หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการส่อื สารดิจทิ ลั
(หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)
หลกั สตู รปริญญาตรีทางวิชาการ
คณะสารสนเทศและการสอื่ สาร
มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้
จงั หวดั เชยี งใหม่
มคอ. 2 2
คำนำ
หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดจิ ทิ ลั ฉบับน้ี เปน็ หลักสูตรทีป่ รบั ปรุงมาจาก
หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการส่ือสารดจิ ิทัล พ.ศ. 2556 เพ่ือใช้ในการจัดการศึกษาใน
สาขาวชิ าการส่อื สารดจิ ิทลั คณะสารสนเทศและการส่ือสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยคาดวา่ จะเริ่มใชไ้ ด้
ต้ังแตป่ กี ารศกึ ษา พ.ศ. 2561 เปน็ ต้นไป
การจัดท ำห ลักสูตรน้ี มีวัตถุป ระสงค์ที่ จะให้ สอดคล้อง และเป็ น ไป ตามป ระกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ที่กำหนดให้
สถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยให้มีรายละเอียดของหลักสูตร รายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียด
ของประสบการณ์ภาคสนามให้ชดั เจน ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ ตามรายละเอียดของหลักสูตร มคอ.2 ทไ่ี ด้
กำหนดไว้ รวมท้ังให้สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาและพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ผลิตบัณฑิตที่มี
คุณภาพ คุณธรรม มีความเช่ียวชาญในวิชาชีพ โดยเน้นให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานจริง ซึ่งคาดว่าหลักสูตร
ในลักษณะนี้จะสามารถผลิตบัณฑิตได้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานท้ังภาครฐั และเอกชน
อันจะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมสว่ นรวมและประเทศชาตติ ่อไป
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้
มคอ. 2 3
สารบัญ 2
3
คำนำ
สารบัญ 6
หมวดท่ี 13
1 ข้อมูลทว่ั ไป 24
2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร 983
3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร 101
4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 105
5 หลกั เกณฑ์ในการประเมินผลนักศกึ ษา 122
6 การพฒั นาคณาจารย์ 134
7 การประกันคุณภาพหลักสตู ร
8 การประเมนิ และปรับปรุงการดำเนนิ การของหลักสูตร
เอกสารแนบ 136
1 ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสตู ร กบั เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร – โครงสร้างหลกั สูตรเดมิ - โครงสรา้ งหลักสตู รใหม่ 137
2 ตารางเปรียบเทยี บรายละเอยี ด ตามโครงสรา้ งหลกั สูตรเกา่ – หลักสูตรใหม่ 137
3 สาระการปรบั ปรงุ แก้ไข 147
4 ประวัติและผลงานของ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร/อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 176
5 คำส่งั แต่งตัง้ คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู รระดับปริญญาตรี สาขาวชิ าการสื่อสารดิจทิ ัล 187
6 คำสง่ั แต่งต้งั คณะกรรมการวพิ ากษ์หลกั สตู รระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการสอ่ื สารดิจัทลั 188
7 รายงานสรปุ การวิพากษ์หลักสูตร 189
8 ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ว่าด้วยการศกึ ษาข้นั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2556 198
9 รายวชิ าทเ่ี ทยี บโอนกันได้ ภายในคณะ (นักศกึ ษาปวส.เทียบโอน 4 ปี) 195
มคอ. 2 4
ใบสรปุ ขั้นตอนการเสนอขอปรบั ปรุงแกไ้ ขหลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชาการสือ่ สารดจิ ทิ ัล
(หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)
คณะสารสนเทศและการสอื่ สาร
มหาวิทยาลยั แม่โจ้
…………………………………………
การปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสื่อสารดิจทิ ลั (หลกั สูตรปรับปรงุ
พ.ศ. 2561) ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากทปี่ ระชมุ ดงั นี้
1. คณะกรรมการประจำหลักสูตร ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอ่ื สารดิจทิ ัล
ในการประชุม ครั้งท่ี 4/2560 เม่อื วนั ท่ี 11 สิงหาคม 2560
2. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสือ่ สารดจิ ทิ ัล
ในการประชุม คร้ังท่ี 1/2560 เม่ือวนั ท่ี 8 กนั ยายน 2560
3. คณะกรรมการวพิ ากษ์หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการส่อื สารดิจิทัล
ในการประชมุ คร้ังท่ี 1/2561 เมอ่ื วันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2561
4. คณะกรรมการประจำคณะสารสนเทศและการส่อื สาร
ในการประชมุ ครั้งท่ี - เม่ือวนั ท่ี 9 มีนาคม 2561
5. คณะกรรมการวิชาการเห็นชอบให้นำเสนอหลกั สูตรต่อคณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั
ในการประชมุ คร้ังท่ี 3/2561 เมอ่ื วันที่ 2 เมษายน 2561
6. คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลยั เห็นชอบให้นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลยั
ในการประชุม ครั้งท่ี 7/2561 เมือ่ วันท่ี 18 เมษายน 2561
7. สภามหาวิทยาลยั ใหค้ วามเห็นชอบ/อนมุ ัตหิ ลักสตู ร
ในการประชมุ คร้ังที่ 4/2561 เมอื่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2561
8. หลักสูตรดำเนินการประเมินความสอดคล้องตามระบบ CHE CO
ได้รบั การพิจารณาความสอดคล้องและออกรหัสหลกั สูตรโดยได้รับอักษร 25520131101058
การขอเปล่ียนแปลงอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร ครง้ั ท่ี 1
8.คณะกรรมการประจำคณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ในการประชุม ครง้ั ท่ี – เมื่อวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2561
9.คณะกรรมการวิชาการ เหน็ ชอบให้นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
ในการประชุม ครัง้ ที่ 11/2561 เม่ือวันท่ี 31 สงิ หาคม 2561
มคอ. 2 5
10.คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั เห็นชอบให้นำเสนอตอ่ สภามหาวิทยาลยั
ในการประชมุ คร้ังท่ี 14/2561 เมอื่ วันที่ 12 กันยายน 2561
11.สภามหาวทิ ยาลัย ให้ความเหน็ ชอบการขอเปล่ียนแปลงอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร
ในการประชุม ครั้งที่ 7/2561 เมอ่ื วันท่ี 16 กันยายน 2561
การขอเปลยี่ นแปลงอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ครัง้ ท่ี 2
12.คณะกรรมการประจำคณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ในการประชุม ครั้งที่ 4/2562 เมอ่ื วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2562
13.คณะกรรมการวชิ าการ เห็นชอบใหน้ ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลยั
ในการประชมุ ครั้งที่ 9/2562 เม่ือวันท่ี 21 สิงหาคม 2562
14.คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย เหน็ ชอบใหน้ ำเสนอตอ่ สภามหาวิทยาลยั
ในการประชุมคร้งั ท่ี 10/2562 เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2562
15.สภามหาวิทยาลยั ให้ความเห็นชอบการขอเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร
ในการประชุม ครั้งที่ 7/2562 เมื่อวนั ที่ 6 ตลุ าคม 2562
มคอ. 2 6
หลกั สตู ร ศิลปศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชาการสือ่ สารดิจทิ ัล
หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561
ช่อื สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั แม่โจ้
วทิ ยาเขต/คณะ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
หมวดท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป
1. รหสั หลกั สูตรและช่ือหลกั สตู ร
รหัสหลกั สูตร : 25520131101058_2090
ชือ่ หลักสูตร
ภาษาไทย : หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการสอ่ื สารดิจิทัล
ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Arts Program in Digital Communications
2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา : ศิลปศาสตรบัณฑติ (การส่อื สารดจิ ทิ ัล)
ชอื่ เต็ม ภาษาไทย : ศศ.บ. (การสื่อสารดจิ ิทัล)
ชอ่ื ยอ่ ภาษาไทย : Bachelor of Arts (Digital Communications)
ชื่อเตม็ ภาษาอังกฤษ : B.A. (Digital Communications)
ชอื่ ย่อ ภาษาองั กฤษ
3. วิชาเอก
ไม่มี
4. จำนวนหน่วยกติ ที่เรยี นตลอดหลกั สตู ร
จำนวนหนว่ ยกติ ทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ 135 หน่วยกติ
5. รปู แบบของหลักสูตร
5.1 รปู แบบ
หลักสตู รระดบั ปริญญาตรี 4 ปีทางวชิ าการ
มคอ. 2 7
5.2 ภาษาทีใ่ ช้
หลักสูตรจัดการศกึ ษาเป็นภาษาไทย
5.3 การรับเขา้ ศึกษา
หลกั สูตรรบั นกั ศึกษาไทย
5.4 ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอนื่
เป็นหลักสตู รเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ที่จดั การเรยี นการสอนโดยตรง
5.5 การใหป้ ริญญากับผู้สำเร็จการศกึ ษา
ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพจิ ารณาเหน็ ชอบ/อนุมัตหิ ลกั สตู ร
6.1 หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2561 ปรบั ปรงุ จากหลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการ
สือ่ สารดิจิทลั พ.ศ. 2556
6.2 กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561
6.3 คณะกรรมการวชิ าการ เหน็ ชอบใหน้ ำเสนอหลักสูตรตอ่ คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัย
ในการประชุมคร้งั ท่ี 3 /2561 เม่ือวนั ที่ 2 เมษายน 2561
6.4 คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัย เห็นชอบใหน้ ำเสนอหลักสตู รตอ่ สภามหาวิทยาลยั
ในการประชมุ คร้งั ท่ี 7/2561 เมือ่ วนั ที่ 18 เมษายน 2561
6.5 สภามหาวิทยาลยั ใหค้ วามเหน็ ชอบ/อนมุ ัติหลักสูตร
ในการประชุม ครงั้ ท่ี 4/2561 เมือ่ วันท่ี 6 พฤษภาคม 2561
การขอเปลย่ี นแปลงอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร ครง้ั ท่ี 1
6.6 คณะกรรมการประจำคณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ในการประชุม ครัง้ ที่ – เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561
6.7 คณะกรรมการวชิ าการ เหน็ ชอบใหน้ ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั
ในการประชุม ครั้งท่ี 11/2561 เม่ือวันท่ี 31 สิงหาคม 2561
6.8 คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัย เห็นชอบให้นำเสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั
ในการประชมุ คร้งั ที่ 14/2561 เม่ือวนั ที่ 12 กนั ยายน 2561
6.9 สภามหาวิทยาลยั ให้ความเหน็ ชอบการขอเปลีย่ นแปลงอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร
ในการประชุม คร้งั ท่ี 7/2561 เมอ่ื วันท่ี 16 กันยายน 2561
มคอ. 2 8
การขอเปลยี่ นแปลงอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสตู ร ครง้ั ท่ี 2
6.10 คณะกรรมการประจำคณะสารสนเทศและการสือ่ สาร
ในการประชมุ คร้งั ที่ 4/2562 เม่ือวนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2562
6.11 คณะกรรมการวชิ าการ เห็นชอบใหน้ ำเสนอต่อคณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลยั
ในการประชุม ครัง้ ที่ 9/2562 เมื่อวันที่ 21 สงิ หาคม 2562
6.12 คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย เห็นชอบให้นำเสนอตอ่ สภามหาวทิ ยาลัย
ในการประชุมครัง้ ท่ี 10/2562 เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2562
6.13 สภามหาวิทยาลยั ใหค้ วามเห็นชอบการขอเปล่ยี นแปลงอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตร
ในการประชมุ คร้ังท่ี 7/2562 เมื่อวันท่ี 6 ตุลาคม 2562
7.ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสูตรท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ในปกี ารศึกษา 2563
8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดห้ ลงั สำเรจ็ การศึกษา
งานด้านวิชาชีพส่ือ งานด้านการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ งานด้านการออกแบบ
Graphic Designer งานด้านการออกแบบ Web Designer/ Web Content งานด้านการถ่ายภาพ
Photographer งานด้านสังคมศาสตร์ งานด้านการประชาสัมพันธ์ของภาครัฐและภาคเอกชน และการ
ประกอบอาชพี ส่อื อสิ ระ
9. ชอื่ ตำแหน่ง และคุณวุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู ร
ท่ี เลข ตำแหน่ ชอื่ -สกลุ คณุ วุฒิ สาขาวชิ า สำเร็จการศกึ ษา ปพี .ศ.
2549
ประจำตัว งทาง จาก 2540
2549
ประชาชน วิชาการ
1 อาจารย์ นางสาวกริ่ง ศศ.ม. นเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้
กาญจน์
เจรญิ กลุ
ศศ.บ. นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
เชียงใหม่
2 อาจารย์ นางสาวอดุ ม Ph.D. Environmen Wageningen
ลกั ขณ์ tal Science University ,
ธรรมปญั ญา and Netherlands
Technology
มคอ. 2 9
ท่ี เลข ตำแหน่ ช่อื -สกุล คณุ วฒุ ิ สาขาวิชา สำเร็จการศึกษา ปพี .ศ.
ประจำตัว งทาง จาก
ประชาชน วิชาการ 2536
2528
วท.ม. วทิ ยาการ จุฬาลงกรณ์ 2555
2550
คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลยั 2546
2553
วท.บ. สถิติ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 2549
3 อาจารย์ นายสมนึก ปร.ด. วิทยาการ สถาบนั บณั ฑิตพฒั น 2557
สนิ ธุปวน 2552
คอมพวิ เตอร์ บรหิ ารศาสตร์
วท.ม. วทิ ยาการ สถาบันบัณฑิตพัฒน
คอมพวิ เตอร์ บรหิ ารศาสตร์
วท.บ. วิทยาการ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้
คอมพวิ เตอร์
4 ผู้ชว่ ย นายพิริยะ วท.ม. เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ศาสตรา กาญจนคงคา
จารย์ สารสนเทศ
5 อาจารย์ นางสาววิชญา บธ.บ. ระบบ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
โคตรฐติ ธิ รรม
สารสนเทศ ราชมงคลลา้ นนาวทิ ยา
เขตตาก
ศล.ม. การออกแบบ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ผลติ ภณั ฑ์
ศล.บ. การออกแบบ มหาวิทยาลยั เชียง
ใหม่
10. สถานทจี่ ดั การเรียนการสอน
10.1 อาคารเรียนรวมต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่
10.2 คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ อำเภอสนั ทราย จงั หวัดเชียงใหม่
11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาท่ีจำเปน็ ต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร
11.1 แผนพฒั นาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
1) การพัฒนากำลงั คนเพื่อสร้างสอ่ื เพ่อื สังคม ตามแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปีต่อจากน้ีจะมีการพัฒนากำลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุค เศรษฐกิจและสังคม
ดิจิทัล โดยเทคโนโลยีดิจิทัลจะเข้ามาเปล่ียนแปลงชีวิตประจำวัน และโครงสร้างเศรษฐกิจ สังคมไปอย่าง
ส้ินเชิง แต่อย่างไรกต็ ามการนำเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ มีข้อดีทน่ี ่าสนใจคอื จะเป็นการช่วยยกระดับคุณภาพ
ชวี ิต สร้างโอกาสทางสงั คมอย่างเทา่ เทียม ด้วยขอ้ มลู ขา่ วสารและบริการตา่ งๆ
มคอ. 2 10
2) การหลอมรวมเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Convergence) และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัล จะส่งผลต่อการขยายตลาดแรงงานและความต้องการบุคลากรด้านนี้อย่างมาก
การส่ือสารดิจทิ ัลจึงเปน็ ทักษะสำคญั ยงิ่ สำหรบั การรองรบั ภูมทิ ศั นด์ ิจทิ ัลของไทย และของผู้คนในทศวรรษ
ที่ 21 ดงั นนั้ การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการสอ่ื สารดิจิทัล จึงได้นำ
สถานการณ์เหล่านี้มาพิจารณาเพื่อการวางแผนพัฒนาหลักสูตร และตระหนักถึงความรู้ความสามารถ
ระดับสูงทางด้านการสื่อสารดิจิทัล เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและให้โอกาสคนส่วนใหญ่ในสังคมมีส่วนร่วม
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมในยคุ ระบบเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ทิ ลั
11.2 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางสงั คมและวฒั นธรรม
1) การไหลบ่าของข้อมูลจำนวนมหาศาล (Big Data) จะทำให้วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ด้านสื่อของคนในสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ภูมิทัศน์ดิจิทัล และจะส่งผลให้การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลรวมไปถึงกระบวนการทางสังคมต่าง ๆ ถูกเปล่ียนแปลงโครงสร้างไปจากเดิมท้ังรูปแบบกิจกรรม
ทางเศรษฐกจิ การผลติ การค้าและการบริการ
2) ความต้องการของผู้บริโภคด้านการส่ือสารดิจิทัลท่ีเพิ่มขึ้นอย่างไม่จำกัด จึงจำเป็น
ต้องมีการพัฒนาบุคลากรด้านการสื่อสารดิจิทัลให้มีคุณภาพ อุดมด้วยพลังปัญญาและความดีงาม รู้และ
เช่ยี วชาญในการสรา้ ง การใช้และแบง่ ปันสื่อดิจิทัล ตลอดจนรเู้ ทา่ ทันการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี เพื่อ
ขบั เคลื่อนสังคมและส่งเสรมิ การพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป สร้างคนให้
มศี ักยภาพ เป็นผู้ประกอบการธรุ กจิ การส่อื สารดจิ ิทัล
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวข้องกับพันธกิจของ
มหาวิทยาลัย
12.1 การพัฒนาหลกั สูตร
1) พฒั นาหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของปัจเจกบุคคล ชมุ ชน ด้านกำลังคน และความรู้
ทักษะทเ่ี กีย่ วข้องกบั สารสนเทศและการสอ่ื สาร ตลอดจนการประกอบธรุ กจิ เป็นอาชพี อสิ ระ
2) การปรับปรุงหลักสูตรและวิธีการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ ให้ตอบสนองต่อการ
เปลี่ยนแปลงและเป็นที่ยอมรบั ในสังคม
3) เน้นการพัฒนาทักษะของบัณฑิต ในเร่ืองปัญญา ความเป็นเลิศ ความคิดสร้างสรรค์ ธุรกิจ
อิสระ และทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง
12.2 ความเก่ียวข้องกับพันธกจิ ของมหาวิทยาลัย
นโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล ด้านการเกษตร มีความต้องการ นำเทคโนโลยีดิจิทัลมา
ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เช่นเดียวกันกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทั้ง
ด้านการเรียนการสอน การวิจยั การบริการวิชาการ การสืบสานวัฒนธรรม และความเป็นนานาชาติ ล้วน
มคอ. 2 11
เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีส่ือสารดิจิทัล หลักสูตรศิลป ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลน้ีจึงเป็น
หลักสูตรท่ีจะสามารถช่วยสนับสนุนพันธกิจของมหาวิทยาลัยได้หลากหลายมิติ อาทิ ในรูปแบบส่ือสีขาว
เพ่ือโลกสเี ขยี วเพื่อความยง่ั ยืนทางนเิ วศวทิ ยา และเทคโนโลยสี ะอาด เปน็ ต้น
13. ความสัมพนั ธ์ (ถา้ ม)ี กับหลกั สูตรอ่นื ทเ่ี ปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอนื่ ของมหาวทิ ยาลัย
13.1 กลมุ่ วิชา/รายวิชาในหลกั สตู รทเ่ี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสตู รอน่ื
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่
- กลมุ่ วชิ าสังคมศาสตร์
- กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์
- กลุ่มวิชาภาษา
- กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
2) กลุม่ /รายวิชาในหมวดวชิ าเฉพาะด้านกลมุ่ วิชาแกน ได้แก่
- ศท 343 สนทนาภาษาอังกฤษ หรือ ศท 348 ภาษาอังกฤษเพ่ือการศึกษาต่อและ
การประกอบอาชพี
13.2 รายวิชาในหลกั สูตรทเ่ี ปดิ สอนใหภ้ าควิชา/หลักสูตรอ่นื ตอ้ งมาเรียน
ไม่มี
13.3 การบริหารจดั การ
1) มีการประชุมหารือระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร
และผู้สอนในกลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปิดสอนในคณะอ่ืน ๆ เพื่อให้ได้เนื้อหาความรู้และทักษะท่ี
ตรงตามความต้องการและวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร
2) ให้มีผู้ประสานงานรายวิชาทุกรายวิชา เพ่ือทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน นักศึกษา ในเร่ืองที่เกี่ยวกับรายละเอียด
ของรายวชิ า การจัดการเรยี นการสอน และการวดั ผลและประเมินผล
3) กำหนดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจทิ ัล ยึดหลักการเรียนการสอนตามปรชั ญาการศึกษา การสรา้ งความรู้และ
ปัญญาโดยผู้เรียน (Constructivism) และการเรียนรู้ผ่านการเช่ือมโยงเครือข่าย (Connectivism) ท่ีการ
เรียนรู้เป็นกระบวนการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลหรือคลังความรู้ท่ีหลากหลายและนำไปสู่การสร้างทักษะ
ใหม่
4) สร้างวฒั นธรรมการทำงานเป็นทีม เพ่ือดำเนินการ PDCA บริหารหลักสูตรรว่ มกับผู้
มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เข้าร่วมประชุม แสดงความคิดเห็นร่วมกัน การอภิปราย (Debate)
สรุปหาขอ้ ยุติ (Solution) แล้วทุกคนนำไปปฏิบัติ
มคอ. 2 12
หมวดที่ 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สูตร
1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร
1.1 ปรัชญา ความสำคัญ
พฒั นาบัณฑิตให้มีศกั ยภาพด้านการสื่อสารทเ่ี ต็มเปีย่ มดว้ ยพลงั ของความดีงาม เพื่อสรา้ ง
ปญั ญาให้แก่สงั คม
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นนักการสื่อสารสารสนเทศ ที่มีสมรรถวิสัยในการผสานศิลปะ
การสื่อสารและทักษะด้านสารสนเทศและสื่อดิจิทัล ให้สามารถประกอบอาชีพ ท้ังในภาคเอกชน รัฐบาล
และเปน็ ผูป้ ระกอบการอิสระมอื อาชีพ
1.2.2 เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีกระบวนทัศน์และทักษะการคิดระดับสูง สามารถสร้างสรรค์
ผลงานทม่ี คี ณุ ค่า
1.2.3 เพ่ือบ่มเพาะจิตสำนึกในการเป็นนักสื่อสารและสารสนเทศที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ในวิชาชพี ท่ียึดมัน่ ในความดงี าม อันจะนำไปส่กู ารสร้างสงั คมแหง่ ปัญญา
2. แผนพัฒนาปรับปรุง
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรท่ี
ประกอบด้วยแผนการพัฒนาปรับปรุงหลกั สูตร กลยุทธ์ และตัวบง่ ชก้ี ารพฒั นาปรับปรุง โดยคาดว่าจะแล้ว
เสรจ็ ภายในรอบการศึกษา ( 5 ปี)
มคอ. 2 13
2.1 การจดั การหลักสตู ร
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี
เปล่ยี นแปลง
ด้านพัฒนาบุคลากร ด้าน
การเรียน การส อ น แ ล ะ
บริการวิชาการ 1. การพัฒนาทักษะการจัดการ ตวั บง่ ช้ี
1. การยกระดบั สมรรถวิสยั เรียนการสอน การวัดและการ 1. จ ำ น ว น อ า จ า ร ย์
ของอาจารย์และบุคลากรให้ ประเมินผลและทักษะวิชาชีพโดยมี ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่าง
สงู ข้ึนและเปน็ ท่ียอมรับ การ การส่งเสริมบุคลากรของคณะฯไป น้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมใน
ทำให้เป็นสากล ปฏิบัติงานร่วมภาคเอกชนเพื่อเพ่ิม ก ารป ระ ชุ ม เพ่ื อ ว างแ ผ น
(Internationalization) ขีดความสามารถในภาคเอกชน ติดตาม และท บ ท วน การ
และการส่งเสริมใหเ้ รยี นรู้ใน (Talent Mobility) ดำเนินงานหลกั สูตร
ศตวรรษที่ 21 (21st 2. ใช้ระบบพี่เล้ียงเพื่อสร้างการ 2. อ าจารย์ ให ม่ ได้ รับ ก าร
Century) ทำงานดว้ ยเจตคตทิ ดี่ ี ปฐมนเิ ทศรอ้ ยละ 100
3. การบูรณาการงานวิจัยและการ 3. บุคลากรได้รับการพัฒนา
บริการวิชาการเข้ากับการเรียนการ ทางวิชาการ/วิชาชีพร่วมกับ
สอน ภาคเอกชน อย่างน้อยคนละ
4. สนับสนุนให้อาจารย์เข้าศึกษาดู 1 ครัง้ ตอ่ ปี
งาน หรือ ปฏิบัติงานจริงในสถาน 4. มีการบรรจุกิจกรรมบูรณา
ป ร ะ ก อ บ ก า ร ( on the job ก ารงาน วิ จั ย แ ล ะ บ ริก าร
training) ในประเทศ และ/หรือ วิชาการ ไว้ในแผนการเรียน
ตา่ งประเทศ
5. การส่งเสริมให้เรียนรู้ในศตวรรษ หลักฐาน
ที่ 21 (21st Century) การเมือง 1. คำสั่งอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
(Politics) เศรษฐกิจ (Economics) หลักสตู ร
สังคม (Social) การเปลี่ยนแปลง 2 . ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ทางเทคนิค (Techincal Changes) อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตร
เก่ ง ช ำน าญ (Adept) พั ฒ น า 3. รายช่ืออาจารย์ใหม่ทเี่ ข้ารับ
(Evolve) ค รุ่ น คิ ด ใค ร่ ค ร ว ญ การอบรมด้านการสอน
(Revolve) การเปล่ียนรูป การ 4. สรปุ การพฒั นาบคุ ลากร
แปรรปู (Transformation) 5. แผนการเรยี นใน มคอ.3
มคอ. 2 14
2.1 แผนการพัฒนา/ 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี
เปลี่ยนแปลง
2. ความร่วมมือภ าครัฐ - 1. ทำความร่วมมือกับภาคเอกชน ตวั บง่ ช้ี
เอ ก ช น (Public Private โด ย เฉ พ า ะ บ ริ ษั ท แ ล ะ ส ถ า น 1. มีการปฏิบัติ ตามบันทึก
Partnership, PPP) ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ ขอ้ ตกลง
ก าร สื่ อ ส ารดิ จิ ทั ล ท้ั งใน แ ล ะ
ต่างประเทศ หลักฐาน
1. บันทึกข้อตกลงและความ
ร่วมมือทางวิชาการระหว่าง
ม ห าวิท ยาลั ย ค ณ ะ ห รือ
สาขาวิชาฯ กับภาคเอกชนไม่
น้อยกว่า 1 แห่ง
3. ส่งเสริมบุ คลากรจาก 1. ส่งเสริมให้ อาจารย์มีโอกาส ตวั บง่ ช้ี
มหาวิทยาลัย ไปปฏิบัติงาน เพิ่มพูนความรู้ ความเช่ียวชาญใน 1. ร้อยละของงบประมาณท้ัง
ร่วมภาคเอกชนเพ่ือเพ่ิมขีด สาขาวิชาชีพด้านการสื่อสารดิจิทัล ห ม ด ใ น แ ต่ ล ะ ปี ที่ใช้
ความสามารถในภาคเอกชน กับภาคเอกชน ควรไปพัฒนาหรือ สนับสนุนการเพ่ิมพูนความรู้
(Talent Mobility) ปรับปรุง (Brush up) ตนเองทุก ๆ แ ล ะค ว าม เช่ี ย ว ช าญ ข อ ง
ปี ตลอดระยะเวลาของหลกั สตู ร คณาจารย์
2. จัดสรรงบประมาณ เพ่ือการ
เพิ่มพูนความรู้ ความเชี่ยวชาญของ หลกั ฐาน
อาจารย์ 1. บันทึกความร่วมมือในการ
ดำเนินงานวิจัยทางด้านการ
ส่ือสารดิจิทัล หรือท่ีเก่ียวข้อง
ร ะ ห ว่ า ง ค ณ า จ า ร ย์ กั บ
ภาคเอกชนไมน่ ้อยกวา่ 1 แห่ง
2. ประวัติการทำงานและการ
ฝึกอบรมของคณาจารย์
มคอ. 2 15
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
เปล่ียนแปลง
ด้านหลักสตู ร
1. การจัดทำรายละเอียด 1 . ติ ด ต าม ก ารก ำห น ด ก ร อ บ ตวั บ่งช้ี
ของหลักสูตรตามแบบ มคอ. มาตรฐานคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ 1. มีรายละเอียดของหลักสูตร
2. ให้สอดคล้องกับกรอบ 2. จัดทำรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้อง
มาตรฐานคุณวฒุ แิ ห่งชาติ ตามแบบ มคอ.2 ให้สอดคล้องกับ กับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิแห่งชาติ แ ห่ งช าติ ห รือ ม าต รฐ าน
คุณวฒุ สิ าขา/สาขาวิชา(ถ้าม)ี
หลกั ฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลักสูตร
3. รายงานการประชุมของ
หลกั สตู ร
2. การจัดทำรายละเอียด 1. กำหนดรูปแบบและรายละเอียด ตัวบง่ ช้ี
ข อ ง ร า ย วิ ช า แ ล ะ ในการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 1. มีรายละเอียดของรายวิชา
ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง 2. กำหนดเวลาในการจัดส่ง มคอ.3 แ ล ะ ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง
ประสบการณ์ภาคสนามตาม และ มคอ.4 ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า
แบบ มคอ.3และ มคอ.4 3. ติดตามการจัดทำรายละเอียด มี) ตามแบบ มคอ.3และ มคอ.
ก่อนการเปิดสอนในแต่ละ และการจัดส่ง มคอ.3 และ มคอ.4 4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอน
ภาคการศึกษาให้ครบทุก ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค ในแต่ละภาคการศึกษา
รายวิชา การศกึ ษาให้ครบทกุ รายวชิ า หลักฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลักสูตร
3. รายงานการประชุมของ
หลกั สตู ร
มคอ. 2 16
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งชี้
เปลี่ยนแปลง
3. การจัดทำรายงานผลการ 1. กำหนดรูปแบบและรายละเอียด ตัวบง่ ช้ี
ดำเนินการของรายวิชาและ ในการจดั ทำ มคอ.5และ มคอ.6 1. จั ด ท ำ ร าย งา น ผ ล ก า ร
รายงานผลการดำเนินการ 2. กำหนดเวลาในการจัดส่ง มคอ.5 ดำเนินการของรายวิชา และ
ของประสบการณ์ภาคสนาม และ มคอ.6 รายงานผลการดำเนินการของ
ตามแบบ มคอ.5และ มคอ. 3. ติดตามการจัดทำรายละเอียด ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า
6 ของวิชาท่ีเปิดสอนให้ครบ และการจัดส่ง มคอ.5 และ มคอ.6 ม)ี ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.
ทกุ รายวิชา ของวิช าท่ี เปิ ดส อน ให้ ค รบ ทุ ก 6 หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่
รายวิชา หลงั สนิ้ สุดภาคการศึกษา เปิดสอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า
หลักฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลกั สตู ร
3. รายงานการประชุมของ
หลักสูตร
มคอ. 2 17
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งชี้
เปลี่ยนแปลง
4. การจัดทำรายงานผลการ 1. กำหนดเวลาในการจัดส่ง มคอ.7 ตัวบง่ ชี้
ดำเนินงานของหลักสูตรตาม 2. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน 1. จั ด ท ำ ร าย งา น ผ ล ก า ร
แบบ มคอ.7 ของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 หลัง ดำเนินการของหลักสูตรตาม
สิ้นสดุ ปกี ารศกึ ษา แบบ มคอ.7 หลังส้ินสุดปี
การศึกษา
หลกั ฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลักสูตร
3. รายงานการประชุมของ
หลกั สูตร
5. การทบทวนผลสัมฤทธ์ิ 1 . ก ำห น ด ราย วิช าท ว น ส อ บ ตวั บง่ ชี้
ของนักศึกษาตามมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอย่างน้อย 1. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
การเรียนรู้ท่กี ำหนดใน มคอ. ร้อยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปิดสอน ของนักศึกษาตามมาตรฐาน
3 และ มคอ.4 ในแตล่ ะปีการศกึ ษา ผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน
2 . ท ว น ส อ บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง มคอ.3และ มคอ.4 (ถ้ามี)
นกั ศึกษาตามมาตรฐานการเรยี นรู้ที่ อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ
กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 ตาม รายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี
รายวชิ าท่ไี ด้กำหนดไว้ การศึกษา
หลักฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลกั สูตร
3. รายงานการประชุมของ
หลักสูตร
มคอ. 2 18
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
เปลย่ี นแปลง
6. ก า ร ส รุ ป ผ ล ก า ร 1. จัดประชุมเพื่อชี้แจงและสรุปผล ตัวบ่งชี้
ดำเนินงานและการจัดทำ การดำเนินงานของหลักสูตรเพื่อ 1. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการ
แผนในการพัฒนาปรับปรุง ระดมความคิดเห็นในการพัฒนา จัดการเรียนการสอน กลยุทธ์
การจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงการเรียนการสอนของ การสอนหรือการประเมินผล
หลักสตู ร การเรียนรู้จากผลการประเมิน
การดำเนินงานที่รายงานใน
มคอ.7 ปที แี่ ล้ว
หลักฐาน
1. เอกสาร มคอ.2-มคอ.7
2. แผนการพัฒนา/ปรับปรุง
ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ข อ ง
หลักสตู ร
3. รายงานการประชุมของ
หลกั สตู ร
ด้านนักศกึ ษา
1. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ 1 . ก ำ ห น ด ร า ย วิ ช า ท่ี มี ค ว า ม ตวั บง่ ช้ี
เรียนรู้ทักษะพื้นฐาน ทักษะ จำเปน็ ต้องเรยี นรทู้ ั้งภาคทฤษฎแี ละ 1. มีรายละเอียดของวิชาตาม
การคิดสร้างสรรค์ รวมถึง ภาคปฏิบตั ิ มคอ.3-มคอ.7
ทั กษ ะการป ฏิ บั ติงาน ท่ี 2. กำหนดให้แต่ละรายวิชามีการ
จ ำ เป็ น เพ่ื อ ส ร้ างเส ริ ม ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ด้านทักษะ หลกั ฐาน
ประสบการณ์สำหรับการ พื้นฐาน การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 1.เอกสารแสดงรายละเอียด
ท ำ ง า น (learning by การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี รายวชิ า (มคอ.3)
doing) ทางด้านการส่ือสาร สารสนเทศ 2. รายงานผลการดำเนินการ
ดิจิทัล 3. จัดหาสถานประกอบการที่มี รายวิชา (มคอ.5)และรายงาน
ศักยภาพและความพร้อม สำหรับ ผ ล ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ด้ า น
การฝึกปฏิบัตงิ านสหกิจศกึ ษา ป ระ ส บ ก ารณ์ ภ าค ส น าม
(มคอ.6)
3. รายชื่อสถานประกอบการ
มคอ. 2 2.2 กลยุทธ์ 19
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี
เปล่ยี นแปลง ท่ีมีศักยภาพและความพร้อม
สำหรับการฝึกปฏิบัติงานสห
กิจศึกษาไมน่ อ้ ยกว่า 15 แหง่
2. การให้ความสำคัญกับ 1. อาจารย์ต้องมีข้อมูลพื้นฐานของ ตัวบ่งชี้
นักศึกษาโดยให้นักศึกษา นักศึกษา เช่น ประวัติครอบครัว 1. มที ำเนียบประวัตนิ ักศกึ ษา
เป็นศูนย์กลาง (Student ความรพู้ ้ืนฐาน 2. มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่
center) 2 . อ า จ า ร ย์ ต้ อ ง ส อ น ง า น ป รึ ก ษ า ให้ ส า ม า ร ถ ดู แ ล
(Coaching) ให้นักศึกษามีศักยภาพ นักศึกษาได้ตลอด 4 ชั้นปี
เพ่ื อ เต รี ย ม ค ว าม พ ร้อ ม เข้ าสู่ 3. มีระบบการให้คำปรึกษา
ตลาดแรงงาน และต้องพัฒ นา ทางด้านวิชาชีพ โดยอาจารย์
นักศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะ หรือโดยนัก
วชิ าชพี
หลกั ฐาน
1. เอ ก ส าร ก ร อ ก ป ระ วั ติ
สว่ นตัวของนกั ศึกษา
2. หนังสือแต่งตั้งอาจารย์ท่ี
ปรึกษา
3. ประกาศอาจารย์ท่ีปรึกษา
ป ระ จำโป รเจ ค จบ แ ล ะ ท่ี
ปรกึ ษาสหกิจศึกษา
4.หนังสือแต่งต้ังอาจารย์พเิ ศษ
ท่ีมาจากนกั วชิ าชีพ
มคอ. 2 20
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
เปล่ียนแปลง
3. การประเมินความรู้ทาง มี ก ารอ บ รม ระ ย ะ ส้ั น เพ่ื อ ให้ ตัวบ่งชี้
เทคโนโลยีสารสนเทศและ นักศึกษาได้เพิ่มพูนความรู้ทางด้าน 1. มีโครงการฝึกอบรมระยะ
ภาษาต่างประเทศ เท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ แ ล ะ ส้ัน โดยมีแหล่งทุนสนับสนุน
ภาษาต่างประเทศโดยการเพ่ิม ท้ั งภ า ย ใน แ ล ะ ภ า ย น อ ก
โครงการอบรมเสริมระยะสั้นใน จำนวน 1 โครงการต่อปี
ช่วงเวลาท่ีนักศึกษาว่างจากการ 2. มีรายละเอียดของวิชาตาม
เรียนการสอน รวมทั้งสอดแทรกใน มคอ.3-มคอ.7
กิจกรรมต่าง ๆ ของแต่ละรายวิชา 3 .มี จ ำ น ว น นั ก ศึ ก ษ า
และกิจกรรมของสโมสรนักศึกษา แลกเปลี่ยนอยา่ งน้อย 2 คน/1
คณะฯ รวมทั้งมีการรับนักศึกษา ปีการศึกษา
แลกเปลี่ยนจากนานาประเทศท่ี หลกั ฐาน
สามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักได้ 1. เอกสารแสดงรายละเอยี ด
มาเรียนร่วมกับนักศึกษาปกติของ รายวชิ า (มคอ.3)
คณะฯ 2. รายงานผลการดำเนินการ
รายวิชา (มคอ.5)
3. รายงานผลโครงการอบรม
ระยะสัน้
4. หนังสือส่งตัวนักศึกษ า
แลกเปลี่ยน
4. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ 1 . ก ำ ห น ด ร า ย วิ ช า ที่ มี ค ว า ม ตัวบง่ ชี้
เรียนรู้ทักษะพื้นฐาน ทักษะ จำเป็นต้องเรยี นรูท้ ั้งภาคทฤษฎีและ 1. มีรายละเอียดของวิชาตาม
การคิดสร้างสรรค์ รวมถึง ภาคปฏบิ ตั ิ มคอ.3-มคอ.7
ทั กษ ะการป ฏิ บั ติงาน ที่ 2. กำหนดให้แต่ละรายวิชามีการ
จำเป็นท่ามกลางกระแส ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ด้านทักษะ หลกั ฐาน
โลกาภิวัฒน์ เพื่อสร้างเสริม พ้ืนฐาน การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 1. เอกสารแสดงรายละเอียด
ประสบการณ์สำหรับการ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี รายวชิ า (มคอ.3)
ทำงานทางด้านการสื่อสาร สารสนเทศ 2. รายงานผลการดำเนินการ
ดิจิทัล 3. จัดหาสถานประกอบการท่ีมี รายวิชา (มคอ.5)และรายงาน
มคอ. 2 21
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตวั บ่งชี้
เปลย่ี นแปลง
ศักยภาพและความพร้อมสำหรับ ผ ล ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ด้ า น
การฝึกปฏบิ ตั งิ านสหกิจศึกษา ป ระ ส บ ก ารณ์ ภ าค ส น าม
(มคอ.6)
3. รายชื่อสถานประกอบการ
ท่ีมีศักยภาพและความพร้อม
สำหรับการฝึกปฏิบัติงานสห
กิจศึกษาไม่น้อยกว่า 15 แหง่
5. มีวัสดุ อุป กรณ์ แล ะ ปรับปรุงห้องเรียนและหอ้ งสตูดโิ อ ตวั บ่งชี้
เ ค ร่ื อ ง มื อ ต่ า ง ๆ ที่ ตา่ ง ๆ ให้มีสภาพเหมาะสมต่อการ มีการปรับปรุงห้องบรรยาย
จำเป็นต้องใช้ในการเรียน เรยี นบรรยาย/ปฏบิ ตั ิ และห้องสตูดิโอต่าง ๆ ให้มี
บรรยายและภาคปฏิบัติโดย ส ภ า พ ที่ เห ม า ะ ต่ อ ก า ร เ รี ย น
จะต้องพอเพียงกับจำนวน ภาคปฏิบัติ
นักศึกษา
หลกั ฐาน
ผลสำรวจความพึงพอใจของ
นั ก ศึ ก ษ า ที่ มี ต่ อ ส ภ า พ ก า ร
เรียนหอ้ งบรรยายและปฏิบัติ
ดา้ นผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย ตวั บง่ ชี้
1. ผลติ บณั ฑิตที่มีคุณสมบตั ิ 1. มีการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 1. จำนวนร้อยละของบัณฑิตท่ี
ดา้ นความรู้ และทักษะ เก่ียวกับแนวทางการศึกษา การ ได้งานทำภายใน 1 ปีหลังจาก
วิชาชีพที่ตรงความต้องการ ประกอบอาชีพและลักษณะของ สำเรจ็ การศกึ ษา
ของตลาดแรงงานดา้ นการ บั ณ ฑิ ต ท่ี พึ งป ร ะ ส ง ค์ เพ่ื อ ที่ 2. จำนวนรอ้ ยละของบัณฑิตที่
ส่อื สารดจิ ิทัล นั ก ศึ ก ษ าจ ะ ได้ รู้ แ ล ะ ก ำห น ด ได้งานทำตรงกับสาขาวิชาชีพ
เปา้ หมายในการศึกษาของตนเอง ที่ศกึ ษา
2. มีการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาช้ันปี 3. มีระบบฐานข้อมูลสถาน
ท่ี 4 ก่อนสำเรจ็ การศึกษาเพ่ือรับฟัง ประกอบการทั้งผู้ใช้บัณฑิต
และเสวนาลักษณะของบัณฑิตที่พึง และสถานประกอบการที่
ประสงค์ และแนวทางการหางาน นกั ศกึ ษาไปปฏบิ ัติสหกจิ
มคอ. 2 22
2 .1 แ ผ น ก า ร พั ฒ น า / 2.2 กลยทุ ธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งช้ี
เปล่ยี นแปลง
และการทำงาน
3. จัดหาและเผยแพร่ข้อมูลการรับ
สมคั รงานสำหรบั นักศึกษา หลกั ฐาน
1. รายงานผลการมีงานทำ
ของบณั ฑติ
2. รายงานผลการทำงานของ
บัณ ฑิ ตท่ีได้งานทำตรงกับ
สาขาวิชาชีพ
3 . ฐ า น ข้ อ มู ล ส ถ า น
ประกอบการผู้ใชบ้ ณั ฑิต
มคอ. 2 23
หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลกั สูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
การศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่ง
ออกเปน็ 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศกึ ษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไมน่ อ้ ยกว่า 15 สปั ดาห์
1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น
ไม่มีการเรียนการสอนในภาคการศึกษาฤดรู อ้ น
1.3 การเทียบเคยี งหน่วยกิตในระบบทวภิ าค
มกี ารจดั การศึกษาระบบอนื่ นอกเหนือจากระบบทวภิ าค
2. การดำเนนิ การหลักสูตร
2.1 วัน – เวลาในการดำเนนิ การเรียนการสอน
- ภาคการศกึ ษาท่ี 1 เดอื นมิถุนายน - เดือนกันยายน
- ภาคการศึกษาที่ 2 เดอื นพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์
- หรือเปน็ ไปตามปฏทิ ินการศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ทีป่ ระกาศใช้ในขณะน้ัน
2.2 คณุ สมบัติของผเู้ ข้าศึกษา
1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า
ผ่านการคัดเลอื กตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือผ่านการคัดเลือกตาม
เกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
2) เป็นผ้สู ำเร็จการศึกษา ในระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู ปวส.หรือเทียบเท่า ตามท่ี
มหาวิทยาลยั กำหนดในแตล่ ะสาขาวิชา
3) เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาข้ันปริญญาตรีตาม
ระเบียบและประกาศอน่ื ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งโดยอนุโลม
2.3 ปญั หาของนกั ศกึ ษาแรกเขา้
1) ปญั หาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมธั ยมศึกษามาเปน็ การเรยี นรู้ท่ีมีรูปแบบต่างไป
จากเดิม คือ ระดับอดุ มศึกษาที่ต้องดูแลตนเอง จัดสรรเวลาในการเรียนและกิจกรรมด้วยตนเอง อีกท้ังยัง
มีสังคมท่แี ตกตา่ งไปจากเดิม
มคอ. 2 24
2) นักศึกษาทดสอบวัดสมิทธิภาพท่ัวไปทางภาษาอังกฤษ และทดสอบความรู้ความสามารถ
ทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไม่ถึงตามเกณฑท์ ม่ี หาวิทยาลยั กำหนด
3) นักศึกษาไม่ตั้งใจเข้าศึกษาในสาขาวิชาท่ีเรียนตั้งแต่แรก/ไม่ทราบความถนัดความชอบ
ของตนเองสง่ ผลให้ไม่ตั้งใจเรยี น และมีการโอนย้ายสาขาในอนาคต
2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพอื่ แกไ้ ขปัญหา / ขอ้ จำกดั ของนักศกึ ษาในข้อ 2.3
1) จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนำการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน
มหาวิทยาลยั และการแบ่งเวลา แผนการเรียน และแผนการทำงานในอนาคต
2) มอบหมายหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่อาจารย์ทุกคน ทำหน้าท่ีสอดส่องดูแลตักเตือน
ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ ตลอดจนช้แี นะแนวทางในการเรียนและอื่น ๆ
3) มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่อาจารย์ที่ปรึกษาจัด
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลนักศึกษา เช่น วันแรกพบนักศึกษากับอาจารย์ วันพบผู้ปกครอง การ
ติดตามการเรียนของนักศกึ ษาชัน้ ปที ่ี 1 จากอาจารย์ผสู้ อน และกิจกรรมสอนเสรมิ ถ้าจำเปน็ เปน็ ต้น
4) มีนักวิชาการด้านการศึกษาทำหน้าท่ีแนะแนวการเรียน เช่น การจับประเด็นจากการ
อ่านหนังสือ การจดโน้ต การจัดระบบความคิด การดำรงชีวิตในมหาวิทยาลัย ให้แก่นักศึกษาท่ีมีปัญหา
และขอความชว่ ยเหลอื
5) จัดหลักสตู รสอนเสรมิ ทางภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศตามความสามารถของผูเ้ รยี น
6) กำหนดตารางเวลาการใช้ห้องปฏิบัตกิ ารเพ่ือให้นักศึกษาสามารถฝึกฝนทักษะทางภาษา
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
7) แต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาประจำตัวนักศึกษา เพื่อทำหน้าที่ดูแล ตักเตือน ให้คำแนะนำ
แก่นักศึกษา และให้เน้นย้ำในกรณีท่ีนักศึกษามีปัญหาตามข้างต้นเป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนให้คำปรึกษา
ทง้ั วชิ าการและวิชาชพี การครองขีวติ ในสังคม เปา้ หมายชวี ติ การเตรยี มความพร้อมเข้าสตู่ ลาดแรงงาน
8) จัดสอนเสรมิ เตรียมความรู้พ้นื ฐานกอ่ นการเรียน
มคอ. 2 25
2.5 แผนการรับนกั ศกึ ษาและผสู้ ำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
2.5.1 แผนการรับนกั ศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี
จำนวนนักศึกษา ปีการศกึ ษา
2561 2562 2563 2564 2565
ชน้ั ปีที่ 1 80 80 80 80 80
ช้ันปีที่ 2 - 80 80 80 80
ชั้นปีท่ี 3 - - 80 80 80
ชั้นปที ่ี 4 - - - 80 80
รวม 80 160 240 320 320
จำนวนที่คาดวา่ จะสำเรจ็ - - - 80 80
การศกึ ษา
2.5.2 แผนการรบั นกั ศกึ ษาและผสู้ ำเรจ็ การศึกษาในระยะ 5 ปี ระดับ ปวส. 4 ปเี ทยี บเข้า
เรยี น
จำนวนนักศกึ ษา ปีการศึกษา
2561 2562 2563 2564 2565
ชน้ั ปีที่ 1 -----
ชนั้ ปีท่ี 2 -----
ชั้นปที ี่ 3 - - 40 40 40
ชั้นปที ี่ 4 - - - 40 40
รวม 0 0 40 80 80
จำนวนทคี่ าดว่าจะสำเร็จ - - - 80 80
การศกึ ษา
2.6 งบประมาณตามแผน
งบประมาณสำหรบั ค่าใชจ้ ่าย เป็นเงินงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ของมหาวิทยาลยั ฯ
แหล่งทนุ สนับสนนุ งบประมาณทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ในปงี บประมาณ
2561 2562 2563 2564 2565
1.งบประมาณแผ่นดนิ 3,093,100 3,234,600 3,433,100 3,439,100 3,802,900
2.งบประมาณเงนิ รายได้ 656,000 1,440,000 2,192,200 2,808,000 2,808,000
มคอ. 2 26
2.6.1 งบประมาณแผน่ ดนิ (หนว่ ย/บาท)
หมวดรายจ่าย ประมาณการคา่ ใช้จา่ ยในปงี บประมาณ
2561 2562 2563 2564 2565
1.งบบุคลากร
- อตั ราเดิม 2,830,000 2,971,500 3,120,000 3,276,000 3,439,800
- อตั ราใหม่ -----
2.งบดำเนนิ งาน
-ตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 163,100 163,100 163,100 163,100 163,100
-คา่ สาธารณูปโภค -----
3.งบลงทนุ
-ครภุ ณั ฑ์ -----
-สิ่งกอ่ สรา้ ง -----
4.งบอุดหนนุ
-อุ ด ห นุ น โค รงก ารวิจั ย 100,000 100,000 150,000 150,000 200,000
(สำนกั วจิ ัย)
รวม 3,093,100 3,234,600 3,433,100 3,439,100 3,802,900
2.6.2 งบประมาณเงินรายได้ (หน่วย/บาท)
หมวดรายรับ ประมาณการรายรับในปีงบประมาณ
2561 2562 2563 2564 2565
-ตอบแทน ใชส้ อยและวสั ดุ 656,000 1,440,000 2,192,200 2,808,000 2,808,000
รวม 656,000 1,440,000 2,192,200 2,808,000 2,808,000
2.6.3 คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หัวต่อปี (สูงสดุ ) 20,000.00 บาท (โครงการปกต/ิ รับตรง)
0.00 บาท (โครงการพเิ ศษ ถ้าม)ี
2.7 ระบบการศึกษา
แบบช้นั เรยี น
2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขา้ มมหาวิทยาลัย
มคอ. 2 27
การเทียบโอนหน่วยกิต และการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตาม
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาข้ันปริญญาตรี พ.ศ. 2556 และ ตามระเบียบและประกาศ
อน่ื ๆ ของมหาวิทยาลยั ท่ีประกาศเพ่ิมเตมิ
3. หลักสตู รและอาจารยผ์ ู้สอน 135 หน่วยกติ
3.1 หลักสูตรปรญิ ญาตรี 4 ปี
3.1.1 จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสูตร 30 หน่วยกติ
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 6 หน่วยกติ
1) หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 6 หน่วยกติ
- กลุ่มวชิ าสงั คมศาสตร์ 12 หนว่ ยกิต
- กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ
- กลุ่มวิชาภาษา 99 หนว่ ยกิต
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 30 หนว่ ยกติ
2) หมวดวิชาเฉพาะ 60 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วิชาแกน 9 หนว่ ยกิต
- กลุ่มวชิ าเอกบงั คบั 6 หนว่ ยกติ
- กลุม่ วชิ าเอกเลอื ก
3) หมวดวชิ าเลือกเสรี
3.1.3 รายวชิ าในหลกั สตู ร
1) หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
30 หนว่ ยกิต
- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
เลอื กอีก 2 รายวิชาจากรายวิชาต่อไปนี้
ศท 021 สังคมศาสตรใ์ นชีวิตประจำวนั 3 (3–0–6)
GE 021 Social Sciences in Everyday Life
ศท 022 อารยธรรมโลก 3 (3–0–6)
GE 022 World Civilization 3 (3–0–6)
ศท 104 มนษุ ยแ์ ละส่งิ แวดลอ้ ม
GE 104 Man and Environment
มคอ. 2 28
3 (3–0–6)
ศท 302 สงั คมและวฒั นธรรมไทย 3 (2–2–5)
GE 302 Thai Society and Culture 3 (3–0–6)
กช 321 เศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื 6 หนว่ ยกิต
CM 321 Sufficiency Economy and Sustainable Development
ศศ 101 เศรษฐศาสตรเ์ พอื่ ชวี ิตประจำวนั และการประกอบการ 3 (3–0–6)
EC 101 Economics in Daily Life and Operations 3 (3–0–6)
3 (2–2–5)
- กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3 (1–4–4)
3 (2–2–5)
เลอื กอกี 2 รายวิชาจากรายวิชาต่อไปนี้
ศท 011 มนุษยก์ บั ความงามทางศิลปะ
GE 011 Man and Arts Appreciation
ศท 012 จติ วิทยากับพฤติกรรมมนุษย์
GE 012 Psychology and Human Behavior
ศท 013 สุขภาพเพ่ือการดำรงชีวิต
GE 013 Health for life
ศท 180 ศลิ ปะกับความคิดสรา้ งสรรค์
GE 180 Art and Creative Thinking
ศท 304 ศาสตร์และศิลป์แห่งปัญญาชน
GE 304 Liberal Arts of Intellectuals
หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
ศท 305 ประวตั ิศาสตร์และพัฒนาการของลา้ นนา 3 (3–0–6)
GE 305 History and Development of Lanna
- กลมุ่ วชิ าภาษา 12 หน่วยกติ
ศท 031 การใช้ภาษาไทย 3 (2–2–5)
GE 031 Thai Language Usage
ศท 141 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 1 3 (2–2–5)
GE 141 Fundamental English 1
ศท 142 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน 2 3 (2–2–5)
GE 142 Fundamental English 2
ศท 245 ภาษาอังกฤษเชงิ สังคมศาสตร์ 1 3 (2–2–5)
มคอ. 2 29
6 หนว่ ยกิต
GE 245 English for Social Science 1 3 (3–0–6)
- กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
3 (2–2–5)
ผษ 101 เกษตรเพ่อื ชีวติ 3 (2–2–5)
AP 101 Agriculture for Life 3 (2–2–5)
3 (3–0–6)
เลอื กอีก 1 รายวชิ าจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 3 (3–0–6)
วท 101 วทิ ยาศาสตร์เพ่ือชีวิต 3 (3–0–6)
C 101 Science for Life
วท 102 การพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
SC 102 Development of Science and Technology
ศท 014 การสบื ค้นสารนเิ ทศเพ่ือการศึกษา
GE 014 Information Searching for Academic Study
วอ 101 วศิ วกรรมเบ้อื งต้นในชีวติ ประจำวนั
EI 101 Basic Engineering in Daily Life
วอ 102 นานาสาระเกีย่ วกับอาหารและยา
EI 102 General Aspects of Food and Drug
พง 100 พลงั งานสำหรับชีวิตประจำวัน
RE 100 Energy for Daily Life
มคอ. 2 30
หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
2) หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต
- กล่มุ วิชาแกน 30 หน่วยกติ
สด 101 หลกั การสอ่ื สารดิจิทัล 3 (2–2–5)
DC 101 Principle of Digital Communications
สด 102 ความเข้าใจสี่อดิจิทัล 3 (2–2–5)
DC 102 Understanding in Digital Media
สด 103 ทศั นศิลปเ์ พอื่ การส่ือสารดิจิทัล 3 (2–2–5)
DC 103 Visual for Digital Communications
สด 104 การเขียนเพื่อการส่อื สาร 3 (2–2–5)
3 (2–2–5)
DC 104 Writing for Communications 3 (2–2–5)
สด 105 การพฒั นาระบบคดิ 3 (2–2–5)
3 (2–2–5)
DC 105 Thinking System Development
สด 201 การถ่ายภาพดจิ ิทัลเพื่อการสื่อสาร
DC 201 Digital Photography for Communications
สด 202 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางการสอ่ื สารดจิ ิทลั
DC 202 Digital Communications Ethics and Law
สด 203 การพูดและการพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับการส่ือสาร
DC 203 Speech and Personality Development for
Communications
มคอ. 2 31
(2–2–5)
สด 301 วัฒนธรรมส่อื ดจิ ิทัลกับสงั คม 3
3 (2–2–5)
DC 301 Digital Media Culture and Society (2–2–5)
ใหเ้ ลอื กรายวิชาตอ่ ไปนี้ เพยี ง 1 รายวชิ า จำนวน 3 หน่วยกติ
ศท 343 สนทนาภาษาอังกฤษ หรอื
GE 343 English Conversation for the Workplace
ศท 348 ภาษาอังกฤษเพื่อการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ 3
GE 348 English for Further Studies and Careers
หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
- กลุ่มวิชาเอกบงั คับ 60 หน่วยกติ
สด 181 การผลิตสื่อผสม 1 3 (2–2–5)
DC 181 Multimedia Production 1
สด 281
การผลิตสอ่ื ผสม 2 3 (2–2–5)
DC 281
สด 282 Multimedia Production 2
DC 282 การออกแบบกราฟิก 3 (2–2–5)
สด 283
Graphic Design
DC 283
สด 284 การสรา้ งแบรนด์ การโฆษณา และการตลาดดจิ ทิ ลั 3 (2–2–5)
DC 284 Branding, Advertising ,and Digital Marketing
สด 285
การสร้างภาพเคล่ือนไหว 2 มิติ 3 (2–2–5)
DC 285
2D Animation
การออกแบบเว็บไซต์ 3 (2–2–5)
Web Design
มคอ. 2 32
สด 381 การผลติ สื่อผสม 3 3 (2–2–5)
DC 381 Multimedia Production 3
สด 382
การวจิ ัยทางการสื่อสารดจิ ิทัล 3 (2–2–5)
DC 382
สด 383 Digital Communications Research
DC 383 นวัตกรรมสือ่ ดิจิทัล 3 (2–2–5)
สด 384
Digital Media Innovation
DC 384
สด 385 เทคนคิ พิเศษในงานโทรทศั น์ 3 (2–2–5)
DC 385 Special Effects for Television 3 (2–2–5)
สด 386 ความเชยี่ วชาญทางสื่อดจิ ทิ ลั
DC 386 Digital Fluency 3 (2–2–5)
สด 387 การจัดการองค์กรทางการส่อื สารดิจทิ ัล
DC 387 Management of Media Organizations
สด 388
การสื่อสารดิจทิ ัลเพือ่ การเกษตร 3 (2–2–5)
DC 388
Digital Communications for Agriculture
สด 389
การนำเสนอผา่ นส่ือดิจทิ ัล 3 (2–2–5)
DC 389
สด 481 Digital Presentation
DC 481 หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
สด 482
การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นการส่ือสารดจิ ิทลั 1 3 (2–2–5)
DC 482
Digital Communications Product Creation 1
การสร้างสรรค์งานด้านการส่ือสารดจิ ิทัล 2 3 (2–2–5)
Digital Communications Product Creation 2
นทิ รรศการร่วมสมัย 3 (2–2–5)
Contemporary Exhibition
มคอ. 2 33
ให้เลือกรายวชิ าตอ่ ไปน้ี เพียง 1 รายวชิ า จำนวน 9 หนว่ ยกิต
สด 497 สหกิจศึกษา หรือ 9 (ปฏิบตั ไิ ม่
DC 497 Co-Operative Education นอ้ ยกวา่ 16
สด 498 การเรยี นร้อู ิสระ หรือ สปั ดาห์)
DC 498 Independent Study
สด 499 การศกึ ษา หรือ ฝกึ งาน หรอื ฝึกอบรมตา่ งประเทศ 9 (ปฏบิ ัติไม่
DC 499 Overseas Study, Training or Internship นอ้ ยกวา่ 16
สปั ดาห์)
9 (ปฏบิ ัตไิ ม่
น้อยกว่า 16
สปั ดาห)์
- กลมุ่ วชิ าเอกเลือก 9 หนว่ ยกิต
ให้นกั ศึกษาเลือกรายวิชาดงั ต่อไปน้ี และ/หรอื รายวชิ าทห่ี ลักสตู รเปดิ สอนในอนาคต
ไมน่ อ้ ยกวา่ 9 หนว่ ยกิต
สด 311 การเลา่ เรือ่ งผ่านส่ือสารคดี 3 (2–2–5)
DC 311 Storytelling and Documentary
สด 312 การถา่ ยภาพแบบมืออาชีพในยุคดิจทิ ัล 3 (2–2–5)
DC 312 Professional Photography in Digital Era
สด 313 การแสดงและกำกับการแสดง 3 (2–2–5)
DC 313 Acting and Directing
มคอ. 2 34
สด 314 กราฟิกสารสนเทศเพือ่ การสือ่ สาร 3 (2–2–5)
DC 314 Infographic for Communications 3 (2–2–5)
สด 315 การผลติ ภาพยนตรด์ ิจทิ ลั 3 (2–2–5)
DC 315 Films Production 3 (2–2–5)
สด 316 การผลิตนติ ยสารดิจทิ ัล 3 (2–2–5)
DC 316 Digital Magazine Production 3 (2–2–5)
สด 317 การเขียนบทรายการวทิ ยุโทรทศั นแ์ ละภาพยนตร์
DC 317 Television and Film Script Writing
สด 318 การออกแบบประสบการณ์การสื่อสาร
DC 318 User Experience Design
สด 319 หัวข้อสนใจด้านการสื่อสารดจิ ิทัล
DC 319 Selected Topics in Digital Communications
3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ
ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าอ่นื ๆ ทเ่ี ปดิ สอนในมหาวิทยาลยั ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ
มคอ. 2 35
เกณฑก์ ารกำหนดรหัสวิชาหลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต
สาขาวชิ าการสื่อสารดจิ ทิ ลั
สด หมายถงึ รหัสชอ่ื ยอ่ ภาษาไทยของสาขาวชิ าการสอ่ื สารดิจทิ ัล
DC หมายถงึ รหสั ชอื่ ย่อภาษาอังกฤษของสาขาวชิ า Digital Communications
ความหมายของเลขรหสั รายวิชา
1. เลขตัวแรก (หลักร้อย) แสดงถึง ระดับของรายวชิ าของช้นั ปที ่ีควรศึกษา
“1” แสดงถึง รายวิชาในระดบั ปีท่ี 1
“2” แสดงถงึ รายวชิ าในระดบั ปีท่ี 2
“3” แสดงถึง รายวิชาในระดบั ปีที่ 3
“4” แสดงถงึ รายวชิ าในระดับปที ่ี 4
2. เลขตัวกลาง (หลกั สิบ) แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวชิ า/กลมุ่ วชิ าในสาขาวชิ า
“0” แสดงถงึ รายวิชาในกลุ่มที่เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางด้านการส่ือสาร
ดิจิทัล
“1” แสดงถงึ รายวชิ าในกลมุ่ วิชาเฉพาะทางด้านการสือ่ สารดจิ ิทัล
“8” แสดงถงึ รายวิชาในกลุ่มวิชาทเี่ กี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงาน
ทางดา้ นการสอ่ื สารดจิ ทิ ัล
“9” แสดงถงึ รายวชิ าในกลุ่มวชิ าสหกิจศึกษา การเรยี นรอู้ สิ ระ การศึกษา
หรือ ฝกึ งาน หรือ ฝกึ อบรมตา่ งประเทศ
3. เลขตวั ทา้ ย (หลักหน่วย) แสดงถงึ อนุกรมในหมวดหมู่ของสาขาวิชา
มคอ. 2 36
3.1.4.1 แผนการศึกษานกั ศึกษาปริญญาตรี 4 ปี
ปที ี่ 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1
รหัสวชิ า ชือ่ วิชา หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย
ตนเอง
........... หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์
วชิ าท่ี 1 3 ...... ...... ......
ศท 031 การใชภ้ าษาไทย 3 22 5
ศท 141 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน 1 3 22 5
สด 101 หลกั การสอื่ สารดจิ ทิ ลั 3 22 5
สด 102 ความเขา้ ใจสี่อดิจิทลั 3 22 5
สด 103 ทัศนศลิ ป์เพอ่ื การสื่อสารดจิ ิทัล 3 22 5
18 ...... ...... ......
รวม
ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2
รหสั วชิ า ชือ่ วิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาด้วย
ตนเอง
........... หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 3
วชิ าท่ี 2 ...... ...... ......
3
........... หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ ...... ...... ......
วชิ าท่ี 1 3
3 30 6
ผษ 101 เกษตรเพ่ือชวี ิต 3 22 5
ศท 142 ภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน 2 3 22 5
สด 104 การเขยี นเพ่ือการส่อื สาร 3 22 5
สด 105 การพฒั นาระบบคิด 21 22 5
สด 181 การผลิตสื่อผสม 1 ...... ...... ......
รวม
มคอ. 2 37
ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1
รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาด้วย
ตนเอง
........... หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ 3
วิชาท่ี 2 ...... ...... ......
3
........... หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ...... ...... ......
และคณิตศาสตร์ วิชาท่ี 1 3
3 22 5
ศท 245 ภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ 1 3 22 5
สด 201 การถา่ ยภาพดจิ ิทลั เพ่ือการสื่อสาร 3 22 5
สด 281 การผลติ สื่อผสม 2 3 22 5
สด 282 การออกแบบกราฟกิ 22 5
สด 283 การสร้างแบรนด์ การโฆษณา และการตลาด 21
...... ...... ......
ดิจทิ ัล
รวม
ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ย
ตนเอง
3
ศท 343 สนทนาภาษาอังกฤษ หรอื
3
ศท 348 ภาษาอังกฤษเพื่อการศกึ ษาต่อและการ 3 22 5
ประกอบอาชีพ 3
3
สด 202 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางการสื่อสารดิจทิ ัล 3 22 5
18 22 5
สด 203 การพดู และการพฒั นาบุคลกิ ภาพสำหรบั การ
สื่อสาร
สด 284 การสรา้ งภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ 22 5
22 5
สด 285 การออกแบบเว็บไซต์ ...... ...... ......
...... ...... ......
....... วชิ าเอกเลอื ก วชิ าท่ี 1
รวม
มคอ. 2 38
ปที ่ี 3 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1
รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ย
ตนเอง
สด 301 วฒั นธรรมสือ่ ดิจทิ ลั กบั สงั คม
สด 381 การผลติ สอื่ ผสม 3 3 22 5
สด 382 การวิจัยทางการสื่อสารดิจทิ ัล 3 22 5
สด 383 นวัตกรรมสอ่ื ดจิ ิทัล 3 22 5
สด 384 เทคนิคพิเศษในงานโทรทัศน์ 3 22 5
วชิ าเอกเลือก วิชาที่ 2 3 22 5
..... วชิ าเลือกเสรี วิชาที่ 1 3 ...... ...... ......
..... 3 ...... ...... ......
รวม 21 ...... ...... ......
ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2
รหสั วชิ า ชือ่ วิชา หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย
ตนเอง
สด 385 ความเชยี่ วชาญทางสือ่ ดิจทิ ลั
สด 386 การจดั การองค์กรทางการสือ่ สารดิจทิ ัล 3 22 5
สด 387 การส่อื สารดจิ ิทัลเพ่ือการเกษตร 3 22 5
สด 388 การนำเสนอผ่านสื่อดิจทิ ัล 3 22 5
สด 389 การสร้างสรรคง์ านด้านการสื่อสารดจิ ทิ ลั 1 3 22 5
3 22 5
...... วชิ าเอกเลอื ก วชิ าท่ี 3 3 ...... ...... ......
รวม 18 ...... ...... ......
มคอ. 2 39
ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1
รหัสวิชา ชือ่ วิชา หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย
ตนเอง
สด 481 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการสื่อสารดิจิทัล 2
สด 482 นิทรรศการร่วมสมยั 3 22 5
วิชาเลอื กเสรี วชิ าท่ี 2 3 22 5
..... 3 ...... ...... ......
รวม 9 ...... ...... ......
ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาท่ี 2
รหัสวิชา ช่ือรายวชิ า หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
สด 497 สหกจิ ศึกษา หรือ 9 - ไม่น้อย -
สด 498 การเรยี นรู้อิสระ หรือ 9 - กว่า 16 -
สด 499 การศึกษา หรอื ฝึกงาน หรือ 9 - สปั ดาห์ -
ฝึกอบรมต่างประเทศ
รวม 9 ปฏบิ ตั ิไมน่ อ้ ยกว่า 16 สปั ดาห์
หมายเหตุ : ช้นั ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1 และภาคการศึกษาท่ี 2 สามารถปรบั เปล่ียนสลบั กนั ได้ตาม
ความเหมาะสม / ตามความเหน็ ชอบของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สูตร
มคอ. 2 40
3.1.4.2 หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสอ่ื สารดิจิทลั
ประเภทเทียบเขา้ เรยี นกบั สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2561
1 จำนวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร 81 หนว่ ยกิต
2 โครงสรา้ งหลกั สตู ร
3.หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 15 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
- กลมุ่ วชิ าภาษา 6 หนว่ ยกิต
- กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ หรอื 3 หนว่ ยกิต
กลมุ่ อ่นื ๆ
60 หนว่ ยกิต
4.หมวดวชิ าเฉพาะ 15 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วิชาแกน 39 หน่วยกิต
- กลุ่มวชิ าเอกบังคับ 6 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วชิ าเอกเลอื ก
6 หน่วยกติ
5.หมวดวชิ าเลอื กเสรี
3.1.3 รายวิชาและจำนวนหน่วยกิต
1) หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 15 หน่วยกิต
หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง)
หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 15 หนว่ ยกติ
- กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
เลือก 1 รายวชิ าจากรายวิชาต่อไปน้ี
ศท 021 สังคมศาสตรใ์ นชีวิตประจำวัน 3 (3–0–6)
GE 021 Social Sciences in Everyday Life 3 (3–0–6)
ศท 022 อารยธรรมโลก
GE 022 World Civilization
ศท 104 มนษุ ย์และสิ่งแวดลอ้ ม 3 (3–0–6)
GE 104 Man and Environment
มคอ. 2 41
ศท 302 สังคมและวฒั นธรรมไทย 3 (3–0–6)
GE 302
กช 321 Thai Society and Culture
CM 321 เศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาทย่ี ั่งยนื 3 (2–2–5)
ศศ 101 หนว่ ยกิต (บรรยาย-
EC 101 ปฏิบัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
ศท 011 Sufficiency Economy and Sustainable Development
GE 011
ศท 012 เศรษฐศาสตร์เพอ่ื ชีวิตประจำวันและการ 3 (3–0–6)
GE 012
ศท 013 ประกอบการ
GE 013
ศท 180 Economics in Daily Life and
GE 180
Operations
ศท 304
GE 304 กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต
ศท 305 เลือก 1 รายวชิ าจากรายวิชาต่อไปนี้
GE 305
มนุษยก์ ับความงามทางศลิ ปะ 3 (3–0–6)
ศท 031 Man and Arts Appreciation 3 (3–0–6)
GE 031 จิตวิทยากับพฤติกรรมมนษุ ย์ 3 (2–2–5)
ศท 245 Psychology and Human Behavior 3 (1–4–4)
GE 245 สุขภาพเพื่อการดำรงชีวิต 3 (2–2–5)
Health for life 3 (3–0–6)
ศิลปะกบั ความคิดสรา้ งสรรค์
Art and Creative Thinking
ศาสตร์และศลิ ป์แห่งปญั ญาชน
Liberal Arts of Intellectuals
ประวัตศิ าสตร์และพฒั นาการของลา้ นนา
History and Development of Lanna
กลมุ่ วิชาภาษา 6 หน่วยกติ
เลอื ก 2 รายวิชาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 3 (2–2–5)
การใชภ้ าษาไทย
Thai Language Usage 3 (2–2–5)
ภาษาอังกฤษเชิงสังคมศาสตร์ 1
English for Social Science 1
มคอ. 2 42
ผษ 101 กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
AP 101 เลอื ก 1 รายวชิ าจากรายวิชาต่อไปนี้ 3 (3–0–6)
วท 101 3 (2–2–5)
C 101 เกษตรเพ่อื ชีวิต 3 (2–2–5)
วท 102 Agriculture for Life
SC 102 วิทยาศาสตร์เพ่ือชวี ติ 3 (2–2–5)
ศท 014
GE014 Science for Life 3 (3–0–6)
วอ 101 3 (3–0–6)
EI 101 การพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 (3–0–6)
วอ 102
EI 102 Development of Science and
พง 100 Technology
RE 100 การสืบคน้ สารนิเทศเพื่อการศึกษา
Information Searching for Academic
Study
วิศวกรรมเบอ้ื งต้นในชีวิตประจำวัน
Basic Engineering in Daily Life
นานาสาระเกี่ยวกับอาหารและยา
General Aspects of Food and Drug
พลงั งานสำหรบั ชีวติ ประจำวัน
Energy for Daily Life
มคอ. 2 43
2) หมวดวิชาเฉพาะ 60 หนว่ ยกติ
กลุ่มวิชาแกน 15 หน่วยกิต
สด 101 หลกั การส่ือสารดจิ ทิ ัล 3 (2–2–5)
DC 101 Principle of Digital Communications
สด 102 ความเข้าใจส่ีอดจิ ทิ ัล 3 (2–2–5)
3 (2–2–5)
DC 102 Understanding in Digital Media 3 (2–2–5)
สด 202 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางการสือ่ สารดจิ ิทัล
3 (2–2–5)
DC2 02 Digital Communications Ethics and Law
สด 301 วฒั นธรรมสอ่ื ดจิ ทิ ลั กับสงั คม
DC3 01 Digital Media Culture and Society
ใหเ้ ลือกรายวชิ าต่อไปนี้ เพียง 1 รายวิชา จำนวน 3 หน่วยกิต
ศท 343 สนทนาภาษาองั กฤษ หรือ
GE 343 English Conversation for the Workplace
ศท 348 ภาษาอังกฤษเพ่ือการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ 3 (2–2–5)
GE 348 English for Further Studies and Careers
กลมุ่ วิชาเอกบังคบั 39 หนว่ ยกิต
สด 281 การผลิตสอ่ื ผสม 2 3 (2–2–5)
DC 281 Multimedia Production 2 3 (2–2–5)
สด 283 การสร้างแบรนด์ การโฆษณา และการตลาดดิจทิ ัล
3 (2–2–5)
DC 283 Branding, Advertising ,and Digital Marketing
สด 381 การผลิตสือ่ ผสม 3
DC 381 Multimedia Production 3
มคอ. 2 44
สด 384 เทคนิคพเิ ศษในงานโทรทัศน์ 3 (2–2–5)
3 (2–2–5)
DC 384 Special Effects for Television 3 (2–2–5)
สด 385 ความเชีย่ วชาญทางสอื่ ดจิ ิทัล 3 (2–2–5)
3 (2–2–5)
DC 385 Digital Fluency 3 (2–2–5)
สด 387 การสอื่ สารดิจทิ ัลเพอ่ื การเกษตร 3 (2–2–5)
DC 387 Digital Communications for Agriculture
สด 388 การนำเสนอผา่ นส่ือดิจทิ ัล
DC 388 Digital Presentation
สด 389 การสรา้ งสรรคง์ านดา้ นการส่ือสารดิจทิ ลั 1
DC 389 Digital Communications Product Creation 1
สด 481 การสร้างสรรคง์ านด้านการสื่อสารดจิ ทิ ลั 2
DC 481 Digital Communications Product Creation 2
สด 482 นิทรรศการร่วมสมยั
DC 482 Contemporary Exhibition
ใหเ้ ลือกรายวิชาต่อไปนี้ เพยี ง 1 รายวชิ า จำนวน 9 หน่วยกติ
สด497 สหกจิ ศกึ ษา หรอื 9 (ปฏบิ ัติไมน่ ้อยกวา่
DC497 Co-Operative Education 16 สัปดาห์)
สด498 การเรียนรอู้ สิ ระ หรือ 9 (ปฏิบตั ไิ ม่น้อยกวา่
DC498 Independent Study 16 สัปดาห)์
สด499 การศกึ ษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมตา่ งประเทศ 9 (ปฏิบัติไม่น้อยกวา่
DC499 Overseas Study, Training or Internship 16 สปั ดาห)์
มคอ. 2 45
-กลุ่มวิชาเอกเลือก 6 หน่วยกติ
ให้นกั ศกึ ษาเลือกรายวชิ าดงั ต่อไปน้ี และ/หรอื รายวิชาทห่ี ลักสูตรเปิดสอนในอนาคต ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต
สด 311 การเล่าเร่ืองผ่านส่ือสารคดี 3 (2–2–5)
DC 311 Storytelling and Documentary
สด 312 การถา่ ยภาพแบบมืออาชพี ในยคุ ดิจิทลั 3 (2–2–5)
DC 312 Professional Photography in Digital Era
สด 313 การแสดงและกำกบั การแสดง 3 (2–2–5)
DC 313 Acting and Directing
สด 314 กราฟิกสารสนเทศเพอ่ื การสอ่ื สาร 3 (2–2–5)
DC 314 Infographic for Communications
สด 315 การผลติ ภาพยนตร์ดจิ ิทัล 3 (2–2–5)
DC 315 Films Production
สด 316 การผลิตนิตยสารดจิ ิทัล 3 (2–2–5)
DC 316 Digital Magazine Production
สด 317 การเขยี นบทรายการวทิ ยุโทรทัศน์และภาพยนตร์ 3 (2–2–5)
DC 317 Television and Film Script Writing
มคอ. 2 46
สด 318 การออกแบบประสบการณ์การสื่อสาร 3 (2–2–5)
DC 318 User Experience Design
สด 319 หัวข้อสนใจด้านการส่อื สารดจิ ิทลั 3 (2–2–5)
DC 319 Selected Topics in Digital Communications
3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนว่ ยกติ
ใหเ้ ลือกเรยี นรายวิชาอื่น ๆ ท่เี ปดิ สอนในมหาวิทยาลยั ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกิต
แผนการศกึ ษา (หลักสตู ร 2 ป)ี เทียบกับ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวม 81 หน่วยกติ
ช้นั ปที ่ี 3 / ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
ผษ 101 เกษตรเพอ่ื ชวี ติ 3 30 6
ศท 245 ศึกษาทั่วไป 2 ภาษาอังกฤษเชิง 3 22 5
สงั คมศาสตร์ 1
สด 281 การผลติ ส่อื ผสม 2 3 22 5
สด 301 วัฒนธรรมสือ่ ดิจทิ ลั กับสงั คม 3 22 5
สด 384 เทคนคิ พิเศษในงานโทรทัศน์ 3 22 5
สด 314 กราฟิกสารสนเทศ (วชิ าเอกเลือกตัวท่ี 1) 3 22 5
วชิ าเลอื กเสรี ตัวที่ 1 3
รวม 21 - - -
มคอ. 2 47
ชน้ั ปที ี่ 3 /ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วยตนเอง
ศท 022 อารยธรรมโลก
ศท 304 ศาสตร์และศลิ ป์แหง่ ปญั ญาชน 3 22 5
สด 385 ความเชี่ยวชาญทางส่อื ดิจทิ ลั
สด 387 การสื่อสารดิจทิ ลั เพ่อื การเกษตร 3 22 5
สด 388 การนำเสนอผ่านสื่อดจิ ทิ ัล
สด 389 การสร้างสรรค์งานดา้ นการส่ือสาร 3 22 5
ดจิ ทิ ัล (โปรเจคจบ 1) 3 22 5
สด 311 การเล่าเรือ่ งผ่านสื่อสารคดี
3 22 5
(วิชาเอกเลือกตวั ที่ 2)
รวม 3 22 5
3 22 5
21 14 14 35
ชน้ั ปีท่ี 4 / ภาคการศึกษาที่ 3 (ฤดูร้อน) หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วยตนเอง
สด 101 หลักการสื่อสารดจิ ทิ ัล 3 22 5
สด 102 ความเขา้ ใจสี่อดิจิทัล 3 22 5
สด 481 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นการสื่อสาร 3 22 5
ดิจิทลั (โปรเจคจบ2)
รวม 9
มคอ. 2 48
ชั้นปที ่ี 4 / ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาด้วยตนเอง
วิชาแกน Eng
ศท / 343 สนทนาภาษาองั กฤษ หรอื 3 22 5
ศท 348 ภาษาอังกฤษเพ่ือการศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชีพ
สด 283 การสร้างแบรนด์ การโฆษณา และ 3 22 5
การตลาดดจิ ิทัล
สด 381 การผลิตส่อื ผสม 3 3 22 5
สด 482 นิทรรศการรว่ มสมยั 3 22 5
รวม 12 12 12 30
ช้ันปที ี่ 4 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาด้วยตนเอง
ศท 031 ศึกษาทว่ั ไป1 การใช้ภาษาไทย 3 14 4
สด 202 กฎหมายและจริยธรรมทางการสอื่ สาร 3 22 5
ดิจทิ ลั
วิชาเลือกเสรี ตวั ที่ 2 3
รวม 9 -- -
ช้นั ปที ี่ 4 / ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วยตนเอง
สด 497 สหกิจศกึ ษา หรอื 9
9 --
สด 498 การเรียนรูอ้ สิ ระ หรือ 9
- ไม่นอ้ ย -
สด 499 การศึกษา หรอื ฝึกงาน หรอื ฝกึ อบรม 9 กวา่ 16
ต่างประเทศ
รวม - สัปดาห์ -
ปฏิบตั ไิ มน่ ้อยกวา่ 16 สปั ดาห์
มคอ. 2 49
หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทลั
ประเภทเทียบเขา้ เรยี น เทียบกบั ปวส. สาขาทไี่ มเ่ กยี่ วข้องกับการสือ่ สารดิจิทลั
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561
1 จำนวนหนว่ ยกิต รวมตลอดหลักสูตร 93 หนว่ ยกิต
2 โครงสร้างหลักสูตร
3.หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป 15 หน่วยกิต
- กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
- กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 หน่วยกติ
- กลมุ่ วชิ าภาษา 6 หนว่ ยกิต
- กลุม่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ หรือ 3 หน่วยกติ
กลมุ่ อ่นื ๆ
4.หมวดวิชาเฉพาะ 72 หน่วยกิต
- กลุ่มวชิ าแกน 18 หนว่ ยกิต
- กลุ่มวชิ าเอกบงั คับ 48 หนว่ ยกิต
- กลมุ่ วชิ าเอกเลือก 6 หนว่ ยกิต
. 5หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ
3.1.3 รายวิชาและจำนวนหนว่ ยกิต 15 หน่วยกติ
1) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
- กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ 15 หน่วยกติ
3 หน่วยกติ
เลอื ก 1 รายวิชาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้
ศท 021 สงั คมศาสตร์ในชีวิตประจำวนั 3 (3–0–6)
GE 021 Social Sciences in Everyday Life
ศท 022 อารยธรรมโลก 3 (3–0–6)
GE 022 World Civilization
มคอ. 2 50
3 (3–0–6)
ศท 104 มนุษย์และสิง่ แวดล้อม 3 (3–0–6)
GE 104 Man and Environment 3 (2–2–5)
ศท 302 สงั คมและวฒั นธรรมไทย 3 (3–0–6)
GE 302 Thai Society and Culture
กช 321 เศรษฐกจิ พอเพยี งและการพัฒนาท่ยี ่ังยืน 3 หน่วยกติ
CM 321 Sufficiency Economy and Sustainable Development
ศศ 101 เศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื ชวี ิตประจำวนั และการประกอบการ 3 (3–0–6)
EC 101 Economics in Daily Life and Operations 3 (3–0–6)
3 (2–2–5)
กลุม่ วิชามนษุ ยศาสตร์ 3 (1–4–4)
3 (2–2–5)
เลอื ก 1 รายวิชาจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 3 (3–0–6)
ศท 011 มนษุ ย์กับความงามทางศิลปะ 6 หนว่ ยกติ
GE 011 Man and Arts Appreciation 3 (2–2–5)
ศท 012 จติ วิทยากบั พฤตกิ รรมมนุษย์ 3 (2–2–5)
GE 012 Psychology and Human Behavior
ศท 013 สุขภาพเพ่ือการดำรงชวี ติ
GE 013 Health for life
ศท 180 ศลิ ปะกับความคิดสร้างสรรค์
GE 180 Art and Creative Thinking
ศท 304 ศาสตรแ์ ละศลิ ป์แหง่ ปัญญาชน
GE 304 Liberal Arts of Intellectuals
ศท 305 ประวัตศิ าสตร์และพัฒนาการของลา้ นนา
GE 305 History and Development of Lanna
กลุ่มวิชาภาษา
เลอื ก 2 รายวิชาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี
ศท 031 การใชภ้ าษาไทย
GE 031 Thai Language Usage
ศท 245 ภาษาองั กฤษเชิงสงั คมศาสตร์ 1
GE 245 English for Social Science 1