก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตา

งหลีกเล่ียงการมองหรือใช้แผ่นกรอง

ณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความ

หมาะสมกับ การทากิจกรรมต่าง ๆ

อ่านหนังสือ การดูจอโทรทัศน์ การใช้

คลอ่ื นที่และแท็บเล็ต

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเก

ปฏสิ มั พันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะท่สี ง่ ผลตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโล

รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชวี้ ัด

--

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระ

กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลกรวมท้ังผลต่อสิง่ มชี วี

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวดั

ว ๓.๒ ป.๒/๑ ๑. ระบุส่วนประกอบของดนิ และจาแนกชนิด - ดินประก

ของดินโดยใช้ลกั ษณะเนอื้ ดินและการจบั ตัว อยู่ในเนื้อ

เป็นเกณฑ์ ช่องว่าง ใ

ว ๓.๒ ป.๒/๒ ๒. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ ากดนิ จากข้อมูลท่ี เหนียว แล
ก า ร จั บ ต
รวบรวมได้

แตกต่างก

- ดนิ แต่ละ

ตามลักษณ

๔๐

กิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ัง

ลยอี วกาศ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ

--

ะบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย

วติ และสิ่งแวดลอ้ ม

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิน่

กอบด้วยเศษหิน ซากพืชซากสัตว์ผสม -สังเกต เปรียบเทียบลกั ษณะของดินรอบ

อดิน มีอากาศและน้าแทรกอยู่ตาม บรเิ วณสวนของโรงเรยี นบา้ นห้วยแหง้ กับดิน

ในเนื้อดิน ดินจาแนกเป็น ดินร่วน ดิน รอบอาคารเรยี น

ละ ดินทราย ตามลักษณะเน้ือดินและ -ทดลองปลูกพืชอยา่ งงา่ ยในดินร่วน

ตัวของดินซ่ึงมีผลต่อการอุ้มน้าที่ -ดนิ ในทอ้ งถนิ่ และการนาไปใชป้ ระโยชน์

กัน -

ะชนิดนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกัน

ณะและสมบตั ขิ องดิน

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารง

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอ

เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสง่ิ แวดล้อ

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ช้วี ัด

--

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญห

และการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมีประสิทธ

รหัสตัวชี้วัด ตวั ชี้วัด

ว ๔.๒ ป ๒/๑ ๑. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรอื การ - การแสด

แกป้ ญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรอื เขียน บอ

ขอ้ ความ ปญั หาอยา่

แต่งตัวมา

ว ๔.๒ ป ๒/๒ ๒. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ - ตัวอย่าง
หรือส่อื และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม ตวั ละครท

ข้อผิดพลา
กาหนด

๔๑

งชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้าน

อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้

อม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ

--

หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน

ดงข้ันตอนการแก้ปัญหาทาได้โดยการ แก้ปัญหาต่างๆในการดาเนนิ กิจกรรมประจาวนั

อกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ ในโรงเรียนบ้านหว้ ยแหง้ ได้ เช่น การวางรองเท้า
างงา่ ย เช่น เกมตัวต่อ ๖-๑๒ ชิน้ การ
าโรงเรียน การจัดกระเป๋านักเรยี น การจัดเก็บอุปกรณแ์ ปรง
ฟันฯลฯ

งโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสง่ั ให้ -
ทางานตามท่ตี ้องการ และตรวจสอบ
าด ปรบั แก้ไขให้ไดผ้ ลลัพธ์ตามท่ี

รหัสตัวช้ีวดั ตัวช้วี ัด - การตรว
ว ๔.๒ ป ๒/๓ คาสงั่ ท่แี จ
ว ๔.๒ ป ๒/๔ ๓. ใช้เทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดหมวดหมู่ เป็นไปตาม
คน้ หา จัดเก็บ เรียกใชข้ อ้ มูลตามวัตถุประสงค์ ละคาสงั่
ซอฟต์แว
๔. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เช่น ใช้บั
ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ Code.org
ร่วมกนั ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใชง้ าน
อยา่ งเหมาะสม - การใช้ง
และออกจ
จัดเกบ็ กา
เอกสาร ท
ประมวลค
นาเสนอ
- การสรา้ ง
หมวดหมไู่
ทาใหเ้ รยี ก

- การใช้เท
เช่น รจู้ ักข
เผยแพรข่ ้อ
ส่วนตัวกบั
แจ้งผเู้ กย่ี ว
เก่ียวกบั กา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔๒
วจหาข้อผดิ พลาดทาไดโ้ ดยตรวจสอบ
จง้ ข้อผิดพลาด หรอื หากผลลัพธ์ไม่ สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน
มท่ตี ้องการให้ตรวจสอบการทางานที -

วร์ หรือส่ือท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม -
ต ร คาส่ั งแ ส ด งการเขีย น โป รแ กรม ,
g
งานซอฟต์แวรเ์ บื้องต้น เชน่ การเขา้
จากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การ
ารเรียกใช้ไฟล์ การแกไ้ ขตกแต่ง
ทาได้ ในโปรแกรม เชน่ โปรแกรม
คา โปรแกรมกราฟิก โปรแกรม

ง คัดลอก ยา้ ย ลบ เปลยี่ นช่ือ จดั
ไฟล์และโฟลเดอร์อย่างเปน็ ระบบจะ
กใช้ คน้ หาข้อมูลได้ง่ายและรวดเรว็
ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั
ข้อมลู สว่ นตัว อนั ตรายจากการ
อมูลส่วนตัว และไม่บอกขอ้ มลู
บบคุ คลอืน่ ยกเวน้ ผูป้ กครอง หรอื ครู
วขอ้ งเมื่อต้องการ ความชว่ ยเหลือ
ารใชง้ าน

รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ชี้วดั

- ข้อปฏิบ
อุปกรณ์ เ
สะอาด ใช
- การใช้ง
ถูกต้อง ก
เวลานาน

๔๓

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
บัติในการใช้งานและการดูแลรักษา
เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความ
ชอ้ ุปกรณอ์ ยา่ งถกู วธิ ี
งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่าน่ังให้
ก า ร พั ก ส า ย ต า เม่ื อ ใช้ อุ ป ก ร ณ์ เป็ น
ระมัดระวงั อบุ ัติเหตุจากการใช้งาน

ตัวช้ีวัดและสาระกา

ชัน้ ประถมศ

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความส

สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแท

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมช

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชีว้ ัด

--

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชวี ติ หน่วยพื้นฐานของสิ่ง

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด

ว ๑.๒ ป ๓/๑ ๑. บรรยายสง่ิ ที่จาเปน็ ตอ่ การดารงชีวิต และ -มนุษย์แล

การเจริญเตบิ โตของมนุษยแ์ ละสตั ว์ โดยใช้ เพ่อื การดา

ขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้

๔๔

ารเรยี นรแู้ กนกลาง

ศึกษาปที ่ี ๓

สัมพันธร์ ะหว่างส่ิงไม่มชี ีวิตกับสิง่ มชี ีวิตและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี ีวิตกับ

ทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ

ชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มรวมทั้งนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ

--

งมีชวี ิต การลาเลียงสารผา่ นเซลล์ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าทขี่ อง
รงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทา งานสัมพันธ์กันรวมทั้งนา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน

ละสัตว์ต้องการอาหาร นา้ และอากาศ -ศึกษา ชีวิตของปลา บริเวณบ่อปลาหน้า

ารงชวี ติ และการเจรญิ เติบโต ธนาคารโรงเรียนบา้ นหว้ ยแหง้

รหสั ตวั ชี้วดั ตัวช้วี ัด
ว ๑.๒ ป ๓/๒
๒. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องอาหาร น้า และ - อาหาร
ว ๑.๒ ป ๓/๓
อากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตวใ์ ห้ได้รบั ส่งิ เติบโต น้า
ว ๑.๒ ป ๓/๔
เหล่านอ้ี ย่างเหมาะสม อากาศใช้

๓. สรา้ งแบบจาลองทบ่ี รรยายวัฏจกั รชีวติ ของ - สตั ว์เม่ือ

สัตว์ และเปรยี บเทยี บวฏั จกั รชีวิตของสัตว์ บาง เจรญิ เตบิ โ

ชนดิ ได้อีกหมนุ

๔. ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของชวี ิตสัตว์ โดยไม่ทา สตั ว์ ซึง่ สัต

ให้วฏั จักรชวี ติ ของสตั ว์เปลี่ยนแปลง มนษุ ย์จะม

กัน

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๔๕

ช่ ว ย ให้ ร่ า ง ก า ย แ ข็ ง แ ร ง แ ล ะ เจ ริ ญ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
าช่วยให้ร่างกายทางานได้อย่างปกติ -
ในการหายใจ
-
อเป็นตวั เตม็ วัยจะสบื พันธ์ุมลี ูก เมื่อลกู
โตเป็นตวั เต็มวัยก็สืบพนั ธ์มุ ลี ูกต่อไป -
นเวียนต่อเนื่องเปน็ วฏั จกั รชวี ติ ของ
ตว์ แตล่ ะชนดิ เช่น ผีเสอ้ื กบ ไก่
มวี ัฏจักรชวี ติ ท่เี ฉพาะ และแตกต่าง

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายท

มผี ลตอ่ ส่งิ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิง่ มีชวี ิต ร

รหัสตัวชี้วดั ตวั ช้วี ัด

--

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สา

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ดั

ว ๒.๑ ป ๓/๑ ๑. อธบิ ายว่าวัตถุประกอบขน้ึ จากชน้ิ สว่ นย่อยๆ - วัตถุอาจ

ซงึ่ สามารถแยกออกจากกนั ได้และประกอบกัน ลักษณะเห

เป็นวตั ถชุ ้นิ ใหมไ่ ด้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ แยกช้ินส่ว

กนั สามาร

วตั ถุชิน้ ให

หลาย ๆ

สามารถน

เป็นพืน้ ทา

ว ๒.๑ ป ๓/๒ ๒. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของวสั ดุเมื่อทาให้ - เมอื่ ให้คว

รอ้ นขึ้นหรือทาให้เยน็ ลง โดยใชห้ ลักฐานเชิง เมือ่ ลดคว

ประจักษ์ เกดิ การเป

เปลี่ยน

๔๖

ทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธุกรรมท่ี

รวมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่

--

ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหว่าง

ารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่

จทาจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซ่ึงแต่ละชิ้นมี -

หมือนกันมาประกอบเข้าด้วยกัน เม่ือ

วนย่อย ๆ แต่ละช้ินของวัตถุออกจาก

รถนาชิน้ สว่ นเหลา่ น้ันมาประกอบเป็น

หมไ่ ด้ เช่น กาแพงบา้ นมกี ้อนอิฐ

ก้อน ประกอบเข้าด้วยกัน และ

นาก้อนอิฐจากาแพงบ้านมาประกอบ

างเดินได้

วามร้อนหรือทาใหว้ ัสดุรอ้ นขนึ้ และ -

วามร้อนหรอื ทาให้วัสดุเยน็ ลง วัสดจุ ะ

ปล่ียนแปลงได้ เช่น สีเปลย่ี น รปู ร่าง

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลขอ

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ช้วี ัด

ว ๒.๒ ป ๓/๑ ๑.ระบผุ ลของแรงที่มตี ่อการเปล่ยี นแปลง การ - การดึง ห

เคล่อื นที่ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ต่อวัตถุ แ

อาจทาให

ตาแหน่งจ

- การเปล

วัตถุท่ีอยู่น

เคลื่อนที่เ

หรอื หยุดน

ว ๒.๒ ป ๓/๒ ๒.เปรียบเทยี บและยกตัวอยา่ งแรงสัมผสั และ - การดงึ ห

แรงไมส่ ัมผัสท่ีมผี ลต่อการเคลื่อนท่ขี องวัตถุ จากวัตถุห

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ สองอาจส

ออกแรงโด

เคลื่อนที่เป

แรงนจี้ งึ เป

ดงึ ดดู หรือ

ขน้ึ โดยแม

แมเ่ หล็กน

๔๗

องแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่
-
หรือการผลัก เป็นการออกแรงกระทา
แรงมีผลต่อการเคล่ือนที่ของวัตถุ แรง
ห้วัตถุเกิดการเคล่ือนที่โดยเปล่ียน
จากทหี่ นึ่ง ไปยังอกี ทีห่ นง่ึ
ลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่
น่ิงเปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่ วัตถุท่ีกาลัง
เปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่เร็วข้ึนหรือช้าลง
นิง่ หรอื เปล่ียนทศิ ทางการเคล่อื นที่

หรือการผลกั เปน็ การออกแรงท่เี กิด
หนง่ึ กระทากับอีกวตั ถหุ นงึ่ โดยวัตถุท้ัง
สัมผัสหรือไม่ต้องสัมผัสกนั เชน่ การ
ดยใช้มือดงึ หรือการผลกั โต๊ะให้
ปน็ การออกแรงท่วี ตั ถตุ ้องสมั ผสั กัน
ปน็ แรงสมั ผัส ส่วนการที่แมเ่ หลก็
อผลกั ระหวา่ งแมเ่ หล็กเป็นแรงทีเ่ กดิ
มเ่ หลก็ ไม่จาเปน็ ต้องสมั ผัสกัน แรง
น้จี ึงเปน็ แรงไมส่ ัมผสั

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชวี้ ดั - แม่เหลก็
ว ๒.๒ ป ๓/๓ - แรงแม่เห
๓. จาแนกวัตถโุ ดยใช้การดึงดูดกบั แมเ่ หล็ก กับสารแ
ว ๒.๒ ป ๓/๔ เปน็ เกณฑ์จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ แ ม่ เห ล็ ก
ขั้วแมเ่ หล
๔. ระบขุ ้ัวแม่เหลก็ และพยากรณผ์ ลทเี่ กดิ ข้ึน จะดงึ ดดู ก
ระหว่างขั้วแมเ่ หล็กเม่ือนามาเขา้ ใกล้กันจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลง

ชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสง และ

รหัสตวั ชี้วดั ตวั ชี้วัด

ว ๒.๓ ป ๓/๑ ๑. ยกตัวอยา่ งการเปลี่ยนพลงั งานหนึ่งไปเปน็ - พลังงาน

อีกพลังงานหนง่ึ จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ในการท

พ ลั ง ง า น

พลังงานเ

พลังงานส

เป็นอีกพล

ร้อน เป็น

ความร้อน

เป็นพลังง

พลังงานไฟ

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๔๘

กสามารถดงึ ดดู สารแม่เหลก็ ได้ สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
หล็กเป็นแรงที่เกดิ ขนึ้ ระหวา่ งแมเ่ หล็ก -
ม่เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็ก
ก มี ๒ ข้ัวคือ ข้ัวเหนือและขั้วใต้
ลก็ ชนิดเดียวกนั จะผลกั กัน ตา่ งชนิดกัน
กัน

งและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานใน

ะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน

นเป็นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถ -

างาน พลังงานมีหลายแบบ เช่น

กล พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง

เสียง และพลังงานความร้อน โดย

สามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งไป

ลังงานหน่ึงได้ เช่น การถูมือจนรู้สึก

นการเปล่ียนพลังงานกลเป็นพลังงาน

น แผงเซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานแสง

งานไฟฟ้าหรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเปลี่ยน

ฟฟ้าเปน็ พลังงานอนื่

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชี้วัด
ว ๒.๓ ป ๓/๒
๒. บรรยายการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟา้ - ไฟฟ้าผ
ว ๒.๓ ป ๓/๓
และระบุแหล่งพลงั งานในการผลิตไฟฟ้า จาก พลังงานจ

ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ แหล่ง เช่น

พลังงานจ

๓. ตระหนักในประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟ้า - พลังงาน

โดยนาเสนอวธิ ีการใช้ไฟฟา้ อย่างประหยดั และ การใช้ไฟ

ปลอดภัย ประหยัด

ปลอดภัยด

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด

ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะที่สง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชวี ิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโล

รหัสตวั ชี้วัด ตวั ช้ีวดั

ว ๓.๑ ป ๓/๑ ๑. อธิบายแบบรูปเสน้ ทางการข้นึ และตก ของ - คนบนโ

ดวงอาทิตยโ์ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ทางด้านห

ว ๓.๑ ป ๓/๒ ๒. อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้นึ หมุนเวียน

และตกของดวงอาทติ ย์ การเกิดกลางวนั

กลางคนื และการกาหนดทศิ โดยใช้

แบบจาลอง

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔๙

ผ ลิ ต จ า ก เค รื่ อ ง ก า เนิ ด ไ ฟ ฟ้ า ซ่ึ ง ใ ช้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน
จากแหล่งพลังงานธรรมชาติหลาย -
น พลังงานจากลม พลังงานจากน้า
จากแกส๊ ธรรมชาติ -

นไฟฟ้ามีความสาคัญต่อชีวติ ประจาวัน
ฟ ฟ้ านอกจากต้องใช้อย่างถูกวิธี
และคุ้มค่าแล้ว ยังต้องคานึงถึงความ
ด้วย

ด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้ง

ลยีอวกาศ

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่

โลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏข้ึน -

หน่ึงและตกทางอีกด้านหนึ่งทุกวัน

นเป็นแบบรปู ซ้า ๆ -

รหัสตัวชี้วัด ตัวชวี้ ดั
ว ๓.๑ ป ๓/๓
๓. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของดวงอาทิตย์ โดย - โลกกลม
บรรยายประโยชน์ของดวงอาทติ ยต์ ่อสิ่งมชี วี ิต ดวงอาท

แสงอาทิต
จากดวงอ
ข้ามท่ีไม่ไ
คนบนโลก
ทางด้านห
และมองเห
กาหนดให
ขวามืออย
ทางทศิ ตะ
ดา้ นหลังจ
- ในเวลาก
พ ลั ง ง า น
สิ่งมชี ีวิตด

๕๐

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
มและหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบ
ทิ ตย์ ท าให้ บ ริเวณ ของโลกได้รับ
ตย์ไม่พร้อมกัน โลกด้านท่ีได้รับแสง
อาทิตย์จะเป็นกลางวัน ส่วนด้านตรง
ได้รับแสงจะเป็นกลางคืน นอกจากนี้
กจะมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้น
หนึ่งซึ่งกาหนดให้เป็นทิศตะวันออก
ห็นดวงอาทิตย์ตกทางอีกด้านหนึ่ง ซึ่ง
ห้เป็นทิศตะวันตก และเมื่อให้ด้าน
ยู่ทางทิศตะวันออก ด้านซ้ายมืออยู่
ะวนั ตก ด้านหน้าจะเป็นทิศเหนือ และ
จะเปน็ ทิศใต้
กลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสงและ
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทาให้
ดารงชวี ิตอยไู่ ด้

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระ

กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลกรวมทัง้ ผลตอ่ สงิ่ มีชีว

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด

ว ๓.๒ ป ๓/๑ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของอากาศ บรรยาย - อ า ก า

ความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของ ประกอบด

มลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชวี ติ จากข้อมูล ที่ แก๊สคาร์บ

รวบรวมได้ น้า และ ฝ

ว ๓.๒ ป ๓/๒ ๒. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของอากาศ โดย ส่ิงมีชีวิต

นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการลด การ เหมาะสม
ละอองใน
เกิดมลพิษทางอากาศ

สิ่งมีชีวิตช

- แนวทา

มลพิษทาง

เลอื กใช้เท

ว ๓.๒ ป ๓/๓ ๓. อธิบายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ - ลม คือ

แตกตา่ งก

กนั โดยอา

สูงข้ึน และ

เคลือ่ นเข้า

๕๑

บบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย

วติ และส่ิงแวดล้อม

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่

า ศ โ ด ย ท่ั ว ไ ป ไ ม่ มี สี ไม่ มี ก ลิ่ น -

ด้วย แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน

บอนไดออกไซด์ แก๊สอ่ืน ๆ รวมท้ังไอ

ฝุ่นละออง อากาศมีความสาคัญต่อ

หากส่วนประกอบของอากาศไม่ -ระบุปัญหามลพิษทางอากาศในชุมชน และ

ม เน่ืองจากมีแก๊สบางชนิดหรือฝุ่น เสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา
นปริมาณมาก อาจเป็นอันตรายต่อ

ชนิดตา่ ง ๆ จดั เป็นมลพษิ ทางอากาศ

างการปฏิบัติตนเพ่ือลดการปล่อย

งอากาศ เช่น ใช้พาหนะร่วมกัน หรือ

ทคโนโลยีที่ลดมลพษิ ทางอากาศ

ออากาศที่เคลื่อนท่ี เกิดจากความ - ระบุทิศทางลมในเวลาต่าง ๆ บริเวณสนาม

กันของอุณหภูมิอากาศบริเวณที่อยู่ใกล้ โรงเรียนบ้านห้วยแห้ง (เช้า กลางวัน ก่อนเลิก

ากาศบรเิ วณที่มีอุณหภูมิสูงจะลอยตัว เรยี น)

ะอากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ากว่าจะ

าไปแทนที่

รหัสตัวชี้วดั ตวั ชวี้ ดั - ลมสาม
ว ๓.๒ ป ๓/๔ ทดแทน
๔.บรรยายประโยชน์และโทษของลม จาก ประโยชน
ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงช

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอ

เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และสิง่ แวดล้อ

รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด

--

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาท

การสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชวี้ ดั

ว ๔.๒ ป ๓/๑ ๑. แสดงอลั กอริทึมในการทางาน หรอื การ - อลั กอรทิ

แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ - การแสด

ขอ้ ความ เล่า วาดภ

๕๒

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่
-
ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ เป็ น แ ห ล่ ง พ ลั ง ง า น
ในการผลิตไฟ ฟ้ า และนาไปใช้

น์

ชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้และทักษะทางด้าน

อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้

อม

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่

--

ทพี่ บในชวี ิตจริงอย่างเปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

พ รเู้ ท่าทนั และมีจริยธรรม

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่

ทมึ เป็นขนั้ ตอนที่ใชใ้ นการแก้ปัญหา -

ดงอัลกอริทึมทาได้โดยการเขียน บอก

ภาพ หรือใช้สัญลกั ษณ์

รหัสตัวช้ีวดั ตัวชวี้ ัด
ว ๔.๒ ป ๓/๒
- ตัวอย่าง
ว ๔.๒ ป ๓/๓
เกม Tetri

ทาความส

๒. เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ซอฟต์แวร์ - การเขีย

หรอื ส่อื และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม คาส่ัง ใหค้

- ตัวอยา่ ง

ตวั ละครท

- การตรว

คาส่ังท่ีแจ

เป็นไปตาม

ละคาส่ัง

- ซอฟต์แ

เช่น ใช้บั

Code.org

๓. ใช้อินเทอรเ์ น็ตค้นหาความรู้ - อินเทอร

การติดต่อ

เป็นแหล่ง

การดาเนนิ

- เว็บเบร

เอกสารบน

๕๓

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
งปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู -
is เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การ
สะอาดหอ้ งเรียน -
ยนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของ
คอมพิวเตอร์ทางาน
งโปรแกรม เชน่ เขียนโปรแกรมทีส่ ่ังให้
ทางานซา้ ไม่ส้นิ สุด
วจหาข้อผิดพลาดทาได้โดยตรวจสอบ
จ้งข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่
มที่ต้องการให้ตรวจสอบการทางานที

วร์หรือสื่อท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม
ต ร คาสั่ งแ ส ด งการเขีย น โป รแ กรม ,
g
ร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ช่วยให้
อส่ือสารทาได้สะดวกและรวดเร็ว และ
งข้อมูลความรู้ที่ช่วยในการเรียน และ
นชีวิต
ราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสาหรับอ่าน
นเวบ็ เพจ

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชว้ี ดั - การสืบค
ว ๔.๒ ป ๓/๔ เว็บไซต์สา
๔. รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอข้อมูล เหมาะสมจ
โดยใชซ้ อฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ – ข้อมูลค
กระดาษ
ชาติไทย
เร่ืองทเ่ี ปน็
- การใช้อ
การดูแลข

- การรวบ
ตอ้ งการ เ
- การประ
จดั กลมุ่ เร
- การนาเ
ความเหม
เอกสารรา
- การใช้ซ
เช่น ใช้ซ
กราฟฟิก
ประมว
เอกสารรา
การประม

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๕๔

ค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทาได้โดยใช้ สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
าหรับสืบค้น และต้องกาหนดคาค้นที่ -
จึงจะได้ขอ้ มูลตามต้องการ
ความรู้ เช่น วิธีทาอาหาร วิธีพับ -
เป็นรูปต่าง ๆ ข้อมูลประวัติศาสตร์
(อาจเป็นความรู้ในวิชาอ่ืน ๆ หรือ
นประเด็นท่ีสนใจ ในชว่ งเวลานน้ั )
อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ใน
ของครู หรือผู้ปกครอง

บรวมข้อมูล ทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่
เตรยี มอปุ กรณใ์ นการจดบันทึก
ะมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ
รียงลาดับ
เสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม
มาะสม เช่น การบอกเล่า การทา
ายงาน การจดั ทาป้ายประกาศ
ซอฟต์แวร์ทางานตามวัตถุประสงค์
ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ น า เส น อ ห รื อ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์
สร้างแผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์
ล ค า ท า ป้ า ย ป ร ะ ก า ศ ห รื อ
ายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานใน
มวลผลข้อมูล

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวัด - การใชเ้ ท
ว ๔.๒ ป ๓/๕ เช่น ปกป้อ
๕. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั - ขอความ
ปฏบิ ัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ นต็ เกิดปญั หา
บุคคลทท่ี า
- การปฏิบ
จะทาให้ไม
เช่น ไมใ่ ชค้
เสียหาย ห

๕๕

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
องข้อมลู สว่ นตัว
มช่วยเหลอื จากครู หรือผปู้ กครองเม่ือ
าจากการใชง้ าน เมื่อพบข้อมลู หรอื
าใหไ้ มส่ บายใจ
บัติตามข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอร์เน็ต
ม่เกดิ ความเสียหายต่อตนเองและผู้อนื่
คาหยาบ ลอ้ เลยี น ด่าทอ ทาให้ผู้อ่ืน
หรอื เสียใจ

ตัวชวี้ ัดและสาระกา

ชัน้ ประถมศ

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความส

สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแท

ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมช

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ัด

--

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงม

ระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโคร

ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้วี ัด

ว ๑.๒ ป ๔/๑ ๑. บรรยายหน้าทีข่ องราก ลาตน้ ใบ และดอก - ส่วนตา่ ง

ของพชื ดอกโดยใช้ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ - รากทาห

- ลาต้นทา

ของพืช

- ใบทาหน

คอื น้าตาล

๕๖

ารเรยี นรู้แกนกลาง

ศึกษาปที ี่ ๔

สัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ

ทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ

ชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อมรวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น

--

มีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของ
รงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กันรวมทั้งนา

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่

ง ๆ ของพืชดอกทาหน้าท่ีแตกตา่ งกนั - ศึกษา โครงสร้างของพืชที่พบในบริเวณสวน

หนา้ ที่ดูดนา้ และแร่ธาตุข้ึนไปยงั ลาต้น โรงเรียนบ้านหว้ ยแหง้ เช่น ตน้ มะนาว

าหน้าที่ลาเลียงน้าต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ตน้ พรกิ เปน็ ต้น

น้าที่สร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างขึ้น
ลซ่ึงจะเปล่ียนเปน็ แป้ง

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ดั

- ดอกท
ส่วนประก
เกสรเพศผ
แตล่ ะสว่ น

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายท

มผี ลต่อสง่ิ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ ร

รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชี้วัด

ว ๑.๓ ป ๔/๑ ๑. จาแนกส่งิ มีชวี ติ โดยใชค้ วามเหมือนและ - ส่ิงมีชีวิต

ความแตกตา่ งของลักษณะของส่งิ มีชีวติ ใช้ ความเ

ออกเปน็ กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พชื ต่าง ๆ เช

และสตั ว์ เคลื่อนท่ีด

อื่นเป็นอา

และสตั ว์ เ

ว ๑.๓ ป ๔/๒ ๒. จาแนกพืชออกเป็นพชื ดอกและพชื ไม่มดี อก - การจา

โดยใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ที่ เกณฑ์ ใน

รวบรวมได้ มีดอก

๕๗

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น

าห น้ าที่ สื บ พั น ธุ์ ป ระ ก อ บ ด้ วย
กอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเล้ียง กลีบดอก
ผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบ
นของดอก ทาหนา้ ท่แี ตกต่างกนั

ทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธุกรรมที่

รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น

ตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มได้โดย - สารวจ จัดกลุ่ม ส่ิงมีชีวิตท่ีพบบริเวณบ่อปลา

เหมือนและความแตกต่างของลักษณะ ในโรงเรียนบ้านห้วยแหง้ และในชมุ ชน

ช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และ

ด้วยตนเองไม่ได้ กลุ่มสัตว์กินสิ่งมีชีวิต

าหารและเคลื่อนที่ได้ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืช

เชน่ เหด็ รา จลุ นิ ทรยี ์

าแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็น - สารวจ จาแนก พืชออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไม่

นการจาแนก ได้เป็นพืชดอกและพืชไม่ มดี อก ในโรงเรยี นบ้านห้วยแห้ง

รหัสตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ัด
ว ๑.๓ ป ๔/๓
๓. จาแนกสัตวอ์ อกเป็นสัตวม์ กี ระดูกสันหลัง - การจาแ
ว ๑.๓ ป ๔/๔
และสัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง โดยใชก้ ารมี หลัง เป็น

กระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลท่ี กระดูกสัน

รวบรวมได้ - สัตว์มีกร

๔. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ ังเกตได้ของสตั วม์ ี ปลา กลุ่

กระดูกสนั หลังในกลุ่มปลา กลุ่มสตั วส์ ะเทินน้า สัตว์เลื้อย
สะเทินบก กล่มุ สตั ว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และ ด้วยน้านม

กลมุ่ สตั ว์เลี้ยงลกู ดว้ ยน้านม และยกตวั อยา่ ง สงั เกตได้

ส่ิงมีชีวิตในแตล่ ะกลุ่ม

๕๘

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน
-
แนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสัน
นเกณฑ์ในการจาแนก ได้เป็นสัตว์มี
นหลังและสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง
ระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม
มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่ม
ยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูก
ม ซ่ึงแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะท่ี

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ค

อนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสา

รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด - วัสดุแต่ล
ว ๒.๑ ป ๔/๑ กัน วัสดุท
๑. เปรยี บเทียบสมบตั ิทางกายภาพด้านความ ท่ีมีสภาพ
ว ๒.๑ ป ๔/๒ แขง็ สภาพยืดหย่นุ การนาความรอ้ น และการ แรงมากร
นาไฟฟ้าของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ความร้อน
จากการทดลองและระบุการนาสมบตั ิเรือ่ ง และวัสดุท
ความแขง็ สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน ผ่านได้ ด
และการนาไฟฟา้ ของวสั ดุไปใช้ใน พิ จ า ร ณ า
ชีวติ ประจาวัน ผา่ นกระบวนการออกแบบ ช้ินงานเพ่ือ
ชนิ้ งาน

๒. แลกเปลี่ยนความคดิ กับผู้อื่นโดยการ
อภิปรายเกยี่ วกับสมบัตทิ างกายภาพของวสั ดุ
อย่างมเี หตผุ ลจากการทดลอง

๕๙

ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัติของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหว่าง
ารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ

ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่าง - สารวจขยะท่ีพบบรเิ วณโรงเรียนบ้านหว้ ยแห้ง

ท่ีมีความแข็งจะทนต่อแรงขูดขีด วัสดุ และเปรียบเทยี บสมบตั ขิ องวสั ดุ

พยืดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างเม่ือมี

ระทาและกลับสภาพเดิมได้ วัสดุที่นา

น จ ะ ร้ อ น ได้ เร็ ว เมื่ อ ได้ รั บ ค ว าม ร้ อ น

ที่นาไฟฟ้าได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหล

ดังนั้นจึงอาจนาสมบัติต่าง ๆ มา

า เพ่ื อ ใ ช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ

อใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวัน

รหสั ตัวช้ีวดั ตัวช้ีวัด - วัสดุเป็น
ว ๒.๑ ป ๔/๓ สสารมีสถ
๓. เปรียบเทยี บสมบัตขิ องสสารทั้ง ๓ สถานะ ของแข็ง ม
ว ๒.๑ ป ๔/๔ จากข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกต มวล การ ปริมาตรค
ต้องการท่ีอยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร เฉ พ า ะ ส่
ปริมาตรแ
๔. ใชเ้ ครอื่ งมือเพื่อวดั มวล และปรมิ าตรของ บรรจุ
สสารทั้ง ๓ สถานะ

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลขอ

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้วี ดั

ว ๒.๒ ป ๔/๑ ๑. ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งท่ีมีตอ่ วตั ถุจาก - แรงโน

หลกั ฐานเชิงประจักษ์ กระทาต่อ

ว ๒.๒ ป ๔/๒ ๒. ใช้เครื่องช่ังสปริงในการวัดนา้ หนักของวัตถุ และเปน็ แ
วัตถหุ นึง่ ๆ

วัตถุมีน้าห

ช่ังสปริง น

โดยวัตถุท

มวลนอ้ ยจ

๖๐

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถนิ่
-
นสสารเพราะมีมวลและต้องการที่อยู่
ถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส -
มีปริมาตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมี
คงท่ี แต่มีรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะ
วนที่บรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมี
และรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะท่ี

องแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนา

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ
-
น้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลก
อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก
แรงไมส่ ัมผสั แรงดงึ ดดู ทโ่ี ลกกระทากับ
ๆ ทาใหว้ ตั ถุตกลงสู่พ้ืนโลก และทาให้
หนัก วัดน้าหนักของวัตถุได้จากเครื่อง
น้าหนักของวัตถุข้ึนกับมวลของวัตถุ
ที่มีมวลมากจะมีน้าหนักมาก วัตถุท่ีมี
จะมนี ้าหนักน้อย

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ดั
ว ๒.๒ ป ๔/๓
๓. บรรยายมวลของวัตถทุ ่มี ีผลตอ่ การ - มวล คื

เปล่ียนแปลงการเคลื่อนทข่ี องวัตถุจากหลกั ฐาน ประกอบก

เชิงประจักษ์ ในการเปล

ท่มี ีมวลมา

กว่าวัตถุท

นอกจากจ

แล้วยังหม

เคลอ่ื นท่ขี

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ยี น

พลงั งานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ทเี่ กยี่ วข้องกับเสีย

รหัสตัวชี้วัด ตวั ชว้ี ัด

ว ๒.๓ ป ๔/๑ ๑. จาแนกวตั ถเุ ป็นตัวกลางโปรง่ ใส ตวั กลาง - เมอื่ มอง

โปรง่ แสง และวตั ถทุ ึบแสง จากลกั ษณะ การ แสง จะท

มองเห็นสง่ิ ต่าง ๆ ผ่านวัตถนุ ั้นเปน็ เกณฑ์โดยใช้ ชัดเจนต่า

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ตัวกลางโป

ชัดเจน ตัว

ๆ ได้ไม่ชัด

เห็นสิ่งตา่ ง

๖๑

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ
-
อ ปริมาณ เน้ือของสารทั้งหมดที่
กันเป็นวัตถุ ซึ่งมีผลต่อความยากง่าย
ล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ วัตถุ
ากจะเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ีได้ยาก
ที่มีมวลน้อย ดังนั้น มวลของวัตถุ
จะหมายถึงเนื้อท้ังหมดของวัตถุนั้น
มายถึงการต้านการเปล่ียนแปลง การ
ของวัตถนุ ั้นดว้ ย

นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน

ยง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน

งสงิ่ ต่าง ๆ โดยมีวัตถุตา่ งชนิดกนั มากั้น -

ท า ให้ ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ม อ ง เห็ น สิ่ งนั้ น ๆ

างกัน จึงจาแนกวัตถุท่ีมากั้นออกเป็น

ปร่งใส ซ่ึงทาให้มองเห็นส่ิงต่าง ๆ ได้

วกลางโปร่งแสงทาให้มองเห็น ส่ิงต่าง

ดเจน และ วัตถุทึบแสงทาให้มองไม่

ง ๆ นนั้

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด

ปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสุรยิ ะที่สง่ ผลตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโล

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชว้ี ดั

ว ๓.๑ ป ๔/๑ ๑. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการขึน้ และตก ของ - ดวงจันท

ดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ หมนุ รอบต

หมุน รอบ

ตวั เองของ

ในทิศทาง

เหนือ ทา

ทางด้านท

ตะวันตกห

ว ๓.๑ ป ๔/๒ ๒. สร้างแบบจาลองทอ่ี ธบิ ายแบบรูป การ - ดวงจัน

เปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และ ของดวงจัน

พยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ ดวงจันทร

โดยในแต

เป็นเสี้ยวท

ดวง จาก

แหวง่ และ

เห็นดวงจ

จันทร์จะเ

การเปล่ีย

เดอื น


Click to View FlipBook Version