The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปี 65 รายงาน SAR ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sayamon boosri, 2023-07-11 22:59:58

SAR ปี 65

ปี 65 รายงาน SAR ฉบับสมบูรณ์

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียน มารีวิทยา รหัสโรงเรียน 1125100003 66 ถนน แก้วพิจิตร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25000 โทรศัพท์ 037211024 โทรสาร 037-212-662 สังกัด สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) ระดับการศึกษาปฐมวัย ด้านคุณภาพเด็ก          การบริหารงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  ( Covid - 19 )   โรงเรียนกําหนดจุดเน้น ให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง  4  ด้าน  อย่างสมดุล เหมาะสมกับวัย  ได้ดําเนินโครงการที่สําคัญ ๆ  เช่น   โครงการส่งเสริมพัฒนา การด้านร่างกาย  อารมณ์-จิตใจ สังคม  สติปัญญา การดําเนินงานพบว่า  เด็กมีความพร้อมทั้ง   ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมกับวัย  บรรลุตามเป้าหมาย  จากข้อมูลดังกล่าว โรงเรียนได้นําไปใช้ในการพัฒนาเด็กทั้ง 4 ด้านให้ สูงขึ้น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ    โรงเรียนกําหนดจุดเน้น   ส่งเสริม  การใช้สื่อ   นวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ์  ทั้งด้านการบริหาร   และด้านการจัด ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ   โดยจัดโครงการที่สําคัญ ๆ   เช่น   โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา   และการจัด กระบวนการเรียนรู้ระดับปฐมวัย  โครงการพัฒนาศักยภาพครูระดับปฐมวัยในการใช้สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี จากการดําเนิน งานพบว่า   โรงเรียนมีสื่อ  เทคโนโลยี   นวัตกรรม   ที่ทันสมัยเป็นไป   ตามเป้าหมายที่กําหนดครูสามารถนําไปใช้ในการจัด ประสบการณ์ได้ทุกหน่วย   การเรียนรู้   เด็กๆมีความสนใจในการเรียนรู้  และมีพัฒนาการสูงขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ        โรงเรียนกําหนดจุดเน้นให้ครูจัดประสบการณ์    ด้วยรูปแบบที่หลากหลายโดยครู   ออกแบบจัดประสบการณ์การเรียน รู้ที่ใช้สื่อ  อิเล็กทรอนิกส์หรือนวัตกรรม  มีการประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างรอบด้าน ผลการดําเนินงานพบว่า ครูสามารถจัด ประสบการณ์   โดยใช้สื่อ   นวัตกรรมที่หลากหลายและมีการดําเนินโครงการ    กิจกรรมที่สําคัญ ๆ  เช่น  โครงการสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้   โครงการพัฒนาบทบาทพ่อแม่ยุคใหม่  หรือนวัตกรรมต่างๆ  การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ ได้บรรลุตามเป้าหมาย  ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัยและเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูนําผลจากการนิเทศ กํากับ ติดตาม   และกระบวนการแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ   (PLC)   มาใช้พัฒนาตนเอง    และพัฒนาการจัดประสบการณ์ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น         จากการดําเนินงานทั้ง 3 มาตรฐาน    ดังกล่าว   โรงเรียนมารีวิทยา   ได้เผยแพร่  ข่าวสาร  ให้ผู้ปกครองนักเรียน ผู้ใช้บริการสาธารณชน   หน่วยงาน   ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง  รับทราบ ผ่านช่องทางต่างๆ   ของโครงการสื่อสัมพันธ์มารีฯ สู่ชุมชน เช่น การเยี่ยมชั้นเรียน แผ่นพับประชาสัมพันธ์  วารสารมารีแมกกาซีน  สิ่งพิมพ์ประชาสัมพันธ์อื่นๆ    เช่น  ไวนิล วารสาร จุลสารสิ่ง  พิมพ์รายเดือน  ฯลฯ  เว็บไซต์ของโรงเรียน ไลน์กลุ่มชั้นเรียน ชุมชนออนไลน์  facebook เป็นต้น หน้า 2 จาก 109


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านคุณภาพของผู้เรียน  การบริหารงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  ( Covid – 19 ) โรงเรียนมารีวิทยา  พัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของผู้เรียน เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข โดยจัดกระบวนการเรียนการสอน  พัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลาก หลาย โดยจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน  ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน 1.ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน           โรงเรียนมารีวิทยา  กำหนดจุดเน้นให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ตามเป้าหมายที่กำหนดในการพัฒนา ผู้เรียนร้อยละ 90  โดยผู้รับผิดชอบวางแผน   กิจกรรมที่หลากหลาย   เช่น   โครงการยกผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในโรงเรียน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้แบบ   STEM  Education    นำเสนอผลงานหรือชิ้นงาน   โครงการห้องเรียนนวัตกรรม พัฒนาเทคโนโลยี โครงการยกระดับทักษะความสามารถภาษาอังกฤษ ฯลฯ เป็นต้น เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนให้สูงขึ้น ผลการดำเนินการโครงการ กิจกรรม  พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมายที่ทางโรงเรียนกำหนด โรงเรียนได้ นำผลจากการพัฒนาไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ  2.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน           พัฒนาด้านคุณธรรม  จริยธรรม  มีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์   กิจกรรมปลูกจิตสำนึก  ฝึกจิตอาสา   กิจกรรม แบ่งปันความสุข   ผู้ด้อยโอกาส  มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน   การแนะแนว   การให้คำปรึกษา  จัดทำโครงการต่างๆ ตามที่สถานศึกษากำหนด   และค่านิยมหลักคุณธรรม  12  ประการ  เ ช่น   โครงการคุณธรรมนำทาง   ศาสนธรรมนำใจ ใฝ่ประพฤติดี   นำชีวีมีสุข   โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ – เอกลักษณ์โรงเรียนมารีวิทยา  โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา เสพติดและอบายมุข   ( To  Be Number ) ฯลฯ   และ  ปีการศึกษา  2565   เน้นด้านความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มีพระคุณ และโครงการอบรมคุณธรรม  จริยธรรม ของนักเรียนทุกระดับชั้น   เรื่อง  การเงินพอเพียง ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ   การบริหารงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ( Covid - 19 )  โรงเรียนมารีวิทยา  บริหารและจัดการศึกษา โดยใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม  ระหว่างบ้าน โรงเรียน   ร่วมคิดร่วมทำพัฒนาการศึกษา พัฒนาโรงเรียนตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา จุดเน้น และพันธกิจที่กำหนดชัดเจน   คุณภาพของนักเรียนแสดงถึงเอกลักษณ์ / อัตลักษณ์ / ปรัชญาของโรงเรียนและสอดคล้องกับหลักสูตร นโยบายของต้นสังกัด ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี   ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ.2561    โรงเรียนพัฒนา สภาพแวดล้อมให้ร่มรื่นสวยงาม   กำหนดจุดเน้น  ส่งเสริมสนับสนุน   ครูให้จัดการเรียนรู้    โดยใช้สื่อนวัตกรรม  เทคโนโลยี เพื่อการจัดการเรียนรู้  วางแผนจัดทำโครงการที่สำคัญ ๆ เช่น โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โครงการพัฒนาศักยภาพครูมารีวิทยา  งานนิเทศภายใน เป็นต้น   ผลการดำเนินงานพบว่า    การจัดการเรียนการสอนใน ศตวรรษที่ 21 พัฒนาทักษะการคิดและพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายโรงเรียนมีสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี สอดคล้อง กับการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยอย่างครบถ้วนบรรลุเป้าหมายที่กำหนด และนำผลการดำเนินงานไปใช้เป็นข้อมูลส่งเสริมใน การจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น หน้า 3 จาก 109


ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ   ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ( Covid - 19 )  ได้พัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครูและผู้เรียนได้คำนึงถึงความปลอดภัยซึ่งทุกคนได้ปฎิบัติ ตามมาตรการการป้องกัน  ได้แก่ 6 มาตรการหลัก ( DMHT- RC ) 6 มาตรการเสริม ( SSET-CQ ) และ  7 มาตรการเข้ม ครูร้อยละ 90  มีการวางแผนจัดการเรียนรู้  ครูใช้สื่อ  อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรม เทคโนโลยี  ให้ผู้เรียนมีความพร้อม ด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษเสริมด้วยภาษาจีน  การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาทักษะด้าน coding การเรียนการสอนในศตวรรษที่  21 และดำเนินโครงการที่สำคัญๆ  เช่น   โครงการพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ  โครงการสนองพระบรมราโชบาย  ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และเศรษฐกิจพอเพียง    เป็นต้น  จากการดำเนินงานดังกล่าวพบว่า    ครูสามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เทคโนโลยี   และนวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด   นำผลจาก การดำเนินงานมาใช้ในการพัฒนาตนเองและพัฒนาการจัดการเรียนรู้   ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการสูงขึ้น  พัฒนาการนิเทศภายในเครื่องมือ   กำกับติดตามตรวจสอบและนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ จากการดำเนินงานทั้ง 3 มาตรฐาน  ดังกล่าว โรงเรียนได้เผยแพร่ให้ผู้ปกครอง นักเรียน  ผู้ใช้บริการ    ชุมชน    หน่วยงาน  ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ    ผ่านช่องทางต่างๆ     ของโครงการสื่อสัมพันธ์มารีฯสู่ชุมชน    เช่น  การเยี่ยมชั้นเรียน   แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์  วารสารมารีแมกกาซีน  สิ่งพิมพ์ประชาสัมพันธ์อื่นๆ  เช่น  ไวนิล วารสาร  จุลสาร  สิ่งพิมพ์รายเดือน ฯลฯ เว็บไซต์ของโรงเรียน   ไลน์กลุ่มชั้นเรียน   ชุมชนออนไลน์  facebook     เป็นต้น หน้า 4 จาก 109


ตอนที่ 1 : การนำเสนอผลการประเมินตนเอง ระดับปฐมวัย 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเยี่ยม 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ยอดเยี่ยม 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ยอดเยี่ยม 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ยอดเยี่ยม 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ยอดเยี่ยม 5. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ยอดเยี่ยม 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ยอดเยี่ยม 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบก ารณ์และพัฒนาเด็ก ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับปฐมวัย ยอดเยี่ยม 2. หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก  ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม  คิดเป็นร้อยละ  98.25 1. รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 98.40 2. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ด้านร่างกาย  มีผลการประเมิน ระดับดีขึ้นไป คิดเป็น    ร้อยละ   98.53  ส่งผลให้เด็ก มีร่างกายแข็งแรง  มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ หน้า 5 จาก 109


3. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ด้านอารมณ์ จิตใจ  มีผลการประเมิน ระดับดีขึ้นไป     คิดเป็นร้อยละ   98.28   ส่งผลให้เด็กสามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้  4. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ด้านสังคม มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.53     ส่งผลให้เด็ก สามารถช่วยเหลือ  ตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 5. ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กระดับปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ด้านสติปัญญา มีผลการประเมิน ระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ     98.77 ส่งผลให้  เด็กสามารถสื่อสารได้   มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ  ระดับคุณภาพ  ยอดเยี่ยม   คิดเป็นร้อยละ  98.86 1. แผนพัฒนาการศึกษา ปีการศึกษา 2565 – 2568 ( ปรับแก้ไขแผนงาน โครงการปี 2565 ) 2. แผนปฏิบัติงาน / สารสนเทศ ประจําปีการศึกษา 2565 3. มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย / มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา 5. รายงานสรุปผลการประเมินโครงการด้านบริหารและการจัดการ 6. เกียรติบัตร ในการศึกษาอบรมเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ  ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ร้อยละ 98.53 1. แผนการจัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้  และจัดทําแผนกิจกรรมเสริมหลักสูตร  ซึ่งการจัดประสบการณ์ตามแผน     ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอย่างสมดุล  โดยได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชน    2. ผลการประเมินความพร้อมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน / แบบประเมินผลงานต่างๆ 3. การจัดการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ 4. แหล่งเรียนรู้สําหรับเด็กทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน เช่น ห้องสมุดระดับปฐมวัย ห้องคอมพิวเตอร์   ห้องวิทยาศาสตร์     สําหรับเด็กปฐมวัย ห้องดนตรี  บอร์ดการเรียนรู้ต่างๆ 5. เกียรติบัตรครูดีเด่นในการสร้างชื่อเสียงด้านต่างๆ ของระดับปฐมวัย 6. โรงเรียนส่งเสริมและสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 7. โรงเรียนจัดบรรยากาศการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน  เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก และสนับสนุนให้เด็ก    ได้มีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาของคาทอลิก   ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม  ร้อยละ 98.60 1. โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ - เอกลักษณ์ ระดับปฐมวัยของโรงเรียนมารีวิทยา 2. งานกิจการคาทอลิกระดับปฐมวัย มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมแบบคาทอลิกเพื่อให้ผู้เรียน มีคุณลักษณะตามหลักคุณค่าของ    พระวรสาร ได้มีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 3.1  แผนปฏิบัติงานที่  1  ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง 3.2  แผนปฏิบัติงานที่  2  ส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษ  ภาษาจีน  มีทักษะในการฟัง การพูด   การอ่าน  การเขียน                                  เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสาร หน้า 6 จาก 109


3.3  แผนปฏิบัติงานที่ 3  พัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้  และกระบวนการคิดวิเคราะห์  Project  Approach  /                                   STEM  Education  อย่างต่อเนื่อง 3.4 แผนปฏิบัติงานที่  4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมการจัดกระบวนการ  เรียนรู้อย่างหลากหลายให้สอดคล้องกับ                                 สถานการณ์ปัจจุบัน 3.5 แผนปฏิบัติงานที่  5   สนับสนุนสืบสานวัฒนธรรมไทย  ประเพณีไทย 3.6 แผนปฏิบัติงานที่  6  เสริมสร้างความสัมพันธ์ ความเชื่อมั่นระหว่างโรงเรียนกับชุมชนท้องถิ่น 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) 1. Pongpang and the 5 food groups 2. ฺButterfly ผีเสื้อแสนงาม 3. โทรศัพท์มือถือ Mobile Phone 5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 6.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 6.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 6.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 6.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 6.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 6.1.5. มีทักษะชีวิต 6.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 6.2.1. มีทักษะทางปัญญา 6.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 6.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 6.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 6.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 6.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 6.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 6.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 6.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 6.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 6.3.3. มีจิตอาสา หน้า 7 จาก 109


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปั ญหา ยอดเยี่ยม 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม 7. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม 8. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 9. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยอดเยี่ยม หน้า 8 จาก 109


2. หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ  *  มาตรฐานที่ 1  คุณภาพผู้เรียน             ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม   ร้อยละ   93.44  / ค่าเฉลี่ย  4.67         * ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน   ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม  ร้อยละ  92.37  /  ค่าเฉลี่ย  4.61 1. ผลการประเมินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O–NET )  ปีการศึกษา  2565 2. ผลการประเมินความสามารถ  ด้านการอ่านออกของผู้เรียน ( Reading Test : RT )  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 / ปี 2565  3. ผลการประเมินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 / ปี 2565 4. ผลการทดสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน ภาษาเชิงวิชาการ และ ภาษาที่ใช้เพื่อการประกอบอาชีพ    ระดับมัธยมศึกษา Hanyu Shuping Kaoshi (HSK)   ปีการศึกษา  2565     5. ผลการประเมิน ระดับชั้น  ป.1 – ม.6   มีผลการประเมิน   ร้อยละ  ระดับดีเยี่ยม  ระดับดี 6. ร้อยละของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565  ที่มีเกรดเฉลี่ย  ผลสัมฤทธิ์     ทางการเรียนตั้งแต่  3   ขึ้นไป  ( รวมเฉลี่ยทั้งหมดระดับสายชั้น )        ·* คุณลักษณะอันพึงประสงค์      ระดับคุณภาพ  ยอดเยี่ยม   ร้อยละ  94.50  /  ค่าเฉลี่ย  4.72  1. โครงการคุณธรรมนำทาง  ศาสนธรรมนำใจ  ใฝ่ประพฤติดี  นำชีวีมีสุข 2. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม  เรื่อง การเงินพอเพียง 3. กิจกรรมปลูกจิตสำนึก  ฝึกจิตอาสา  / กิจกรรมแบ่งปันความสุขแก่ผู้ด้อยโอกาส  เด็กกำพร้า  เยี่ยมให้กำลังใจ       นำไปมอบให้ตามบ้านยากจน  โรงพยาบาล ฯลฯ 4. โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ - เอกลักษณ์  ของโรงเรียนมารีวิทยา 5. โครงการส่งเสริมคุณค่าของพระวรสาร *  มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ    ระดับคุณภาพ  ยอดเยี่ยม  ร้อยละ  94.80 / ค่าเฉลี่ย 4.74 1. แผนพัฒนาการศึกษา  ปีการศึกษา  2565 – 2568   2. แผนปฏิบัติงานประจำปี /  สารสนเทศ  ประจำปีการศึกษา  2565 3. มาตรฐานการศึกษา  /  มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. หลักสูตรสถานศึกษา  /  หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม 5. รายงานสรุปผลการประเมินโครงการด้านบริหารและการจัดการ 6. การจัดกิจกรรมบูรณาการทุกกล่มสาระการเรียนรู้ “ STEM  Education ” /   ( Project  Approach &      Project  Based  Learning ) ของนักเรียนชั้น  อ.1 - ม.6  อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ *  มาตรฐานที่  3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ   ระดับคุณภาพ  ยอดเยี่ยม  ร้อยละ   94.80     /  ค่าเฉลี่ย  4.74 1. แผนการจัดการเรียนรู้ของครู  / แบบประเมินด้านการเรียน / แบบ ป.พ.ต่างๆ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน   ระดับชั้น ป.1-ป.6 / ม.1 –ม.6   /  ผล NT , ผล O - Net 3. โครงงาน ผลงาน นวัตกรรมนักเรียนการสร้างหุ่นยนต์ / Project  Based  Learning 4. แหล่งเรียนรู้และทันสมัย    *   ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์    *   ห้องวิทยาศาสตร์    *   ห้องเรียน Smart  ClassRoom    *   ห้อง  IPST ของ สสวท.   *   ห้องพิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ    / ฯลฯ 5. ส่งเสริมการเรียนรู้รายบุคคล   ผ่านโปรแกรมการเรียน  Learn  Education   พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 4  ด้าน  /       วิชาคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  เป็นภาษาอังกฤษ   หน้า 9 จาก 109


                   6. เกียรติบัตร  รางวัล “ ผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนดีเด่น ”(Private School Administrators and Teachers of    the Year 2023 ) ประจำปี  2566 งานการศึกษาเอกชน ภาคตะวันออก  ครั้งที่ 7  ประจำปี 2566      “ การศึกษาเอกชน  เพื่อคนรุ่นใหม่  มุ่งสู่นวัตกรรมสร้างสรรค์ ” ของสมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษา       เอกชน   จำนวน  20  คน   ระหว่างวันที่  4 - 5  กุมภาพันธ์  2566    ณ  ทวาราวดี  รีสอร์ท  อำเภอศรีมหาโพธิ         จังหวัดปราจีนบุรี * มาตรฐานที่  4   การจัดการศึกษาของคาทอลิก    ระดับคุณภาพ   ยอดเยี่ยม  ร้อยละ 96.20 / ค่าเฉลี่ย 4.81 1. การจัดกิจกรรมแบบคาทอลิก  ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักคุณค่าของพระวรสาร 2. โครงการส่งเสริมคุณค่าของพระวรสาร   3. โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ - เอกลักษณ์  ของโรงเรียนมารีวิทยา 3. โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 3.1  แผนปฏิบัติงานที่  1  พัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน  นักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง              3.2  แผนปฏิบัติงานที่  2  ส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษ  ภาษาจีน  มีทักษะในการฟัง การพูด   การอ่าน  การเขียน                                  เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสาร 3.3  แผนปฏิบัติงานที่ 3  พัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้  และกระบวนการคิดวิเคราะห์  Project  Approach  /                                    STEM  Education  อย่างต่อเนื่อง 3.4 แผนปฏิบัติงานที่  4   สนับสนุนส่งเสริม ใช้ห้อง Smart  ClassRoom   เป็นห้องเรียนในรูปแบบออนไลน์ในวิชาต่างๆ    3.5 แผนปฏิบัติงานที่  5   สนับสนุนสืบสานวัฒนธรรมไทย  ประเพณีไทย 3.6 แผนปฏิบัติงานที่  6  เสริมสร้างความสัมพันธ์ ความเชื่อมั่นระหว่างโรงเรียนกับชุมชนท้องถิ่น 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) 1. ปลาหางนกยูงฟรุ้งฟริ้ง (Guppy Fish) 2. ผู้พิทักษ์ รักษ์ต้องเลิก Garbage Ranger 3. ช...ช้อนสร้างสรรค์ 4. จิ๋วแต่แจ๋ว 5. โคมไฟหรรษา (Technolo lamp) 6. อุโมงค์ฆ่าเชื้อพิชิตโควิด 7. Powerpubegg 8. CHEWY CASSAVA BUBBLE 5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE หน้า 10 จาก 109


Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 6.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 6.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 6.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 6.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 6.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 6.1.5. มีทักษะชีวิต 6.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 6.2.1. มีทักษะทางปัญญา 6.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 6.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 6.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 6.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 6.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 6.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 6.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 6.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 6.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 6.3.3. มีจิตอาสา ลงชื่อ........................................ (........นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์........) ตําแหน่ง ผู้อํานวยการ หน้า 11 จาก 109


ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน 1. โรงเรียน (School Name) : มารีวิทยา รหัสโรงเรียน (School Code) : 1125100003 ที่อยู่ (Address) : 66 อาคาร (Bldg) : หมู่ที่ (Village No.) : ตรอก (Alley) : ซอย (Lane) : ถนน (Street) : แก้วพิจิตร ตำบล/แขวง (Sub-district) : หน้าเมือง อำเภอ/เขต (District) : เมืองปราจีนบุรี จังหวัด (Province) : ปราจีนบุรี รหัสไปรษณีย์ (Post Code) : 25000 โทรศัพท์ (Tel.) : 037211024 โทรสาร (Fax.) : 037-212-662 อีเมล (Email) : [email protected] เว็บไซต์ (Website) : www.maree.ac.th ไลน์ (Line) : เฟซบุ๊ก (Facebook) : 2. ระดับที่เปิดสอน ปกติ (สามัญศึกษา) : อนุบาล, ประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนต้น, มัธยมศึกษาตอนปลาย English Program : หน้า 12 จาก 109


3. ประวัติโรงเรียน โรงเรียนมารีวิทยา   อำเภอเมืองปราจีนบุรี   จังหวัดปราจีนบุรี   ตั้งขึ้นด้วยเงินทุนของวัดโรมันคาทอลิก   ปีการศึกษา 2503     บาทหลวงสุเทพ นามวงศ์    เจ้าอาวาสวัดอัครเทวดามีคาแอล   ได้สร้างโรงเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้ชื่อว่า “ โรงเรียนมารีวิทยา ” อักษรย่อว่า“ ม.ว.” ซึ่งเป็นการอัญเชิญพระนามของพระแม่มารี องค์แม่พระผู้ศักดิ์สิทธิ์ ของพระเยซูคริสตเจ้า    มาเป็นชื่อของโรงเรียน    และบาทหลวงสุเทพ   นามวงศ์  เจ้าอาวาส   รับหน้าที่เป็นผู้รับใบอนุญาต ซิสเตอร์เกษร  กิจทำ  เป็นผู้จัดการและครูใหญ่ เปิดทำการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ประถมศึกษาปีที่  2  รับนักเรียน ได้จำนวน  80  คน    มีอาคารเรียน  1  หลัง    เป็นเรือนไม้ชั้นเดียวแบ่งเป็น  3  ห้องเรียน     ปีการศึกษา 2504 - ปีการศึกษา 2507 ได้สร้างอาคารคอนกรีตเสริมไม้หลังที่  2  หลังที่  3  คอนกรีตเสริมเหล็ก 3  ชั้นขอ อนุญาตเปิดสอนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7  มีนักเรียน  จำนวน 680  คน  จำนวน   15  ห้องเรียน    ปีการศึกษา 2517 กระทรวงศึกษาธิการประกาศ   รับรองวิทยฐานะโรงเรียนมารีวิทยา  เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ถึง  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ได้รับอนุญาตรับนักเรียนจำนวน  1,215  คน  ปีการศึกษา  2527 – 2537   ซิสเตอร์พนิดา สุขสำราญ      ย้ายมารับตำแหน่งหน้าที่ครูใหญ่    สร้างอาคารใหม่เป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก  6  ชั้น  ( อาคาร  25  ปี )   โดยแบ่งการสร้างออกเป็น  2   โครงการ   โครงการที่  1  เสร็จใน เดือนพฤษภาคม 2528  โครงการที่  2 เสร็จสิ้นปลาย  ปี 2528   มีจำนวน  36  ห้องเรียน   จำนวนนักเรียน  1,324   คน ปีการศึกษา 2543 - 2552   ซิสเตอร์ ดร.ลำยงค์   อุ้นวุ้น  ย้ายมารับตำแหน่งหน้าที่  ผู้อำนวยการ  และสมาคมครู  ผู้ปกครอง   ศิษย์เก่า   โรงเรียนมารีวิทยา  จัดฉลองเป็นปีที่โรงเรียนก่อตั้งมาครบรอบ  40 ปี   ปีการศึกษา 2546  -  2547      สร้างอาคารใหม่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กสูง   6  ชั้น  ( อาคารเซนต์โยเซฟ )    และอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก  3  ชั้น   ( อาคาร  เซนต์แมรี่ )    ปีการศึกษา  2548  โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ  45  ปีแห่งการก่อตั้งโรงเรียน ได้ขยายห้องเรียนเพิ่มอีก  2 ห้อง  คือ  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4    โรงเรียนมีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  2,440  คน   59  ห้องเรียน  มีครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน จำนวน  137 คน   เจ้าหน้าที่นักการภารโรง   และพนักงานประจำโรงอาหารจำนวน  30  คน   มีเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัยในเวลากลางคืน  1  คน ปีการศึกษา 2552    โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ  50  ปี   แห่งการก่อตั้งโรงเรียน “ 50  ปี  เพื่อการศึกษาก้าวไป ข้างหน้าเพื่อสังคม  ” ในวันที่  5  มีนาคม  2553  โรงเรียนมีนักเรียนระดับชั้นอนุบาล  -  มัธยมศึกษาปีที่  6   จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น   2,292  คน  64  ห้องเรียน   มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  152  คน  เจ้าหน้าที่นัก การภารโรง  และพนักงานประจำโรงอาหารจำนวน  28 คน  เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเวลากลางคืน    1  คน   ปีการศึกษา  2553 -  2565    ซิสเตอร์  ดร.อัจฉรา  สุขพิบูลย์   ย้ายมารับตำแหน่งหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา และดำเนินการสานต่อสร้างหลังคาโครงเหล็ก  เพื่อคลุมสนามบริเวณอาคาร  25 ปี  โรงเรียนได้รับอนุญาตให้ใช้อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว  และใช้ชื่อว่า “  โดม  50  ปี มารี  ” ตามใบอนุญาตเลขที่  ปจ. 011 / 2553   เพื่อใช้เป็น ลานเอนกประสงค์สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ และเป็นสนามกีฬา   ปีการศึกษา 2554    โรงเรียนมีนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย  -  มัธยมศึกษาปีที่  1    จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น  2,404  คน    65   ห้องเรียน    มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  157 คน    * โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม      จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา     ระหว่างวันที่  20 – 22  กรกฏาคม  2554  คณะกรรมการจากบริษัทแอลเอสการประเมินจำกัด   * โรงเรียนได้รับโล่ สถานศึกษาดีเด่น ระดับปฐมวัย ประจำปีการศึกษา  2553 – 2554   ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ    ส่งเสริมการศึกษาเอกชน    จากสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา หน้า 13 จาก 109


* โรงเรียนได้รับเกียรติบัตร  มาตรฐาน  E.S.O. 2007   มาตรฐานดีมาก  ด้านผู้บริหาร  ด้านครูผู้สอน  และด้านผู้เรียน    จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี  เขต  1 ปีการศึกษา  2562  โรงเรียนมีนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย  -  มัธยมศึกษาปีที่  6  จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น   1,866   คน    60  ห้องเรียน   มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  144 คน    เจ้าหน้าที่นักการภารโรงและพนักงานประจำ โรงอาหารจำนวน  29  คน   เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเวลากลางวัน  1  คน   และกลางคืน   1  คน * ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ชนะเลิศ  ทีมคัลเลอร์การ์ด    รุ่นอายุไม่เกิน  18 ปี งานมหกรรมดนตรีเฉลิมพระเกียรติฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่  เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนม    พรรษา  วันที่ 28 กรกฏาคม 2562  ระหว่างวันที่ 1 - 9 สิงหาคม 2562  ของกรมพลศึกษา  ณ  อาคารชาญชัยอเคเดียม     มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี * ถ้วยพระราชทาน  สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า  กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี   ชนะเลิศ       ทีมคัลเลอร์การ์ด วันที่ 19 – 21  ธันวาคม  2562   ณ  จังหวัดศรีสะเกษ * ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์   ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา  รางวัล “ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบจังหวัดปราจีนบุรี”      โดย...นายพิบูลย์  หัตถกิจโกศล  ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี  วันที่ 16 มกราคม 2563  ณ  ห้องประชุมจังหวัด       ศูนย์ราชการจังหวัดปราจีนบุรี * ดร.อัจฉรา  สุขพิบูลย์  ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา  รับโล่รางวัลผู้ให้การสนับสนุนการจัดงานวันการศึกษา    เอกชนภาคตะวันออก  “ 102  ปี  การศึกษาเอกชน  Private  education , the better  choice ”     โดย...ดร.กนกวรรณ  วิลาวัลย์   รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ  ของสมาคมคณะกรรมการประสานและ    ส่งเสริมการศึกษาเอกชน   วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์  2563   ณ  ห้องประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์      จังหวัดฉะเชิงเทรา * โรงเรียนมารีวิทยา  รับรางวัล “ สถานศึกษาปลอดภัย ” ดีเด่น  ประจำปี 2562  ปีที่  1  ณ  อาคารกีฬาเวสน์ 1      ศูนย์เยาวชนกรุงเทพ  (ไทย – ญี่ปุ่น)  วันที่  13  กันยายน  2562   ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน   เพื่อสร้าง    ความตระหนักด้านความปลอดภัย  อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน  สร้างเครือข่ายความร่วมมือของ    การพัฒนาและรณรงค์ความปลอดภัยในสถานศึกษา  “ สถานศึกษาปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี ” ปีการศึกษา  2563  โรงเรียนมีนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย  -  มัธยมศึกษาปีที่  1  จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น   1,793   คน   60  ห้องเรียน   มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  139 คน    เจ้าหน้าที่นักการภารโรงและพนักงานประจำ โรงอาหารจำนวน  29   คน    เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเวลากลางวัน  1  คน   และกลางคืน   1  คน * โรงเรียนมารีวิทยา  รับเกียรติบัตร  ระดับดีเยี่ยม   การบริหารจัดการควบคุมและป้องกันโรคโควิด - 19  ตามคำแนะนำ    คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปราจีนบุรี ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี   วันที่  30 กรกฎาคม  2563 * โรงเรียนมารีวิทยา รับโล่รางวัล  ชนะเลิศ  การแช่งขันตอบปัญหาความรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไมซ์  ระดับชั้นมัธยมศึกษา    ตอนปลาย   ของวิทยาลัยนานาชาติ  มหาวิทยาลัยบูรพา  จังหวัดชลบุรี    วันที่  13  สิงหาคม  2563 * โรงเรียนมารีวิทยา  รับรางวัล “ สถานศึกษาปลอดภัย ” ดีเด่น  ประจำปี 2563  ปีที่  2          นางสาวอัจฉรา  สุขพิบูลย์  ผู้อำนวยการโรงเรียน  รับรางวัล  โดย...นายวรพันธุ์  สุวัณณุสส์  ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี    วันที่  22  ธันวาคม 2563  ณ  บริษัทไดเซล  เซฟตี้ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) ปีการศึกษา  2564  โรงเรียนมีนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย  -  มัธยมศึกษาปีที่  6  จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น   1,840   คน    60  ห้องเรียน   มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  138 คน    เจ้าหน้าที่นักการภารโรงและพนักงานประจำ โรงอาหารจำนวน  29   คน    เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเวลากลางวัน  1  คน   และกลางคืน   1  คน หน้า 14 จาก 109


* ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์   ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา  รับรางวัล  เกียรติบัตร  ผู้บริหาร     สถานศึกษาต้นแบบจังหวัดปราจีนบุรี“ พลังครูยุคใหม่ สร้างคุณภาพคนไทยสู่สากล ” งานวันครู  ครั้งที่ 66             โดย...นายวรพันธุ์ สุวัณณุสส์   ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี  ของคุรุสภาจังหวัด  สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด     ปราจีนบุรี   ณ  บ้านสวนมารีย์  วันที่  16 มกราคม  2565 * ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์   ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา  รับโล่รางวัล    ยกย่องเชิดชูเกียรติ  ผู้บริหาร   ครู    โรงเรียนเอกชน   งานวันการศึกษาเอกชน  โดย...สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน   และสมาคม    คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน  (ปส.กช.)  ภาคตะวันออก    ประธานพิธีเปิดงาน      ดร.กนกวรรณ  วิลาวัลย์  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ วันที่  17 - 18  กุมภาพันธ์  2565     ณ  โรงแรมรอยัลพลา คลิฟฟ์บีช  อำเภอบ้านฉาง  จังหวัดระยอง ปีการศึกษา  2565  โรงเรียนมีนักเรียนเตรียมอนุบาล 43  คน จำนวน  1 ห้องเรียน นักเรียนระดับชั้นปฐมวัย -  มัธยมศึกษา ปีที่  6  จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น  1,900   คน  61  ห้องเรียน   มีคณะครูผู้สอนและผู้สนับสนุนการสอน  จำนวน  141 คน  เจ้าหน้าที่นักการภารโรงและพนักงานประจำโรงอาหารจำนวน 29  คน  เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเวลากลางวัน  1  คน และกลางคืน   1  คน * ดร.อัจฉรา สุขพิบูลย์   ผู้อำนวยการโรงเรียนมารีวิทยา  รับโล่รางวัล  ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้บริหาร ครูโรงเรียนเอกชน   งานวันการศึกษาเอกชน ภาคตะวันออก  ครั้งที่ 7 ประจำปี 2566  “การศึกษาเอกชน  เพื่อคนรุ่นใหม่  มุ่งสู่นวัตกรรม สร้างสรรค์” โดย...สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการ  ศึกษาเอกชน (ปส.กช.) ภาคตะวันออก ประธานพิธีเปิดงาน    นายอรรถพล  สังขวาสี    ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ     วันที่  4 - 5  กุมภาพันธ์  2566   ณ  ทวาราวดี  รีสอร์ท   อำเภอศรีมหาโพธิ  จังหวัดปราจีนบุรี หน้า 15 จาก 109


4. ข้อมูลพื้นฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ปรัชญา            “ คุณธรรมนำการศึกษา  เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ” วิสัยทัศน์ ( VISION )      โรงเรียนมารีวิทยา  มุ่งมั่นพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี  มีคุณธรรม จริยธรรม   มีจิตสำนึกของการเป็นพลเมืองไทย ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง   ใส่ใจต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม   มีความเป็นเลิศทางวิชาการ   เทคโนโลยี และการใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร    พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพสู่มาตรฐานสากล    มีทักษะชีวิตและดำรงตนได้ อย่างมีความสุข พันธกิจ ( Mission ) 1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ตามจิตตารมณ์  ของพระสังฆราชลัมแบรต์เดอลาม็อต มีคุณลักษณะ    อันพึงประสงค์  และค่านิยมหลักของคนไทย 12   ประการ 2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน  เขียน  คิดคำนวณ  คิดวิเคราะห์และใช้ภาษาต่างประเทศ       ในการสื่อสาร   3. พัฒนาผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากลรู้จักใช้เทคโนโลยี และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21 4. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรครูและผู้เรียนให้มีสุขภาวะที่ดีมีสุนทรียภาพ    มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 5. พัฒนาระบบการบริหาร  บูรณาการจัดการศึกษา  การประกันคุณภาพ  และจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของ       ผู้ปกครอง  ศิษย์เก่า  ชุมชน  ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 6. พัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียน  จัดทำแหล่งเรียนรู้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้  และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา     ของเศรษฐกิจพอเพียง    7. พัฒนาคุณภาพครูให้สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8. โรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมอัตลักษณ์และเอกลักษณ์โรงเรียนมารีวิทยา   ตามคุณค่าของพระวรสาร เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม  มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์   และ ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน  เขียน  สื่อสาร  การคิดคำนวณ   การคิดวิเคราะห์    และใช้ภาษาต่างประเทศในการ    สื่อสารได้ดี 3. ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากลรู้จักใช้เทคโนโลยี และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 4. บุคลากรครูและผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดี    มีสุนทรียภาพ  มีความภูมิใจใน  ท้องถิ่นและความเป็นไทย   5. โรงเรียนมีระบบการบริหาร  บูรณาการจัดการศึกษา  การประกันคุณภาพ  และจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม     ของผู้ปกครอง ศิษย์เก่า ชุมชนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 6. โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อม  จัดทำแหล่งเรียนรู้  มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้  และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ      เศรษฐกิจพอเพียง 7. ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 8. โรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมอัตลักษณ์และเอกลักษณ์โรงเรียนมารีวิทยาตามคุณค่าของพระวรสาร หน้า 16 จาก 109


ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2. พัฒนาคุณภาพกระบวนการและการจัดการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา 3. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4. การจัดการศึกษาคาทอลิก   เอกลักษณ์                   “ คุณธรรมนำการศึกษา   เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ”   คุณธรรม          หมายถึง    การเป็นบุคคล   ที่มีความรัก - เมตตา   ซื่อสัตย์ และมีภูมิคุ้มกัน   การศึกษา  หมายถึง  การแสวงหาความรู้ด้านต่าง ๆ และพัฒนาทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและส่วนรวม พัฒนา            หมายถึง    การพัฒนาให้ดีและมีมากขึ้น  จากที่เป็นอยู่ สังคม             หมายถึง    ทุกสถาบัน เริ่มจากสถาบันครอบครัว   โรงเรียนชุมชน  และประเทศชาติ อัตลักษณ์ อัตลักษณ์ ( Identity )    อัตลักษณ์...ผู้เรียน    วินัยดี   ศึกษาเยี่ยม    เปี่ยมคุณธรรม วินัยดี             หมายถึง     มีระเบียบในตนเอง   ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบ รู้จักบังคับตนเอง        ศึกษาเยี่ยม       หมายถึง     รักการเรียนรู้   มีกระบวนการคิด   มีทักษะในการดำรงชีวิต เปี่ยมคุณธรรม   หมายถึง     การเป็นบุคคล   ที่มีความรัก - เมตตา  ซื่อสัตย์และมีภูมิคุ้มกัน   คติพจน์    ( School  Motto )       รัก  -  เมตตา   ซื่อสัตย์    มีภูมิคุ้มกัน รัก – เมตตา      หมายถึง    ให้เกียรติผู้อื่น  เสียสละแบ่งปัน  ให้อภัย  และมีจิตอาสา ซื่อสัตย์           หมายถึง    พูดความจริง  ยุติธรรม กล้าเผชิญความจริง ไม่คดโกง /ไม่หลอกลวง มีภูมคุ้มกัน       หมายถึง    วางแผน  รอบคอบ   มัธยัสถ์และอยู่อย่างพอเพียง ยึดมั่นในหลักธรรมและคำสอนของศาสนา                                             หน้า 17 จาก 109


5. จำนวนนักเรียน จํานวนผู้เรียน ปกติ จํานวนผู้เรียนท่ีมี ระดับท่ีเปิดสอน ความต้องการพิเศษ การจัดการเรียน การสอน จำนวน ห้องเรียน ชาย หญิง ชาย หญิง รวม ระดับก่อนประถมศึกษา อนุบาลปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 5 60 69 0 0 129 อนุบาลปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 5 80 80 0 0 160 อนุบาลปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 5 65 55 0 0 120 รวม ห้องเรียนปกติ 15 205 204 0 0 409 ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 5 63 62 0 0 125 ประถมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 5 90 64 0 0 154 ประถมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 5 67 69 0 0 136 ประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนปกติ 5 87 86 0 0 173 ประถมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนปกติ 5 86 100 0 0 186 ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนปกติ 5 91 67 0 0 158 รวม ห้องเรียนปกติ 30 484 448 0 0 932 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียนปกติ 3 59 56 0 0 115 มัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนปกติ 3 56 60 0 0 116 มัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียนปกติ 3 53 43 0 0 96 รวม ห้องเรียนปกติ 9 168 159 0 0 327 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนปกติ 3 43 49 0 0 92 มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนปกติ 2 31 44 0 0 75 มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนปกติ 2 33 41 0 0 74 รวม ห้องเรียนปกติ 7 107 134 0 0 241 รวมทั้งสิ้น ห้องเรียนปกติ 61 964 945 0 0 1,909 หน้า 18 จาก 109


6. จำนวนผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 6.1. ผู้บริหารสถานศึกษา - นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ตำแหน่ง ผู้รับใบอนุญาต เบอร์โทรศัพท์ 0875418479 - นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ตำแหน่ง ผู้จัดการ เบอร์โทรศัพท์ 0875418479 - นางสาวอัจฉรา สุขพิบูลย์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน เบอร์โทรศัพท์ 0875418479 6.2. จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา (เฉพาะที่บรรจุเท่านั้น) 6.2.1. สรุปจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม ผู้สอนก่อนประถมศึกษา 1. ครูไทย 0 19 1 2 0 22 2. ครูชาวต่างชาติ 0 1 0 0 0 1 ผู้สอนประถมศึกษา 1. ครูไทย 2 23 14 4 0 43 2. ครูชาวต่างชาติ 0 5 0 0 0 5 ผู้สอนมัธยมศึกษาตอนต้น 1. ครูไทย 0 10 4 4 0 18 2. ครูชาวต่างชาติ 0 1 0 1 0 2 ผู้สอนมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ครูไทย 0 5 1 5 2 13 2. ครูชาวต่างชาติ 0 1 0 0 0 1 รวม 2 65 20 16 2 105 บุคลากรทางการศึกษา 1. บรรณารักษ์ 0 0 0 0 0 0 หน้า 19 จาก 109


จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม 2. งานแนะแนวทั่วไป 0 0 0 0 0 0 3. เทคโนโลยีการศึกษา 0 0 0 0 0 0 4. งานทะเบียนวัดผล 0 0 0 0 0 0 5. บริหารงานทั่วไป 0 0 0 0 0 0 รวม 0 0 0 0 0 0 บุคลากรอื่น 1. พี่เลี้ยง 0 0 0 0 0 0 2. บุคลากรอื่นๆ 0 0 0 0 0 0 รวม 0 0 0 0 0 0 รวมทั้งสิ้น 2 65 20 16 2 105 สรุปอัตราส่วน สรุปอัตราส่วน จํานวนห้อง จํานวนนักเรียน จํานวนครู จํานวนผู้เรียนต่อครู จํานวนผู้เรียนต่อห้อง ระดับอนุบาล 15 409 23 18:1 28:1 ระดับประถมศึกษา 30 932 48 20:1 32:1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 9 327 20 17:1 37:1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 7 241 14 18:1 35:1 หน้า 20 จาก 109


6.2.2. จำนวนครูจำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ จํานวนครูผู้สอน ระดับ ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ รวม ปฐมวัย 11 12 23 จํานวนครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ ตรงวุฒิ ไม่ตรงวุฒิ รวม ภาษาไทย 3 4 2 2 11 คณิตศาสตร์ 1 4 1 2 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 1 9 1 18 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 0 6 2 1 9 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 0 2 0 3 ศิลปะ 2 0 3 0 5 การงานอาชีพ 1 4 1 0 6 ภาษาต่างประเทศ 6 8 5 3 22 รวม 21 27 25 9 82 6.2.3. ตารางสรุปจำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จํานวนครูผู้สอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม กิจกรรมนักเรียน     - ลูกเสือ 6 11 17     - เนตรนารี 37 20 57     - ยุวกาชาด 0 0 0     - ผู้บำเพ็ญประโยชน์ 0 0 0     - รักษาดินแดน (ร.ด.) 0 0 0     - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 14 12 26 กิจกรรมแนะแนว 0 2 2 กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ 0 0 0 หน้า 21 จาก 109


ส่วนที่ 3 : ผลการดำเนินงาน 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 1.1. ระดับปฐมวัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก โครงการ : โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานมีทักษะการเคลื่อนไหว สามารถดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ตลอดจนรู้จักรักษาความปลอดภัยของตนเอง หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสียงอันตรายได้อย่างเหมาะสมตามวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.80 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหว สามารถดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ตลอดจนรู้จักรักษาความปลอดภัยของตนเอง หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสียงอันตรายได้อย่างเหมาะสมตามวัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจที่ดี มีความร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ยอมรับและพอใจในความสามารถ ผลงานของตนเองและผู้อื่นได้ มีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก เคารพสิทธิและมีความรับผิดชอบ และสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัย หน้า 22 จาก 109


อีกทั้งชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กปฐมวัย มีพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจที่ดี มีความร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ยอมรับและพอใจในความสามารถ ผลงานของตนเองและผู้อื่นได้ มีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก เคารพสิทธิและมีความรับผิดชอบ และสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ อย่างเหมาะสมกับวัย อีกทั้งชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น โครงการ : โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้เด็กระดับปฐมวัย มีพัฒนาการด้านสังคมอย่างเหมาะสมตามวัย สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง และมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย และยอมรับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.20 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กระดับปฐมวัย มีพัฒนาการด้านสังคมอย่างเหมาะสมตามวัย สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง และมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย และยอมรับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามวัย หน้า 23 จาก 109


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น โครงการ : โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อส่งเสริมให้เด็กระดับปฐมวัย มีพัฒนาการด้านสติปัญญาดี มีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม อย่างตั้งใจรักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กระดับปฐมวัย มีพัฒนาการด้านสติปัญญาดี มีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม อย่างตั้งใจ รักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย หน้า 24 จาก 109


- การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ( 5 งาน ) จำนวน 2 โครงการ โครงการ : โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดกระบวนการเรียนรู้ระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อันได้แก่ ผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น ได้ตระหนักและเข้าใจถึงระบบการจัดการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งโรงเรียนจัดสิ่งอำนวย ความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน เด็กได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อันได้แก่ ผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น ได้ตระหนักและเข้าใจถึงระบบการจัดการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งโรงเรียนจัดสิ่งอำนวย ความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน เด็กได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 หน้า 25 จาก 109


- การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 โครงการ : งานจัดสรรครูระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อดําเนินการบริหารจัดการ โดยจัดครูให้เหมาะสมและครบทุกระดับชั้นตั้งแต?ระดับชั้น ปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ตลอดจนจัดครู สอนเด็กเพิ่มเติมใน กิจกรรมเสริมหลักสูตร อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ดนตรี พลศึกษา วิทยาศาสตร์สําหรับเด็ก เป็นต้น เพื่อให้เด็กได้ เรียนรู้อย่างหลากหลาย ผ่านทางครูที่จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมสําหรับเด็กระดับปฐมวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ดำเนินการบริหารจัดการ โดยจัดครูให้เหมาะสมและครบทุกระดับชั้นตั้งแต?ระดับชั้น ปฐมวัยปีที่ 1 – 3 ตลอดจนจัดครู สอนเด็กเพิ่มเติมใน กิจกรรมเสริมหลักสูตร อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ดนตรี พลศึกษา วิทยาศาสตร์สําหรับเด็ก เป็นต้น เพื่อให้เด็กได้ เรียนรู้อย่างหลากหลาย ผ่านทางครูที่จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมสําหรับเด็กระดับปฐมวัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หน้า 26 จาก 109


สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการพัฒนาศักยภาพครูระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อคณะครูระดับปฐมวัยโรงเรียนมารีวิทยา ได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ และด้านคุณธรรม ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อย่างต่อเนื่อง นําความรู้และประสบการณ์ได้รับการพัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลต่อศักยภาพของผู้เรียน พัฒนาขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : คณะครูระดับปฐมวัยโรงเรียนมารีวิทยา ได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ และด้านคุณธรรม ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อย่างต่อเนื่อง นําความรู้และประสบการณ์ได้รับการพัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลต่อศักยภาพของ ผู้เรียนพัฒนาขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ หน้า 27 จาก 109


โครงการ : งานนิเทศการจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูระดับปฐมวัย มีความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัยและนำมาประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการชั้นเรียน ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ครูบริหารจัดการชั้นเรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก จัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ตลอดจนครูนำผลการนิเทศมาปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูระดับปฐมวัย มีความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัยและนำมาประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการชั้นเรียน ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ครูบริหารจัดการชั้นเรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก จัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ตลอดจนครูนำผลการนิเทศมาปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : งานอนุบาลน่าอยู่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้บุคลากรระดับปฐมวัยมีความรู้ หน้า 28 จาก 109


ความเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ทั้งภายในและภาย นอกห้องเรียน ปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้มีความสะดวก ปลอดภัย เพียงพอกับความต้องการ สร้างจิตสํานึกที่ดีในการมีส่วนร่วมดูแลรักษาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศภายในและนอกห้องเรียน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : บุคลากรระดับปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ทั้งภายในและภาย นอกห้องเรียน ปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้มีความสะดวก ปลอดภัย เพียงพอกับความต้องการ สร้างจิตสํานึกที่ดีในการมีส่วนร่วมดูแลรักษาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศภายในและนอกห้องเรียน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : งานสร้างสื่อสร้างสรรค์ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูระดับปฐมวัย พัฒนาการผลิตสื่อการเรียนรู้สําหรับเด็กอย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงการใช้สื่อ ได้อย่างคุ้มค่า นําสื่อการเรียนรู้มาพัฒนาเด็กอย่างหลากหลาย เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง และมีความสนใจในการเรียนรู้โดยผ่านทางสื่อสร้างสรรค์ซึ่งที่มีทั้งของจริงและที่ครูผลิตขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.80 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูระดับปฐมวัย พัฒนาการผลิตสื่อการเรียนรู้สําหรับเด็กอย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงการใช้สื่อ ได้อย่างคุ้มค่า นําสื่อการเรียนรู้มาพัฒนาเด็กอย่างหลากหลาย เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง และมีความสนใจในการเรียนรู้โดยผ่านทางสื่อสร้างสรรค์ซึ่งที่มีทั้งของจริงและที่ครูผลิตขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หน้า 29 จาก 109


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : งานประกันคุณภาพระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : โรงเรียนตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน นําผลการประเมินมาจัดทําข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียน และนํามาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงานต้นสังกัด และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมิน จากองค์กรภายนอกเพื่อนําไปสู่การรับรองคุณภาพการ ศึกษา ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : โรงเรียนตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน นําผลการประเมินมาจัดทําข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียน และนํามาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงานต้นสังกัด และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมิน จากองค์กรภายนอกเพื่อนําไปสู่การรับรองคุณภาพการ ศึกษา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย หน้า 30 จาก 109


- การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสําคัญ (2 งาน) จำนวน 4 โครงการ โครงการ : โครงการสำรวจโลกกว้างกับทัศนศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้เด็กระดับปฐมวัย ได้รับประสบการณ์ตรง เห็นถึงความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ มีความกระตือรือร้นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษานอกสถานที่ ตลอดจนนำความรู้จากแหล่งเรียนรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์และปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมตามวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กระดับปฐมวัย ได้รับประสบการณ์ตรง เห็นถึงความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ มีความกระตือรือร้นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษานอกสถานที่ ตลอดจนนำความรู้จากแหล่งเรียนรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์และปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมตามวัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน หน้า 31 จาก 109


3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการคุณหนูเรียนสนุกกับ Project สร้างสรรค์ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้เด็กระดับปฐมวัย ได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ มีเหตุผล สามารถแก้ปัญหาได้ สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้สื่อสารหรือถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นเข้าใจได้ อีกทั้งแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยผ่านทางกระบวนการเรียนรู้ในทักษะการเรียนรู้ด้านต่างๆ ตลอดจนเป็นการสร้างความสัมพันะ์อันดีระหว่าง บ้าน โรงเรียน และชุมชน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 99.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : เด็กระดับปฐมวัย ได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ มีเหตุผล สามารถแก้ปัญหาได้ สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้สื่อสารหรือถ่ายทอดเรื่องราวให้ผู้อื่นเข้าใจได้ อีกทั้งแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยผ่านทางกระบวนการเรียนรู้ในทักษะการเรียนรู้ด้านต่างๆ ตลอดจนเป็นการสร้างความสัมพันะ์อันดีระหว่าง บ้าน โรงเรียน และชุมชน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล หน้า 32 จาก 109


- การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ โครงการ : โครงการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูและเด็กระดับปฐมวัย ได้รับการพัฒนาจากการไปเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน ตลอดจนชุมชน ท้องถิ่นที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูและเด็กระดับปฐมวัย ได้รับการพัฒนาจากการไปเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน ตลอดจนชุมชน ท้องถิ่นที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หน้า 33 จาก 109


- มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการพัฒนาบทบาทพ่อแม่ยุคใหม่ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างคุณครูและผู้ปกครอง ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการศึกษาปฐมวัย อีกทั้งส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างคุณครูและผู้ปกครอง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : งานวิจัยในชั้นเรียนสู่การพัฒนาเด็ก เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูระดับปฐมวัยสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ตลอดจนสามารถนําแนวทางที่ได้จากการวิจัยมาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อร่วมกันพัฒนางานวิจัยให้มีความก้าวหน้ หน้า 34 จาก 109


ายิ่งขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูระดับปฐมวัยสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ตลอดจนสามารถนําแนวทางที่ได้จากการวิจัยมาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อร่วมกันพัฒนางานวิจัยให้มีความก้าวหน้ ายิ่งขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : งานเยี่ยมบ้าน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน ผู้ปกครองกับครูประจำชั้น ตลอดจนสร้างความเข้าใจและให้ความร่วมมือกันในการดูและ เอาใจใส่และพัฒนาเด็กความสามารถ และตามพัฒนาการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน ผู้ปกครองกับครูประจำชั้น ตลอดจนสร้างความเข้าใจและให้ความร่วมมือกันในการดูและ เอาใจใส่และพัฒนาเด็กความสามารถ และตามพัฒนาการได้อย่างเหมาะสมตามวัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ หน้า 35 จาก 109


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก โครงการ : โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูและนักเรียนระดับปฐมวัยเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะของเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรียนได้อย่างมีความสุข โรงเรียนมี บรรยากาศของความรัก-เมตตา ซื่อสัตย์ และมีภูมิคุ้มกันที่ดี อีกทั้ง ผู้ปกครองและชุมชนให้การยอมรับและไว้วางใจให้ทางโรงเรียนเป็นผู้อบรม ปลูกฝังนักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณภาพ ของสังคม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูและนักเรียนระดับปฐมวัยเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะของเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของโรงเรียนได้อย่างมีความสุข โรงเรียนมีบรรยากาศของความรัก-เมตตา ซื่อสัตย์ และมีภูมิคุ้มกันที่ดี อีกทั้ง ผู้ปกครองและชุมชนให้การยอมรับและไว้วางใจให้ทางโรงเรียนเป็นผู้อบรม ปลูกฝังนักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 หน้า 36 จาก 109


- การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : งานกิจการคาทอลิกระดับปฐมวัย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เพื่อให้ครูและนักเรียนทุกคนเห็นคุณค่าของพิธีกรรม กิจกรรมทางศาสนา และนำหลัก คำสอน การปฏิบัติตามหลักคำสอน โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินชีวิตตามคุณค่าพระวรสาร สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูและนักเรียนทุกคนเห็นคุณค่าของพิธีกรรม กิจกรรมทางศาสนา และนำหลัก คำสอน การปฏิบัติตามหลักคำสอน โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินชีวิตตามคุณค่าพระวรสาร สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) หน้า 37 จาก 109


ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะข้ามวัฒนธรรม หน้า 38 จาก 109


1.2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 : มาตรฐานที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โครงการ : โครงการส่งเสริมการอ่านออก เขียนได้ รักการอ่าน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนได้รับการพัฒนาการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ภาษาไทย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.72 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนได้พัฒนาการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ภาษาไทย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย โครงการ : โครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนมีความสามารถในการคำนวณเลขและนำทักษะที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 92.42 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนมีความสามารถในการคำนวณเลขและนำทักษะที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน หน้า 39 จาก 109


- การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการยกระดับทักษะความสามารถภาษาอังกฤษและภาษาจีน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน สามารถ พูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารได้ดี และร้องเพลงภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลางได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 84.65 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลาง ในการอ่าน การเขียน การฟัง และมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก มากขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 – ป.6 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 93.71 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียน ระดับชั้น ป.1 – ป.6 ร่วมมือในการทำงานเป็นทีม สามารถคิดวิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ หน้า 40 จาก 109


การคิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์แลกเปลี่ยนความคิด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนเกิดความสนใจ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ให้นักเรียนรู้จักการนำความรู้จากแหล่งเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.33 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียน ระดับชั้น ป.1 – ม.6 ร่วมกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ ได้รับประสบการณ์ตรง ได้รับการพัฒนาตนเองใน การเรียนรู้ และมีความรู้เพิ่มจากประสบการณ์ตรงอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ หน้า 41 จาก 109


- มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการส่งเสริมการเรียนรู้แบบ STEM Education เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียน ป.1 - ม.6 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างนวัตกรรมที่เหมาะสม ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 91.32 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียน ป.1 - ม.6 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมที่เหมาะสม ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีม นำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ให้กับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โครงการ : โครงการห้องเรียนนวัตกรรมส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 หน้า 42 จาก 109


เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา มีความสามารถในกระบวนการคิดการสร้างนวัตกรรม นำความรู้ในห้องเรียนไปต่อยอดในการประกอบอาชีพและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา สามารถนำกระบวนการคิดสร้างสรรคฺ์ ได้เรียนรู้พัฒนากระบวนการการปฏิบัติจริง สร้างนวัตกรรมส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในห้องเรียนไปต่อยอดในการประกอบอาชีพและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ โครงการ : โครงการอบรมทักษะการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียน ป.1 - ม.6 ทุกคนมีความรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล หน้า 43 จาก 109


และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียน ป.1 - ม.6 ได้รับการอบรมและสืบค้นความรู้ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง คิดเป็น ทำเป็น ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ สามารถนำ ICT มาใช้เป็นเครื่องมือสืบค้นข้อมูล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โครงการ : โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในโรงเรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 75.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้คะแนนค่าเฉลี่ย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 78.92 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้คะแนนค่าเฉลี่ย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 หน้า 44 จาก 109


- การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 โครงการ : โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อมีงานทำ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียน ป.1 - ม.6 มีความสามารถในกระบวนการคิด มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอาชีพตามความต้องการของสังคมในยุคปัจจุบัน ค้นพบความถนัดและความต้องการประกอบอาชีพในอนาคต มีทักษะพื้นฐานและค่านิยม เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และการมีงานทำ ตระหนักถึงการมีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ นำความรู้ในห้องเรียนไปต่อยอดในการประกอบอาชีพและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 93.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้เรียนรู้ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำของจังหวัดปราจีนบุรี และใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะข้ามวัฒนธรรม หน้า 45 จาก 109


- มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการคุณธรรมนำทาง ศาสนธรรมนำใจ ใฝ่ประพฤติดี นำชีวีมีสุข เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนป.1 - ม.6 ที่เป็นพุทธสาสนิกทุกคนมีความตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษาและปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนาศาสนา เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เปิดใจยอมรับและเรียนรู้ สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนป.1 - ม.6 ที่เป็นพุทธสาสนิกทุกคนมีความตระหนักและเห็นคุณค่าของการศึกษาและปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนาศาสนา เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เปิดใจยอมรับและเรียนรู้ สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (การให้คำปรึกษา เยี่ยมบ้าน) เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 พัฒนาเต็มตามศักยภาพ อบอุ่น รู้จักตนเองและควบคุมตนเองได้ มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างครู ผู้ปกครอง สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.60 หน้า 46 จาก 109


ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 ได้รับการดูแลช่วยเหลือและแก้ปัญหาถูกต้องตามสภาพของปัญหารวมทั้งแก้ปัญหาได้ทันท่วงที และมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างครู ผู้ปกครอง สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : งานกิจการนักเรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกระดับชั้น ได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย ได้สืบทอดอนุรักษ์ไว้ ซึ่งวัฒนธรรมไทย มีบุคลิกภาพที่ดี มีจิตสำนึกในการทำประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นป.1 - ม.6 ทุกคนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย ได้สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมที่สำคัญของท้องถิ่น ได้รับการยอมรับและชื่นชมจากชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย หน้า 47 จาก 109


- การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการส่งเสริมความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกระดับชั้น ได้มีการบูรณาการการเรียนการสอน เรียนรู้ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย จากประสบการณ์จริง และปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมไทย ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเข้าร่วมกิจกรรมในโอกาสวันสำคัญต่างๆ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 91.20 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกระดับชั้น ได้มีการบูรณาการการเรียนการสอน เรียนรู้ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย จากประสบการณ์จริง และปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมไทย ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเข้าร่วมกิจกรรมในโอกาสวันสำคัญต่างๆ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : หน้า 48 จาก 109


1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการอบรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เรื่อง การเงินพอเพียง เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องต้น มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความประหยัด ใช้ทรัพย์สินของส่วนตน และส่วนรวมอย่าง คุ้มค่า ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 96.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีวินัย ความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องต้น มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีความกตัญญูกตเวที มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความประหยัด ใช้ทรัพย์สินของส่วนตน และส่วนรวมอย่าง คุ้มค่า สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน หน้า 49 จาก 109


เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน มีความตระหนัก กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและเห็นความสำคัญของการปกครองแบบประชาธิปไตย รู้จักวางแผนการทำงานร่วมกัน ทำงานอย่างมีระบบ โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และภูมิใจในผลงานของตนเอง ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.08 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน มีความตระหนัก กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและเห็นความสำคัญของการปกครองแบบประชาธิปไตย รู้จักวางแผนการทำงานร่วมกัน ทำงานอย่างมีระบบ โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และภูมิใจในผลงานของตนเอง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : โครงการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยที่ดี เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายสม่ำเสมอ มีน้ำหนักส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยและปัญหาทางเพศ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 93.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายสม่ำเสมอ หน้า 50 จาก 109


Click to View FlipBook Version