The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chtsan6, 2021-12-17 05:16:58

ครูเพื่อศิษย์ สร้างการเชื่อมโยง

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

• 100 •

ครตู อ้ งเลยใหเ้ ดก็ ๆ เลอื กทำ� โจทยท์ ต่ี วั เองอยากทำ� โดยมขี อ้ แมว้ า่ ทกุ คนจะตอ้ งลงมอื
ทำ� อยา่ งเตม็ ทเี่ ตม็ กำ� ลงั เพอื่ ฝกึ ความมวี ริ ยิ ะใหส้ มกบั ชอ่ื ภาคเรยี นนี้ แลว้ ทกุ คนกไ็ ดท้ ำ� งาน
ท่ีทา้ ทายตัวเอง ตามโจทยท์ ตี่ ัวเองต้ังไวจ้ นส�ำเร็จ
กจิ กรรมทส่ี รา้ งความทา้ ทายในการเรยี นรโู้ ดยมอี กี าเปน็ ตวั เอกในวนั ถดั มาคอื การชวน
ให้วาดภาพอีกาของตนเอง ให้เหมือนจริง และสวยงามมากที่สุดโดยมีภาพอีกาท่ีคุณครู
วาดเองมาให้เดก็ ๆ ดเู ปน็ ตัวอย่างเพอื่ ให้สงั เกตวิธีวาด ซง่ึ คณุ ครูไดเ้ นน้ ว่าทกุ คนจะต้อง
สังเกตให้ละเอยี ดมากๆ วาดภาพใหเ้ หมือนที่สดุ ทั้งลายเสน้ และการลงสี เพราะทักษะ
การสงั เกตนแี้ หละทจี่ ะนำ� ไปสคู่ วามสามารถในการสงั เกตรปู รา่ งของตวั อกั ษร รวมถงึ การ
สงั เกตวธิ กี ารสะกดคำ� ตา่ งๆ ดว้ ย ซงึ่ การฝกึ ดว้ ยการวาดภาพจะชว่ ยใหน้ กั เรยี นใชเ้ วลาฝกึ
สังเกตได้นานกว่าการให้สังเกตตัวอักษร อีกทั้งยังได้ภาพสวยๆ ฝีมือของตนเองมาเป็น

• 101 •

ช้นิ งานภาพวาดอีกา เจ้าของผลงาน : คุณครูนฤตยา ถาวรพรหม คุณครูหนว่ ยภูมปิ ญั ญาภาษาไทย ช้นั ๑ - ๒

รางวัลแหง่ ความภาคภมู ิใจอีกดว้ ย
ในขั้นท�ำงาน (สร้างสรรค์/ แก้ปัญหา) (๒๐ นาที) ครูแจกกระดาษสีขาวขนาดคร่ึง
A4 ใหน้ กั เรยี น พรอ้ มภาพอกี าคนละ ๑ ภาพ นกั เรยี นลงมอื วาดภาพใหเ้ หมอื นจรงิ ทสี่ ดุ
ครูเดินดูการท�ำงานและให้ค�ำแนะน�ำ เน้นย้�ำให้นักเรียนสังเกตให้ละเอียด และวาดภาพ
ให้เหมือน เชน่ ลายเสน้ ขนตา่ งๆ ดวงตา การลงสี

• 102 •

ชนิ้ งานภาพวาดอกี า เจา้ ของผลงาน : เด็กหญิงกุลลนิ ี พลู สวัสด์ิ นักเรียนชนั้ ประถมปีที่ ๑

ช้ินงานภาพวาดอีกา เจา้ ของผลงาน : เด็กหญงิ บณุ ยวรี ์ บษุ ยวิทย์ นกั เรยี นชน้ั ประถมปที ี่ ๑

• 103 •

ช้นิ งานภาพวาดอกี า เจา้ ของผลงาน : เด็กชายวนั วฤณณ์ สวสั ดี นักเรียนช้ันประถมปีท่ี ๑

การให้คำ� แนะน�ำ ขั้นอภิปรายสู่การสรุป (ปฏิสัมพันธ์ทางความรู้) (๕ นาที)
ปอ้ นกลับทด่ี ี นักเรียนน�ำผลงานมาแลกเปล่ียนกับเพ่ือนๆ และร่วมพูด
ES ๐.๗๕ แสดงความชื่นชมช้ินงานของกันและกันว่าช้ินงานของใครวาด
การเรยี นแบบรว่ มมอื กนั ส่วนไหนได้ละเอียด สวยงามอย่างไร การจะท�ำเช่นนั้นได้ต้อง
นำ� ไปสกู่ ารทน่ี กั เรยี นสอน สงั เกตอยา่ งไร จะตอ้ งวาดและลงสอี ยา่ งไร ไดแ้ ลกเปลย่ี นวธิ กี าร
กันเอง ES ๐.๕๕ ทำ� งานระหวา่ งกนั กจ็ ะยงิ่ เกดิ ทกั ษะในการทำ� งานทห่ี ลากหลาย
มากขึ้นไปอีก ในข้ันนี้จึงเป็นขั้นของการรับค�ำแนะน�ำป้อนกลับ
จากท้ังเพื่อนและครู รวมถึงการสอนกันเองด้วย ซ่ึงจะน�ำไปสู่
การเรยี นรจู้ ากกนั และกนั ทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี นไดไ้ มร่ จู้ บ ซงึ่
ครมู กั จะพบเหตกุ ารณเ์ ชน่ นเ้ี กดิ ขน้ึ อยเู่ สมอ ประเดน็ ทน่ี า่ สนใจ
คือ นักเรียนแต่ละคนรู้จักวิธีท่ีจะเรียนรู้จากกันและกัน แต่ก็มี
ความเป็นตวั ของตวั เองเพียงพอทจ่ี ะไม่ลอกเลยี นแบบกนั

• 104 •

ถัดมาอีกวันหนึ่งครูติดภาพอีกาบนกระดานและถามนักเรียนว่า “เด็กๆ คิดว่าอีกา
มีนิสัยอย่างไร” เด็กๆ ตอบทันทีว่าดุร้าย น่ากลัว ครูจึงถามว่า “ท�ำไมจึงคิดเช่นน้ัน”
เด็กๆ ตอบว่าเพราะอีกามีสีด�ำ น่ากลัว และอื่นๆ ครูบันทึกคลังค�ำบนกระดาน แล้วครู
ชวนนักเรียนคิดต่อไปอีกว่า มีส�ำนวนไทยอยู่ส�ำนวนหนึ่ง คือ ใจด�ำเหมือนอีกา เด็กๆ
เหน็ ดว้ ยกบั สำ� นวนนห้ี รอื ไม่ เพราะอะไร แลว้ เดก็ ๆ คดิ วา่ อกี านา่ จะมนี สิ ยั เปน็ อยา่ งไรได้
อกี บ้าง คิดว่าอีกาจะเป็นสัตว์ทีใ่ จดีไดไ้ หม
ครบู อกนกั เรยี นวา่ วนั นคี้ รมู บี ทอาขยาน ชอ่ื วา่ “กาเอย๋ กาดำ� ” ทจี่ ะนำ� มาใหค้ รนู กั เรยี น
รว่ มกนั อา่ นบทอาขยานนด้ี ว้ ยกนั และใหน้ กั เรยี นสงั เกตเนอ้ื หาใหด้ ี เพราะในบทอาขยานน้ี
จะเฉลยวา่ แทจ้ ริงแล้วนัน้ อกี ามนี ิสัยอยา่ งไร
เมอ่ื อา่ นบทอาขยานจบ ครถู ามนกั เรยี นวา่ แทจ้ รงิ แลว้ อกี ามนี สิ ยั อยา่ งไร ใหน้ กั เรยี น
ร่วมแลกเปลี่ยนและพูดคุยถึงค�ำที่บ่งบอกถึงนิสัยที่แท้จริงของอีกา ครูบันทึกคลังค�ำ
บนกระดาน เช่น รักเพ่ือน เผื่อแผ่ ไม่แชเชือน เกลื่อนกลุ้มรุมล้อมพร้อมพรัก น่ารัก
มีน้�ำใจ โอบอารี
จากนั้นครูชวนนักเรียนคุยถึงค�ำว่า เกลื่อน ว่าแปลว่าอะไร และมีอะไรบ้างที่เราใช้
ค�ำว่าเกลื่อน (ใบไม้ กระดาษ) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความหมายของค�ำว่าเกลื่อนกลุ้ม
ได้ดีข้นึ ครูไดเ้ ปิดวดี ทิ ศั นก์ ารต์ นู ทม่ี ีฉากสัตว์ป่ามาเกล่อื นกลมุ้ กนั เพื่อให้นักเรยี นเขา้ ใจ
ความหมายของค�ำว่า เกลื่อนกลุ้มรุมล้อมพร้อมพรักมากขึ้น ซ่ึงในการ์ตูนจะมีเน้ือหา
คล้ายๆ บทอาขยานท่ีบรรดาสัตว์ท้ังหลายมีความรักเพื่อน ช่วยเหลือ เผ่ือแผ่ มีน้�ำใจ
ต่อกัน
เมื่อถึงเวลาท่ีต้องท�ำงานครูฉายภาพตัวอย่างการท�ำชิ้นงานวรรณรูปอีกาของรุ่นพี่
ปีที่แล้วให้ดู เพ่ือให้นักเรียนเห็นตัวอย่างว่าผลงานท่ีดีเป็นอย่างไร และเปิดโจทย์ให้
นกั เรยี นน�ำคำ� ทเี่ กี่ยวกับอีกาใจดี และค�ำทนี่ ักเรียนแลกเปลย่ี นบนกระดานมาสร้างสรรค์
เป็นช้ินงานวรรณรูปอีกาให้สวยงาม เพ่ือเขียนความเข้าใจใหม่ของตนท่ีมีต่ออีกาลงไป
ในช้นิ งาน ในขณะทน่ี กั เรยี นลงมอื ท�ำงาน ครูเดินดใู หค้ วามชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทตี่ ดิ ขดั

• 105 •

หอ้ ง ๑/๒

ห้อง ๑/๓

• 106 •

ครูเขียนค�ำที่นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความเข้าใจเดิม ก่อนที่นักเรียนจะได้รับฟัง
บทอาขยานกาเอย๋ กาดำ� ทแี่ ตง่ โดยนายนกแกว้ วสนั ตสงิ ห์ เอาไวท้ างฝง่ั ซา้ ยของกระดาน
และเขยี นคำ� หลงั จากทน่ี ักเรียนเกดิ ความเข้าใจใหม่ เอาไวท้ างฝัง่ ขวา
ในการท�ำงานชิ้นใหม่นี้นักเรียนต้องเผชิญกับความท้าทายท่ียกขึ้นไปอีกขั้น น่ันคือ
การตอ้ งวาดรปู อกี า ทเ่ี คยไดฝ้ กึ ฝนมาแลว้ กอ่ นหนา้ นี้ และตอ้ งเขยี นสรปุ ความเขา้ ใจใหม่
ทต่ี นเองมตี อ่ อกี าลงไปในภาพอยา่ งกลมกลนื กนั ดว้ ย ซง่ึ ทกั ษะการสรปุ ความเขา้ ใจออกมา
เป็นการเขียนน้ีเป็นทักษะใหม่ที่นักเรียนชั้นประถม ๑ เพ่ิงเคยฝึกท�ำเป็นคร้ังแรก
ในแผนการเรียนรู้นี้ แต่การเร่ิมต้นเรียนรู้ส่ิงใหม่จะไม่ยากจนเกินไป เน่ืองจากคุณครู
ได้สร้างการเรียนรู้เอาไว้ให้แล้วอย่างเป็นล�ำดับข้ัน เพ่ือให้ผู้เรียนทุกคนสามารถก้าวไปสู่
ความส�ำเรจ็ ในการท�ำงานด้วยตวั ของเขาเอง

• 107 •

ช้นิ งานวรรณรูปอีกา เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ บุณยวีร์ บุษยวทิ ย์ นกั เรียนช้ันประถมปีที่ ๑

ชนิ้ งานวรรณรปู อีกา เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ ปุณยวีร์ จริ วศิ ลั ย ์ นักเรยี นชนั้ ประถมปที ี่ ๑

• 108 •

ชนิ้ งานวรรณรูปอกี า เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงบณั ดุรีย์ ศภุ จิตรา นกั เรยี นช้นั ประถมปที ี่ ๑

ชิน้ งานวรรณรปู อีกา เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ ณันท์นภสั เจริญไพบลู ย์ นักเรยี นชน้ั ประถมปที ่ี ๑

• 109 •



ดวงตา หมายเลข ๔ เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ ภรภัทร เจนศิริกลุ และ
เด็กหญิงณัฐชานันท์ สุวฒั นพิมพ์



เรยี นรรู้ ะดับผิว (ตอนที่ ๑)

บันทึกน้ี ตีความจากบทที่ 2 Surface Literacy Learning ในหนังสือ
หน้า 35 - 49

ธรรมชาตขิ องการเรยี นรดู้ ำ� เนนิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน คอื เรยี นระดบั ผวิ กอ่ น สงั่ สม
ความรรู้ ะดบั ผวิ เพอ่ื ฝกึ เชอ่ื มโยง ขยายความ สกู่ ารคดิ และเรยี นรอู้ ยา่ งลกึ การเรยี นรู้
ในช่วงแรกจึงเน้นวางพื้นฐานความรู้และความคิดระดับผิวก่อน และพร้อมๆ กัน
ก็เตรียมสู่ความรู้และความคิดระดับลึกด้วย โดยด�ำเนินการอย่างเป็นข้ันตอน
และการวัด ES ก็ตอ้ งวัดตามระดบั ความลึกที่เปน็ เป้าหมาย
ผมตีความว่า หัวใจส�ำคัญอยู่ที่ครู ต้องมีความเข้าใจ และมีทักษะการจัด
การเรยี นรู้ ๓ ระดบั เพอื่ ไมห่ ลงจดั ยำ�่ อยกู่ บั การเรยี นรรู้ ะดบั ตน้ื ไมก่ า้ วหนา้ สรู่ ะดบั ลกึ
และระดบั เชอื่ มโยง ซงึ่ หมายความวา่ ครูตอ้ งมที ักษะการประเมินผลการเรียนรู้ ๓
ระดบั น้ีด้วย(๑)
นักเรียนก็ต้องเข้าใจ และฝึกทักษะการเรียนรู้ ๓ ระดับ รวมทั้งฝึกทักษะ
การประเมนิ ตนเอง สกู่ ารเป็นคนทีค่ ดิ ลกึ และคดิ เชอ่ื มโยง

(๑) ครูที่เก่งระดับเชื่อมโยงต้องเอาสถานการณ์จริงใกล้ตัวเด็กมาใช้ให้เด็กโยงระดับ ๒ มาตอบเฉพาะ
บริบทของระดับ ๓ แสดงว่าครูต้องเห็นการเชื่อมโยงก่อน แล้วจึงใช้การต้ังค�ำถาม guide การที่ครู
เห็นท้ังหมดก่อนจึงส�ำคัญมากในการ coach เด็ก ปัญหาจึงอยู่ที่ต้องท�ำให้ครูเห็นการประยุกต์ความรู้
ในบริบทตา่ งๆ ใหไ้ ด้

• 112 •

กล่าวได้ว่า ทุกกิจกรรม ทุกบทเรียน น�ำไปสู่การเรียนรู้ทั้ง ๓ ระดับได้ท้ังสิ้น
(แต่อาจจะดีมากดีน้อยแตกต่างกัน) ผู้ท่ีท�ำให้การเรียนรู้เหมาะสม และเกิดผล
ตามเป้าหมายระดับการเรยี นรคู้ อื ครู โดยทีใ่ นระดับผิวมกี จิ กรรม ๒ อยา่ งคือ รบั รู้
(acquire) กบั หลอมรวม (consolidate) เขา้ กบั ความร้เู ดิม

ทำ� ไมการเรียนรู้ระดบั ผิวจงึ มคี วามส�ำคัญ

การเรียนรู้ระดับผิวมีความจ�ำเป็น เพราะเป็นพื้นฐานเร่ิมต้นส�ำหรับการเรียนรู้
ระดับต่อไปคือ ระดับลึก และระดับเชื่อมโยง หากการเรียนรู้ระดับผิวไม่มั่นคง
การต่อยอดสู่ระดบั ลกึ และเชอ่ื มโยงกท็ �ำไมไ่ ด้ด(ี ๒)
ปัจจัยส�ำคัญคือครูต้องมีทักษะในการใช้วิธีการที่มีผลกระทบต่อการเรียนรู้สูง
ในชว่ งทต่ี อ้ งการเรยี นระดบั ผวิ คอื การฝกึ รบั รู้ (acquire) และหลอมรวมความรใู้ หม่
เข้ากับความรู้เดมิ (consolidate)(๓)
กาละ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ครตู อ้ งรวู้ า่ เมอ่ื ไรจะตอ้ งใชว้ ธิ กี ารอะไร เพอื่ สง่ เสรมิ การรบั รู้
และการหลอมรวมความรู้ใหม่เข้ากับความรู้เดิม การน�ำเอาวิธีการเพื่อการเรียนรู้
ระดบั ลกึ และระดบั เชอื่ มโยง (เชน่ PBL - Problem-Based Learning) เขา้ มาตงั้ แตต่ น้
ในช่วงที่นักเรียนควรเรียนพ้ืนความรู้ระดับต้ืนก่อน จะท�ำให้การเรียนรู้ไม่ได้ผลดี
และการประเมนิ ความรรู้ ะดบั ลกึ และเชอ่ื มโยง เชน่ ตงั้ คำ� ถามเชงิ ประยกุ ต์ กไ็ มถ่ กู
กาละในช่วงนี้ ดังนั้น ค�ำพูดท่ีว่า ค�ำถามความคิด (inferential question) ดีกว่า
ค�ำถามความจ�ำ (recall question) จึงไม่ใช่ค�ำพูดท่ีถูกต้องเสมอไป ในข้ันเรียนรู้
ระดบั ผวิ คำ� ถามความจ�ำ เป็นส่ิงท่ีถกู ตอ้ ง(๔)

(๒) จริงมากๆ หลายคนคิดว่า Bloom’s ข้ัน ๑ ไม่ส�ำคัญ (ส่วนหน่ึงเพราะ O - Net สอบท่ีข้ัน ๑ คน
เลยพาลรงั เกยี จจาก O - Net) บางคนอา้ งวา่ ความรหู้ าไดท้ วั่ ไปจาก internet เราไมต่ อ้ งจำ� การจำ� ความรู้
สำ� คญั เพราะนอกจากเปน็ ฐานขน้ั ๒ และ ๓ แลว้ ความจำ� ยงั ทำ� ใหม้ นษุ ยส์ งสยั เมอื่ มปี ระสบการณ์ไมต่ รงกบั
ความจ�ำที่มีอยู่ ความสงสัยเป็นบ่อเกิดการค้นหาความจริง ปัญหาของการศึกษาคือ การคิดว่าการเรียนรู้
อยู่ที่ข้ัน ๑ เท่าน้ัน ครูไม่กล้าออกไปเอางานข้ัน ๓ มาสอน เพราะครูถูกท�ำให้ไม่ม่ันใจมาตลอดจากการ
“ทำ� ตามคมู่ ือ”
(๓) ปญั หาครคู อื ไมค่ อ่ ยมเี วลา จงึ เรยี นตอ่ ๆ กนั ไป โดยไมย่ อ้ นกลบั ไปหลอมกบั ความรเู้ ดมิ ทเ่ี รยี นชว่ั โมงกอ่ น
ทางแก้คือให้เรียนหลักๆ ที่เป็นหลักการ จากน้ันให้รู้จริงจากการ coach เอาหลักการไปใช้จากการเรียน
ข้นั ท่ี ๓ (ประยุกตใ์ ชง้ าน) ซึ่งเด็กตอ้ งเรียนในสภาพจรงิ (authentic Learning)
(๔) จะอธิบายเรื่องน้ีต้องยกการท่องสูตรคูณท่ีเป็นหลักฐานชัด ประโยชน์ของข้ัน ๑ (ผิว) เราโพล่ง
“เจ็ดส่ียี่สิบแปด” โดยไม่ต้องเร่ิม “เจ็ดหน่ึงเจ็ด เจ็ดสองสิบสี่ ไปถึงเจ็ดสี่ยี่สิบแปด” เพราะจ�ำจากท่อง
การคิดว่ามีเคร่ืองคิดเลขแล้วไม่ต้องจ�ำ เป็นความคิดท่ีผิดมากๆ ท�ำให้คิดในใจไม่เป็น ประมาณค่าไม่ได้
ขาด sense ทางเลขคณติ ศาสตร์หลายอย่าง

• 113 •

หลักการของการสอน จึงต้องค�ำนึงถึงบริบทของนักเรียน ว่าอยู่ท่ีการเรียนรู้
ระดบั ไหน และก�ำลงั พฒั นาไปสูร่ ะดบั ใด ใน ๓ ระดบั ของการเรยี นรู้
รบั และหลอมรวม (acquisition and consolidation)
การเรยี นรรู้ ะดบั ผวิ (และระดบั ลกึ ) ประกอบดว้ ย ๒ ขนั้ ตอนคอื การรบั รู้ และ
การหลอมรวม ในขนั้ ตอนรบั รู้ วธิ จี ดั การเรยี นรทู้ ำ� โดยใหน้ กั เรยี นสรปุ (summarize)
และบอกโครงเร่ือง (outline) ของการเรียน ส่วนขั้นตอนหลอมรวม เรียนรู้ได้
โดยให้นกั เรียนทำ� ขอ้ ทดสอบ หรือปฏิบตั ิ และไดร้ บั ค�ำแนะนำ� ป้อนกลบั (๕)
เขาเปรยี บเทยี บการเรยี นชว่ งนกี้ บั การเรมิ่ หดั ขบั รถ ซง่ึ ตอ้ งเรมิ่ ทก่ี ารเรยี นรรู้ ะดบั
ผิวกอ่ น ไดแ้ ก่ ทำ� ความร้จู กั กฎจราจร และป้ายจราจร แล้วจึงทำ� ความรจู้ กั รถยนต์
ไดแ้ ก่ พวงมาลยั เกยี ร์ คนั เรง่ เบรค กระจกมองหลงั ฯลฯ แลว้ ฝกึ วธิ หี มนุ พวงมาลยั
เปลย่ี นเกยี ร์ เหยยี บ - ถอนคนั เรง่ เหยยี บ - ถอนเบรก ขยบั กระจกมองหลงั นคี่ อื ความรู้
ระดับผิว ที่มักเรียกกันว่า เบสิก ในขั้นตอนแรก คือการรับรู้ ในข้ันน้ี การสอน
เทคนคิ การขับรถบนท้องถนน เป็นการสอนที่สูญเปลา่ ไรป้ ระโยชน์ ยงั ไมถ่ งึ เวลา
ขั้นตอนท่ีสอง คือการท�ำความเข้าใจในเร่ืองการหัดขับรถก็คือ การฝึกขับรถ
ให้รถเคล่ือนที่อย่างราบเรียบไม่กระตุก เลี้ยวโค้งได้อย่างราบรื่นไม่ปีนขอบถนน
ขบั เดนิ หนา้ ถอยหลงั ได้ ถอยหลงั เขา้ จอดชดิ ขอบทางได้ ฯลฯ ในขน้ั ตอนน้ี ตอ้ งการ
ครูฝึกคอยให้ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำป้อนกลับมากมาย ขั้นตอนนี้เรียกว่า ข้ัน
หลอมรวม (consolidation)(๖)
หัวใจของผู้ท�ำหน้าที่ครูคือต้องสังเกตให้เห็นความก้าวหน้า (หรือไม่ก้าวหน้า)
ของการเรียนรู้ของศิษย์เป็นรายคน ให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับ และสังเกตผลกระทบ
ของสง่ิ ทค่ี รปู ฏบิ ตั ิ ตอ่ การเรยี นรขู้ องศษิ ย์ นค่ี อื หลกั การของการเรยี นรอู้ ยา่ งเหน็ ผล
ประจักษช์ ดั

(๕) ผมคิดว่าการหลอมรวมท่ีสุดยอดคือให้นักเรียนออกข้อสอบครับ ให้ครูถอดการรู้ระดับต่างๆ ของ
นักเรียนจากความซับซ้อนของข้อสอบ ย่ิงเป็นข้อสอบท่ีเอาบริบทใกล้ตัวมาเดินเรื่องก็ยังจะประเมิน
การหลอมรวมไดห้ ลายมติ มิ าก
(๖) สอบเอาใบขบั ขจ่ี ากปฏบิ ตั ิ ไมใ่ ชท่ ำ� ขอ้ สอบในกระดาษ เพราะการขบั รถเปน็ ทกั ษะทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั บิ อ่ ยๆ
จนสามารถท�ำได้จากการคาดการณ์ที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมือ เท้า ตา ความเร็ว ระยะทาง
สง่ิ แวดลอ้ มใกลต้ วั รถ ฯลฯ ตอนผมทำ� ใบขบั ขท่ี อ่ี อสเตรเลยี ผมสอบกระดาษเสรจ็ แลว้ จนท. ถามวา่ เคยขบั รถ
เลนซา้ ยมากอ่ นไหม เคยมอี บุ ตั เิ หตไุ หม ผมตอบวา่ เคยขบั ในกรงุ เทพ ไมม่ อี บุ ตั เิ หตุ เขาวา่ “In Bangkok!,
no accident, OK you pass”

• 114 •

รับความร้อู ยา่ งเหน็ ชดั
หนงั สอื เลม่ นเ้ี นน้ เฉพาะการเรยี น เพอื่ อา่ นออกเขยี นได้ (literacy) ดงั กลา่ วแลว้
ในตอนที่ ๑ คอื เนน้ ทกี่ ารอา่ น เขยี น ฟงั พดู คดิ ซงึ่ แคน่ กี้ เ็ ปน็ การสอนทซี่ บั ซอ้ นมาก
เพราะนกั เรยี นจะตอ้ งใชท้ กั ษะเหลา่ นเ้ี พอื่ หาความรเู้ พม่ิ เพอ่ื วเิ คราะหแ์ นวความคดิ
เพือ่ การแสดงออก และเพือ่ สรา้ งความรใู้ หมท่ ี่อาจนำ� ไปใช้โดยผอู้ น่ื
โปรดอย่าเข้าใจผิดว่า การรับความรู้เป็นทักษะการเข้ารหัส และแปลรหัส
เปน็ ตวั ๆ ไป
เดก็ อนบุ าลมคี วามสามารถรบั ความรู้ และพฒั นาทกั ษะเปน็ ดา้ นๆ และพฒั นาสู่
การคดิ ซบั ซอ้ น หากมเี วลาและไดร้ บั การสอนทด่ี ี ในดา้ นวธิ กี ารรบั ความรู้ วเิ คราะห์
ความคิด ฯลฯ โดยการเรียนรู้เหล่านี้เร่ิมจากการเรียนรู้วิธีรับความรู้ที่ดี โดยมี
ปัจจัยสำ� คัญ ๔ ประการคือ
การยกระดบั ความรเู้ ดิม
การสอนวิธอี อกเสียง และสอนโดยตรง
การสอนค�ำ
การอ่านเอาเรือ่ ง
มีข้อเตือนใจ ๒ ประการส�ำหรับครู ส�ำหรับการจัดการเรียนรู้เพ่ืออ่านออก
เขียนได้ (๗)
๑. ครสู ง่ สญั ญาณเปา้ หมายการเรยี นรู้ และเกณฑค์ วามสำ� เรจ็ อยา่ งชดั เจน
เพื่อให้เด็กรู้ว่า ตนก�ำลังเรียนอะไร ท�ำไมต้องเรียน และนักเรียนจะรู้
ได้อย่างไรว่าตนเรียนบรรลุเป้าหมาย รวมทั้งเพ่ือให้นักเรียนมีบทบาท
ในการเรียนรมู้ ากที่สดุ
๒. ครูไม่ยึดมั่นวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง มุ่งมั่น
ที่การเรียนรู้ของศิษย์ โดยครูจ้องประเมินผลของการกระท�ำของตน
ตอ่ การเรยี นรขู้ องศษิ ยอ์ ยตู่ ลอดเวลา หากพบวา่ ไมเ่ กดิ การเรยี นรู้ ครตู อ้ ง
เปล่ียนวธิ ีการ(๘)

(๗) PISA เราไดค้ ะแนนน้อยเร่ือง reading literacy สพฐ. น่าจะเอาประเดน็ นมี้ าลอง
(๘) อ่านแล้วเข้าใจได้ว่า formative assessment + creative thinking + facilitating technique เป็น
สงิ่ ท่ตี ้องเร่งพัฒนาครู

• 115 •

ยกระดับความรเู้ ดมิ

ความสำ� เรจ็ ในการเรยี นขนึ้ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการตอ่ ยอด
ความรู้เดิม หากครูสอนความรู้ใหม่ท่ีนักเรียนไม่มีความรู้เดิมไว้รองรับ การเรียนรู้
ก็ไมเ่ กิด ดงั น้นั ครูจงึ ตอ้ ง (๑) ตรวจสอบว่านักเรยี นมีความรเู้ ดิมแค่ไหน และ (๒)
จดั กระบวนการเรียนรเู้ พื่อต่อยอดหรือยกระดบั จากความรเู้ ดิม(๙)
ความรู้เดิมของนักเรียนในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอาจเป็นเส่ียงๆ เลือนราง ไม่ครบ
และยุง่ เหยิง และท่ีร้ายทส่ี ุดคือ รมู้ าผดิ ๆ ครจู ึงตอ้ งมีเคร่อื งมอื ประเมินความรู้เดมิ
ของนกั เรยี น และดำ� เนนิ การประเมนิ เครอื่ งมอื ทเี่ ขาแนะนำ� คอื anticipation guide
(อ่านเพ่ิมเติมได้ใน https://www.readingrockets.org/strategies/anticipation_
guide#:~:text=An%20anticipation%20guide%20is%20a,curiosity%20
about%20a%20new%20topic) หลกั การคอื ครเู ตรยี มกระดาษหนง่ึ หนา้ แบง่ เปน็
๓ ชอ่ ง ชอ่ งกลางเปน็ ชอ่ งหลกั เขยี นขอ้ ความทเี่ ปน็ ความรเู้ ดมิ ชอ่ งซา้ ยเปน็ ชอ่ งกอ่ น
เรยี น ชอ่ งขวาเปน็ ชอ่ งหลงั เรยี น ใหน้ กั เรยี นเขยี นแค่ A (agree) หรอื D (disagree)
การตอบอาจใหน้ กั เรยี นทำ� คนเดยี ว หรอื รว่ มกนั ทำ� สองสามคนกไ็ ด้ โดยอาจมชี อ่ งเพมิ่
ให้บอกเหตุผลวา่ ทำ� ไมเห็นดว้ ย หรือไมเ่ ห็นดว้ ย
จะเหน็ วา่ anticipation guide จะชว่ ยทงั้ ครแู ละนกั เรยี น ชว่ ยใหค้ รรู วู้ า่ นกั เรยี น
แต่ละคนมีความรูเ้ ดมิ แค่ไหน ในลกั ษณะใด ช่วยให้นักเรียนไดฟ้ ื้นความรู้เดิม และ
ทำ� ให้ม่นั คงแขง็ แรงขึ้น เตรยี มพร้อมรบั ความร้ใู หม่
ผมตีความว่า anticipation guide เป็นทั้งตัวกระตุ้นความรู้เดิม และเป็นท้ัง
ตัวไกด์เป้าหมายการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือง่ายๆ ใช้เวลาไม่กี่นาที แต่มีพลัง
ชว่ ยการเรยี นรไู้ ดม้ าก

(๙) มี TED Talk การศกึ ษาตอนหนง่ึ ทบ่ี อกวา่ เมอื่ เรยี นชน้ั ที่ ๑ เราผา่ น ๘๐% ได้ A พอขน้ึ ชน้ั ๒ ปรากฏวา่
๒๐% ท่ีไม่ผ่านน้ันมัน essential มาก ช้ัน ๒ จึงผ่าน ๕๐ ไม่ผ่าน ๕๐ แล้วการผ่านจะน้อยลงเร่ือยๆ
ไปจนจบโดยไมร่ อู้ ะไรเลย เหมอื นการรบั มอบการกอ่ สรา้ ง ฐานรากใสเ่ หลก็ ขนาดเลก็ ไป ๒๐% ถอื วา่ ผา่ น
ใหเ้ ทคาน ปูนคาน set ตวั ได้ ๘๐% ถือว่าผา่ นใหเ้ ทพนื้ อย่างนอ้ี าคารพัง

• 116 •

อีกเคร่ืองมือหนึ่งคือ cloze procedure (อ่านเพ่ิมเติมได้ใน https://study.
com/academy/lesson/cloze-procedure-technique-and-definition.html#:~:text=
The%20cloze%20procedure%20is%20a,provides%20valuable%20reading%
20comprehension%20information) ซ่ึงก็คือค�ำถามแบบให้เติมค�ำลงในช่องว่าง
ของขอ้ ความ ซง่ึ มปี ระโยชนห์ ลายอยา่ ง และมรี ายละเอยี ดวธิ สี รา้ งขอ้ ความเพอ่ื เปน็
โจทยท์ ่เี หมาะสมตามลิ้งกท์ ี่ให้ไว(้ ๑๐)
ความสำ� เรจ็ ในการเรยี นชว่ งกอ่ น (prior achievement) มผี ลตอ่ ความสำ� เรจ็ ของ
การเรียนรู้ในอนาคต (future achievement) EF = ๐.๖๕
เปา้ หมายของการเรยี นรใู้ นระดบั นคี้ ือ นกั เรียนบอกได้ว่าประเด็นหลักของเรอ่ื ง
ท่ีเรียนคอื อะไร

สอนวิธีออกเสยี ง และ direct instruction

การฝึกทักษะการอ่านข้ันรับรู้ ข้ันหลอมรวม และข้ันลึก ต้องการการสอน
อย่างมีหลักการและวิธีการ ตลอดช่วงช้ันอนุบาลถึง ม. ๖ เป็นเร่ืองที่ต้องเรียนรู้
ไมส่ ามารถเรยี นไดด้ ว้ ยตนเองตามธรรมชาตเิ หมอื นอยา่ งการพดู เพราะการพดู เปน็
สญั ชาตญาณตามธรรมชาตขิ องมนษุ ยท์ วี่ วิ ฒั นาการมากบั ความเปน็ มนษุ ย์ เมอ่ื เวลา
ระหว่าง ๑.๗๕ ล้านปี ถึง ๕ หม่ืนปีมาแล้ว แต่ตัวหนังสือและการอ่าน เป็นส่ิงที่
มนุษยส์ ร้างข้ึนเมอ่ื ประมาณ ๖ พันปมี านเ้ี อง โดยท่มี นษุ ย์ตอ้ งใช้โครงสร้างการพดู
ในชีวิตประจ�ำวันช่วยฝึกการอ่าน การฝึกให้สมองคุ้นเคยกับการอ่าน ต้องการ
การด�ำเนินการที่จ�ำเพาะ ท่ีเรียกว่า “การสอนอ่านที่ได้ผลดี” (effective reading
instruction) อ่านเพ่ิมเติมได้ใน https://www.tandfonline.com/doi/full/
10.1080/10573560802683523

(๑๐) ภาษาอังกฤษใช้ cloze technique ได้ดีกว่าภาษาไทย เพราะ structure ประโยคชัดเจน ผู้เรียน
เริ่มจากวิเคราะห์วา่ คำ� ปริศนาเปน็ คำ� ประเภทใดกอ่ น จากน้นั จงึ วิเคราะหว์ ่าเป็นคำ� ทีม่ คี วามหมายใด และ
จงึ ดงึ ค�ำศพั ท์จากคลังมาใช้ คำ� ตอบคอ่ นข้างชดั เจน แตก่ ับภาษาไทยวิธีนนี้ ่าจะไมง่ ่าย ซึง่ ในความไมง่ า่ ยน้ี
ก็น่าสนใจมากที่น่าจะสร้างความหลากหลายของค�ำตอบในการเรียนรู้ ท�ำให้เกิดข้อวิพากษ์ไปถึง critical
thinking ได้ (ครูต้องเก่งมากๆ)

• 117 •

ทกั ษะการอา่ นประกอบดว้ ย ๖ ทกั ษะยอ่ ย ทใี่ นทสี่ ดุ จะรวมกนั เขา้ เปน็ หนง่ึ เดยี ว
ไดแ้ ก่
การรบั รู้เสยี ง
การรับรู้สัญลกั ษณ์
การเช่อื มโยงเสียงกับสญั ลกั ษณ์
ท�ำไดอ้ ยา่ งเป็นอัตโนมัติ
รคู้ วามหมายของค�ำและพยางค์
อา่ นรคู้ วามหมาย
๔ ทกั ษะแรกเมอ่ื ฝกึ ดแี ลว้ กเ็ ปน็ อนั จบ ไมต่ อ้ งฝกึ ตอ่ ครตู อ้ งเอาใจใส่ ๓ ทกั ษะแรก
จรงิ จงั เพยี งแคถ่ งึ ป. ๓ เทา่ นน้ั และเอาใจใสส่ อนทกั ษะท่ี ๔ ไปถงึ ประมาณ ม. ๒
ส่ีทักษะนี้รวมเรียกว่า constrained skills คือมีขอบเขตแน่นอนตายตัว เช่น
ภาษาไทยมพี ยัญชนะ ๔๔ ตวั สระ ๒๑ รปู วรรณยุกต์ ๕ ตวั แต่ ๒ ทักษะหลงั
จะมกี ารเรยี นรแู้ ละพฒั นาไปตลอดชวี ติ และครตู อ้ งเอาใจใสพ่ ฒั นาใหศ้ ษิ ยไ์ ปจนจบ
ม. ๖ สองทกั ษะหลังรวมเรียกวา่ unconstrained skills
ผมขอเสนอวา่ นา่ จะมที กั ษะยอ่ ยที่ ๗ ของการอ่านคือ
อา่ นรคู้ วามงาม ไดอ้ ารมณแ์ ละสนุ ทรยี ภาพ ซง่ึ เขา้ ใจวา่ ครไู ทยเอาใจใสอ่ ยแู่ ลว้
และในกรณีน้ี สัญลักษณ์ของการอ่านขยายไปสู่สัญลักษณ์ที่ไม่ตายตัวด้วย คือ
ทัศนศลิ ป์ อ่านรคู้ วามงามนา่ จะรวมอยใู่ น unconstrained skills(๑๑)
ครูมีหน้าที่ต้องสอนทั้ง constrained skills และ unconstrained skills
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ครชู น้ั ประถมศกึ ษา พน้ื ฐานสำ� คญั คอื การฝกึ ออกเสยี ง สมั พนั ธ์
กบั ตวั อกั ษร เชอ่ื มโยงไปสกู่ ารตคี วามตวั หนงั สอื ทตี่ ามกนั มาเปน็ ทวิ แถว ทง้ั หมดนน้ั
กเ็ พอื่ ฝกึ สมองใหค้ ลอ่ งแคลว่ ทำ� ไดอ้ ยา่ งเปน็ อตั โนมตั ิ ซง่ึ หมายความวา่ โครงสรา้ ง
ของสมองได้เปลี่ยนแปลงไป ให้รับรู้และเข้าใจความหมายของภาษาเขียนได้โดย
อตั โนมตั ิ และบรรจทุ กั ษะนไี้ วใ้ นความจำ� ระยะยาว (longterm memory) โดยครตู อ้ ง
เขา้ ใจวา่ ศษิ ยแ์ ตล่ ะคนกำ� ลงั เรยี นไดถ้ งึ ขน้ั ไหน ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ตรงจดุ ไหน(๑๒)

(๑๑) ผมขอเพมิ่ การอา่ นรคู้ วามคดิ ซอ้ นเรน้ (ระหวา่ งบรรทดั ) ตอ้ งอา่ นทง้ั เรอื่ งใหเ้ ขา้ ใจจงึ จะเหน็ เจตนาที่
ซอ่ นเรน้ เดก็ ที่มที ักษะนจ้ี ะมภี มู คิ ุ้มกันด้านการรบั รูข้ ้อมูลข่าวสารชอ่ งทางอืน่ ทีไ่ ม่ใชแ่ ค่จากการอ่าน
(๑๒) บันทึกตอนนี้ท�ำให้ผมนึกถึงเทคนิค think aloud ของ meta - cognition เขาว่าเราคิดอะไรก็ให้
ออกเสยี งมา มนั จะชว่ ยใหเ้ กดิ อภปิ ญั ญาได้ คอื รกู้ ระบวนการคดิ ของตนเองงา่ ยขนึ้ ใน YouTube มเี รอ่ื งนอี้ ยู่

• 118 •

ภาษาพดู เรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ ภาษาเขยี น เรยี นรอู้ ยา่ งมวี ชิ าการ ตอ้ งมคี รู
และหากมีการสอนผิดๆ อาจก่อผลร้ายต่อชีวิตของเด็กไปตลอดชีวิต เพราะนี่คือ
พื้นฐานไปสู่การเรยี นรู้ขั้นสงู ตอ่ ไปในชีวติ
direct instruction
เป็นการให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ หรือท�ำเอง ครูคอยให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับ แก้ไข
การออกเสียง บอกค�ำอ่านท่ีถูกต้อง บอกเป้าหมายและคุณค่าของการเรียนรู้
ในขั้นน้ีว่ามีความหมายต่อชีวิตภายหน้าอย่างไร EF ของ direct instruction =
๐.๕๙
หลกั การของ direct instruction มดี ังตอ่ ไปน้ี
มเี ป้าหมายการเรยี นชดั และท�ำใหเ้ ด็กสนุกกับการเรียน
ครูสอน และตรวจสอบผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน
ใหท้ ำ� แบบฝกึ หดั ครคู อยแนะนำ� และให้ feedback
ครมู เี กณฑ์ความสำ� เร็จในการเรยี น สำ� หรับใชป้ ระเมินผล
สรุปเพื่อจบบทเรียน ให้นักเรียนทบทวนเป้าหมายการเรียน เกณฑ์วัด
ความสำ� เรจ็ และประเด็นเรยี นร้ทู ี่สำ� คัญ
ให้นักเรียนมโี อกาสฝกึ ฝนดว้ ยตนเอง
ครตู อ้ งมที กั ษะในการ “มองเหน็ ” ความคดิ ในหวั (สมอง) ของศษิ ย์ และสนกุ กบั
การมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกกับกิจกรรมท่ีศิษย์ก�ำลังท�ำ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
อยา่ งมเี ปา้ หมายของศษิ ย์ นคี่ อื ทกั ษะจำ� เปน็ ของครู ทค่ี ณะครศุ าสตร/์ ศกึ ษาศาสตร์
ตอ้ งฝึกให้แกน่ กั ศึกษาครู และเป็นประเด็นของ PLC ของครใู นโรงเรยี น(๑๓)

(๑๓) “มองเห็นความคิดในหัวเด็ก” คือปัจจัยส�ำคัญของ “ถามคือสอน” หรือ coaching ครับ นอกจาก
มองเห็นความคิดแล้วครูต้องเห็นขั้นตอนการประกอบความคิดมาเป็นค�ำตอบด้วย เพราะจะท�ำให้เข้าใจ
วงจร (เด็ก)สุ (เดก็ )จิ (เดก็ )ว(ิ สชั นา) (ครู)สุ (คร)ู จิ (ครู)ปุ.... เป็นวงจรสืบเนื่องไป

• 119 •

เร่อื งเลา่ จากหอ้ งเรยี น

“หัวใจของผูท้ ำ� หนา้ ท่คี รูคือตอ้ งสงั เกตให้เห็นความก้าวหนา้ (หรือไม่ก้าวหนา้ )
ของการเรยี นรู้ของศิษย์เป็นรายคน ใหค้ ำ� แนะนำ� ป้อนกลับ และสังเกตผลกระทบของ

สงิ่ ทค่ี รูปฏบิ ตั ิ ตอ่ การเรียนรู้ของศษิ ย์
นค่ี ือหลกั การของการเรียนรอู้ ยา่ งเหน็ ผลประจักษช์ ัด”
ในชว่ งเวลาทม่ี ีการแพร่ระบาดของโควิด-๑๙ นักเรยี นช้ันประถมปที ่ี ๒ ของโรงเรียน
เพลนิ พฒั นา ตอ้ งมกี ารเรยี นการรทู้ ง้ั แบบทใ่ี หน้ กั เรยี น เรยี นรอู้ ยบู่ า้ น (อา่ นเพม่ิ เตมิ ไดใ้ น
https://aboutmom.co/interview/interview-plearnpattana-school/17607/) สลับกับ
การมาเรยี นทีโ่ รงเรยี นในบางวัน
การนำ� ขอ้ ดขี องบา้ นเปน็ ฐานสรา้ งการเรยี นรู้ (home - based learning community) นนั้
คือ การสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยค�ำนึงถึงบริบทของชีวิตท่ีแวดล้อมตัวผู้เรียน
ณ ขณะนัน้ เป็นสำ� คญั
คณุ ครกู ฟิ๊ - จติ ตนิ นั ท์ มากผล ผสู้ อนหนว่ ยวชิ าภมู ปิ ญั ญาภาษาไทย ไดเ้ ลา่ ถงึ ลำ� ดบั
การออกแบบกระบวนการเรยี นรวู้ า่ เรอ่ื งทนี่ ำ� มาเรยี นรกู้ นั เปน็ เรอื่ งแรก เปน็ เรอื่ งทใ่ี กลต้ วั
ของเด็กๆ ท่ีเริ่มต้นจากการน�ำเอาช่ือของแต่ละคนมาเป็นจุดเร่ิมต้นในการของท�ำความ
รู้จักกัน และต่อด้วยการเขียนเล่าเรื่องตัวเอง แล้วอ่านให้เพ่ือนๆ ฟัง จากน้ันจึงเป็น
การเขียนเล่าถึงคนในครอบครัว ให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับสมาชิกในครอบครัว และเขียน
อธิบายถึงคนในครอบครัวที่อยากให้เพื่อนๆ รู้จัก ซึ่งท้ังสองกิจกรรมนี้ได้ช่วยให้ครู
ได้รจู้ ักเด็ก และทำ� ใหไ้ ดเ้ ห็นความสมั พันธ์ของเด็กกับคนในครอบครวั ได้เป็นอยา่ งดี
ในการเขยี นงานทงั้ สองชนิ้ นกั เรยี นจะตอ้ งนำ� ความรเู้ ดมิ คอื คลงั คำ� ทส่ี ะสมมา มาตอ่ ยอด
เปน็ ความรใู้ หม่ ดว้ ยการนำ� คำ� ทม่ี มี าแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั เพอื่ น เพอ่ื ใหม้ คี ำ� ทต่ี อ้ งการนำ� มา
ใชใ้ นการเขยี นทหี่ ลากหลายมากมายเพยี งพอทจ่ี ะสอ่ื ความหมายทต่ี นตอ้ งการ นอกจากนี้
ในการท�ำชิ้นงานแต่ละชิ้น นักเรียนยังมีอิสระทางความคิดในการเลือกสร้างสรรโจทย์
และสร้างผลงานของตนเองตามความสนใจ และได้ประเมินศักยภาพของตนเองในการ

• 120 •

ทำ� งานดว้ ยจากการตง้ั เปา้ หมายกอ่ นลงมอื ทำ� งาน และจากการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกบั
เพ่ือน เม่ือได้เห็นงานและเรียนรู้ร่วมกัน ท�ำให้นักเรียนสามารถน�ำไปพัฒนาตนเองได้
จากการเรียนรู้จากการไดม้ เี วลามาสะท้อนผลการทำ� งานรว่ มกันอีกด้วย
คณุ ครตู อ้ ง - นฤตยา ถาวรพรหม เลา่ เสรมิ วา่ ตอนทที่ ำ� แผนการเรยี นรกู้ นั กบั คณุ ครใู หม่ -
วิมลศรี ศุษิลวรณ์ น้ันมีสิ่งที่แตกต่างไปจากที่คนอ่ืนคิดกัน คือ คุณครูใหม่วางเน้ือหา
เอาไวท้ หี ลงั แตไ่ มใ่ ชว่ า่ ไมใ่ สใ่ จเลย แตจ่ ะหยบิ ยกมาประกอบกนั กบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้
และสงิ่ สำ� คญั ทจี่ ะมองประกอบกนั คอื ธรรมชาตขิ องตวั นกั เรยี นในระดบั ชน้ั นนั้ วา่ พวกเขา
เปน็ อยา่ งไร ชอบเลน่ หรอื ชอบทำ� อะไร มที กั ษะความรแู้ คไ่ หน อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มอยา่ งไร
แลว้ จงึ คอ่ ยๆ คดิ กระบวนการเรยี นรขู้ นึ้ มาใหต้ อบสนองธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู้ องพวกเขา
ให้สอดคล้องกับสังคมวัฒนธรรมท่ีเขาอยู่ ในการคิดกระบวนการเรียนรู้กับคุณครูใหม่
สงิ่ สำ� คญั ทต่ี อ้ งมอี ยใู่ นกระบวนการคอื คณุ คา่ ทต่ี วั ผเู้ รยี นจะไดร้ บั และคณุ คา่ ทจี่ ะเกดิ ขน้ึ
กับคนท่ีอยู่รอบๆ ตัวเขา การเรียนรู้ในแนวทางนี้ท�ำให้ผู้เรียนจะได้เห็นความงอกงาม
ในการเรยี นรขู้ องตวั เอง ของเพื่อน และตวั ครูกเ็ หน็ ความงอกงามจากการเรยี นรู้นั้นด้วย
ในขณะทเ่ี รยี นผเู้ รยี นจะรสู้ กึ วา่ สงิ่ ทกี่ ำ� ลงั เรยี นอยนู่ งี้ า่ ย สนกุ ทำ� ได้ แตท่ วา่ ซอ่ นความ
น่าสนใจอยู่ เพราะกระบวนการที่ท�ำให้เราเห็นและเข้าใจตัวเราเอง ผู้สอนก็รู้สึกสบายใจ
อยากท�ำ มีความล่ืนไหลทางความคิด ค่อยๆ น�ำพานักเรียนไปทีละขั้น ค่อยๆ เข้าใจ
การเรียนรู้ของตวั เองไปทลี ะก้าว
ระหว่างที่ท�ำโจทย์งาน “หาดีให้เจอ” ในสัปดาห์ท่ี ๕ ซึ่งเป็นโจทย์งานที่ต่อเนื่อง
มาจากการเขยี นเลา่ ถงึ คนในครอบครวั ในขณะทเี่ ดก็ ๆ กำ� ลงั นงั่ ทำ� งานกนั อยนู่ น้ั พวกเขา
ไดบ้ อกกับครตู อ้ งว่า
มนิ ทรา : วนั ที่มีเรียนภมู ปิ ัญญาภาษาไทยมันท�ำใหห้ นูรู้สกึ วา่ วชิ าอนื่ ๆ ดยู ากไปเลยค่ะ
ครูตอ้ ง : หมายความว่าหนูร้สู ึกว่าง่ายหรอื คะ
มนิ ทรา : คะ่ แต่โจทยว์ นั นี้กไ็ ม่งา่ ยทเี ดียว ตอ้ งคิดใหม้ ากขึ้น
ทบั ทิม : ใชๆ่ รู้สกึ วา่ มันตอ้ งคดิ ให้ซับซ้อนมากข้นึ

เมอื่ พวกเขาเขยี นงานกนั เสรจ็ แลว้ กถ็ งึ เวลานำ� มาแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ นั แลว้ กถ็ งึ เวลา
สะท้อนผลการเรยี นรู้ในวนั น้กี นั

• 121 •

“คนเรามีทั้งสิ่งท่ีชอบและไม่ชอบ แต่ส่ิงที่เราไม่ชอบอาจจะมีข้อดีกับตัวเราหรือกับ
คนอื่นๆ กไ็ ด”้
“สิ่งท่ีหนูได้เรียนรู้วันน้ีคือ การที่พ่อแม่ตีเรา ดุและตักเตือนเราเป็นเพราะพ่อกับแม่
รักและเป็นหว่ งเราค่ะ”
“ทกุ สง่ิ นน้ั มีทัง้ ข้อดแี ละข้อเสยี เหมือนกับเหรยี ญท่ีมสี องดา้ นคะ่ ”
“วนั นห้ี นไู ดเ้ รยี นรวู้ า่ ถา้ เกดิ วา่ เราเอาความไมช่ อบหรอื ความกลวั มาไวใ้ นตวั เราเยอะๆ
แล้วเราไม่ยอมปล่อยมันออกไป เราก็จะกลัวยิ่งข้ึนอีก เหมือนถังน้�ำที่บรรจุน�้ำมากขึ้นๆ
แตไ่ มย่ อมเอานำ�้ ออกมาคะ่ ”
“ส่ิงท่ีหนูได้เรียนรู้คือ ถ้าเรามัวแต่มองแค่ด้านเดียว เราจะไม่รับรู้ถึงความรู้สึกของ
คนอ่ืนเลย เราจะเหน็ แต่ความรูส้ กึ ของตวั เอง”
น่ีคือส่วนหน่ึงจากการสะท้อนการเรียนรู้ของนักเรียนจากกิจกรรม “เพลินเรียนรู้
ออนไลน์” หลังจากที่เด็กๆ ได้ท�ำกิจกรรมการเรียนรู้ “หาดีให้เจอ” กันมาตลอดท้ังวัน
แล้วสรปุ สง่ิ สำ� คญั ทต่ี นเองได้เรยี นรู้ในวันน้รี ว่ มกับเพอื่ นๆ
ผลงานเขียนชิ้นนี้เป็นการเขียนบรรยายเล่าเรื่องสิ่งท่ีตนเองไม่ชอบ บอกเล่าเหตุผล
ของความไมช่ อบสง่ิ นน้ั และมองหาขอ้ ดขี องสง่ิ นนั้ ใหเ้ จอทเี่ ดก็ ๆ สนกุ สนานกบั การเลา่ ถงึ
สิ่งที่ตนเองไม่ชอบกันอย่างมาก ซึ่งครูต้องได้เล่าถึงท่ีมาของแผนการสอน “หาดีให้เจอ”
เอาไว้ว่าแผนนี้เกิดจากปัญหาที่เกิดขึ้นจากการสะท้อนของเด็กหญิงคนหน่ึง ที่ได้ฟังเร่ือง
ครอบครัวของเพื่อน แล้วน�ำมาเปรียบเทียบกับครอบครัวของตนเอง เช่น พ่อของเพื่อน
ใจดี ในขณะที่พอ่ ของเขาดุ ซึง่ เขาไมไ่ ด้สะท้อนในหอ้ งเรียน แตไ่ ดไ้ ปสะทอ้ นให้ทบ่ี ้านฟัง
คณุ แมจ่ งึ โทรมาบอกกบั คณุ ครปู ระจำ� ชนั้ วา่ ไมอ่ ยากใหท้ ำ� กจิ กรรมแบบนเ้ี พราะทำ� ใหเ้ ดก็
เกิดการเปรียบเทยี บ
เมอื่ ครตู อ้ งไดท้ ราบขา่ วจากครปู ระจำ� ชน้ั จงึ ไลนม์ าปรกึ ษากบั คณุ ครใู หมใ่ นคนื วนั นนั้
ว่าจะท�ำอย่างไรดี คุณครูใหม่ได้ให้ข้อแนะน�ำว่า ในการคิดแผนการสอนท่ีก่อการเรียนรู้
เชิงลึกให้กับเด็กๆ ได้นั้น ต้องอาศัยทั้งสติปัญญาและความกล้าหาญของครูผู้สอนที่
จะต้องอ่านสถานการณ์ให้ออก แล้วใช้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นมาสร้างกระบวนการทางปัญญา
ใหก้ บั เด็กๆ ท้งั ๑๒๐ คน และตอ้ งทำ� ทนั ที
กิจกรรมท่ีคุณครูใหม่แนะน�ำให้ท�ำคือ ชวนเด็กคุย คิด เขียน เก่ียวกับการ “มอง
สองดา้ น” เพอ่ื ขยาย growth mindset โดยต้งั ชือ่ ตอนวา่ “หาดใี ห้เจอ” เชน่

• 122 •

คำ� ถาม : มใี ครไม่ชอบอะไรบ้าง
คำ� ตอบ : ความมดื เพราะน่ากลวั
คำ� ถาม : ความมืด มีดอี ย่างไร
ค�ำตอบ : ความมดื ชว่ ยให้เรามองเห็นดวงดาวบนทอ้ งฟา้ ที่สวยงาม
ถ้ามีใครท่ีนึกถึง ข้อดีของส่ิงท่ีเราไม่ชอบไม่ออก อนุญาตให้เพื่อนๆ ช่วยคิดได้ด้วย
แล้วบันทกึ ลงไปในสมดุ
ให้ครูเล่านิทานเร่ืองพ่อแม่รังแกฉัน ให้ฟัง ให้พวกเขาเห็นว่าว่าลูกท่ีไม่มีพ่อแม่คอย
ดุว่า โตไปเป็นอย่างไร จากนั้นให้ครูเปิดคลิปความอุดมสมบูรณ์ของท้องทะเลในช่วง
โควิด-๑๙ ให้เด็กๆ ชม (ดูเพ่ิมเติมได้ท่ีhttps://www.google.com/url?sa=t&source=
web&cd=&ved=2ahUKEwio7vmz_dTqAhVHyDgGHSEtDeMQwqsBMAB6BAgIEAM
&url=https%3A%2F%2Fm.facebook.com%2FBBCnewsThai%2Fvideos%2F641
128016473012%2F&usg=AOvVaw1xFzkv4Ch6efJ0UruDV-br)
ถ้าเราสอนแบบน้ีเด็กๆ จะเรียนรู้ได้ลึกซึ้ง แล้วให้พวกเขากลับไปขอบคุณคุณพ่อ
คุณแม่ด้วยที่ได้อบรมดูแล ซึ่งหากเราน�ำพาถ้าเด็กๆ ให้ไปถึงขั้นน้ีได้ คุณพ่อคุณแม่
จะเขา้ ใจวา่ เรากำ� ลงั สอนสง่ิ ทมี่ คี า่ ใหก้ บั ลกู เขา การสอนเดก็ ใหส้ ามารถมองเหน็ ความจรงิ
ของสิ่งทั้งหลาย เป็นสติปัญญาข้ันสูง ต่อไปเขาจะดูแลตัวเองได้ มีวิธีรักษาใจไม่ให้
เพลี่ยงพล�้ำเข้าไปในสถานการณ์ต่างๆ และนี่คือเร่ืองท่ีดีงามมาก ท่ีเราจะมอบ “ดวงตา
เหน็ ธรรม” ให้กบั พวกเขา
ขอ้ ความทัง้ หมดนี้ คณุ ครูใหมส่ ง่ มาถึงครตู อ้ งทางไลน์ ตอนตีสองครง่ึ !
ครผู สู้ อนทง้ั ๓ คน เขยี นแผนการสอนเรอ่ื ง “หาดใี หเ้ จอ” ตามทไ่ี ดร้ บั คำ� แนะนำ� จาก
คุณครูใหม่ เพ่ือน�ำมาใช้ในงานเขียนบรรยายช้ินสุดท้ายท่ีเด็กๆ จะได้เขียนในภาคเรียน
ฉันทะ ซึ่งแผนการสอนน้ีนอกจากจะมีเป้าหมายเพ่ือให้เด็กๆ พัฒนาทักษะทางภาษา
ใหเ้ พม่ิ พนู มากยงิ่ ขนึ้ แลว้ ยงั มเี ปา้ หมายทส่ี ำ� คญั อกี ประการคอื เพอื่ ฝกึ การคดิ การมองเหน็
ความจริง และมองความจรงิ ของส่งิ ต่างๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
ในวันนั้นครูเร่ิมต้นเปิดช้ันเรียนด้วยค�ำถามว่า “เด็กๆ มีส่ิงที่ตนเองไม่ชอบไหมคะ”
เปน็ คำ� ถามสนั้ ๆ ทสี่ ามารถดงึ คำ� ตอบจากเดก็ ๆ ทกุ คนในชน้ั ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย พรอ้ มทงั้
ประเดน็ ทเี่ ดก็ ๆ อภปิ รายถงึ สงิ่ ทต่ี นเองไมช่ อบอยา่ งสนกุ สนาน ตวั อยา่ งคำ� ตอบของเดก็ ๆ

• 123 •

เช่น “ไม่ชอบหอยทากเพราะหอยทากมากินผักที่หนูปลูกไว้จนหมดเลย” “ไม่ชอบแมว
เพราะแมวชอบไปอึในสวนหลังบ้าน และผมต้องเป็นคนท่ีคอยเก็บอึแมว” “ผมไม่ชอบ
ความสูงเลยเพราะเวลาไปท่ีสูงๆ จะรู้สึกเสียววูบๆ เป็นความรู้สึกท่ีไม่ดีเลย” “ไม่ชอบผี
และความมดื เพราะมันท�ำให้หนูร้สู กึ กลวั ” “ไมช่ อบถกู ว่า” เปน็ ตน้
ครจู งึ ไดเ้ ลา่ ตอ่ วา่ ตอนทคี่ ณุ ครเู ปน็ เดก็ ๆ ครกู ไ็ มช่ อบการถกู พอ่ แมด่ เุ ชน่ กนั ตอนเดก็ ๆ
คุณครูมักถูกท�ำโทษโดยการถูกตี และครูก็ตั้งค�ำถามต่อว่า “เด็กๆ คิดว่าท�ำไมพ่อแม่จึง
ต้องดุหรือตีเรา” เด็กๆ ตอบว่า “อาจเป็นเพราะว่าเราท�ำอะไรบางอย่างผิด” “เพราะพ่อ
แม่อยากให้เราเป็นเด็กท่ีดี” หลังจากที่เด็กๆ คาดเดาเหตุผลจบ ครูจึงได้เล่านิทานเร่ือง
“พอ่ แมร่ ังแกฉัน” ใหเ้ ด็กๆ ฟงั
ระหวา่ งเลา่ นน้ั เดก็ ๆ กช็ วนกนั พดู คยุ ถงึ พฤตกิ รรมของลกู ชายเศรษฐที มี่ นี สิ ยั ตามใจ
ตนเอง รกั สบาย ไมช่ อบเรียนรูห้ รือหาความรู้ใสต่ วั สดุ ทา้ ยก็พบกบั จุดจบทไ่ี ม่ดี ในท้าย
ของนิทาน เมือ่ นทิ านจบลงเด็กๆ ร่วมกนั สรุปเหตุผลทพี่ ่อแม่ตอ้ งตกั เตอื นสัง่ สอนเรา วา่
ในบางครั้งทีพ่ อ่ แมต่ อ้ งดวุ ่าเราก็เพราะตอ้ งการตักเตือนให้เราเป็นเดก็ ดี ดังน้นั เดก็ ๆ ทมี่ ี
พ่อแม่คอยตักเตือน ไม่ตามใจลูกจนเกินไป จึงถือว่าเป็นคนที่โชคดีมากนั่นเอง แล้วครู
จึงสรุปว่า การดุหรือว่ากล่าวตักเตือนของพ่อแม่น้ัน มีด้านดีที่ซ่อนอยู่ คือความรัก
ความห่วงใยทม่ี ีตอ่ ลกู เชน่ เดียวกบั ทุกๆ อย่างท่ีเด็กๆ ไม่ชอบ หรือไมพ่ อใจกจ็ ะมดี ้านดี
ซ่อนอยู่เช่นกัน ... “เราลองมาชว่ ยกันมองหาดา้ นดีของสิ่งทเี่ ดก็ ๆ ไม่ชอบกนั เถอะ”
หลังจากนั้นเด็กๆ ก็มาช่วยกันมองหาด้านดีของฟักทอง ของหอยทาก ของแมว
ของฉลาม ของคางคก ขององ่ึ อา่ ง ของพี่ ของนอ้ ง ของความสงู ของความมดื แมแ้ ตข่ อง
โควิด-๑๙ ที่ก็ยังมดี า้ นดๆี ซ่อนอยู่
เด็กๆ ตื่นตาต่ืนใจมาก ที่ได้เห็นฝูงสัตว์ทะเลมากมายท่ีออกมาแหวกว่าย เต่าทะเล
ขึ้นมาวางไข่จากการชมคลิปวิดีโอส่ิงแวดล้อมทางทะเล ท่ีกลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง
หลังจากเหตุการณ์โควิด-๑๙ บางคนแลกเปลี่ยนถึงประสบการณ์การที่พวกเขาได้ท�ำ
รว่ มกบั ครอบครวั ในชว่ งที่หยดุ อย่บู า้ นด้วย
เมอ่ื ความสนใจทวขี นึ้ อยา่ งเตม็ ทแ่ี ลว้ ครจู งึ ไดใ้ หโ้ จทยน์ กั เรยี นเขยี นเลา่ เรอ่ื งสง่ิ ทตี่ นเอง
ไมช่ อบพรอ้ มทง้ั บอกเหตผุ ล และหาขอ้ ดขี องสงิ่ นนั้ ใหเ้ จอ โดยมหี วั ขอ้ การเขยี นเลา่ เรอื่ งวา่
“หาดใี ห้เจอ”

• 124 •

นกั เรยี นทเี่ ขา้ ใจโจทยก์ ารเรยี นรแู้ ลว้ กจ็ ะสามารถลงมอื ทำ� งานไดท้ นั ที นกั เรยี นบางคน
ที่ไม่แน่ใจว่าสิ่งที่ตนเองไม่ชอบน้ันมีข้อดีอย่างไร ก็จะขอให้เพื่อนออกไอเดียช่วยแนะน�ำ
เช่น “การกล่ันแกล้งมีข้อดีอย่างไร” เพ่ือนๆ ได้แสดงความเห็นว่า “การกลั่นแกล้งจะ
ทำ� ใหเ้ รารจู้ กั ระมดั ระวงั ตวั ” “ชว่ ยใหเ้ รารจู้ กั การพดู บอกปฏเิ สธคนทมี่ าแกลง้ เรา” “ทำ� ให้
เรารจู้ ักท่จี ะหาวธิ ีแก้ปัญหาโดยไม่ใชก้ ำ� ลงั ” เป็นต้น
บรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นในห้องที่คุณครูกิ๊ฟ - จิตตินันท์ มากผล และคุณครู
ดาว - วิลาวัณย์ คลังทอง เป็นผู้สอน ก็ไม่ได้ต่างไปจากห้องเรียนของคุณครูต้องเลย
เด็กๆ สามารถบอกถึงข้อดีของส่ิงท่ีตนเองไม่ชอบได้มากมาย และสรุปข้อคิดจากนิทาน
เรอ่ื งพอ่ แมร่ งั แกฉนั ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ ถา้ ไมม่ พี อ่ แมค่ อยสง่ั สอนแลว้ พวกเขาจะขาดโอกาส
ท่จี ะพัฒนาตวั เองใหเ้ ป็นคนดีในวันขา้ งหน้า
งานเขียนของเด็กหญิงมีนาเป็นงานเขียนท่ีสะท้อนให้เห็นถึงมุมมองท่ีเปล่ียนแปลง
ไปจากเดิมได้อย่างน่าท่ึง และท�ำให้ครูม่ันใจว่าผลลัพธ์ท่ีต้องการให้เกิดจากการจัด
กระบวนการเรยี นรคู้ รง้ั นไี้ ดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ จรงิ ๆ มนี าขอเขยี นงานถงึ สองชนิ้ เพราะเมอื่ เขยี นถงึ
คุณพอ่ จบแล้ว ก็อยากจะเขียนถงึ คุณแม่ด้วย

งานเขยี นเรอ่ื ง หาดใี ห้เจอ เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ พิมพค์ ณุ ัชญ์ สุวรรณโยธิน นกั เรยี นชน้ั ประถมปที ่ี ๒

• 125 •

จากการสะท้อนส่งิ ท่ไี ดเ้ รยี นรูข้ องเดก็ ๆ จากการท�ำกิจกรรมนี้ทำ� ใหเ้ หน็ ว่าเดก็ ๆ เกดิ
การเรยี นรทู้ จี่ ะมสี ายตาในการมองเหน็ ขอ้ ดขี องสงิ่ ทตี่ นเองไมช่ อบ สามารถเขา้ ใจเหตผุ ล
และยอมรบั ความเปน็ จรงิ ไดม้ ากขน้ึ นกั เรยี นบางคนเกดิ การเปลยี่ นแปลงไปถงึ พฤตกิ รรม
ดังเช่นที่คุณแม่ของเด็กหญิงมีนาท่ีส่งข้อความถึงครูต้องว่า “คุณพ่อฝากขอบคุณครูต้อง
ท่ีชว่ ยโค้ชมีนา มนี ากลายเป็นเดก็ ท่ีน่ารกั ขน้ึ เยอะเลย”

งานเขียนเรือ่ ง หาดใี หเ้ จอ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญงิ พมิ พ์คณุ ัชญ ์ สุวรรณโยธนิ นักเรยี นช้นั ประถมปที ่ี ๒

• 126 •

งานเขยี นเรอ่ื ง หาดีให้เจอ เจา้ ของผลงาน : เดก็ ชายณัฏฐ์อานนท์ อคั รพณชิ สกลุ นกั เรยี นชั้นประถมปีท่ี ๒

งานเขยี นเรอื่ ง หาดใี ห้เจอ เจา้ ของผลงาน : เด็กชายรชนฐั ลาภานนั ต์ นักเรยี นชนั้ ประถมปีท่ี ๒

• 127 •

งานเขยี นเรื่อง หาดใี ห้เจอ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญงิ มนสิชา อัศวเดชานุกร นักเรียนชน้ั ประถมปีท่ี ๒

งานเขียนเร่ือง หาดีให้เจอ เจ้าของผลงาน : เดก็ ชายดุลยวฒั น์ พฒั นกิตตพิ งศ ์ นกั เรยี นช้นั ประถมปที ่ี ๒

• 128 •

การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในตัวของครูจากกิจกรรม “หาดีให้เจอ” นั้นแทบไม่แตกต่าง
จากเด็กๆ เลย ตัวครูเองก็ได้เรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กๆ น่ันคือ การเรียนรู้ที่จะมองหา
มุมมองในการคิดแก้ปัญหา จากการพิจารณาให้รอบด้านโดยมีการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นท่ีต้ัง ครูต้องสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนโดยใช้ปัญญา เพ่ือการก้าวพ้นไปจากปัญหา
ที่เกิดขึ้นกับชีวิตของเขา และหากครูมองปัญหาอย่างผิวเผิน หรือมองข้ามจุดเล็กๆ
ทเี่ กดิ ขนึ้ เดก็ คนหนงึ่ อาจจะยงั คงตดิ ตรงึ อยกู่ บั อารมณบ์ างอยา่ งไปจนกระทงั่ เขาเตบิ โตขน้ึ
เปน็ ผใู้ หญ่ก็เป็นได้
ดังนั้น ครูจึงต้องฝึกฝนตนที่จะมองชั้นเรียนให้ละเอียดรอบด้าน มองให้เห็นถึง
การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น และการเรยี นรขู้ องตวั เองในสถานการณน์ นั้ ๆ ซง่ึ วธิ กี ารมองปญั หานน้ั
เป็นส่ิงส�ำคัญมาก หากครูมองเห็นปัญหานั้นแล้วจมปลักหรือติดอยู่กับปัญหาน้ันโดย
ไม่คิดหาทางออก หรือคิดเพียงแค่ว่าเราไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ การเรียนรู้ของศิษย์ก็
จะไม่ก้าวหน้าขึ้นเลย ครูจะต้องเป็นผู้ฝึกตนเป็นแบบอย่างของการ “หาดีให้เจอ” โดย
พยายามมองหาข้อดีของปัญหาที่เกิดข้ึน แล้วปรับเปลี่ยนมุมมองของปัญหา ให้เกิดเป็น
บทเรยี นใหม ่ ทที่ �ำให้ผ้เู รียนเกดิ ปญั ญาจากการได้ใคร่ครวญกับปญั หาตา่ งๆ ไดอ้ ยู่เสมอ

งานเขยี นเรอื่ ง หาดีให้เจอ เจ้าของผลงาน : เด็กหญงิ ญาโนบล ตนั เถยี ร มาซา นกั เรียนชั้นประถมปที ่ี ๒

• 129 •

งานเขยี น AAR ภาคฉนั ทะ เจ้าของผลงาน : เด็กหญงิ ญาโนบล ตนั เถยี ร มาซา นกั เรยี นชั้นประถมปที ่ี ๒

• 130 •

เรอ่ื งเล่าจากห้องเรียน

คุณครูปลา - ขนิษฐา วงค์เทพ โรงเรียนล�ำปลายมาศพัฒนา ได้เล่าถึงรูปแบบ
การเรียนรู้ในวิชาภาษาไทยของพ่ีช้นั ประถมตอนต้นวา่ มี ๕ ขนั้ ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ที่ ๑ คาดเดาเรอ่ื ง เปน็ ขนั้ ทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ ดก็ เหน็ ความสมั พนั ธข์ องคำ� สำ� คญั ขอ้ ความ
และมีความสนใจต่อการติดตามเรื่องราวของนิทาน โดยครูจะใช้ค�ำส�ำคัญเพื่อให้ผู้เรียน
นำ� คำ� มาปะตดิ ปะตอ่ เปน็ เรอ่ื งราวทคี่ าดวา่ จะเกย่ี วขอ้ งกบั เรอื่ ง หรอื อาจจะนำ� ภาพหนา้ ปก
ของนทิ านมาใหผ้ เู้ รยี นสงั เกตและใชค้ ำ� ถามวา่ สงั เกตเหน็ อะไรบา้ งและคดิ วา่ สงิ่ ทเ่ี หน็ นา่ จะ
เปน็ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั อะไร เมอ่ื เดก็ ๆ ไดค้ ดิ ใครค่ รวญและนำ� มาแชรร์ ว่ มกบั เพอ่ื นๆ ดงั นนั้
จงึ เกดิ ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั มากมาย จนทำ� ใหอ้ ยากทจ่ี ะเรยี นรเู้ รอื่ งราว มคี วามอยาก
ที่จะอา่ นเน้อื เรอ่ื งเร็วไวเพราะอยากรูว้ า่ ในเน้อื เร่ืองจะใชอ่ ยา่ งทตี่ นคาดเดาไว้หรอื เปล่า
ข้ันท่ี ๒.๑ อ่านจับประเด็นเพ่ือท�ำความเข้าใจเรื่อง ในข้ันน้ีครูจะพาอ่านออกเสียง
เพื่อเรียนรู้จังหวะการหายใจ วรรคตอน และการเปล่งเสียงค�ำท่ีถูก แล้วเปล่ียนเป็น
อ่านออกเสียงพร้อมกัน จากนั้นให้ตอบค�ำถามสู่ความเข้าใจเรื่อง ใคร ท�ำอะไร ท่ีไหน
อย่างไร เพราะเหตุใด แล้วเขียนแผนภาพล�ำดับเหตุการณข์ องเร่ือง
ขนั้ ที่ ๒.๒ อา่ นเพอ่ื ไฮไลตค์ ำ� ครใู หน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั จากนนั้ ไฮไลตค์ ำ�
วลี ประโยคท่ีประทับใจ ค�ำยาก ค�ำแปลก จากน้ันนักเรียนจึงเขียนค�ำท่ีนักเรียนเลือก
และให้นกั เรยี นได้ใคร่ครวญผา่ นคำ� ถาม เชน่ นักเรียนเห็นค�ำนแ้ี ล้วนกึ ถึงอะไร เขา้ ใจวา่
อย่างไร คิดกับค�ำศัพท์และการสื่อความหมายของค�ำท่ีไฮไลต์ และนักเรียนแลกเปล่ียน
ตามท่ีตนเองเข้าใจผ่านเครื่องมือ blackboard share อีกทั้งมีการเล่นเกมใบ้ค�ำศัพท์
จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจค�ำศัพท์น้ันโดยอภิธานค�ำศัพท์ได้ด้วยตนเอง จากนั้นครูก็จะให้
พ่ๆี น�ำค�ำศพั ทม์ าแต่งประโยคเพอ่ื ยนื ยันการใชถ้ ูกความหมาย
ข้ันที่ ๓.๑ ตีความจากบริบทเพ่ือเข้าใจสิ่งท่ีเร่ืองไม่ได้บอก ครูชงด้วยเหตุการณ์
ทอี่ าจเกดิ หรอื ไมเ่ กดิ ในเรอ่ื ง แตส่ ามารถตคี วามไดจ้ ากบรบิ ทในเรอื่ ง เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นตคี วาม
และถกกนั หาสงิ่ อา้ งองิ จากเรอื่ ง เชน่ หากมนี วนั ไมเ่ จอแมวสาวสจี่ ดุ ตอนจบจะเปน็ อยา่ งไร
ฤดกู าล (ฤดรู อ้ น ฤดหู นาว ฤดฝู น) มคี วามสมั พนั ธก์ บั นกั เรยี นอยา่ งไร อะไรทบ่ี ง่ บอกวา่
เราก�ำลังเข้าสฤู่ ดู (รอ้ น ฝน หนาว) คิดวา่ ผ้เู ขยี นตอ้ งการส่ือสารส่งิ สำ� คญั ทสี่ ุดของเรอ่ื ง
คอื อะไร จากนน้ั นกั เรยี นตคี วาม หาสงิ่ อา้ งองิ จากเรอ่ื ง นกั เรยี นไดถ้ กกนั ชกั เยอ่ ความคดิ

• 131 •

ในประเด็นต่างๆ จากนั้นให้นักเรียนเขียนจากค�ำถาม “เหตุการณ์ต่อไปเรื่องจะเป็น
อยา่ งไร” และเขยี นความสมั พนั ธข์ องแตล่ ะฤดกู าล เชน่ อาหาร อาชพี การละเลน่ ออกมา
เป็นชิ้นงานในรูปแบบท่ตี นเองสนใจ เชน่ การ์ตนู ชอ่ ง mind mapping เป็นต้น
ข้ันท่ี ๓.๒ ตีความเพอ่ื สะทอ้ นความเชอ่ื สงั คม วัฒนธรรม ครูยกค�ำหรือประโยค
ในเรอื่ ง “ไมส่ ำ� คญั หรอกวา่ เราจะมแี ตม้ สกั กจ่ี ดุ สำ� คญั ทว่ี า่ เรารสู้ กึ พงึ พอใจกบั ชวี ติ แคไ่ หน”
แล้วต้ังค�ำถามเพื่อเทียบเคียงกับตนเอง “ถ้าเราไม่พอใจในส่ิงท่ีเรามี จะเป็นอย่างไร”
“นักเรียนรู้สึกพอใจตนเองในเรื่องใด และท�ำไมจึงรู้สึกเช่นนั้น” นักเรียนคิดใคร่ครวญ
และเขียนตามความเข้าใจของตนเองลงในสมุด และแลกเปลี่ยนความเข้าใจเพื่อประมวล
ความเขา้ ใจรว่ มกบั เพอ่ื น จากนนั้ ออกแบบการจดั การตวั เองในเรอื่ งอารมณ์ และความคดิ
ของตนเองในรูปแบบการ์ตูนช่อง
ข้ันท่ี ๔ ฝึกเรียงล�ำดับเรื่องราว เหตุการณ์ ครูน�ำเรื่องที่อ่านมาตัดแบ่งเหตุการณ์
เป็นตอนๆ โดยไม่ล�ำดับเหตุการณ์ให้นักเรียน โดยให้นักเรียนล�ำดับเน้ือหากับภาพ
เหตกุ ารณใ์ นนทิ าน จากนนั้ ครพู านกั เรยี นอา่ นจากสงิ่ ทนี่ กั เรยี นจดั เรยี งอกี รอบใหต้ รงกนั
และนักเรยี นประกอบนทิ านเป็นรปู เล่ม แล้วฝกึ อา่ นจากเลม่ อกี คร้งั หนึ่ง

ข้ันท่ี ๕ เชื่อมโยงหลักภาษา ใหเ้ ห็นหลากหลายมติ ิ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับเรือ่ ง โดย
๑. การจัดระบบข้อมูล(ค้นหาจากเรื่อง จัดเป็นระบบ) ครูพานักเรียนอ่านออกเสียง
ค�ำที่ไฮไลต์ในนิทาน จากนั้นครูให้ตารางค�ำศัพท์แล้วตั้งค�ำถาม “จากตารางค�ำศัพท์ที่ครู
ให้นักเรยี นจะเลอื กคำ� ท่ีไฮไลต์มาเตมิ อยา่ งไร และจะใส่หวั ข้อขา้ งบนตารางว่าอย่างไร
นักเรียนคิดใคร่ครวญจากค�ำถามที่ครูให้ ร่วมแลกเปล่ียนความคิดเห็นและช่วยกัน
เติมค�ำศัพท์ลงไปในตาราง ตามจ�ำนวนพยางค์ของค�ำ ๑ ค�ำ ที่มี ๑ พยางค์ ค�ำ ๑ ค�ำ
ท่ีมี ๒ พยางค์ ค�ำ ๑ ค�ำที่มี ๓ พยางค์ ค�ำ ๑ ค�ำท่ีมี ๔ พยางค์ แล้วค้นหาค�ำศัพท์
เพิ่มเติมจากหนงั สือนิทานหรือจากแหลง่ เรยี นรอู้ ่ืนๆ
๒. ฝึกประสบการณ์ทางภาษา (อ่าน เขียน เช่ือม โดยแต่งประโยค แต่งเร่ือง)
ครูพานักเรียนเขียนประโยค เล่นเกมทายค�ำศัพท์ (แสดงท่าทางผ่านค�ำ นอกเหนือจาก
ท่ีมอี ยู่ในหนังสือ) โดยใหน้ ักเรียนระบุจำ� นวนพยางค์
นักเรียนค้นหาและเขียนค�ำพร้อมกับระบุจ�ำนวนของพยางค์จากค�ำท่ีนักเรียนรู้จัก
ให้ได้มากท่ีสุดลงในสมุด แลกเปลี่ยนค�ำกับเพื่อน แลกเปล่ียนการสื่อความหมายและ
การน�ำไปใช้ จากนัน้ นกั เรยี นนำ� คำ� ศพั ทท์ คี่ ้นหาไปแต่งเร่อื งราว และวาดภาพประกอบ

• 132 •

๓. การสรา้ ง concept (กฎเกณฑห์ ลกั ภาษา) ครถู าม “นกั เรยี นคดิ วา่ คำ� และพยางค์
เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร”
นกั เรียนคดิ ใคร่ครวญกับคำ� ถามและเขียนลงในสมุดบนั ทึก แลกเปล่ยี นความเหมือน
ความแตกต่างของค�ำและพยางค์ผ่านเคร่ืองมือ blackboard share จากนั้นนักเรียน
เขียนการ์ตนู ช่อง หรอื ทำ� สรุปส้นั ๆ เก่ียวกับค�ำและพยางค์ และการน�ำไปใช้
ครูปลาได้พบว่าการเรียนรู้ภาษาไทยแบบน้ีต่างกันมากกับที่ครูท่ีเคยได้เรียนรู้มา
อย่างมาก การเรียนรู้แบบนี้เน้นให้ผู้เรียนอ่านเพื่อที่จะเข้าใจเนื้อหาของสารท่ีต้องการส่ง
มายงั ผอู้ า่ น และเพอื่ นำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในการสอื่ สารในชวี ติ ประจำ� วนั ผเู้ รยี นตอ้ งใชภ้ าษาสอื่ สาร
ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจและรบั สารอยา่ งพจิ ารณา ตคี วามเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจสารทต่ี อ้ งการจะสง่ มายงั ผรู้ บั
อย่างถ่องแท้ อีกทั้งยังเป็นการฝึกให้ผู้เรียนรักการอ่าน รักการต้ังค�ำถามในสิ่งที่ตนเอง
สงสัย และมีความมุมานะในการหาค�ำตอบ กล้าคิด กล้าแสดงความคิดเห็นของตน
อกี ทง้ั ยงั เคารพสทิ ธแิ ละความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ และทส่ี ำ� คญั คอื กระบวนการนจี้ ะดำ� เนนิ ไป
ไมไ่ ด้เลยหากไมม่ สี นามพลังบวก จิตวทิ ยาเชงิ บวก และการตง้ั คำ� ถามน�ำของครูเพ่อื ทีจ่ ะ
ให้เด็กบรรลุตามวัตถุประสงค์
สนามพลงั บวก คอื สงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ที เี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรขู้ องทกุ คน มคี วามสะอาด รม่ รนื่
ปลอดภยั ความสะอาดจะทำ� ใหส้ บายใจ ความรม่ รน่ื จะนำ� มาสกู่ ารรสู้ กึ ผอ่ นคลายและสงบ
สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยทางกาย เช่น มาจากอุบัติเหตุหรือมาจากการกิน ความ
ปลอดภัยทางด้านจิตใจ เช่น การถูกเพื่อนกล่ันแกล้ง การถูกเพิกเฉยจากครู การถูก
ท�ำลายคุณค่า การถูกตัดสินตีตรา การสอบ การตัดเกรด การเรียงล�ำดับ การแข่งขัน
ทางวิชาการ ฯลฯ และความปลอดภัยทางจิตวิญญาณ คือการที่ผู้เรียนไม่ถูกยัดเยียด
ความคดิ ความเชอ่ื คา่ นยิ มใดๆ แตค่ รคู วรเปน็ ผสู้ รา้ งการเรยี นรใู้ หเ้ ขาไดเ้ ขา้ ใจและไดเ้ ปน็
ผู้เลือกท่จี ะเชือ่ เลอื กส่ิงจะถอื ปฏบิ ตั ิ เช่น การที่เด็กๆ ได้อยู่กับครทู ่ีสงบ อารมณม์ ่ังคง
มเี หตผุ ล มเี มตตา มกี ารตง้ั คำ� ถามทน่ี ำ� ไปสกู่ ารคดิ ใครค่ รวญ เดก็ ๆ กจ็ ะซมึ ซบั พฤตกิ รรม
เหล่านั้น ย่ิงถ้าเด็กรู้สึกได้รับความรักความเมตตาท่ีมีความเสมอเท่าเทียมกัน เด็กก็จะ
ยิ่งรู้สึกปลอดภัยไม่รู้สึกว่าถูกคุกคาม แล้วความม่ังคงทางจิตใจของเด็กก็จะเกิดข้ึน
ซงึ่ นนั่ กย็ งิ่ กระตนุ้ การเรยี นรแู้ รงจงู ใจเชงิ บวกไดอ้ ยา่ งดี ในขณะทต่ี วั ครตู อ้ งกม็ กี ารเรยี นรู้
อยู่ตลอดเวลา เรียนรู้กับทุกๆ สรรพสิ่ง มีเหตุผล ไม่ตัดสิน เข้าใจในตนเอง เข้าใจใน
สิ่งท่ีเป็นอยู่ เขา้ ใจในสงิ่ ต่างๆ เปน็ ผใู้ ห้ ทีไ่ มต่ ้องการการสกั การะใดๆ

• 133 •

คุณครูแตง - จันทกานต์ บุญวิจิตร คุณครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมปีที่ ๔
กเ็ ชน่ กนั ครแู ตงรสู้ กึ ทงึ่ กบั การเรยี นภาษาไทยผา่ นวรรณกรรม โดยไมใ่ ชแ้ บบเรยี น ทเ่ี รมิ่ ตน้
จากการทนี่ กั เรยี นจะไดเ้ รยี นรวู้ รรณกรรมผา่ นการอา่ นแลว้ ฝกึ จบั ประเดน็ ของเรอ่ื ง จากนนั้
ครูก็จะตั้งค�ำถามชวนคิด ตัวละครมีใครบ้าง เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนเป็นอย่างไร เหตุการณ์
เกิดขึ้นท่ีใด มีประโยคไหนหรือตอนไหนท่ีคล้ายกับเรา ซ่ึงจะเป็นกระบวนการที่ครู
เปน็ ผชู้ วนสนทนาในรปู แบบ dialogue ทค่ี รฟู งั นกั เรยี น นกั เรยี นฟงั ครู ดว้ ยความเปน็ กนั เอง
และเป็นการรับฟังกันและกันท้ังสองฝ่าย ครูไม่ตัดสิน ไม่ช้ีน�ำ ท�ำให้นักเรียนกล้าที่จะ
แสดงความคิดเหน็ หรอื เลา่ เรอื่ งราวของตนเองทีม่ คี วามคล้ายคลงึ กบั เรอ่ื งทไ่ี ด้อ่าน และ
ท�ำให้ครูได้รับรู้ว่านักเรียนแต่ละคนมีบางอย่างในใจของเขาท่ีไม่สามารถบอกกับใครได้
แต่เรอ่ื งราวในวรรณกรรมจะช่วยใหเ้ ขากล้าท่จี ะบอกเล่ากับครูหรือคนอน่ื ได้

• 134 •

ช้นิ งาน สว่ นประกอบของคำ� เจา้ ของผลงาน : เดก็ ชายณฐกร เวชภณั ฑ์เภสชั นกั เรยี นชั้นประถมปที ่ี ๔

• 135 •

คณุ ครณู ี - พรรณี แซซ่ อื ผสู้ อนวชิ าภาษาไทยระดบั ชน้ั มธั ยม ไดเ้ ลา่ ถงึ หอ้ งเรยี นคละ
ชนั้ ของพม่ี ธั ยม ม. ๑ - ๒ ทเี่ รยี นวชิ าภาษาไทยโดยใชบ้ ทกวี ปรชั ญาชวี ติ ของคาลลิ ยบิ ราน
ดว้ ยกระบวนการ ๕ ขนั้ ตอน วา่ มบี รรยากาศในการเรยี นรดู้ มี าก ทกุ คนมคี วามกระตอื รอื รน้
ในการเรียนรู้ ช่วยเหลือกัน เห็นชัดถึงการเคารพและรับฟังกัน แบ่งปันความคิด
และท�ำงานร่วมกันที่เป็นไปตามธรรมชาติระหว่างพี่น้อง น้องฟังพี่พ่ีฟังน้อง เราเชื่อว่า
การเรียนรู้ท่ีดีเกิดจากการเรียนรู้ร่วมกัน และที่ส�ำคัญคือสัมพันธภาพระหว่างพี่น้อง
การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ไม่ใช่แค่ในชั้นเรียน แต่รวมถึงการใช้ชีวิตของพี่ๆ ทุกคนด้วย
ที่จะต้องเคารพและรับฟังคนอื่น เพ่ือเรียนรู้ชีวิตในทุกๆ วันผ่านประสบการณ์จากผู้คน
ทห่ี ลากหลาย ทง้ั อายุ อาชพี วธิ คี ดิ แตก่ อ่ นทพ่ี ๆ่ี ม. ๑ - ๒ จะมาเรยี นรรู้ ว่ มกนั แบบนไ้ี ด้
ต่างมีข้อขัดแย้งและสงสัย “ท�ำไมต้องให้หนูมาเรียนกับน้อง จะได้เรียนด้วยกันได้เหรอ”
“ครูคะ... ครูครับผมไม่อยากเรียนกับพ่ี กลัวพี่” ฯลฯ มีค�ำถามต่างๆ ตามมามากมาย
แตค่ รูใหค้ ำ� ตอบเดยี ววา่ “ลองด.ู .. เรียนรแู้ บบพน่ี ้องต้องสนุกแน่ๆ”
สนุกจริงๆ ค่ะ ทะเลาะกัน แบ่งกลุ่มกัน มาขอแบ่งช้ันเรียนเหมือนเดิมก็มี แต่คร้ัง
ที่เกิดปัญหาหรือต้องสรุปการเรียนรู้ในแต่ละวัน เราก็จะน�ำประเด็นสิ่งใหม่ท่ีเรียนรู้
ปัญหาที่พบ มาร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนในการ AAR หลังเรียน และช่วงจัดกาย จัดใจ
หลังเลิกเรียน เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดความรู้สึก ส่ิงที่อยากบอก อยากขอบคุณ หรือ
ผา่ นค�ำถามวันน้ภี ูมใิ จอะไรในตัวเอง ภูมิใจในตวั เพอ่ื นหรือพ่ี
เม่ือเวลาผ่านไปสักระยะ ครูณีก็ได้ยินเสียงบอกว่า “ครูคะ เรียนรู้กับน้องก็ดีนะ
หนวู า่ นอ้ งเกง่ อธบิ ายไดด้ มี าก ทำ� งานสวยมาก” “ครคู รบั พใ่ี จดี สอนงานผมดว้ ย ผมอยาก
ท�ำงานกับพ่ี” ครูแค่คอยเฝ้ามอง ดูแลบรรยากาศการเรียนรู้ให้เป็นไปดังท่ีควรจะเป็น
รู้จังหวะท่ีจะเข้าไปช้อนความคิดความรู้สึก หรือปล่อย รอเวลา เรียนรู้วิธีคิด และเข้าใจ
พๆี่ มากข้นึ ด้วยเช่นกัน
แรงบนั ดาลใจในการเรยี นรแู้ บบนค้ี อื ตวั ครเู อง จะตอ้ งฝกึ ฝนทจี่ ะเรยี นรกู้ บั ผอู้ นื่ มากขนึ้
เพอ่ื มองเหน็ แนวคดิ รปู แบบการใชช้ วี ติ ทห่ี ลากหลาย ตา่ งอาชพี ตา่ งอายุ แตไ่ มใ่ ชแ่ คก่ บั
ผคู้ น ยงั รวมถงึ การเรยี นรจู้ ากแหลง่ ตา่ งๆ อา่ นหนงั สอื ดหู นงั รวมทงั้ การรบั ฟงั เพอ่ื เขา้ ใจ
ในส่ิงตา่ งๆ และเขา้ ใจตนเอง เข้าใจในสิ่งทีต่ นเองก�ำลงั ทำ� อยู่ นั่นคอื “ครู”

• 136 •

ชิ้นงาน การต์ นู ช่อง เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญงิ รกั ษม์ ณี ปกั กาโต นกั เรยี นชั้นมธั ยมปที ่ี ๑

• 137 •



ดวงตา หมายเลข ๕ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญงิ ภรภัทร เจนศิรกิ ลุ



เรียนรู้ระดับผิว (ตอนที่ ๒)

บันทึกน้ี ตีความจากบทที่ 2 Surface Literacy Learning ในหนังสือ
หน้า 49 - 70

สอนคำ� (vocabulary instruction)

เมอื่ อา่ นสาระในตอนนแี้ ลว้ ผมคดิ วา่ ครภู าษาตอ้ งไมใ่ ชแ่ คส่ อนไปตามทห่ี ลกั สตู ร
กำ� หนด ตอ้ งมหี ลกั คดิ ทช่ี ว่ ยกำ� หนดพฤตกิ รรมการสอนของครู เพอื่ ชว่ ยใหน้ กั เรยี น
ได้มีพ้ืนฐานทางภาษาท่ีม่ันคงแข็งแรง ซ่ึงจะเป็นคุณต่อชีวิตในภายหน้าอย่างมาก
ผมเกดิ ความรสู้ กึ วา่ ครใู นชนั้ เดก็ เลก็ และชน้ั ประถม มคี วามสำ� คญั มากตอ่ การสรา้ ง
พนื้ ฐานนี้ สำ� คญั ในลกั ษณะทำ� ใหเ้ ดก็ มฐี านมนั่ คง หรอื ฐานออ่ นแอ ไปตลอดชวี ติ (๑)
ในตอนนี้ว่าด้วยการสอนคลังค�ำเพ่ือเป้าหมายการเรียนรู้ระดับผิว ซึ่งไม่ใช่
เป้าหมายสุดท้ายของการเรียนรู้ค�ำ ในบันทึกตอนต่อๆ ไป จะกล่าวถึงการสอน
คลังค�ำเพ่ือการเรียนรู้ระดับลึก และระดับเช่ือมโยง โดยครูต้องตระหนักอยู่
ตลอดเวลาวา่ ตนตอ้ งสอนใหน้ กั เรยี นไดบ้ รรลกุ ารเรยี นรรู้ ะดบั เชอื่ มโยง (transfer)

(๑) ผมมีโอกาสอ่านหลักสูตรการผลิตครูประถมศึกษา มีความรู้สึกว่าขาดการท�ำให้ครูประถมเข้าใจ
กระบวนการ learning ของเด็กเล็ก เน้ือหาที่สอนเน้นไปทาง teaching สาระต่างๆ แทบไม่ปรากฏ
การพัฒนาทักษะต่างๆ ที่เป็นฐานสมรรถนะเลย จึงเป็นเหตุให้ครูจบออกไปแล้วพยายามหา how
การสอนทคี่ มู่ อื มใี ห้ เมอ่ื ครขู าดความเขา้ ใจกระบวนการเรยี นรขู้ องเดก็ แลว้ แผนการสอนออกมาไดอ้ ยา่ งไร
จงึ ไมแ่ ปลกใจทมี่ กี ารเปดิ แชรแ์ ผนการสอนกนั เปน็ จำ� นวนมาก เพราะเปน็ เอกสารภาคบงั คบั ใหส้ ง่ แผนการสอน
จึงเป็นเพียงแค่แผนที่เราไม่ทราบว่าดีหรือไม่ หรือถ้าดีแล้วถูกน�ำไปปฏิบัติหรือไม่ เด็กประถมมี
ความแตกตา่ งกันมาก คงก�ำหนดแผนการสอนตายตวั คงเป็นไปไมไ่ ด้ หรอื copy กนั มาใช้ไมไ่ ด้

• 140 •

ทกั ษะการมคี ลงั คำ� ทมี่ คี วามสำ� คญั (ใชบ้ อ่ ย) มมี าก และรคู้ วามหมายลกึ ชว่ ยให้
อ่านหนงั สอื ได้คลอ่ ง ไดใ้ จความ และสนกุ การมคี ลังคำ� ทม่ี ากและเหมาะสม มี ES
ต่อผลการเรยี นวชิ าอา่ นเอาเร่อื ง = ๐.๖๗
เขาแนะน�ำวา่ การเรียนรู้คำ� มี ๕ มิติ ไดแ้ ก่
รูค้ วามหมายทั่วไป
ใชเ้ ปน็
นึกค�ำออก
ใชอ้ ย่างแมน่ ยำ� คอื ใชอ้ ย่างถูกตอ้ ง ไม่ใช้ผดิ ๆ
นำ� มาใชไ้ ด้อยา่ งอตั โนมัติ โดยน�ำเอาคำ� มาแชรค์ วามเขา้ ใจกบั เพื่อนๆ ได้
ผมขอเสนอว่า น่าจะมมี ติ ิท่ี ๖ และ ๗ คอื
จัดกลุม่ คำ� ได้
บอกค�ำพอ้ งได้ (๒)
โดยที่การเรียนรู้ต้องเป็นขั้นเป็นตอน ตามระดับพัฒนาการของเด็ก โดยเขา
แนะนำ� วิธเี ลือกคำ� สำ� หรบั ดำ� เนนิ การสอนโดยตรง ตามแสดงในตารางที่ ๕.๑

(๒) หมายถึงค�ำท่ีมีความหมายเดียวกัน สุรีย์ สุริยะ สุริยา ตะวัน อาทิตย์ คนที่แต่งร้อยกรองจะมี
คลงั พวกนมี้ ากเพราะถกู บงั คบั สมั ผสั เสยี ง ดงั นน้ั การใหแ้ ตง่ รอ้ ยกรองนา่ จะเปน็ ประโยชน์ ขนั้ สงู คอื “สรา้ งคำ� ”
การสรา้ งคำ� เกดิ จากการตดิ ตอ่ และใชภ้ าษาตา่ งชาติ ปกตบิ ญั ญตั โิ ดยราชบณั ฑติ (เชน่ literacy = ฉลาดร)ู้
แตก่ ม็ ที คี่ นทวั่ ไปสรา้ งกนั เองตามทอ้ งถนิ่ กม็ ี บา้ งเกดิ จากการใหค้ วามหมายตามกระบวนการทางจติ ใจ เชน่
“เกรงใจ” (ที่ไม่มีในภาษาอังกฤษ) น่าถือเป็นมิติท่ี 8 ไมเคิล ไรท์ เป็นคนสร้างอุษาคเนย์มาแทนเอเชีย
อาคเนย์ เพราะไม่ชอบที่เอาภาษาอังกฤษ (เอเชยี ) มาปนกับสันสกฤต

• 141 •

ตารางท่ี ๕.๑ โมเดลการตดั สินใจเลือกคำ� ส�ำหรับใชใ้ น direct instruction

มิติ คำ�ถามเพือ่ ใชต้ ดั สินใจ

เป็นตวั แทน คำ�นัน้ เปน็ ส่วนหน่งึ ของกลมุ่ คำ�ทน่ี กั เรียนต้องรู้ ใชห่ รอื ไม่
คำ�หรอื วลีน้ันเปน็ ส่งิ ทน่ี กั เรียนตอ้ งรู้ ใชห่ รอื ไม่

ถ้าใช่ ดำ�เนินการต่อไปยังขัน้ ถัดไป

ประโยชนใ์ ชส้ อย ต้องใชค้ ำ�นนั้ ในกิจกรรมการอ่าน เขียน และอภิปรายหรอื ไม่

ถา้ ใช่ ดำ�เนนิ การตอ่ ไป โดยกำ�หนดวธิ ีการทีน่ กั เรยี นจะได้เรยี นรู้คำ�นน้ั

ความบ่อย คำ�นน้ั ปรากฏในเอกสารตา่ งๆ บ่อยหรอื ไม่

การวเิ คราะหบ์ รบิ ท คำ�นัน้ จะชว่ ยฝกึ ใหน้ ักเรยี นมที กั ษะวเิ คราะห์บริบท
สำ�หรบั ตคี วามความหมายของคำ�หรือไม่

การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง คำ�นนั้ จะชว่ ยฝึกใหน้ กั เรยี นมที ักษะวิเคราะห์โครงสร้างประโยค
เพ่อื แยกแยะความหมายของคำ�หรือไม่

หากคำ�นน้ั ปรากฏในเอกสารต่างๆ บอ่ ย และชว่ ยฝึกการวเิ คราะหบ์ รบิ ท และโครงสร้าง
ประโยคใหน้ กั เรยี นตีความความหมายของคำ�ไดด้ อี ยแู่ ล้ว อาจไมม่ ีความจำ�เป็นตอ้ งนำ�คำ�นัน้
มาสอนโดยตรง ถา้ หากคำ�นั้นสำ�คัญหรือจำ�เปน็ ตอ่ การเปน็ ฐานคลังคำ� แต่นกั เรยี นไม่สามารถ
แยกแยะความหมายได้โดยการวเิ คราะหบ์ ริบท หรือวิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยค ครูควรนำ�คำ�
หรอื วลนี ้นั มาสอนโดยตรง (direct instruction)(๓)

นอกจากสอนคำ� โดยวธิ ี direct instruction แลว้ ยงั มวี ธิ สี อนอกี มากมาย ตอ่ ไป
จะยกวิธใี ช้เครือ่ งชว่ ยจ�ำ บัตรค�ำ เกมคำ� และการจดั กล่มุ ค�ำ มาเป็นตวั อย่าง(๔)

(๓) ทำ� ให้นกึ ถงึ เม่ือเราใชค้ �ำว่า “บรู ณาการ” “บริบท” “วาทกรรม” เมอ่ื เร่มิ ใชใ้ หมๆ่ เข้าใจยากกนั ทกุ คน
ตอนนีเ้ ข้าใจจากการเจอบ่อยๆ ดังน้ัน เด็กต้องอ่านและฟังมากๆ
(๔) ภาษาไทยจะตา่ งจากภาษาองั กฤษทเี่ ปน็ ตน้ เรอ่ื งของบนั ทกึ นค้ี รบั เพราะเราไมม่ เี ครอื่ งหมายฟลู สตอ็ ป
บอกจดุ จบ ไมม่ คี อมมา่ แยกประโยคยอ่ ย การเขยี นประโยคจงึ ยากกวา่ ตอ้ งระวงั การสอื่ สารผดิ ๆ โครงการ
เพาะพนั ธป์ุ ญั ญา จงึ ถอื วา่ สดุ ยอดของการรภู้ าษาไทยคอื “เขยี นคอื คดิ ” ซงึ่ ฝกึ ยากมากครบั ครเู องกไ็ มค่ อ่ ยเขยี น
ยิ่งมี Google และ copy & paste ยงิ่ ไม่ง่ายครับ คงต้องสอนเรยี งความ ย่อความ เขียนสนุ ทรพจน์

• 142 •

เครือ่ งชว่ ยจ�ำ (mnemonics)

ทกุ คนจำ� บททอ่ งจำ� “ผใู้ หญห่ าผา้ ใหม่ ใหส้ ะใภใ้ ชค้ ลอ้ งคอ ใฝใ่ จเอาใสห่ อ่ มหิ ลงใหล
ใครขอดู จะใคร่ลงเรือใบ ดูน�้ำใสและปลาปู สิ่งใดอยู่ในตู้ มิได้อยู่ใต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ย่ีสิบม้วนจ�ำจงดี” นี่คือ
เคร่อื งช่วยจำ� ค�ำสระ ใ- ทีใ่ ช้ไม้มว้ น
“เดก็ เหมอ่ ตามอง ยิ้มย่องผอ่ งใส หันหวั ทวั่ ไป แมไ่ มต่ ้องยก คว่ำ� อกนอนเหม่อ
transfer มอื เดยี ว นง่ั เดย่ี วเรอื่ งยอ่ ย หนนู อ้ ยคบื คลาน ยนื นานตอ้ งเหนยี่ ว ยนื เยยี่ ว
ยงั ได้ เดนิ ไกลตอ้ งเกาะ ยา่ งเหยาะอาจหาญ” คอื เครอ่ื งชว่ ยจำ� ทเ่ี พอ่ื นนกั ศกึ ษาแพทย์
ของผมสมยั เกอื บหกสบิ ปกี อ่ นแตง่ ขนึ้ เอาไวต้ อบขอ้ สอบพฒั นาการเดก็ ในแตล่ ะเดอื น
ในชว่ งขวบปแี รกทเี่ ปน็ ขอ้ สอบความจำ� (เรยี นรรู้ ะดบั ผวิ ) แมเ้ วลาผา่ นมาเกอื บ ๖๐ ปี
ผมยังจำ� ไดแ้ ม่น
EF ของเคร่อื งชว่ ยความจ�ำตอ่ การเรยี นรู้ = ๐.๔๕(๕)

บัตรคำ�

เขาแนะน�ำให้ครูก�ำหนดให้นักเรียนเขียนบัตรค�ำตามแบบ Frayer Model
(ดูเพิ่มเติมได้ที่ https://www.google.com/search?q=Frayer+word+card&rlz=
1C1DVJR_enTH827TH827&sxsrf=ACYBGNQw4W1PKw8xYB8JjJ4NXe
O0yYWDzg:1577095335234&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=
2ahUKEwjw7O75wcvmAhWXdn0KHVzhDRgQ_AUoAXoECAwQAw&cshid
=1577095514432263&biw=865&bih=341#imgrc=CIDEhOb8Vu19FM:)
เอาไว้ใช้ทบทวน โดยใช้บัตรค�ำขนาด ๔x๖ นิ้ว ตีเส้นแบ่งหน้ากระดาษตามขวาง
และตามแนวตั้ง แบ่งหนา้ กระดาษออกเป็น ๔ ส่วน อาจเขยี นค�ำไวต้ รงกลาง หรอื
ท่ีช่องใดช่องหนึ่งในสี่ช่อง อีกช่องหนึ่งเขียนความหมายของค�ำ อีกช่องหนึ่งเขียน
ค�ำพ้อง อีกช่องหน่ึงเขียนตัวอย่างประโยคท่ีใช้ค�ำนั้น หากมีช่องเหลืออาจเขียน
คำ� ตรงกนั ข้าม หรอื เขียนรปู ทีส่ ะทอ้ นความหมายของค�ำ(๖)

(๕) อกี ตัวอยา่ งชดั ๆ คอื พวกโรงเรียนตวิ ทเี่ อามาผกู เป็นเพลงใช้เรยี นภาษา
(๖) ดกิ ชนั นารอี งั กฤษเปน็ ตวั อยา่ งกรณนี คี้ รบั ถา้ เดก็ ใชด้ กิ ชนั นารหี รอื พจนานกุ รม แลว้ อา่ นใหต้ ลอดกจ็ ะ
เรียนภาษาได้มาก ตอนน้เี วลาเราพมิ พ์ภาษาอังกฤษแล้วนึกค�ำดีๆ ไม่ออกก็พิมพ์ค�ำธรรมดาไปกอ่ น แลว้
ป้ายค�ำหาค�ำใหม่ได้ แถมตอนนี้มีโปรแกรม AI ช่วยเขียน paper อังกฤษ ยิ่งมีโอกาสเรียนรู้จากการแก้
ของ AI การเรียนงา่ ยขึ้น เพยี งแต่ใชเ้ ทคโนโลยีแลว้ เรียนจากทมี่ นั ท�ำงานให้เรา

• 143 •

ก(mารoหdาeคlinวgามwหoมrาdยsขoอlงvคin�ำgจ)ากโครงสร้างค�ำและประโยค

ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟงั ในลกั ษณะทเี่ ผยความคดิ ในสมองของตนเองออกมาดงั ๆ
เม่ือพบค�ำแปลกในข้อความหนึ่ง เช่น ครูอ่านข้อความ “การศึกษาถึงสภาพทาง
ภมู นิ เิ วศหรอื ถนิ่ ทอี่ ยอู่ าศยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ รปู แบบวถิ ชี วี ติ และเปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากพืชพรรณท่ีปรากฏอยู่ในพื้นท่ี
จะท�ำให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับระบบนิเวศ ในฐานะท่ีเป็นผู้มีบทบาท
หน้าที่ในส่วนหน่ึงของกระบวนการในระบบนิเวศ และเป็นส่วนส�ำคัญอย่างย่ิงต่อ
การรักษาความสมดุลและความยั่งยืนของธรรมชาติ” ครูสะดุดท่ีค�ำว่า ภูมินิเวศ
จึงลองแตกค�ำ ภูมิ + นิเวศ ค�ำว่า ภูมิ แปลว่า แผ่นดิน นิเวศ แปลว่า ที่อยู่
ภมู นิ เิ วศ จงึ แปลวา่ แผน่ ดนิ ทอี่ ยู่ และเมอ่ื อา่ นตอ่ มากพ็ บคำ� วา่ “หรอื ถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั ”
เป็นคำ� แปลท่ผี ู้เขยี นให้ไว้ ซึ่งตรงกัน
เขาให้หลักการหาความหมายของคำ� จากการวิเคราะห์ค�ำและประโยค ดังนี้
ตรวจสอบภายในคำ� หรือพยางค์ เพอ่ื หาค�ำตอบ
ตรวจสอบจากภายนอกคำ� หรอื พยางค์ เพ่อื หาคำ� ตอบ
ตรวจสอบจากภายนอกข้อความ เพ่ือหาค�ำตอบ ซึ่งในกรณีของข้อความ
ที่ยกมาข้างต้น ถ้อยค�ำที่ตามมาช่วยบอกว่าเขาก�ำลังกล่าวถึงความสัมพันธ์
ระหว่างมนษุ ย์กับระบบธรรมชาติ

จดั กลมุ่ คำ� หรอื หลกั การ

มนษุ ยม์ ธี รรมชาตคิ ้นหาแบบแผน (pattern) เพือ่ ท�ำความเขา้ ใจสิ่งท่อี ยู่รอบตัว
จึงควรใช้คุณสมบัติตามธรรมชาติน้ีช่วยการเรียนรู้ค�ำ โดยให้เล่มเกมจัดกลุ่มค�ำ
โดยใชเ้ กณฑห์ ลากหลายแบบ เชน่ ความหมาย เสยี ง วธิ เี ขยี นสะกดการนั ต์ วธิ กี ารน้ี
มกั ใชใ้ นนกั เรยี นชนั้ ประถม เพอื่ ชว่ ยใหเ้ ขยี นถกู ตอ้ ง รคู้ วามหมาย และเพมิ่ คลงั คำ�
ในสมอง ทเ่ี ป็นพืน้ ฐานสู่การอ่านและเขยี น
ครูภาษาสามารถออกแบบการเรียนที่สนุกและท้าทาย และเหมาะสมต่อระดับ
ความรู้และพฒั นาการเดก็ ได้มากมายโดยใชห้ ลักการน้ี

• 144 •

สอนให้อ่านมาก (wide reading)

ครตู อ้ งจดั หอ้ งเรยี นใหม้ หี นงั สอื ใหเ้ ดก็ อา่ น ทงั้ หนงั สอื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บทเรยี น และ
หนังสืออืน่ ๆ ทเี่ ดก็ สนใจ เพื่อกระตุ้นให้เด็กอา่ น ซ่งึ จะชว่ ยเพ่มิ คลังคำ� ในสมองเด็ก
เปา้ หมายคอื ใหเ้ ดก็ ไดส้ มั ผสั ภาษา จนเมอ่ื เรยี นจบ ม.๒ มคี ลงั คำ� ๘๘,๐๐๐ คำ� อยู่
ในสมอง เปน็ ทุนเพ่อื การเรยี นรู้ต่อไป

สอนอา่ นเอาเร่ืองตามบริบท

การสอนอา่ นเอาเรอ่ื งไมใ่ ชก่ ระบวนการตนื้ ๆ หรอื ชน้ั เดยี ว ตอ้ งการการออกแบบ
กระบวนการใหน้ กั เรยี นไดพ้ ฒั นาความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละจดั ระบบความรู้
และเช่ือมโยงกับข้อมูลด้านสังคม ด้านชีวภาพ และด้านกายภาพในโลก คิด
ใครค่ รวญ แล้วลงมือท�ำกจิ กรรม
เขาบอกว่าเป้าหมายของการเรียนอ่านเอาเรื่องเน้นที่การบูรณาการความรู้
เข้าด้วยกนั เพอ่ื น�ำไปสกู่ ารกระทำ� ทเี่ รียกว่า integrative reader ต้องอยา่ หลงสอน
ใหอ้ ่านดว้ ยเป้าหมายเพอื่ เขา้ ใจแล้วหยดุ อยูแ่ คน่ ้ัน ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ strategic reader
เพราะจะทำ� ใหไ้ ม่เกิดการเรยี นรูก้ วา้ งขวาง
อย่างไรก็ตาม การอ่านแบบเอาความเข้าใจก็มีประโยชน์ เพราะนักเรียนจะ
ขวนขวายหาตัวช่วยเพื่อท�ำความเข้าใจ ซ่ึงต่อไปจะน�ำไปสู่การเช่ือมโยงเร่ืองที่อ่าน
ไปสูเ่ ร่ืองอื่นๆ และกลายเปน็ integrative reader(๗)

ฝกึ สรุป

นักเรียนต้องได้ฝึกบรรจุหรือเช่ือมโยงความรู้ใหม่เข้าในแผนที่ความรู้ของตน
ซึ่งในชั้นนี้เป็นแผนที่ความรู้กว้างๆ ผิวๆ ไม่เน้นความลึก แต่จุดส�ำคัญอยู่ที่
ต้องจับประเดน็ ส�ำคัญได้ ไม่หลงจับประเดน็ ปลีกยอ่ ย

(๗) อ่านเอาเรื่องแล้วต่อด้วยวิพากษ์ เขียนโต้เร่ืองที่อ่านจากท่ีเราวิพากษ์ ผมเคยใช้วิธีนี้กับนักศึกษา
นานมาแล้ว (ก่อนไปท�ำงาน สกว.) เคยแม้กระท่ังอ่านเร่ืองท่ีเขาเช่ือ/ เห็นด้วย แต่ก็ต้องมองหามุมมอง
ที่จะวิพากษ์ให้ได้ อีกเรื่องที่เอามาใช้กับลูกคือให้อ่านเร่ืองท่ีมีจินตนาการสูง (สมัยน้ันคือ ล่องไพร ของ
นอ้ ย อนิ ทนนท์ กบั เพชรพระอมุ า ของพนมเทยี น) กบั เรอ่ื งทโ่ี ครงสรา้ งตอ้ งมเี หตผุ ลตรรกะ (เรอื่ งนกั สบื ของ
อากาทา ครสิ ตี้) เขาอ่านแล้วตอ้ งเช่อื มโยงข้อมลู ทั้งหมดใหไ้ ด้

• 145 •

วิธีการท่ีครูสอนและประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ในระดับเข้าใจ คือ ให้
นกั เรยี นเขยี นสรปุ ประเดน็ หลกั ของการเรยี นรสู้ องสามประโยคลงบน “บตั รออกจาก
ห้องเรียน” ตอนจบคาบ ส�ำหรับครูเอามาอ่านตรวจสอบว่านักเรียนคนไหนบ้าง
ที่จับประเด็นผิด แล้วครูน�ำไปให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับ (feedback) ตอนเริ่มต้น
ชั้นเรยี นต่อไป
ทักษะการอ่านจับประเด็นส�ำคัญก็เช่นเดียวกันกับการมีคลังค�ำ เป็นพ้ืนฐาน
ส่กู ารเรียนรู้ระดับลกึ และระดับเชื่อมโยงตอ่ ไป(๘)

ขีดเสน้ ใตห้ รอื วงค�ำสำ� คัญ

ในการอา่ นเรอ่ื งทซี่ ับซ้อน การจบั ประเด็นสำ� คัญอาจทำ� ได้ไม่ง่ายนกั ยง่ิ มือใหม่
อย่างนักเรียนยิ่งเป็นเร่ืองท้าทาย ตัวช่วยง่ายๆ คือขีดเส้นใต้ค�ำ ประโยค หรือ
ส่วนของเรื่องท่ีมีความส�ำคัญ อาจใช้วิธีวงค�ำส�ำคัญ หรือเขียนสรุปประเด็นไว้ท่ี
ขอบหนา้ หรือหลงั ตัวหนังสือ ท่เี รียกว่า ทักษะการเรียน (study skills)(๙)
นักเรียนซ่ึงเป็นมือใหม่ มักหลงไปให้ความสนใจต่อถ้อยค�ำพรรณนาภาพพจน ์
แทนท่ีจะพุ่งความสนใจไปท่ีถ้อยค�ำที่มีความส�ำคัญจริงๆ ครูจึงต้องช่วยฝึกการจับ
ประเด็นสำ� คัญ ไม่หลงประเดน็
ครตู อ้ งสอนสองอยา่ งในเวลาเดยี วกนั คอื สอนการเรยี นสาระวชิ ากบั สอนวธิ เี รยี น
ซ่ึงจะท�ำให้นักเรียนได้เรียนสองอย่างในเวลาเดียวกันด้วย มีผลการวิจัยบอกว่า
การสอนวธิ เี รยี นแยกตา่ งหากไดผ้ ลนอ้ ย ไมค่ วรทำ� ควรสอนไปพรอ้ มกบั สอนสาระ
ทกั ษะการเรยี นมผี ล ES = ๐.๖๓

(๘) ความสามารถสรปุ เปน็ ทกั ษะทสี่ ำ� คญั นกั ศกึ ษาจำ� นวนมากสรปุ ไมไ่ ด้ เขยี นสรปุ เปน็ ยอ่ ความ ผมมกั สอน
ให้แยกว่า สรุป (conclusion) ตอ้ งอา่ นไมร่ ูเ้ รอ่ื ง ถ้าไม่อา่ นท้ังเรอ่ื งมาก่อน ส่วนย่อความ(abstract) ตอ้ ง
อา่ นรเู้ รอื่ งโดยไมต่ อ้ งอา่ นทงั้ เรอ่ื งมากอ่ น นทิ านอสี ปทจ่ี บวา่ “นทิ านเรอ่ื งนสี้ อนใหร้ วู้ า่ .....” คอื สรปุ เพราะ
มนั สรปุ เปน็ ประเดน็ คำ� สอนจากเรอ่ื ง จะไมร่ เู้ รอ่ื งวา่ ทำ� ไมสอนใหร้ วู้ า่ อยา่ งนน้ั ถา้ ไมไ่ ดอ้ า่ นทงั้ เรอื่ งมากอ่ น
(ครเู องก็จับประเด็นไมค่ อ่ ยได้ครับ)
(๙) ท่ีผมใช้คือนอกจากวงแล้วผมให้เขียนลูกศรเช่ือมจากเหตุไปผลด้วย ใช้ฝึกครูในโครงการเพาะพันธุ์
ปญั ญาใหเ้ ขา้ ใจเรอื่ งราวทมี่ คี วามเปน็ เหตเุ ปน็ ผลตอ่ เนอ่ื ง แลว้ ถอดเอามาเปน็ ผงั เหตุ - ผลของเรอื่ งราว จากนนั้
ใช้ผงั เหตุ - ผลมาแต่งเรอื่ งราวใหม่ ใหไ้ ด้เรอื่ งเดิมแตเ่ รียบเรยี งไม่เหมือนเดมิ การเขียนขา้ มเหตุ - ผลไป
มาท�ำให้รจู้ กั ใช้ค�ำเชื่อม รจู้ ักอนุประโยคทเ่ี ป็นภาคขยาย

• 146 •

จดบนั ทึก

วธิ จี ดบนั ทกึ ทแี่ นะนำ� สำ� หรบั นกั เรยี นมธั ยมขน้ึ ไป คอื Cornell Method (ดเู พม่ิ เตมิ
ไดท้ ี่ https://en.wikipedia.org/wiki/cornell_note) โดยใช้หลกั การ 6Rs คอื
record จดบนั ทกึ ลงไปทีห่ น้ากระดาษสว่ นบันทึก
reduce ย่อลงเปน็ ไอเดียส�ำคัญ ในลักษณะคำ� ถาม จากการทบทวนบันทกึ
ภายใน ๒๔ ชั่วโมง
recite ทบทวนสาระส�ำคญั โดยตอบค�ำถามออกมาดังๆ ไมด่ บู นั ทกึ
reflect ใครค่ รวญวา่ ตนเขา้ ใจถอ่ งแทแ้ คไ่ หน มคี ำ� ถามสำ� หรบั ไปถามครหู รอื ไม่
review ทบทวนในเวลาท่ีเหมาะสม
recapitulate สรุปความ บันทึกลงในหนา้ กระดาษสว่ นสรุปความ

ตารางที่ ๕.๒ ตวั อย่าง Cornell Note

ขอ้ เตือนใจ บนั ทึก

ไอเดียหลกั จดในช้ันเรยี น
คำ�ถาม ใช้คำ�ยอ่ และสัญลักษณ์
เขียนภายใน ๒๔ ชว่ั โมง มีทวี่ ่างสำ�หรบั เตมิ ข้อมลู
หลังชัน้ เรยี น

สรุป
ไอเดียหลกั และประเดน็ สำ�คัญ
เขยี นหลังการทบทวน

effect size ของการจดบนั ทึกท่ีดีตอ่ การเรียนรู้ = ๐.๕๙

• 147 •

ต้องการเวลาเพอื่ จารกึ ความรู้ใหมเ่ ขา้ สมอง

การเรียนความรู้ใหม่แม้ในระดับต้ืน นักเรียนต้องการเวลาเพ่ือจัดระบบความรู้
เขา้ สสู่ มอง นกั เรยี นจะทบทวนความรใู้ หมแ่ ละลองประยกุ ตใ์ ชใ้ นรปู แบบใหม่ ซง่ึ จะ
น�ำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกข้ึน ดังนั้น การทดสอบให้ทวนความจ�ำเกี่ยวกับเร่ืองท่ีเรียน
ทนั ทที ส่ี อนเสรจ็ เทยี บกบั ๒๔ ชว่ั โมงใหห้ ลงั บอ่ ยครง้ั ทก่ี ารทดสอบตอน ๒๔ ชว่ั โมง
หลังสอนใหผ้ ลสูงกวา่
การเรียนรู้จะยิ่งแม่นย�ำคล่องแคล่วข้ึนหากมีแบบฝึกหัดให้ท�ำแบบเว้นช่วงวัน
(spaced practice) ได้รับค�ำแนะน�ำป้อนกลับ (feedback) และมีการเรียนแบบ
รว่ มมือกับเพื่อน (peer collaboration)
ฝึกซ้อมชว่ ยจ�ำโดยการฝึกเว้นช่วง
การเรยี นหนงั สอื (literacy learning) ทง้ั การพดู ฟงั อา่ น และเขยี น ใชเ้ ทคนคิ
เดียวกันกับการเรียนทักษะที่ซับซ้อนอื่นๆ คือนักเรียนต้องได้ฝึกซ้อมส่ิงที่ได้เรียน
อยา่ งสมำ�่ เสมอ เพอื่ ใหค้ วามรนู้ นั้ จารกึ เขา้ สมอง โดยตอ้ ง “เรยี นเกนิ ” (overlearn)
ในสว่ นเรยี นผวิ เผนิ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นดงึ ความรมู้ าใชไ้ ดท้ นั ทใี นชว่ งเรยี นลกึ และเรยี น
เชอ่ื มโยง
การใช้เกมบัตรค�ำ (flash card) ที่เล่นได้สารพัดแบบ ตามระดับอายุหรือ
พฒั นาการของเด็ก เป็นวธิ ีท่งี ่ายและสนุก โดยอาจท�ำบัตรค�ำเองงา่ ยๆ หรอื ซ้อื กไ็ ด้
ส�ำหรับเด็กอนุบาล มีเกม My Pile, Your Pile (ดูเพิ่มเติมได้ท่ี https://www.
youtube.com/watch?v=LnHcC8gpseY) ซึ่งเล่นง่าย ใช้เวลาไม่นาน โดยครู
ควรกำ� หนดคำ� ทเ่ี ดก็ เรยี นแลว้ รอ้ ยละ ๘๐ คำ� ทยี่ งั ไมเ่ คยเรยี น รอ้ ยละ ๒๐ เพอ่ื ใหเ้ ดก็
มีแรงจูงใจ การเรียนเพียงคร้ังละ ๑๐ นาที แต่ทบทวนทุกวันในเวลา ๑ สัปดาห์
ให้ผลดีกว่าเรยี นรวดเดยี ว ๑ ช่วั โมง
ในเกมบตั รคำ� ครคู อยชว่ ยใหค้ ำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั (feedback) เมอ่ื นกั เรยี นลงั เล
หรืออ่านผิด โดยครูอ่านให้ฟัง และบอกให้นักเรียนอ่านตาม ครูบอกความหมาย
ของคำ� แลว้ ให้นักเรยี นอ่านทวนอกี ครงั้ (๑๐)

(๑๐) ตอนน้ี Ed Tech มีเกมแบบนี้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์มากมาย มันสามารถ detect เสียงและ
ให้ค�ำแนะนำ� การออกเสยี งได้ดว้ ย เปน็ การเรียนที่ tailor made มากกว่าใช้คนสอน

• 148 •

ในวชิ าเรยี งความชนั้ ป.๔ ครคู นหนง่ึ ใชว้ ธิ ใี หน้ กั เรียนเขยี นรา่ ง แล้วอ่านบนั ทกึ
เสยี งเกบ็ ไว้ วนั หลงั เอาเสยี งทบี่ นั ทกึ ไวม้ าฟงั พรอ้ มๆ กบั แกไ้ ขปรบั ปรงุ รา่ งเดมิ หรอื
เอาร่างไปเขียนอินโฟกราฟิก แล้วกลับมาแก้ไขร่างเรียงความเดิม ท้ังการฟัง และ
การคดิ เป็นภาพชว่ ยทบทวนการเขียนเรียงความ
อา่ นซ้ำ� (repeated reading)
การอ่านมี ๓ ขั้นตอนของ “อ่านออก” คือ ออกเสียงได้ (decoding) สนใจ
(attention) และเข้าใจความหมาย (meaning) ซึ่งเม่ือเด็กเรียนถึงข้ันตอนท่ีสาม
ก็จะ “อา่ นคลอ่ ง”
เทคนิคอ่านซ�้ำ ใช้ช่วยเหลือนักเรียนท่ีอ่านไม่คล่อง (ดูวิธีการโดยละเอียดได้ท่ี
https://www.interventioncentral.org/academic-interventions/reading-fluency/
repeated-reading) สาระโดยย่อคือ ให้นักเรียนอ่านข้อความสั้นๆ ท่ีมีความยาว
๑๐๐ - ๒๐๐ ค�ำ
จะอ่านในใจหรืออ่านออกเสียง แล้วแต่ความสมัครใจของเด็ก โดยมีครูคอย
ชว่ ยเหลือเมื่อเด็กต้องการ หากเดก็ ถามความหมายของคำ� ครชู ว่ ยตอบ ให้อา่ นซ�้ำ
อย่างน้อย ๔ เท่ียว จนอ่านคล่อง โดยครูสามารถใช้สารพัดเทคนิคเพื่อสร้าง
แรงจงู ใจให้นักเรยี นฝึก
ES ของเทคนคิ อ่านซ�ำ้ = ๐.๖๗

คำ� แนะน�ำป้อนกลับ (feedback)

ในการเรียนตามปกติ นักเรียนได้รับค�ำแนะน�ำป้อนกลับจากครู และเพ่ือน
นักเรียน และผมขอเพิ่มเติมว่า พ่อแม่และญาติพี่น้องก็ให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับด้วย
คนเราได้รับค�ำแนะน�ำป้อนกลับมากมายตลอดชีวิต เป็นคุณบ้าง เป็นโทษบ้าง
โดยตอนเรยี นในระดบั อนบุ าล ถงึ ม.๖ คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั ทด่ี มี ลี กั ษณะ ๔ ประการ
ตอ่ ไปน้ี

• 149 •


Click to View FlipBook Version