The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการสื่อสารดิจิทัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kring.thong, 2022-05-23 20:24:53

มคอ.2

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการสื่อสารดิจิทัล

Keywords: สื่อสารดิจิทัล

มคอ. 2 101

4.2 การพฒั นาผลการเรยี นรู้ในแต่ละดา้ น
1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม
1) มคี วามยดึ มน่ั ความดงี ามในทางวชิ าการดา้ นการสื่อสารดิจิทัล ซือ่ สัตย์สุจริต เสียสละ
และมนี ้ำใจช่วยเหลอื ผู้อ่ืน
2) มวี นิ ัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม
3) เคารพสทิ ธขิ องผู้อืน่ คำนงึ ถงึ ความเสมอภาค รวมถึงระเบยี บและกฎเกณฑ์ในสังคม

1.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใช้พัฒนาการเรยี นรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคม และแสดงถึงการมีเมตตา
กรุณา และความเสียสละ
2) ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาและการส่งงาน
ภายในเวลาท่ีกำหนด
3) สอดแทรกเร่ืองความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมในระหว่างการจัดการเรียนการสอน
โดยยกตัวอยา่ งจากสถานการณจ์ รงิ บทบาทสมมติ หรอื กรณีตัวอย่าง
4) ปลูกฝังให้นักศึกษาแต่งกายและปฏิบัติตนให้เหมาะสม ถูกต้องตามตามระเบียบของ
มหาวทิ ยาลัย
5) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จรยิ ธรรมในระหว่างการจัดการเรียนการสอน โดยยกตัวอย่าง
จากสถานการณ์จรงิ บทบาทสมมตหิ รือ กรณตี ัวอยา่ ง
6) เชิญวิทยากรผู้มีประสบการณ์หรือผู้นำทางศาสนาต่างๆบรรยายพิเศษเกี่ยวกับจรยิ ธรรม
คณุ ธรรมที่ศาสนิกชนพึงปฏบิ ัติ
7) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีหน่วยงานภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัยจัด
8) จัดกิจกรรมยกย่องนักศึกษาท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม ทำประโยชน์ต่อสังคมและกิจกรรม
ส่งเสริมการปลูกฝงั จติ วิญญาณในการถอื ประโยชนส์ ังคมเป็นทต่ี งั้
9) การประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีของอาจารย์ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้านคุณธรรม จริยธรรม
1) ประเมนิ จากพฤตกิ รรมของผู้เรยี นระหวา่ งร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอน
2) ประเมนิ จากงานท่ีได้รบั มอบหมายให้ทำไมว่ ่าจะเป็นงานเดี่ยวหรอื งานกลุ่ม
3) ประเมินจากบคุ คลภายนอกที่มีส่วนเกย่ี วขอ้ งกับกจิ กรรมของนกั ศึกษาโดยใชแ้ บบสำรวจ
หรอื การสมั ภาษณ์
4) ประเมินจากการให้คะแนนการเขา้ ห้องเรียนและการส่งงานตรงเวลา

มคอ. 2 102

5) ประเมินจากจากผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักศกึ ษา
6) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่าง

ต่อเนอ่ื ง
7) ประเมินจากแบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับคุณธรรมและ

จริยธรรม
8) ประเมนิ จากแบบทดสอบท่ีสร้างขึน้ เพอ่ื วัดประเด็นที่เกยี่ วข้อง
9) ประเมนิ จากจำนวนนกั ศึกษาท่ที ำการทจุ รติ ในการสอบ
10) ประเมินจากการสัมภาษณ์นักศึกษาในหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องกับการสอดแทรกคุณธรรมและ

จรยิ ธรรมขณะทีม่ ีการเรยี นการสอนของอาจารย์ และการประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี

2. ดา้ นความรู้
2.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้
1) มีความสามารถอธิบายหลักการและทฤษฏที ่สี ำคัญในเนื้อหาวชิ าท่ีศึกษา
2) มีความสามารถในการบรู ณาการเน้ือหาในสาขาวิชาชีพและสาขาวชิ าทเ่ี ก่ียวข้อง
3) มีความสามารถประเมินคา่ โดยอาศยั ข้อเท็จจริงในการตดั สินใจ
2.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ชพ้ ฒั นาการเรียนรูด้ า้ นความรู้
1) การสอนหลากหลายรูปแบบภายในชั้นเรียน เช่น การบรรยาย สถานการณ์จำลอง
บทบาทสมมติ เป็นต้น และการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการแสดงความคิดเห็นและ
ซักถามข้อสงสัย
2) การค้นคว้าและทำรายงานท้ังเดี่ยวและกลุ่มตามหัวข้อท่ีเป็นปัจจุบันและผู้เรียนมีความ
สนใจ
3) การอภิปรายเป็นกลุ่มโดยนำเน้ือหาที่เรียนมาประสมประสานกับเน้ือหาวิชาอ่ืนที่
เกี่ยวข้อง
4) การเรียนร้จู ากสถานการณ์จริงโดยการศกึ ษานอกสถานท่ี
5) การเชิญผมู้ ีประสบการณม์ าบรรยายและทำรายงานสรุปประเดน็ ความร้ทู ี่ไดร้ บั
6) การจดั ศูนยก์ ารเรียนรดู้ ้วยตนเองเพ่ือเสริมการเรยี นรู้
7) จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์และวิพากษ์ ท้ังในระดับ
บคุ คลและกลุ่ม
2.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นความรู้
1) ทดสอบหลักการและทฤษฎี โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2) ทดสอบโดยการสอบขอ้ เขียนกลางภาคและปลายภาค

มคอ. 2 103

3) ประเมินผลจากการทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและรายงานที่ให้ค้นคว้า
4) ประเมนิ จากกิจกรรมการเรยี นการสอนทจ่ี ดั ในห้องเรยี น
5) ประเมนิ จากรายงานผลการศึกษาดงู านนอกสถานท่ี
6) ประเมินดา้ นความร้จู ากกิจกรรมการเรียนการสอนทจี่ ัดให้ผู้เรยี นในห้องเรียน
7) ประเมินจากแบบประเมินความรู้ท่ีจัดเตรียมไว้สำหรับนักศึกษาที่เข้าใช้บริการศูนย์การ

เรียนรู้
3. ดา้ นทักษะทางปญั ญา

3.1 ผลการเรียนรูด้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา
1) มีความสามารถเชงิ คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ อยา่ งเป็นระบบ
2) มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ไปบูรณาการกับศาสตร์อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อ
แก้ไขปญั หาได้
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม/องคค์ วามร้ใู หม่ได้

3.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรูด้ ้านทกั ษะทางปญั ญา
1) มอบหมายงานที่พัฒนาผู้เรียนให้มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์และวิพากษ์ได้ โดยใช้
รูปแบบการสอนทหี่ ลายหลาก
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสประยุกต์ความรู้ในการแก้ไขปัญหา เช่น
การเรียนรู้แบบแก้ไขปัญหา (Problem-Based Learning) หรือ การจัดทำโครงการ
(Project Based Learning)
3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสบูรณาการความรู้กับศาสตร์อ่ืน ๆ ได้
เช่น การฝึกปฏิบัติงานจริง การทำกรณีศึกษา การอภิปรายกลุ่ม การเรียนรู้แบบมี
สว่ นรว่ ม การเรยี นรจู้ ากสถานการณจ์ ริง เป็นต้น
4) มอบหมายให้ผู้เรียนทำรายงานค้นคว้าข้อมูลในสาขาวิชาและศาสตร์อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง
นำมาบรู ณาการ เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่
5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ (Research-
Based Learning)

3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนร้ดู ้านทักษะทางปญั ญา
1) ประเมนิ จากการทดสอบทั้งการสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
2) ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายท้ังงานกลุ่มและงานเดี่ยว เช่น โครงการหรืองานวิจัย
ที่มอบหมาย
3) ประเมินจากพฤติกรรมของผู้เรยี นระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
4) ประเมนิ ผลจากกิจกรรมการเรียนการสอนทจ่ี ัดในห้องเรยี น

มคอ. 2 104

4. ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวบคุ คลและความรับผดิ ชอบ
1) มีจิตสำนกึ ตอ่ ภาระหน้าท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย
2) มคี วามสามารถในการปรับตัวในการทำงานรว่ มกับผอู้ ืน่
3) มีภาวะการเป็นผู้นำ ช่วยเหลือผู้อื่นและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพฒั นาการเรยี นรูด้ ้านทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานท่ีต้องมีปฎิสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล เช่น การระดมความคิดเห็น การอภิปราย หรือการสัมมนาเกี่ยวกับ
ประเดน็ ที่นักศึกษาสนใจ
2) สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและองค์การ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจ
วฒั นธรรมขององค์การ การปรับตัวเข้ากับสภาวะแวดล้อม การยอมรบั ผู้อืน่ เป็นต้น
3) กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้นักศึกษาหมุนเวียนกันเป็นผู้นำกลุ่ม สมาชิกกลุ่มและ
ผู้รายงานผล
4) ปลูกฝงั ใหม้ ีความรบั ผิดชอบต่อหน้าทที่ ไี่ ดร้ ับในงานกลุ่ม
5) เปิดโอกาสให้นกั ศึกษาทกุ คนได้เสนอความคิดเหน็ โดยการจดั อภปิ รายและเสวนางานท่ี
ได้รบั มอบหมายให้ค้นคว้า
6) ส่งเสรมิ ให้นกั ศกึ ษารู้จักเคารพสทิ ธิและรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ
1) ประเมินจากการสงั เกตพฤตกิ รรมและการแสดงออกของผู้เรียนขณะทำกจิ กรรมกลุ่มและ
งานทีต่ ้องมปี ฎิสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล
2) ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ผู้สอนในการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำและผู้
ตามในสถานการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมภาวการณ์
เปน็ ผู้นำและผตู้ ามทดี่ ี
3) ประเมินจากผลงานของกลมุ่ และผลงานของผเู้ รยี นในกลุ่มท่ีได้รบั มอบหมายให้ทำงาน
4) ประเมินจากการรายงานหน้าช้ันเรียนโดยอาจารย์ผสู้ อน และนักศกึ ษา
5) ประเมินผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกจิ กรรมกลุ่ม
6) ติดตามการทำงานกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ โดยการสัมภาษณ์และบันทึกพฤติกรรม
เป็นรายบคุ คล

มคอ. 2 105

7) สังเกตพฤติกรรมจากการระดมความคิดเห็น การอภิปรายหรือการสัมมนาและบันทึกผล
การประเมิน

5. ดา้ นทักษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1) มคี วามสามารถเลอื กใช้ทกั ษะทางภาษาและรปู แบบการสือ่ สารทเี่ หมาะสม

2) มคี วามสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมขอ้ มูล ติดต่อสื่อสาร จัดการและ

นำเสนอขอ้ มูลได้

3) มีความสามารถนำเทคนิคทางสถิติ และทางคณิตศาสตร์พื้นฐานมาใช้ในการศึกษา

ค้นคว้า วเิ คราะห์และนำเสนอประเดน็ ต่างๆได้

5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
1) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นการฝึกทักษะภาษาเพื่อการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
และ การเขียน
2) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้คน้ ควา้ หาความรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอื่ สาร ท่ีหลากหลายรปู แบบและวิธีการ
4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้นักศึกษามีโอกาสค้นคว้า เรยี บเรยี งขอ้ มลู พร้อมการ
อา้ งอิงแหล่งที่มาของข้อมูล และสามารถนำเสนอให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างถูกต้อง และให้
ความสำคัญในการอ้างองิ แหลง่ ท่มี าของข้อมูล
5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการนำนำเทคนิค
ทางสถิติ และทางคณิตศาสตรพ์ ้นื ฐานมาประยุกต์ใช้
6) มอบหมายงานทต่ี ้องค้นคว้าหาข้อมูลเชิงตัวเลขและนำเสนองานท่ีต้องมกี ารตัดสินใจบน
ฐานข้อมลู และขอ้ มลู เชงิ ตัวเลข
7) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้า
ชน้ั

มคอ. 2 106

5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
1) ประเมนิ จากกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีจัดในห้องเรียน เขน่ การสังเกตพฤติกรรม การ
สอบยอ่ ย
2) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนทั้งรปู แบบการนำเสนอรายงานหน้าช้ันเรียนและรายงาน
ทเี่ ปน็ รูปเล่ม
3) ประเมินจากเทคนิคท่ีนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคนิคทางสถิติ และทาง
คณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน

มคอ. 2 107

4.3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรูส้ ู่รายวิชา (Curriculum
Mapping)

รายวิชา ดา้ นคุณธรรม ด้านความรู้ ทกั ษะทาง ทักษะ ทักษะ
และจรยิ ธรรม ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วเิ คราะห์เชงิ
หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 123 ระหวา่ งบคุ คล ตวั เลข การ
- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 123 123 และความ ส่ือสารและ
ศท 021 สังคมศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำวัน  รบั ผดิ ชอบ
ศท 022 อารยธรรมโลก    การใช้
ศท 104 มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดล้อม    123 เทคโนโลยี
ศท 302 สงั คมและวัฒนธรรมไทย    สารสนเทศ
กช 321 เศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาที่     123
ย่งั ยนื    
ศศ 101 เศรษฐศาสตรเ์ พื่อชีวิตประจำวัน  
และการประกอบการ     
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์   
ศท 011 มนษุ ย์กับความงามทางศลิ ปะ    
ศท 012 จิตวิทยากับพฤตกิ รรมมนษุ ย์    
ศท 013 สขุ ภาพเพอ่ื การดำรงชีวติ    
ศท 180 ศลิ ปะกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์    
ศท 304 ศาสตรแ์ ละศิลปแ์ หง่ ปญั ญาชน   
ศท 305 ประวตั ิศาสตรแ์ ละพัฒนาการของ   ○ 
ลา้ นนา   
- กลมุ่ วชิ าภาษา     
ศท 031 การใชภ้ าษาไทย    
ศท 141 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน 1   
ศท 142 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน 2    
ศท 245ภาษาองั กฤษเชงิ สงั คมศาสตร์1  
  






มคอ. 2 108

ดา้ นคณุ ธรรม ดา้ นความรู้ ทักษะทาง ทกั ษะ ทักษะ
และจรยิ ธรรม 123 ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ
ระหวา่ งบุคคล ตวั เลข การ
รายวชิ า 123 และความ สื่อสารและ
รับผิดชอบ
การใช้
123123 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
123

- กลุม่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์

ผษ 101 เกษตรเพ่อื ชีวติ      

วท 101 วิทยาศาสตรเ์ พอื่ ชวี ติ    

วท 102 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี       

ศท 014 การสบื ค้นสารนเิ ทศเพอ่ื การศึกษา      

วอ 101 วศิ วกรรมเบื้องต้นในชวี ติ ประจำวัน         

วอ 102 นานาสาระเกย่ี วกบั อาหารและยา      

พง 100 พลังงานสำหรบั ชีวติ ประจำวนั               

หมายเหตุ :  หมายถงึ ความรบั ผดิ ชอบหลัก  หมายถึง ความรบั ผิดชอบรอง

ด้านคณุ ธรรม ดา้ นความรู้ ทกั ษะทาง ทักษะ ทกั ษะ
และจรยิ ธรรม 123 ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วเิ คราะห์เชิง
ระหว่างบคุ คล ตัวเลข การ
รายวชิ า 123 และความ สอ่ื สารและ
รบั ผดิ ชอบ
หมวดวิชาเฉพาะ การใช้
- กลุ่มวชิ าแกน 123123 เทคโนโลยี
สด 101 หลักการสือ่ สารดิจทิ ลั สารสนเทศ
สด 102 ความเขา้ ใจสื่อดจิ ิทลั 123
สด 103 ทศั นศลิ ป์เพอ่ื การสือ่ สารดจิ ทิ ลั
สด 104 การเขยี นเพือ่ การสือ่ สาร  

 



 

มคอ. 2 109

รายวิชา ด้านคุณธรรม ดา้ นความรู้ ทกั ษะทาง ทกั ษะ ทักษะ
และจรยิ ธรรม ปญั ญา ความสมั พนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ
สด 105 การพัฒนาระบบคดิ 123 ระหว่างบคุ คล ตัวเลข การ
สด 201 การถา่ ยภาพดจิ ทิ ัลเพื่อการสือ่ สาร 123 123 และความ สอื่ สารและ
สด 202 กฎหมายและจริยธรรมทางการ  รับผิดชอบ
สื่อสารดิจทิ ัล    การใช้
สด 203 การพูดและการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ    123 เทคโนโลยี
สำหรับการส่อื สาร   สารสนเทศ
สด 301 วัฒนธรรมสอ่ื ดจิ ทิ ัลกบั สงั คม   123
ศท 343 สนทนาภาษาองั กฤษ    
ศท 348 ภาษาอังกฤษเพื่อการศกึ ษาต่อและ    
การประกอบอาชพี     
- กลมุ่ วิชาเอก  
สด 181 การผลติ สอ่ื ผสม 1   
สด 281 การผลติ สือ่ ผสม 2   
สด 282 การออกแบบกราฟกิ     
สด 283 การสร้างแบรนด์ การโฆษณา และ    
การตลาดดจิ ิทลั    
สด 284 การสร้างภาพเคลอ่ื นไหว 2 มิติ     
สด 285 การออกแบบเว็บไซต์   
สด 381 การผลติ สื่อผสม 3     
สด 382 การวจิ ยั ทางการสอื่ สารดจิ ทิ ัล    
สด 383 นวตั กรรมส่ือดจิ ิทลั     
สด 384 เทคนิคพิเศษในงานโทรทศั น์    
สด 385 ความเช่ียวชาญทางสื่อดจิ ิทัล     
สด 386 การจัดการองค์กรทางการส่ือสาร   
ดิจิทลั    
สด 387 การสื่อสารดิจิทลั เพอ่ื การเกษตร 
 
 
 
 
 

 

 



มคอ. 2 110

ดา้ นคณุ ธรรม ด้านความรู้ ทักษะทาง ทักษะ ทกั ษะ
และจรยิ ธรรม ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชิง
ระหวา่ งบคุ คล ตัวเลข การ
รายวิชา และความ ส่อื สารและ
รบั ผิดชอบ
การใช้
123123123123 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
สด 388 การนำเสนอผ่านส่ือดิจทิ ลั  123

สด 389 การสร้างสรรค์งานดา้ นการสอ่ื สาร  

ดิจทิ ลั 1 

สด 481 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการสื่อสาร  

ดจิ ิทลั 2 

สด 482 นิทรรศการร่วมสมัย  

สด 497 สหกจิ ศึกษา  

สด 498 การเรียนรอู้ ิสระ  

สด 499 การศกึ ษา หรอื ฝกึ งาน หรอื  
ฝึกอบรมต่างประเทศ

- กลุม่ วิชาเอกเลือก 

สด 311 การเล่าเรือ่ งผ่านส่อื สารคดี  

สด 312 การถ่ายภาพแบบมืออาชพี ในยคุ 
ดิจทิ ลั            

สด 313 การแสดงและกำกบั การแสดง 

สด 314 กราฟิกสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร            

สด 315 การผลติ ภาพยนตรด์ จิ ทิ ลั 

สด 316 การผลติ นิตยสารดจิ ิทลั 

สด 317 การเขียนบทรายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ 

และภาพยนตร์

สด 318 การออกแบบประสบการณก์ าร 
สื่อสาร

สด 319 หวั ข้อสนใจดา้ นการสอ่ื สารดิจิทลั            

หมายเหตุ :  หมายถงึ ความรับผดิ ชอบหลัก  หมายถึง ความรบั ผดิ ชอบรอง

มคอ. 2 111

ตารางที่ 4 แสดงผลการเรยี นรู้ระดับหลักสตู ร

Specific Generic Level
PLO Outcome Statement U, A
A,E
LO LO
A, E
1. สามารถอธิบายหลกั การสำคัญดา้ นการส่อื สารดจิ ิทัลและองคป์ ระกอบ 
ของส่ือดจิ ิทัลแต่ละประเภท  A,E

2. สามารถใช้แนวคิดและทักษะการคดิ ระดบั สงู ทงั้ การคิดเชิงระบบ คดิ  U, A
เชิงวเิ คราะหแ์ ละเชิงสรา้ งสรรค์ในการสรา้ งผลงานใหม้ ีคุณค่า มี
ประโยชน์หรอื เปน็ ส่งิ ใหม่ 

3. สามารถใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางเทคโนโลยีเพ่ือการออกแบบและสร้าง
สอื่ ดิจิทลั ตรงความต้องการกลุ่มเปา้ หมายหรือสามารถพัฒนาในเชงิ
พาณิชย์และเกษตร

4 สามารถวเิ คราะห์ วิพากษ์ ประเดน็ ดา้ นสอื่ โดยคำนงึ ถึงความ
หลากหลายทางวฒั นธรรมทงั้ ในและต่างประเทศ และสามารถ
ถ่ายทอดใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจได้อย่างถูกต้องตรงประเดน็ บนความรบั ผดิ ชอบ

5. สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ตามบทบาทหนา้ ทีท่ ี่ได้รบั มอบหมาย รับฟัง
และเคารพความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื และมจี ติ อาสา

Bloom’s Taxonomy
U=Remembering / Understanding, A=Applying/ Analyzing, E=Evaluating/Creating

ตารางที่ 5 แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งผลการเรยี นรู้กับหลกั สตู รกับความต้องการของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี

PLO รายละเอยี ด สถาน องคก์ รดา้ น ศษิ ย์เก่า

ประกอบการ สอ่ื

1. สามารถอธบิ ายหลกั การสำคัญด้านการสอื่ สารดิจิทัล P M P

และองค์ประกอบของสอ่ื ดจิ ิทัลแตล่ ะประเภท

2. สามารถใช้แนวคดิ และทักษะการคดิ ระดับสูงทัง้ การคิด F M F

เชิงระบบ คิดเชงิ วเิ คราะหแ์ ละเชิงสรา้ งสรรคใ์ นการ

สร้างผลงานให้มีคณุ ค่า มีประโยชนห์ รอื เป็นสิ่งใหม่

3. สามารถใชค้ วามร้แู ละทักษะทางเทคโนโลยีเพ่ือการ F M F

มคอ. 2 112

PLO รายละเอียด สถาน องคก์ รด้าน ศิษยเ์ กา่

ประกอบการ ส่อื M
F
ออกแบบและสรา้ งสอื่ ดิจิทัลตรงความต้องการ

กล่มุ เป้าหมายหรือสามารถพัฒนาในเชิงพาณิชย์และ

เกษตร

4. สามารถวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ ประเดน็ ด้านสือ่ โดยคำนึงถึง M F
F
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมทง้ั ในและต่างประเทศ

และสามารถถา่ ยทอดให้ผู้อ่นื เขา้ ใจได้อย่างถูกต้องตรง

ประเดน็ บนความรับผิดชอบ

5. สามารถทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื ตามบทบาทหน้าทท่ี ่ีได้รับ F

มอบหมาย รบั ฟังและเคารพความคดิ เหน็ ของผอู้ ื่น

และมจี ิตอาสา

F-Fully fulfilled M-Moderately fulfilled P-Partially fulfilled

ตารางท่ี 6 แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งรายวิชากับผลการเรยี นร้ทู ่ีสอดคล้องกบั หลักสูตรเฉพาะกลมุ่

วชิ าแกน กลุ่มวิชาเอกและกลุม่ วิชาเอกเลอื ก

รายวิชา/ผลการเรียนรู้ระดบั หลกั สูตร PLO1 PLO2 PLO3 PLO4 PLO5

กลมุ่ วิชาแกน

สด 101 หลกั การส่ือสารดจิ ทิ ลั U EU

สด 102 ความเขา้ ใจส่อื ดจิ ิทัล U U

สด 103 ทัศนศิลป์เพ่อื การส่ือสารดิจิทัล AAA

สด 104 การเขียนเพือ่ การสื่อสาร A AU

สด 105 การพัฒนาระบบคดิ UA EU

สด 201 การถา่ ยภาพดจิ ิทัลเพือ่ การสอ่ื สาร AA A

สด 202 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางการสือ่ สารดิจทิ ลั UA AA

สด 203 การพูดและการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพสำหรับการ E AU

สอ่ื สาร

สด 301 วฒั นธรรมส่อื ดิจิทลั กับสงั คม AA EA

กล่มุ วชิ าเอก

สด 181 การผลติ ส่ือผสม 1 U AAU

สด 281 การผลติ ส่ือผสม 2 UAAAU

มคอ. 2 113

รายวชิ า/ผลการเรียนรู้ระดบั หลกั สตู ร PLO1 PLO2 PLO3 PLO4 PLO5

สด 282 การออกแบบกราฟกิ AAA

สด 283 การสรา้ งแบรนด์ การโฆษณา และการตลาดดจิ ิทลั A A E A A

สด 284 การสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 2 มิติ AAA

สด 285 การออกแบบเว็บไซต์ AU

สด 381 การผลติ สอื่ ผสม 3 UEEEU

สด 382 การวจิ ัยทางการสอื่ สารดจิ ทิ ลั A A, E

สด 383 นวัตกรรมสือ่ ดจิ ทิ ลั UAE

สด 384 เทคนคิ พิเศษในงานโทรทัศน์ AAA

สด 385 ความเช่ยี วชาญทางส่ือดจิ ทิ ัล AA EA

สด 386 การจัดการองค์กรทางการสื่อสารดจิ ทิ ลั UEAEA

สด 387 การส่อื สารดจิ ิทลั เพ่อื การเกษตร AAA A

สด 388 การนำเสนอผ่านสื่อดิจิทลั U AAU

สด 389 การสรา้ งสรรค์งานดา้ นการส่ือสารดจิ ิทัล 1 U EA

สด 481 การสรา้ งสรรคง์ านด้านการสอื่ สารดจิ ิทลั 2 U EEA

สด 482 นทิ รรศการร่วมสมยั UEEAA

กลุ่มวชิ าเอกเลอื ก

สด 311 การเล่าเร่ืองผา่ นสอื่ สารคดี UAAAA

สด 312 การถา่ ยภาพแบบมืออาชพี ในยุคดิจทิ ลั EA A

สด 313 การแสดงและกำกับการแสดง UAAAA

สด 314 กราฟกิ สารสนเทศเพอ่ื การสอื่ สาร EAE

สด 315 การผลติ ภาพยนตรด์ ิจิทลั UAAAA

สด 316 การผลติ นติ ยสารดจิ ิทลั AA A

สด 317 การเขยี นบทรายการวิทยโุ ทรทศั น์และภาพยนตร์ U A A A A

สด 318 การออกแบบประสบการณ์การส่ือสาร AAAU

สด 319 หวั ข้อสนใจด้านการส่อื สารดิจทิ ลั EA A

Bloom’s Taxonomy

U=Remembering / Understanding, A=Applying/ Analyzing, E=Evaluating/Creating

มคอ. 2 114

ตารางที่ 7 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PLOs กบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 5 ดา้ นของ สกอ.

คณุ ธรรมและ ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสมั พนั ธ์ ทกั ษะวเิ คราะห์

PLO จรยิ ธรรม ระหวา่ งบคุ คลและ เชงิ เหตผุ ล การ

ความรับผิดชอบ สอ่ื สารและการใช้

เทคโนโลยี

สารสนเทศ

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3123

PLO1  

PLO2   

PLO3   

PLO4    

PLO5   

หมายเหตุ :  หมายถงึ ความรับผดิ ชอบหลัก  หมายถงึ ความรับผดิ ชอบรอง

ตารางท่ี 8 ความคาดหวังของผลลพั ธก์ ารเรยี นรูใ้ นแต่ละปกี ารศึกษา
ช้ันปีที่ รายละเอยี ด

1 นศ.สามารถอธิบายหลักการด้านการสื่อสารดิจิทัลและองค์ประกอบของสื่อดิจิทัลแต่ละ
ประเภท องคป์ ระกอบศิลป์ กระบวนการผลิตสื่อขนั้ พ้นื ฐาน การเล่าเรือ่ งและความรทู้ างการ
เกษตรพื้นฐาน มีทักษะพื้นฐานการคิดและการสื่อสารผ่านส่ือดิจิทัลทั้งการพูด อ่าน เขียน
การผลิตสือ่ ดิจทิ ัล และทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษพน้ื ฐาน และมีทัศนคตทิ ี่ดีตอ่ สอ่ื ดิจทิ ัลและ
การสรา้ งสรรค์ส่ือ

2 สามารถอธิบายกระบวนการผลิตส่ือดิจิทัลรูปแบบต่างๆมีความเข้าใจในกฎหมายทางการ
สื่อสารดิจิทัลและศัพท์ภาษาอังกฤษเฉพาะในโปรแกรมสำหรับการผลิตสื่อ สามารถ
ออกแบบและผลิตส่ือดิจิทัลท้ังกราฟิก ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว วิดีโอ การถ่ายภาพ และ
เว็บไซต์ ตามหลักการสร้างแบรนด์โฆษณาและการตลาด นำเสนอได้อย่างเหมาะสม และ
สามารถใชท้ ักษะภาษาอังกฤษในการส่ือสาร มีทัศนคติท่ีดีต่อการผลิตสอ่ื ดิจิทัลที่สร้างสรรค์
สงั คม

3 สามารถอธิบายข้ันตอนและกระบวนการวิจัย การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้งานเพื่อการ
ออกแบบและพัฒนาส่ือดิจทิ ัล เข้าใจโครงสร้างองค์กรและการบริหารจดั การองค์กรด้านส่อื
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะด้านการสื่อสารและการใช้โปรแกรมในการผลิตส่ือ
สร้างสรรค์ที่มีสุนทรียศาสตร์ สามารถผสมผสานสื่อและเทคนิคพิเศษเพ่ือนำเสนอบนดิจทิ ัล

มคอ. 2 115

ช้นั ปีท่ี รายละเอียด
แพลตฟอรม์ ให้ตรงกับกลุม่ เปา้ หมาย เขา้ ใจและยอมรับความหลากหลายทางวฒั นธรรมและ
การสรา้ งสรรคส์ ื่อเพอ่ื สงั คม

4 สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อสร้างสรรค์สื่อที่มีประสิทธิผลตาม
วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของงาน สู่การนำเสนอผลงานต่อกลุ่มเป้าหมายในวงกว้าง มี
ทกั ษะการทำงานเป็นทีม เคารพความคิดเห็นของผู้อ่ืน การออกแบบและการจดั นิทรรศการ
ผลงาน
เข้าใจกระบวนการและหลักการสำคัญของสหกิจศึกษาตั้งแต่การเตรียมความพร้อม
ในระหว่างการฝึกสหกิจ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การประยุกต์ใช้เนื้อหาวิชาการในงาน
วิชาชพี และการเขียนเอกสารรายงานโครงการ
มที ศั นคตทิ ี่ดตี ่อวิชาชพี และสร้างสรรค์งานท่มี ีคุณคา่ นศ.สามารถสร้างสรรค์สื่อและใช้
สื่อในการส่ือสารบนพ้ืนฐานของการมีคุณธรรมจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพด้านสื่อ
ดิจิทัลสามารถใช้กระบวนทัศน์และทักษะการคิดระดับสูง ในการสร้างสรรค์ผลงานให้มี
คุณค่า

มคอ. 2 116

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบยี บหรือหลกั เกณฑ์ ในการใหร้ ะดับคะแนน (เกรด)
ใช้หลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับ

ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2556 ข้อ 12 การวัดผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา โดยกำหนดความหมายดงั น้ี

อกั ษรระดับคะแนน ระดบั ผลการเรยี น แตม้ ระดบั คะแนน
A ดเี ยี่ยม 4.0
B+ ดีมาก 3.5
B ดี 3.0
C+ คอ่ นข้างดี 2.5
C ปานกลาง 2.0
D+ 1.5
D ค่อนข้างอ่อน 1.0
F อ่อน 0.0
ตก

นอกจากอักษรระดับคะแนนข้างต้นแล้ว ผู้สอนอาจใช้อักษรอ่ืน เพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดง ผล
การศึกษา โดยมคี วามหมายดงั นี้

อักษร ความหมาย
S ผลการศกึ ษาเป็นที่พอใจ หรือแสดงว่านกั ศึกษาสอบผา่ น
U ผลการศึกษาไมเ่ ป็นที่พอใจ หรอื แสดงวา่ นกั ศกึ ษาสอบไมผ่ ่าน
I ไม่สมบรู ณ์
V ลงทะเบียนในฐานะผ้เู ขา้ รว่ มฟงั โดยไม่มกี ารประเมินผลและมีเวลา
เรียนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 80
W ถอนรายวิชาภายในกำหนดเวลา
Op การเรียนการสอนยงั ไม่สิน้ สุดให้ใชเ้ ฉพาะบางรายวิชาที่หลักสูตร
กำหนด

มคอ. 2 117

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนักศกึ ษา
2.1 การทวนสอบระดบั รายวิชา
1) การทวนสอบการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล ดำเนินการทวน
สอบความถูกต้องเหมาะสมของแผนการสอน (มคอ.3) เพ่ือประเมินว่าผู้สอนแต่ละ
รายวิชาได้จัดการเรียนการสอนครอบคลุม และสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาของ
หลักสูตรหรือไม่ ความสอดคล้องของคำอธิบายรายวิชากับจุดมุ่งหมายของรายวิชา
ความสอดคล้องของหมวดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลการเรียนรู้ แผนการสอนและ
การประเมินผล
2) การวิเคราะห์ความสอดคล้องการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาและประสิทธิผล
ของวิธีสอนท่ีทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชาของเอกสาร
มคอ.5 เพ่ือประเมินวา่ ผู้สอนได้ดำเนินการสอนจริงและใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับ
ท่ีระบุในแผนการสอน และวิธีการสอนท่ีจะใช้พัฒนาการเรียนรู้ใน มคอ.3 หรือไม่
และการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการกระจายของระดับคะแนน ถ้าผิดสังเกต
เชน่ มี A หรือ F หรือ I มากเกินไป ให้บันทกึ และรายงานผลตอ่ คณะกรรมการประจำ
คณะ
3) คณะกรรมการประจำคณะจัดประชุมพิจารณาเกรด โดยบรรจุเรื่องการทวนสอบให้
เปน็ วาระพิจารณาการรายงานผลจาก ขอ้ 1 และ 2
4) คณะกรรมการประจำคณะ อาจพิจารณาให้อาจารย์ประจำรายวิชาทบทวนการให้
เกรด
2.2 การทวนสอบระดับหลกั สูตร
การทวนสอบในภาพรวมของการใช้หลักสูตร ซ่ึงจะทำตลอดการใช้หลักสูตรเป็นระยะ ๆ เพ่ือ

ตรวจสอบการบริหารและดำเนินการของหลักสูตร ว่าได้ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

และมาตรฐานผลการเรียนร้ขู องหลักสูตรท่วี างไว้หรอื ไม่ และรวบรวมข้อมูลเพ่ือนำไปใช้ในการรายงานผล

การใช้หลักสูตรเมื่อเสร็จสิ้นการใช้หลักสูตร สามารถทำได้โดยการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

เป็นระยะ ๆ เพ่ือรวบรวมข้อมูล ทบทวน ตรวจสอบผลการดำเนินการของหลักสูตร ควรเป็นการรวบรวม

ทุกปีการศึกษา และเมื่อครบเวลาการใช้หลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีการทวนสอบ

หลักสูตร โดยการประเมินและรวบรวมผลจากผู้มีส่วนรว่ มในการใช้หลักสูตร ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร

หลักสูตร ผู้สอน ผ้เู รียน บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต หรือผู้ทรงคุณวฒุ ิ โดยอาศัยเครอ่ื งมอื ในการเก็บข้อมูล เช่น

แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ หรอื การจดั ประชุมการประเมนิ ผลหลักสูตร ดังนี้

มคอ. 2 118

1) ติดตามผลการประเมินจากภาวะการไดง้ านทำของบัณฑิตที่ตรงกับสาขาวชิ าและความพึง
พอใจของบัณทติ ต่อการนำความรู้ท่ีได้รับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทำงาน

2) สำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถและการทำงานในสถาน
ประกอบการ

3) สำรวจความคิดเห็นจากสถาบันอื่นๆ ในด้านความรู้ ความพร้อมหรือคุณสมบัติอ่ืนที่
จำเป็นของบณั ฑติ ท่จี บการศึกษาแลว้ ไปศึกษาตอ่ ในระดับปริญญาทีส่ งู ขนึ้

2.3 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรขู้ ณะทน่ี ักศึกษายังไม่สำเรจ็ การศกึ ษา
1) แต่งต้ังคณะกรรมการทวนสอบ เพ่ือสมุ่ ตรวจสอบรายวชิ า รายงาน โครงงาน หรอื
งานอน่ื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
2) จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชาที่มีผูส้ อนรว่ มกันหลายคน
3) การประเมินผลแต่ละรายวิชาต้องผ่านท่ีประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรและ
คณะกรรมการประจำคณะก่อนการประกาศผล

2.4 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรหู้ ลงั จากนักศึกษาสำเรจ็ การศกึ ษา
1) ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นท่ีจบการศึกษา ในด้านของ
ระยะเวลาในการหางานทำ ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตใน
การประกอบการงานอาชีพ
2) การตรวจสอบจากผู้ประกอบการ โดยการขอเข้าสัมภาษณ์ หรือ การส่งแบบสอบถาม
เพ่ื อ ป ร ะ เมิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ใน บั ณ ฑิ ต ที่ ส ำ เร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ เข้ า ท ำ งา น ใน ส ถ า น
ประกอบการน้ัน ๆ ในคาบระยะเวลาต่างๆ เชน่ ปที ่ี 1 ปที ี่ 5 เป็นต้น
3) การประเมินจากนักศึกษาเก่า ท่ีไปประกอบอาชีพ ในแง่ของความพร้อมและความรู้จาก
สาขาวิชาที่เรียน รวมท้ังสาขาอ่ืน ๆ ท่ีกำหนดในหลักสูตร ที่เก่ียวเนื่องกับการประกอบ
อาชีพของบัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับหลักสูตรให้ดี
ย่งิ ขึ้นด้วย
4) ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เป็นอาจารย์พิเศษ ต่อ
ความพร้อมของนักศึกษาในการเรียน และคุณสมบัติอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับกระบวนการ
เรยี นรู้ และการพัฒนาองคค์ วามรขู้ องนกั ศึกษา
5) ติดตามผลการประเมินจากภาวะการได้งานทำของบัณฑิตที่ตรงกับสาขาวิชาและความ
พงึ พอใจของบัณฑิตตอ่ การนำความรู้ได้รับไปประยุกต์ใชใ้ นการทำงาน
6) สำรวจความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ความร้ขู องบัณฑิตจากคณาจารยแ์ ละผู้ใช้บณั ฑติ

มคอ. 2 119

7) การประเมินจากศษิ ย์เก่า-ศิษย์ปัจจุบัน ในแง่ของความพร้อมและความรูจ้ ากสาขาวิชาท่ี
เรียน รวมท้ังสาขาอ่ืน ๆ ท่ีกำหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเน่ืองกับการประกอบอาชีพของ
บณั ฑิต รวมทั้งเปดิ โอกาสให้เสนอขอ้ คดิ เห็นในการปรับปรุงหลกั สตู รให้ดียง่ิ ขน้ึ ดว้ ย

3 เกณฑ์การสำเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร
นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ และได้รับการเสนอช่ือให้รับปริญญา จะต้องมี

คุณสมบัติดังน้ี
1) ต้องเรียนรายวิชาต่าง ๆ ให้ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชาน้ัน และต้องไม่มี
รายวชิ าใดทไ่ี ดร้ ับอักษร I และหรือ Op
2) ตอ้ งใชเ้ วลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ทีก่ ำหนดไวใ้ นหลกั สูตร
3) ต้องได้รับแต้มระดับคะแนนเฉล่ียสะสมทั้งหมดทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนไม่น้อยกว่า
2.00
4) ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือพัฒนานักศึกษาตามระเบียบท่ี
มหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีท่ีไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือพัฒนา
นกั ศกึ ษาตามระเบยี บทีม่ หาวทิ ยาลยั กำหนดได้ให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของอธิการบดี
5) ไมม่ ีหนี้สินใด ๆ ตอ่ มหาวทิ ยาลัย และหรือหนสี้ นิ อนื่ ๆ ที่มหาวทิ ยาลัยรบั รู้

มคอ. 2 120

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์

1. การเตรยี มการสำหรับอาจารย์ใหม่
1) มกี ารปฐมนเิ ทศ และอบรมพัฒนาวิชาชีพครใู ห้แก่อาจารยใ์ หม่ ให้มีความรู้และเข้าใจถงึ
บทบาท หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ และนโยบายของมหาวทิ ยาลยั คณะ ตลอดจนหลกั สูตรท่ี
สอน
2) จดั ทำระบบพเี่ ลย้ี ง (Mentoring System) ใหก้ ับคณาจารย์ใหม่
3) คณะจดั ให้มีการมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบ และนโยบาย ระบบการทำงาน ตา่ ง ๆ
ในส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ งของคณะ

2. การพฒั นาความรู้และทักษะใหแ้ กค่ ณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นการสอน การวัดและการประเมนิ ผล
1) ให้ความรู้เก่ยี วกับการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ การวดั ผลและการ
ประเมนิ ผล
2) ใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั การวิจัยในชน้ั เรยี นและการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
3) สนับสนุนใหค้ ณาจารยเ์ ข้ารว่ มประชมุ อบรม สัมมนาเชิงวิชาการเกี่ยวกับการเรียนการสอน
4) สนับสนุนให้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เร่ืองวิจัยในช้นั เรยี น
5) เชญิ ผรู้ ู้มาใหค้ วามรู้ในหลักสตู ร (Staff Development)
2.2 การพฒั นาวิชาการและวิชาชพี ดา้ นอืน่ ๆ
1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์พัฒนาผลงานเพ่ือเพ่ิมศักยภาพตามตำแหน่งงาน เช่น
การประชุมวชิ าการ
2) สง่ เสรมิ ให้มโี อกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ และเพมิ่ พนู ความรู้ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ
3) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการด้านวิชาการและวิชาชีพ กับพันธกิจด้านการเรียนการสอน
การวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ
4) สง่ เสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์จดั ทำผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
5) มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์ และควบคมุ ดแู ลใหค้ ณาจารยถ์ ือปฏบิ ตั ิ
6) การส่งเสริมให้คณาจารย์ไปปฏิบัติงานร่วมภาคเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน
ภาคเอกชน (Talent Mobility)
7) การส่งเสริมให้พัฒนาหรือปรับปรุง (Brush up) ตนเองทุก ๆ ปี ตลอดระยะเวลาของ
หลักสูตร

มคอ. 2 121

8) สนับสนุนให้อาจารย์เข้าศึกษาดูงาน หรือ ปฏิบัติงานจรงิ ในสถานประกอบการ (on the job
training) ในประเทศ และ/หรือ ต่างประเทศ

9) การส่งเสริมให้เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century) การเมือง (Politics) เศรษฐกิจ
(Economics) สังคม (Social) การเปล่ียนแปลงทางเทคนิค (Techincal Changes) เก่ง
ชำนาญ (Adept) พัฒนา (Evolve) ครุ่นคิด ใคร่ครวญ (Revolve) การเปลี่ยนรูป การ
แปรรปู (Transformation)

มคอ. 2 122

หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สตู ร

1. การกำกบั มาตรฐาน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลได้มีการบริหารจัดการหลักสูตรให้

เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ตลอดระยะเวลาที่การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรดงั กล่าว โดย
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอ่ื สารดิจิทัลเป็นหลักสูตรระดับปรญิ ญาตรีทางวิชาการ ซึ่งได้
พิจารณาตามเกณฑด์ งั กลา่ ว 4 ข้อ

1.1 จำนวนอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร

หลกั สูตรมีอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน ดังน้ี สำเรจ็ การศกึ ษา ตรง/
ที่ เลขบัตร ตำแหน่ง ช่อื -สกุล คณุ วฒุ ิ สาขาวิชา จาก สัมพนั ธ์

ประชาชน ทางวิชาการ ตรง

1. 3569900 อาจารย์ นางสาวกรง่ิ ศศ.ม. นิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แม่ ตรง

011325 กาญจน์ โจ้ ตรง

เจริญกลุ

ศศ.บ. นเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราช

ภฎั เชียงใหม่

2. 3501300 อาจารย์ นางสาวอดุ มลักขณ์ Ph.D. Environmen Wageningen

659416 ธรรมปัญญา tal Science University ,

and Netherlands

Technology

วท.ม. วทิ ยาการ จฬุ าลงกรณ์

คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั

วท.บ. สถิติ มหาวทิ ยาลยั เชียง

ใหม่

3. 3500500 อาจารย์ นายสมนกึ ปร.ด. วิทยาการ สถาบนั บัณฑิต
สนิ ธปุ วน คอมพิวเตอร์ พัฒน บริหาร
417695

ศาสตร์

วท.ม. วิทยาการ สถาบนั บณั ฑิตพัฒน

คอมพวิ เตอร์ บรหิ ารศาสตร์

มคอ. 2 123

ท่ี เลขบัตร ตำแหน่ง ช่อื -สกุล คณุ วุฒิ สาขาวิชา สำเร็จการศึกษา ตรง/
ประชาชน ทางวชิ าการ จาก สัมพันธ์

4. 1639800 ผู้ช่วย นายพิรยิ ะ วท.บ. วิทยาการ มหาวิทยาลัยแม่ ตรง
คอมพิวเตอร์ โจ้
005652 ศาสตราจารย์ กาญจนคงคา ตรง
วท.ม. เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัย
5. 1509900 อาจารย์ นางสาววิชญา สารสนเทศ นเรศวร
โคตรฐติ ิธรรม
552729 บธ.บ. ระบบ
สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัย
เทคโนโลยีราช
มงคลลา้ นนา
วิทยาเขตตาก

ศล.ม. การออกแบบ มหาวิทยาลยั
ผลติ ภัณฑ์ ศิลปากร

ศล.บ. การออกแบบ มหาวทิ ยาลยั เชียง
ใหม่

1.2 คณุ สมบตั ิของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร
คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท้ัง 5 ท่าน สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก 2 ท่าน
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 3 ท่าน และตรงกับสาขาวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าการสือ่ สารดจิ ทิ ลั

1.3 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอื่ สารดจิ ทิ ลั เป็นหลักสูตรปรับปรุง ท่เี ปดิ รับ

นักศึกษาในปีการศึกษา 2561 และได้กำหนดรอบระยะเวลาการปรับปรงุ หลกั สตู รในปี 2565 เพ่ือใชก้ บั
นักศึกษาในปีการศึกษา 2566

1.4 การดำเนนิ งานให้เปน็ ไปตามตวั บ่งชีผ้ ลการดำเนนิ งานเพือ่ การประกันคณุ ภาพหลักสตู ร และ
การเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ

1.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล จะดำเนินการประชุม
เพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำ

มคอ. 2 124

หลักสูตร อยา่ งน้อย 2 ครงั้ ต่อภาคการศึกษา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร
ร้อยละ 80 มสี ว่ นรว่ มในการประชมุ

2.หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดจิ ิทัล เป็นหลักสตู รปรับปรุง ที่
มีการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติระดับอุดมศึกษา โดยมีการจัดทำเล่ม มคอ.2 ให้
สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ของสำนักงานคณะกรรมการการ
อุดมศกึ ษาและดำเนินการจดั ส่งพิจารณารบั ทราบการให้ความเหน็ ชอบหลกั สูตร

3.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล จะดำเนินการจัดทำ
รายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 3 และมคอ.4 ทุก
ภาคการศึกษา โดยทำการจดั ส่งกอ่ นเปิดสอนแตล่ ะภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกรายวชิ า

4.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล จะดำเนินการจัดทำ
รายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตาม
แบบ มคอ.5 และมคอ.6 ภายใน 30 วัน ทุกภาคการศึกษา โดยทำการจัดส่งหลังส่งเกรดแต่ละภาค
การศกึ ษาใหค้ รบทกุ รายวิชา

5.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลจะดำเนินการจัดทำ
รายงานผลการดำเนินการของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลงั ส้ินสุดปีการศกึ ษา

2. บัณฑิต
2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ
2.1.1 จดั สำรวจความต้องการของตลาดแรงงาน และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต/
ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียในสาขาวชิ าการสอื่ สารดจิ ทิ ลั ทง้ั เชิงปรมิ าณและคุณภาพ
2.1.2 ประมาณการความต้องการแรงงานประจำปี
2.1.3 มีแผนการจัดการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเม่ือ
ครบรอบหลักสตู ร เพือ่ ใช้เป็นข้อมลู ในการปรับปรงุ หลกั สตู รตอ่ ไป
2.2 การได้งานทำของผ้สู ำเร็จการศกึ ษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลร่วมใช้ข้อมูลการสำรวจภาวะการมี

งา น ท ำ ข อ ง บั ณ ฑิ ต ต า ม ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ข อ งม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ โจ้ http://www.e-
manage.mju.ac.th/survey_AllRPT.aspx

มคอ. 2 125

3. นักศึกษา
3.1 การรับนกั ศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีระบบและกลไกการรับนักศึกษาที่

ประกอบด้วยกลไกระดบั มหาวิทยาลยั และระดบั หลักสตู ร
3.1.1ระดับมหาวิทยาลัยมีคณะกรรมการอำนวยการคัดเลือกเข้าเป็นระดับปริญญาตรี เป็นผู้

วางแผนและกำกับนโยบายการรับนักศึกษา กองแผนงานทำหน้าท่ีรวบรวมจำนวนนักศึกษาและรายงาน
ผลการดำเนินงานในแตล่ ะช่วงใหค้ ณะกรรมการ/ผู้บรหิ ารทราบ

3.1.2ระดับหลักสูตร มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าท่ีในการวางแผน กำหนด
จำนวนนักศกึ ษา และคณุ สมบัตขิ องผู้เขา้ ศึกษา และรายงานขอ้ มูลใหแ้ ก่คณะรบั ทราบ ซ่ึงการรบั นกั ศึกษา
ของมหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ประกอบด้วย 3 ประเภท คือ

- ประเภทท่ี 1 ผา่ นระบบรบั ตรงของมหาวทิ ยาลัย
- ประเภทที่ 2 ผ่านระบบรบั ตรงโครงการพิเศษของมหาวทิ ยาลัย
- ประเภทที่ 3 ผา่ นระบบกลางของสมาคมอธกิ ารบดีแหง่ ประเทศไทย (สอท.)
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลไดก้ ำหนดตาม
มคอ.2 และข้อกำหนดของมหาวทิ ยาลัยแม่โจ้
การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัลได้
มีระบบและกลไกการเตรียมความพร้อม โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ซ่ึงทำการพิจารณาโครงการ/
กจิ กรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ วตั ถปุ ระสงค์ งบประมาณ และระยะเวลาในการจดั โครงการ/กจิ กรรม

3.2 การส่งเสริมและการพัฒนานกั ศึกษา
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวชิ าการแนะแนวกับนักศกึ ษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตร
ศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอ่ื สารดจิ ทิ ัล มีแนวทางปฏิบตั ติ ามมหาวิทยาลยั ดงั นี้

3.2.1คณะฯ แต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษาทุกคน เพ่ือทำหน้าที่ตามที่
มหาวทิ ยาลัยกำหนด

3.2.2อาจารย์ทุกคนจัดทำตารางการทำงานพร้อมกำหนดเวลาว่างเพ่ือให้นักศึกษา
สามารถเข้าพบไดต้ ามเวลาทไ่ี ด้กำหนดไว้

3.2.3อาจารย์เปดิ ช่องทางการส่อื สารทางสารสนเทศ เช่น E-mail, FaceBook ฯลฯ
อกี ท้งั มกี ารเพม่ิ ชอ่ งทางการอุทธรณ์ของนกั ศึกษา ในกรณีที่นกั ศึกษาสงสัยเร่ืองการประเมินผลใน
รายวชิ าหรือเรอื่ งท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การเรียนการสอน สามารถดำเนนิ การไดด้ ังน้ี

1) ให้สอบถามจากอาจารย์ผู้สอนประจำวิชา

มคอ. 2 126

2) ย่ืนคำร้องขอดูกระดาษคำตอบ ภายใน 1 ภาคการศึกษาหลังจากวันประกาศผล
การศกึ ษา

3) นักศึกษาสามารถย่ืนคำร้องอุทธรณ์ได้โดยต รงต่อคณบดี/อธิการบดี หรือ
คณะกรรมการที่มหาวิทยาลยั แต่งตง้ั

การพัฒนานักศึกษาและการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรศิลปศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล ได้มีระบบและกลไก โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ซึ่งทำการ
พิจารณาวางแผนโครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ งบประมาณ และระยะเวลาในการจัด
โครงการ/กิจกรรม อีกทั้งมีการออกแบบรายวิชาต่าง ๆ ตามโครงสรา้ งของหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับทักษะ
ท่ีจำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 อันประกอบด้วย (1) กลุ่มวิชาหลัก (2) กลุ่มทักษะชีวิตและ
วิชาชีพ (3) กลุ่มทกั ษะการเรยี นรู้และนวัตกรรม และ (4) กลุ่มทกั ษะสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี

3.3 ผลทเี่ กดิ กบั นักศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล มีการติดตามอัตราการคงอยู่ของ
นักศึกษา อัตราการสำเร็จการศึกษา ผ่านระบบและกลไกของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร แล ะ
คณะกรรมการประจำคณะฯ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัลมีการสร้างระบบและกลไก การสร้าง
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักศึกษาทีม่ ตี ่อหลักสูตร โดยแบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ เป้าหมาย
1. นกั ศกึ ษาในหลกั สูตร
2. นกั ศึกษานอกหลักสตู ร
นำผลการประเมินรายงานในการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร อีกท้ังมีการนำเอาผลการ
ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรท่ีจัดทำโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวบรวม วิเคราะห์
สังเคราะห์ ผ่านการประชุมอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร และคณะกรรมการประจำคณะฯ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล มีผลการจัดการข้อร้องเรียนของ
นักศึกษาผ่านหลายช่องทาง เช่น กล่องรับขอ้ ร้องเรยี นและแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา การร้องเรยี น
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน หรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จากน้ันนำข้อร้องเรียนดังกล่าว
เข้าทปี่ ระชุมอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร
4. อาจารย์
4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์

4.1.1หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจทิ ัลในการรบั อาจารย์ใหม่ได้มี
การกำหนดกรอบอัตรากำลังผา่ นคณะไปยังมหาวิทยาลัย เมื่อไดร้ ับการจัดสรรกรอบอตั รากำลัง สาขาวิชา
ดำเนินการสรรหาอาจารย์ตามขั้นตอนการดำเนินการสรรหาบุคลากรของคณะสารสนเทศและการส่ือสาร
ซง่ึ ในการรบั อาจารยใ์ หม่ มีขน้ั ตอนดังต่อไปน้ี

มคอ. 2 127

4.1.1.1 กำหนดคณุ สมบัติ
1) คุณสมบัติทั่วไปเป็นไปตามนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่

มหาวทิ ยาลัยทเี่ น้นการผลิตบัณฑติ เฉพาะทาง ระดบั บณั ฑิตศึกษาและวิจยั (ค1)
2) คุณสมบตั ิเฉพาะของผู้สมัคร

- สำเร็จการศกึ ษาไมต่ ่ำกว่าระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการสอ่ื สารดิจิทัล หรือสาขาวชิ า
ท่เี กย่ี วข้อง ซ่ึงต้องมผี ลงานทางวชิ าการและผลงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้องกับสาขาวิชาที่สมัคร

- มีความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ/ภาษาต่างประเทศอืน่ ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
4.1.1.2 การคดั เลือกหรอื การสอบคดั เลือก

โดยการสอบข้อเขียน หรือ สอบสัมภาษณ์ และ/หรือทดสอบความสามารถในการสอน
โดยคณะกรรมการที่มหาวทิ ยาลัย/คณะแต่งต้งั

4.1.1.3 การแต่งตง้ั และประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านให้เป็นไปตามระเบียบของ
มหาวิทยาลยั

4.1.2แต่งตั้งอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร เพือ่ ปฏิบัตหิ น้าที่ตามที่ระบุไว้ในแนวทางการ
บริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 และระเบียบ / ประกาศของมหาวิทยาลัย
แม่โจ้ ท่ปี ระกาศใช้ในขณะน้นั และระเบยี บ / ประกาศอ่ืน ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง โดยอนโุ ลม

4.1.3อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทำหน้าทีส่ นับสนุน ช่วยเหลอื และดำเนินกิจกรรมได้
ครบถ้วน ตามเกณฑ์ของการประกนั คุณภาพหลกั สูตร

4.1.4กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนในหลกั สูตรมีส่วนร่วม ในกิจกรรมตามข้อ 4.1.2 และ ข้อ
4.1.3

4.2 แผนการพัฒนาอาจารย์ในหลกั สตู ร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล มีการจัดทำแผนการบริหาร

ทรัพยากรบุคคลท่ีเป็นรูปธรรม ภายใตก้ ารวิเคราะห์ข้อมลู เชิงประจกั ษ์ โดยการทำงานรว่ มกับคณะฯ เพ่ือ
จัดทำแผนในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บคุ ลากรของหลักสูตรฯ ไดพ้ ัฒนาความรูแ้ ละทักษะวชิ าชีพทงั้ ใน
ประเทศและต่างประเทศ มีระบบการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงให้มีโอกาสประสบ
ความสำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพอย่างรวดเร็วตามสายงานโดยมีการทำแผนพัฒนารายบุคคลผ่านระบบ
ออนไลนข์ องมหาวิทยาลัย มีการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้อาจารย์ทุกคนได้พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเน่ืองโดยไม่จำกัดจำนวนตามเง่ือนไขของประกาศคณะ สารสนเทศและการ
สอื่ สาร และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวมถึงการส่งเสริมให้คณาจารย์ไปปฏิบัติงานร่วมภาคเอกชนเพ่ือเพ่ิมขีด
ความสามารถในภาคเอกชน (Talent Mobility) และส่งเสรมิ ให้พัฒนาหรือปรับปรุง (Brush up) ตนเอง
ทกุ ๆ ปี ตลอดระยะเวลาของหลักสูตร

มคอ. 2 128

4.3 คณุ ภาพอาจารย์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ร้อยละ 40 มีการส่งสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการเพ่ิมขึ้น อาทิ เป็นผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตามกรอบระยะเวลาท่ีกำหนด นอกจากนี้คณะยังได้
ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการ ทำงานวิจัย และนำผลงานวิจัยนั้นๆ มาเสนอผลงานทาง
วิชาการในรูปแบบตา่ งๆ ในงานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ

4.4 ผลทเี่ กดิ กบั อาจารย์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีการติดตามอัตราการคงอยู่ของ

อาจารย์ ผา่ นระบบและกลไกของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร และคณะกรรมการประจำคณะฯ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีการสร้างระบบและกลไก การ

สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ท่ีมีต่อหลักสูตร นำผลการประเมินรายงานในการประจำ
หลักสูตร อีกท้ังมีการนำเอาผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรท่ีจัดทำโดย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่านการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ
คณะกรรมการประจำคณะฯ

5. หลักสูตร การเรยี นการสอนและการประเมนิ ผ้เู รยี น
5.1สาระของรายวิชาในหลกั สูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล มีระบบและกลไกในการออกแบบ

หลักสูตรสอดคล้องตามกรอบ TQF (Thailand Qualifications Framework for Higher Education)
หรือเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และใช้ระบบและกลไกการพัฒนาหลักสูตรภายใต้
มหาวิทยาลัย ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ภายใต้แนวปฏิบัติของ
มหาวิทยาลัย ว่าด้วยเร่ือง แนวปฏิบัติการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร และ
คณะกรรมการวิพากษ์หลกั สูตร พ.ศ. 2560

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล เป็นหลักสูตรปรับปรุง คาดว่า
เปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2561 โดยมีแผนการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 5 ปี เพ่ือให้ทันสมัย และ
สอดคล้องกับความต้องการของสังคมท่ีเปล่ียนแปลง ได้กำหนดรอบระยะเวลาการปรับปรุงหลักสูตรในปี
การศกึ ษา 2565 เพ่ือใชก้ บั นกั ศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2566 ซ่งึ มีการดำเนนิ การตามขั้นตอนดังนี้

1.ให้แต่งตั้งกรรมการปรับปรุงหลักสูตรเพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีตามแนวทางท่ีกำหนดไว้ใน
ประกาศของมหาวทิ ยาลัย

2.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกันพิจารณารายช่ือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีมีความ
เหมาะสม

มคอ. 2 129

3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาร่วมเสนอข้อคิดเห็นในการ
พฒั นาหลักสูตร

4.แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร และคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร
พ.ศ. 2565 ภายใต้แนวปฏิบตั ขิ องมหาวิทยาลัย

5.ดำเนินการจัดทำเล่ม มคอ.2 และแนวทางปฏบัติการเปิด/ปิด/ปรับปรุง หลักสูตรขอ
มหาวิทยาลยั

1.1 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล เป็นหลักสูตรปรบั ปรุง มีระบบและ

กลไก ดำเนินงานของหลักสูตรผ่านเวทีการดำเนนิ งานดงั นี้
1. จัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 2 คร้ังอาจารย์

ประจำหลักสูตร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม เพ่ือการเตรียมการจัดการเรียนการสอนและการ
ประเมนิ การบริหารหลักสตู ร

2. จดั ประชุมรว่ มกนั ระหว่างอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รและอาจารย์ผู้สอนทกุ รายวิชาใน
หลักสูตรอยา่ งนอ้ ย ภาคการศกึ ษาละ 1 ครง้ั เพอ่ื

-การแบ่งภาระงานสอนจากภาระงานข้ันต่ำ ( 9 ช่ัวโมง/สัปดาห์) และจากนั้นกำหนด
อาจารย์ผ้สู อนตามความเช่ยี วชาญและประสบการณใ์ นการสอน

-วางแผนการจดั การเรียนการสอน การประเมินผล
-การกำกับติดตามและการตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 ทุกภาค
การศึกษา โดยทำการจัดส่งก่อนเปิดสอนแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา อีกท้ังกำกับรายวิชาที่มี
การบูรณาการกับการวิจยั การบริการวชิ าการทางสังคมและการทำนุบำรุงและวัฒนธรรม
-การให้ความเหน็ ชอบการประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
-เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานของหลักสูตรเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุง
หลกั สูตร
-หาแนวทางทจี่ ะทำให้หลักสตู รบรรลุเป้าหมาย
1.2 การประเมินผู้เรยี น
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารดิจิทัล จะดำเนินการจัดทำรายงานผลการ
ดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ
มคอ.6 ภายใน 30 วัน ทุกภาคการศึกษา โดยทำการจัดส่งหลังส่งเกรดแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก
รายวิชา และอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสตู ร ทำหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบควบคุม ตรวจสอบผลการดำเนินการเรยี น
การสอนตามแบบฟอร์ม มคอ. 5 และ มคอ. 6 เมือ่ สิ้นสุดการเรยี นการสอนในแต่ละเทอม จากน้ันดำเนิน
ส่งผลการเรียนให้คณะฯ ดำเนินการต่อไปยังมหาวิทยาลัย จะต้องผ่านการพิจารณาผลการเรียนจาก

มคอ. 2 130

คณะกรรมการท่ีแตง่ ต้ังจากอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรก่อน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการตัดเกรด

และเปน็ ไปตามเกณฑข์ องคณะ

1.3 ผลการดำเนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตราฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล จะดำเนินการจัดทำรายงานผลการ

ดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา โดยมีตัวบ่งชี้ผลการ

ดำเนินงานดังน้ี

ตารางตวั บง่ ชผ้ี ลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators)

ตัวบ่งช้ผี ลการดำเนนิ งาน ปีการศึกษา

ปที 1ี่ ปที 2ี่ ปที 3ี่ ปีท4ี่ ปที 5ี่

1. อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วน     

รว่ มในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการ

ดำเนนิ งานของหลักสูตร

2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ท่ี     

สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ

มาตรฐานคณุ วฒุ ิสาขา/สาขาวชิ า(ถ้ามี)

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของ     

ประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 3 และ

มคอ. 4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค

การศึกษาให้ครบทกุ รายวิชา

4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และ     

รายงานผลการดำเนินการของประสบการณภ์ าคสนาม(ถ้า

มี) ตามแบบ มคอ.5 และมคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง

สิ้นสดุ ภาคการศึกษาท่ีเปิดสอนใหค้ รบทกุ รายวิชา

5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตาม     

แบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลังสนิ้ สดุ ปกี ารศึกษา

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน     

ผลการเรียนรู้ท่ีกำหนดใน มคอ 3.และ มคอ. 4 (ถ้ามี)

อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี

การศกึ ษา

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กล 

มคอ. 2 131

ตวั บ่งช้ผี ลการดำเนนิ งาน ปีการศึกษา
ปที 2ี่ ปีท3ี่ ปีท4่ี
ปีท1ี่ ปีท5ี่

ยทุ ธก์ ารสอน หรือ การประเมินผลการเรยี นรู้ จากผลการ  
 
ประเมนิ การดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 

8. อาจารย์ใหม่(ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือ  
555
คำแนะนำด้านการจัดการเรยี นการสอน 10 10 11 
5
9. อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ  12

และ/หรอื วิชาชพี อย่างนอ้ ยปีละหนง่ึ ครง้ั

10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) 

ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า

รอ้ ยละ 50 ต่อปี

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิต

ใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก

คะแนนเต็ม 5.0

12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิต

ใหม่ เฉล่ยี ไมน่ อ้ ยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม5.0

รวมตวั บง่ ชีบ้ ังคบั ที่ต้องดำเนินการขอ้ 1-5 ในแต่ละปี 5

รวมตวั บ่งชี้ในแต่ละปี 9

6. ส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้
หลกั สตู รได้จัดการบรหิ ารทรัพยากรสิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ ในแตล่ ะด้านดังนี้
6.1 การบรหิ ารงบประมาณ
1) จัดสรรงบประมาณเพอ่ื จดั หาทรพั ยากรการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธภิ าพ
2) ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างหลักสูตรภายในคณะเดียวกัน/ต่างคณะ ทั้ง

ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย
6.2 ทรพั ยากรส่ิงสนับสนนุ การเรยี นรู้ทมี่ ีอย่เู ดมิ
มหาวทิ ยาลยั มีอาคารเรียนรวม 2 อาคาร ได้แก่ (สำหรบั นักศึกษาช้นั ปที ี่ 1- 2)
1) อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ เป็นสถานท่ีสอน พื้นท่ีประมาณ 1,544 ตารางเมตรประกอบด้วย

หอ้ งบรรยาย 4 หอ้ ง หอ้ งปฏิบัติการ 3 หอ้ ง ห้องประชุม 3 ห้อง ห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ 2 หอ้ ง

มคอ. 2 132

2) อาคารศูนย์เรียนรวม (อาคารเรียนรวมแม่โจ้ 70 ปี) เป็นสถานท่ีสอน พื้นที่ประมาณ2,426
ตารางเมตร ประกอบด้วยห้องบรรยาย 12 ห้อง ห้องบริการคอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต 5 ห้อง
หอ้ งปฏิบัติการ 1 หอ้ ง ห้องประชุม 3 หอ้ ง หอ้ งโถงแสดงผลงาน 2 หอ้ ง

3) คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มีอาคาร 75 ปีแม่โจ้ เป็นสถานที่สอน พื้นที่ประมาณ
4,450 ตารางเมตร ประกอบด้วย ห้องเรียนขนาดเล็กปริญญาตรี 1 ห้อง ห้องเรียนขนาดเล็กปริญญา
โท-เอก 3 ห้อง ห้องเรียนขนาดใหญ่ 3 ห้อง ห้องปฏิบัติการสื่อส่ิงพิมพ์ 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการถ่ายภาพ
ระบบดิจิทัล 1 ห้อง ห้องประชุมขนาดใหญ่ 1 ห้อง และมีห้องปฏิบัติการท่ีอยู่ระหว่างดำเนินการ
ปรับปรุงก่อสร้าง ประกอบด้วย หอ้ ง Internet 1 ห้อง ห้องจัดรายการวิทยุ 8 ห้อง ห้องปฏิบตั ิตัดต่อเสียง
ระบบดิจิทัล Non-Linear 4 ห้อง ห้องบันทึกและตัดต่อเสียงระบบดิจิทัลระดับมืออาชีพ 2 ห้อง และห้อง
Studio สำหรับผลิตรายการโทรทศั น์ 3 ห้อง

แบบรายงานข้อมลู จำนวนหนงั สือใชส้ ำหรับปีการศกึ ษา 2560
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการสอน ของสำนักหอสมุด
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทุกประเภทประกอบด้วย หนังสือ วิทยานิพนธ์ วารสาร และหนังสือพิมพ์ จุลสาร
กฤตภาค โสตทัศนวัสดุ และฐานข้อมูลสำเร็จรูป CD-ROM, CD-ROM MULTIMEDIA โดยทรัพยากร
ดงั กล่าวข้างตน้ มจี ำนวนดังนี้

จำนวนหนังสอื ณ วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560

หมวด คำอธิบายหมวด ภาษาไทย (เล่ม) ภาษาองั กฤษ(เล่ม) รวม

000 เบ็ดเตลด็ 12,398 2,248 14,646

100 ปรชั ญา 3,190 329 3,519

200 ศาสนา 4,329 359 4,688

300 สังคมศาสตร์ 48,571 7,361 55,932

400 ภาษาศาสตร์ 4,492 1,702 6,194

500 วทิ ยาศาสตร์ (บรสิ ทุ ธ์ิ) 17,640 7,960 25,600

600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 48,608 14,779 63,387

700 ศิลปวฒั นธรรม ภาษา 4,393 1,167 5,560

800 วรรณกรรม วรรณคดี 2,674 579 3,253

900 ประวตั ศิ าสตร์ 7,309 966 8,275

รวม 153,604 37,450 191,054

มคอ. 2 133

สอ่ื โสตทัศนวัสดุ ณ วันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560

รายการ จำนวน

CD/DVD เกษตร 257

CD/DVD สารคดี 1,043

CD/DVD บทเรยี นภาษา 226

CD/DVD ซีดีรอมท่ัวไป 1,274

CD/DVD บนั เทิง 2,501

รวม 5,301

หัวข้อ จำนวน ชนิด
บทความวารสาร 139,717 บทความ
วารสารภาษาไทย 831 ฐานข้อมูล
วารสารภาษาต่างประเทศ 471 ฐานขอ้ มลู
ฐานข้อมูลออนไลน์ 12 ฐานข้อมูล
ฐานข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-book, E-clipping, E-journal) 19 ฐานขอ้ มูล
Single Search 1
วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 35 รายชื่อ

นอกจากนี้ยังมีให้ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดกับหน่วยงานอ่ืนๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เช่น
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชยี งใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาภาคพายัพ
เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพายัพ เป็นต้น และมีการเช่ือโยงเครือข่ายกับฐานข้อมูล Journal Link และ
วิทยานพิ นธ์/งานวจิ ยั ออนไลน์ ตลอดจนฐานขอ้ มูลสหบรรณานกุ รม

6.3 การจดั หาสิง่ สนับสนุนการเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ
1.คณะฯ มกี ารจัดสรรงบประมาณประจำปีในการจดั หาทรพั ยากรการเรยี นการสอนตำรา

สอ่ื อุปกรณใ์ นหอ้ งเรยี นและปฏิบัตกิ ารใหท้ ันสมัย
2.คณะฯ จัดประชุมเพ่ือให้คณาจารย์ร่วมกันวางแผนในการเสนองบประมาณครุภัณฑ์

และอุปกรณ์การเรยี นการสอน
6.4การประเมนิ ความเพียงพอของส่ิงสนับสนนุ การเรยี นรู้
1.สำรวจความตอ้ งการทรพั ยากรการเรยี นการสอนเป็นประจำทุกปจี ากผู้สอนและผู้เรียน
2.ประเมินความเพียงพอจากความต้องการใชข้ องอาจารย์และผ้เู รยี นทุกรายวชิ า

มคอ. 2 134
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรงุ การดำเนนิ การของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธก์ ารสอน
1) การประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนในการจัดการ
เรยี นการสอน
2) การประเมินประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนของคณาจารย์โดยการสอบถาม
สมั ภาษณ์ หรอื ใช้แบบสอบถาม จากนักศกึ ษาโดยอาจารยผ์ สู้ อน
3) การประเมินผลการเรียนรู้ ของนักศึกษาโดยการสังเกตพฤติกรรม การทำกิจกรรมการเรียน
การสอน และผลการเรยี นจากการวดั และประเมนิ ผล

1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารยใ์ นการใช้แผนกลยทุ ธก์ ารสอน
1) การประเมินการสอนโดยนักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษาโดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัดทำการ
ประเมนิ
2) คณาจารย์วเิ คราะห์และประเมินจุดที่ควรพัฒนาของกลยุทธ์การสอนในแต่ละภาคการศึกษา
รวมถงึ ผลการเรยี นของนกั ศึกษา และนำไปเขียนไว้ในรายงานผลการดำเนนิ งานรายวชิ า

2. การประเมนิ หลกั สูตรในภาพรวม
2.1 โดยนักศึกษาและบัณฑติ
1) ประเมินหลักสูตรจากนักศึกษาทุกชั้นปี และบัณฑิตท่ีจบตามหลักสูตร โดยวิธกี ารสัมภาษณ์
แบบสำรวจ และเปดิ เว็บไซต์เพื่อรบั ข้อมูลย้อนกลบั

2.2 ผู้ทรงคุณวฒุ แิ ละ/หรอื ผู้ประเมนิ ภายนอก
1) ประเมินหลักสูตรจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรือผู้ประเมินภายนอก โดยดูจาก
รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ข้อมูลย้อนกลับจากนักศึกษาทุกชั้นปี บัณฑิตที่จบ
ตามหลกั สูตรและนายจ้าง/ผปู้ ระกอบการ และการเย่ียมชม

2.3 นายจ้าง/ผปู้ ระกอบการ
1) ประเมินนายจ้าง/ผู้ประกอบการ โดยการประเมินความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิต และการ
นำความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทำงาน

มคอ. 2 135

3. การประเมนิ ผลการดำเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
ประเมินตามตัวบ่งช้ีผลการดำเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยคณะกรรมการประเมิน

อยา่ งน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวฒุ ใิ นสาขาวิชาอยา่ งน้อย 1 คน

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร และแผนกลยทุ ธก์ ารสอน
1) อาจารย์ประจำวิชาจดั ทำรายงานผลการดำเนินการรายวชิ าเมอ่ื สน้ิ สุดภาคการศึกษาเสนอ

ผ่านอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลกั สตู รและคณะกรรมการประจำคณะ
2) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร เม่ือสิ้นสุดปี

การศึกษา เสนอผา่ นคณะกรรมการประจำคณะ
3) จัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตรและคณาจารย์ท่ีเก่ียวข้อง

พิจารณาทบทวนผลการดำเนินการของหลักสูตร เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงหลักสตู ร แผนกล
ยุทธ์การสอน และการดำเนินการอ่นื ๆ เพ่อื ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนในปีตอ่ ไป

มคอ. 2 136

เอกสารแนบ

เอกสารแนบ รายการ

1 ตารางเปรยี บเทยี บโครงสร้างหลักสูตร กบั เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร

เกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร – โครงสร้างหลักสูตรเดมิ - โครงสร้างหลกั สูตรใหม่

2 ตารางเปรยี บเทยี บรายละเอียด ตามโครงสร้างหลักสูตรเดมิ – หลักสตู รใหม่

3 สาระสำคญั ของการปรับปรุงหลักสูตร

4 ประวัตแิ ละผลงานของอาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ หลกั สตู ร/อาจารย์ประจำหลกั สูตร

5 คำสัง่ แต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรงุ หลักสูตรระดบั ปริญญาตรี สาขาวิชาการสอื่ สารดจิ ทิ ัล

6 คำสง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการวพิ ากษห์ ลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชาการสอ่ื สารดจิ ทิ ลั

7 รายงานสรุปการวิพากษ์หลกั สตู ร

8 ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ วา่ ด้วยการศึกษาข้ันปริญญาตรี พ.ศ. 2556

9 รายวิชาท่เี ทียบโอนกันได้ ภายในคณะ (นักศกึ ษาปวส.เทียบโอน 4 ปี)

มคอ. 2 137

เอกสารแนบ 1
ตารางเปรยี บเทียบโครงสรา้ งหลกั สตู ร กับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร – โครงสรา้ งหลกั สตู รเดมิ - โครงสร้างหลักสูตรใหม่

หมวดวชิ า เกณฑ์มาตรฐาน โครงสรา้ งเดมิ โครงสร้างใหม่

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 หน่วยกติ 30 30

- กลมุ่ วชิ าสังคมศาสตร์ 66
- กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 66
- กลมุ่ วิชาภาษา 12 12
- กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และ 66

คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ 72 หน่วยกติ 100 99
หมวดวชิ าเฉพาะ 27 30

- กลุ่มวชิ าแกน

- กลุ่มวิชาเอกบังคบั ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 64 60
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 9 9
หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 6

รวม ไม่น้อยกวา่ 120 หนว่ ยกิต 136 135

เอกสารแนบ 2

ตารางเปรียบเทยี บรายละเอียด ตามโครงสรา้ งหลักสตู รเกา่ – หลักสูตรใหม่

โครงสร้างหลกั สูตรเดมิ โครงสรา้ งหลกั สตู รใหม่ หมายเหตุ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสอ่ื สาร

สื่อสารดิจิทัล ดิจทิ ัล

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2561)

ชอื่ หลักสตู ร (เดิม) ชื่อหลักสูตร (ใหม่) คงเดิม
ภาษาไทย: หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต ภาษาไทย : หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต

สาขาวชิ าการสื่อสารดจิ ิทลั สาขาวิชาการส่ือสารดจิ ทิ ัล
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Arts Program in

Digital Communications Digital Communications

มคอ. 2 138

ชื่อปริญญา (เดิม) ช่อื ปรญิ ญา (ใหม่) คงเดมิ

ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบณั ฑติ ชือ่ เตม็ (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบณั ฑิต ลดลง
คงเดมิ
(การสอื่ สารดจิ ิทัล) (การสอ่ื สารดจิ ิทัล) คงเดิม
คงเดมิ
ช่อื ย่อ (ภาษาไทย): ศศ.บ. (การส่ือสารดิจิทลั ) ช่อื ย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (การสอ่ื สารดจิ ิทัล) คงเดมิ
คงเดมิ
ชอื่ เตม็ (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts ชื่อเตม็ (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts คงเดิม
คงเดมิ
(Digital Communications) (Digital Communications) คงเดิม

ชอื่ ย่อ (ภาษาอังกฤษ): B.A. (Digital ชื่อย่อ (ภาษาองั กฤษ): B.A. (Digital

Communications) Communications)

จำนวนหน่วยกิตรวม 136 จำนวนหนว่ ยกติ รวม 135

หนว่ ยกิต หนว่ ยกติ

1. หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 30 หน่วยกิต 1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป 30 หน่วยกติ

1.1 กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต 1.1 กลุ่มวิชาสงั คมศาสตร์ 6 หน่วยกติ

ศท 021 สงั คมศาสตร์ใน 3 (3-0-6) ศท 021 สังคมศาสตร์ใน 3 (3-0-6)

ชวี ิตประจำวนั ชีวติ ประจำวนั

ศท 022 อารยธรรมโลก 3 (3-0-6) ศท 022 อารยธรรมโลก 3 (3-0-6)

ศท 104 มนุษยแ์ ละ 3 (3-0-6) ศท 104 มนุษยแ์ ละ 3 (3-0-6)

สิ่งแวดล้อม สง่ิ แวดล้อม

ศท 302 สังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6) ศท 302 สงั คมและวฒั นธรรม 3 (3-0-6)

ไทย ไทย

กช 321 เศรษฐกิจพอเพียง 3 (2-2-5) กช 321 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 (2-2-5)

และการพฒั นาท่ยี ่ังยนื และการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน

ศศ 101 เศรษฐศาสตร์เพ่ือ 3 (3-0-6) ศศ 101 เศรษฐศาสตรเ์ พ่ือ 3 (3-0-6)

ชวี ติ ประจำวนั และ ชวี ติ ประจำวันและ

การประกอบการ การประกอบการ

มคอ. 2 139

โครงสร้างหลกั สูตรเดมิ โครงสร้างหลักสตู รใหม่

หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการ หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการ หมายเหตุ

ส่ือสารดิจิทลั สือ่ สารดจิ ิทลั คงเดิม
คงเดมิ
(หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)
คงเดิม
1.2 กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ 6 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ
แก้ไขจำนวน
ศท011มนุษย์กบั ความงามทาง 3 (3-0-6) ศท 011 มนุษย์กับความงามทาง 3 (3-0-6) ชวั่ โมงบรรยาย-

ศลิ ปะ ศิลปะ ปฏิบตั ิ
คงเดิม
ศท012จิตวิทยากบั พฤติกรรม 3 (3-0-6) ศท 012 จติ วิทยากับพฤติกรรม 3 (3-0-6)
คงเดิม
มนษุ ย์ มนุษย์
คงเดิม
ศท 013 สุขภาพเพื่อการ 3 (1-4-4) ศท 013 สุขภาพเพื่อการ 3 (2-2-5)
คงเดมิ
ดำรงชีวิต ดำรงชีวิต แก้ไขจำนวน
ชวั่ โมงบรรยาย-
ศท 180 ศลิ ปะกับความคิด 3 (1-4-4) ศท 180 ศลิ ปะกบั ความคดิ 3 (1-4-4)
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ ปฏิบัติ
ศท 304 ศาสตรแ์ ละศิลป์แห่ง 3 (2-2-5) ศท 304 ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ หง่ 3 (2-2-5) คงเดิม
ปัญญาชน ปัญญาชน คงเดิม
ศท 305 ประวตั ิศาสตรแ์ ละ 3 (3-0-6) ศท 305 ประวตั ศิ าสตร์และ 3 (3-0-6) คงเดมิ
พฒั นาการของลา้ นนา พฒั นาการของล้านนา
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต คงเดิม
ศท 031 การใช้ภาษาไทย 3 (1-4-4) ศท 031 การใชภ้ าษาไทย 3 (2-2-5)
คงเดมิ
ศท 141 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน 1 3 (2-2-5) ศท 141 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3 (2-2-5) คงเดิม
ศท 142 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน 2 3 (2-2-5) คงเดมิ
ศท 142 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 2 3 (2-2-5) ศท 245 ภาษาองั กฤษเชิง 3 (2-2-5)
สงั คมศาสตร์ 1
ศท 245 ภาษาองั กฤษเชิง 3 (2-2-5) 1.4 กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์และ 6 หน่วยกิต

สังคมศาสตร์ 1 คณิตศาสตร์ 3 (3-0-6)
ผษ 101 เกษตรเพื่อชวี ติ 3 (2-2-5)
1.4 กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 6 หน่วยกิต วท 101 วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื ชวี ิต 3 (2-2-5)
วท 102 การพัฒนาวทิ ยาศาสตร์
คณิตศาสตร์

ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวติ 3 (3-0-6)

วท 101 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อชวี ิต 3 (2-2-5)

วท 102 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ 3 (2-2-5)

มคอ. 2 3 (1-4-4) และเทคโนโลยี 140
ศท 014 การสบื ค้นสารนเิ ทศเพ่อื 3 (2-2-5)
และเทคโนโลยี การศึกษา แก้ไขจำนวน
ศท 014 การสืบค้นสารนิเทศ ชัว่ โมงบรรยาย-
เพ่ือการศึกษา 3 (3-0-6) วอ 101 วศิ วกรรมเบื้องตน้ ใน 3 (3-0-6)
3 (3-0-6) ชวี ิตประจำวัน 3 (3-0-6) ปฏบิ ตั ิ
วอ 101 วศิ วกรรมเบ้ืองตน้ ใน 3 (3-0-6) วอ 102 นานาสาระเกีย่ วกับ 3 (3-0-6) คงเดิม
ชีวติ ประจำวนั อาหารและยา
วอ 102 นานาสาระเก่ยี วกบั พง 100 พลงั งานสำหรบั คงเดมิ
อาหารและยา ชีวิตประจำวนั
พง 100 พลงั งานสำหรับ คงเดมิ
ชวี ติ ประจำวนั

โครงสร้างหลกั สูตรเดิม โครงสร้างหลักสตู รใหม่ หมายเหตุ

หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการส่ือสาร หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการ

ดจิ ิทัล ส่ือสารดจิ ิทัล

(หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 100 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 99 หน่วย ลดลง

กติ

2.1 กลุ่มวิชาแกน 27 หน่วยกติ 2.1 กลุ่มวิชาแกน 30 หน่วย เพ่มิ ขึน้

กติ

สด 101 หลักการส่ือสาร 3 (3-0-6) สด 101 หลกั การส่ือสารดิจิทัล 3 (2-2-5) เปลย่ี นช่อื รายวิชา/

เปล่ียนคำอธิบาย

รายวิชา/แก้ไขจำนวน

ช่ัวโมงบรรยาย-ปฏบิ ัติ

สด 102 ความเข้าใจส่อื ดจิ ิทลั 3 (2-2-5) สด 102 ความเข้าใจสอ่ื ดิจิทัล 3 (2-2-5) เปลี่ยนคำอธิบาย

รายวชิ า

สด 103 การวาดภาพเบ้ืองต้น 3 (2-2-5) สด 103 ทัศนศิลปเ์ พ่ือการ 3 (2-2-5) เปล่ียนช่ือรายวชิ า/

และ สือ่ สาร เปล่ยี นคำอธิบาย

องค์ประกอบศิลป์ ดิจิทลั รายวิชา

สด 104 การวาดภาพดจิ ิทลั 3 (2-2-5) ยกเลกิ

มคอ. 2 141

โครงสรา้ งหลกั สตู รเดมิ โครงสร้างหลักสตู รใหม่ หมายเหตุ

หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการ

ดิจทิ ลั สือ่ สารดจิ ิทัล

(หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2561)

สด 104 การเขียนเพ่ือการ 3 (2-2- เพิ่มใหม่

สอ่ื สาร 5)

สด 105 การพฒั นาระบบคิด 3 (3-0-6) สด 105 การพฒั นาระบบคิด 3 (2-2- เปลี่ยนคำอธิบาย

5) รายวิชา/แก้ไขจำนวน

ชัว่ โมงบรรยาย-ปฏิบัติ

สด 201 การถ่ายภาพดิจิทลั เพื่อ 3 (2-2-5) สด 201 การถา่ ยภาพดจิ ิทัล 3 (2-2-5) เปลยี่ นคำอธบิ าย

การสื่อสาร เพอ่ื การสอ่ื สาร รายวิชา

สด 202 กฎหมายและจริยธรรม 3 (3-0-6) สด 202 กฎหมายและจริยธรรม 3 (2-2-5) เปล่ยี นคำอธบิ าย
ทางการสื่อสารดิจิทลั 3 (3-0-6) ทางการสื่อสารดจิ ิทลั รายวชิ า /แก้ไขจำนวน
สด 203 การพฒั นาบุคลิกภาพ ชัว่ โมงบรรยาย-ปฏิบัติ
1 (0-2-1) เปลย่ี นช่อื รายวิชา/
และการพดู สด 203 การพูดและการ 3 (2-2-5) เปล่ยี นคำอธิบาย
พฒั นา
สด 241 การพัฒนาทกั ษะ รายวิชา/แก้ไขจำนวน
บุคลกิ ภาพสำหรบั การสื่อสาร ชวั่ โมงบรรยาย-ปฏบิ ตั ิ

ยกเลิก

ภาษาองั กฤษ 1 1 (0-2-1) ยกเลกิ
สด 242 การพัฒนาทักษะ

ภาษาองั กฤษ 2 1 (0-2-1) ยกเลิก
สด 243 การพฒั นาทักษะ

ภาษาองั กฤษ 3

สด 301 วฒั นธรรมส่ือดิจิทัล 3 (2-2-5) เพม่ิ ใหม่

กับสงั คม

ศท 343 สนทนาภาษาอังกฤษ 3 (2-2-5) เพ่มิ ใหม่

ศท 348 ภาษาองั กฤษเพื่อ 3 (2-2-5) เพิม่ ใหม่

การศกึ ษาต่อและการประกอบ

อาชพี

มคอ. 2 142

โครงสร้างหลกั สูตรเดิม โครงสร้างหลักสูตรใหม่ หมายเหตุ

หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการ หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ ลดลง
ยกเลิก
สอ่ื สารดิจทิ ัล ส่อื สารดิจทิ ลั

(หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)

2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคบั 64 หน่วย 2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ 60 หน่วย

กติ กติ

สด 281 การเขียนสำหรับส่ือ 3 (2-2-5)

สิ่งพมิ พ์

สด 282 การออกแบบกราฟิก 3 (2-2-5) สด 181 การผลติ สอื่ ผสม 1 3 (2-2-5) เพิ่มใหม่
สด 281 การผลิตสื่อผสม 2 3 (2-2-5) เพ่มิ ใหม่
สด 282 การออกแบบกราฟิก 3 (2-2-5) เปลยี่ นคำอธิบาย

สด 283 หลักการวิทยุโทรทัศน์ 3 (3-0-6) รายวิชา
และภาพยนตร์ดจิ ิทลั 3 (2-2-5) ยกเลกิ
3 (3-0-6)
สด 284 การผลิตรายการวทิ ยุ ยกเลกิ
ออนไลน์
สด 285 หลักการโฆษณาดจิ ิทัล สด 283 การสร้างแบรนด์ การ 3 (2-2-5) เปล่ียนรหัสวชิ า/
และการสรา้ งแบรนด์ โฆษณา และการตลาดดจิ ิทัล เปลี่ยนชอ่ื

สด 286 การออกแบบเวบ็ ไซต์ 3 (2-2-5) สด 285 การออกแบบเว็บไซต์ รายวิชา/เปล่ียน
สด 284 การสรา้ ง คำอธิบาย
สด 287 การสรา้ ง 3 (2-2-5) ภาพเคลอื่ นไหว 2 มติ ิ
ภาพเคล่อื นไหว 2 มติ ิ 3 (2-2-5) รายวิชา/แกไ้ ข
จำนวนช่วั โมง
สด 288 การตัดต่อวิดีทศั น์ บรรยาย-ปฏบิ ัติ
3 (2-2-5) เปลย่ี นรหสั วชิ า/
เปลย่ี นคำอธิบาย

รายวชิ า
3 (2-2-5) เปลีย่ นรหสั วชิ า/

เปลย่ี นคำอธบิ าย
รายวิชา
ยกเลิก

มคอ. 2 143

โครงสรา้ งหลักสูตรเดิม โครงสร้างหลกั สตู รใหม่ หมายเหตุ
หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการ

สื่อสารดจิ ทิ ลั สื่อสารดจิ ทิ ลั
(หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)
ดิจิทัล
สด 381 กลยุทธก์ ารเลา่ เร่ือง 3 (2-2-5) ยกเลิก
และการเขียนสตอรีบ่ อร์ด
สด 382 การผลิตรายการวิทยุ 3 (2-2-5) ยกเลิก
โทรทศั นด์ จิ ิทัลเบื้องตน้

สด 381 การผลติ สอื่ ผสม 3 3 (2-2-5) เพิ่มใหม่
สด 384 เทคนิคพเิ ศษในงาน 3 (2-2-5) เพิ่มใหม่

โทรทัศน์ 3 (2-2-5) เพ่ิมใหม่
สด 385 ความเช่ยี วชาญทางสื่อ
สด 383 การนำเสนอผา่ นสือ่ 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) เปลย่ี นรหัสวิชา/
ดิจิทลั ดจิ ิทลั เปล่ียนคำอธิบาย
สด 388 การนำเสนอผา่ นสือ่ รายวชิ า
ยกเลกิ
ดจิ ิทัล

สด 384 การสร้างแบบจำลอง 3 (2-2-5) ยกเลกิ
และ
3 (2-2-5) สด 386 การจัดการองค์ทางการ 3 (2-2-5) เปลย่ี นรหสั วชิ า/
ภาพเคลอ่ื นไหว 3 มิติ 3 (3-0-6) สอื่ สารดจิ ิทัล เปลย่ี นคำอธิบาย
สด 385 แอนเิ มช่ันสำหรับวดิ ีโอ รายวิชา/แก้ไข
และสื่อปฏิสัมพนั ธ์ สด 387 การสื่อสารดิจิทัลเพ่ือ จำนวนชั่วโมง
สด 386 การจัดการองคท์ างการ การเกษตร บรรยาย-ปฏบิ ัติ
สอ่ื สาร สด 382 การวจิ ยั ทางการสอื่ สาร
3 (2-2-5) เพิ่มใหม่
สด 387 การวจิ ยั ทางการส่ือสาร 3 (3-0-6)
3 (2-2-5) เปลย่ี นรหสั วิชา/

มคอ. 2 144

โครงสร้างหลกั สูตรเดิม โครงสร้างหลักสูตรใหม่ หมายเหตุ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการ

สื่อสารดจิ ทิ ลั สือ่ สารดจิ ิทัล

(หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561)

เบอื้ งต้น ดจิ ทิ ัล เปลย่ี นชอ่ื

รายวชิ า/เปลี่ยน

คำอธบิ าย

รายวิชา/แก้ไข

จำนวนชั่วโมง

บรรยาย-ปฏบิ ัติ

สด 388 นวตั กรรมสือ่ ดิจิทลั 3 (3-0-6) สด 383 นวัตกรรมส่ือดจิ ิทัล 3 (2-2-5) เปล่ียนรหัสวิชา/

เปลีย่ นคำอธบิ าย

รายวิชา/แก้ไข

จำนวนชัว่ โมง

บรรยาย-ปฏิบตั ิ

สด 389 การสร้างสรรค์งานด้าน 3 (2-2-5) เพิ่มใหม่

การสือ่ สารดิจิทัล 1

สด 481 การสร้างสรรคง์ านด้าน 4 (2-6-7) สด 481 การสร้างสรรค์งานด้าน 3 (2-2-5) เปลีย่ นชอ่ื

การ การ รายวิชา/เปลี่ยน

สื่อสารดจิ ิทัล สือ่ สารดิจิทัล 2 คำอธิบาย

รายวิชา/แก้ไข

จำนวนชว่ั โมง

บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ

สด 482 การออกแบบ 3 (2-2-5) สด 482 นทิ รรศการร่วมสมยั 3 (2-2-5) เปลี่ยนชือ่

นทิ รรศการรว่ มสมยั รายวิชา/เปลี่ยน

คำอธิบาย

รายวิชา

เลอื ก 1 รายวิชา จากรายวชิ า เลือก1 รายวชิ าจากรายวิชา

ดงั ตอ่ ไปนี้ ดงั ต่อไปนี้

สด 497 สหกจิ ศึกษา 9 (0-27-0) สด 497 สหกิจศึกษา 9 (0-27-0) คงเดมิ

มคอ. 2 145

โครงสรา้ งหลกั สตู รเดมิ โครงสรา้ งหลกั สูตรใหม่ หมายเหตุ

หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการ หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการ คงเดมิ
คงเดมิ
สอ่ื สารดจิ ทิ ัล ส่อื สารดิจิทลั คงเดิม
ยกเลิก
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) เพม่ิ ใหม่

สด 498 การเรยี นรอู้ สิ ระ 9 (0-27-0) สด 498 การเรียนรอู้ ิสระ 9 (0-27-0)

สด 499 การศึกษา หรือ ฝกึ งาน 9 (0-27-0) สด 499 การศึกษา หรือ ฝึกงาน 9 (0-27-0)

หรือ ฝกึ อบรมตา่ งประเทศ หรอื ฝกึ อบรมตา่ งประเทศ

2.3 กลุ่มวิชาเอกเลอื ก 9 หน่วย 2.3 กลุ่มวิชาเอกเลอื ก 9 หน่วยกติ

กติ

สด 311 การผลติ รายการขา่ ว 3 (2-2-5)

วิทยุโทรทศั นด์ จิ ิทัล

สด 311 การเล่าเร่ืองผา่ น 3 (2-2-5)

สือ่ สารคดี

โครงสร้างหลักสตู รเดมิ โครงสรา้ งหลักสตู รใหม่ หมายเหตุ
หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการสื่อสาร ยกเลกิ

สอ่ื สารดิจิทลั ดจิ ทิ ัล
(หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2556) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
สด 312 การผลติ หนงั สอื พมิ พ์ 3 (2-2-5)
ดจิ ิทลั

สด 312 การถา่ ยภาพแบบมอื 3 (2-2-5) เพม่ิ ใหม่
อาชพี ในยุคดจิ ทิ ัล
สด 313 การแสดงและการกำกับ 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) เปลย่ี นช่ือรายวิชา/
การแสดง สด 313 การแสดงและกำกบั การ 3 (2-2-5) เปล่ยี นคำอธิบาย
แสดง 3 (2-2-5)
สด 314 กราฟิกสารสนเทศและ 3 (2-2-5) รายวชิ า
สิ่งพิมพด์ จิ ิทัล สด 314 กราฟิกสารสนเทศเพื่อการ เปลยี่ นชื่อรายวิชา/
สอ่ื สาร เปลยี่ นคำอธิบาย
สด 315 การผลิตรายการวทิ ยุ 3 (2-2-5)
โทรทัศนแ์ ละภาพยนตรด์ จิ ิทัล สด 315 การผลติ ภาพยนตร์ดิจทิ ลั รายวชิ า
เปลี่ยนชือ่ รายวชิ า/
เปลยี่ นคำอธิบาย

มคอ. 2 146

โครงสร้างหลักสูตรเดิม โครงสร้างหลกั สตู รใหม่ หมายเหตุ
หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสาร
รายวิชา
สอื่ สารดิจทิ ัล ดิจทิ ลั เปลยี่ นคำอธิบาย
(หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2561)
รายวชิ า
สด 316 การผลติ นิตยสารดจิ ิทลั 3 (2-2-5) สด 316 การผลติ นติ ยสารดจิ ิทลั 3 (2-2-5) เปลย่ี นคำอธบิ าย

สด 317 การเขยี นบทรายการวทิ ยุ 3 (2-2-5) สด 317 การเขียนบทรายการวทิ ยุ 3 (2-2-5) รายวิชา
โทรทศั นแ์ ละภาพยนตร์ 3 (2-2-5) โทรทศั นแ์ ละภาพยนตร์ ยกเลิก
สด 318 การเขียนภาพประกอบ เพ่มิ ใหม่

สด 319 หวั ข้อสนใจด้านการ 3 (2-2-5) สด 318 การออกแบบ 3 (2-2-5) คงเดมิ
ส่ือสารดิจิทลั 6 หน่วยกิต ประสบการณ์การสือ่ สาร 3 (2-2-5)
3. หมวดวชิ าเลือกเสรี สด 319 หวั ขอ้ สนใจด้านการ 6 หนว่ ยกติ คงเดมิ
สื่อสารดจิ ิทลั
3. หมวดวชิ าเลือกเสรี

มคอ. 2 147

เอกสารแนบ 3
สาระการปรบั ปรุงแกไ้ ข
หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการส่ือสารดิจทิ ลั
(หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2561)
คณะสารสนเทศและการสอื่ สาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) ปรับปรุง
จากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการสื่อสารดจิ ทิ ลั (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2556)

2. สภามหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบการปรับปรงุ แกไ้ ข
ในการประชุมครั้งที่ 4 /2561 วนั ท่ี 6 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561

3. หลกั สูตรปรับปรุงแก้ไขนี้ เริ่มใชก้ ับนกั ศึกษาท่ีเขา้ ศึกษาต้ังแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561
เปน็ ต้นไป

4. เหตุผลในการปรบั ปรุงแก้ไข
เพ่ือปรับปรุงเน้ือหาของหลักสูตรให้ทันสมัย และเป็นไปตามประกาศของกระทรวง ศึกษาธิการ

เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และประกาศของคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ที่กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษา
ดำเนนิ การพฒั นา/ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ
โดยให้มีรายละเอียดของหลักสูตร รายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
ให้ชดั เจน ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ ตามแบบ มคอ.2 ทกี่ ำหนดไว้
5. สาระในการแกไ้ ขปรับปรุง

5.1 ในการปรบั ปรุงหลักสูตรคร้ังนี้ มีสาระหลักของการปรับปรุง ดงั น้ีคอื
1) เพ่มิ ใหม่รายวชิ า ในแตล่ ะหมวด
2) ยกเลกิ รายวชิ า ในแตล่ ะหมวด
3) เปล่ียนแปลงรายละเอยี ดรายวิชา ดงั นี้
- เปลีย่ นรหัสวชิ า และ/หรอื เปล่ียนช่ือรายวิชา และ/หรอื เปล่ยี นคำอธบิ ายรายวิชา
และ/หรอื แก้ไขจำนวนหน่วยกิต และ/หรือ แก้ไขจำนวนช่ัวโมง บรรยาย-ปฏิบัติ และ/หรือ
เปลยี่ นวิชาบงั คบั กอ่ น

มคอ. 2 148

1) เพ่ิมรายวิชาใหม่ จำนวน 14 รายวชิ า ดังน้ี หนว่ ยกิต หมายเหตุ
ท่ี รหัสวชิ า - ช่ือรายวิชา 3 (2-2-5) หนา้ 50 ในเล่มหลกั สตู ร
1 สด 104 การเขียนเพื่อการส่ือสาร 3 (2-2-5) หน้า 53 ในเล่มหลกั สตู ร
2 สด 301 วัฒนธรรมสอื่ ดจิ ิทัลกับสังคม 3 (2-2-5) หนา้ 54 ในเล่มหลักสูตร
3 ศท 343 สนทนาภาษาอังกฤษ 3 (2-2-5) หนา้ 54 ในเล่มหลักสูตร
4 ศท 348 ภาษาอังกฤษเพ่ือการศกึ ษาต่อและกา
3 (2-2-5) หนา้ 55 ในเลม่ หลักสตู ร
ประกอบอาชีพ 3 (2-2-5) หน้า 55 ในเล่มหลกั สูตร
5 สด 181 การผลติ ส่อื ผสม 1 3 (2-2-5) หน้า 59 ในเลม่ หลักสูตร
6 สด 281 การผลติ สื่อผสม 2 3 (2-2-5) หน้า 61 ในเลม่ หลักสูตร
7 สด 381 การผลติ สื่อผสม 3 3 (2-2-5) หนา้ 61 ในเลม่ หลักสูตร
8 สด 384 เทคนิคพเิ ศษในงานโทรทัศน์ 3 (2-2-5) หน้า 63 ในเลม่ หลักสูตร
9 สด 385 ความเชย่ี วชาญทางส่ือดิจิทลั 3 (2-2-5) หน้า 64 ในเล่มหลักสูตร
10 สด 387 การส่ือสารดิจิทัลเพ่ือการเกษตร 3 (2-2-5) หน้า 68 ในเลม่ หลกั สูตร
11 สด 389 การสร้างสรรคง์ านด้านการสื่อสารดิจทิ ลั 1 3 (2-2-5) หนา้ 68 ในเลม่ หลักสูตร
12 สด 311 การเลา่ เร่ืองผา่ นสื่อสารคดี 3 (2-2-5) หน้า 72 ในเล่มหลกั สูตร
13 สด 312 การถ่ายภาพแบบมืออาชีพในยุคดจิ ทิ ัล
14 สด 318 การออกแบบประสบการณ์การส่อื สาร

มคอ. 2 149

2) ยกเลกิ รายวิชา จำนวน 15 รายวชิ า ดงั น้ี หนว่ ยกติ
ท่ี รหสั วิชา - ช่ือรายวิชา 3 (2-2-5)
1 สด 104 การวาดภาพดิจิทลั 1 (0-2-1)
2 สด 241 การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ 1 1 (0-2-1)
3 สด 242 การพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ 2 1 (0-2-1)
4 สด 243 การพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ 3 3 (2-2-5)
5 สด 281 การเขยี นสำหรบั สื่อสิ่งพิมพ์ 3 (3-0-6)
6 สด 283 หลกั การวิทยโุ ทรทัศน์และภาพยนตรด์ จิ ิทัล 3 (2-2-5)
7 สด 284 การผลิตรายการวิทยุออนไลน์ 3 (2-2-5)
8 สด 288 การตัดต่อวดิ ที ัศน์ดจิ ิทัล 3 (2-2-5)
9 สด 381 กลยทุ ธก์ ารเล่าเรื่องและการเขียนสตอรบี่ อร์ด 3 (2-2-5)
10 สด 382 การผลติ รายการวิทยุโทรทศั น์ดจิ ิทัลเบื้องต้น 3 (2-2-5)
11 สด 384 การสรา้ งแบบจำลองและภาพเคลอ่ื นไหว 3 มติ ิ 3 (2-2-5)
12 สด 385 แอนเิ มชัน่ สำหรบั วดิ ีโอและสอื่ ปฏสิ มั พันธ์ 3 (2-2-5)
13 สด 311 การผลิตรายการขา่ ววทิ ยุโทรทศั นด์ ิจิทลั 3 (2-2-5)
14 สด 312 การผลิตหนงั สอื พิมพ์ดจิ ทิ ลั 3 (2-2-5)
15 สด 318 การเขียนภาพประกอบ

3) เปลี่ยนแปลงรายละเอียดรายวชิ า ดงั นี้

เปลีย่ นรหสั วชิ า และ/หรอื เปลีย่ นชอ่ื รายวิชา และ/หรอื เปลย่ี นคำอธบิ ายรายวชิ า และ/หรือ

แกไ้ ขจำนวนหนว่ ยกิต และ/หรือ แก้ไขจำนวนช่วั โมง บรรยาย-ปฏิบตั ิ และ/หรอื เปลยี่ นวิชาบงั คับก่อน 3.1)

เปลย่ี นรายละเอียดของรายวิชา จำนวน 25 รายวิชา ดังน้ี

ที่ รายวิชา (เดิม) รายวชิ า (ใหม่) หมายเหตุ

1 ศท 013 สุขภาพเพื่อการ 3 (1-4-4) ศท 013 สุขภาพเพื่อการ 3 (2-2-5) แกไ้ ขจำนวนช่วั โมงบรรยาย-

ดำรงชีวิต ดำรงชีวิต ปฏบิ ตั ิ

2 ศท 031 การใช้ภาษาไทย 3 (1-4-4) ศท 031 การใชภ้ าษาไทย 3 (2-2-5) แก้ไขจำนวนชั่วโมงบรรยาย-
ปฏบิ ตั ิ
3 ศท 014 การสบื ค้น 3 (1-4-4) ศท 014 การสืบคน้ 3 (2-2-5) แกไ้ ขจำนวนชัว่ โมงบรรยาย-

สารนิเทศเพ่ือการศึกษา สารนิเทศเพื่อการศึกษา ปฏบิ ัติ

4 สด 101 หลกั การสื่อสาร 3 (3-0-6) สด 101 หลักการส่ือสาร 3 (2-2-5) เปลยี่ นคำอธิบายรายวิชา/แก้ไข

ดิจิทลั จำนวนชว่ั โมง

มคอ. 2 150

ท่ี รายวิชา (เดมิ ) รายวชิ า (ใหม่) หมายเหตุ

5 สด 102 ความเข้าใจสอ่ื 3 (2-2-5) สด 102 ความเข้าใจส่อื 3 (2-2-5) บรรยาย-ปฏิบตั ิ
ดิจทิ ลั ดิจิทลั เปลย่ี นคำอธิบายรายวชิ า
สด 103 ทศั นศิลปเ์ พ่ือการ 3 (2-2-5)
6 สด 103 การวาดภาพ 3 (2-2-5) สอ่ื สารดจิ ิทัล เปลี่ยนชื่อรายวิชา/เปลย่ี น
เบื้องต้นและ คำอธิบายรายวชิ า
องค์ประกอบศิลป์ สด 105 การพัฒนาระบบคิด 3 (2-2-5)
เปลย่ี นคำอธิบายรายวิชา /
7 สด 105 การพัฒนา 3 (3-0-6) แกไ้ ขจำนวนช่วั โมงบรรยาย-
ระบบคิด ปฏบิ ัติ
เปลย่ี นคำอธิบายรายวิชา
8 สด 201 การถา่ ยภาพ 3 (2-2-5) สด 201 การถ่ายภาพ 3 (2-2-5)
ดิจิทลั เพื่อการสอื่ สาร ดิจทิ ลั เพอ่ื การสื่อสาร 3 (2-2-5) เปล่ียนคำอธบิ ายรายวิชา /
สด 202 กฎหมายและ แกไ้ ขจำนวนช่ัวโมงบรรยาย-
9 สด 202 กฎหมายและ 3 (3-0-6) จรยิ ธรรมทางการสอ่ื สาร 3 (2-2-5) ปฏบิ ัติ
จรยิ ธรรมทางการสอ่ื สาร ดจิ ิทลั
ดิจทิ ลั สด 203 การพูดและการ 3 (2-2-5) เปลย่ี นช่ือรายวิชา/เปล่ยี น
พฒั นาบุคลิกภาพสำหรับ 3 (2-2-5) คำอธิบายรายวชิ า/แก้ไขจำนวน
10 สด 203 การพัฒนา 3 (3-0-6) การสื่อสาร ช่วั โมงบรรยาย-ปฏบิ ัติ
บุคลกิ ภาพและการพูด สด 282 การออกแบบ 3 (2-2-5)
กราฟิก 3 (2-2-5) เปลี่ยนคำอธบิ ายรายวชิ า
11 สด 282 การออกแบบ 3 (2-2-5) สด 283 การสรา้ ง แบ 3 (2-2-5)
รนด์ การโฆษณา และ 3 (2-2-5) เปลย่ี นรหสั วิชา/เปลยี่ นช่ือ
กราฟิก การตลาดดจิ ทิ ัล รายวชิ า/เปลีย่ นคำอธิบาย
สด 285 การออกแบบ รายวิชา/แกไ้ ขจำนวนชว่ั โมง
12 สด 285 หลกั การ 3 (3-0-6) เว็บไซต์ บรรยาย-ปฏิบตั ิ
สด 284 การสร้าง เปลี่ยนรหสั วชิ า/ เปล่ยี น
โฆษณาดิจิทัลและการ ภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ิ คำอธบิ ายรายวชิ า
สด 388 การนำเสนอผา่ น เปลย่ี นรหสั วิชา/ เปลีย่ น
สร้าง แบรนด์ สื่อดจิ ทิ ลั คำอธบิ ายรายวิชา
สด 386 การจัดการองค์ เปลย่ี นรหัสวิชา/ เปล่ียน
13 สด 286 การออกแบบ 3 (2-2-5) คำอธิบายรายวิชา
เปลีย่ นช่ือรายวิชา/เปลีย่ น
เวบ็ ไซต์ คำอธบิ ายรายวิชา/แก้ไขจำนวน

14 สด 287 การสร้าง 3 (2-2-5)

ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ

15 สด 383 การนำเสนอ 3 (2-2-5)

ผ่านสอ่ื ดจิ ิทลั

16 สด 386 การจดั การองค์ 3 (3-0-6)


Click to View FlipBook Version