The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chtsan6, 2021-12-17 05:16:58

ครูเพื่อศิษย์ สร้างการเชื่อมโยง

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ชนิ้ งาน “ตลาดนำ้� บางคลา้ ” เปน็ ประสบการณล์ า่ สดุ ทไี่ ดไ้ ปเทยี่ วกบั ครอบครวั ในเดอื น
พฤศจิกายน ๖๒ ซ่ึงปิดท้ายด้วยประสบการณ์ท่ีไม่เคยพบเจอในชีวิตมาก่อน ด้วยความ
ตกตะลึงสะพรึงกลัว จากการได้นั่งเรือไปพบกบั คา้ งคาวแมไ่ ก่นบั พันตัวท่วี ัดโพธบ์ิ างคล้า
อ.บางคลา้ จ.ฉะเชงิ เทรา

เดือนมกราคม ๒๕๖๓ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินผลรางวัล มีมติให้ผลงาน
ของ เด็กชายมีพอ นนทลีรักษ์ นักเรียนช้ันประถมปีท่ี ๖ ของโรงเรียนเพลินพัฒนา
ได้รับรางวัลยอดเยีย่ ม

• 200 •

ประสบการณค์ รง้ั นี้ ไดส้ รา้ งการเรยี นรใู้ หก้ บั ทง้ั นกั เรยี นและครทู ไ่ี ดเ้ ขา้ รว่ มกระบวนการ
อยา่ งกวา้ งขวาง ทสี่ ำ� คญั คอื พวกเขาไดเ้ ขา้ สกู่ ารเรยี นรทู้ ลี่ กึ ซงึ้ ผา่ นการตคี วามประสบการณ์
ของตวั เองออกมาเปน็ ภาพและคำ� เพอ่ื นำ� สกู่ ารรจู้ กั ตวั เอง และเพอื่ ใหค้ วามรจู้ กั นถี้ า่ ยทอด
ไปสู่เพ่อื นๆ เดก็ และเยาวชนในประเทศเพอื่ นบ้าน ในแบบทีพ่ วกเขาแตล่ ะคนสร้างสรรค์
ขึน้ เอง
พอได้เล่าถึงการฝึกฝนตนเองเอาไว้อย่างน่าสนใจในงานเขียนช้ินแรกที่ท�ำส่งครู
ในภาควิมงั สาวา่
สวัสดีครับ ผมช่ือเด็กชายมีพอ นนทลีรักษ์ เรียนอยู่ชั้น ป.๖ โรงเรียนเพลินพัฒนา
หากใครไมร่ จู้ กั ผมมแี ฝดชอ่ื พรอ้ ม และมปี านทแ่ี ขนซา้ ย ตงั้ แตเ่ ลก็ จนโตในหว้ งเวลาของ
การฝกึ ฝนเรยี นรใู้ นโรงเรยี นมาอยา่ งยาวนาน ผมกไ็ ดพ้ บวา่ ผมมคี วามถนดั เรอื่ งการวาดรปู
และได้รับแรงบันดาลใจมาจากหลายๆ อย่าง ซ่ึงจุดเร่ิมต้นก็เริ่มข้ึนตอน ป.๓ ตอนน้ัน
ผมเห็นพร้อมน่ังวาดการ์ตูนตากลมๆ อยู่บนโต๊ะ พอได้อ่านก็รู้สึกสนุกและอยากวาดข้ึน
มาบา้ ง ผมจงึ แตง่ เรื่องและลองวาดอย่างจรงิ จงั ตอน ป.๔ ย่งิ วาดย่ิงสนกุ ยง่ิ วาดยง่ิ อยาก
วาดต่อ และในตอนนั้นเองผมจึงใช้ฝีมือที่มีอยู่บ้างประยุกต์ใช้เข้ากับการท�ำการบ้านเชิง
โครงงานในขอ้ ตา่ งๆ ใหง้ านนา่ สนใจมากขน้ึ การไดล้ องวาดภาพในการบา้ นเชงิ โครงงานนน้ั
ท�ำให้ผมได้รู้ว่ายังมีอีกหลายอย่างท่ียังวาดไม่ได้ และน่ันเองเพ่ือที่จะก้าวข้ามฝีมือขึ้นไป
อกี ระดบั ผมจงึ ใชข้ อ้ ดจี ากการตดิ การต์ นู มงั งะญปี่ นุ่ ทตี่ ดิ ตามซอ้ื อา่ นอยบู่ อ่ ยๆ ในการศกึ ษา
ลายเสน้ จากนกั วาดการต์ นู ชอื่ ดงั และฝกึ วาดตาม ผมเปดิ หนา้ เดมิ ซำ้� แลว้ ซำ้� เลา่ วาดภาพเดมิ
ซำ้� แล้วซำ้� อีก จนสามารถวาดมือ วาดคน วาดฉาก และวาดทา่ ตา่ งๆ ได้ จนกระทัง่ เข้าสู่
ป.๕ ผมก็เร่ิมเบื่อกับรูปแบบการท�ำโครงงานซ้�ำๆ เดิมๆ ป๊อปอัพ เปิดปิด แผ่นพับ
ภาพประกอบ รูปแบบอนั แสนนา่ เบ่อื ทฉ่ี นั ท�ำมาโดยตลอด ไมม่ ีอย่างอื่นอีกเหรอ ฉนั คิด
และอยู่มาวันหน่ึงผมพบกับการ์ตูนเร่ือง Rockman มันเป็นจุดเปล่ียนผลันให้ผมพบกับ
การท�ำโครงงานแนวใหม่ที่อาจไม่มีใครรู้มาก่อน ส�ำหรับใครท่ียังคาใจว่า Rockman
มนั อะไรเนี่ย? Rockman คอื VDO Game สมัยกอ่ นทหี่ นุ่ ยนต์ชอ่ื Rock ต้องเขา้ ปราบ
หุ่นยนต์ Boss ในด่านตา่ งๆ ซง่ึ Boss แต่ละตวั กม็ าจากสิ่งของต่างๆ เชน่ Cutman คอื
หุ่นยนต์มนุษย์กรรไกรที่ใช้กรรไกรเป็นอาวุธ โดยผมเห็นว่าการฝ่าฟันในด่านต่างๆ ของ
เกมชา่ งคลา้ ยกบั เราทต่ี อ้ งฝา่ ฟนั การทำ� โครงงาน ดว้ ยเหตผุ ลนฉี้ นั จงึ แตง่ การต์ นู ประกอบ
การทำ� การบ้านข้ึน โดยคดิ ตวั ละครจากหวั ขอ้ ของโครงงานในภาคเรียนทผ่ี า่ นๆ มา เชน่
ซันแมน ซ่ึงเป็นหุ่นยนต์พระอาทิตย์ หลังจากนั้นเมื่อเข้าสู่เทอมจิตตะของ ป.๕ ซึ่งต้อง
เผยตนด้วย โปรเจคของตนเอง ตอนนั้นไม่รู้ว่าคิดยังไง แต่มันเกิดแรงผลักดันในตัว
ให้อยากน�ำเสนอออกมาให้น่าสนใจที่สุด คราวนั้นผมจึงเลือกท่ีจะท�ำเป็น Power point
ทไ่ี มเ่ คยไดล้ องทำ� มากอ่ นซกั ครงั้ แตถ่ า้ ลองคดิ ๆ ดู Power point ของพวกมอื ใหมม่ นั จะ
ไปสู้ของคนท่ีช�ำนาญคอมพิวเตอร์ได้ยังไงกัน ผมเลยตัดสินใจจะท�ำแอนนิเมชั่นเล็กๆ

• 201 •

ควบคไู่ ปกบั การนำ� เสนอเลยดกี วา่ ดว้ ยการตดั สนิ ใจอนั แนว่ แนต่ ง้ั แตต่ น้ เทอม ทำ� ใหอ้ ะไรๆ
กไ็ ปอยา่ งมเี ปา้ หมาย จนถงึ ชว่ งกลางเทอมจติ ตะ ผมขอซอื้ แผน่ เมา้ สป์ ากกาสำ� หรบั วาดรปู
ในคอมพวิ เตอร์ ตอนแรกผมไมแ่ นใ่ จวา่ จะไดห้ รอื เปลา่ แตพ่ อ่ ผมกเ็ ตม็ ใจทจี่ ะซอ้ื ใหโ้ ดยมี
ขอ้ ตกลงวา่ จะตอ้ งดแู ลรกั ษาใหด้ แี ละจะตอ้ งใชใ้ หค้ มุ้ พอกลบั บา้ นตอนเยน็ ไมม่ รี รี อรบี ฝกึ
ใชท้ นั ที ผมดู Youtube แลว้ พยายามฝกึ ตามแทบทกุ เยน็ เมอื่ กลบั มาบา้ นจะหาเวลามาทำ�
อย่างสม่�ำเสมอ ผมสนุกและเพลิดเพลินกับการวาดในขั้นตอนนู้นนี่น้ันจนถึงคืนวันก่อน
น�ำเสนอ และในที่สุดอะไรมันก็ดีเกินคาด เสียงพูดบทไปพร้อมกับตัวการ์ตูนของผมท่ี
ขยับไปมาเมอ่ื เลอ่ื นสไลด์ พอห้วนนกึ ถงึ กลับไปทีไรความภูมใิ จก็ยงั ขน้ึ มาในความทรงจำ�
ทกุ ๆ ที ผมไดเ้ รยี นรวู้ า่ การมเี ปา้ หมายทชี่ ดั เจนมนั เปน็ สง่ิ สำ� คญั แตก่ ารทำ� ตามเปา้ หมาย
ให้ได้นั้นเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งกว่า ฉะน้ัน ถ้าเรามีความชอบอะไร เราก็ควรท่ีจะพัฒนาไป
ในทางน้ันให้ดีท่ีสุด โดยอย่าลืมท่ีจะหมั่นซ้อม และทบทวนอย่างสม่�ำเสมอ ถึงตอนนี้
พอคิดๆ ดูแล้ว เรายงั จะท�ำแบบคราวน้นั ไดอ้ ยไู่ หมนะ?
การเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนกับพอ และเพื่อนๆ ได้บอกเล่าให้ครูได้เรียนรู้ว่าการส่ังสม
สมรรถนะนั้นต้องใช้เวลา และความพากเพียรอย่างต่อเน่ือง หนทางระหว่างนั้นคือ
การเรียนรู้ที่หอมหวาน ส่วนที่งอกงามให้เห็นคือบางส่วนเส้ียวท่ีปรากฏออกมาผ่านงาน
เขยี น ทที่ ำ� ใหท้ ง้ั ตวั เองในฐานะผเู้ ขยี นและผอู้ น่ื ในฐานะผอู้ า่ น ไดร้ ว่ มรบั รวู้ า่ ประสบการณ์
การเรียนรู้ทีผ่ ่านมาน้นั หย่ังลงลึกถงึ ตัวชวี ิตไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด
ดังเชน่ บทสรปุ ที่ปรากฏในทา้ ยบนั ทึกบทที่ ๖ ว่า “เพอื่ ให้นกั เรยี นเรียนรใู้ นระดับลึก
การเรียนรู้ต้องเป็นส่ิงที่นักเรียน “เห็น” (visible) ได้ โดยเห็นว่าท่ีท�ำมาแล้วดีไม่ดี
เหมาะไม่เหมาะ เพียงไร จะปรับปรุงตนเองอย่างไร และรู้ว่าจะต้องอดทนฟันฝ่า
เมื่อบทเรียนยาก และเมื่อการเรียนเดินไปในทางท่ีผิดพลาดก็แก้ไขได้ ที่เรียกว่ามี
ความยดื หยุ่น (resiliency)” นัน่ เอง

• 202 •

• 203 •

เรอ่ื งเล่าจากห้องเรยี น

“หน้าที่สำ� คญั ประการหนึง่ ของครใู นการน�ำผู้เรยี นเข้าสกู่ ารเรยี นรู้ระดับลกึ
คือ ออกแบบกจิ กรรมใหน้ ักเรียนท�ำเพื่อให้นักเรียนได้ฝกึ คิด ฝกึ แลกเปลย่ี นความคดิ
กับผอู้ ืน่ ฝกึ อยกู่ ับความคิดทไี่ ม่ตรงกบั ความคิดของตน ไม่ยดึ ม่นั ถอื มน่ั กบั ความคดิ

ของตน และไม่ยึดมั่นถอื มนั่ อยูก่ บั การคิดถกู - ผิด ฝึกตงั้ ค�ำถาม
ฝกึ สนกุ อยู่กบั ความไม่รู้ และฝกึ แกป้ ัญหา”

โรงเรยี นลำ� ปลายมาศพฒั นาจงึ ไดอ้ อกแบบการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ปญั หาเปน็ ฐาน ผ่านการ
บรู ณาการ PBL (Problem - based Learning) ฐานสมรรถนะ ท่ีเชือ่ มโยงอยูก่ บั ปญั หา
กับชีวิตจริง ชวนให้นักเรียนได้ออกแบบนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหา พร้อมไปกับการสร้าง
คุณลักษณะภายใน ท่ีเมื่อนักเรียนท�ำงานส�ำเร็จ เอาชนะปัญหานั้นได้ นักเรียนจะเกิด
ความรู้สึกมีคุณค่ารู้สึกดีกับตนเอง เกิดเป็น self-concept self-value self-esteem
self - actualization ตามมา และ PBL กระตนุ้ ความกระหายใครร่ ู้ ความอยากรู้ ความใฝร่ ู้
โดยออกแบบกิจกรรม active learning มีการก�ำหนดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน
ได้รับผดิ ชอบการเรียนของตนเองและฝึกท�ำงานจนสำ� เรจ็
เมื่อปีการศึกษาที่ผ่านมาคุณครูย้ิม - ศิริมา โพธิจักร์ ได้มีโอกาสเป็นครูประจ�ำช้ัน
ร่วมเรียนรู้กับพี่ๆ ช้ันประถมปีที่ ๔ ใน “หน่วยบ้านนอก” ซึ่งเป็นหน่วยที่เรียนแล้ว
มคี วามสขุ ท่พี าให้ทง้ั ครูและนักเรียนไดล้ งมือท�ำรว่ มกัน
จดุ มงุ่ หมายของหนว่ ยนคี้ อื เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจและเหน็ คณุ คา่ ของวถิ ชี วี ติ คนชนบท
สามารถออกแบบจำ� ลองการใชช้ วี ติ แบบชนบท และถา่ ยทอดวถิ วี ฒั นธรรมการดำ� เนนิ ชวี ติ
ทม่ี คี ณุ คา่ ในชนบทไดอ้ ยา่ งประณตี และสรา้ งสรรค์ ทสี่ ำ� คญั คอื พๆี่ ป.๔ ตอ้ งสามารถทจ่ี ะ
ถ่ายทอดออกมาเปน็ ส่ือสรา้ งสรรคง์ า่ ยๆ ใหค้ นอนื่ เห็นและเขา้ ถงึ สงิ่ น้ันได้
ครูใช้เวลาในภาคบ่ายของทุกวันประมาณวันละ ๓ ชั่วโมง มาจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบบรู ณาการขน้ึ ทโี่ รงเรียน เปน็ เวลา ๑๐ สปั ดาห์ ปญั หาทพ่ี บเจอคอื ปจั จบุ นั นีเ้ ด็กๆ
ในชนบท ไมไ่ ดส้ มั ผสั กบั วถิ ชี วี ติ ของคนในชมุ ชน พอ่ กบั แมย่ งั มคี วามรบี เรง่ เราเลยมองวา่
นคี่ อื ประเดน็ หลกั ทจี่ ะฝกึ ฝนใหเ้ ดก็ ไดก้ ลบั มาอยกู่ บั ตวั เอง ไดฝ้ กึ การรตู้ วั รตู้ นผา่ นกจิ กรรม
ทเี่ ปน็ วถิ ชี วี ติ เพราะเดก็ ๆ และคนชนบททว่ั ไปมกั ใชเ้ กณฑม์ าตรฐานของคนเมอื งมาเทยี บ
กับการด�ำรงชีวิตของตัวเอง ท�ำให้ไม่เห็นคุณค่าของวิถีชีวิตของตัวเอง ยังซื้อกิน ซื้อใช้
พ่ึงพิงเคร่ืองมืออ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ไม่ได้คิดถึงส่ิงท่ีตัวเองมีอยู่ เนื่องจากทุกวันน้ี

• 204 •

ทงั้ การสอื่ สาร ทงั้ การซอ้ื ของ รา้ นสะดวกซอ้ื ทกุ อยา่ งมนั เขา้ ถงึ งา่ ยทำ� ใหค้ นหนั ไปบรโิ ภค
แบบนั้น และความเช่ือคนชนบทที่มองว่าอยู่บ้านนอกล้าสมัยนะ ถ้าจะกินอะไรก็ต้อง
เข้าเมือง
ครจู งึ อยากใหเ้ ดก็ เขามองเหน็ ความเรยี บงา่ ยและสามารถถา่ ยทอดวถิ ชี นบทวา่ มคี ณุ คา่
อยู่ในตัวอยู่แล้ว อยากให้พวกเขาใส่ใจเร่ืองการพึ่งพาตนเอง เช่น ปลูกผักได้ เลี้ยงสัตว์
ทำ� อาหาร ใสใ่ จสขุ ภาพตวั เองได้ และทส่ี ำ� คญั คอื ไมไ่ ดเ้ รง่ รบี ตามกระแสบรโิ ภคนยิ มตา่ งๆ
สว่ นโครงสรา้ งเชงิ ระบบทเ่ี ราอยากใหเ้ ปน็ และเราชว่ ยกนั เปลย่ี นได้ คอื เราจะชวนผปู้ กครอง
ชวนเดก็ ๆ ใหเ้ ขาฝกึ ทำ� งานบา้ นงา่ ยๆ กอ่ นมาโรงเรยี น ทำ� อาหารงา่ ยๆ กนิ เอง ฝกึ ฝนอาชพี
ท่ีพ่อแม่ท�ำ คือพ่อแม่ท�ำอะไร ในวันหยุดลงไปท�ำกับพ่อแม่ ที่โรงเรียนส่ิงที่เราท�ำได้คือ
เราจะฝกึ ฝนทกั ษะการเปน็ ผผู้ ลติ อาหาร เชน่ ปลกู ผกั เอง หาอาหารเอง ประกอบอาหารที่
ปลอดภยั และเราสามารถถา่ ยทอดสงิ่ ทที่ ำ� ได้ และสดุ ทา้ ยเราเชอื่ วา่ พอเราทำ� กระบวนการนี้
เสร็จแล้ว เด็กๆ จะเห็นคุณค่าและเข้าถึงสิ่งที่เป็นวิถีชนบทและมีทักษะท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ
อนาคต
หลังจากที่เด็กๆ และครูได้ร่วมกันออกแบบหน่วยครบท้ัง ๑๐ สัปดาห์แล้ว ก็ได้มา
วางแผนปฏทิ นิ รว่ มกนั

• 205 •

ในเส้นทางของการศึกษาเรียนรู้ตลอดท้ัง ๑๐ สัปดาห์ ครูใช้เคร่ืองมือหลากหลาย
ในการดำ� เนินการใหน้ ักเรยี นได้ถา่ ยทอดความรู้ ความคิดออกมาในรูปแบบตา่ งๆ เชน่
สปั ดาหแ์ รก ใชค้ ำ� ถาม AAR (After Action Review) ในการสรปุ กระบวนการทส่ี รา้ ง
แรงบันดาลใจด้วยการชมคลิปวิดีโอก่อน และควบคู่ไปกับการปลูกผัก เราจะออกแบบ
ปฏิทินให้น่าสนใจ ครูให้โจทย์เลยว่าเราจะปลูกผักในแปลงหนึ่งที่แต่ละกลุ่มรับผิดชอบ
จะต้องมีผักที่สามารถปรุงอาหารหรือประกอบอาหารพื้นถ่ิน คือ ไปท่ีแปลงผักแล้วเก็บ
เอามาทำ� อาหารได้เลย เขาก็เรม่ิ ทจ่ี ะออกแบบปรับปรงุ ดิน ทดลองหาเมล็ดพนั ธ์ุ

• 206 •

สัปดาห์ท่ี ๒ เราจะเรียนรู้ที่จะให้เด็กเขาได้ลองดูว่าผักที่ตัวเองปลูกเป็นอย่างไรบ้าง
ขณะเดียวกันให้หาผักพื้นถิ่นชนิดต่างๆ มาปลูก โดยกิจกรรมการปลูกผักจะเป็น PBL
คขู่ นานไปตลอดโครงการ เพราะวา่ จะมกี ารนำ� ผกั มาใชใ้ นการปรงุ อาหารของหนว่ ยนต้ี ลอด
พอปลกู แลว้ ตอ้ งทำ� ใหผ้ กั เรารอดและเจรญิ เตบิ โตใหไ้ ด้ นเี่ ปน็ โจทยใ์ หญข่ องเดก็ ๆ พวกเขา
ต้องใช้ทุกกระบวนการ ทุกวิธีเพ่ือปรับสภาพดิน หาเมล็ดพันธุ์มาปลูกผักหลายๆ ชนิด
และเมอื่ ปลกู แลว้ พบเจอกบั ปญั หาแมลงลงมากนิ ใบผกั และปญั หาตา่ งๆ กต็ อ้ งหาวธิ กี ารแก้
ทุกสัปดาห์ โดยใช้คำ� ถาม AAR ดังภาพ

ช้นิ งาน AAR การปลูกผัก เจา้ ของผลงาน : เด็กชายพชร ลบเมอื ง นักเรยี นชั้นประถมปที ่ี ๔

ชน้ิ งาน AAR การปลกู ผัก เจา้ ของผลงาน : เด็กชายบญั ญพนต์ แทนน�ำ นักเรียนชั้นประถมปที ี่ ๔

• 207 •

สัปดาห์ที่ ๓ เป็นเรื่องการท�ำกับดัก อุปกรณ์หาอาหาร ได้ลองไปสานแห สานสวิง
ท�ำกับดัก กลไกตา่ งๆ ของคนพนื้ ถนิ่ จะมีกลมุ่ ของผปู้ กครองอาสา คนในชุมชน มาช่วย
ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำ และทดลองท�ำด้วยกัน หลังจากนั้นเด็กๆ ได้ทดลองใช้อุปกรณ์
กลไกไหนไม่ท�ำงาน เอาไปทดลองแล้วปลาไม่เข้า หรือเข้าแล้วไม่เกิดผลส�ำเร็จ ก็เอามา
ปรับจนใช้งานได้ จากนั้นจะเปน็ เมนูอาหารของแต่ละชมุ ชนทีพ่ ่ีๆ ไดอ้ อกแบบกันไว้
สัปดาห์ที่ ๔ เรียนรู้เรื่องของเล่นพื้นถิ่นในชนบท พี่ๆ ชวนน้องอนุบาลท�ำขากบกับ
เดนิ กะลา แบง่ ปนั ใหน้ อ้ งๆ ไดเ้ ลน่ สนกุ มกี ารทำ� กจิ กรรมการทอเสอ่ื คขู่ นานไปดว้ ย เปน็ การ
ออกแบบลวดลาย และทดลองสานในตะกร้าก่อน

ช้ินงาน AAR การท�ำของเล่น เจา้ ของผลงาน : เดก็ ชายสรลั ไกรเกษมสุข นกั เรียนชั้นประถมปีท่ี ๔

• 208 •

ต้ังแต่สัปดาห์ท่ี ๖ - ๑๐ พ่ีๆ ช่วยกันทอเส่ือได้ประมาณ ๖ ผืน ในขณะท่ีท�ำ
เจอปญั หาทกุ สปั ดาห์ เชน่ ทอเสอ่ื ไปแลว้ หลดุ ลยุ่ หรอื ถา้ เราทอไมส่ ลบั กนั ลายจะไมเ่ ปน็ ไป
ตามที่เราวางแผนไว้ ก็ได้แก้ ได้ลองผิดลองถูก ตัดไหลแล้วเอามาตากไว้ ฝนตก
เราไมไ่ ดเ้ กบ็ เม่อื เกดิ ปญั หาต่างๆ ขนึ้ แลว้ จะแก้ไขอย่างไรกน็ ำ� กลบั มาคยุ กันสะทอ้ นกนั

ชน้ิ งานสรปุ ความรู้เร่อื งการทอเส่ือ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญิงปิน่ ประภา ทรพั ยส์ ุข นกั เรียนชน้ั ประถมปที ่ี ๔

• 209 •

สปั ดาหท์ ี่ ๗ - ๘ เรม่ิ ออกแบบและจำ� ลองการใชช้ วี ติ แบบคนชนบท และไดใ้ ชช้ วี ติ อยู่
ในโรงเรยี น เดก็ ๑๐ ขวบ คอื ป.๔ ตอ้ งกางเตน็ ทเ์ อง หาอาหารเอง โดยครมู โี จทยใ์ หแ้ ก้
ว่า ครูอนุญาตให้เอาข้าวเหนียวมาได้ เคร่ืองปรุงจะมีแค่กระเทียม หัวหอม และน�้ำปลา
กบั ปลารา้ แคน่ ้ัน ทีเ่ หลอื พ่ีๆ ตอ้ งหาเอง ผักตอ้ งเกบ็ เอง วัตถดุ บิ ต่างๆ ตอ้ งหาเอาเอง

พวกเขาไดใ้ ชช้ วี ติ จรงิ เลย ๒ วนั ๑ คนื วนั ศกุ รแ์ ละวนั เสาร์ การเรยี นแบบรว่ มมอื กนั
เต็มวัน ไม่มีอาหาร ไม่มีนม ไม่มีผลไม้ให้ ทุกคนต้องลองใช้ นำ� ไปสกู่ ารทนี่ กั เรยี น
ชวี ติ โดยไมม่ ีไฟฟ้า ไมม่ เี ครือ่ งมือส่ือสาร ต้องน่งึ ขา้ ว หวา่ นแห สอนกนั เอง ES ๐.๕๕
หาปลา เมือ่ ได้ปลามาจะทำ� อยา่ งไร เพื่อนผหู้ ญงิ บางคนไม่เคย
จับปลาเลย กลัวมาก เห็นเพ่ือนฆ่าปลาเพื่อท�ำอาหาร บอก
ว่าไม่กล้ากินแต่หิว หรือเพื่อนผู้ชายบางคนที่เขาหว่านแหเป็น
เขาก็แนะน�ำและช่วยสอนเพื่อน นี่คือกระบวนการเรียนรู้จาก
สถานการณ์จริง และหลังจากนั้นเราถอดบทเรียนการเข้าค่าย
เขยี นสะท้อนออกมาเป็นการ์ตนู ชอ่ ง

ช้ินงานถอดบทเรยี นการเขา้ คา่ ย เจา้ ของผลงาน : เด็กชายบุญญกรนิ ทร์ อาจเดช และเด็กชายพีรพล ฉมิ รมั ย์
นกั เรียนช้นั ประถมปที ี่ ๔

• 210 •

ชน้ิ งาน AAR การท�ำอาหาร เจ้าของผลงาน : เด็กชายเดก็ ชายพรี พล ฉมิ รมั ย ์ นักเรยี นชน้ั ประถมปีที่ ๔

สปั ดาหท์ ี่ ๙ - ๑๐ เปน็ สปั ดาหท์ เี่ ราตงั้ ใจจะทำ� กจิ กรรมการถา่ ยทอดความรใู้ หน้ อ้ งๆ
เนื่องจากวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญอีกประการหน่ึงของหน่วยบ้านนอก คือ พ่ีๆ ป.๔ ต้อง
สามารถท่ีจะถ่ายทอดออกมาเป็นสื่อสร้างสรรค์ง่ายๆ ให้คนอื่นเห็นและเข้าถึงส่ิงนั้นได้
แตเ่ ราต้องหยุดเรยี นเนอ่ื งจากการระบาดของโควิด-๑๙ เราจงึ ขมวดมาเปน็ การสรปุ สั้นๆ
ในหอ้ ง ผา่ นการทำ� ชิน้ งาน ผ่านเรือ่ งเลา่ แทน

ชนิ้ งานเผยแพร่ความร้จู ากหน่วยบ้านนอก เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงอษิ ยากรณ์ ต้งั จาตุรนต์รศั มี
นกั เรยี นช้นั ประถมปีท่ี ๔

• 211 •

ช้นิ งานเผยแพร่ความร้จู ากหน่วยบา้ นนอก เจา้ ของผลงาน : เด็กหญงิ ปิ่นประภา ทรพั ยส์ ขุ นักเรยี นชน้ั ประถมปที ี่ ๔

ช้ินงานเผยแพรค่ วามรู้จากหน่วยบา้ นนอก เจ้าของผลงาน : เดก็ หญงิ ชนนิ าถ พรมมา นักเรยี นชนั้ ประถมปที ่ี ๔

• 212 •

ผงั มโนทัศน์มีผลตอ่ ชว่ งสดุ ทา้ ยของการเรยี นรู้ ครใู หน้ กั เรยี นใชเ้ ครอื่ งมอื คอื ผงั
ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ มโนทศั นม์ าเชอ่ื มโยงหลกั การหรอื ความคดิ และขยายความคดิ สู่
ES 0.60 แนวทแี่ ปลกใหม่ ทเี่ ปน็ ความคดิ ของนกั เรยี นเอง ไมล่ อกเลยี นใคร
เพอื่ ชว่ ยกระตนุ้ ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น เชอื่ มออกไปสคู่ วามคดิ ใหม่
เพอ่ื ชว่ ยใหค้ รู “มองเหน็ ” ความคดิ ของนกั เรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี น
“มองเหน็ ”ทงั้ ความคดิ ของตวั เอง และความคดิ ของเพอื่ นคนอนื่ ๆ

นอกจากนน้ี กั เรยี นยงั ไดเ้ ขยี นประเมนิ ความเขา้ ใจของตนเอง ตลอดจนประเมนิ ทกั ษะ
ในด้านตา่ งๆ หลังจากที่ได้ผา่ นกระบวนการเรยี นร้คู รบทัง้ ๑๐ สัปดาห์แล้วอีกด้วย

ชนิ้ งานสรปุ ความรูจ้ ากหน่วยบา้ นนอก เจา้ ของผลงาน : เดก็ ชายสรลั ไกรเกษมสุข นกั เรยี นชั้นประถมปีท่ี ๔

• 213 •

ชน้ิ งานสรปุ ความรูจ้ ากหนว่ ยบา้ นนอก เจ้าของผลงาน : เด็กชายพีรพล ฉิมรมั ย ์ นักเรียนชัน้ ประถมปที ่ี ๔

ชิ้นงานการประเมนิ ตนเอง เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญงิ กชกร ไกยสินธ ์ุ นกั เรียนชน้ั ประถมปีท่ี ๔

• 214 •

ชิ้นงานการประเมนิ ตนเอง เจา้ ของผลงาน : เด็กชายบญั ญพนต ์ แทนน�ำ นกั เรยี นช้นั ประถมปที ี่ ๔

ขอ้ เสนอแนะสำ� คญั ทคี่ รยู ม้ิ ไดร้ บั จากชมุ ชนครเู พอ่ื ศษิ ยส์ รา้ งการเรยี นรสู้ รู่ ะดบั เชอ่ื มโยง
ออนไลน์ เมอ่ื วันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ และวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๓ คือ
อาจารย์หมอ - ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช : ผมเองมีความเช่ือว่าการเรียนรู้ท่ีมีค่าที่สุด
เป็นการเรียนรู้เชิงอารมณ์ เชิงความรู้สึก ตอนท่ีครูใหญ่วิเชียรเล่าถึงตัวเองตอนเด็กๆ
ว่าได้ไปปลูกผัก ผมว่าครูใหญ่ได้ความรู้เชิงอารมณ์ติดมาจนกระท่ังมาท�ำโรงเรียน ทีน้ี
ความรเู้ ชงิ อารมณอ์ นั หนงึ่ ทผ่ี มคดิ วา่ สำ� คญั มาก คอื ความรสู้ กึ ทฝ่ี รงั่ เรยี กวา่ fascination
หรือ fascinate เป็นความพิศวง หลงใหล มนั ตดิ ฝงั อย่ใู นใจ อาจจะกลบั ไปฝันถงึ อะไร
แบบน้ี จะมเี ดก็ อยจู่ ำ� นวนหนงึ่ ทจ่ี ะเกดิ อารมณแ์ บบนงี้ า่ ย แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ความเปน็ มนษุ ย์
มันท�ำให้เกิดอารมณ์แบบน้ีได้เสมอทุกคน แต่ผมเข้าใจว่าความอ่อนไหว ความว่องไว
อาจจะไม่เท่ากันนะ ทีน้ีถ้าหากว่า fascination ซ่ึงผมคิดว่าไม่ได้เกิดข้ึนโดยการสอน
และไม่เกิดขึ้นโดยการเรียนตัววิชาความรู้เท่าไรนัก เรียนทฤษฎีบางคนก็ fascinate
แต่ผมเชื่อว่า fascination ส่วนใหญ่เกิดจากการที่ได้ลงมือท�ำเหมือนในวิชาน้ี ทีนี้
พอเกดิ fascinate แลว้ มนั จะเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไปหาทางทจ่ี ะหาคำ� ตอบ หาทางทจี่ ะทำ�
อะไรทั้งหลาย พูดง่ายๆ ว่ามันเป็นการใส่พลังเข้าไปในตัวคน ตัวมนุษย์ เพ่ือท่ีจะไปท�ำ
อะไรท่ีดๆี ท�ำอะไรทีอ่ าจจะเรียกว่าเลยจากปกติธรรมดาไป อนั น้อี ยากจะฝากไวล้ องไป
คิดต่อ ค�ำว่า fascination ภาษาไทยผมไม่รู้จะหาค�ำอย่างไรนะ อาจจะเป็นค�ำว่าพิศวง
หลงใหลและติดตาติดใจตดิ อารมณ์เรือ่ ยไป ก็อยากฝากไวค้ รบั

• 215 •

อกี เรอ่ื งหนงึ่ คอื การคดิ เชอ่ื มโยงนะ คดิ ตอ่ ไป แลว้ กอ็ ยากทจี่ ะลอง คดิ แลว้ ไปคน้ ควา้
อยา่ งทว่ี า่ เมอ่ื กวี้ า่ มใี บอะไรเอามากนิ ไดอ้ กี นอกจากใบขเี้ หลก็ พอเดก็ ไปคน้ ควา้ มนั อาจ
จะกลายเปน็ โจทยซ์ ง่ึ ของเขามนั ๑๐ สปั ดาห์ อาจจะไมท่ นั แตอ่ าจกลายเปน็ โจทยท์ เี่ ขา
เอามาคุยกบั นักเรียนรนุ่ นอ้ ง คอื ทบี่ อกว่าเด็กรูเ้ ชอื่ มโยงหรอื คดิ เช่อื มโยง ผมมองวา่ มัน
โยงสู่การต้ังค�ำถามว่าเราท�ำอะไร ผ่านประสบการณ์อะไร มีการตั้งค�ำถาม ให้ครูเป็น
ผู้ไกด์การเรียนของเด็ก ไกด์ด้วยการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ีดีและท่ีส�ำคัญที่สุด
คอื การไกดด์ ว้ ยคำ� ถาม ซง่ึ คำ� ถามมี ๒ แบบ ดว้ ยกนั คอื คำ� ถามทางการ และคำ� ถามแบบ
ลูกติดพัน คือถามตามสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง ณ ขณะน้ัน ผมมีความเชื่อว่าค�ำถาม
แบบลูกตดิ พนั จะใหค้ ณุ ค่าตอ่ เดก็ สูงกว่า แต่ทีนว้ี ่าสิ่งท่ียากสำ� หรับครกู ค็ อื ถา้ เราถาม
สง่ิ ทย่ี ากเกนิ มนั จะบลอ็ กเด็ก เด็กจะหมดแรง และไมก่ ลา้
เราจะท�ำอย่างไรท่ีครูจะเริ่มด้วยค�ำถามที่ตรวจสอบความรู้ระดับผิว หรือว่าชวนคิด
ระดบั ผิว แล้วก็โยงไปหาระดบั ลกึ แลว้ ก็โยงไปหาระดับเชอื่ มโยง
ผมเชื่อว่าการคิดท่ีให้เด็กต้องเริ่มจากผิวไปก่อน เพราะฉะนั้นการเรียนรู้ระดับผิว
ไมใ่ ช่ของไม่ดี แต่มันเปน็ พ้นื แลว้ โยงไปสูล่ กึ แล้วก็ไปสเู่ ชอ่ื มโยง แต่ถ้าหากเราไม่ระวัง
ก็จะมสี ถานการณ์ทีว่ ่าเดก็ ย�ำ่ เทา้ อยกู่ ับท่ี แลว้ ไม่ไปไหน
อีกเร่ืองหน่ึงท่ีส�ำคัญก็คือ การสนทนาระหว่างครูกับเด็กเรื่องการประเมินตัวเอง
การตอบสนองของครตู อ่ เดก็ แตล่ ะคนนา่ จะไมเ่ หมอื นกนั ถา้ หากครพู บเดก็ ทมี่ คี วามมนั่ ใจ
ในตัวเองมากเกินไป ครูควรจะตอบสนองแบบหนึ่ง และเม่ือพบเด็กที่ ขาดความม่ันใจ
ในตวั เอง ครคู วรตอบสนองอีกแบบหน่งึ
ผมคดิ วา่ นา่ จะชวนใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ วา่ เขาจะทำ� ไดด้ กี วา่ เดมิ ไดอ้ ยา่ งไร ทว่ี า่ ดแี ลว้ ดเี ลศิ
ดีอย่างไม่น่าเชื่อ แต่คิดสักนิดได้ไหมว่าถ้าท�ำให้ดีกว่าน้ี เขาเห็นประเด็นไหม ถ้าหาก
เดก็ ตอบวา่ “ผมทำ� ไดด้ มี าก” จบ แลว้ ความคดิ เขาเปน็ แบบนอ้ี ยเู่ รอื่ ยๆ ในทส่ี ดุ เขาจะมี
fixed mindset คิดว่าตัวเก่ง แต่ถ้าครูพยายามช้ีให้เขาเห็นว่าที่ท�ำได้ดี พอใจแน่นอน
แตผ่ ลงานอนั นถ้ี า้ ปรบั อะไรนดิ หนอ่ ย มนั ดกี วา่ น้ี แตผ่ มคดิ วา่ ครไู มค่ วรจะวพิ ากษว์ จิ ารณ์
แต่ควรพยายามท่ีจะหาทาง ให้เขาคิดเอง ให้เขาพยายามคิดเอาว่าถ้าจะให้ดีกว่าเดิม
ตรงไหนที่ควรปรบั ปรงุ ท้ังหมดนี้เพ่ือใหเ้ ด็กได้มี growth mindset

• 216 •

ผมขอแนะน�ำให้ครูแต่ละโรงเรียนเวลาท�ำวง PLC ที่โรงเรียน ลองช่วยกันคิดซิว่า
ในสถานการณ์หนึ่ง ค�ำถามแบบไหนที่ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ระดับต้ืน ระดับผิว แล้วก็
แบบไหนทโ่ี ยงไปสกู่ ารเรยี นรรู้ ะดบั ลกึ แลว้ คำ� ถามแบบทโี่ ยงไปสกู่ ารเรยี นรรู้ ะดบั เชอื่ มโยง
คณุ ครปู าด - ศลี วตั ศษุ ลิ วรณ์ : เสรมิ เรอ่ื งการตง้ั คำ� ถามเพอื่ ใชข้ บั เคลอื่ นกระบวนการ
เรียนรู้ว่า ชุดค�ำถาม AAR หลายๆ ค�ำถามหากน�ำมาใช้ระหว่างที่กระบวนการเรียนรู้
ก�ำลังด�ำเนินไปและจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ของตนเอง แทนท่ีจะ
เก็บไว้ถามเมื่อส้ินสุดกิจกรรม เช่น กลุ่มค�ำถามว่า มีความรู้อะไรบ้างท่ีเราเข้าใจผิด
มักเข้าใจผิด และความรู้ที่ถูกคืออะไร นักเรียนเจอปัญหาอะไร และมีวิธีแก้ปัญหา
อยา่ งไร และกลมุ่ คำ� ถามทสี่ ามารถสรา้ งการเรยี นรเู้ ชงิ ลกึ ได้ เชน่ จะดกี วา่ นถ้ี า้ .............
อะไรท่ีเราท�ำส�ำเร็จในวันนี้ ส�ำเร็จอย่างไร บรรลุเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร ส่ิงน้ันมี
หลักการ หรือวิธีการอยา่ งไร
อกี เรือ่ งหนงึ่ ที่ครปู าดไดเ้ สนอแนะไว้ เพอ่ื ให้กระบวนการสรา้ งความร้มู ีความชัดเจน
ยิ่งข้ึนคือ ให้นักเรียนท�ำการวิเคราะห์ว่า กลุ่มของตนท�ำการสร้างความรู้เพื่อแก้ปัญหา
ที่พบด้วยวิธีใด เช่น หลายคนช่วยกันสังเกตปัญหา และมีบางคนในกลุ่มเคยมี
ประสบการณ์ และประสบการณ์น�ำมาแก้ปัญหาน้ันได้ หรือหลายคนช่วยกันสังเกต
ปัญหา แต่ไม่มีใครเคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาน้ัน จึงช่วยกันลองผิดลองถูก
จนกระทั่งสามารถแก้ไขปัญหาได้ส�ำเร็จ หรือหลายคนช่วยกันสังเกตปัญหา แต่ไม่มี
ใครเคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหานั้น จึงช่วยกันตั้งสมมติฐานของการแก้ปัญหา
และทดลองท�ำตามสมมติฐานน้ันจนกระท่ังสามารถแก้ไขปัญหาได้ส�ำเร็จ ซ่ึงก็คือ
กระบวนการวิจยั นนั่ เอง
หากทุกกลุ่มท�ำการสรุปกระบวนการสร้างความรู้ร่วมกันออกมาเป็นข้อค้นพบใหม่
กจ็ ะเกดิ เปน็ การสงั เคราะหค์ วามรู้ และหากมกี ารนำ� เอาความรทู้ สี่ งั เคราะหเ์ อาไวน้ ไี้ ปใช้
ในการแก้ไขปัญหาอ่ืนๆ ท่ียากข้ึนไปอีก ก็จะเป็นการเช่ือมโยงความรู้ในระดับท่ีลึกซ้ึง
ยงิ่ ขน้ึ ซงึ่ เมอ่ื ทดลองใชด้ แู ลว้ กท็ ำ� การประเมนิ ความรวู้ า่ กระบวนการสรา้ งความรทู้ เี่ ปน็
ขอ้ คน้ พบใหมน่ ใี้ ชไ้ ดด้ ใี นสถานการณใ์ ด และใชไ้ ดไ้ มด่ หี ากอยใู่ นสถานการณใ์ ด เมอ่ื ฝกึ
เชน่ นไี้ ปเรอื่ ยๆ วงจรของการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ กจ็ ะเกดิ ขนึ้ กบั ผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งไมต่ อ้ งสงสยั

• 217 •



ดวงตา หมายเลข ๗ เจา้ ของผลงาน : เดก็ หญิงณลติ า พลธนะวสทิ ธ์ิ



เรยี นรรู้ ะดบั เชื่อมโยง

บันทึกน้ี ตีความจากบทที่ 4 Teaching Literacy for Transfer ในหนังสือ
หน้า 105 - 131

สาระสำ� คญั ของบนั ทกึ นคี้ อื ในความเปน็ จรงิ แลว้ การเรยี นรู้ ๓ ระดบั (ระดบั ผวิ
ระดบั ลกึ และระดบั เชอ่ื มโยง) เกดิ ขนึ้ แบบผสมกลมกลนื กนั การแบง่ ออกเปน็ ๓ ระดบั
ในหนงั สอื เลม่ น้ี กเ็ พอ่ื ชว่ ยใหค้ รทู ำ� หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ และจดุ ประกายการเรยี นรใู้ หแ้ กศ่ ษิ ย์
ได้อยา่ งเปน็ ขนั้ เปน็ ตอน เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นรู้ได้ผลกระทบสงู
การเรยี นรรู้ ะดบั เชอ่ื มโยงเปรยี บเสมอื นการเรยี นรวู้ ธิ ขี บั รถยนต์ เมอื่ ขบั รถยนตเ์ ปน็
ก็ขับได้ทุกย่ีห้อ ทุกโมเดล แต่ท่ีเราก�ำลังท�ำความเข้าใจเน้นกระบวนการทางสมอง
ทีต่ ้องการการฝกึ ฝนท่ีแยบยลกว่า โดยมหี ลกั การ ๔ ขอ้ สำ� หรับฝกึ มือใหม่
ให้เร่ิมจากเรื่องทีแ่ ตกต่างจากความรเู้ ดมิ ของเดก็ เพียงเลก็ นอ้ ย
ครสู ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ตรวจสอบความคลา้ ยคลงึ (analogy) ระหวา่ งเรอื่ งราวหรอื
ส่งิ ของต่างๆ เพอ่ื ให้เด็กมองเหน็ แบบแผน (pattern) ของเรื่องนนั้ ๆ
ครูต้องเข้าใจระดับพัฒนาการของเด็กและสอนเพ่ือเรียนรู้ระดับเช่ือมโยง
ให้สอดคล้องเหมาะสมต่อระดับพัฒนาการน้ันซ่ึงหมายความว่า การสอนเด็กเล็ก
เดก็ ประถม และเดก็ มธั ยม แตกตา่ งกัน

• 220 •

เปน็ การฝกึ ทกั ษะในการมองเหน็ หรอื เขา้ ใจความเหมอื น หรอื ความคลา้ ยคลงึ
ระหว่างสถานการณ์ หรือกิจกรรมต่างๆ ทักษะนี้ส�ำคัญที่สุดในการเรียนรู้สู่ระดับ
เชื่อมโยง

จากเรยี นรรู้ ะดับลึก สูเ่ รียนรูร้ ะดับเช่อื มโยง (transfer)

นกั เรยี นทเ่ี รยี นออ่ น มกั เชอื่ มโยงโดยใชก้ ารจำ� เพอื่ ใหท้ ำ� ขอ้ สอบได้ ซงึ่ จะไมน่ ำ�
ไปสกู่ ารเรยี นรรู้ ะดบั เชอ่ื มโยงไดจ้ รงิ เพราะในการเรยี นรรู้ ะดบั น้ี นกั เรยี นจะเปน็ เสมอื น
ครขู องตนเอง คอื การเรยี นรจู้ ะมลี กั ษณะ “อำ� นวยการดว้ ยตนเอง” (self - directed)
นกั เรยี นจะตั้งคำ� ถามดว้ ยตนเอง และมเี ครอ่ื งมือในการตอบค�ำถามน้ันดว้ ยถ้อยคำ�
ของตนเอง โดยนกั เรยี นประจกั ษใ์ นความกา้ วหนา้ ของการเรยี นรขู้ องตน ทำ� ใหเ้ กดิ
ความสุขความพอใจในการเรยี นรู้ เปน็ แรงกระต้นุ (catalyst) ให้ดำ� เนินการเรยี นรู้
ตอ่ เนือ่ ง
ครูสอนด้วยการตั้งเป้าหมายท่ีชัดเจน คือเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้และหลอมรวม
ทักษะ และกระบวนการ รวมท้ังทักษะตระหนักในการเรียนรู้ของตน เพ่ือน�ำไปสู่
การเปน็ คนที่เรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง (self - directed learner)
หลกั การสำ� คญั คอื การเชอ่ื มโยง (transfer) เปน็ ทง้ั เปา้ หมายของการเรยี น และ
เปน็ ทงั้ เครอ่ื งมอื ของการเรยี นรู้ ในภาษาทวั่ ไปเราพดู กนั วา่ เปน็ ทง้ั เปา้ หมาย (end)
และวธิ กี าร (means)
หน้าท่ีของครูคือ ท�ำความเข้าใจกลไกการเช่ือมโยงในกระบวนการเรียนรู้ และ
เรียนรู้วิธที ่ีครูทำ� หนา้ ที่จุดประกายใหศ้ ษิ ยเ์ รยี นรเู้ พื่อบรรลุเป้าหมายนี้
การเรยี นรรู้ ะดบั เชอ่ื มโยง ตอ้ งการการสอนทม่ี องเหน็ ชดั เจน (visible teaching)
และการเรยี นทม่ี องเห็นชัดเจน (visible learning) ดังแสดงในตารางท่ี ๗.๑

• 221 •

ตารางที่ ๗.๑ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการสอนท่ีมองเห็นชดั กบั การเรยี นทมี่ องเห็นชัด

ครทู ส่ี อนไดผ้ ลกระทบสูง นกั เรียนที่มองเหน็ การเรียนรขู้ องตน
ส่อื สารเป้าหมายการเรยี นทชี่ ดั เจน เข้าใจในเปา้ หมายการเรียน
มีเกณฑค์ วามสำ�เร็จทที่ ้าทาย รสู้ ึกวา่ เกณฑ์ความสำ�เร็จเปน็ สิ่งทา้ ทาย
สอนวธิ เี รยี นหลากหลายแบบ พัฒนาวิธเี รียนหลากหลายแบบ
รับรสู้ ภาพท่นี ักเรียนมปี ญั หาการเรยี น ร้วู า่ ขณะนั้นตนเรยี นไมก่ ้าวหนา้
ให้คำ�แนะนำ�ปอ้ นกลับ แสวงหาคำ�แนะนำ�ปอ้ นกลบั
ครูเองเรียนรู้อย่างเห็นได้ชดั สอนตนเองอยา่ งเห็นได้ชัด

ชนิดของการเชื่อมโยง : ใกลแ้ ละไกล

การเช่ือมโยงเกิดขึ้นตลอดการเรียนรู้ระดับผิวและระดับลึก อาจกล่าวได้ว่า
การเรียนรู้ทั้งหมดเป็นการเช่ือมโยง ซ่ึงหมายความว่า เป็นการเรียนรู้ที่เลยจาก
การท่องจ�ำ ไปสู่ความตระหนักรู้ว่าตนก�ำลังท�ำอะไร หรือเรียนรู้อะไร การเรียนรู้
น้ันมีคุณค่าอย่างไรต่อตน ตนก�ำลังใช้วิธีเรียนรู้แบบไหน เกิดการเรียนรู้ก้าวหน้า
ไปแค่ไหนแล้ว จะต้องปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนรู้อย่างไร เพ่ือให้
การเรียนร้ปู ระสบผลดีย่ิงขึ้น
เพื่อให้ครูเข้าใจและมีวิธีการช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง ควรท�ำ
ความเขา้ ใจการเชอ่ื มโยงชนดิ ใกล้ และชนดิ ไกล

• 222•

การเชื่อมโยงชนิดใกล้ หมายถึงเรื่องท่ีจะเรียนใหม่น้ัน แตกต่าง หรือเพิ่มเติม
จากความรู้เดิมของเด็กเพียงเล็กน้อย มองเห็นการเชื่อมโยงได้ไม่ยาก ส่วนการ
เชื่อมโยงชนิดไกลก็ตรงกันข้าม เร่ืองที่จะเรียนรู้ใหม่แตกต่างจากความรู้เดิมของ
เดก็ มาก ตอ้ งคดิ ซบั ซอ้ นจงึ จะมองเหน็ ความคลา้ ยคลงึ เปน็ การเรยี นแบบกา้ วกระโดด
ไกลมาก
เพอ่ื ใหค้ รเู ขา้ ใจวา่ บทเรยี นนน้ั ๆ เปน็ การเชอ่ื มโยงแบบใกลห้ รอื ไกล ครตู อ้ งเขา้ ใจ
ระดบั พฒั นาการของศษิ ย์ เขา้ ใจระดบั ความรเู้ ดมิ ของศษิ ยท์ ค่ี รโู รงเรยี นเพลนิ พฒั นา
เรียกวา่ met before
ในความเปน็ จรงิ ไมม่ เี สน้ แบง่ ระหวา่ งการเชอื่ มโยงแบบใกลแ้ ละแบบไกล ระยะหา่ ง
ระหวา่ งบทเรยี นใหมก่ บั ความรเู้ ดมิ มคี วามตอ่ เนอื่ งจากใกลม้ ากไปสไู่ กลมาก แตก่ ารที่
ครตู ระหนกั ในบทเรยี นวา่ ตอ้ งการการเชอื่ มโยงทใี่ กลห้ รอื ไกลประมาณใด จะชว่ ยให้
ครูชว่ ยเออื้ การเรยี นรใู้ หแ้ กศ่ ิษย์ได้อย่างเหมาะสม(๑)

ระดับของการเชอื่ มโยง : ต่ำ� และสูง

การเชอื่ มโยงระดบั ตำ่� หมายถงึ เชอื่ มโยงระหวา่ งความรหู้ รอื ทกั ษะ การเชอื่ มโยง
ระดบั สูง หมายถึงเชือ่ มโยงแนวคดิ หรอื หลักการ (concept)
บทบาทของครแู ตกตา่ งกนั ในการฝึกเชื่อมโยงสองระดับนี้ให้แก่ศษิ ย์ ในการฝึก
เชื่อมโยงระดับต�่ำ ครูเข้าไปช่วยโดยตรง แต่ในการฝึกเชื่อมโยงระดับสูง ครูช่วย
ออกแบบสะพานเชอื่ ม ใหน้ กั เรยี นเดินข้ามสะพานเอง ดังแสดงในตารางท่ี ๗.๒

(๑) ผมใชผ้ งั ความสมั พนั ธเ์ หมอื น milestone แลว้ ฉายซำ้� ทกุ ครงั้ ทจี่ บบทเรยี นเพอ่ื ยำ�้ วา่ เรายงั อยใู่ น track
ทเ่ี พง่ิ เรยี นจบนมี้ นั จะไปตอ่ สถานไี หน เปา้ หมายเพอื่ อะไรเพราะการสอนตน้ เทอมนน้ั ผเู้ รยี นมองไมอ่ อกวา่
จะพาไปไหน เนื่องจากมันเชื่อมไกลเกินไป แถมยังเป็น fundamental ที่ต้องไปช้าๆ อีกด้วย ตอนสอน
failure analysis ของวัสดุในวิชา design ผมบอกนักศึกษาว่าเรียนกับผมแล้วจะรู้ว่าที่เรียนปี ๒ มาน้ัน
ไม่พอใช้งาน และท่ีส�ำคัญคือท้าทายว่าที่เรียนผ่านมาน้ันท�ำให้เข้าใจผิด พอถึงปลายทางก็ให้ reflect
วา่ จรงิ ไหม นกั ศกึ ษาเรยี นหลายวชิ าในแตล่ ะเทอม มกั จะเบลอ ดงั นน้ั การพยายามทบทวนเปา้ หมาย และ
บอกจดุ หมายระยะทางก็เหมือนการเตือนสติให้รอคอยความรูท้ ใ่ี ช้ไดใ้ นตอนทา้ ย

• 223 •

ตารางท่ี ๗.๒ วิธีช่วยโดยตรงและวิธีสร้างสะพานเชื่อม ในการสอนเชื่อมโยง
ระดบั ต่ำ� และระดบั สูง

ครูช่วยโดยตรง ในการสอนเชื่อมโยงระดบั ต่ํา ครูออกแบบสะพานเชอ่ื ม ในการสอน
นักเรยี นเรียนรู้โดยฝึกประยุกต์ใชค้ วามรู้ เชื่อมโยงระดับสูง นักเรยี นฝกึ เช่ือมโยง

และทักษะ หลกั การ (concept)

ครบู อกความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรใู้ หม่กบั นักเรียนใช้ความคลา้ ยคลึงและคำ�อปุ มา
ความรู้เดมิ เพื่อบอกความเชอื่ มโยงข้ามวชิ า

นักเรียนจดั แยกประเภทของเร่อื งราวหรือ นกั เรียนเรียนรจู้ ากตัวอยา่ ง นำ�มาใชก้ ำ�หนด
สารสนเทศ กฎเกณฑ์หรือหลกั การ

ครพู ฒั นารูปแบบ (modeling) และคดิ ดงั ๆ นักเรียนคดิ ใครค่ รวญ และคิดอย่างตระหนัก
ใหน้ กั เรยี นได้ยนิ ในการเรยี นรู้ของตน เพอ่ื วางแผนและจัดระบบ

นักเรยี นสรปุ และทบทวนความรู้ นกั เรยี นสร้างความรใู้ หม่ของตนเอง

ครูสรา้ งกิจกรรมจำ�ลองเพอ่ื ให้นักเรียนฝึกใช้ นกั เรยี นฝกึ ลองใชค้ วามรู้ใหม่นนั้
ความร้ใู นสถานการณ์ใหม่ ในสถานการณใ์ หม่

การเชื่อมโยงในฐานะกลไกการเรียนรู้เกิดขึ้นในทุกช่วงอายุของผู้เรียน และ
เมอื่ ผู้เรียนเตบิ โตพฒั นาข้ึน กลไกนั้นกต็ อ้ งพัฒนารูปแบบตามไปด้วย
กระบวนการเชื่อมโยง ช่วยให้การเรียนรู้ระดับผิวพัฒนาสู่การเรียนรู้ระดับลึก
หรืออาจกล่าวใหม่ได้ว่า ท�ำให้เด็กคิดเชิงหลักการเพ่ิมขึ้น ไม่ใช่หยุดอยู่แค่ระดับ
ความรู้ หรอื อาจกลา่ ววา่ นกั เรยี นพฒั นาจากเรยี นความรู้ (declarative knowledge)
สกู่ ารเรยี นวธิ ใี ชค้ วามรู้ (procedural knowledge) สกู่ ารเรยี นรวู้ า่ ในสถานการณ์ใด
จะใชค้ วามรชู้ ุดไหน (conditional knowledge) หรอื เปน็ การพัฒนาการเรยี นรจู้ าก
ระดบั what สูร่ ะดับ how และ why นัน่ เอง

• 224 •

กำ� หนดเงอ่ื นไขเพอ่ื เรยี นร้สู ู่การเช่ือมโยง

การเรียนรู้สู่ความเช่ือมโยงจะเกิดข้ึน เมื่อผู้เรียนมีเป้าหมายของการเรียนรู้
และเป้าหมายนั้นมคี วามหมาย หรือมคี ณุ ค่าตอ่ ตนเอง
ดังน้ัน หน้าที่ของครูคือ ท�ำให้การเรียนรู้มีเป้าหมายท่ีชัดเจนมองเห็นได้ และ
ผมู้ องเหน็ คอื นกั เรยี น และนกั เรยี นมองเหน็ ไปถงึ คณุ คา่ ของเปา้ หมายนนั้ ตอ่ ตนเอง
หรือต่อชีวิตในอนาคตของตนเอง ครูจึงต้องหม่ันสร้างแรงบันดาลใจต่อการเรียนรู้
ผ่านเป้าหมายที่นักเรียนรู้สึกว่ามีคุณค่า และต้องช่วยให้นักเรียนวัดความก้าวหน้า
ของตนเองได้ ซ่งึ จะยงิ่ เพ่ิมแรงบนั ดาลใจตอ่ การเรยี น
วธิ สี รา้ งความกา้ วหนา้ ทน่ี กั เรยี นมองเหน็ ไดช้ ดั คอื หาปญั หามาใหน้ กั เรยี นฝกึ แก้
นีค่ อื ท่มี าของการเรยี นโดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (problem-based learning)(๒)

สอนให้จดั ระบบความรเู้ ชงิ หลกั การ

ความรู้เชิงหลักการเกดิ จากการนำ� ความรยู้ อ่ ยๆ มาหลอมรวมเขา้ ดว้ ยกัน หรอื
นำ� มาสรา้ งปฏสิ มั พนั ธใ์ หมร่ ะหวา่ งสว่ นยอ่ ยนนั้ เกดิ เปน็ ความรใู้ หมท่ มี่ คี ณุ คา่ ลกึ ซงึ้
กว่าเดิม หรือเกิดการให้ความหมายใหม่ กระบวนการน้ีนักเรียนต้องท�ำเอง หรือ
ฝึกเอง ครูท�ำแทนไม่ได้ แต่ท�ำหน้าที่เป็นครูฝึกได้ และท่ีส�ำคัญนักเรียนช่วยฝึก
ให้แก่กันและกันได้ หน้าท่ีของครูคือ สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ืเอ้ือต่อ
การฝกึ น(ี้ ๓)

(๒) ขอเพมิ่ วา่ ตอ้ งเปน็ context - related PBL ถา้ เปน็ service learning ทเ่ี นน้ reflection ไดก้ ย็ ง่ิ ดคี รบั
ได้ทง้ั ฐานสมอง กาย ใจ ครบหมด
(๓) ในความคิดเห็นของผมข้อนี้ส�ำคัญเพราะเป็น inductive process ท่ีครูต้องกระตุ้นให้ไปถึงการคิด
สังเคราะห์ ทีน้ีการศึกษาไทยชอบพูดแค่คิดวิเคราะห์เท่านั้น ถ้าครูไม่มี metacognition ในกระบวนการ
เกดิ ความคดิ สังเคราะห์ (ที่ยกระดับจากคิดวเิ คราะห์) มันกย็ าก ผมเขา้ ใจว่าคิดวเิ คราะห์เปน็ deductive
process แตค่ ดิ สงั เคราะหเ์ ปน็ inductiveในทางวทิ ยาศาสตรก์ ารคดิ สงั เคราะหไ์ มค่ อ่ ยมบี รบิ ทกำ� กบั เทา่ ไร
เพราะมันเป็น fact of nature แต่การเรียนสังคมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การเกิดความคิดสังเคราะห์
ต้องหลอมกับบริบท ดังน้ันการได้หลักการทางประวัติศาสตร์จึงสนุกและท้าทายการพัฒนาความคิดมาก
เราต้องปฏริ ปู การสอนประวัติศาสตร์ ซ่ึงจะไดท้ ั้ง reading literacy และ metacognition ด้วย

• 225 •

นักเรียนฝกึ มองเห็นความเหมอื น (Analogy)
นักเรียนควรได้รับการฝึกมองหาความเหมือน (และความต่าง) ของสิ่งต่างๆ
ฝกึ จัดกล่มุ สงิ่ ของ ฝกึ บอกความคลา้ ยคลงึ ของส่ิงตา่ งๆ โดยอาจจัดใหเ้ ลน่ เกม เช่น
งวงชา้ งคล้ายอะไร......................
มดกบั ผเี สอื้ เหมอื นกนั อยา่ งไร...................... ตา่ งกนั อยา่ งไร.......................
นกกบั ผเี สอ้ื เหมอื นกนั อยา่ งไร...................... ตา่ งกนั อยา่ งไร.......................
ตน้ ขนนุ กบั ตน้ มะมว่ งเหมอื นกนั อยา่ งไร............... ตา่ งกนั อยา่ งไร...............
โดยเกมนี้เล่นได้ต้ังแต่ช้ันเด็กเล็กไปจนถึงชั้น ม.๖ แต่ต้องเปลี่ยนค�ำถามให้
ซับซ้อนข้ึนตามระดับอายุและพัฒนาการ ผมขอเพ่ิมเติมว่านอกจากมองเห็น
ความเหมือน นักเรียนต้องฝึกมองเห็นความสัมพันธ์ด้วย เพ่ือน�ำไปสู่การจัดกลุ่ม
สิ่งของ และจดั กลุ่มความรู้ ES ของการจดั ระบบ (organizing) ความรู้ตอ่ ผลลัพธ์
การเรยี นรู้ = ๐.๘๕(๔)
นักเรียนตวิ ซ่งึ กนั และกัน(๕)
การให้นักเรียนติวซึ่งกันและกันก่อผลดีต่อการเรียนรู้ในระดับ ES = ๐.๕๕
โดยมหี ลกั ๓ ประการ คือ
มีการจดั โครงสร้างของการติว
ผูต้ วิ ได้รบั การฝึก
ผตู้ วิ กบั ผรู้ ับการติวอายุต่างกัน หรอื เป็นการตวิ แบบพส่ี อนนอ้ ง

(๔) อ่านแล้วทำ� ใหน้ กึ ถึงทีผ่ มเคยใช้คือค�ำถามเก่ียวกบั แมลงเตา่ ทอง
๑. ท�ำไมตอ้ งมีแมลงเตา่ ทอง
๒. จะเปน็ อยา่ งไร ถ้าไมม่ ีแมลงเต่าทอง
๓. ให้บอกขอ้ เสีย ๒ ข้อของแมลงเตา่ ทอง
๔. ให้บอก ๓ อยา่ งทแ่ี มลงเต่าทองและจกั รยานเหมอื นกัน
๕. ผึ้งกับแมลงเต่าทองทา่ นจะเลือกส่งิ ใด เพราะอะไร
๖. ถา้ เอาแมลงเตา่ ทองมาเป็นของใชใ้ นบา้ น ท่านจะเอามาท�ำอะไร
๗. ขาวตรงขา้ มกบั ดำ� สัตวท์ ี่อยตู่ รงข้ามกับแมลงเต่าทองคืออะไร เหตผุ ลคืออะไร
๘. ใหต้ ั้งค�ำถาม ๓ ขอ้ ท่ีไมส่ ามารถตอบเป็นอยา่ งอ่นื ได้เลยนอกจากแมลงเตา่ ทอง
๙. ท่านคิดวา่ แมลงเตา่ ทองควรปรบั ปรุงหน้าตาอยา่ งไร วาดลงกระดาษ
(๕) Learning Pyramid ลา่ งสดุ ทค่ี วามรเู้ หลอื คา้ ง ๙๐% ในการตวิ ผอู้ นื่ คนตวิ ตอ้ งวเิ คราะหค์ วามเขา้ ใจผดิ
ความไม่รู้ของผู้รับการติว จากนั้นหาข้ันตอนอธิบายให้เพื่อนเข้าใจ เมื่อมีประสบการณ์ติวเพื่อนหลายคน
ผตู้ วิ จะเรมิ่ เรยี นรู้ learning style ที่หลากหลาย การได้ฝึกอธิบายหลายวิธี (ตาม learning style) ซ่ึง
ทำ� ให้ผ้ตู ิวไดท้ บทวนทั้งสาระและหลกั การในเร่ืองน้ันๆ

• 226 •

แต่การติวระหว่างเพื่อนที่เรียนช้ันเดียวกันก็มีประโยชน์ และไม่จ�ำเป็นว่าผู้ติว
ต้องเป็นนักเรียนที่เรียนเก่งกว่าผู้รับการติวเสมอไป หากยึดตามหลัก Learning
Pyramid แล้ว ผูต้ วิ จะเกดิ การเรียนรมู้ าก
ผเู้ ขยี นแนะนำ� เทคนคิ PALS (Peer-Assisted Learning Strategies) อา่ นเพม่ิ เตมิ
ไดท้ ่ี https://k12teacherstaffdevelopement.com/tlb/the-peer-assisted-learning-
strategy-in-the-classroom/ ท่ีสามารถดัดแปลงใช้ได้หลากหลายรูปแบบและใช้ได้
ในหลากหลายวชิ า หลกั การคอื ใหน้ กั เรยี นทผี่ ลการเรยี นตา่ งกนั มากจบั คกู่ นั ผลดั กนั
เป็นโคช้ กบั ผูเ้ รยี น โค้ชท�ำหน้าท่ตี ้ังคำ� ถาม ประเมนิ และให้ค�ำแนะน�ำปอ้ นกลับ
หนังสือเล่าวิธีการของครูชั้น ป.๕ สอนวิชาภาษาอังกฤษว่า ครูจัดให้นักเรียน
จบั คทู่ ำ� กจิ กรรม PALS โดยใหค้ นทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ผรู้ บั การตวิ อา่ นหนงั สอื หนงึ่ ยอ่ หนา้
อ่านดังๆ แล้วกล่าวสรุปความบอกประเด็นส�ำคัญ และท�ำนายว่าตอนต่อไปจะเป็น
อยา่ งไร ติวเตอร์ใชค้ ู่มอื ตวิ เตอร์เตอื นใจใหท้ ำ� หนา้ ที่ตอ่ ไปน้ี
ช้ใี ห้เหน็ จดุ ท่ีอ่านผดิ หรือเวน้ จังหวะผดิ และบอกใหอ้ า่ นใหม่
ช่วยบอกใบค้ ำ� หรอื หลักการเพื่อให้ผู้รบั การตวิ ตอบค�ำถามได้
คอยเตือนผู้รับการติวให้พูดสั้นลง หากเพื่อนบอกประเด็นส�ำคัญยาวกว่า
๑๐ ค�ำ
คอยเตือนให้ผ้รู บั การตวิ ท�ำนายว่าเร่อื งตอนต่อไปจะเปน็ อยา่ งไร
เขยี นถอ้ ยค�ำของผรู้ ับการติว เอาไวอ้ ภปิ รายกนั
จะเห็นว่า การติวจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง ต้องไม่ใช่การติว
แบบบอกความรู้เป็นช้ินๆ แต่เป็นการช่วยให้ผู้รับการติวคิดซับซ้อนข้ึน และได้ฝึก
เชอื่ มโยงความรู้ การตวิ ในหนงั สอื เลม่ นจ้ี งึ ตา่ งจากการตวิ ทใี่ ชก้ นั ในระบบการศกึ ษาไทย
โดยสนิ้ เชงิ (๖)

(๖) สบื เนอื่ งจากเชงิ อรรถกอ่ นหนา้ น้ี ผมใหจ้ บั คู่ คนทที่ ำ� ขอ้ สอบถกู จบั คกู่ บั คนทที่ ำ� ผดิ ใหค้ นทำ� ถกู วเิ คราะห์
ข้อสอบที่ท�ำผิดว่าท�ำไมจึงผิด หาให้พบว่าเกิดจากเพ่ือนเข้าใจอะไรผิด จากน้ันให้ติวเพ่ือน เช่ือว่าอย่างนี้
คนตวิ ไดม้ ากขึ้นมากมายเพราะเข้าใจการเรยี นรทู้ ่บี กพร่องของเพอ่ื นซงึ่ ครูก็ควรมีทกั ษะนี้

• 227 •

อ่านเอกสารหลายฉบบั
เม่ือนักเรียนอ่านเอกสารฉบับหน่ึง แล้วเกิดค�ำถามเรื่องความน่าเช่ือถือและ
ความครบถว้ นของเรอ่ื งนน้ั รวมท้ังมีข้อสงสัยวา่ บางประเด็นทเ่ี ขยี นจะผดิ นกั เรียน
จึงค้นคว้าหาหนังสือหรือเอกสารอ่ืนมาอ่านเปรียบเทียบ เพ่ือให้ได้สาระท่ีถูกต้อง
ครบถว้ น นกั เรยี นคนนก้ี ำ� ลงั ฝกึ เชอ่ื มโยงความรู้ และฝกึ คดิ เชงิ หลกั การ (conceptual
thinking)(๗)
ในกระบวนการนี้นักเรียนจะต้ังค�ำถาม ตั้งข้อสงสัย ค้นคว้าเพิ่มเติม และหา
ข้อยุติ
สอนแก้ปัญหา (PBL – Problem - Based Learning)
PBL ที่ใช้เร็วเกินไป ไร้ประโยชน์ ES = ๐.๑๕ เพราะใช้ในช่วงท่ีนักเรียนยังมี
พื้นความรู้แค่ระดับรู้ (declarative knowledge) และน�ำไปใช้เป็น (procedural
knowledge) ไมแ่ น่นพอ
PBL ที่ได้ผลดี ผู้เรียนต้องเข้าสู่การเรียนรู้ระดับลึกไปขั้นหน่ึงแล้ว ซึ่งจะให้
ES = ๐.๖๑
หนังสือเล่าเร่ืองครูช้ัน ม.๒ ท่ีเรียนรู้เร่ืองการใช้สัตว์ทดลองในการวิจัย และ
ในขณะเดียวกันก็เรียนรู้เร่ืองขบวนการต่อต้านการทารุณสัตว์ซึ่งให้ข้อมูลหลักฐาน
ขดั แยง้ กนั ครจู งึ จดั เตรยี มใหน้ กั เรยี นจดั ทมี โตว้ าที โดยใชห้ ลกั การของ Middle School
Public Debate Program (อ่านเพิ่มเติมได้ท่ี https:hspdp.files.wordpress.com/
2017/07/mspdp-teacher-guide.pdf) โดยตั้งช่ือเรื่องว่า “การวิจัยด้วยสัตว์
ทดลองมีความจ�ำเป็นต้องคงไว้ ภายใต้การด�ำเนินการตามกฎหมายและตามหลัก

(๗) นีค่ อื literature review ตอนนี้งานวิจัยของวงการการศึกษาไมไ่ ด้ท�ำอยา่ งน้ี เขา review ทลี ะ paper
เขยี น ๑ ย่อหน้า แล้วขยับไป paper ทีส่ อง เขยี นย่อหน้า ๒ จะเห็นวา่ งานวิจยั ทางศึกษาศาสตร์ review
หนามาก แต่ไม่ได้เอามาเชื่อมโยงในงานตนเอง ผมเรียกว่า review เพื่อบอกว่า “อ่านอะไรมา” ไม่ได้
หลอมรวมความรู้ท่ีอา่ นมาจนสามารถบอกว่า “จากที่อา่ นท้ังหมดนี้ ฉันร้แู ล้ววา่ คนอ่ืนรูอ้ ะไร คนอืน่ ควรรู้
อะไร ฉะนั้นฉันจะท�ำอะไร เพราะอะไร” พวก proposal งานวิจัยทางการศึกษาเป็นอย่างนี้หมดครับ
มนั จงึ สง่ ผลต่อการสอนโครงงาน ที่พบว่านกั เรยี นนึกจะทำ� อะไร อยา่ งไรกท็ ำ� เลย โดยไม่มที ีม่ าทไี่ ป

• 228 •

จริยธรรม” นักเรียนท่ีเป็นทีมโต้วาทีต้องอ่านเอกสารมาก และเชื่อมโยงความรู้
ในเอกสารเหล่านั้น น�ำมาเป็นประเด็นเสนอและโต้แย้ง ผู้ฟังก็ได้รับความรู้ที่มอง
จากหลายมมุ (๘)

สอนใหน้ ักเรยี นเปลีย่ น (transform) ความร้เู ชงิ หลกั การ

ในกระบวนการเชอ่ื มโยงหลอมรวมความรเู้ ชงิ หลกั การ (สว่ นหนง่ึ ผา่ นการนำ� ไปใช้
และใคร่ครวญสะท้อนคิด) จะเกิดความรู้ใหม่ขึ้น กระบวนการจัดระบบความรู้
จึงเคลื่อนเข้าสู่การยกระดับความรู้ นักเรียนจะค่อยๆ เปล่ียนแปลงตนเองไปเป็น
“ผู้สอนตนเอง” หรือ “ผู้ก�ำกับการเรียนรู้ของตนเอง” (self - directed learner)
โดยมเี ครือ่ งมอื ชว่ ยตอ่ ไปน้ี
สัมมนาแนวโสกราตีส
ต้องอย่าสับสนวา่ การสัมมนาแนวโสกราตีส (Socratic Seminar) อา่ นเพิ่มเติม
ไดท้ ่ี http://www.readwritethink.org/professional-development/strategy-guides/
socratic-seminars-30600.html เป็นสิ่งเดียวกันกับ Socratic Method หรือ
Socratic Discussion สองวธิ กี ารนมี้ เี ปา้ หมายตา่ งกนั Socratic Seminar มเี ปา้ หมาย
เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มทำ� ความเขา้ ใจความจรงิ ในเรอ่ื งนน้ั ๆ ในขณะที่ Socratic Discussion
ต้องการตะล่อมให้สมาชิกเช่ือความจริงชุดหนึ่ง ค�ำถามที่ใช้ใน Socratic Seminar
จึงเปน็ ค�ำถามปลายเปิด ในขณะท่ี Socratic Discussion ใช้ค�ำถามปลายปิด
สมั มนาแนวโสกราตสี มเี ปา้ หมายชว่ ยการอา่ นหนงั สอื หรอื เอกสารใหไ้ ดป้ ระเดน็
ลกึ ขนึ้ โดยนกั เรยี นทกุ คนตอ้ งอา่ นหนงั สอื ตอนทต่ี กลงกนั มาจากบา้ น หรอื อา่ นกอ่ น
ต้ังวง ในการตั้งวงมีคนหนึ่งท�ำหน้าที่ด�ำเนินรายการ ในช่วงแรกๆ ท่ีนักเรียน
ยงั ไมค่ นุ้ เคยวธิ กี ารน้ี ครทู ำ� หนา้ ทดี่ ำ� เนนิ รายการ ตอ่ ไปเมอื่ นกั เรยี นคนุ้ แลว้ นกั เรยี น
ผลดั กันด�ำเนนิ รายการ ครูกลายเป็นสมาชกิ คนหนึ่งของวง

(๘) เปน็ วธิ กี ารทดี่ คี รบั แตท่ ผี่ มเหน็ มาในโรงเรยี นการโตว้ าทเี นน้ คารม สนกุ เสยี ดสี เยาะเยย้ หากจะให้
เหตผุ ลก็จะเป็นแคค่ วามคดิ เห็น หรือแถ (นกั การเมืองในโทรทศั น์แถมาก) ไร้ข้อมลู ท่ี solid ใช้ตรรกผิด
ต้องเปล่ียน mindset กิจกรรมนี้ รวมทั้งควรสร้างชุมนุมโต้วาทีขึ้นในโรงเรียนด้วย paradigm ใหม่
ให้ทำ� ตามหนงั สอื นี้ เด็กกจ็ ะอ่านแบบ critical มากขึ้น

• 229 •

ผู้ด�ำเนินรายการคิดค�ำถามปลายเปิดข้ึนมาชุดหน่ึง โดยอาจขอค�ำถามจาก
เพื่อนสมาชิกด้วยก็ได้ แล้วน�ำค�ำถามมาให้วงสัมมนาออกความเห็น โดยเน้นให้
หลักฐานประกอบความเห็นด้วย วงนีใ้ ชเ้ วลาราวๆ ๓๐ นาที หลงั จากนน้ั ครอู าจให้
นักเรียนไปท�ำการบ้านเขียนข้อสรุป ความยาว ๒๐๐ ค�ำ โดยใช้เวลา ๑๕ นาที
น�ำมาสง่ ครใู นวนั รุง่ ข้ึน
เขียนขยายความ
การเขียนเปน็ การสร้างความรู้ ซึง่ กค็ ือกระบวนการเชื่อมโยงความรู้ (transfer)
ผู้เขียนได้ฝึกท�ำความชัดเจนในเป้าหมาย และเกณฑ์ความส�ำเร็จ ซ่ึงเชื่อมโยงกับ
ผู้อ่าน เป้าหมายของการเขยี น และรูปแบบการเขียน รวมทั้งเปน็ กลไกให้ความคิด
และกระบวนการคิด แสดงออกมาอย่างเห็นได้ชดั (visible)(๙)
การเขยี นให้ ES = ๐.๔๔
ค้นคว้าและผลิต
การเช่ือมโยงความรู้เห็นชัดจากผลผลิตชิ้นงาน ท่ีมีการค้นคว้าข้อมูลหลักฐาน
ประกอบ ซึ่งหมายความว่านักเรียนต้องสวมวิญญาณ “ผู้กระท�ำ” (agent) ไม่ใช่
ผู้รอรับการกระท�ำ ครูต้องสวมวิญญาณผู้สนับสนุนให้นักเรียนเป็น “ผู้กระท�ำ”
ดว้ ยคำ� ถามทสี่ ะทอ้ นทา่ ทดี งั กลา่ ว “นกั เรยี นจะใชค้ วามรนู้ อี้ ยา่ งไร” “นกั เรยี นจะเอา
ความรู้น้ีไปใช้ท�ำอะไร” เท่ากับครูท�ำหน้าท่ีสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนที่คาดหวัง
การเชื่อมโยงความรู้ ใหค้ ณุ ค่าต่อการเช่ือมโยงความรู้ด้วยคำ� พูดตามปกติของครู
นค่ี อื คณุ คา่ สงู สง่ ทค่ี รทู ำ� ใหแ้ กศ่ ษิ ยโ์ ดยไมม่ ขี อ้ ยงุ่ ยากใดๆ เลย ฝกึ เพยี งไมน่ านกช็ นิ
โดยครูต้องเข้าใจคุณค่าของบรรยากาศน้ี และนี่แหละคือความหมายของหน้าที่ครู
ในการสร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศของการเรียนรู้ ... ทีม่ ุ่งการเรียนร้รู ะดับ
เชอื่ มโยง (transfer) เป็นเป้าหมายปลายทาง

(๙) ผมสนใจค�ำว่า “ซ่ึงเช่ือมโยงกับผู้อ่าน” ครับ เพราะน่ีเป็นทักษะภาษาเพ่ือการส่ือสาร มันขยาย
ทกั ษะไปท่กี ารพดู การตอ่ รอง การชักจงู หว่านลอ้ ม ได้ด้วย เป็นทกั ษะการทำ� งานร่วมกนั ในสังคม

• 230 •

ในการน้ี หนา้ ทหี่ ลกั ของครคู อื ตง้ั คำ� ถาม มผี เู้ สนอ ๑๒ คำ� ถามชนั้ ยอด สำ� หรบั
ครใู ชค้ ุยกับศิษย์ ไดแ้ ก่
๑. เราจะท�ำใหด้ กี วา่ นีไ้ ด้อย่างไร เราจะชว่ ยใหเ้ พื่อนดกี ว่านี้ได้อย่างไร
๒. เรารเู้ รอื่ งน้ีไดอ้ ย่างไร
๓. นี่คอื สิ่งทเี่ ราตอ้ งการมากท่ีสุดแล้วหรือ
๔. เราตอ้ งการบรรลผุ ลอะไร อะไรบ้างทีเ่ ป็นอุปสรรค
๕. เรอ่ื งอะไรทีเ่ ราภมู ใิ จท่สี ดุ
๖. อะไรบ้างท่เี ปน็ ไปได้
๗. เราจะเริม่ เม่ือไร
๘. เราจะป้องกันความลม้ เหลวได้อยา่ งไร
๙. เราจะทำ� ใหบ้ รรลุสิ่งนี้ได้อยา่ งไร
๑๐. เราเสยี ใจท่ีสดุ ในเร่อื งอะไร
๑๑. เราจะใช้...ให้เกดิ ประโยชน์ทีส่ ุดได้อย่างไร
๑๒. จะเกดิ อะไรขึ้นถ้าเรา.... (ฝันใหญ่)
ครไู ทยสามารถดดั แปลงหรอื คดิ คำ� ถามใหมท่ เี่ หมาะสมตอ่ บรบิ ทของนกั เรยี นได้
โดยเนน้ คำ� ถามทม่ี องนกั เรยี นเปน็ ผกู้ ระทำ� (agent) งดเวน้ คำ� ถามทช่ี กั จงู ใหน้ กั เรยี น
หวังเปน็ ผรู้ อรับ(๑๐)
กจิ กรรมคน้ ควา้ และผลติ อยา่ งหนง่ึ คอื project - based learning (อา่ นเพม่ิ เตมิ
ได้ที่ https://www.pblworks.org/what-is-pbl) โดยนอกจากจะช่วยให้นักเรียน
ไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งมเี ปา้ หมายสกู่ ารเรยี นรรู้ ะดบั เชอื่ มโยงแลว้ นกั เรยี นยงั ไดฝ้ กึ การทำ� งาน
เป็นทีม และทักษะอื่นๆ แห่งศตวรรษที่ ๒๑ และท่ีส�ำคัญได้ฝึกกระบวนทัศน์
การเป็นผู้กระท�ำ ในการตั้งโจทย์ project - based learning ครูต้องมีทักษะ
ชวนศษิ ยค์ ดิ เชอ่ื มโยงจากประเดน็ (topic) สปู่ ญั หา (problem) เพอื่ ใหค้ ดิ โฟกสั ขนึ้ (๑๑)

(๑๐) สุดยอด ๑๒ ค�ำถาม ผมต้องยืมไปใช้ครับ บางข้อเหมาะตอนเร่ิม บางข้อเหมาะกับ reflection
บางขอ้ คอื PLC
(๑๑) ผมเห็นว่าต้องเปล่ียนความคิดครูว่า project - based learning ใหญ่กว่าการท�ำโครงงานที่เป็น
“ชนิ้ งาน” ครบั community service learning กเ็ ปน็ PBL ได้ โดยไมต่ อ้ งสรา้ งชนิ้ งาน ผมชอบของรงุ่ อรณุ
ทีใ่ ห้เดก็ ทำ� EIA เปน็ การเรียนรู้ครบมิตดิ ี

• 231 •

สรุป

การเรียนรู้สู่ระดับเช่ือมโยง คือการเรียนรู้สู่การเป็นผู้ลงมือท�ำ หรือผู้น�ำ
การเปล่ียนแปลง (change agent) น่ันเอง จึงเป็นการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลง
(transformative learning) ไปในตวั (อ่านเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี https://goo.gl/V5Wkfu)
จะเห็นว่าครูมีโอกาสสร้างคุณูปการต่อศิษย์ได้สูงมาก ผ่านการจัดการเรียนรู้
สู่ระดับเชื่อมโยง คือครูท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง โดยการชวนนักเรียน
ตงั้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ ทม่ี คี วามหมายในมมุ มองของเดก็ ทำ� หนา้ ทส่ี งั เกตการณแ์ ละ
จดุ ประกายแรงบนั ดาลใจสกู่ ารลงมอื ทำ� เพอื่ การเรยี นรู้ และสงั เกตความกา้ วหนา้ ใน
การเรียนรู้ของศษิ ย์ แล้วใคร่ครวญสะท้อนคดิ เพอ่ื หาวิธที ำ� หนา้ ท่คี รูท่ีดมี ผี ลกระทบ
สงู ยิ่งขนึ้ ตอ่ ผลลัพธ์การเรยี นร(ู้ ๑๒)

(๑๒) อ่านถงึ บทนแี้ ล้วรู้สกึ วา่ การผลติ ครแู ละกระบวนการในห้องเรียนตอ้ งปฏริ ปู คร้งั ใหญ่ ครูจะต้องเปน็
ผเู้ ชย่ี วชาญ “การเรยี นร”ู้ ครศุ าสตรค์ วรเนน้ learning science (ไมใ่ ช่ teaching) ผมเหน็ วา่ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั
กับครปู ระถมศกึ ษาอย่างมาก ปัญหาคอื เด็กที่อยใู่ นสภาวะความเหลอื่ มลำ�้ สูง โรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ขี าดครู
จะท�ำกนั อย่างไร ถ้าทำ� ไม่ทัว่ ถึง ความเหล่ือมลำ�้ ทางการศกึ ษาจะเพิม่ ข้ึน

• 232 •

เรอ่ื งเล่าจากหอ้ งเรยี น

การเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ นั้น ครูได้ออกแบบ
การเรียนรู้ผา่ นหน่วยการเรียน “สืบสานแหล่งทรัพยากรไทย” ตอน สายน้ำ� ถิ่นล้านนา
ซง่ึ เปน็ การเรยี นรทู้ ม่ี กี ระบวนการของการเรยี นรใู้ นพน้ื ทจี่ รงิ หรอื ทโี่ รงเรยี นรงุ่ อรณุ เรยี กวา่
การเรยี นรู้ภาคสนาม (field study) ครูเป็นผ้วู างแผนเลอื กพนื้ ทศ่ี กึ ษาทจ่ี ะพานักเรียน
ลงพ้ืนท่ีเพื่อเก็บข้อมูล อันเป็นการเรียนรู้ผ่าน area - based ในพื้นท่ีภาคเหนือ เพ่ือ
ศึกษาสภาพพื้นที่ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และการปรับตัวของผู้คนบริเวณป่าต้นน้�ำ
บ้านสามขา อำ� เภอแมท่ ะ จงั หวดั ลำ� ปาง ในการออกภาคสนามน้ี นักเรยี นไดฝ้ กึ ทักษะ
การสงั เกต วเิ คราะหเ์ หตแุ ละผล สรปุ สาระสำ� คญั และความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ตา่ งๆ รวมถงึ
การฝึกทักษะทางสังคม การปรับตนเองให้สามารถอยู่กับชุมชนได้อย่างเป็นลูกหลาน
ประมาณ ๕ - ๗ วัน การได้ใช้ชีวิตอยู่กับชุมชนน้ีจะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจ
วถิ ีชวี ติ ของผคู้ นในชุมชนไดม้ ากขนึ้
คุณครูแบงค์ - ภิญโญ เสาร์วันดี คุณครูผู้สอนวิชาบูรณาการ ชั้นมัธยมปีที่ ๓
เล่าว่า ช่วงต้นก่อนออกภาคสนาม นักเรียนท�ำการค้นคว้าข้อมูลพ้ืนท่ีของบ้านสามขา
อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง เพื่อเป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพ้ืนที่ นักเรียนหาความรู้
ตา่ งๆ จากทงั้ หนงั สอื และเวบ็ ไซต์ เพอื่ ใหม้ ขี อ้ มลู ความรู้ ความเขา้ ใจในพนื้ ทภี่ าคสนาม
ให้ได้มากท่ีสุด การค้นคว้าน้ีเป็นการสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมกับการออกภาคสนาม
และเป็นการสร้างภาพในใจเก่ียวกับพื้นที่ของหมู่บ้านน้ี ที่อาจจะท�ำให้เริ่มมองเห็น
ประเดน็ บางอย่างได้
เมือ่ นกั เรยี นไดช้ ่วยกนั ประมวลข้อมูลพื้นฐานที่ค้นควา้ มาได้ พวกเขาเกิดความร้สู กึ
วา่ หมบู่ า้ นสามขาแหง่ น้ี เปน็ หมบู่ า้ นทเ่ี จง๋ มาก ไมต่ อ้ งงอ้ นำ้� จากการประปาดว้ ย แสดงวา่
หมู่บ้านสามขานี้น่าจะมีน�้ำเหลือกินเหลือใช้เป็นแน่ นักเรียนรู้สึกต่ืนเต้นอยากไป
ภาคสนามเรว็ ๆ อยากไปเล่นนำ้� ทห่ี มู่บา้ นแล้ว
แตเ่ มอื่ เดนิ ทางไปถงึ หมบู่ า้ นภาพทนี่ กั เรยี นเหน็ คอื ความแหง้ แลง้ ของพน้ื ท่ี นกั เรยี น
รสู้ กึ ตกใจและงงกบั ภาพทแี่ ตกตา่ งไปจากทไ่ี ดข้ อ้ มลู มา การไปภาคสนามครงั้ นจี้ งึ เปน็ เรอื่ ง
ทค่ี รพู านกั เรยี นเรยี นรจู้ ากสถานการณจ์ รงิ และตอ้ งไปสบื คน้ ถงึ เหตทุ มี่ าของภาวะภยั แลง้
และไฟป่าในพ้ืนที่ ทั้งจากการพูดคุยกับชาวบ้านและพร้อมท่ีจะเรียนรู้กับสิ่งท่ีเกิดขึ้น
ณ ขณะน้ัน

• 233 •

บ้านสามขาท่ีนักเรียนรู้จักผ่านการสืบค้น เป็นหมู่บ้านต้นแบบของการจัดการ
ทรัพยากรน�้ำ โดยเฉพาะในเร่ืองการท�ำฝายชะลอน�้ำและดักตะกอน มีรางวัลลูกโลก
สเี ขยี วการนั ตี และภาพนเ้ี ปน็ ภาพทน่ี กั เรยี นไดร้ จู้ กั ตงั้ แตเ่ รม่ิ หาขอ้ มลู กอ่ นมาภาคสนาม
ซึ่งเป็นข้อมูลความรู้ท่ีผู้อื่นได้เขียนบอกเล่าไว้ เป็นภาพท่ีท�ำให้นักเรียนวาดภาพในใจ
ไว้ว่าเป็นพื้นที่สีเขียวที่แสดงความอุดมสมบูรณ์ เพราะตามแหล่งข้อมูลต่างๆ นั้น
ตา่ งกใ็ หข้ อ้ มลู ใหเ้ หน็ ภาพอดุ มสมบรู ณแ์ บบทนี่ กั เรยี นเขา้ ใจทง้ั สนิ้ แตพ่ อไดไ้ ปถงึ หมบู่ า้ น
นกั เรยี นไดเ้ หน็ บรรยากาศทไี่ มเ่ หมอื นกบั ทจี่ นิ ตนาการไว้ ภาพพน้ื ทสี่ เี ขยี ว ความชมุ่ ชนื้
จากแหล่งนำ้� มากมายไมไ่ ดม้ ีให้เหน็ ดัง่ คดิ ทงั้ ภเู ขา ท่งุ นา ลำ� ห้วย และสวนในครวั เรือน
กลายเป็นสีเหลืองสลับกับสีน้�ำตาล พื้นดินสีน�้ำตาลที่ไม่มีความชุ่มชื้นของสายน�้ำและ
พืชพันธุ์สีเขียวให้เห็นเลย อีกท้ังยังเห็นกลุ่มควันไฟบนภูเขาที่ทุกคนต่างมองเห็นได้
สายตาของนักเรียนแสดงความรู้สึกงงงวยเชน่ เดยี วกนั กบั ครู ตอ่ จากนัน้ ก็มีเสยี งพึมพำ�
ค�ำถาม ความสงสัยต่อส่งิ ทพ่ี บเจอ ณ ตรงหนา้ เชน่
“น่ใี ชบ่ า้ นสามขาหรือเปล่า ทำ� ไมถงึ ไดด้ ูแหง้ แล้งฝุน่ ตลบขนาดน้”ี
“ต้นไม้สีเขยี วทเี่ ราเห็นตามอนิ เทอรเ์ น็ตหายไปไหนแล้ว”
“กลุ่มไฟบนภเู ขาตรงน้นั คอื อะไรกันแน่”
ครจู งึ ชวนนกั เรยี นใหเ้ รม่ิ ไปทำ� ความรจู้ กั หมบู่ า้ นแหง่ น้ี และหาคำ� ตอบตอ่ สงิ่ ทพ่ี วกเรา
ต่างก็สงสัยกัน ว่า “ท�ำไมพื้นที่แห่งนี้จึงมีความแตกต่างจากท่ีนักเรียนได้หาข้อมูล
มาจากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ” โดยการใชเ้ ครอื่ งมอื ทเ่ี คยไดฝ้ กึ ใชใ้ นการออกภาคสนาม ไดแ้ ก่
การท�ำแผนที่แสดงจุดส�ำคัญและการใช้ทรัพยากรของหมู่บ้านตามฤดูกาล ตามรอย
ประวัติความเป็นมา และศึกษาความเปล่ียนแปลงของหมู่บ้าน ซึ่งต้องอาศัยการเดิน
ส�ำรวจและสัมภาษณ์ชาวบ้านถึงจะได้ข้อมูลเหล่าน้ีมา เป็นข้อมูลท่ีจะช่วยให้ได้รู้จัก
หมบู่ า้ น รจู้ กั ชาวบา้ น รจู้ กั ความเปลย่ี นแปลงและเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ไดท้ ำ� ความรจู้ กั กนั
ฉันมนษุ ย์ ไดไ้ ตถ่ ามทุกข์ สขุ ความนกึ คิด ของกนั และกนั
ครูได้เดินดูบรรยากาศการท�ำงานของนักเรียน บ้างก็เดินไปพร้อมกับนักเรียน
ชช้ี วนมอง สงั เกต สง่ิ ตา่ งๆ ระหวา่ งเดนิ จนเกดิ คำ� ถามทจี่ ะนำ� ไปใชพ้ ดู คยุ กบั ชาวบา้ นไดอ้ กี
บางช่วงจังหวะครูได้น่งั ฟงั การสัมภาษณ์ของนักเรียน ไดเ้ หน็ วธิ กี ารทำ� งานของนักเรยี น
การปฏิบัติตัวกับชาวบ้าน ครูพบว่านักเรียนมีวุฒิภาวะที่โตขึ้นจากภาคเรียนที่หนึ่งที่ได้
พบกนั ครงั้ แรก เชน่ การปฏบิ ตั ติ วั ตอนสมั ภาษณท์ ไี่ มเ่ หมาะสม ถามดว้ ยความไมน่ อบนอ้ ม

• 234 •

เพ่งเอาค�ำตอบจนท�ำให้ผู้สัมภาษณ์รู้สึกอึดอัด และไม่อยากให้สัมภาษณ์ต่อบ้างก็มี
แต่ในครั้งนี้อาการของนักเรียนเปลี่ยนไป คือเห็นการให้เกียรติและนอบน้อมกับผู้ท่ี
ให้ข้อมูลความรู้ มีการไหว้นอบน้อมและแนะน�ำตัวเอง บอกจุดประสงค์ของการมา
สมั ภาษณ์ การพดู คยุ ชวนคยุ เพอ่ื ให้เกดิ ความเปน็ กันเองระหว่างผสู้ มั ภาษณแ์ ละผใู้ ห้
สมั ภาษณ์ บางจงั หวะทคี่ รไู ดร้ ว่ มฟงั การสมั ภาษณแ์ ละเกดิ ขอ้ สงสยั ในประเดน็ นนั้ ๆ แลว้
นกั เรยี นไมไ่ ดถ้ ามตอ่ ครกู จ็ ะเปน็ ผชู้ ว่ ยตง้ั คำ� ถามใหจ้ นไดค้ ำ� ตอบหรอื ประเดน็ ในการหา
ค�ำตอบต่อไป และนักเรียนก็ได้ตั้งค�ำถามต่อจากค�ำถามของครูอีกที ครูและนักเรียน
ตา่ งคนตา่ งไดร้ ว่ มเรยี นรเู้ รอ่ื งนน้ั ไปพรอ้ มกนั ชาวบา้ นเองกเ็ กดิ ความรสู้ กึ เปน็ กนั เองกบั
นกั เรยี น เกดิ เปน็ มติ รไมตรี เมตตาเอน็ ดนู กั เรยี น บางครง้ั กพ็ านกั เรยี นไดไ้ ปเหน็ ของจรงิ
หรอื พาลงมอื ทำ� ดว้ ยกนั จนนกั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจตอ่ เรอ่ื งนนั้ เมอ่ื นกั เรยี นสมั ภาษณเ์ สรจ็
ชาวบา้ นกใ็ หข้ องกนิ ตดิ ไมต้ ดิ มอื กลบั ไปดว้ ย การทนี่ กั เรยี นเปลย่ี นวธิ กี ารเขา้ หาชาวบา้ น
เหน็ วา่ การปฏบิ ตั ติ วั แบบใหมท่ ำ� ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ตี่ า่ งออกไปจากเดมิ การพดู คยุ อยา่ งเปน็
ธรรมชาติ ถามชวนคยุ สนใจในสง่ิ ทชี่ าวบา้ นเลา่ มอี าการอยากรอู้ ยากเหน็ ในเรอื่ งนนั้ ๆ
ท�ำให้ได้เห็นอาการท่าทียินดีตอบค�ำถามของชาวบ้าน ที่ท�ำให้นักเรียนก็เกิดความรู้สึก
ร่วมกบั เรือ่ งทช่ี าวบา้ นเล่า เข้าอกเข้าใจในส่ิงที่ชาวบ้านกำ� ลงั เผชญิ
ช่วงเย็นของทุกวัน เป็นเวลาที่ครูนัดหมายนักเรียนเพ่ือมาจัดการและช้อนความรู้
จากการทนี่ กั เรยี นไดไ้ ปทำ� การสำ� รวจ สมั ภาษณ์ หรอื ไดล้ งมอื ทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั ชาวบา้ น
ด้วยการต้ังวงสนทนาสะท้อนและสรุปการเรียนรู้ประจ�ำวัน นักเรียนได้พูดสะท้อน
การเรยี นรขู้ องตนเอง คยุ แลกเปลย่ี น บอกเลา่ ขอ้ มลู ความรู้ ความรสู้ กึ และแงม่ มุ ตา่ งๆ
ท่ีได้จากการไปเดินส�ำรวจพ้ืนที่และสมั ภาษณ์ชาวบา้ น
จากวงสนทนาสะท้อนความรู้ท่ีได้จากการส�ำรวจและท�ำแผนที่ชุมชน นักเรียนได้
ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและปรับตัวกับพ้ืนท่ีท่ีอยู่ การบริหารจัดการน�้ำอย่างเป็น
ระบบเพอ่ื ใหช้ าวบา้ นทกุ คนมกี นิ มใี ชโ้ ดยไมต่ อ้ งพงึ่ พานำ้� จากการประปา เดมิ อาชพี หลกั
คือการท�ำนาในหน้าน้�ำและปลูกพืชหมุนเวียนในหน้าแล้ง ซ่ึงเป็นการท�ำการเกษตร
ท่ีอิงกับฤดูกาล แต่ช่วงน้ีนักเรียนได้พบเห็นว่าชาวบ้านต้องประหยัดน้�ำใช้มาก และใน
ช่วงเวลาน้ีเป็นช่วงหน้าน�้ำแต่ชาวบ้านกลับไม่ได้ท�ำนา และต้องไปท�ำงานรับจ้างอื่นๆ
เพื่อหาเลีย้ งชีพ เพราะเกดิ ภาวะแลง้ ท่ฝี นไม่ไดต้ กมา ๖ เดือนแล้ว นกั เรียนรู้สึกเหน็ ใจ
ชาวบ้านทีต่ ้องมาเจอกบั สภาพปญั หาเช่นน้ี อยากจะช่วยแต่ไมร่ ู้จะชว่ ยอยา่ งไร

• 235 •

ครูได้ช่วยให้นักเรียนเห็นภาพรวมของชุมชนแห่งน้ี โดยการเขียนเป็นประเด็นหรือ
ค�ำที่นักเรียนได้ร่วมกันแบ่งปันข้อมูลความรู้ลงในกระดาษฟลิปชาร์ท ให้ทุกคนเห็น
คำ� สำ� คญั จากทเ่ี พอื่ นทกุ คนพดู ไว้ ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจภาพรวมของชนุ ชนนว้ี า่ มอี ะไรอยตู่ รงไหน
การใชท้ รพั ยากรในพนื้ ทต่ี ามฤดกู าล (ปฏทิ นิ ฤดกู าล) เปน็ อยา่ งไร มคี วามเปลยี่ นแปลง
(ไทมไ์ ลน)์ หรอื มปี ญั หาอะไรเกดิ ขนึ้ บา้ ง และมอี ยปู่ ระเดน็ หนงึ่ ซง่ึ นกั เรยี นเกอื บทงั้ หมด
จะพดู ไปในทางเดยี วกนั ซงึ่ เปน็ ประเดน็ ทคี่ รไู ดท้ ดไวใ้ นใจวา่ นกั เรยี นเองนา่ จะพดู เรอื่ งนี้
กันได้ทุกคน น่ันก็คือ “ไฟป่าจากน้�ำมือมนุษย์” ที่เป็นประเด็นที่นักเรียนร่วมแสดง
ความคดิ เหน็ กนั มาก ซ่งึ เป็นแงม่ มุ และประเด็นท่ไี ดม้ าจากชาวบา้ นในพน้ื ท่ีวา่
“ไฟป่าที่หมู่บ้านแห่งน้ีไม่ได้เกิดขึ้นเอง แต่เป็นคนที่ท�ำให้เกิดไฟป่าบริเวณนี้ และ
มกั จะไม่ใชค่ นในพ้นื ท่ี คนที่ท�ำให้เกดิ ไฟปา่ มักจะเผาเพ่ือหาของปา่ หรือเผาตอนพกั จาก
การหาของป่า แล้วดับไม่สนิท พอมีลมพัดและอากาศที่แห้งในหน้าแล้งท�ำให้ไฟลุกขึ้น
มาอีกครง้ั ตอนทพ่ี วกเขาจากไป”
“ชาวบ้านมคี วามพยายามจะรกั ษาป่าตน้ น�้ำเอาไว้ มีกฎชมุ ชนท่ที ุกคนร่วมกนั ตกลง
อันเนื่องมาจากชุมชนน้ีจ�ำเป็นต้องใช้ในจากล�ำธารป่าต้นน้�ำ ท้ังน�้ำอุปโภค บริโภค
ท�ำไร่ นา สวน ทั้งส้ิน”
มนี กั เรยี นคนหนง่ึ สะทอ้ นออกมาจากความรสู้ กึ ของเขาวา่ “คนทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ไฟไมร่ บู้ า้ ง
หรอื ไงวา่ มนั จะส่งผลเสยี กับผอู้ น่ื มากน้อยแคไ่ หน พวกนี้เหน็ แต่ประโยชน์ตนเอง” และ
นกั เรยี นคนอนื่ ๆ ตา่ งกเ็ หน็ ดว้ ยกบั สงิ่ ทเ่ี พอื่ นไดพ้ ดู ไป ครตู ง้ั คำ� ถามเพอ่ื พาคดิ ถงึ เหตปุ จั จยั
ที่เกิดขึ้นว่า “คนที่ท�ำให้เกิดไฟ อาจไม่รู้ผลท่ีตามก็ได้ แล้วเขาไม่รู้เพราะอะไรได้บ้าง”
เพ่อื ให้นกั เรียนได้เขา้ ใจและรู้แนช่ ัดวา่ เขาตงั้ ใจให้เกิดเรือ่ งนี้ขึน้ จรงิ ๆ หรือไม่
นอกจากน้ีประเด็นเรื่องภัยแล้ง นักเรียนได้พูดแลกเปลี่ยนกันเองว่า ดูจะเป็น
ปัญหาทีไ่ มไ่ ดเ้ กิดแค่ในพ้นื ทนี่ ้เี ท่าน้นั ท้ังประเทศไทยและท่วั โลกกเ็ กดิ ข้นึ ในหลายพ้นื ที่
เชน่ เดยี วกนั ตอ้ งใชก้ ารบรหิ ารการจดั การขนาดใหญแ่ ละใชเ้ วลาหลายปที จี่ ะแกป้ ญั หานไ้ี ด้
ครูจึงต้ังค�ำถามชวนพูดคุยต่อว่า “เม่ือเห็นภาพรวมของหมู่บ้านเช่นน้ีแล้วรู้สึกอย่างไร”
นักเรียนจึงช่วยสะท้อนกันว่า “รู้สึกท่ึงกับส่ิงท่ีพวกเขาท�ำ คือ การจัดการน�้ำให้มีกิน

• 236 •

มีใช้กันเอง รู้สึกเคารพในหัวใจของชาวบ้าน และการปรับตัวต่อสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น
คอื ภยั แลง้ เหน็ ความรว่ มมอื สามคั คกี นั ในสถานการณท์ ย่ี ากลำ� บากน้ี เพอ่ื ความอยรู่ อด
ของทกุ คน นกั เรยี นสว่ นใหญร่ สู้ กึ ขดั เคอื งและสงสยั วา่ “คนทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ไฟปา่ ไมร่ บู้ า้ งหรอื
ว่ามันจะส่งผลเสียกับผู้อ่ืนมากน้อยเพียงใด เห็นแต่ประโยชน์ของตนเองอยู่หรือเปล่า”
ครถู ามตอ่ อกี วา่ “เมอ่ื รวู้ า่ ไฟปา่ เกดิ จากฝมี อื มนษุ ยแ์ ลว้ นนั้ นกั เรยี นจะสามารถทำ� อะไร
ได้บา้ งเพือ่ ช่วยแกป้ ญั หาน้”ี นักเรียนก็ใช้เวลาคดิ ครหู่ นงึ่ จนมีนักเรียนคนหนึ่งเริ่มพดู วา่
“ถา้ ตามกฎหมายแลว้ การกระทำ� นก้ี เ็ ปน็ สง่ิ ทผ่ี ดิ มโี ทษปรบั และจำ� คกุ เลยนะ แตต่ ำ� รวจ
จะจบั ไดห้ มดหรอื เพราะจรงิ ๆ แลว้ ไฟปา่ ไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ แคพ่ น้ื ทน่ี พี้ น้ื ทเี่ ดยี วสกั หนอ่ ย” แลว้
ก็มีนักเรียนคนอ่ืนๆ ค่อยๆ ทยอยพูดเสริมว่า “ไม่มีทางท่ีต�ำรวจจะไล่จับได้หมดหรอก
อกี อยา่ งคดิ วา่ การทไ่ี ปไลจ่ บั กลบั มาดำ� เนนิ คดนี นั้ เปน็ การแกป้ ญั หาทต่ี น้ เหตจุ รงิ หรอื เปลา่ ”
ซ่ึงเป็นความคิดเห็นของนักเรียนคนหน่ึงที่ชวนเพื่อนคนอ่ืนได้คิดตามได้ดีมาก พวกเรา
จึงชว่ ยกันคิดตอ่ อกี วา่ “อะไรคือตน้ เหตุกนั แน่” จนได้ค�ำตอบรว่ มกันออกมาวา่ “การที่
ท�ำให้ทุกคน รวมถึงกลุ่มคนท่ีท�ำให้เกิดไฟป่าเหล่านั้น มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับป่า
และไฟปา่ นา่ จะเปน็ การแกป้ ญั หาทตี่ น้ เหตทุ สี่ ดุ แลว้ เพราะถา้ พวกเขามคี วามรู้ กอ็ าจจะ
ไม่เกิดปัญหาเหล่านี้ขึ้นอีกก็เป็นได้” นั่นหมายความว่า หากพวกเราร่วมมือกันสื่อสาร
เรอ่ื งเหลา่ น้ี กอ็ าจจะเปน็ ทางออกของปญั หาทดี่ ที ส่ี ดุ ในตอนน้ี และนกั เรยี นเองกส็ ามารถ
รว่ มชว่ ยเหลือได้
หลังจากท่ีรวบรวมข้อมูล ความรู้ ข้อสังเกตต่างๆ รวมถึงได้บอกเล่าความรู้สึก
ต่อเร่ืองท่ีได้รู้ได้พบเจอแล้วน้ัน ครูได้มีค�ำถามชวนวิเคราะห์ต่อไปอีกว่า “เร่ืองท่ีได้ไปรู้
ไปเห็นมาในวันนี้ คิดว่าอะไรเป็นส่ิงส�ำคัญส�ำหรับหมู่บ้านที่ชาวบ้านที่น่ีขาดไม่ได้เลย”
ซง่ึ นักเรยี นได้ชว่ ยกันระดมคำ� ตอบออกมาหลายคำ� ตอบ เช่น
“คนในหมู่บ้านท่ีร่วมแรงร่วมใจสามัคคีกันเห็นได้ชัดจากการร่วมกันจัดการและ
ประหยัดน้�ำกัน”
“รวมถึงดับไฟป่า ป่าต้นน้�ำท่ีอุดมสมบูรณ์จากการที่ชาวบ้านไม่เข้าไปรุกรานหรือ
ใชพ้ น้ื ทใ่ี นเขตป่า”
“แตต่ อนนีม้ ีคนบางกลุ่มก�ำลังท�ำตรงกนั ขา้ มกันอยนู่ ่นั คอื การท�ำให้เกิดไฟปา่ ”
“น�้ำทีห่ ล่อเล้ยี งคนในหมู่บา้ นตอนน้ีก�ำลังเป็นปญั หาอย่างเห็นไดช้ ัด” เป็นตน้

• 237 •

PBL ที่ดี ครูและนักเรียนต่างร่วมกันคิดไปอีกข้ันว่าอะไรคือจุดร่วม
ES ๐.๖๑ ของส่ิงที่เพ่ือนๆ ได้ร่วมสะท้อนออกมา จนน�ำมาสู่ข้อสรุปท่ีว่า
“น�้ำ” เป็นหัวใจส�ำคัญของหมู่บ้าน เพราะทุกเร่ืองท่ีทุกคนช่วยกัน
ระบมุ านน้ั จะไมพ่ น้ เรอื่ งนำ้� ทง้ั สนิ้ และนำ้� กม็ าจากปา่ ตน้ นำ�้ ในหมบู่ า้ น
น่ันเอง ซึ่งสอดรับกับเร่ืองที่นักเรียนมีความรู้สึกร่วมในประเด็น
“ไฟปา่ ” ทเ่ี กดิ ขน้ึ บนปา่ ตน้ นำ�้ ดว้ ย ครมู องเหน็ โอกาสจากประเดน็
ที่นักเรียนสะท้อนกันออกมาน้ันว่า สามารถน�ำมาเป็นประเด็น
เร่ิมต้นของการท�ำงานภายใต้ project - based learning ได้
แต่ในใจครูก็เกิดความรู้สึกว่า “ครูจะชวนนักเรียนตั้งประเด็น
อย่างไร ให้เรื่องท่ีนักเรียนก�ำลังสนใจอยู่กับเรื่องที่เป็นหัวใจ
ชุมชนเป็นเรื่องเดียวกัน” จึงได้ใช้เวลาสักครู่หนึ่งและคิดข้ึนได้
โดยเริ่มต้ังค�ำถามชวนนักเรียนคิดต่อว่า “ป่าต้นน้�ำจะยังเป็น
ปา่ ตน้ นำ�้ ไดน้ น้ั ตอ้ งเกดิ จากปจั จยั อะไรบา้ ง เพอ่ื ทคี่ นหมบู่ า้ นนจี้ ะ
ได้มีน้�ำกินและน�้ำใช้ได้ตลอด” เป็นการตั้งค�ำถามช่วยให้นักเรียน
ได้ย้อนคิดดูว่ามีวิธีการไหนบ้างที่จะช่วยเรื่องการรักษาป่าต้นน�้ำได้
เพื่อใช้เป็นร่มใหญ่ (โจทย์) ที่นักเรียนจะท�ำโครงงานย่อยตาม
ความสนใจของตนได้อีกที อีกท้ังประเด็นเรื่องไฟป่าท่ีนักเรียน
สนใจ กย็ ังสามารถทำ� งานได้ภายใต้รม่ เดียวกันน้ีไดด้ ้วยเช่นกัน

ภายหลังจากท่ีร่วมกันสรุปการเรียนรู้ทั้งหมดที่ได้จากการสัมภาษณ์วันนี้ และได้
รม่ ใหญข่ องหอ้ งในการทำ� งานวนั ถดั ไปแลว้ โดยมเี ปา้ หมายรว่ มกนั คอื “รว่ มมอื กนั สอื่ สาร
เร่ืองเหล่านี้ ที่อาจเป็นทางออกของปัญหาท่ีดีที่สุดในตอนน้ี และนักเรียนเองก็สามารถ
ร่วมช่วยเหลือได้” ครูได้ให้วิธีการท�ำงานท้าทายนักเรียนเพิ่มไปอีกว่า การท�ำงานของ
นักเรียนจะเป็นการท�ำงานเป็นรายบุคคล และจะเป็นการรวบรวมความรู้ความเข้าใจ
รูปแบบใหม่ในภาคเรียนน้ี น่ันก็คือ การท�ำ “หนังสือภาพเล่มเล็ก” โดยครูได้ชวน
นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดครูจึงมีความจงใจให้นักเรียนท�ำช้ินงานเช่นน้ี ซึ่งนักเรียน
กไ็ ดร้ ว่ มแลกเปลยี่ นกนั เองวา่ “เพราะทผี่ า่ นมาพวกเราเคยทำ� ในรปู แบบเอกสารรายงาน
ท่ีใช้ค�ำเป็นทางการหรือใช้ค�ำคนอ่ืนที่มาจากการหาความรู้เพิ่มเติมประกอบ อีกทั้งยัง
เป็นการท�ำงานกลุ่มด้วย หากเราได้ลองท�ำหนังสือภาพเล่มเล็ก จะได้ฝึกการเขียนอีก
รปู แบบท่ตี า่ งออกไป” ซึ่งครูได้เพมิ่ เติมว่า “การจะท�ำหนงั สอื ภาพเล่มเล็ก ในการเขยี น
และถ่ายภาพจ�ำเป็นต้องท�ำด้วยความรู้ความเข้าใจในเร่ืองนั้นอย่างถ่องแท้ จนสามารถ
เล่าเรื่องและส่ือสารออกมาด้วยภาษาของตนเอง ต้องท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจในเป้าหมายที่

• 238 •

นักเรียนจะสื่อด้วย และนักเรียนแต่ละคนต้องมีประเด็นการเก็บข้อมูลและภาพ ดังนั้น
ทกุ คนจะไดฝ้ กึ ตงั้ เปา้ หมายของตนเองทจ่ี ะเขา้ ใจปญั หาของหมบู่ า้ นแหง่ นตี้ ามมมุ มองของ
แต่ละคน” นักเรยี นทุกคนต่างเห็นด้วยกับสิ่งท่เี พอ่ื นพูดและสง่ิ ทค่ี รูเสรมิ
นักเรียนแต่ละคนต่างก็เร่ิมต้ังประเด็นย่อยภายใต้ร่มใหญ่ท่ีได้ร่วมกันตั้งไว้ต่อทันที
และเรมิ่ วางแผนงานของตนเองและปรกึ ษาครู เพอื่ ทวี่ า่ วนั ถดั ไปจะสามารถเรม่ิ ทำ� งานได้
ตั้งแต่เช้าจะได้หาค�ำตอบจากประเด็นท่ีตนเองตั้งไว้ได้ทันที ซึ่งนักเรียนต่างก็ดูแข็งขัน
กันมากเพราะส่วนใหญ่พูดว่า “ต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลและภาพให้คุ้มค่า เพราะ
พวกเรามเี วลาอยทู่ หี่ มบู่ า้ นนอ้ ยมาก อยากเกบ็ ขอ้ มลู และภาพใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ ภายในเวลา
อนั จำ� กดั ” ครสู งั เกตเหน็ วา่ นกั เรยี นอยากทำ� งานมากและตอ้ งทำ� แขง่ กบั เวลา เครง่ เครยี ด
จากความกงั วลเรอื่ งการเกบ็ ขอ้ มลู ทจี่ ะใหค้ รบถว้ น เพราะอาจเผลอลมื มมุ มองบางอยา่ งได้
ซึ่งหากกลับไปทโ่ี รงเรยี นแล้วจะไม่สามารถยอ้ นกลบั มาเก็บข้อมลู ได้อีก
ครจู งึ ไดเ้ พมิ่ วธิ กี ารทำ� งานใหน้ กั เรยี นสามารถทจี่ ะไปรว่ มกนั ไปเกบ็ ขอ้ มลู ภาพ หรอื
สมั ภาษณก์ นั เปน็ กลมุ่ ได้ เพอื่ ทจี่ ะไดช้ ว่ ยกนั ถาม หรอื มมี มุ มองในประเดน็ ทห่ี ลากหลาย
มากขน้ึ จะทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู และภาพทห่ี ลากหลายครบถว้ น ทำ� ใหน้ กั เรยี นยม้ิ ออกมา บางคน
โห่ร้องดีใจ เพราะคลายกังวลว่าจะท�ำงานไม่ได้หรือท�ำไม่ทัน และยังมีกลุ่มเพ่ือนที่
ร่วมเดนิ ทางคน้ หาคำ� ตอบกับพวกเขาดว้ ย
ในช่วงท่ีนักเรียนแต่ละคนได้เริ่มต้ังประเด็นการท�ำงานของตัวเอง มีนักเรียนทยอย
เข้ามารายงานและปรึกษาในส่ิงท่ีนักเรียนคิด ครูรู้สึกได้ถึงความแน่วแน่และชัดเจนต่อ
แนวทางการท�ำงานของตัวเอง โดยที่ครูไม่ต้องช่วยมากนัก บางคนครูเพียงแค่พูดคุย
ชี้ชวนว่า “ส่ิงท่ีนักเรียนคิดจะเป็นรูปธรรมอย่างไรในสายตานักเรียน” แล้วนักเรียนคน
น้กี ็สามารถไปท�ำงานตอ่ ได้เอง แตย่ งั มบี างคนทีต่ งั้ ประเดน็ ได้ยงั ไมช่ ดั เจนนัก ท่คี รตู อ้ ง
พูดคุยด้วยค�ำถามอีกชุดหน่ึงเพ่ือให้นักเรียนเห็นข้อสังเกตหรือข้อสงสัย และชวนให้
นกั เรยี นอยากตามรอยเพอ่ื หาคำ� ตอบ แตย่ งั คงบนเปา้ หมายเดมิ ทน่ี กั เรยี นไดต้ ง้ั ไวแ้ ตแ่ รก
ซ่ึงช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาท่ีครูรู้สึกว่าได้เห็นความรู้สึกนึกคิดต่อประเด็นการท�ำงาน
ภาคสนามของนกั เรยี นแตล่ ะคนอยา่ งละเอยี ด วา่ ทำ� ไปดว้ ยใจแบบไหน ซง่ึ กเ็ ปน็ ทนี่ า่ ชน่ื ใจ
ว่านักเรยี นเกอื บทงั้ หมดให้ความสำ� คญั ต่อเรื่องทน่ี กั เรยี นไดไ้ ปเรียนรู้ในวันนี้ ว่ามีความ
ส�ำคัญกับชาวบ้านจนเช่ือมโยงสู่ตนเองได้ มีเพียงแค่สองถึงสามคนเท่าน้ันท่ียังไม่เข้าใจ
ตอ่ เรอ่ื งทเ่ี รยี นรวู้ า่ มคี วามสำ� คญั ตอ่ ตวั นกั เรยี นเองอยา่ งไร จงึ ตอ้ งอาศยั การพดู คยุ กบั ครู
นานกวา่ ปกติ ตง้ั คำ� ถามตอ่ ขอ้ สงั เกตของนกั เรยี น เพอ่ื ทจ่ี ะไดเ้ หน็ เรอ่ื งและเหน็ ความรสู้ กึ
ของตวั เอง จนนำ� ไปสกู่ ารใหค้ วามสำ� คญั ดว้ ยตวั เองได้

• 239 •

จดั ระบบ (organizing) เมอื่ กลบั มาทโี่ รงเรยี น กถ็ งึ ขน้ั ตอนทน่ี กั เรยี นจะตอ้ งรวบรวม
ความรู้ ES ๐.๘๕ ข้อมูลจากภาคสนามตามประเด็นท่ีตนเองต้ังไว้ โดยนักเรียน
รวบรวมข้อมูลและภาพจากภาคสนาม จากค�ำถามที่ครูถาม
ว่า “หากนักเรียนเป็นผู้อ่านข้อมูลเหล่านี้ คิดว่าผู้อ่านจะเข้าใจ
ส่ิงที่รวบรวมไว้มากน้อยแค่ไหน อะไรท่ีจะท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจ
ส่ิงที่ผู้เขียนต้องการจะส่ือมากข้ึน” นักเรียนได้ร่วมกันสะท้อน
ออกมาแล้วสรุปได้ว่า “ส่ิงน้ันคือการรวบรวมให้เป็นหมวดหมู่
และจัดเรียงอย่างมีล�ำดับ แล้วจึงอ่านใหม่อีกรอบ และถ้ายังมี
ข้อสงสัยหรือข้อติดขัดอีกก็ให้หาเพิ่มเติมซ่ึงจะย่ิงท�ำให้ข้อมูล
ของผู้เขียนมีความน่าเชื่อถือย่ิงขึ้นไปอีก” หลังจากน้ันนักเรียน
แต่ละคนก็ได้น�ำข้อมูลที่รวบรวมมาจัดเรียงให้มีล�ำดับ เป็น
หมวดหมู่ ทำ� ใหเ้ หน็ เสน้ เรอื่ งของประเดน็ ตนเอง และสงั เกตเหน็
ข้อติดขัดหรือข้อสงสัย ท่ียังท�ำให้ข้อมูลของนักเรียนท�ำให้ผู้อ่ืน
อา่ นไมเ่ ขา้ ใจหรอื สงสยั และตอ้ งการการหาขอ้ มลู ชนั้ สองเพม่ิ เตมิ
เชน่ ขอ้ มลู ทางวชิ าการ วทิ ยาศาสตร์ ภมู ศิ าสตร์ สถติ ิ เปน็ ตน้
อันจะท�ำให้ข้อมูลของนักเรียนมีความครบถ้วนและน่าเชื่อถือ
ยิง่ ข้ึน ตามทน่ี กั เรียนไดช้ ว่ ยกนั ระบุไวใ้ นขา้ งต้น
พอทำ� การรวบรวมขอ้ มลู เสรจ็ ครบถว้ นสมบรู ณแ์ ลว้ นกั เรยี น
ไดน้ ำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาทำ� ความเขา้ ใจอกี ครง้ั เพอ่ื ทจ่ี ะเรม่ิ เขยี น
เป็น “หนังสือภาพเล่มเล็ก” ของตนเอง ข้ันตอนน้ีมีความยาก
ส�ำหรับนักเรียน เพราะมีหลายอย่างท่ีนักเรียนต้องเรียนรู้และ
พยายามท�ำให้ส�ำเร็จด้วยตนเอง ไม่ว่าจะเป็นกลวิธีการเขียน
(เขียนบรรยายและพรรณนาโวหาร) การจัดรูปเล่ม และการ
แต่งภาพให้เหมาะสมกับรูปแบบหนังสือและความหมายท่ี
ต้องการจะสื่อ นักเรียนบางคนได้สะท้อนว่า “ยังใช้เคร่ืองมือ
ของโปรแกรมท�ำหนังสือ (Adobe InDesign) ไม่เป็นเลย”
ส่วนใหญ่มักจะกังวลเร่ืองการเขียนเล่าเร่ืองของตนเอง ซ่ึงครู
ก็เหน็ ความส�ำคญั เหลา่ นี้ วา่ นกั เรียนควรมีความรแู้ ละทักษะไป
ท�ำงานได้ด้วยตนเองและจะท�ำให้ส่ิงท่ีพวกเขาได้ตั้งเป้าหมาย
ไว้ไปได้ง่ายขึ้น เมื่อครูช่วยเพิ่มทักษะให้กับพวกเขา จึงได้เติม
ความรใู้ หน้ กั เรยี นในเรอื่ งกลวธิ กี ารเขยี นเปน็ หลกั โดยมตี วั อยา่ ง

• 240 •

การเขยี นจากนติ ยสารหรอื บทความหลายๆ แหลง่ การฝกึ เขยี น การเขียน ES ๐.๔๔
สั้นๆ ในช่วงสรุปการเรียนรู้ตามหลักการเขียนบรรยายหรือ
พรรณนาโวหาร เพอื่ ใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะมากพอทจี่ ะไปลงมอื
เขยี นไดด้ ว้ ยตนเองแลว้ นกั เรยี นจงึ เรมิ่ วางแผนงานตอ่ วา่ ขอ้ มลู
และภาพที่ได้รวบรวมไว้นั้นจะออกแบบและผลิตงานออกมา
ในรูปแบบหนงั สอื เล่มเลก็ ทีม่ หี น้าตาเป็นเช่นไร นักเรียนทกุ คน
จึงได้ลองร่างแบบมาให้ครูช่วยดู ครูจึงถามนักเรียนทั้งห้อง
กลบั ไปวา่ “งานทร่ี า่ งมานนั้ จะสามารถทำ� ใหค้ นอน่ื สนใจ แลว้ จบั
ขนึ้ มาอา่ นไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด” ทำ� ใหพ้ วกเขากลบั มาคดิ วา่ หาก
เขาเป็นคนอ่านจะหยิบขึ้นมา เขาจะอ่านหรือเปล่า และท�ำให้
นกั เรยี นตอ้ งปรบั ปรงุ งาน เพอ่ื ใหม้ คี วามนา่ สนใจจนผอู้ า่ นจะหยบิ
ข้ึนมาอ่าน ครูได้ย้�ำไปอีกว่า “พอผู้อ่านหยิบขึ้นมาอ่านแล้ว
ต้องไม่ท�ำให้คนอ่านผิดหวังด้วย” เพ่ือเตือนนักเรียนไม่ให้ลืม
ที่จะเน้นคุณภาพเน้ือหาท่ีจะส่งสารให้แก่ผู้อ่านได้ประโยชน์
ดว้ ยเช่นกัน

ในส่วนของเทคนิคการท�ำหนังสือน้ัน ครูได้ช่วยให้เห็นเคร่ืองมือในโปรแกรมท�ำ
หนงั สือรว่ มกนั ลองทำ� ให้ดเู ปน็ ตวั อย่างคร่าวๆ แลว้ ใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรู้เพมิ่ ดว้ ยตวั เอง
มนี กั เรยี นบางคนใหค้ รชู ว่ ยสอนเทคนคิ บางเทคนคิ เพม่ิ เตมิ บางเทคนคิ ครกู ช็ ว่ ยได้ บาง
เทคนิคก็ไม่สามารถช่วยนักเรียนได้ ต้องอาศัยครูไอทีช่วยสอนให้ มีนักเรียนบางส่วน
สามารถหาแหล่งเรียนรู้จาก YouTube จนท�ำให้นักเรียนเกิดทักษะและความรู้มาใช้
ทำ� งานจนส�ำเรจ็ ไดด้ ้วยตนเอง
พองานหนงั สือเล่มเลก็ ร่างแรกส�ำเร็จ นกั เรยี นแต่ละคนได้มาน�ำเสนอแกค่ รูทา่ นอ่นื
และเพื่อนๆ ให้ช่วยแนะน�ำว่ามีอะไรที่ต้องปรับปรุงอีกหรือไม่ก่อนท่ีจะเผยแพร่สู่
สาธารณะ ซ่ึงนักเรียนแต่ละคนได้รับค�ำแนะน�ำมากมาย และสามารถท่ีจะน้อมรับ
คำ� แนะนำ� เหลา่ นั้นไปปรบั แกง้ านในทกุ จุดได้เปน็ อยา่ งดี
งานสมุดภาพเล่มเล็กของนักเรียนนั้น มีหลายคนที่มีการเขียนที่มาจากความนึกคิด
หรอื ความรสู้ ึกต่อเรอื่ งทีไ่ ด้พบเจอและลงมอื ทำ� เป็นชดุ ภาษาของนักเรียนเอง เช่น

• 241 •

“ชมุ ชนบา้ นสามขาจะมีนำ้� ทเี่ รยี กวา่ ประปาภูเขา
มนั คอื น้ำ� ทีม่ าจากภูเขา มันคอื นำ้� ตามธรรมชาติ
ชุมชนดแู ลรกั ษาป่าไม้ ปา่ ไม้ก็คนื ประโยชนใ์ หก้ ับเขา”

นายภรู ณิ ฐั เซน เกษมสัจจะธรรม
“ตอนนนี้ ้ำ� ในแมน่ �ำ้ แห่งน้กี ลายเปน็ สถานทส่ี วยงามอย่างกบั นยิ าย

เปน็ สถานทที่ ่ีคนอนื่ มาเห็นแล้วจะตอ้ งมีความสขุ แน่ ๆ
แต่ผมวา่ คนที่ชุมชนบ้านสามขาไมน่ ่าจะดใี จกับภาพสวยๆ นแ้ี น่

เพราะว่าตามปกติมันต้องเต็มไปดว้ ยน้�ำ
มันกลายเป็นววิ แห่งความแห้งแลง้ ”
นายธีรพัทธ์ สมบตั ิพบิ ูลย์

“คนทีน่ ีก่ ม็ รี ้านสะดวกซอ้ื เหมอื นกัน แตเ่ ป็นรา้ นสะดวกส่วนตวั ทข่ี องไมเ่ คยขาด
มีทง้ั อยู่ในสวนหลังบา้ นตัวเองและอยใู่ นไรน่ าของตวั เอง
ท่ีส�ำคญั คอื ทนี่ ่เี ขาท�ำเกษตรแบบอนิ ทรยี ป์ ลอดสาร

แสดงให้เห็นถึงการกนิ ตามมตี ามเกดิ การรักษา และตระหนักถึงส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั ”
นางสาวสกมล ตรบี ริรักษ์

“ชาวบ้านวางแผนการจัดการนำ�้ ดขี นาดนี้ ยังตอ้ งตอ่ สู้กบั ภัยแลง้
แล้วเรากลบั ไม่ทาํ อะไรเลย ไมค่ ิดวา่ ต่อไปเราจะตอ้ งต่อสู้กบั ภยั เเล้งบา้ งเหรอ

ถ้าเรายังคงไมม่ ีการเเก้ไข เมื่อเราเจอกบั ภัยเเล้งบ้าง
กเ็ หมือนกับเราตง้ั รับด้วยมือเปลา่ ปราศจากการป้องกันใดๆ
เราสามารถจัดการนำ้� ในชีวิตประจําวันของเราได้ดกี ว่านีไ้ หม”

นางสาวนงนภัส ลลี ะศิธร
ชุดภาษาของนักเรียนดังตัวอย่างข้างต้นน้ัน ก็คือการให้ความหมายต่อเร่ืองและ
สถานการณ์ในหมู่บ้านแห่งนี้โดยตัวของนักเรียนนั่นเอง และในท้ายที่สุดหลังจากที่รับ
ค�ำแนะน�ำไปปรับแก้เสร็จและเผยแพร่แล้วน้ัน ครูได้ชวนนักเรียนมานั่งล้อมวงคุยกัน
โดยเริ่มถามว่า “เป็นอย่างไรและรู้สึกอย่างไรบ้างกับการท�ำงานนี้” นักเรียนหลายคน
ได้ร่วมสะท้อนว่า “รู้สึกภูมิใจที่ท�ำงานนี้ได้ส�ำเร็จ ได้พยายามท�ำให้ตัวเองมีความ
กระตือรือร้นต่อการท�ำงานอยู่ตลอดท้ังที่ภาคสนามและที่โรงเรียน เพ่ือท่ีจะให้ตัวเอง

• 242 •

ได้เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา” บ้างก็บอกว่า “ได้พบเจอสิ่งใหม่หรือข้อติดขัดใหม่และตัวเอง
สามารถผ่านไปได้” “ในตอนท่ีได้รับค�ำแนะน�ำก็พร้อมจะรับค�ำแนะน�ำนั้นไปปรับแก้
เพราะเห็นเหตุและผลของค�ำแนะน�ำนั้นว่าจะเกิดประโยชน์อะไรแก่ตนเองและผู้ที่จะได้
อา่ นบ้าง” “ทำ� ให้รู้สกึ ภูมใิ จทเ่ี ราผ่านประสบการณ์ตา่ งๆ เหล่านีม้ าได้ด้วยใจของเราเอง
และรู้สึกว่าตัวเองได้พัฒนาด้านใจและการท�ำงาน รู้สึกว่าตัวเองโตข้ึน” หรือแม้กระทั่ง
ค�ำตอบในนักเรียนที่ไม่ค่อยเก่งว่า “รู้สึกว่าตัวเองเก่งข้ึน เพราะสามารถท�ำงานช้ินน้ี
ผ่านมาด้วยตัวคนเดียวจริงๆ ไม่ต้องพึ่งเพ่ือนมากเหมือนแต่ก่อนแล้ว และได้ส่ง
หนังสือภาพนี้ไปให้ชาวบ้านด้วย ว่าพวกเราได้เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่างจากชาวบ้าน”
ในหลายๆ ค�ำตอบของนักเรียนท�ำให้ครูรู้สึกว่านักเรียนได้เรียนรู้มากมายจากเรื่องท่ี
ครไู ดพ้ าไปประสบพบเจอ พวกเขาไดเ้ รยี นรแู้ ละเกบ็ เกย่ี วประสบการณจ์ ากการทำ� งานนี้
จนนักเรียนเห็นศักยภาพของตนเองว่าสามารถเรียนรู้และท�ำงานเขียน “หนังสือภาพ
เล่มเลก็ ” ไดด้ ว้ ยตนเอง

• 243 •

รอ่ งนำ้� ท่ีไมม่ นี ้�ำ นกั เรียนก�ำลงั สมั ภาษณป์ ราชญช์ าวบ้าน
บริเวณเชิงเขาของหม่บู า้ น ผรู้ เิ รม่ิ ท�ำประปาภเู ขา

นักเรียนก�ำลังชว่ ยท�ำแนวกนั ไฟ
รว่ มกับชาวบา้ น

• 244 •

ชาวบา้ นก�ำลงั เล่าถงึ สำ� รองน�ำ้ ของ ไฟปา่ ทีเ่ กิดขึน้ ในพ้ืนที่หมู่บา้ น
หมูบ่ า้ นและเจา้ ท่ผี ู้ปกปกั ษร์ กั ษา

แฟม้ รวบรวมผลงาน
“หนงั สือภาพเลก็ เล่ม”

• 245 •

ผลงานหนังสือภาพเล่มเล็ก
จัดทำ� โดย นางสาวสกมล ตรบี ริรกั ษ์

• 246 •

• 247 •

• 248 •

• 249 •


Click to View FlipBook Version