The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาปรับปรุง-61ขุนห้วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by innkiaw, 2021-06-04 11:44:46

หลักสูตรสถานศึกษาปรับปรุง-61ขุนห้วย

หลักสูตรสถานศึกษาปรับปรุง-61ขุนห้วย

หลกั สตู รสถานศกึ ษา

โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพฒั นาศกึ า พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต ๑
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร





บทที่ ๑

สว่ นนำ

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำส่ัง
กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำส่ังสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งให้
โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ และ
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนด
จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นมีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและ
เปา้ หมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช๒๕๕๑ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนำไปใช้ประโยชน์และเป็น
กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลา
เรยี น ตลอดจนเกณฑ์การวดั ประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียน
สามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น
โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทางทีช่ ัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพร้อมในการกา้ วสู่
สังคมคณุ ภาพ มคี วามรู้อยา่ งแทจ้ รงิ และมที ักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั ท่ีกำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับท้องถ่ินและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำ
หลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่อื ง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนา
หลกั สูตรในทกุ ระดับตั้งแตร่ ะดบั ชาตจิ นกระท่ังถึงสถานศกึ ษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้ีวัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัด
การศกึ ษาทกุ รูปแบบ และครอบคลมุ ผเู้ รียนทกุ กล่มุ เปา้ หมายในระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ท่ี
เก่ียวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ
และต่อเน่ือง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
เยาวชนของชาตไิ ปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ ก่ี ำหนดไว้



ความสำคญั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช๒๕๕๑ฉบับปรับปรุง

พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ เป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์
ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้
พัฒนาให้บรรลถุ ึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพฒั นาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใช้เป็นแนวทาง
หรือข้อกำหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแล้ว
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่พัฒนาขึ้นยังเป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายให้ครอบครัว
ชุมชน องค์กรในท้องถิ่น ท้ังภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทาง
สำคัญทีส่ ถานศึกษากำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้

๑. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการเรียนรู้
เปรียบเสมือนเป็นวิธีสร้างกำลังใจ และเร้าให้เกิดความก้าวหน้าแก่ผู้เรียนให้มากที่สุด มีความรู้สูงสุด
ผู้เรียนทุกคนมีความเข้มแข็ง ความสนใจ มีประสบการณ์ และความมั่นใจ เรียนและทำงานอย่างเป็น
อิสระและร่วมใจกัน มีทักษะในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยี
ส่อื สาร สง่ เสริมจติ ใจทีอ่ ยากรู้อยากเหน็ และมีกระบวนการคิดอยา่ งมเี หตุผล

๒. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม พัฒนา
หลักการในการจำแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรัทธาในความเชื่อของตน ความเชื่อและ
วฒั นธรรมที่แตกต่างกนั พฒั นาหลักคุณธรรมและความอิสระของผู้เรียน และช่วยให้เป็นพลเมืองที่มี
ความรบั ผิดชอบ สามารถช่วยพัฒนาสังคมให้เป็นธรรมขึ้น มีความเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก
เข้าใจ และยอมรับสภาพแวดล้อมที่ตนดำรงชีวิตอยู่ ยึดม่ันในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนท้ังใน
ระดับส่วนตน ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับโลก สร้างให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเป็น
ผู้บริโภคทีต่ ัดสินใจแบบมีข้อมูล เปน็ อิสระ และมีความรบั ผิดชอบ



ลักษณะของหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นขุนห้วยตากพฒั นาศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาได้พัฒนาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาตอนต้น โดยยึดองค์ประกอบหลักสำคัญ ๓ สว่ นคือ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น และสาระสำคัญ ที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม
เป็นกรอบในการจัดทำรายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานที่กำหนด
เหมาะสมกับสภาพชมุ ชนและท้องถิน่ และจดุ เน้นของสถานศึกษา โดยหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนขุน
ห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะของ
หลกั สูตร ดงั นี้

๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา สำหรับจัด
การศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดระดับการศึกษาเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับ
ประถมศึกษา (ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑ – ๖) และ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓)

๒. มีความเป็นเอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช
พุทธศักราช๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรของสถานศึกษาสำหรับให้ครูผู้สอน
นำไปจัดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย โดยกำหนดให้

๒.๑ มีสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้
และการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม

๒.๒ มีสาระการเรียนรู้ทีเ่ สริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทำงาน
ประกอบดว้ ย สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ

๒.๓ มีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสม
และสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความต้องการของผู้เรียน และบริบท
ของสถานศึกษา

๒.๓ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ และ สังคม เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพัฒนาตนตาม
ศักยภาพ

๒.๔ มีการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ
เพือ่ เปน็ เป้าหมายของการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้
และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั สภาพในชุมชน สงั คม และภูมิปญั ญาท้องถิน่

๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐
เป็นหลกั สตู รทีม่ ีมาตรฐานเปน็ ตัวกำหนดเกีย่ วกับคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น เพื่อเป็นแนวทาง
ในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการกำหนดมาตรฐานไว้ดังนี้



๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตร
สถานศึกษา อันเกิดจากการได้รับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรท้ังหมดใช้เป็นแนวทาง
ในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจดั การศึกษาตามหลกั สตู รในทุกระดับ และสถานศึกษาต้อง
ใช้สำหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทำรายงานประจำปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา
นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการกำหนดแนวปฏิบัติในการส่งเสริม กำกับ ติดตาม ดูแล และปรับปรุง
คณุ ภาพ เพือ่ ให้ไดต้ ามมาตรฐานทก่ี ำหนด

๓.๒ มีตัวชี้วัดช้ันปีเป็นเป้าหมายระบุส่ิงที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้ง
คณุ ลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดบั ชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความ
เป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์
สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้
ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ และเป็นหลักในการเทียบโอน
ความรแู้ ละประสบการณจ์ ากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั

๓.๓ มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุ่งให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ความสามารถในเรือ่ งเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจดั การส่งิ แวดล้อม ภมู ิปัญญา
ท้องถิ่น มีคณุ ลักษณะที่จำเป็นในการอยู่ในสงั คมได้แก่ ความซือ่ สตั ย์ ความรบั ผิดชอบ การตรง
ต่อเวลา การเสียสละ การเอื้อเฟื้อ โดยอยู่บนพื้นฐานของความพอดีระหว่างการเป็นผู้นำ และผู้ตาม การ
ทำงานเป็นทีม และการทำงานตามลำพังการแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม
วิทยาการสมยั ใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวฒั นธรรมต่างประเทศ และการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะที่เปน็ องค์รวม

๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา เป็น
หลักสูตร ที่สถานศึกษาจัดทำรายละเอียดต่าง ๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลักที่กำหนดไว้ใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นขอบข่ายในการจัดทำ จึงทำให้
หลักสูตรของสถานศึกษามีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการ
ของท้องถิ่น โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งมคี วามเหมาะสมกบั ตัวผู้เรยี น

๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
และเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตาม
มาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็น
เป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับ
สถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมินเปน็ ข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพฒั นาการ
ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ
สง่ เสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ



วิสยั ทศั น์
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบับปรบั ปรงุ

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มุ่งพฒั นาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเปน็ กำลังของชาติให้เปน็ มนษุ ย์ทีม่ ีความสมดุลทั้งดา้ น
รา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มุ่งมั่นสร้างโอกาสทางการศึกษาน้อมนำ
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานสากล มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง
เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั บนพนื้ ฐานความเชื่อว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

หลกั การ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ

เรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพืน้ ฐาน
ของความเป็นไทยน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงควบคูก่ ับความเป็นสากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ

๓. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถิน่

๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การ
เรียนรู้

๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุม ทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์



จดุ หมาย
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง

พุทธศักราช ๒๕๖๐ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาตามหลักสูตร
ดงั นี้

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวิต

๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรกั การออกกำลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่างมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา พทุ ธศกั ราช

๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มงุ่ เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ำหนด ซึง่
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรบั ปรงุ

พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มงุ่ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ

ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นข้อมลู
ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รอง
เพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ บั ข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและ
ความถกู ต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธกี ารส่อื สาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทีม่ ตี อ่
ตนเองและสังคม



๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ที่เผชญิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพนั ธ์และการเปล่ยี นแปลงของเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรมู้ า
ใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา และมีการตดั สินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้
ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน
การดำเนนิ ชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่
รว่ มกันในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้
ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ให้ทันกบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการ
รู้จกั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นต่าง
ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่อื สาร
การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรงุ

พุทธศักราช ๒๕๖๐ มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ใน
สังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสตั ย์สจุ ริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

๑๐

บทที่ ๒

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง

พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้องใน
การจดั การเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้

๑. ระดับการศึกษา กำหนดหลักสูตรเป็น ๒ ระดับ ตามโครงสร้างของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลักของการจัดการเรียนการสอนในระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นของสถานศึกษา ดงั นี้

๑.๑ ระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนเี้ ป็นชว่ งแรก
ของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิด
พื้นฐาน การติดต่อส่ือสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนา
คุณภาพชีวิตอยา่ งสมบูรณแ์ ละสมดุลทั้งในดา้ นรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดย
เน้นจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ

๒.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของ
การศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการ
พัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะใน
การดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มี
ความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็น
พืน้ ฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ่

๒. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนา
ศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ได้กำหนดไว้ในหลักสูตร ประกอบดว้ ย
องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของ
ผู้เรยี น ๘ กลมุ่ คือ

๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณิตศาสตร์
๒.๓ วิทยาศาสตร์
๒.๔ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๒.๕ สุขศึกษาและพลศึกษา
๒.๖ ศิลปะ
๒.๗ การงานอาชพี และเทคโนโลยี

๑๑

๒.๘ ภาษาองั กฤษ
๓. กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มงุ่ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ
พัฒนาอย่างรอบดา้ นเพื่อความเป็นมนุษยท์ ีส่ มบรู ณ์ ท้ังรา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม
เสริมสร้างให้เปน็ ผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั ปลูกฝงั และสร้างจิตสำนึกของการทำ
ประโยชนเ์ พื่อสังคม สามารถจดั การตนเองได้ และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งมีความสขุ แบง่ เปน็ ๓
ลกั ษณะ ดงั นี้

๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รกั ษ์
สง่ิ แวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแกป้ ญั หา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังดา้ นการเรียน และ
อาชีพ สามารถปรบั ตนได้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนยี้ งั ช่วยให้ครรู ู้จกั และเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็น
กิจกรรมทีช่ ว่ ยเหลอื และให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน

๓.๒ กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมทีม่ ุง่ พัฒนาความมีระเบียบวินยั ความเป็นผู้นำผู้
ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงานรว่ มกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตดั สนิ ใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตผุ ล
การช่วยเหลอื แบ่งปันกัน เอือ้ อาทร และสมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผู้เรยี น ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน
ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานรว่ มกันเป็นกล่มุ ตามความเหมาะสม
และสอดคลอ้ งกบั วฒุ ิภาวะของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถิน่ กิจกรรมนักเรยี นในหลกั สตู ร
สถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพฒั นาศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐
ประกอบดว้ ย

๓.๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื - เนตรนารี
๓.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม -คณุ ธรรมจริยธรรม
๓.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ
แสดงถึงความรบั ผิดชอบ ความดงี าม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มีจติ สาธารณะ
๔. เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑
ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นตำ่ สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้
๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งผู้สอนสามารถเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของ
สถานศึกษา โดยสามารถปรบั ให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผู้เรียน ดังนี้
๔.๑ ระดบั ช้ันประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) ให้จัดเวลาเรยี นเป็นรายปี
โดยมีเวลาเรยี นวนั ละ ไม่เกิน ๕ ชวั่ โมง
๔.๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) ให้จัดเวลาเรียนเป็นราย
ภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ช่ัวโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐
ชว่ั โมงต่อภาคเรียนมีค่านำ้ หนักวิชา เทา่ กับ ๑ หนว่ ยกติ (นก.)

๑๒

โครงสร้างและอตั ราเวลาการจัดการเรยี นรู้

โครงสร้างเวลาเรยี นโรงเรียนขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรับปรุง)
สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ตอนต้น
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ป.1-3 ป.4-6 ม. 1-3
วิทยาศาสตร์
200 160 120 (3 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 200 120 (3 นก.)
ประวตั ศิ าสตร์ 160 120 (3 นก.)
40 120 (3 นก.)
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 40 (1 นก.)
ศิลปะ 40 80 80 (2 นก.)
80 (2 นก.)
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 40 80 (2 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.)
40 80 880 (22 นก.)/ปี
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 80
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 120/ปี
รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศกึ ษาจัด 80 5 นก./ปี
เพิ่มเตมิ ตามความพร้อมและจดุ เนน้ 40 หรือ 200 ชม./ปี
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 200 80 1,200 ชม./ปี
840/ปี
120/ปี 840/ปี
120/ปี
40 160 ชม./ปี

1,000ชม./ปี 1,120 ชม./ปี

หมายเหตุ
1. หน้าท่ีพลเมืองจดั ให้เปน็ หน่วยหนงึ่ ในสาระที่ 2 กลุม่ สาระการเรียนรู้ฯสังคมศึกษาฯ
2. กิจกรรมสาธารณประโยชนเ์ พื่อสังคมบรู ณาการกจิ กรรมอยใู่ นช่ัวโมงลกู เสอื - ยุวกาชาติ

๑๓

โครงสร้างเวลาเรยี นโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา ระดบั ช้นั ประถมศึกษา

เวลาเรียน(ช่วั โมง/ปี)

กลุม่ สาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๑๖๐
๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
๘๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐
๘๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘๐
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘๔๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
๘๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
๔๐
การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
๓๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
๑๐
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

รายวชิ าเพ่ิมเติม

หน้าทพี่ ลเมอื ง (บูรณาการในชว่ั โมงลดเวลาเรยี น) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

วิทยาการคำนวณ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาเรียน (เพ่ิมเติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมนักเรยี น

- กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

- ชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ไม่น้อยกวา่ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี

หมายเหตุ 1. หนา้ ทีพ่ ลเมืองจัดใหเ้ ปน็ หน่วยหน่งึ ในสาระที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๑๔

จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑-ป.๓ ) เรียนท้ังปี เท่ากับ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง

ระดับช้ันประถมศึกษา ( ป.๔-ป.๖ )เทา่ กับ ๑,๐๔๐ ชวั่ โมง แผนการเรียนร/ู้ จดุ เน้นการพัฒนาผเู้ รยี นทต่ี ้องการ
เนน้ เป็นพเิ ศษ คอื กล่มุ สาระการเรยี นรทู้ กั ษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพอ่ื พัฒนาการอา่ นออก เขียนได้ ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ท่ีดี มีประโยชน์ มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่

เรียน โดยจัด การเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลเปน็ รายปี
สำหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ น้ัน จากการประเมินผลระดบั โรงเรยี น ระดับทอ้ งถิ่น และ

ระดับชาติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีมติร่วมกันให้จัดทำ
โครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพ่ือเพิ่มศักยภาพนักเรียน จำนวนชั่วโมง ๘๐ ชั่วโมง ตั้งแต่ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ -๖ โดยไม่นำคะแนนและระดับผลการเรียน ในรายวิชาสอนเสริมไปคิดรวมและตัดสิน

การเลอ่ื นชัน้ ของนักเรียน ในโครงสรา้ งของหลักสูตรโรงเรยี นขุนห้วยตากพฒั นาศึกษาพ.ศ. ๒๕๖๑ มีรายวิชา
และจำนวนช่ัวโมงดงั นี้

โครงการสอนเสริมประสบการณพ์ เิ ศษเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพนกั เรียน

ช้นั ป.๑-๓ จำนวน ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์

๑. วชิ า ภาษาไทย จำนวน ๑ ชว่ั โมง
๑ ชั่วโมง
๒. วชิ า คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑ ชวั่ โมง

๓. วิชา วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๑ ชว่ั โมง
๑ ชว่ั โมง
โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ เิ ศษเพอ่ื เพ่มิ ศกั ยภาพนกั เรยี น ๑ ชวั่ โมง

ชน้ั ป.๔-๖ จำนวน ๓ ชัว่ โมง / สัปดาห์

๑. วิชา ภาษาไทย จำนวน

๒. วชิ า คณิตศาสตร์ จำนวน

๓. วิชา ภาษาองั กฤษ จำนวน

โครงสร้างหลักสตู รชั้นปี เปน็ โครงสร้างท่ีแสดงรายละเอยี ดเวลาเรยี นของรายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชา /
กจิ กรรมเพิม่ เติมและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในแต่ละชน้ั ปี

๑๕

โครงสร้างเวลาเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑

รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี๑ ๘๐
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๔๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์๑ ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ๑ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๒๐๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ
หนา้ ที่พลเมือง ๑ ๔๐
-
(บรู ณาการในชั่วโมงลดเวลาเรียน) ๔๐
ว 11201 วิทยาการคำนวณ ๑ (๑๒๐)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
๑. แนะแนว (บูรณาการในชว่ั โมงลูกเสือ-ยุวกาชาด)
๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐
๔๐
๒.๑ ลูกเสอื -ยวุ กาชาด
๒.๒ กิจกรรมส่งเสริม (๑๐)
คณุ ธรรมจริยธรรม/ ชุมนุม
๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คม
และสาธารณประโยชน์

หมายเหตุ 1. หนา้ ทีพ่ ลเมืองจัดใหเ้ ปน็ หนว่ ยหนง่ึ ในสาระที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา
2. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๑๖

โครงสร้างเวลาเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒

รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ๘๐
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ ๔๐
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร๒์ ๔๐
พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๒ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๒๐๐
รายวิชาเพิม่ เตมิ
หน้าทีพ่ ลเมือง ๒ ๔๐
- (บรู ณาการในชว่ั โมงลดเวลาเรียน)
วิทยาการคำนวณ ๒ ๔๐
ว ๑๒2๐๑ (๑๒๐)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (บูรณาการในช่วั โมงลูกเสือ-ยวุ กาชาด) ๔๐
๑. แนะแนว
๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐
๒.๑ ลกู เสอื -ยุวกาชาด ๔๐

๒.๒ กิจกรรมส่งเสริม (๑๐)
คณุ ธรรมจริยธรรม/ ชุมนุม
๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ
สาธารณประโยชน์

*หมายเหตุ 1. หนา้ ที่พลเมืองจัดใหเ้ ป็นหนว่ ยหนง่ึ ในสาระที่ 2 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผเู้ รียนทำกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

๑๗

โครงสร้างเวลาเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
๒๐๐
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐
๘๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๔๐
๔๐
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๔๐
๔๐
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ ๔๐
๔๐
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์๓
๔๐
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและ พลศึกษา ๓
๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ (๑๒๐)
๔๐
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓
๔๐
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐

รายวิชาเพิ่มเติม (๑๐)

- หน้าที่พลเมือง ๓

(บรู ณาการในชวั่ โมงลดเวลาเรียน)

ว ๑๓2๐๑ วิทยาการคำนวณ ๓

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. แนะแนว

๒. กิจกรรมนักเรยี น

๒.๑ ลกู เสอื -ยุวกาชาด

๒.๒ กิจกรรมส่งเสริม

คุณธรรมจริยธรรม/ ชุมนุม

๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คม (บูรณาการในชัว่ โมงลูกเสือ-ยุวกาชาด)

และสาธารณประโยชน์

*หมายเหตุ 1. หนา้ ที่พลเมืองจัดใหเ้ ปน็ หนว่ ยหน่งึ ในสาระที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผเู้ รียนทำกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

๑๘

โครงสร้างเวลาเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔

รหัสวิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
๑๖๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐
๘๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๘๐
๔๐
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ ๘๐
๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๔ ๘๐
๘๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์๔
๔๐
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ๔ ๔๐

ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ (๑๒๐)
๔๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔
๔๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐

รายวิชาเพิ่มเติม (๑๐)

ท ๑๔๒๐๑ สำนวนชวนคิด

ว 14201 วิทยาการคำนวณ ๔

หน้าทีพ่ ลเมือง ๔

(บรู ณาการในช่วั โมงลดเวลาเรียน)

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. แนะแนว

๒. กิจกรรมนกั เรยี น

๒.๑ ลูกเสอื -ยุวกาชาด

๒.๒ กิจกรรมสง่ เสริม

คุณธรรมจริยธรรม/ ชมุ นุม

๓. กิจกรรมเพือ่ สังคม (บรู ณาการในช่วั โมงลูกเสอื -ยุวกาชาด)

และสาธารณประโยชน์

*หมายเหตุ 1. หนา้ ที่พลเมืองจดั ใหเ้ ปน็ หนว่ ยหนง่ึ ในสาระที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผเู้ รียนทำกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๑๙

โครงสรา้ งเวลาเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

รหสั วิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
๑๖๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐
๘๐
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๘๐
๔๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๘๐
๘๐
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๕ ๘๐
๘๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์
๔๐
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕ ๔๐

ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ (๑๒๐)
๔๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕
๔๐
อ ๑๕๑๐๑ อังกฤษ ๕ ๔๐

รายวิชาเพิ่มเตมิ (๑๐)

ท ๑๕๒๐๑ สำนวนชวนคิด

ว ๑๕๒๐๑ วิทยาการคำนวณ 5

หน้าทีพ่ ลเมือง ๕

(บรู ณาการในช่ัวโมงลดเวลาเรียน)

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. แนะแนว

๒. กิจกรรมนักเรยี น

๒.๑ ลกู เสอื -ยุวกาชาด

๒.๒ กิจกรรม

ส่งเสริมคุณธรรม

จริยธรรม/ ชมุ นมุ

๓. กิจกรรมเพื่อสังคม (บูรณาการในชว่ั โมงลูกเสือ-ยุว

และสาธารณประโยชน์ กาชาด)

*หมายเหตุ 1. หนา้ ทีพ่ ลเมืองจัดใหเ้ ป็นหน่วยหนง่ึ ในสาระที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา
2. ผเู้ รียนทำกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๒๐

โครงสรา้ งเวลาเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖

รหัสวิชา รายวิชา เวลาเรยี น / ปี
๑๖๐
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐
๘๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๘๐
๔๐
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๘๐
๘๐
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๖ ๘๐
๘๐
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร๖์
๔๐
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ๖ ๔๐

ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ (๑๒๐)
๔๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖
๔๐
อ ๑๖๑๐๑ องั กฤษ ๖ ๔๐

รายวิชาเพ่มิ เติม (๑๐)

ท ๑๖๒๐๑ สนกุ กับบทอาขยาน

ว 16201 วิทยาการคำนวณ ๖

หน้าทีพ่ ลเมือง ๖

(บูรณาการในชวั่ โมงลดเวลาเรียน)

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. แนะแนว

๒. กิจกรรมนักเรยี น

๒.๑ ลูกเสอื -ยวุ กาชาด

๒.๒ กิจกรรม

สง่ เสริมคณุ ธรรม

จริยธรรม/ ชมุ นุม

๓. กิจกรรมเพือ่ สังคม (บรู ณาการในชัว่ โมงลูกเสอื -ยุว

และสาธารณประโยชน์ กาชาด)

*หมายเหตุ 1. หนา้ ที่พลเมืองจดั ใหเ้ ป็นหน่วยหนง่ึ ในสาระที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๒๑

รายวิชาเพิ่มเติมในระดับชั้นประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ พทุ ธศักราช
๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

หน้าที่พลเมือง ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี

วิทยาการคำนวณ ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

หน้าที่พลเมือง ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี

วิทยาการคำนวณ ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

หน้าทีพ่ ลเมือง ๓ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี

วิทยาการคำนวณ 3 เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔

ท ๑๔๒๐๑ สำนวนชวนคิด เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง/ปี

วิทยาการคำนวณ ๔ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง/ปี

หน้าที่พลเมือง ๔ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ท ๑๕๒๐๑ สำนวนชวนคิด เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง/ปี

วิทยาการคำนวณ ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี

หน้าทีพ่ ลเมือง ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ท ๑๖๒๐๑ สนกุ กับบทอาขยาน เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี

วิทยาการคำนวณ ๖ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี

หน้าที่พลเมือง ๖ เวลาเรียน ๔๐ ชัว่ โมง/ปี

๒๒

โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพฒั นาศึกษา ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้

เวลาเรยี น

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนา และ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)

วัฒนธรรม ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐(๑ นก.)
ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
ศิลปะ ดนตรีและนาฎศิลป์ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
การงานอาชพี ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาต่างประเทศ

รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.) ๘๘๐ (๒๒นก.)
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑. กิจกรรมแนะแนว
๒.กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒.๑ ลูกเสอื – เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐

๒.๒ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ๑๕ ๑๕ ๑๕
จริยธรรม / ชุมนมุ
๘๐ (๒นก.) ปีละ ๒๐๐ ชว่ั โมง ๘๐ (๒นก.)
๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คม และ ๔๐ (๑นก.) ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (๑นก.)
สาธารณประโยชน์ ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (๑นก.) ๘๐ (๒นก.)
๘๐ (๒นก.)
รายวิชาเพม่ิ เติม
เสริมทกั ษะภาษาไทย
การงานอาชพี
วิทยาการคำนวณ

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด ไม่เกนิ ๑,๒๐๐ ชว่ั โมง/ปี

หมายเหตุ 1. หนา้ ที่พลเมืองจัดใหเ้ ป็นหน่วยหนง่ึ ในสายที่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา
2. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

๒๓

โครงสร้างเวลาเรยี น ระดบั มัธยมศึกษา ปีที่ 1

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
รายวิชาพื้นฐาน (หนว่ ยกิต/ รายวิชาพืน้ ฐาน (หน่วยกิต/ชม.)
ชม.)
๑๑ (๔๔๐)
๑๑ (๔๔๐)
๑.๕ (๖๐)
ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ (๖๐)
๑.๕ (๖๐)
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑ (๔๐)
๐.๕ (๒๐)
ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑ ๑ (๔๐) ส ๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ส ๒๑๑๐๓ ประวัตศิ าสตร์๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร๒์ ๐.๕ (๒๐)
๑.๐ (๔๐)
ส ๒๑๑๐๕ พทุ ธศาสนา ๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๖ พทุ ธศาสนา ๒ ๑.๕ (๖๐)
๒.๕ (๑๐๐)
พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษา ๒ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
พ ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๑ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๒ ๑.๐ (๔๐)

ศ ๒๑๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๒ ทศั นศิลป์ ๒ ๖๐
๒๐
ศ ๒๑๑๐๓ ดนตรี-นาฏศิลป์๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์๒
๒๐
ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๒๐

อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ ๖๐๐

รายวิชาเพิม่ เตมิ ๒.๕ (๑๐๐) รายวิชาเพิ่มเตมิ

ท ๒๑๒๐๑ สำนวนชวนคิด ๑ ๐.๕ (๒๐) ท ๒๑๒๐๒ สำนวนชวนคิด ๒

ง ๒๑๒๐๒ การงานอาชีพ ๑ ๐.๕ (๒๐) ๒๑๒๐๔ การงานอาชีพ ๒

ง ๒๑๒๐๑ วิทยาการคำนวณ ๑ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๑๒๐๓ วทิ ยาการคำนวณ ๒

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑. แนะแนว ๒๐ ๑. แนะแนว

๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๒. กิจกรรมนักเรยี น

๒.๑ลูกเสอื -เนตรนารี ๒๐ ๒.๑ ลกู เสอื -เนตรนารี

๒.๒กจิ กรรมส่งเสริม ๒๐ ๒.๒ กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม
คณุ ธรรมจริยธรรม / ชุมนมุ จริยธรรม / ชุมนมุ

๓. กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะ ปีละ ๑๕ ชวั่ โมง (บรู ณาการในช่ัวโมงลกู เสือเนตรนารี)

รวมเวลาเรยี นภาค ๑ ๖๐๐ รวมเวลาเรยี นภาค ๒

หมายเหตุ 1. หน้าที่พลเมืองจดั ใหเ้ ปน็ หน่วยหน่งึ ในสายที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา

2. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ในกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี

๒๔

โครงสร้างเวลาเรยี น ระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 2

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน
รายวิชาพื้นฐาน (หน่วยกิต รายวิชาพืน้ ฐาน (หน่วยกิต

/ชม.) /ชม.)
๑๑ (๔๔๐)
๑๑ (๔๔๐)

ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ (๖๐)
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐)

ส ๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๓ ๑ (๔๐) ส ๒๒๑๐๒ สงั คมศึกษา ๔ ๑ (๔๐)
ส ๒๒๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร๓์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร๔์ ๐.๕ (๒๐)
ส ๒๒๑๐๕ พุทธศาสนา ๓ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๖ พุทธศาสนา ๔ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๒๑๐๑ สขุ ศึกษา ๓ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๒ สขุ ศึกษา ๔ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๒๑๐๓ พลศึกษา ๓ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๔ พลศึกษา ๔ ๐.๕ (๒๐)

ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๒ ทศั นศิลป์ ๔ ๐.๕ (๒๐)
ศ ๒๒๑๐๓ ดนตรี-นาฏศิลป๓์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์๔ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ ๑.๐ (๔๐)

อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔ ๑.๕ (๖๐)
รายวิชาเพิม่ เตมิ ๓ (๑๒๐) รายวิชาเพิ่มเตมิ ๓ (๑๒๐)
ท ๒๒๒๐๑ รักษภ์ าษา ๑ ๐.๕ (๒๐) ท ๒๒๒๐๒ รกั ษภ์ าษา ๒ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๒๐8 การงานอาชีพ ๔ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๑๒๐๖ การงานอาชีพ ๓ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๒๒๐๗ วิทยาการคำนวณ ๔ ๑.๐ (๔๐)

ง ๒๒๒๐๕ วิทยาการคำนวณ ๓

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐
๑. แนะแนว ๒๐ ๑. แนะแนว ๒๐
๒. กิจกรรมนกั เรยี น
๒. กิจกรรมนกั เรยี น

๒.๑ลกู เสอื -เนตรนารี ๒๐ ๒.๑ ลูกเสอื -เนตรนารี ๒๐
๒.๒กจิ กรรมสง่ เสริม ๒๐ ๒.๒ กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม ๒๐
คณุ ธรรมจริยธรรม / ชุมนุม
จริยธรรม / ชมุ นุม

๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คม ปีละ ๑๕ ชัว่ โมง (บรู ณาการในชัว่ โมงลูกเสอื เนตรนารี)
และสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นภาค ๑ ๖๐๐ รวมเวลาเรยี นภาค ๒ ๖๐๐

๒๕

โครงสรา้ งเวลาเรยี น ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน
รายวิชาพื้นฐาน (หน่วยกิต/ รายวิชาพืน้ ฐาน (หน่วยกิต/

ชม.) ชม.)
๑๑(๔๔๐) ๑๑(๔๔๐)

ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ (๖๐)
ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๑ (๔๐) ส ๒๓๑๐๒ สงั คมศึกษา ๖ ๑ (๔๐)
ส ๒๓๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร๕์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร๖์ ๐.๕ (๒๐)
ส ๒๓๑๐๕ พุทธศาสนา ๕ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๖ พทุ ธศาสนา ๖ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๒ สขุ ศึกษา ๖ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๓๑๐๓ พลศึกษา ๕ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๔ พลศึกษา ๖ ๐.๕ (๒๐)
ศ ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๒ ทศั นศิลป์ ๖ ๐.๕ (๒๐)
ศ ๒๓๑๐๓ ดนตรี-นาฏศิลป๕์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป๖์ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ ๑.๐ (๔๐)
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖ ๑.๕ (๖๐)
รายวิชาเพิม่ เตมิ ๓ (๑๒๐) รายวิชาเพิ่มเตมิ ๓ (๑๒๐)
ท ๒๓๒๐๑ หลักภาษา ๑ ๐.๕ (๒๐) ท ๒๓๒๐๒ หลกั ภาษา ๒ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๒๑๒ การงานอาชีพ ๖ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๑๒๐๑๐ การงานอาชีพ ๕ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๒๑๑ วิทยาการคำนวณ ๖ ๑.๐ (๔๐)

ง ๒๓๒๐๙ วิทยาการคำนวณ ๕ ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒๐ ๑. แนะแนว ๒๐
๑. แนะแนว
๒. กิจกรรมนักเรยี น ๒. กิจกรรมนักเรยี น ๒๐
๒๐ ๒.๑ ลูกเสือ-เนตรนารี ๒๐
๒.๑ลกู เสอื -เนตรนารี ๒๐ ๒.๒ กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม
๒.๒กจิ กรรมสง่ เสริม
คุณธรรมจริยธรรม / ชมุ นุม จริยธรรม / ชมุ นุม
๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คม
และสาธารณะประโยชน์ ปีละ ๑๕ ชวั่ โมง (บูรณาการในชั่วโมงลูกเสือเนตรนารี)
รวมเวลาเรียนภาค ๑
๖๐๐ รวมเวลาเรียนภาค ๒ ๖๐๐

๒๖

รายวิชาเพิ่มเติมในระดับช้นั มัธยมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น
รายวิชา เวลา รายวิชา
เรยี น ๑ (๔๐)
ท ๒๑๒๐๑ สำนวนชวนคิด ๑ ๑ (๔๐) ท ๒๑๒๐๒ สำนวนชวนคิด ๒ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๑๒๐๒ การงานอาชพี ๑ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๒๐๔ การงานอาชพี ๒ ๑.๐ (๔๐)
ง ๒๑๒๐๑ วิทยาการคำนวณ ๑ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๑๒๐๓ วทิ ยาการคำนวณ ๒

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น
รายวิชา เวลา รายวิชา
เรยี น ๑ (๔๐)
ท ๒๒๒๐๑ รกั ษ์ภาษา ๑ ๑ (๔๐) ท ๒๒๒๐๒ รักษภ์ าษา ๒ ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๒๒๐๖ การงานอาชพี ๓ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๒๐๘ การงานอาชพี ๔ ๑.๐ (๔๐)
ง ๒๒๒๐๕ วิทยาการคำนวณ ๓ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๒๒๐๗ วิทยาการคำนวณ ๔

ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลาเรยี น
รายวิชา
ภาคเรยี นที่ ๒ ๑ (๔๐)
ท ๒๓๒๐๑ หลักภาษา ๑ เวลา รายวิชา ๐.๕ (๒๐)
ง ๒๓๒๑๐ การงานอาชพี ๕ เรยี น ๑.๐ (๔๐)
ง ๒๓๒๐๙ วิทยาการคำนวณ ๕ ๑ (๔๐) ท ๒๓๒๐๒ หลกั ภาษา ๒
๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๒๑๒ การงานอาชพี
๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๒๑๑ วิทยาการคำนวณ ๖

๒๗

บทที่ ๓

สาระการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนหว้ ยตากพฒั นาศึกษา

สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์ ซึง่ กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานจำเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น
๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัตทิ างวัฒนธรรมอนั ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ

เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้าง
ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกัน
ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
สร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นส่ือแสดงภูมิ
ปญั ญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้
อนรุ กั ษ์ และสบื สานให้คงอยู่ค่ชู าติไทยตลอดไป

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพือ่ นำไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หา

ในการดำเนนิ ชีวิตและมีนิสยั รกั การอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรือ่ งราวใน

รปู แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ ง
มีประสทิ ธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

๒๘

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็น

คุณค่า และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา พทุ ธศกั ราช

๒๕๕๑ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ระดับประถมศึกษา
รายวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน

ระดับช้ัน รหัส ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายปี

ช้ัน ป. ๑ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชั้น ป. ๒ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๕ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี)
ช้ัน ป. ๓ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๕ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชน้ั ป. ๔ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี)
ชั้น ป. ๕ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี)
ช้ัน ป. ๖ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)

รายวิชาเพิ่มเตมิ ในระดับชั้นประถมศึกษา

ระดับชั้น รหัส ชือ่ รายวิชา เวลาเรียนรายปี

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ - - -
-
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ - - -
๔๐ ชวั่ โมง/ปี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ - - ๔๐ ช่ัวโมง/ปี
๔๐ ชั่วโมง/ปี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ท ๑๔๒๐๑ สำนวนชวนคิด๑
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ท ๑๕๒๐๑ สำนวนชวนคิด๒

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ท ๑๖๒๐๑ สนกุ กับบทอาขยาน

๒๙

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
รายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน

ระดบั ช้ัน รหัส ชือ่ รายวิชา เวลาเรียนรายภาค
ชั้น ม. ๑
ช้ัน ม. ๒ ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ช้ัน ม. ๓ ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกติ )
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หน่วยกติ )
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หน่วยกติ )
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )

รายวิชาเพม่ิ เติมในระดับช้นั มัธยมศึกษา

ระดบั ช้ัน รหสั ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายภาค

ช้ัน ม. ๑ ท ๒๑๒๐๑ สำนวนชวนคิด ๑ ๒ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๐ หน่วยกติ )
ชั้น ม. ๒ ท ๒๑๒๐๒ สำนวนชวนคิด ๒ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๐ หน่วยกติ )
ชั้น ม. ๓ ท ๒๒๒๐๑ รักษภ์ าษา ๑ ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หนว่ ยกติ )
ท ๒๒๒๐๒ รักษ์ภาษา ๒ ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หน่วยกติ )
ท ๒๓๒๐๑ หลักภาษา ๑ ๒ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๐ หนว่ ยกติ )
ท ๒๓๒๐๒ หลักภาษา ๒ ๒ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๐ หน่วยกติ )

๓๐

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ท. ๑๑๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

อา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความที่ประกอบดว้ ย คำ
พืน้ ฐานคือ คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่น้อยกวา่ ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำที่ใช้เรยี นรู้ในกล่มุ สาระการ
เรียนรู้อืน่ ประกอบดว้ ย คำทีม่ ีรูปวรรณยกุ ต์และไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ คำที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา
และไมต่ รงมาตรา คำทีม่ ีพยญั ชนะควบกล้ำ คำที่มีอกั ษรนำ อา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่
นิทาน เรื่องสนั้ ๆบทร้องเล่นและบทเพลง เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น อ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่ หนงั สือที่นกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย
หนงั สือที่ครแู ละนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั อ่านเครื่องหมายหรอื สญั ลักษณป์ ระกอบดว้ ย เคร่อื งหมาย
สัญลักษณต์ ่างๆ ที่พบเหน็ ในชีวิตประจำวัน เคร่อื งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอนั ตราย
มารยาทในการอ่าน เชน่ ไม่อา่ นเสยี งดังรบกวนผู้อื่น ไมเ่ ลน่ กนั ขณะอ่าน ไมท่ ำลายหนงั สอื

คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทยเขียนส่อื สารคำที่ใช้ในชีวิต
ประจำวนั คำพืน้ ฐานในบทเรียน คำคล้องจอง ประโยคงา่ ยๆ มารยาทในการเขียน เชน่ เขียนให้
อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆา่ ไมข่ ีดเขียนในที่สาธารณะ ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และ
บุคคล

ฟงั และปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสง่ั งา่ ยๆ จบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรสู ึก
จากเรื่องที่ฟังและดู ทั้งทีเ่ ปน็ ความรแู้ ละความบนั เทิง เช่น เรือ่ งเล่าและสารคดีสำหรับเดก็ นิทาน
การ์ตนู เรือ่ งขบขนั พดู สือ่ สารในชีวิตประจำวัน เชน่ การแนะนำตนเอง การขอความช่วยเหลอื การ
กล่าว คำขอบคุณ การกล่าวคำขอโทษ มารยาทในการฟัง เช่น ตั้งใจฟัง ตามองผพู้ ดู ไม่
รบกวนผู้อืน่ ขณะที่ฟัง
ไม่ควรนำอาหารและเครอ่ื งดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบมือ ไมพ่ ูด
สอดแทรกขณะทีฟ่ ัง มารยาทในการดู เชน่ ตั้งใจดู ไมส่ ่งเสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผู้อื่น มารยาท ในการพูด เชน่ ใช้ถอ้ ยคำและกิริยาที่สุภาพเหมาะสมกบั กาลเทศะ ใช้เสยี ง
นุ่มนวล ไม่พูดสอดแทรกในขณะทีผ่ ู้อื่นกำลงั พูด

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย สะกดคำ แจกลกู และอ่านเป็นคำ
มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมต่ รงตามมาตรา ผนั คำ ความหมายของคำ แต่งประโยค
คำคล้องจอง

๓๑

บอกขอ้ คิดทีไ่ ดจ้ ากการอา่ น วรรณกรรมร้อยแก้ว และร้อยกรองสำหรบั เด็ก เชน่ นิทาน
เรือ่ งสน้ั ๆ ปรศิ นาคำทาย บทร้องเลน่ บทอาขยาน บทรอ้ ยกรองวรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน
ท่องจำ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองตามทีก่ ำหนด บทร้อยกรองตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน การฟัง การดู และการพูดในการศึกษา การอนรุ ักษ์ดแู ล
ทรัพยากรธรรมชาติ มีความชน่ื ชมในวัฒนธรรมท้องถิน่

มุง่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝั่ง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรม์ หาภูมิพลอดุลยเดช
(บรู ณาการ)

รหัสตัวช้ีวดั
ท.๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท.๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท.๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท.๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท.๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

๓๒

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหัสวิชา ท. ๑๒๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒

อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ที่
ประกอบดว้ ยคำพนื้ ฐานเพิ่มจาก ป.๑ ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คำ รวมทั้งคำทีใ่ ช้เรยี นรู้ ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อืน่ ประกอบดว้ ยคำทีม่ รี ปู วรรณยุกต์ และไม่มีวรรณยกุ ต์ คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่
ตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำทีม่ ีอักษรนำ คำทีม่ ีตวั การนั ต์ คำทีม่ ี รร หัน คำที่มี
พยัญชนะและสระที่ไม่ออกเสียง

โดยใช้กระบวนการอา่ น จบั ใจความ จากสื่อสารต่างๆ เช่น นิทาน เรื่องเลา่ สั้นๆ บทเพลง บท
ร้อยกรองง่ายๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุม่ สาระการเรียนรู้อืน่
ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจำวนั สามารถนำความรู้ และความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน
อา่ นตามความสนใจ อ่านข้อคิดเชิงอธิบายแลว้ ปฏิบัตติ ามคำสัง่ หรือข้อแนะนำ และมีมารยาทในการ
อา่ น

คัดลายมือและนำเสนอเรื่องราว ความรู้ ความคิดและจินตนาการผ่านการเขียนในรปู แบบ
ตา่ งๆ การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำถาม และข้อความที่กำหนด โดยใช้กระบวนการเรียน เขียน
ส่อื สารเรื่องราว ความรู้ ความคิดและจินตนาการ เพื่อให้สามารถเขียนเรื่องราวได้ถกู ต้องชัดเจน ตรง
ตามจดุ ประสงค์ และมีมารยาทในการเขียน ฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งทีซ่ บั ซ้อน จับใจความ
และพดู แสดงความคิด ความรู้สึกจากเรือ่ งที่ฟงั และดู ทั้งทีเ่ ปน็ ความรแู้ ละความบนั เทิง เช่น เรื่องเลา่
และสารคดีสำหรบั เด็ก นิทาน การ์ตนู และเรือ่ งขบขัน รายการสำหรับเด็ก ข่าวและเหตุการณ์
ประจำวัน เพลง

พดู สือ่ สารในชีวิตประจำวนั เชน่ แนะนำตนเอง ขอความชว่ ยเหลอื กล่าวคำขอบคณุ กลา่ วคำ
ขอโทษ พดู ขอร้องในโอกาสต่างๆ เล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน

มารยาทในการฟัง ตั้งใจฟงั ตามองผู้พูด ไมร่ บกวนผอู้ ืน่ ขณะทีฟ่ ัง ไมค่ วรนำอาหารหรอื
เครอ่ื งดืม่ ไปรบั ประทานขณะที่ฟัง ไม่พดู สอดแทรกขณะที่ฟัง

มารยาทในการดู เชน่ ตั้งใจดู ไม่ส่งเสยี งดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผู้อื่น
มารยาทในการพูด เชน่ ใช้ถอ้ ยคำและกิริยาทีส่ ุภาพเหมาะสมกบั กาลเทศะ ใช้น้ำเสียงนุ่มนวล
ไม่พูดสอดแทรกในขณะทู้อืน่ กำลงั พดู ไม่พูดล้อเลยี นให้ผู้อืน่ ได้รับความอับอายหรือเสยี หาย
เขียนพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย เขียนสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ
มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา ผนั อกั ษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรต่ำ คำทีม่ ี
ตวั การันต์ คำทีม่ ีพยัญชนะควบกลำ้ คำที่มีอกั ษรนำ คำทีม่ ีความหมายตรงกนั ข้าม คำทีม่ ี รร ความหมาย
ของคำ

๓๓

โดยใช้กระบวนการอา่ น การฟัง การดู และการพดู ในการศึกษาและวิเคราะหว์ รรณกรรม
เอกลกั ษณภ์ าษาถิ่นเพื่อให้เห็นคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย สามารถนำข้อคิดไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน มีความชน่ื ชมในวฒั นธรรมท้องถิ่น

มุง่ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลกู ฝ่งั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม์ หาภูมิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหสั ตวั ช้ีวัด ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท.๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท.๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท.๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท.๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ท.๕.๑

๓๔

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
รหัสวิชา ท. ๑๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาไทย เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

อ่านออกเสียงและอธิบายความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรอง
ง่ายๆ ที่ประกอบดว้ ยคำทีม่ ตี วั การันต์ คำทีม่ ี รร คำที่มีพยญั ชนะและสระไมอ่ อกเสียง คำพ้อง
และคำพิเศษอื่นๆ ทีม่ ี ฑ ฤ ฤา อ่านจับใจความจากนิทานหรอื เรื่องเกีย่ วกบั ท้องถิ่น เรื่องเล่าสั้นๆ
บทเพลงและ บทรอ้ ยกรอง บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ขา่ วและเหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจำวนั
ในท้องถิน่ และชมุ ชน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์
จากเรื่องทีอ่ ่าน โดยระบุเหตผุ ลประกอบ นำเสนอเรื่องราว ความรแู้ ละความคิดจากเรือ่ งทอี่ ่าน อา่ น
ข้อเขียนเชิงอธิบาย เชน่ คำแนะนำ ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวัญ และปฏิบัติตามคำสงั่
หรือข้อแนะนำ อ่านข้อมลู และอธิบายความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ

โดยใช้กระบวนการอ่าน อา่ นออกเสียงและอ่านในใจ จับใจความสำคัญ สรปุ ความรู้และ
ข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งราวทีอ่ ่าน เพือ่ ให้สามารถอ่านออกเสียงได้ถูกต้องคล่องแคลว่ มีมารยาทในการ
อ่าน อา่ นหนงั สือตามความสนใจอยา่ งสมำ่ เสมอ สามารถนำความรู้และความคิดที่ได้จากการอ่าน
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

คัดลายมือ และนำเสนอเรื่องราว ความรู้ ความคิด และจินตนาการผา่ นการเขียนในรปู แบบ
ต่างๆ เช่น การเขียนบรรยายลกั ษณะของคน สัตว์ ส่งิ ของ และการเขียนบนั ทึกประจำวัน การ
เขียนจดหมายลาครู และการเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ ภาพ และข้อความที่กำหนด

โดยใชก้ ระบวนการเขียน เขียนสอ่ื สารเรื่องราว ความคิด และจินตนาการ เพื่อให้สามารถ
เขียนเรื่องราวได้ถกู ต้อง ชัดเจน ตรงตามจุดประสงค์และมมี ารยาทในการเขียน

ฟังและดเู รื่องราวทีเ่ ป็นความรู้และความบนั เทงิ ได้แก่ เรื่องเลา่ และสารคดีสำหรับเดก็
นิทาน การต์ ูน เรื่องขบขัน รายการสำหรบั เดก็ เพลง ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน เล่า
รายละเอียด สรุปสาระสำคัญ ตั้งคำถามและตอบคำถาม และพดู แสดงความคิดเห็นและความรู้สึก
จากเรือ่ งที่ไดฟ้ ังและดู พูดสอ่ื สารในเรือ่ งตา่ งๆ ได้แก่ การแนะนำตนเอง การแนะนำสถานท่ี การพดู
แนะนำหรือเชิญชวน การเลา่ ประสบการณใ์ นชีวิตประจำวนั และการพูดในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การ
พดู ขอร้อง การพูดทักทาย การกล่าวขอบคณุ และขอโทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ซักถาม

โดยใช้กระบวนการฟัง ดู หาความรู้และความบนั เทิง และใช้กระบวนการพดู แสดงความรู้
ความคิด ความรู้สกึ และพูดสื่อสารในโอกาสต่างๆ เพือ่ ให้สามารถฟัง และดไู ดอ้ ย่างมีวิจารณญาณ
และพดู ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน ตรงตามวตั ถุประสงค์ของผู้พูด

๓๕

มงุ่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลกู ฝ่งั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรม์ หาภมู ิพลอดุลยเดช
(บรู ณาการ)

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

๓๖

รหสั ท ๑๔๑๐๑ คำอธิบายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

อธิบายความหมายของคำ ประโยค สำนวน แยกข้อคิดเห็น ข้อเท็จจรงิ ตอบคำถาม ต้ัง
คำถาม ตลอดจนคาดคะเนเหตกุ ารณ์และสรปุ ความรู้จากเร่อื งที่อ่าน รายงานเรื่องหรือประเดน็ ที่
ศึกษา ค้นคว้าจากการฟงั การดูและการสนทนา บอกความหมายของคำในบรบิ ทต่างๆ ระบุชนิด
และหน้าที่ของคำในประโยค แตง่ ประโยค บทรอ้ ยกรองและคำขวัญไดถ้ กู ต้องตามหลกั ภาษา
เปรยี บเทียบบอกความหมายของสำนวนภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่น เลา่ นิทานคติธรรม ร้อง
เพลง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและสนใจ

อา่ นออกเสียง บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง บทอาขยานและหนงั สือตามความสนใจได้ถกู ต้อง
คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด คร่งึ บรรทัด เขียนส่อื สาร แผนภาพโครงเรื่อง ยอ่ ความ จดหมาย
และบันทึกเรือ่ งราวต่างๆ ตามจินตนาการ พูดแสดงความคิด ความรู้ ตั้งคำถาม ตอบคำถามจากเรือ่ งที่
ฟังและดู สะกดคำในบรบิ ทต่างๆ ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของลกั ษณะคำไทยกับคำภาษา
ท้องถิน่

ใช้เหตผุ ลประกอบการอ่าน ฟงั เขียน และการพดู มองเห็นความสำคัญของลกั ษณะคำไทย
กบั คำภาษาท้องถิน่ มีเจตคติคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ัยที่ดีในการทำงานหรอื ประกอบอาชีพ

มุง่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลกู ฝัง่ เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

๓๗

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕

อา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองทีป่ ระกอบดว้ ยคำที่มี
พยัญชนะควบกลำ้ คำที่มีอักษรนำ คำทีม่ ีการนั ต์ อักษรยอ่ และเครอ่ื งหมายวรรคตอน ข้อความที่
เป็นการบรรยายและพรรณนาข้อความที่มีความหมายโดยนยั อา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ
อ่านจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ วรรณคดีในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้ม
น้าวใจ ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวนั อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ิตาม
เชน่ การใช้พจนานุกรม การใช้วสั ดุอปุ กรณ์ การอ่านฉลากยา คู่มือและเอกสารของโรงเรียนที่
เกีย่ วข้องกบั นกั เรยี น ข่าวสารทางราชการ

โดยใช้กระบวนการอา่ น อ่านออกเสียง และอา่ นในใจ จบั ใจความสำคัญ แยกข้อเทจ็ จรงิ
และข้อคิดเหน็ วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ จากเรือ่ งทีอ่ ่าน เพื่อให้สามารถอ่านไดถ้ ูกต้อง
คล่องแคล่ว มมี ารยาทในการอ่าน เลอื กอา่ นหนังสือทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ สามารถนำความรู้
และความคิดทีไ่ ด้จาก
การอ่านไปใชใ้ นการแก้ปญั หาในการดำเนินชีวิต

คดั ลายมือ และนำเสนอเรื่องราว ความรู้และความคิดผา่ นการเขียนในรปู แบบต่างๆ เช่น คำ
ขวญั คำอวยพร คำแนะนำและคำอธิบาย แสดงข้ันตอน แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด การ
เขียนย่อความ การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
การกรอกแบบรายการและการเขียนเรือ่ งตามจินตนาการ

โดยใช้กระบวนการเขียน เขียนส่อื สารเรื่องราวความรู้ ความคิด และจินตนาการ เพื่อให้
สามารถเขียนไดถ้ ูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม ตรงตามเจตนาและมีมารยาทในการเขียน พัฒนางาน
เขียน ส่ือสาร
ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ฟงั และดูเรือ่ งราวจากส่อื ตา่ ง ๆ เช่น เรือ่ งเล่า บทความ ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน
โฆษณาส่อื อิเล็กทรอนิกส์ พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ต้ังคำถามและตอบคำถาม
เชิงเหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟงั และดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรือ่ งที่ฟงั และดูอย่างมเี หตุผล พดู
รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟงั การดูและการสนทนาอยา่ งมีลำดบั ขน้ั ตอนและ
พดู ตามลำดบั เหตุการณ์

โดยใช้กระบวนการฟงั ดู หาความรู้ในเรื่องทีฟ่ งั และดจู ากสอ่ื ต่าง ๆ และใช้กระบวนการพดู
แสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรือ่ งทีฟ่ งั และดู เพือ่ ให้สามารถฟัง และดไู ดอ้ ย่างมี
วิจารณญาณ และพูดไดอ้ ย่างถูกต้อง ชัดเจน ตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องผู้พูด

ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ได้แก่ คำบพุ บท คำสันธาน คำอทุ าน จำแนก
ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค ใช้คำราชาศัพท์ บอกคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยและคำ

๓๘

ที่มาจากภาษาต่างประเทศ แต่งบทรอ้ ยกรองโดยใช้กาพยย์ านี ๑๑ และใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพย
และสภุ าษิต

โดยใช้กฎเกณฑท์ างภาษาที่ถูกต้องในการพูด การอ่านและการเขียน เพือ่ ให้สามารถเลอื กใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้ถกู ต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะ

ศึกษาเพลงพื้นบ้าน นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม และตำนานพื้นบ้านตาก วรรณคดแี ละ
วรรณกรรมในบทเรียน สรปุ เรื่อง ระบุความรแู้ ละข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่
กำหนดให้อ่าน และเลอื กอา่ นตามความสนใจ ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองทีม่ ี
คณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่าน การฟัง การดูและการพูด ในการศึกษาและวิเคราะหว์ รรณคดแี ละ
วรรณกรรม และตำนานพื้นบ้านตาก เพื่อให้เหน็ คณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย สามารถ
อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม

มุ่งสง่ เสริมการเรียนรู้และปลกู ฝั่ง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรม์ หาภูมิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/ ๒, ป.๕/ ๓, ป.๕/ ๔, ป.๕/ ๕, ป.๕/ ๖, ป.๕/ ๗, ป.๕/ ๘
ท ๒.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/ ๒, ป.๕/ ๓, ป.๕/ ๔, ป.๕/ ๕, ป.๕/ ๖, ป.๕/ ๗, ป.๕/ ๘, ป.๕/ ๙
ท ๓.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/ ๒, ป.๕/ ๓, ป.๕/ ๔, ป.๕/ ๕
ท ๔.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/ ๒, ป.๕/ ๓, ป.๕/ ๔, ป.๕/ ๕, ป.๕/ ๖, ป.๕/ ๗
ท ๕.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/ ๒, ป.๕/ ๓, ป.๕/ ๔

๓๙

รหัส ท ๑๖๑๐๑ คำอธิบายรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ชื่อรายวิชา ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง

ฝึกปฏิบตั ิตนให้ถกู ต้องในการอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง เปน็ ทำนองเสนาะ
อธิบายความหมายของคำ ประโยค ข้อความทเี่ ป็นโวหาร การเปรียบเทียบ การจับใจความสำคญั แยก
ข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็น และนำความรู้ ความคิดจากเรอ่ื งที่อ่าน ไปตดั สินใจแก้ปัญหาในการดำเนิน
ชีวิต มีมารยาทและมีนิสยั รักการอา่ น และเหน็ คณุ คา่ ส่งิ ทีอ่ า่ น

มีทกั ษะในการคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทัด เขียนสอ่ื สารโดยใช้ถอ้ ยคำ
ชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรือ่ ง และแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ
ยอ่ ความ จดหมายสว่ นตวั กรอกแบบรายการตา่ งๆ เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมี
มารยาทในการเขียน

พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจในจดุ ประสงค์ของเรื่องทีฟ่ ังและดู ตั้งคำถามตอบคำถาม จาก
เรือ่ งทีฟ่ งั และดู รวมทั้งประเมินความน่าเช่อื ถอื จากการฟงั และดูสือ่ โฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พดู
ตามลำดับข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตผุ ลและนา่ เชือ่ ถือ รวมทั้งมมี ารยาทในการ
ฟัง ดู และพูด

วิเคราะหห์ น้าที่และชนิดของคำในประโยค สำนวนเป็นคำพงั เพยและสุภาษิต คำภาษาถิน่ และ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์ คำสภุ าพ ได้อยา่ งเหมาะสม ระบลุ กั ษณะของประโยค
แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ

เข้าใจและเหน็ คุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่าน เล่านิทานพืน้ บ้านของท้องถิ่นตนเองและ
นิทานพนื้ บ้านท้องถิ่นอืน่ นิทานคติธรรม เพลงพนื้ บ้าน นำข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งทอี่ ่านไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวิตประจำวนั และท่องจำบทอาขยาน บทรอ้ ยกรองตามทีก่ ำหนดได้

มงุ่ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลูกฝ่ัง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภมู ิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหัสตวั ช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท.๓/๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

๔๐

คำอธิบายรายวิชา

รหสั ท ๒๑๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ๓ ช่วั โมง /สัปดาห์ / ภาคเรยี น ๑.๕ หน่วยกิต

อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จบั ใจความสำคัญเรื่องการอ่านพร้อมทั้งระบุ
เหตุผลและข้อเท็จจริงกบั ข้อคิดเหน็ จากเรื่องทีอ่ า่ น ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบและคำที่มคี วามหมาย
หลากหลายตีความคำยาก ระบขุ ้อสังเกตและความสมเหตสุ มผล วิธีการใช้งานของเครอ่ื งมือและปฏิบตั ิ
ตามเอกสารคู่มือ วิเคราะหค์ ณุ ค่าที่ได้จากการอ่านการเขียนและนำไปใช้แก้ปญั หาในชีวิต มีนิสัยรัก
การอา่ น

คัดลายมือตามรูปแบบตัวอักษรไทย เขียนสอ่ื สารดว้ ยถ้อยคำที่ถูกต้องชดั เจน เหมาะสมและ
สละสลวย เขียนบรรยาย เขียนย่อความ เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเหน็ เขียนจดหมายส่วนตัว
และจดหมายกิจธรุ ะ เขียนรายงาน และมมี ารยาทในการเขียน

พูดสรปุ ใจความสำคัญเรือ่ งที่ฟงั และดู เล่าเร่อื งย่อจากเรื่องทีฟ่ งั และดู พดู แสดงความคิดเห็น
อย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องทีฟ่ งั และดู ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของสิง่ ทีโ่ น้มน้าวใจ พดู รายงานเรือ่ งที่
ศึกษาค้นคว้าจากการฟงั การดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด

อธิบายลักษณะเสยี งในภาษาไทย สร้างคำในภาษาไทย วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมที่
อ่านและบอกเหตแุ ละอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ น สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการ
อ่านเพื่อประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยควิเคราะห์ความแตกต่างของ
ภาษาพดู และภาษาเขียน แต่งบทรอ้ ยกรองชนิด กาพย์ยานี ๑๑ จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพงั เพย
และสภุ าษิต

สรุปเนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น บอก
เหตุผลและอธิบายคณุ คา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น สรุปความรู้และความคิดจากการอ่าน เพื่อ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคณุ ค่าตามความพอใจ

มงุ่ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลกู ฝง่ั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภมู ิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)
รหสั ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

๔๑

คำอธิบายรายวิชา

รหัส ท ๒๑๑๐๒ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ๓ ชัว่ โมง /สัปดาห์ /ภาคเรยี น ๑.๕ หน่วยกิต

อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จบั ใจความสำคัญเรอ่ื งการอ่านพร้อมท้ังระบุ
เหตุผลและข้อเทจ็ จริงกับข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งที่อา่ น ระบแุ ละอธิบายคำเปรียบเทียบและคำทีม่ คี วามหมาย
หลากหลายตีความคำยาก ระบขุ ้อสงั เกตและความสมเหตสุ มผล วิธีการใช้งานของเคร่อื งมือและปฏิบัติ
ตามเอกสารคูม่ ือ วิเคราะหค์ ณุ ค่าทีไ่ ด้จากการอา่ นการเขียนและนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีนิสยั รัก
การอ่าน

คดั ลายมือตามรปู แบบตัวอักษรไทย เขียนสอ่ื สารด้วยถ้อยคำที่ถูกต้องชัดเจน เหมาะสมและ
สละสลวย เขียนบรรยาย เขียนยอ่ ความ เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนจดหมายส่วนตัว
และจดหมายกิจธรุ ะ เขียนรายงาน และมมี ารยาทในการเขียน

พดู สรปุ ใจความสำคญั เรือ่ งทีฟ่ ังและดู เลา่ เรอ่ื งย่อจากเรือ่ งที่ฟงั และดู พูดแสดงความคิดเหน็
อยา่ งสร้างสรรค์เกี่ยวกบั เรือ่ งที่ฟังและดู ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของสิง่ ทีโ่ น้มน้าวใจ พูดรายงานเรื่องที่
ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟงั การดูและการพูด

อธิบายลกั ษณะเสยี งในภาษาไทย สร้างคำในภาษาไทย วิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่
อา่ นและบอกเหตแุ ละอธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการ
อา่ นเพือ่ ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยควิเคราะหค์ วามแตกต่างของ
ภาษาพดู และภาษาเขียน แต่งบทรอ้ ยกรองชนิด กาพย์ยานี ๑๑ จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพย
และสภุ าษิต

สรุปเนอื้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น บอก
เหตผุ ลและอธิบายคุณค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น สรุปความรู้และความคิดจากการอ่าน เพือ่
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณคา่ ตามความพอใจ

ม่งุ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลกู ฝั่ง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม์ หาภูมิพลอดุลยเดช
(บรู ณาการ)

รหสั ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

๔๒

คำอธิบายรายวิชา

รหัส ท ๒๒๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ๓ ชั่วโมง /สัปดาห์ /ภาคเรยี น ๑.๕ หน่วยกิต

อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย และบทพรรณนา อา่ นบทร้อยกรองเช่นกลอน
บทละคร กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง อ่านจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่
วรรณคดใี นบทเรียน บทความ บนั ทึกเหตุการณ์ บทสนทนา บทโฆษณา อ่านงานเขียนประเภท
โน้มน้าวจิตใจ งานเขียนหรือบทความแสดงข้อเท็จจรงิ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น อา่ นตามความสนใจ เช่นหนังสอื อา่ นนอกเวลา หนงั สือที่
นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย หนงั สืออา่ นทีค่ รแู ละนกั เรยี นกำหนดรว่ มกัน

โดยใช้กระบวนการอา่ นออกเสียง อ่านจบั ใจความ เขียนแผนผงั ความคิด อภิปรายแสดง
ความคิดเหน็ และข้อโต้แย้ง วเิ คราะห์และจำแนกข้อมลู สนับสนุนและ ข้อคิดเหน็ ระบขุ ้อสงั เกต
ประเมินคณุ คา่ หรือแนวคิดที่ได้จากการอา่ น

เพือ่ ให้สามารถอา่ นออกเสียงไดถ้ ูกต้องคลอ่ งแคลว่ สามารถอธิบายรายละเอียด แสดงความ
คิดเหน็ และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการอา่ น ข้อสังเกต การชวนเช่อื โน้มน้าว หรือความสมเหตสุ มผลของ
งานเขียน ประเมินคุณคา่ หรือแนวคิดทีไ่ ด้จากการอา่ น เลอื กอ่านหนังสือได้เหมาะสม อา่ นอย่าง
สม่ำเสมอ มีมารยาทในการอ่าน นำความรแู้ นวคิดที่ได้จากการอา่ นไปใช้ในชีวิตประจำวนั

คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย เขียนบรรยายและ
พรรณนา เขียนเรียงความเกีย่ วกบั ประสบการณ์ เขียนย่อความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่ นิทาน คำสอน
บทความทางวิชาการ บนั ทึกเหตกุ ารณ์ เรื่องราวในบทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น นิทานชาดก
เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน โครงงาน เขียนจดหมายกิจธรุ ะ เช่น จดหมายเชิญ
วิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือ
โต้แย้งจากสือ่ ตา่ ง ๆ เชน่ บทความ บทเพลง หนงั สืออา่ นนอกเวลา สารคดี บันเทิงคดี

โดยใช้กระบวนการเขียน เขียนส่อื สารเรื่องราว ความรู้ ความคิดเหน็ ข้อโต้แย้งและ
จินตนาการผ่านการเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ ให้สามารถเขียนเรือ่ งราวตามจินตนาการได้อย่าง
ชดั เจน ตรงตามจุดประสงค์ เขียนอย่างสร้างสรรค์และมมี ารยาทในการเขียน

พดู สรุปความ วิเคราะห์ วิจารณ์ เรื่องราวทฟี่ งั และดู พูดแสดงความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ
เชน่ การพดู อวยพร พดู โน้มน้าว พูดโฆษณา รายงานการค้นคว้าจากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการฟงั ดู หาความรู้และความบันเทิง และใช้กระบวนการพดู แสดงความรู้
ความคิดความรสู้ กึ การพูดสื่อสารในโอกาสต่าง ๆ เพื่อให้สามารถฟังดไู ด้อยา่ งมีวิจารณญาณและพดู
ได้อย่างชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์และสร้างสรรค์มีมารยาทในการพดู

๔๓

มงุ่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝงั่ เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภมู ิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหัสตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

๔๔

คำอธิบายรายวิชา

รหสั ท ๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ๓ ชั่วโมง /สปั ดาห์ /ภาคเรยี น ๑.๕ หนว่ ยกิต

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เปน็ บทบรรยาย และบทพรรณนา อา่ นบทร้อยกรองเชน่ กลอน
บทละคร กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว และกาพย์ห่อโคลง อ่านจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่
วรรณคดใี นบทเรียน บทความ บันทึกเหตกุ ารณ์ บทสนทนา บทโฆษณา อ่านงานเขียนประเภท
โน้มน้าวจิตใจ งานเขียนหรือบทความแสดงข้อเทจ็ จรงิ เรื่องราวจากบทเรียนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น อา่ นตามความสนใจ เช่นหนังสอื อา่ นนอกเวลา หนังสือที่
นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั หนงั สืออ่านที่ครแู ละนกั เรียนกำหนดร่วมกัน

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อ่านจับใจความ เขียนแผนผังความคิด อภิปรายแสดง
ความคิดเห็นและข้อโต้แย้ง วเิ คราะหแ์ ละจำแนกขอ้ มลู สนบั สนุนและ ข้อคิดเห็น ระบุข้อสังเกต
ประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการอา่ น

เพือ่ ให้สามารถอา่ นออกเสียงได้ถูกต้องคล่องแคลว่ สามารถอธิบายรายละเอียด แสดงความ
คิดเหน็ และข้อโต้แย้งเกีย่ วกับการอ่าน ข้อสงั เกต การชวนเช่อื โน้มน้าว หรือความสมเหตสุ มผลของ
งานเขียน ประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการอา่ น เลอื กอ่านหนังสือได้เหมาะสม อา่ นอย่าง
สมำ่ เสมอ มีมารยาทในการอา่ น นำความรู้แนวคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวนั

คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย เขียนบรรยายและ
พรรณนา เขียนเรียงความเกี่ยวกบั ประสบการณ์ เขียนยอ่ ความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น นิทาน คำสอน
บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ์ เรื่องราวในบทเรียนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น นิทานชาดก
เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน โครงงาน เขียนจดหมายกิจธรุ ะ เชน่ จดหมายเชิญ
วิทยากร จดหมายขอความอนเุ คราะห์ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือ
โต้แย้งจากสือ่ ตา่ ง ๆ เชน่ บทความ บทเพลง หนงั สืออา่ นนอกเวลา สารคดี บันเทิงคดี

โดยใช้กระบวนการเขียน เขียนสอ่ื สารเรือ่ งราว ความรู้ ความคิดเหน็ ข้อโต้แย้งและ
จินตนาการผ่านการเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ ให้สามารถเขียนเรื่องราวตามจินตนาการได้อยา่ ง
ชดั เจน ตรงตามจุดประสงค์ เขียนอย่างสร้างสรรค์และมีมารยาทในการเขียน

พูดสรุปความ วิเคราะห์ วิจารณ์ เรือ่ งราวทฟี่ ังและดู พดู แสดงความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ
เช่นการพูดอวยพร พูดโน้มน้าว พูดโฆษณา รายงานการค้นคว้าจากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการฟังดู หาความรู้และความบันเทิง และใช้กระบวนการพูดแสดงความรู้
ความคิดความรสู้ กึ การพูดสือ่ สารในโอกาสต่าง ๆ เพือ่ ให้สามารถฟังดูได้อย่างมีวิจารณญาณและพูด
ได้อย่างชดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละสร้างสรรคม์ ีมารยาทในการพูด

๔๕

มุง่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝงั่ เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภมู ิพลอดุลยเดช
(บูรณาการ)

รหัสตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

๔๖

คำอธิบายรายวิชา

รหสั ท ๒๓๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ ๓ ช่วั โมง /สัปดาห์ /ภาคเรยี น ๑.๕ หน่วยกิต

ฝึกการอา่ น เขียน ฟงั ดู และพูด โดยอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง อา่ นวรรณคดี
วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นประเภทตา่ งๆ ท่องจำบทอาขยาน คัดลายมือ เขียนตามสถานการณ์
และโอกาสต่างๆ เขียนยอ่ ความ เขียนจดหมายกิจธรุ ะ เขียนอธิบาย เขียนแสดงความคิดเหน็ เขียน
รายงานจากการศึกษาค้นคว้า ฟงั ดขู ้อความและเรื่องราวในรูปแบบตา่ งๆ พดู ตามสถานการณแ์ ละ
โอกาสตา่ งๆ ศึกษาเกี่ยวกบั คำและความหมายของคำ ระดบั ภาษา ประโยคซบั ซ้อน สังเกตลักษณะ
ของคำที่เปน็ คำไทยและคำที่มาจากภาษาอืน่ เพือ่ ให้สามารถอา่ น ฟงั และดไู ดอ้ ยา่ งมีวิจารณญาณ
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าเรือ่ งที่อ่าน ทีฟ่ ัง ทีด่ ไู ด้อย่างมีเหตผุ ล มีมารยาท
ในการอ่าน การฟงั และการดู เขียนและพูดตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ ไดช้ ัดเจน ถูกต้องเหมาะสม
ตรงตามจดุ ประสงค์ มีมารยาทในการเขียนและการพูด คัดลายมือดว้ ยตัวบรรจงครง่ึ บรรทัดตาม
รปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย

มงุ่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝั่ง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นการดำเนนิ
ชวี ิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรม์ หาภมู ิพลอดุลยเดช
(บรู ณาการ)

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

๔๗

คำอธิบายรายวิชา

รหัส ท ๒๓๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ ๓ ช่ัวโมง /สัปดาห์ /ภาคเรยี น ๑.๕ หน่วยกิต

ฝึกการอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด โดยอา่ นออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง อ่าน
วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิน่ ประเภทต่างๆ ท่องจำบทอาขยาน เขียนตาม
สถานการณแ์ ละโอกาสตา่ งๆ เขียนเล่าเรอ่ื ง เขียนโต้แย้ง กรอกแบบสมคั รงาน เขียนรายงาน
โครงงาน แต่งคำประพันธ์ ฟัง ดูข้อความและเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ พดู ตามสถานการณ์และ
โอกาสตา่ งๆ ศึกษาเกี่ยวกับคำและความหมายของคำ คำทับศัพท์ ศพั ทบ์ ญั ญัติ คำศัพท์ทาง
วิชาการและวิชาชีพ เพื่อให้สามารถอ่าน ฟงั และดูไดอ้ ย่างมีวิจารณญาณ แสดงความคิดเหน็ เชิง
วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าเรื่องทอี่ ่าน ทฟี่ งั ทีด่ ูไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล มีมารยาทในการอ่าน การฟัง
และการดู เขียนและพูดตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ ได้ชดั เจน ถกู ต้องเหมาะสมตรงตาม
จุดประสงค์ มีมารยาทในการเขียนและการพูด

มงุ่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝงั่ เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงค์ในการ
ดำเนนิ ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภมู ิพลอดลุ ย
เดช (บรู ณาการ)

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

๔๘

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

รหัสวิชา ท๑๔๒๐๑ ชือ่ วิชาสำนวนชวนคิด กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศึกษาสำนวน สภุ าษิต แสดงความเข้าใจคำศพั ท์ สำนวน สภุ าษิต จากเรือ่ งที่อา่ น

อ่านเพือ่ ความเข้าใจ อา่ นจบั ใจความสำคญั การตีความหมาย การแปลความหมายจากสำนวน

สุภาษิต และจากเรือ่ งที่อ่าน การใช้สำนวนพัฒนาการอา่ น การอ่านวิเคราะห์ วิจารณ์ การ

แสดงความคิดเหน็ และระบุข้อคิดที่ได้จากการอา่ น

การเขียนอธิบาย การเขียนแสดงความคิดเหน็ การใช้สำนวน สุภาษิต พัฒนาการเขียน

ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณส์ ำนวน สภุ าษิตที่อ่าน

การฟัง การดแู ละการพูด การจำแนกสำนวน สภุ าษิต การเข้าใจน้ำเสียงกิริยาท่าทาง

ถ้อยคำของผู้พูด การใช้ภาษาสง่ เสริมบุคลกิ ภาพ การมีมารยาทในการพูดและการสนทนา การ

พดู แสดงความรสู้ กึ การพูดแสดงความคิดเห็น การใช้ภาษาในการส่อื สาร เล่ารายละเอียดและบอก

สาระสำคญั ต้ังคำถาม ตอบคำถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิดความรสู้ กึ เกีย่ วกับเรื่องทีฟ่ ังและ

ดู พูดสื่อสารเลา่ ประสบการณแ์ ละพดู แนะนำ หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อืน่ ปฏิบัตติ าม และมีมารยาท

ในการฟงั การดู และการพูด

ม่งุ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลกู ฝง่ั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นการดำเนนิ

ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรม์ หาภมู ิพลอดุลยเดช

(บูรณาการ)

ผลการเรยี นรู้

๑. อา่ นออกเสียงสำนวน สุภาษิต ได้คล่องแคล่ว ชดั เจน ตามหลักการใช้ภาษาไทย

๒. แสดงมารยาทการพูดด้วยการใช้ถอ้ ยคำที่สุภาพใช้น้ำเสียงน่าฟงั พูดชดั เจนใช้กริ ิยาท่าทาง
ประกอบการพูดท่สี ุภาพ พดู ตามความเปน็ จริง และพดู ในเชิงสร้างสรรค์

๓. แสดงความเข้าใจความหมายของคำศัพทแ์ ละสำนวนจากเรื่องที่อา่ น ใช้พจนานกุ รมในการค้นหา
ความหมายของคำและสำนวน โดยอธิบายความหมายของสำนวน สภุ าษิตได้

๔. ตีความ แปลความ คำ สำนวน สภุ าษิต หรือข้อความในเรื่องทีอ่ ่าน สร้างความเข้าใจการอา่ น
โดยอธิบายชีแ้ จงความหมายของคำหรือข้อความและความเข้าใจการอา่ นด้วยการพดู และการ

เขียน
๕. ระบขุ ้อคิดทีไ่ ด้จากสำนวน สุภาษิต และเรื่องทีอ่ ่านได้
รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๔๙

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม

รหัสวิชา ท๑๕๒๐๑ ชื่อวิชาสำนวนชวนคิด กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ศึกษาสำนวน สภุ าษิต แสดงความเข้าใจคำศัพท์ สำนวน สุภาษิต จากเรื่องที่อา่ น

อ่านเพือ่ ความเข้าใจ อา่ นจบั ใจความสำคญั การตีความหมาย การแปลความหมายจากสำนวน

สุภาษิต และจากเรือ่ งที่อ่าน การใช้สำนวนพัฒนาการอ่าน การอ่านวิเคราะห์ วิจารณ์ การ

แสดงความคิดเห็น และระบขุ ้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่าน

การเขียนอธิบาย การเขียนแสดงความคิดเหน็ การใช้สำนวน สุภาษิต พัฒนาการเขียน

ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์สำนวน สุภาษิตทีอ่ า่ น

การฟัง การดแู ละการพูด การจำแนกสำนวน สภุ าษิต การเข้าใจน้ำเสียงกิริยาทา่ ทาง

ถ้อยคำของผู้พดู การใช้ภาษาส่งเสริมบุคลกิ ภาพ การมีมารยาทในการพูดและการสนทนา การ

พดู แสดงความรสู้ กึ การพูดแสดงความคิดเห็น การใช้ภาษาในการส่อื สาร เล่ารายละเอียดและบอก

สาระสำคญั ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิดความรสู้ กึ เกี่ยวกบั เรือ่ งทีฟ่ ังและ

ดู พูดสื่อสารเลา่ ประสบการณแ์ ละพดู แนะนำ หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อืน่ ปฏิบัตติ าม และมีมารยาท

ในการฟงั การดู และการพูด

มุง่ ส่งเสริมการเรียนรู้และปลกู ฝง่ั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนนิ

ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช

(บูรณาการ)

ผลการเรยี นรู้

๑. อา่ นออกเสียงสำนวน สภุ าษิต ได้คลอ่ งแคลว่ ชัดเจน ตามหลกั การใช้ภาษาไทย

๒. แสดงมารยาทการพดู ด้วยการใช้ถอ้ ยคำที่สุภาพใช้น้ำเสียงน่าฟงั พูดชดั เจนใช้กริ ิยาท่าทาง
ประกอบการพดู ทส่ี ุภาพ พดู ตามความเป็นจริง และพดู ในเชิงสร้างสรรค์

๓. แสดงความเข้าใจความหมายของคำศัพทแ์ ละสำนวนจากเรือ่ งทีอ่ ่าน ใช้พจนานุกรมในการค้นหา
ความหมายของคำและสำนวน โดยอธิบายความหมายของสำนวน สภุ าษิตได้

๔. ตีความ แปลความ คำ สำนวน สุภาษิต หรือข้อความในเรื่องที่อา่ น สร้างความเข้าใจการอ่าน
โดยอธิบายชีแ้ จงความหมายของคำหรือข้อความและความเข้าใจการอ่านด้วยการพูดและการ

เขียน
๕. ระบขุ ้อคิดที่ได้จากสำนวน สภุ าษิต และเรือ่ งที่อ่านได้
รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๕๐

รหัสวิชา ท๑๖๒๐๑ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖
ชือ่ วิชาสนุกกบั บทอาขยาน กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

ศกึ ษาความหมายของบทรอ้ ยแก้ว บทร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรองเปน็ ทำนอง
เสนาะ การออกเสียงบทอาขยาน ในบทเรียนภาษาไทย รวมท้ังการอ่านจบั ใจความสำคัญจากบท
อาขยาน แตง่ บทร้อยกรองและคำขวญั ความหมายของสำนวน

โดยใช้ทกั ษะกระบวนการ ฝึกปฏิบัติการทอ่ งบทอาขยานในบทเรียนและบทร้อยกรองเปน็
ทำนองเสนาะที่ตนสนใจ เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและมีมารยาทใน
การทอ่ งบทร้อยกรองบทอาขยาน

เห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย วรรณกรรมไทย วรรณคดไี ทย และทอ่ งจำบทอาขยานตาม
ความสนใจ และตามที่กำหนดได้ รวมท้ังอนรุ ักษภ์ าษาไทยได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

มงุ่ สง่ เสริมการเรียนรู้และปลูกฝง่ั เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะอนั พึงประสงค์ในการดำเนนิ
ชีวิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช
(บรู ณาการ)

ผลการเรยี นรู้
๑. อ่านบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ ออกเสยี งบทอาขยาน ในบทเรียนภาษาไทยได้
๒. อา่ นจับใจความสำคัญจากบทอาขยานได้
๓. แตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวัญได้
๔. ท่องจำบทอาขยานตามความสนใจ และตามทีก่ ำหนดได้
๕. อนรุ กั ษภ์ าษาไทยได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
รวมทัง้ หมด ๕ ผลการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version