The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chtsan6, 2021-12-17 05:16:58

ครูเพื่อศิษย์ สร้างการเชื่อมโยง

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

• 250 •

• 251 •

• 252 •

• 253 •

• 254 •

• 255 •

• 256 •

• 257 •



ดวงตา หมายเลข ๘ เจ้าของผลงาน : เด็กชายณฐั คเณศวร์ พรานวิหค
เด็กหญิงณลติ า พลธนะวสิทธ ์ิ เดก็ หญิงลลิ นิ ชนิ้ ปน่ิ เกลียว
เด็กหญิงเพียงพทุ ธ โรจนสถาพรกจิ เด็กชายกัณฑชัช อินทสุ ถิตยกุล



ประเมินผลกระทบ

บันทึกนี้ ตีความจากบทท่ี 5 Determining Impact, Responding When
the Impact Is Insufficient, and Knowing What Does Not Work ในหนังสือ
หน้า 133 - 167

สาระสำ� คญั ของบนั ทกึ นคี้ อื ครตู อ้ งประเมนิ ผลกระทบของบทเรยี นตอ่ การเรยี นรู้
ของนกั เรยี น และใชข้ อ้ มลู มาคดิ ดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ วธิ สี อนของตน รวมทงั้ ใชข้ อ้ มลู
นักเรียนที่เรียนอ่อนและต้องการความช่วยเหลือ ในการด�ำเนินการช่วยเหลือ
เป็นรายคน เพ่ือให้นักเรียนทุกคนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด
และครตู อ้ งไมห่ ลงใชว้ ธิ กี ารจดั การศกึ ษาผดิ ๆ ทม่ี ผี ลการวจิ ยั พสิ จู นแ์ ลว้ วา่ ไมใ่ หผ้ ลดี
ต่อการเรียนรูข้ องนักเรียน
นกั เรยี นตอ้ งไปโรงเรยี นอยา่ งมคี วามสขุ และบทเรยี นตอ้ งกอ่ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้
อยา่ งมรี ะดบั ผลกระทบสูง (high effect size) เปน็ หนา้ ที่ของครมู ืออาชพี ที่จะต้อง
รับผิดชอบว่าบทเรียนท่ีตนจัดให้ และสภาพบรรยากาศในชั้นเรียน มีผลดังกล่าว
ตอ่ ศษิ ย์ ยำ�้ วา่ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบทางวิชาชีพ

หาค่าผลกระทบ

การวดั ผลกระทบตอ่ การเรยี นรู้ นยิ มวดั เปน็ effect size โดยมีคา่ ๐.๔๐ เปน็
จดุ ตดั คา่ ES = ๐.๔๐ เปน็ คา่ เฉลย่ี ของพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นในเวลา ๑ ปี
ดังน้ัน วิธีจัดการบทเรียนท่ีให้ ES ต่�ำกว่า ๐.๔๐ จึงถือว่าให้ผลต่�ำกว่ามาตรฐาน
ต้องการการเปลย่ี นแปลงหรือปรับปรุง

• 260 •

ครูต้องมี “ความรู้สึกรับผิดชอบว่างานที่ท�ำก่อผลดี” (sense of efficacy)
ซ่ึงหมายความว่า มีความรู้สึกรู้ร้อนรู้หนาวต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของศิษย์ ครูท่ี
รบั ผิดชอบสูง มีลักษณะดงั ต่อไปน้ี
เตรียมสอน และจัดระบบการสอน
เปิดกว้างต่อแนวคิดใหม่ๆ และพรอ้ มทีจ่ ะลองวธิ กี ารใหม่ๆ เพือ่ สนองความ
ตอ้ งการของนักเรียน
อดทน มานะพยายาม และยดื หยนุ่ ในสภาพทม่ี ีปญั หา
ไมต่ �ำหนนิ ักเรียนท่ที �ำงานผิดพลาด
ไม่ค่อยส่งเด็กท่ีมีปัญหาการเรียน ไปให้ครูผู้เช่ียวชาญด�ำเนินการช่วยเหลือ
(หมายความวา่ ครคู ดิ หาทางชว่ ยเหลอื ดว้ ยตนเองกอ่ น จะสง่ ไปใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญ
กต็ ่อเมื่อพบว่าเกินความสามารถของตนในการชว่ ยให้ไดผ้ ล)
ครูท่ีดีจะน�ำเรื่องการด�ำเนินการเพ่ือให้ศิษยท์ ุกคน บรรลุผลการเรียนที่ก�ำหนด
มาปรึกษาหารือกัน ท่เี ราเรยี กกันวา่ กระบวนการ PLC - Professional Learning
Community ซงึ่ ผมเรยี กวา่ “ชมุ ชนเรยี นรู้ ครเู พอื่ ศษิ ย”์ (อา่ นเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี https://
goo.gl/inDDmA) และในหนังสือเล่มนี้บอกว่าจะน�ำไปสู่ผลงานของ “ชุมชนครู
ผลลพั ธส์ งู ” (collective teacher efficacy) ทมี่ อี ดุ มการณร์ ว่ มวา่ เมอ่ื ครรู ว่ มมอื กนั
ท�ำเพ่ือศิษย์ จะก่อผลดีต่อการเรียนรู้ของศิษย์ ในลักษณะที่สามารถช่วยเหลือ
นักเรียนที่มีปัญหาการเรียนสุดๆ ได้ (ไม่ทิ้งนักเรียนคนหน่ึงคนใดไว้ข้างหลัง)
ลมหายใจเข้าออกของสมาชิกชุมชนเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ คือ ผลลัพธ์การเรียนรู้
ของศษิ ย์ (ทุกคน) ES ของชุมชนครมู ีผลลพั ธ์สูงถึง ๑.๕๗
ครเู พื่อศษิ ย์ ต้องตระหนกั ในหลกั ๔ ประการ ของบทเรยี นที่ดี
๑. แตล่ ะบทเรียนต้องมีเป้าหมายการเรียนร้ทู ช่ี ดั เจน
๒. แต่ละเปา้ หมายมเี กณฑค์ วามสำ� เร็จชัดเจน อย่ามีหลายเกณฑจ์ นเฝือ
๓. เกณฑค์ วามสำ� เรจ็ ระบรุ ะดบั คณุ ภาพชดั เจน ทนี่ กั เรยี นเขา้ ใจไดง้ า่ ย เพอื่
ทา้ ทายให้นักเรียนวางเป้าหมายของตนที่ความสำ� เรจ็ ระดับคณุ ภาพสงู
๔. นักเรียนต้องได้รับรู้ว่า ขณะน้ันตนอยู่ตรงไหน ในเกณฑ์ความส�ำเร็จ
โดยนกั เรยี นเขา้ ใจวา่ การเรยี นรมู้ ลี กั ษณะตอ่ เนอ่ื ง (continuum) การทำ�
ผดิ พลาดเปน็ โอกาสของการเรยี นรู้ และตนเองสามารถเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ ได้

• 261 •

การหาค่าผลกระทบ

ประเมนิ กอ่ นสอน (pre - assessment)
การประเมนิ กอ่ นสอน (ทว่ี งการศกึ ษาไทยนยิ มเรยี กวา่ pre - test) มปี ระโยชน์
๒ ประการ
๑. เกบ็ ผลเอาไวเ้ ปรียบเทียบกับผล post - assessment ส�ำหรบั ใชค้ ำ� นวณหา
effect size
๒. ชว่ ยใหค้ รรู วู้ า่ นกั เรยี นคนไหนพน้ื ความรเู้ ดมิ ออ่ นแอ และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื
พิเศษ ให้ครนู ำ� มาใช้ออกแบบด�ำเนินการช่วยเหลือต่อไป
ประเมินหลงั สอน (post - assessment หรอื post - test)
หลงั สอนจบบทเรยี น กด็ ำ� เนนิ การทดสอบผลซำ�้ ทนั ที ดว้ ยแบบทดสอบเดยี วกนั กบั
pre - assessment
วิธีคำ� นวณและตคี วาม Effect Size
นำ� คะแนนของนกั เรยี นแตล่ ะคนในชนั้ มาลงใน excel spreadsheet ซงึ่ จะคำ� นวณ
mean และ SD ของคะแนนของนกั เรยี นทง้ั ชน้ั ใหแ้ ยกเปน็ ของชดุ pre - assessment
และของชุด post - assessment น�ำค่า SD ของท้ังสองชุดมาบวกกันหารด้วย ๒
เป็นคา่ SD เฉลีย่ ส�ำหรับใช้ในการค�ำนวณ effect size
Effect Size = (mean post - assessment - mean pre - assessment) / SD เฉลย่ี
ค�ำนวณค่า effect size ของนักเรียนแต่ละคนได้โดย เอาค่าคะแนน post -
assessment ลบดว้ ยคา่ คะแนน pre - assessment หารดว้ ยคา่ SD เฉลยี่ ครกู จ็ ะรวู้ า่
นักเรียนคนไหนบ้างที่ค่า effect size ต่�ำกว่า ๐.๔๐ และต้องการความช่วยเหลือ
พเิ ศษต่อไป
การน�ำผล ES ของนักเรียนแต่ละคนบอกให้เจ้าตัวทราบ ส�ำหรับน�ำมาพูดคุย
กับนักเรียนแต่ละคน เพื่อเป็นข้อเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนพัฒนาวิธีเรียนของตนและ
ต้ังเป้าหมายสูงในบทเรียนต่อไป โดยนักเรียนม่ันใจว่าจะมีครูอยู่เคียงข้างคอยให้
คำ� แนะนำ� ชว่ ยเหลอื จะทำ� ใหน้ กั เรยี นมงุ่ มน่ั ตอ่ การเรยี นของตน ตามหลกั สอนเขม้
เพอื่ ศษิ ยข์ าดแคลน (อา่ นเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี http://bit.ly/33iD7wu) บทท่ี ๕ ตง้ั เปา้ หมาย
สูงล่วิ

• 262 •

จะเห็นว่า effect size เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญย่ิง ที่ท�ำให้นักเรียนและครูเห็นผล
การเรียน และวิธีการเรียน ชัดเจน ท่ีเรียกว่า visible learning ตามช่ือหนังสือ
Visible Learning for Literacy
ข้อเตือนใจส�ำคัญคือ อย่าหลงตีความว่า effect size บอกความเป็นเหตุ
เป็นผล มันบอกเพียงความสัมพันธ์เท่านั้น เช่น ชุมชนครูผลลัพธ์สูง สัมพันธ์กับ
ES = ๑.๕๗

ด�ำเนนิ การเมื่อผลกระทบไม่สงู เทา่ ทีต่ อ้ งการ

หากผล ES ของนักเรียนท้ังชั้นต่�ำกว่า ๐.๔๐ ครูจะนัดปรึกษาหารือ ท�ำความ
เขา้ ใจวา่ ทำ� ไมวธิ สี อนทใี่ ช้ จงึ ไดผ้ ลไมเ่ ปน็ ทนี่ า่ พอใจ และจะแกไ้ ขอยา่ งไร ออกแบบ
การเรยี นใหม่อย่างไร สงิ่ ท่ไี ม่ทำ� คอื สอนใหม่ด้วยวิธีการเดิม
วิธีการหน่ึงที่เล่าในหนังสือคือ สอนใหม่โดยครูพูดความคิดของตนออกมาดังๆ
เท่ากับสอนวิธีคิดว่าด้วยการเรียน (metacognition) ตรงๆ ว่าในการท�ำโจทย์
ขน้ั ตอนนคี้ รทู ำ� อยา่ งนเ้ี พราะคดิ อยา่ งไร มหี ลกั ฐานอะไรวา่ ทำ� อยา่ งนนั้ แลว้ จะไดผ้ ลดี
ครเู อารา่ งผลงานรา่ งแรกมาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ บอกวา่ เมอ่ื ทบทวนแลว้ ครคู ดิ วา่ ตรงไหน
ที่ยังต้องปรับปรุง เพราะอะไร และเอาร่างที่สองท่ีปรับปรุงครั้งที่ ๑ ให้ดู แล้วอาจ
ทบทวนรา่ งทสี่ องใหน้ กั เรยี นฟงั อกี หรอื รว่ มกนั ทบทวนระหวา่ งครกู บั นกั เรยี น นคี่ อื
การสอนให้นักเรยี นเรียนรู้และพฒั นาวธิ เี รยี น (metacognition) ของตน(๑)
ครูอาจเอาผลการเรียนของนักเรียนมาคุยเป็นรายคน โดยเน้นคุยท่ีวิธีท�ำงาน
วธิ คี ดิ ของนกั เรยี น ไมใ่ ชเ่ นน้ คยุ ทผี่ ลการเรยี น ซงึ่ จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นมองเหน็ แนวทาง
ปรบั ปรงุ วธิ เี รยี นของตน ES จงึ เปน็ เครอื่ งมอื สำ� หรบั ครใู หค้ ำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั แกศ่ ษิ ย์
เน้นแนะน�ำป้อนกลบั วธิ ีเรียน

(๑) Think aloud ผู้เรียนพดู ความคิดเพื่อใหเ้ กิด metacognition ทผ่ี ูเ้ รียน ครูจะไดย้ ินความคิดในหัวเด็ก
แลว้ วเิ คราะหอ์ อกวา่ จะ feedback ตอ่ เพอ่ื coach ความคดิ อยา่ งไร นา่ สนใจครบั เหมาะกบั “ถามคอื สอน”
แตท่ ผ่ี มทำ� ยงั ไมถ่ งึ ขน้ั ให้ think aloud ผมสอนใหค้ รวู เิ คราะหจ์ ากคำ� ตอบ (ไมใ่ ชค่ วามคดิ ดงั ๆ) จากปากเดก็
เปน็ หวั ใจนกั ปราชญ์ ส-ุ จ-ิ ป-ุ ลิ ทข่ี ยายเปน็ ครู ส-ุ จ-ิ ปุ เดก็ ส-ุ จ-ิ ว(ิ สชั นา) เพอื่ วนกลบั ไปใหค้ รู ส-ุ จ-ิ ปุ อกี รอบ
แล้วเด็กค่อย ลิ เม่ือร้อง “อ๋อ.. หนูรู้แลว้ ”

• 263 •

โปรดสังเกตว่า ครูต้องมุ่งช่วยเหลือเด็กเรียนอ่อน ให้เข้าใจวิธีเรียน และรู้วิธี
ปรบั ปรงุ วธิ ีเรยี น ไม่ใช่เนน้ ทอ่ งจำ� สาระของบทเรยี น
การสอนท่ีดี เป็นกิจกรรมที่ไม่ด�ำเนินการตามแบบแผนตายตัว มีการปรับให้
เหมาะสมต่อกลุ่มนักเรียน และตามสถานการณ์อื่นๆ ครูสมรรถนะสูงท�ำหน้าที่
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ วัดผลกระทบต่อนักเรียน
แล้วพัฒนาวิธีการท�ำงานของตน เป็นวงจรไม่รู้จบ จะเห็นว่า มองมุมหน่ึง นี่คือ
วงจรการเรียนรู้ของครูน่ันเอง เป็นกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู (professional
development) ท่ีแท้จริง
วิธชี ว่ ยเหลอื เด็กมีปญั หา ที่ทำ� อย่างเปน็ ระบบและนิยมใช้กนั มากคอื RTI
RTI – Response to Intervention
RTI (อ่านเพ่ิมเติมได้ท่ี http://www.rtinetwork.org/learn/what/whatisrti)
เปน็ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชก้ นั แพรห่ ลาย สำ� หรบั ชว่ ยเหลอื เดก็ ทมี่ ปี ญั หาการเรยี น หรอื ปญั หา
ความประพฤติ ประกอบด้วยการทดสอบกรอง (screening) ในนักเรียนทุกคน
ตามมาด้วยการให้ความช่วยเหลือท่ีเรียกว่า intervention แก่นักเรียนท่ีต้องการ
การดูแลพิเศษ โดยที่การดูแลพิเศษมี ๓ ช้ัน คือ Tier 1 intervention Tier 2
intervention และ Tier 3 intervention การดำ� เนนิ การตามเครอื่ งมอื นใ้ี ห้ ES = ๑.๐๗
ทดสอบกรอง (screening)
การทดสอบกรองด�ำเนินการในระดับโรงเรียน แล้วจึงใช้ข้อมูลไปด�ำเนินการ
ในแตล่ ะช้นั โดยมรี ะบบสนบั สนุนทจี่ ดั การในระดับโรงเรยี น
เรมิ่ จากการเลอื ก และตรวจสอบเครอื่ งมอื ทใ่ี ชท้ ดสอบ มเี ครอ่ื งมอื ทแี่ นะนำ�
ในเวบ็ ไซตข์ อง National Center on Intensive Intervention (อา่ นเพม่ิ เตมิ
ได้ที่ https://intensiveintervention.org) ให้เขา้ ไปเลอื กใชไ้ ด้
ตามด้วยการตระเตรียมด�ำเนินการทดสอบและการประยุกต์ใช้ RTI ท้ัง
กระบวนการ
ดำ� เนนิ การพฒั นาครใู หร้ จู้ กั RTI และบทบาทของตนเอง รวมทง้ั การพฒั นา
ครตู ่อเนื่องตลอดปี
ดำ� เนินการทดสอบกรองตอนต้นเทอมทกุ เทอม
จัดระบบสารสนเทศเพือ่ ใช้ติดตามผลนักเรยี น

• 264 •

ประมวลผลการทดสอบ และนำ� เสนอเปน็ กราฟฟกิ จดั กลมุ่ ใหด้ เู ปรยี บเทยี บ
ได้ง่าย
ตรวจสอบผลในระดับห้องเรียน และตัดสินใจว่าจะด�ำเนินการช่วยเหลือ
ในขน้ั ใด ต่อนกั เรยี นคนไหน
บนั ทกึ ผลการทดสอบกรองของนกั เรยี นแตล่ ะคนลงในระบบฐานขอ้ มลู เพอ่ื
ใชต้ ดิ ตามผลนกั เรียนในระยะยาว
เขยี นขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การต่อนักเรยี นทเ่ี ป็นเป้าหมายการชว่ ยเหลอื
ขนั้ ตอนการเตรยี มใช้ RTI ทส่ี ำ� คญั ยงิ่ คอื การพฒั นาความเชอื่ ถอื ไวว้ างใจ (trust)
ของนกั เรยี นตอ่ ครู เพราะปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวกระหวา่ งนกั เรยี นกบั ครเู ปน็ ปจั จยั สำ� คญั
ยง่ิ ต่อผลการเรยี นของนักเรยี น(๒)
จัดการสอนแกน่ กั เรยี นทกุ คนอยา่ งมคี ณุ ภาพ (quality core instruction)
นคี่ อื การเรยี นการสอนหลกั ทน่ี กั เรยี นทกุ คน (ไมเ่ ฉพาะนกั เรยี นทต่ี อ้ งการความ
เอาใจใสพ่ ิเศษ) ไดร้ บั ท่ีจะตอ้ งจัดอยา่ งมคี ุณภาพสูง โดยมหี ลักการ ๗ ข้อตอ่ ไปนี้
เปน็ อยา่ งน้อย
ครบู อกเป้าหมายการเรยี นรู้ และเกณฑ์วดั ความส�ำเร็จ อย่างชัดเจน
นกั เรยี นเป็นเจ้าของความคาดหวงั ต่อการเรยี นรู้
ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูกบั นกั เรียน ท่ีเปน็ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวก มคี วามเป็น
มนษุ ย์ และมุ่งความเจรญิ งอกงาม
มีโมเดลการเรียน และมี direct instruction ซ่ึงหมายถึงครูระบุเป้าหมาย
การเรยี นทช่ี ดั เจน แล้วให้นักเรียนทำ� กิจกรรมเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายนน้ั
ใหน้ กั เรยี นมกี จิ กรรมเรยี นแบบรว่ มมอื กนั (collaborative learning) ทกุ วนั
มีการเรียนแบบกลุ่มย่อย ท่ีจัดกลุ่มแบบคละนักเรียนเรียนเก่งกับนักเรียน
เรยี นออ่ น
มอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนท�ำกิจกรรมเพื่อฝึกประยุกต์ใช้ความรู้เป็น
ชว่ งๆ

(๒) อา่ นขนั้ ตอนแลว้ นกึ ถงึ การขยาย Qinfo ในโครงการ sQip ของ สสค. ใหเ้ ปน็ platform การพฒั นาการ
เรยี นรเู้ ด็กครับ

• 265 •

จะเห็นว่า Tier 1 intervention นี้ ก็มีการเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายคน มีการ
ช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาไปช้ันหน่ึงแล้ว และจริงๆ แล้ว Tier 1 intervention
นา่ จะเปน็ การจดั การในชน้ั เรยี นตามมาตรฐานทว่ั ไป แตน่ า่ เสยี ดายวา่ มกี ารทำ� ตาม
มาตรฐานนี้ไมม่ าก

ติดตามความกา้ วหนา้ (progress monitoring)
เขาแนะน�ำเครอ่ื งมอื ๒ ชิน้ สำ� หรับครูใชต้ ิดตามความกา้ วหน้าของนกั เรยี น
CBM (Curriculum - Based Measurement) อ่านเพ่ิมเติมได้ท่ี https://
en.wikipedia.org/wiki/Curriculum - based_measurement เป็นเคร่ืองมือ
วัดความช�ำนาญ (mastery) ของทักษะท่ีก�ำหนด เป็นเคร่ืองมือมาตรฐาน
ท่ีใช้ง่าย และรายงานผลเปรียบเทียบได้ทุกสัปดาห์ท�ำให้เห็นความก้าวหน้า
(หรอื ไมก่ า้ วหนา้ ) ชดั เจน แตก่ ม็ คี นตวิ า่ มคี วามยดื หยนุ่ นอ้ ยไป ในกรณขี อง
นักเรียนท่ีมีปัญหา ผลการทดสอบน้ีจะเป็นข้อมูลให้ครูน�ำมาคิด ปรึกษา
หารอื กนั และหาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เพอื่ คน้ หาสาเหตตุ น้ ตอของปญั หา (root cause)
ตอ่ ไป ผมขอยำ�้ วา่ ครตู อ้ งไมห่ ยดุ อยแู่ คป่ ญั หา ตอ้ งรว่ มกนั คน้ หาตน้ ตอของ
ปญั หาให้ได้
CBA (Curriculum - Based Assessment) อา่ นเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี http://mosaic.
pitt.edu/curbasedassess.html เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ตามท่ีก�ำหนดใน
หลกั สตู รหรอื บทเรยี น โดยวดั แทรกอยใู่ นกระบวนการเรยี นการสอนนน้ั เอง
โดยครูสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และผลการเรียนในการ
ท�ำโครงงาน การสอบย่อย และผลงานอ่ืนๆ เม่ือครูพบข้อบกพร่องของ
นักเรียนคนใดกด็ ำ� เนนิ การแกไ้ ขทนั ที ผมตคี วามว่า นค่ี อื การประเมินเพื่อ
พฒั นา (formative assessment) อา่ นเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี https://www.gotoknow.
org/posts/tags/ประเมินเพ่อื มอบอำ� นาจ

สอนเสรมิ และสอนเขม้ (supplemental and intensive interventions)
สอนเสรมิ ถอื เปน็ Tier 2 intervention สว่ นสอนเขม้ ถอื เปน็ Tier 3 intervention
การด�ำเนินการแกไ้ ขมกั ทำ� ผสมผสาน ๒ ระดับน้คี วบคกู่ ันไป

• 266 •

นักเรียนกลุ่มท่ีได้รับการสอนเสริมเป็นกลุ่มเล็กๆ ๓ - ๔ คน เรียนร่วมกัน
ในเวลาเรียนตามปกติ แยกออกมาจากนักเรียนกลุ่มใหญ่ โดยนักเรียนกลุ่มใหญ่
ทำ� กจิ กรรมเพอ่ื การเรยี นรขู้ องตนโดยไมต่ อ้ งมคี รชู ว่ ย ครใู ชเ้ วลา (ราวๆ ๓๐ นาท)ี
สอนเรอื่ งทน่ี กั เรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจ ดว้ ยวธิ กี ารทต่ี า่ งไปจากเดมิ ซงึ่ จรงิ ๆ แลว้ มหี ลากหลาย
วิธีการให้เลือกและลอง เช่นหนังสือยกตัวอย่างครูช้ัน ป.๔ ที่ผลการทดสอบกรอง
พบว่ามีนักเรียน ๔ คน อ่านไม่คล่อง จึงจัดสอนเสริมให้ทุกวัน โดยพูดคุยเรื่อง
อา่ นคลอ่ ง (fluency) วา่ เปน็ อยา่ งไร และใหท้ ำ� ความเขา้ ใจคำ� วา่ prodosy (อา่ นเพม่ิ เตมิ
ได้ที่ https://en.wikipedia.org/wiki/Prosody_(linguistics) ว่าอ่านเหมือนนักพูด
คือมีจังหวะจะโคนน่าฟังอย่างไร นักเรียนอยากอ่านคล่อง น่าฟัง เหมือนคนดัง
คนไหน แลว้ ใหซ้ อ้ มอา่ นหนงั สอื ทนี่ กั เรยี นเลอื ก ภายใน ๖ สปั ดาห์ ผลการทดสอบ
พบวา่ นกั เรยี น ๒ ใน ๔ มผี ลอยใู่ นระดบั เปอรเ์ ซน็ ไทลท์ ่ี ๕๐ (P50) สำ� หรบั เดก็ ป. ๔
จงึ ไมต่ อ้ งเขา้ ชน้ั สอนเสรมิ อกี ตอ่ ไป นคี่ อื ผลดขี องการสอน metacognition เพอ่ื ชว่ ย
การเรยี น
นักเรียนท่เี หลอื ๒ คนมเี พือ่ นที่ยา้ ยมาจากโรงเรียนอ่นื อกี หนง่ึ คน รวมเปน็ ๓
ต้องได้รับ Tier 2 intervention ต่อ แต่คราวน้ีครูใช้วิธีการอ่ืน ท่ีเรียกว่าเทคนิค
rereading (อา่ นเพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี https://gwcomprehensionstrategies.weebly.com/
rereading.html) เน้นให้อ่านแล้วเกิดความเข้าใจสาระ ท่ีครูมีกลเม็ดในการสร้าง
แรงจูงใจให้นักเรียนอยากซ้อม โดยให้ผลัดกันเลือกหนังสือคนละสัปดาห์ ส�ำหรับ
อ่านด้วยกัน เมื่อเลือกแล้วครูเอาไปอ่านก่อน และท�ำค�ำถามให้นักเรียนอ่านก่อน
อา่ นหนังสือ เพ่อื เปน็ แนวทางให้อา่ นได้สาระ
นกั เรยี นอา่ นหนงั สอื หลายเทยี่ ว แลว้ มาอภปิ รายความหมายกนั หลงั ๖ สปั ดาห์
ทส่ี อง นกั เรยี นอกี ๒ คนกส็ อบผา่ น เกณฑ์ P50 เหลอื นกั เรยี นทย่ี า้ ยมาใหมค่ นเดยี ว
ที่ครูต้องหาทางช่วยเหลือต่อไป โดยครูหันมาใช้เคร่ืองมือ NIM - Neurological
Impress Method (อา่ นเพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ https://childdevelopmentinfo.com/learning/
dyslexia/neurological_impress_reading/) ซึ่งได้ผลไม่มาก จึงต้องใช้ Tier 3
intervention ตอ่ นกั เรยี นคนนี้ โดยใชว้ ธิ ใี หฝ้ กึ พดู ตอ่ ทส่ี าธารณะ (public speaking)
เพอ่ื สรา้ งความมนั่ ใจในตนเองดว้ ย และยงั คงใช้ NIM ตอ่ เนอ่ื งดว้ ย การชว่ ยเหลอื นี้
ต้องท�ำต่อเน่ืองไปจนส้ินปีการศึกษา ที่ผลการทดสอบความคล่องในการอ่านอยู่ท่ี
P70 เขาบอกว่าเบอ้ื งหลงั ความส�ำเรจ็ นีอ้ ย่ทู ีค่ วามสนทิ สนมไว้เน้ือเช่อื ใจกันระหว่าง
ครกู บั นักเรยี น

• 267 •

อ่านสาระตอน สอนเสริมและสอนเข้มแล้ว เห็นสภาพโรงเรียนท่ีมีมาตรการ
“ไมท่ ิง้ เดก็ คนใดไวข้ า้ งหลงั ” ชัดเจน และเหน็ ภาพ “ครเู พื่อศษิ ย์” ดว้ ย
เปน็ ตวั อยา่ งทพี่ สิ จู นว์ า่ นกั เรยี นทกุ คนเรยี นสำ� เรจ็ ได้ หากมมี าตรการทยี่ ดื หยนุ่
ในการจดั การเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสมต่อตัวเดก็ แต่ละคน

ร้เู ทา่ ทันวิธกี ารที่ไม่ไดผ้ ล

มาตรการรักษามาตรฐานการศึกษาที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
มีหลายมาตรการเป็นวิธีการท่ีพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้ผล หรือก่อผลลบ ท่ีน่าตกใจมาก
คือหลายมาตรการเกิดจากครูไม่มุ่งมั่นพัฒนาตนเองเพ่ือท�ำประโยชน์แก่เด็ก
แต่หนั กลบั ไปโทษเดก็ ว่าไม่มีความสามารถหรือไม่เอาใจใสก่ ารเรยี น
ตกซ้�ำชั้น
มีผลการวิจัย meta - analysis ผลงานวิจัยจำ� นวนมาก พบว่า ES ของการให้
ตกซ้�ำช้ันมีผลเป็นลบ คือ -๐.๑๓ เพราะเมื่อซ�้ำช้ัน ปีต่อไปก็เรียนเหมือนเดิม
ในขณะท่ีแท้จริงแล้วเด็กเหล่าน้ีต้องการวิธีสอนที่แตกต่าง หรือดีกว่าเดิม และ
มาตรการท่ีควรน�ำมาใช้แทนคือ RTI ซึ่งมี ES = ๑.๐๗ ผู้เขียนหนังสือ Visible
Learning for Literacy บน่ วา่ ทำ� ไมจงึ ยงั ใชว้ ธิ ใี หต้ กซำ้� ชน้ั ไมใ่ ช้ RTI กไ็ มร่ ู้ ผมให้
คำ� ตอบว่า เพราะวิธีให้ตกซำ้� ช้ันครสู บาย สว่ น RTI ครตู อ้ งเหน่อื ยยากมากมาย
แล้วผมก็เถียงตัวเองว่าการใช้มาตรการ RTI ครูเหนื่อยก็จริง แต่ได้เรียนรู้
คมุ้ ความเหนอ่ื ย และย่ิงกวา่ นั้น ได้รับความชุ่มช่ืนในหัวใจเมือ่ ไดเ้ หน็ ศิษยต์ ัวนอ้ ยๆ
ท่ีมีปัญหาการเรียน กลายเป็นเด็กเรียนคล่อง มีชีวิตชีวา มีความมั่นใจตนเอง ...
ได้สนองวิญญาณ “ครูเพอื่ ศิษย์”(๓)

(๓) เหนอื่ ยมากอ่ น ชมุ่ ชน่ื มาทหี ลงั ครเู หน็ เหนอื่ ย ไมร่ วู้ า่ จะมชี มุ่ ชน่ื ตามมา ครจู งึ หยดุ ไมอ่ ยากเหนอื่ ยเพม่ิ ครบั
ท่ีโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาก็เป็นอย่างนี้ ต้องย้อนเอาชุ่มชื่นของ case ท่ีส�ำเร็จแล้วมากระตุ้นพร้อมท�ำ
จติ ตปญั ญาให้มีแรงบันดาลใจอยากลองเหน่อื ย พอพบชุ่มชืน่ ภายหลงั จงึ เขา้ ใจและเปลย่ี นได้

• 268 •

จัดกลุม่ นกั เรยี นตามความสามารถในการเรียน
การจัดกลุ่มนักเรียนตามความสามารถในการเรียนมีทั้งคุณและโทษ ข้ึนกับวิธี
จดั กลุม่
การจัดกลุ่มที่ใช้กันทั่วไปคือจัดตามเกรด วิธีนี้มี ๒ แบบคือ (๑) จัดชั้นเรียน
ตามเกรด มีห้องคิง ควีน แจ็ค ไปถึงห้องบ๊วย (๒) แบ่งกลุ่มนักเรียนในชั้นเรียน
เปน็ เดก็ เรยี นเกง่ กบั เดก็ เรยี นไมเ่ กง่ นค่ี อื วธิ ที พี่ สิ จู นแ์ ลว้ วา่ ไมไ่ ดผ้ ล (ES = ๐.๑๒)
และก่อผลร้ายทางใจ และทางสังคมต่อเด็ก ท�ำให้เด็กอ่อนแอด้านทักษะสังคม
อารมณ์ (socio - emotional skills)
การแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นตามความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื (need - based grouping)
หรือตามรูปแบบของความผิดพลาด (error pattern) ในการเรียน ส�ำหรับให้
ครูจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มเล็ก เพื่อแก้ไขหรือเพ่ิมเติมบางทักษะท่ีจ�ำเพาะ
เปน็ ประโยชนต์ อ่ นกั เรยี นมาก การจดั กลมุ่ แบบนเ้ี ปน็ การชว่ั คราว มคี วามยดื หยนุ่ สงู
และครูต้องมีความสามารถในการประเมินนักเรียนลงลึกถึงรายละเอียดของ
ผลการเรยี น

สอนตามสไตล์การเรียน

มีการกล่าวกันมาก ว่าครูควรจัดการเรียนการสอนตามสไตล์การเรียน หรือ
ความถนัดพิเศษของนักเรียน ผลการวิจัยบอกว่า การสอนตามสไตล์การเรียนของ
นกั เรยี นให้ ES = ๐.๑๒ เปน็ ความจรงิ วา่ นกั เรยี นมคี วามถนดั และความชอบตา่ งกนั
แต่ค�ำแนะน�ำคือ อย่าตีตรานักเรียน ไม่ว่าจะเป็นการตีตราด้านบวก หรือตีตรา
ด้านลบ ผมตีความว่าการตีตราด้านบวกให้ผลร้ายเพราะท�ำให้เด็กพัฒนา fixed
mindset ขนึ้ ในตน การไม่ตีตรานักเรยี นให้ ES สูงถงึ ๐.๖๑(๔)

(๔) แปลกใจกับข้อน้ีครับ ว่าท�ำไมต่างจาก Kolb ที่จัด learning style ๔ แบบ ผมยังเชื่อว่าครูต้องจูน
ความถใ่ี หต้ รงกบั receiver มนั มแี บบคดั กรอง learning style แลว้ จดั การสอนโดยไมต่ ตี รากไ็ ด้ ความจรงิ
การบอกใหร้ ู้ learning style กไ็ มน่ า่ เปน็ การตีตรา เพราะมนั ไมไ่ ดร้ ะบชุ ้นั ความสามารถอะไร

• 269 •

ติวเตรยี มสอบ

การติวเตรียมสอบ และฝึกทักษะการตอบข้อสอบ มีดาษด่ืนท่ัวโลก และเป็น
ธุรกิจขนาดใหญ่ในประเทศไทย ES ของกิจกรรมนี้เท่ากับ ๐.๒๗ ค�ำแนะน�ำคือ
ให้นักเรียนไดเ้ รียนทักษะในบรู ณาการอยใู่ นการเรยี นตามปกติ โดยเฉพาะอย่างย่งิ
การไดฝ้ กึ ทกั ษะการเรยี น (study skills) ซงึ่ ES = ๐.๖๓ และเรยี นผา่ นการพฒั นา
metacognition ทีก่ ลา่ วมาแล้วตลอดเล่ม
อกี ทกั ษะหนง่ึ ทจี่ ะชว่ ยการสอบ คอื การฝกึ ทกั ษะการจดั ลำ� ดบั การทำ� งานในเวลา
จ�ำกัด ซง่ึ ครตู ้องฝกึ ศษิ ย์อยู่ตลอดเวลาในการเรยี นตามปกติ
ผมตีความว่า การเรียนในระดับบรรลุการเรียนแบบเช่ือมโยง ท�ำให้เกิดทักษะ
ที่ซบั ซ้อน และทักษะการลงมอื ทำ� ทจี่ ำ� เปน็ ต่อการสอบอยู่แลว้

การบา้ น

แนวความคิดว่า การให้การบ้านแก่นักเรียนช่วยให้นักเรียนเอาใจใส่การเรียน
และช่วยให้ผลการเรียนดีข้ึน เป็นวิธีคิดท่ีตื้นเกินไป ผลการวิจัยบอกว่า ES ของ
การบ้านในภาพรวมเท่ากับ ๐.๒๙ แต่ส�ำหรับนักเรียนมัธยมปลาย การบ้านมี
ES = ๐.๕๕ มัธยมต้น ๐.๓๐ ประถม ๐.๑๐ เนื่องจากธรรมชาติของการบ้าน
ในนักเรียนแต่ละระดับมีลักษณะต่างกัน การบ้านของนักเรียนมัธยมปลาย เป็น
การทำ� โจทยต์ อ่ สง่ิ ทเ่ี รยี นแลว้ และนกั เรยี นกเ็ รยี นรใู้ นระดบั ลกึ แลว้ การบา้ นจงึ ชว่ ย
การเรยี นรรู้ ะดบั เชอื่ มโยง ในชน้ั ประถม การบา้ นมกั เปน็ โจทยเ์ รอ่ื งทเี่ ดก็ ยงั ไมค่ นุ้ เคย
และเมือ่ ไม่เข้าใจก็ไม่รู้จะถามใคร การบ้านจึงไมม่ ีประโยชน์
มีผลการวิจัยบอกว่า ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนร้อยละ ๕๐ ข้ึนกับตัวเด็กเอง
อกี รอ้ ยละ ๕๐ ขน้ึ กบั ครู โรงเรยี น ครใู หญ่ พอ่ แม่ และสภาพทบี่ า้ น เปน็ ทชี่ ดั เจนวา่
ครูมีคุณคา่ สงู มาก สิ่งท่คี รูคดิ และปฏิบัติ มีความหมายต่อการเรียนรขู้ องนกั เรยี น
และควรเปน็ ประเดน็ ของการพฒั นาครู แทนทจ่ี ะเอาแตโ่ ทษตวั นกั เรยี นเอง ขอ้ สรปุ นี้
ตรงกับสาระในหนังสอื สอนเขม้ เพ่อื ศิษยข์ าดแคลน(๕)

(๕) ครจู ึงควรผ่านจติ ตปัญญา

• 270 •

สรปุ

การประเมนิ เปน็ กจิ กรรมประจำ� วนั หรอื ประจำ� ชว่ั โมง หรอื เกดิ ขนึ้ ทกุ ๆ สองสาม
นาทใี นชน้ั เรยี น (รวมทงั้ นอกชนั้ เรยี นดว้ ย) เปน็ กจิ กรรมทบี่ รู ณาการอยใู่ นการสอน
ของครู และผมขอเพม่ิ เตมิ วา่ ตวั นกั เรยี นกต็ อ้ งฝกึ ประเมนิ การเรยี นรขู้ องตวั เองดว้ ย
เปน็ ส่วนหน่งึ ของทกั ษะการพฒั นาการเรียนรู้ (metacognition) ของตนเอง
ครทู ำ� หนา้ ทถี่ ามคำ� ถามจดั ใหน้ กั เรยี นเขยี นขอ้ เรยี นรลู้ งในบตั รออกจากชน้ั เรยี น
และฝึกใหน้ ักเรียนประเมนิ ตนเองเป็น
สงิ่ ทผ่ี ใู้ หญม่ กั ทำ� ผดิ คอื มงุ่ ความสนใจไปทค่ี ณุ ลกั ษณะของเดก็ วา่ เปน็ ตวั กำ� หนด
ผลการเรยี น (นคี่ อื fixed mindset) โดยไม่ได้เอาใจใส่วา่ ส่ิงทต่ี นท�ำกอ่ ผลกระทบ
ต่อการเรยี นรู้ของนักเรียนมากนอ้ ยเพียงไร (growth mindset) การกระท�ำของครู
ที่ก่อผลกระทบยิ่งใหญ่ต่อชีวิตของนักเรียนคือ การเอื้อให้เกิดการเรียนรู้ที่พัฒนา
จากระดบั ผวิ สรู่ ะดบั ลกึ และระดบั เชอื่ มโยง ทำ� ใหเ้ ดก็ คดิ เปน็ คดิ เชงิ หลกั การเปน็
เชอ่ื มโยงหลกั การเปน็ เออื้ ใหศ้ ษิ ยม์ องเหน็ การเรยี นรขู้ องตนเอง และในทสี่ ดุ มที กั ษะ
เปน็ ครขู องตนเอง หรอื ทเี่ รยี กวา่ มที กั ษะกำ� กบั การเรยี นรขู้ องตนเอง (self - directed
learner)

• 271 •



ดวงตา หมายเลข ๙ เจา้ ของผลงาน : เดก็ ชายอนิ ทัช วรสทิ ธานกุ ลุ



บทส่งทา้ ย

… ฝนั ใหญ่ เพอ่ื transform การศึกษาไทย ...

บันทึกท่ี ๙ บทส่งท้ายน้ี เป็นข้อเขียนจากการใคร่ครวญสะท้อนคิด และ
จินตนาการของผมเอง เพ่ือเสนอแนะว่าวงการครูและโรงเรียนไทย ควรมีวิธีใช้
ประโยชน์จากสาระและหลักการในหนงั สือเล่มนีอ้ ย่างไร
ผมเกิดความคิดว่า ควรใช้หนังสือเล่มนี้เป็นเคร่ืองมือกระตุ้นให้ครูไทยร่วมกัน
เป็น “ผู้กระท�ำการ” (agent) สร้างสรรค์วิธีการท่ีใช้ได้ผลในบริบทชั้นเรียนและ
โรงเรียนที่ตนท�ำงานอยู่ ตามแนวทาง visible learning และการเรียนรู้ ๓ ระดับ
ในหนังสือเล่มน้ี เพื่อร่วมกันยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย และเพ่ือร่วมกันฟื้น
เกียรตภิ ูมิของวชิ าชีพครูไทย โดยใชห้ ลักการ High Expectation, High Support
กระบวนการตามจนิ ตนาการนี้ เปน็ การดำ� เนนิ การอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ โรงเรยี น
และครู (รวมทงั้ ศกึ ษานเิ ทศ) ทเี่ ขา้ รว่ มเปน็ “ผกู้ ระทำ� ” (agent) ฝกึ หดั ในลกั ษณะของ
“ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง” (change agent) ฝึกหัด ที่ฝึกกันเองจากการปฏิบัติจริง
โดยใชห้ ลกั การและวธิ กี ารในหนงั สอื ครเู พอ่ื ศษิ ย์ สรา้ งการเรยี นรสู้ รู่ ะดบั เชอื่ มโยง
เลม่ นี้ แลว้ นำ� ประสบการณแ์ ละผลทเี่ กดิ ขน้ึ มาแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั เปน็ “วง PLC
ครเู พอ่ื ศษิ ย์ สรา้ งการเรยี นรสู้ รู่ ะดบั เชอ่ื มโยง” ทเ่ี ปน็ “virtual PLC” คอื แลกเปลย่ี น
เรียนรกู้ ันผา่ น cyber space โดยมกี ารจัดระบบสนับสนุน โดยมเี ปา้ หมายใหญ่คือ

• 274 •

ขยายอุดมการณ์และวิธีการน้ี ออกไปครอบคลุมระบบการศึกษาไทยในภาพรวม...
ระบบการศึกษาท่ียึดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นเป้าหมายหลัก มีหลักฐาน
แจง้ ชดั วา่ บรรลผุ ลนน้ั (๑)
ระบบสนบั สนุน มีได้หลากหลายแบบ หลากหลายระดับ ระดับทีเ่ ล็กทีส่ ดุ คือ
ระดับโรงเรียน โดยครูจ�ำนวนหนึ่งรวมตัวกันอ่านหนังสือเล่มน้ี แล้วร่วมกันตีความ
เข้าสู่การท�ำงานในบริบทของตน ตกลงกันว่าในเทอมท่ีก�ำลังสอนอยู่จะร่วมกัน
ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การและวธิ กี ารสว่ นไหน วดั ผลอยา่ งไร แลว้ นำ� ประสบการณแ์ ละผล
มาปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างสม่�ำเสมอ ทุกสัปดาห์ โดยมีเป้าหมาย
ร่วมกันคือ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนดีข้ึน และไม่ปล่อยให้นักเรียนคนใด
ถูกทิ้งไว้ข้างหลงั
ในระดบั โรงเรยี นนจี้ ะเปน็ วง PLC แบบพบหนา้ กนั เทา่ นนั้ หรอื เสรมิ โดย virtual
PLC ก็ได้ โดยระบบไอทีท่ีใช้ง่ายท่ีสุดคือวง Facebook Group หรือ Line Group
และจะยงิ่ มพี ลงั หากครใู หญเ่ ขา้ รว่ มวงดว้ ย เพอื่ หาทางสนบั สนนุ ตามความเหมาะสม
โดยขอยำ�้ ว่า ตอ้ งเปน็ วงท่ีครสู มัครใจเข้าเป็นสมาชิกของวง ไมม่ กี ารบังคบั
ระดบั ทใ่ี หญข่ นึ้ คอื ระดบั เขตการศกึ ษา หรอื ระดบั จงั หวดั ทเ่ี ปน็ พนื้ ทน่ี วตั กรรม
การศึกษาก็ได้ ไม่เป็นก็ได้ ซ่ึงจะต้องมีผู้ริเริ่ม และมี “แม่ยก” หรือ “พ่อยก” ท่ี
ภาษาองั กฤษเรยี กวา่ sponsor ใหท้ รพั ยากรสนบั สนนุ ตามความจำ� เปน็ และทส่ี ำ� คญั
ตอ้ งมกี ลมุ่ ครแู กนนำ� เปน็ ผกู้ อ่ การและดำ� เนนิ การ สมาชกิ เขา้ มาโดยความสมคั รใจ
ไมม่ กี ารบงั คบั แตม่ เี งอ่ื นไขวา่ จะรบั เขา้ เปน็ สมาชกิ กต็ อ่ เมอ่ื ไดอ้ า่ นตน้ ฉบบั หนงั สอื
เลม่ น้ี แลว้ เขยี นใบสมคั รโดยบอกวา่ ตนเองตอ้ งการทำ� อะไร วดั ความสำ� เรจ็ ไดอ้ ยา่ งไร
ทมี แกนนำ� เปน็ ผปู้ ระเมนิ และตอบรบั หรอื ปฏเิ สธการรบั เขา้ เปน็ สมาชกิ หรอื วงไหน
จะใช้วิธเี ปดิ รับโดยไม่ตอ้ งสมัครและคดั เลือกก็ได้ แลว้ แตจ่ ะตกลงกัน

(๑) เห็นข่าวเพิ่งอบรม ศน. จ�ำนวนมาก กระบวนการนี้ต้องเข้าไปที่ ศน. โดยเฉพาะประถม และขยาย
ไปใช้กับสาระวชิ าอื่น หลายบทท้ายๆ เป็นหลักคดิ ท่ไี ม่จ�ำกัดท่ี literacy ด้าน พูด อา่ น เขยี น ภาษา คือ
สามารถใชไ้ ด้หมดกบั ครทู กุ คน

• 275 •

ในระดับท่ีใหญ่ขนาดน้ี ระบบสารสนเทศสนับสนุนกิจกรรมมีความส�ำคัญ
ทมี แกนนำ� และพอ่ ยกแมย่ กตอ้ งรว่ มกนั คดิ วา่ จะใช้ information platform แบบไหน
ในการสนบั สนุนกจิ กรรม
ระดบั ใหญท่ สี่ ดุ คอื ระดบั ประเทศ กเ็ ชน่ เดยี วกนั ดำ� เนนิ การแบบไมเ่ ปน็ ทางการ
พ่อยกที่ผมเล็งไว้คือ กสศ. (ส�ำนักงานกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา)
เพราะวธิ กี ารทเ่ี สนอในหนงั สอื ครเู พอ่ื ศษิ ย์ สรา้ งการเรยี นรสู้ รู่ ะดบั เชอื่ มโยง เลม่ นี้
หากดำ� เนนิ การไดผ้ ลจรงิ จะนำ� ไปสคู่ วามเสมอภาคทางการศกึ ษาในมติ หิ นง่ึ โดยทมี
แกนนำ� ทผี่ มคดิ นา่ จะเปน็ ทมี ครใู หญห่ รอื ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น จำ� นวน ๕ - ๑๐ คน
ที่อ่านหนังสือเล่มน้ีแล้ว “ของข้ึน” ต้องการลุกข้ึนมารวมตัวกันจัดระบบและ
ยุทธศาสตรด์ �ำเนินการ
platform การดำ� เนนิ การ ไมว่ า่ ระดบั ใด ใชห้ ลกั การรว่ มกนั ตงั้ เปา้ ใหช้ ดั ในระดบั
มองเห็นได้ (visible) ตกลงมาตรการที่จะใช้ร่วมกัน แต่แยกกันท�ำ ตกลงเกณฑ์
และวิธีการวัดผลที่ชัดเจน แล้วมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์และวิธีการกัน
เป็นระยะๆ อย่างน้อยสปั ดาห์ละครงั้
คณะครศุ าสตร์ / ศกึ ษาศาสตร์ บางคณะอาจเขา้ รว่ มแจม ยำ�้ วา่ เขา้ รว่ มแจม ไม่ใช่
เปน็ เจา้ ของกระบวนการ เพราะเราตอ้ งการใหข้ บวนการดำ� เนนิ การตามหนงั สอื เลม่ น้ี
เป็นขบวนการระดับปฏิบัติ ระดับ “ครูเพ่ือศิษย์” เป็นแกนน�ำ หรือเป็น change
agent บทบาทส�ำคัญของส�ำนักผลิตครูคือ น�ำนักศึกษาครูเข้าไปร่วมกระบวนการ
และขบวนการน้ี เพอื่ ใหเ้ มอื่ เขาจบออกไปเปน็ ครู จะไดอ้ อกไปรว่ มเปน็ แกนนำ� สรา้ ง
transformation ให้แก่ระบบการศึกษาไทย โดยใช้หลักการและวิธีการในหนังสือ
ครเู พ่ือศษิ ย์ สร้างการเรยี นรูส้ ูร่ ะดบั เช่อื มโยง น้ี เปน็ เครือ่ งมือหนึ่ง(๒)

(๒) ควรไปอยู่ในกระบวนการฝึกประสบการณ์สอน ทั้งน้ีต้องจัดการภาคีที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจตรงกัน คือ
ครุ สุ ภา ครพู เ่ี ลยี้ ง อาจารยน์ เิ ทศ ปกตนิ กั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณต์ อ้ งทำ� วจิ ยั ในชน้ั เรยี นเปน็ ภาคบงั คบั ซง่ึ
ควรเปลี่ยนมาเป็น action research โดยกระบวนการนี้แล้วหา ES เป็นค�ำตอบ ครุศาสตร์ต้องเตรียม
นักศกึ ษาใหพ้ ร้อมก่อน

• 276 •

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยเฉพาะสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
(สพฐ.) อาจเข้าไปสนับสนุนเชิงนโยบาย และจัดทรัพยากรให้ตามความจ�ำเป็น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายพัฒนาครูโดยเน้นวิธีการท่ีครูรวมตัวกันพัฒนาตนเอง
จากการทำ� งาน ตามทเี่ สนอแนะในหนงั สอื เลม่ นี้ และเขา้ ไปยกยอ่ ง ใหร้ างวลั กลมุ่ ครู
หรอื โรงเรยี น ทด่ี ำ� เนนิ การยกระดบั ผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องนกั เรยี นไดจ้ รงิ มหี ลกั ฐาน
effect size ยนื ยนั
ยำ�้ วา่ ฝา่ ยทเ่ี ปน็ ทางการและมอี ำ� นาจ คอื กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ สพฐ. ตอ้ ง
ไม่เขา้ ไปทำ� ลายขบวนการน้ี โดยเข้าไปส่ังการ
ผมเชื่อว่า จะเกิดมิติใหม่ข้ึนในวงการศึกษาไทย มิติท่ีนักเรียนเรียนรู้อย่างมี
ความสขุ บรรลผุ ลลพั ธก์ ารเรยี นรตู้ ามเปา้ หมายทต่ี งั้ ไว้ ไมม่ นี กั เรยี นคนใดถกู ทอดทง้ิ
มิติท่ีครูท�ำงานอย่างมีเป้าหมายยิ่งใหญ่ในชีวิต... ครูเพ่ือศิษย์ มีปิติสุขจากผลงาน
และไดใ้ ชผ้ ลงานทแี่ ท้นใ้ี นการเลอ่ื นวิทยะฐานะ เป็นชีวติ ครูที่มคี วามสขุ
เกิดการฟื้นคณุ ภาพของระบบการศกึ ษาไทย ที่เกิดจากมาตรการท่ผี ปู้ ฏบิ ัติงาน
ระดบั ลา่ งรวมตวั กนั พฒั นาขนึ้ เอง โดยระดบั บนใหก้ ารสนบั สนนุ ระบบการศกึ ษาไทย
จะเป็นระบบท่ีเรียนรู้ มีการเรียนรู้ต่อเนื่องไม่หยุดย้ัง โดยมีเป้าหมายคือ ผลลัพธ์
การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น

วิจารณ์ พานิช
๑ ม.ค. ๖๓

•277•



ภาคผนวก

ดวงตา หมายเลข ๑๐ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญิงขวญั พิชชา โตแจง้

(ถ้าเอาวิชาเปน็ ตวั ต้งั ) ครยู ังเนน้ การสอนวิชา ยงั ไม่ได้สอนคน
“เราตอ้ งตงั้ ตน้ ท่ีโจทยใ์ หล้ กึ พอ ให้แมน่ พอ ว่าเราสอนเร่อื งนี้ไปท�ำไม
สอนแล้วนักเรียนจะดีข้นึ อย่างไร และ “ภาษา” จะเป็นเนื้อเป็นตวั ของเขาได้จรงิ หรือเปลา่

นคี่ ือพูดภาพรวมใหเ้ หน็ วา่ คุณครูสามารถปรับปรุงได้
คุณครูตอ้ งเร่มิ ตน้ ท่ีตงั้ โจทยใ์ ห้ลกึ และใหแ้ มน่ ก่อนว่า ตอ้ งทำ� ใหภ้ าษากลายเป็นชีวติ ของเด็ก”

รศ.ประภาภัทร นยิ ม ผกู้ อ่ ตง้ั โรงเรียนรุง่ อรณุ
ผู้ทรงคณุ วฒุ โิ ครงการชุมชนครเู พือ่ ศษิ ย์สรา้ งการเรยี นรู้ส่รู ะดับเชือ่ มโยงออนไลน์ ไดใ้ ห้ขอ้ สะท้อนคดิ น้แี ก่

ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นและคณุ ครูท่มี าเขา้ รว่ มในวงแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ออนไลน์ เมอ่ื วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๖๓

•280•

•281•

เร่อื งเลา่ ท้ายเลม่

ข้อสะท้อนคิดจากท่านอาจารย์ประภาภัทร นิยม เป็นหลักคิดในการปฏิบัติท่ีทรงพลังยิ่ง แต่
ในขณะเดียวกันก็เขา้ ใจได้ยากยิง่ หากไมเ่ คยมีประสบการณก์ ารปฏบิ ตั ิในแนวทางนีม้ าก่อน
เรื่องเลา่ จากหอ้ งเรยี นของคุณครูใหม่ - วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ในคราวท่ีไปเปดิ ชน้ั เรียนท่ีโรงเรยี น
รุ่งอรุณ ดูจะเป็นตัวอย่างของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ท�ำให้ “ภาษากลายเป็นชีวิตของเด็ก”
ได้เปน็ อย่างดี
นอกจากน้ีแล้วเร่ืองเล่าเร่ืองนี้ ยังเป็นตัวอย่างความส�ำเร็จของการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู
กับเด็ก การสะสมคลังค�ำด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย การไต่ล�ำดับการเรียนรู้ไปตามความรู้สะสม
ทมี่ มี ากอ่ นหนา้ ซงึ่ เกดิ จากการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ ทเ่ี รม่ิ ตน้ ขน้ึ จากการทคี่ รมู กี ารคาดการณ์
ช้ันเรียนล่วงหน้า และครู “มองเห็นการเรียนรู้” ของเด็กแต่ละคน ตั้งแต่ก่อนเข้าช้ันเรียน ไปจน
ตลอดกระบวนการเรยี นรู้ รว่ มไปกบั การสะทอ้ นผลการเรยี นรู้ และการวางเสน้ ทางของการยกระดบั
การเรยี นรขู้ องชัน้ เรียนจากระดับผิว ไปสรู่ ะดับเชือ่ มโยง ตามท่หี นงั สือเลม่ นเ้ี สนอไว้ไดอ้ กี ด้วย

..............................................................
ดิฉันเรม่ิ ต้นชวี ิตความเปน็ ครคู ร้ังแรกท่โี รงเรยี นรงุ่ อรุณ จากทไ่ี ม่เคยคิดจะเป็นครมู ากอ่ น
“คุณน่นั แหละเปน็ ครไู ด”้
“ทำ� อย่างไรให้เด็กๆ รักภาษาไทยเหมอื นอย่างทีค่ ุณรัก”
สองประโยคข้างต้นของทา่ นอาจารยป์ ระภาภัทร เปลยี่ นชวี ติ ของดิฉัน จากคนทำ� หนงั สือ มาสู่
คนสอนหนงั สือ ในโรงเรียนทไ่ี มม่ หี นังสอื ให้สอน

•282•

ปี พ.ศ. ๒๕๔๑
วิชาภมู ปิ ญั ญาภาษาไทยจึงก่อเกิดขึ้นมา เพราะภาษาไมไ่ ดม้ ีไวเ้ พยี งแคใ่ ชใ้ นการส่อื สาร แตค่ อื
ทอี่ ยูข่ อง “ใจไทย”
ปี พ.ศ. ๒๕๕๕
ดฉิ นั ไดร้ บั เชญิ จากทางโรงเรยี นรงุ่ อรณุ ใหไ้ ปสอน “กลบท” นกั เรยี นชน้ั ม.๕ เปน็ เวลา ๑ ภาคเรยี น
(๑๖ คาบ) เพอื่ ใหช้ น้ั เรยี นนเ้ี ปน็ ชน้ั เรยี นสาธติ ใหก้ บั คณุ ครรู นุ่ ใหมๆ่ ไดเ้ ขา้ มาเรยี นรกู้ ลวธิ กี ารสอน
ให้ผู้เรยี นได้สมั ผัสกบั แง่งามของภาษา และการน�ำคุณค่าของภาษาเข้าส่ชู ีวติ
แผนการเรียนรู้ในภาคเรียนนี้เริ่มต้นจากการพาให้นักเรียนมารู้จักกับพยัญชนะไทย และเสียง
ของสระในมติ ทิ เี่ ชอื่ มโยงความสมั พนั ธข์ องภาษากบั ความรสู้ กึ เขา้ ดว้ ยกนั เมอ่ื จบคาบเรยี นนกั เรยี น
ได้สะท้อนการเรียนรู้ว่า คาบเรียนน้ีท�ำให้พวกเขาเข้าถึงความหมายของภาษาได้ลึกอย่างท่ีไม่เคย
ร้สู กึ มาก่อน
คาบถัดจากนี้ไปทุกคาบ ดิฉันเพิ่มพูนประสบการณ์ด้วยการน�ำพาไปสัมผัสกับสุนทรียรส
ผ่านบทเพลงท่ีมีคุณค่า ต่างยุคต่างสมัย ต่างอารมณ์ความรู้สึก ท่ีจะท�ำให้ผู้เรียนได้เข้าถึงรสค�ำ
หลากลลี า บ้างก็ฮา บ้างสนกุ สุขปนเศร้า บ้างหวานซ้งึ ซง่ึ อารมณเ์ หล่านั้นก็ล้วนเสกสร้างขนึ้ มา
จากค�ำนน่ั เอง
หลายๆ เพลง เป็นเพลงที่นักเรียนเกิดไม่ทัน แต่เม่ือได้ยินได้ฟังเป็นคร้ังแรกก็ท�ำให้ผู้เรียน
ตกหลมุ รกั ไดอ้ ยา่ งเตม็ หวั ใจ

•283•

•284•

เมื่อนักเรียนรู้จักวิธีการน�ำภาษามาสร้างรสค�ำต่างๆ แล้ว ก็ถึงเวลาที่ผู้เสพย์จะกลายมาเป็น
ผู้สรา้ งบ้าง
ดฉิ นั นำ� กลบทประเภทตา่ งๆ เชน่ วลสมทุ ร พรางขบวน และประดดิ เดกเหลน้ มาใหน้ กั เรยี นอา่ น
และทดลองเล่นกับค�ำ ในลลี าและเรื่องราวที่แตล่ ะคนสนใจ แลว้ ความมหัศจรรย์กบ็ งั เกดิ

•285•

•286•

คณุ อุ๊ - อจั ฉรา สมบรู ณ์ รองผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นในขณะนนั้ ไดเ้ ขา้ สงั เกตการณช์ นั้ เรยี นครบทง้ั
๑๖ คาบ และได้บันทกึ การเรยี นรู้เอาไว้วา่
...ผู้เขียนได้ประจักษ์ด้วยตนเองว่า เม่ือกระบวนการเรียนรู้น�ำผู้เรียนลงสู่การปฏิบัติจริง ผลที่
เกิดขึ้นมีพลังมหาศาล สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ท่ีจะท�ำอะไรต่อไปได้
อกี หลายเรอ่ื ง และเกิดความรูส้ ึกชื่นชมในภมู ิปัญญาของบรรพบุรษุ ไทยอยา่ งเตม็ หวั ใจ
บุคคลสำ� คัญท่ีจุดประกายผ้เู รียนให้เกิดการเรียนร้จู นเกิดผลน้นั คอื ครู

•287•

ผู้เขยี นเหน็ ครูท�ำอะไรบ้างในห้องเรียน ว่าโดยล�ำดับขัน้ ตอน ครูทบทวนส่ิงทน่ี กั เรียนได้เรียนรู้
มาก่อนในคาบเรียนก่อนหน้าน้ี แล้วจึงสร้างฉันทะกับโจทย์ใหม่ และให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ
จบท้ายด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้มีเวทีแสดงความคิดเห็นและความสามารถ โดยที่
ครูเปิดโอกาสนัน้ ด้วยชุดค�ำถามตามเก็บผลใหผ้ ูเ้ รยี นรสู้ กึ ว่าความเห็นของเขามีความหมาย
ครรู บั ฟงั ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นอยา่ งไมต่ ดั สนิ ถกู ผดิ ดหี รอื ไมด่ ี แตช่ ว่ ยเตมิ เตม็ ในแงม่ มุ ของ
ความจรงิ ความดี ความงาม เกดิ ความเหน็ และคณุ คา่ กบั นกั เรยี นในจงั หวะทเี่ หมาะสม ครมู ภี าษา
เชญิ ชวนใหน้ กั เรยี นลกุ ขน้ึ ทำ� งานดว้ ยความเตม็ ใจ ในการสะทอ้ นผลงานของนกั เรยี น ครเู ลอื กหยบิ
ขอ้ เด่นและคุณคา่ ของผลงานชน้ิ นัน้ ออกมาชน่ื ชม ถงึ จดุ ทต่ี ้องแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งก็ชใี้ ห้เหน็ ดว้ ยเหตุ
ด้วยผลอยา่ งตรงไปตรงมา

•288•

ชว่ งสดุ ทา้ ย ครมู วี ธิ ที บทวนบทเรยี นแรกถงึ คาบสดุ ทา้ ย เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นยอ้ นทวนไปถงึ จดุ ประสงค์
ของการเรยี นรู้ และผลที่เกิดขึน้ จากการสะท้อนของนักเรยี นเองในแตล่ ะคาบ
ครูท�ำหน้าที่เลอื กสรร “ส่อื การเรยี นรู้” ซ่งึ มีมิตลิ ึกซง้ึ ลงถึงรากวฒั นธรรมของสังคมไทยเพอ่ื ให้
นกั เรยี นไดพ้ บกบั ชน้ิ งานชน้ั ครู ทชี่ ว่ ยสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ บั นกั เรยี นในการสรา้ งสรรคง์ านชนิ้ ใหญ่
ก่อนปดิ คาบเรยี น

•289•

•290•

ภาพบรรยากาศการเรยี นรู้ในชน้ั เรียน
•291•

จบคาบเรยี นดว้ ยการน�ำเสนอผลงาน เจ้าของผลงาน : เดก็ วชริ วิชญ์ ศริ นิ ิมติ รวงศ์

•292•

นักเรยี นเลอื กสรรคำ� ท่จี ะน�ำไปใชจ้ ากรายการคลังคำ� ซอ้ นที่ครจู ดั เตรียมมาให้

•293•

จากคลงั ค�ำ....
•294•

.... สคู่ �ำโคลง

เจ้าของผลงาน : นายอศั นี ลลติ นนั ทวฒั น์ นายปรนิ ทร์ อินทรศร นางสาวพลอย เลาหเสรกี ุล
นางสาวจรพุ ันธ์ วศิ ลั ยศ์ ยาพงศ ์ นางสาวรพพี ร มโนรัตน์

•295•

วนั นำ� เสนอผลงานปลายภาคเรยี น

•296•

เจา้ ของผลงาน : นางสาวนภสั สร เรอื งศริ ิ

•297•

เจา้ ของผลงาน : นางสาวอภิชญา จน่ั สญั จยั

เจ้าของผลงาน : นายกฤตณฐั พจนาเกษม

•298•

เจา้ ของผลงาน : นางสาวพลอย เลาหเสรกี ลุ

•299•


Click to View FlipBook Version