The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปี 65 รายงาน SAR ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sayamon boosri, 2023-07-11 22:59:58

SAR ปี 65

ปี 65 รายงาน SAR ฉบับสมบูรณ์

มีน้ำหนักส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยและปัญหาทางเพศ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ โครงการ : โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ( TO BE NUMBER ONE ) เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน ผู้ปกครองและชุมชน ให้ความร่วมมือในการป้องกัน ให้ห่างไกลจากบุหรี่ สุรา ยาเสพติด สื่อลามกอนาจาร ปัญหาโรคเอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การพนัน และเหตุทะเลาะวิวาท มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคน ผู้ปกครองและชุมชน ให้ความร่วมมือในการป้องกัน ให้ห่างไกลจากบุหรี่ สุรา ยาเสพติด สื่อลามกอนาจาร ปัญหาโรคเอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การพนัน และเหตุทะเลาะวิวาท มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี หน้า 51 จาก 109


- มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ เนตรนารี เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.2 เข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีทักษะกระบวนการทางลูกเสือ มีระเบียบวินัย มีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในหมู่คณะได้อย่างสร้างสรรค์ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.2 เข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีทักษะกระบวนการทางลูกเสือ มีระเบียบวินัย มีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในหมู่คณะได้อย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หน้า 52 จาก 109


- ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : งานวัดผล - ประเมินผล เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นป.1 - ม.6 มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.30 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นป.1 - ม.6 มีผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข หน้า 53 จาก 109


- มีจิตอาสา โครงการ : กิจกรรมปลูกจิตสำนึก ฝึกจิตอาสา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 มีจิตสำนึกที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 96.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 มีความตระหนักและเห็นคุณค่าของจิตอาสา จิตสาธารณะ ในการช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและ พึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา ยุทธศาสตร์ที่ 2 : มาตรฐานที่ 2 พัฒนาคุณภาพกระบวนการและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา โครงการ : โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีสารสนเทศเป็นระบบ ครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : โรงเรียนดำเนินการจัดระบบประกันคุณภาพภายในที่มีคุณภาพ ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ และส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ส่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี / สช. ได้ตามเวลาที่กำหนด สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หน้า 54 จาก 109


สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : งานวิจัยความพึงพอใจของผู้ปกครอง เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : โรงเรียนมีข้อมูลการประเมินความพึงพอใจและความต้องการของผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารงานของโรงเรียนมารีวิทยา 3 ด้าน คือ ด้านคุณภาพผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 84.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : โรงเรียนมีข้อมูลการประเมินความพึงพอใจและความต้องการของผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารงานของโรงเรียนมารีวิทยา 3 ด้าน คือ ด้านคุณภาพผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ หน้า 55 จาก 109


- มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา โครงการ : โครงการสื่อสัมพันธ์มารีฯสู่ชุมชน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : บุคลากร ชุมชน หน่วยงานภายนอก รับทราบความเคลื่อนไหวของโรงเรียนผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ มีทัศนคติเชิงบวกต่อโรงเรียน และชุมชนเข้ามามีบทบาทกับทางโรงเรียนมากขึ้น มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 93.40 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : บุคลากร ชุมชน หน่วยงานภายนอก รับทราบความเคลื่อนไหวของโรงเรียนผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ มีทัศนคติเชิงบวกต่อโรงเรียน และชุมชนเข้ามามีบทบาทกับทางโรงเรียนมากขึ้น มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โครงการ : โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตครูมารีวิทยา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : คณะครูโรงเรียนมารีวิทยา มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน ปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 92.01 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : คณะครูโรงเรียนมารีวิทยา มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน ปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ หน้า 56 จาก 109


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการพัฒนาศักยภาพครูมารีวิทยา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : คณะครูได้รับการพัฒนาให้ความรู้ ประสบการณ์และมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ได้ นำมาถ่ายทอดสู่ผู้เรียน และนำมาใช้เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในวิชาชีพก้าวไปสู่ครูมืออาชีพได้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 92.46 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : คณะครูได้รับการพัฒนาให้ความรู้ ประสบการณ์และมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ได้ นำมาถ่ายทอดสู่ผู้เรียน และนำมาใช้เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในวิชาชีพก้าวไปสู่ครูมืออาชีพได้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต หน้า 57 จาก 109


2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โครงการ : งานจราจรดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ครู และผู้ปกครอง ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรอย่างเคร่งครัด เชื่อมั่นในการดูแลและได้รับความปลอดภัยในการข้ามถนน การป้องกันตนเองจากอุบัติภัยต่างๆ ตลอดปีการศึกษา ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.30 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครู และผู้ปกครอง ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรอย่างเคร่งครัด เชื่อมั่นในการดูแลและได้รับความปลอดภัยในการข้ามถนน การป้องกันตนเองจากอุบัติภัยต่างๆ ตลอดปีการศึกษา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการทุนพ่อลัมแบรต์เพื่อการศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนเรียนดีแต่ขาดแคลนปัจจัยในการศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษา และเป็นการเชิดชูเกียรตินักเรียน ที่สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับนักเรียนเรียนดี และมีความสามารถสร้างชื่อเสียง ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 91.80 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนเรียนดีแต่ขาดแคลนปัจจัยในการศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษา และเป็นการเชิดชูเกียรตินักเรียน ที่สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้กับนักเรียนเรียนดี และมีความสามารถสร้างชื่อเสียง หน้า 58 จาก 109


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : งานวิชาการ - หลักสูตร เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 ได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ - หลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 ได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ - หลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต หน้า 59 จาก 109


- มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ โครงการ : งานระบบ IT / การใชั ICT เพื่อการเรียนรู้ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : โรงเรียนพัฒนาระบบ ICT เพื่อการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 100.00 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : โรงเรียนพัฒนาระบบ ICT เพื่อการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ โครงการ : โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สถานที่ สะอาด ปลอดภัย เสริมสร้างการเรียนรู้ ( 5 ส / 5 R ) เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ครูและนักเรียนทุกคนมีจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการประหยัดความเป็นระเบียบช่วยกันรักษาความสะอาด โรงเรียนปลอดขยะ ถูกสุขลักษณะ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 98.81 หน้า 60 จาก 109


ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูและนักเรียนทุกคนมีจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการประหยัดความเป็นระเบียบช่วยกันรักษาความสะอาด โรงเรียนปลอดขยะ ถูกสุขลักษณะ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค โครงการ : งานบริหารธุรการ – การเงิน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : การบริหารงาน ระบบงานการเงิน การบัญชี และพัสดุ ครุภัณฑ์ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และงานการบริการให้กับครู ผู้ปกครอง นักเรียน มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.20 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : การบริหารงาน ระบบงานการเงิน การบัญชี และพัสดุ ครุภัณฑ์ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และงานการบริการให้กับครู ผู้ปกครอง นักเรียน มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร หน้า 61 จาก 109


5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มาตรฐานที่ 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โครงการ : โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้พัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ดี มีความสุขในการเรียน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.80 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้พัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ดี มีความสุขในการเรียน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ หน้า 62 จาก 109


- มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการสนองพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง รัชกาลที่ 10 และเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ผ่านการเข้าร่วมและเรียนรู้ ได้ทำกิจกรรมของโรงเรียนมารีวิทยา ตามพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในการจัดการศึกษาที่สร้างพื้นฐานให้นักเรียนเป็นคนดีและพัฒนาให้เป็นคนเก่ง ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 95.32 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ผ่านการเข้าร่วมและเรียนรู้ ได้ทำกิจกรรมของโรงเรียนมารีวิทยา ตามพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในการจัดการศึกษาที่สร้างพื้นฐานให้นักเรียนเป็นคนดีและพัฒนาให้เป็นคนเก่ง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน หน้า 63 จาก 109


- มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : งานนิเทศการเรียนการสอน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ครูทุกระดับสายชั้นได้รับการนิเทศแบบกัลยาณมิตร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำผลการนิเทศไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 92.80 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : ครูทุกระดับสายชั้นได้รับการนิเทศแบบกัลยาณมิตร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำผลการนิเทศไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีจิตอาสา โครงการ : งานแหล่งเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 หน้า 64 จาก 109


เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 มีความสนใจศึกษาหาความรู้ จาก สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใช้แหล่งเรียนรู้สู่กลุ่มสาระการเรียนรู้ และเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อหาความรู้อย่างหลากหลาย ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 96.25 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ม.6 มีความสนใจศึกษาหาความรู้ จาก สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใช้แหล่งเรียนรู้สู่กลุ่มสาระการเรียนรู้ และเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อหาความรู้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาคาทอลิก โครงการ : โครงการส่งเสริมเอกลักษณ์ - อัตลักษณ์ของโรงเรียน เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนและครูทุกคน การดำเนินชีวิตตามเอกลักษณ์ - อัตลักษณ์ของโรงเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ถูกต้อง มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 94.61 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนและครูทุกคน การดำเนินชีวิตตามเอกลักษณ์ - อัตลักษณ์ของโรงเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ถูกต้อง มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน หน้า 65 จาก 109


- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา โครงการ : โครงการส่งเสริมคุณค่าพระวรสาร เป้าหมายเชิงปริมาณ : 90.00 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคนเห็นคุณค่าของพิธีกรรม กิจกรรมทางศาสนา และนำหลัก คำสอน การปฏิบัติตามหลักคำสอน โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินชีวิตตามคุณค่าพระวรสาร สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลสำเร็จเชิงปริมาณ : 97.60 ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ : นักเรียนทุกคนเห็นคุณค่าของพิธีกรรม กิจกรรมทางศาสนา และนำหลัก คำสอน การปฏิบัติตามหลักคำสอน โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินชีวิตตามคุณค่าพระวรสาร สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ : 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) หน้า 66 จาก 109


ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 : 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา หน้า 67 จาก 109


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2.1. ระดับปฐมวัย 2.1.1. ผลการพัฒนาเด็ก ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ ผลพัฒนาการด้าน ดี พอใช้ ปรับปรุง จํานวน เด็กท้ังหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ด้านร่างกาย 409 403 98.53 6 1.47 0 0.00 ด้านอารมณ์-จิตใจ 409 402 98.29 7 1.71 0 0.00 ด้านสังคม 409 403 98.53 6 1.47 0 0.00 ด้านสติปัญญา 409 404 98.78 5 1.22 0 0.00 หน้า 68 จาก 109


2.2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.2.1. จํานวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา ระดับผลการเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ รายวิชา จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ จำ นวน นัก เรียน ผล การ เรียน 3 ขึ้น ไป ร้อย ละ คณิตศาสตร์ 125 118 94.4 0 154 133 86.3 6 136 125 91.9 1 173 134 77.4 6 186 111 59.6 8 158 106 67.0 9 ภาษาไทย 125 118 94.4 0 154 130 84.4 2 136 119 87.5 0 173 152 87.8 6 186 168 90.3 2 158 138 87.3 4 สังคม ศาสนา และ วัฒนธรรม 125 111 88.8 0 154 128 83.1 2 136 126 92.6 5 173 165 95.3 8 186 160 86.0 2 158 106 67.0 9 ประวัติศาสตร์ 125 111 88.8 0 154 121 78.5 7 136 127 93.3 8 173 169 97.6 9 186 153 82.2 6 158 101 63.9 2 สุขศึกษาและ พลศึกษา 125 125 100. 00 154 154 100. 00 136 136 100. 00 173 173 100. 00 186 177 95.1 6 158 158 100. 00 ศิลปะ 125 125 100. 00 154 154 100. 00 136 136 100. 00 173 173 100. 00 186 186 100. 00 158 158 100. 00 การงานอาชีพ 125 125 100. 00 154 154 100. 00 136 136 100. 00 173 173 100. 00 186 186 100. 00 158 158 100. 00 ภาษาต่างประ เทศ 125 112 89.6 0 154 118 76.6 2 136 133 97.7 9 173 133 76.8 8 186 113 60.7 5 158 83 52.5 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโล ยี 125 119 95.2 0 154 138 89.6 1 136 134 98.5 3 173 161 93.0 6 186 150 80.6 5 158 138 87.3 4 หน้า 69 จาก 109


ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 1 ระดับผลการเรียน ม.1 ม.2 ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 112 72 64.29 115 63 54.78 96 46 47.92 ภาษาไทย 112 60 53.57 115 65 56.52 96 59 61.46 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 112 76 67.86 115 83 72.17 96 68 70.83 ประวัติศาสตร์ 112 63 56.25 115 83 72.17 96 59 61.46 สุขศึกษาและพลศึกษา 112 111 99.11 115 114 99.13 96 95 98.96 ศิลปะ 112 97 86.61 115 102 88.70 96 70 72.92 การงานอาชีพ 112 106 94.64 115 103 89.57 96 85 88.54 ภาษาต่างประเทศ 112 43 38.39 115 57 49.57 96 58 60.42 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 112 84 75.00 115 97 84.35 96 67 69.79 หน้า 70 จาก 109


ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ระดับผลการเรียน ม.1 ม.2 ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 115 79 68.70 116 76 65.52 96 56 58.33 ภาษาไทย 115 43 37.39 116 73 62.93 96 26 27.08 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 115 86 74.78 116 96 82.76 96 75 78.12 ประวัติศาสตร์ 115 79 68.70 116 92 79.31 96 68 70.83 สุขศึกษาและพลศึกษา 115 114 99.13 116 116 100.00 96 96 100.00 ศิลปะ 115 111 96.52 116 106 91.38 96 95 98.96 การงานอาชีพ 115 97 84.35 116 114 98.28 96 52 54.17 ภาษาต่างประเทศ 115 55 47.83 116 63 54.31 96 58 60.42 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 115 95 82.61 116 98 84.48 96 64 66.67 หน้า 71 จาก 109


ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 1 ระดับผลการเรียน ม.4 ม.5 ม.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 91 46 50.55 74 71 95.95 74 45 60.81 ภาษาไทย 91 70 76.92 74 64 86.49 74 68 91.89 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 91 78 85.71 74 66 89.19 74 63 85.14 ประวัติศาสตร์ 91 72 79.12 74 70 94.59 74 70 94.59 สุขศึกษาและพลศึกษา 91 91 100.00 74 74 100.00 74 74 100.00 ศิลปะ 91 64 70.33 74 74 100.00 74 60 81.08 การงานอาชีพ 91 65 71.43 74 73 98.65 74 73 98.65 ภาษาต่างประเทศ 91 78 85.71 74 60 81.08 74 60 81.08 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 91 68 74.73 74 59 79.73 74 62 83.78 หน้า 72 จาก 109


ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ระดับผลการเรียน ม.4 ม.5 ม.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้/ รายวิชา จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นัก เรียน ผลการ เรียน 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 91 58 63.74 75 73 97.33 74 45 60.81 ภาษาไทย 91 72 79.12 75 63 84.00 74 70 94.59 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 91 85 93.41 75 68 90.67 74 62 83.78 ประวัติศาสตร์ 91 73 80.22 75 67 89.33 74 66 89.19 สุขศึกษาและพลศึกษา 91 91 100.00 75 75 100.00 74 74 100.00 ศิลปะ 91 90 98.90 75 75 100.00 74 73 98.65 การงานอาชีพ 91 82 90.11 75 70 93.33 74 65 87.84 ภาษาต่างประเทศ 91 82 90.11 75 70 93.33 74 60 81.08 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 91 68 74.73 75 68 90.67 74 58 78.38 หน้า 73 จาก 109


2.5.2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 158 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 156 28.06 34.29 48.22 32.64 วิทยาศาสตร์ 156 39.34 45.57 40.39 43.40 ภาษาไทย 156 53.89 64.79 60.78 53.44 ภาษาอังกฤษ 156 37.62 62.10 67.53 50.92 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ปี 2565 จำนวนนักเรียน 158 คน เข้าสอบ 156 คน / ปี 2564 จำนวนนักเรียน 177 คน เข้าสอบ 64 คน เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 96 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 94 24.39 26.00 21.03 24.66 วิทยาศาสตร์ 94 33.32 32.18 31.17 33.44 ภาษาไทย 94 52.95 61.54 56.40 55.33 ภาษาอังกฤษ 94 32.05 40.61 35.52 33.38 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ปี 2565 นักเรียน ม.3 จำนวน 96 คน เข้าสอบ 94 คน / ปี 2564 นักเรียน ม.3 จำนวน 115 คน เข้าสอบ 79 คน เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 74 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 คณิตศาสตร์ 74 21.61 25.60 0.00 22.06 วิทยาศาสตร์ 74 28.08 33.32 0.00 27.12 ภาษาไทย 74 44.09 43.65 0.00 41.42 ภาษาอังกฤษ 74 23.44 30.43 0.00 27.20 หน้า 74 จาก 109


คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชา จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2565 2563 2564 2565 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 74 33.00 36.64 0.00 33.33 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ปี 2565 นักเรียน ม.6 จำนวน 74 คน เข้าสอบ 74 คน / ปี 2564 นักเรียน ม.6 จำนวน 50 คน ไม่ได้เข้าสอบวัดผล 50 คน หน้า 75 จาก 109


2.6.3. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 136 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบสมรรถ สมรรถนะ นะ จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 ด้านภาษาไทย (Thai Language) 136 55.86 52.76 0.00 77.66 ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) 136 49.12 44.23 0.00 77.90 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ปี 2564 ไม่ได้เข้าสอบ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด Covid - 19 2.7.4. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดัานการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 125 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ความสามารถด้านการอ่าน จํานวนนักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศปี 2565 2563 2564 2565 อ่านรู้เรื่อง 125 77.19 77.79 0.00 84.48 อ่านออกเสียง 125 77.38 89.70 0.00 84.73 โรงเรียนไม่สอบวัดผล หรือสอบไม่ครบ ปี 2565 จำนวนนักเรียน 125 คน เข้าสอบ 125 คน / ปี 2564 จำนวนนักเรียน 151 คน ไม่ได้สอบ 151 คน เนื่องจากสถานกา รณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 หน้า 76 จาก 109


2.8.5. ผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ค่าประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษ จากหน่วยงานทดสอบภาษาอังกฤษที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง ระดับประถมศึกษา ระดับผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ระดับชั้น จํานวน นักเรียน ทั้งหมด จํานวน นักเรียน ที่เข้าสอบ PreA1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 ผ่านการทดสอบอื่น ๆ (TOEIC,IEFL,TOEFL เปรียบเทียบ ตารางมาตรฐาน) ประถมศึกษาปีที่ 1 125 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาปีที่ 2 154 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาปีที่ 3 136 0 0 0 0 0 0 0 0 ประถมศึกษาปีที่ 4 173 62 0 25 23 9 0 0 0 57 ประถมศึกษาปีที่ 5 186 57 0 18 17 19 0 0 0 54 ประถมศึกษาปีที่ 6 158 69 0 22 20 20 0 0 0 62 ระดับมัธยมศึกษา ระดับผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ระดับชั้น จํานวน นักเรียน ทั้งหมด จํานวน นักเรียน ที่เข้าสอบ PreA1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 ผ่านการทดสอบอื่น ๆ (TOEIC,IEFL,TOEFL เปรียบเทียบ ตารางมาตรฐาน) มัธยมศึกษาปีที่ 1 115 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศึกษาปีที่ 2 116 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศึกษาปีที่ 3 96 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศึกษาปีที่ 4 92 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศึกษาปีที่ 5 75 0 0 0 0 0 0 0 0 มัธยมศึกษาปีที่ 6 74 0 0 0 0 0 0 0 0 หน้า 77 จาก 109


3. จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ อนุบาลปีที่ 3 120 120 100.00 ประถมศึกษาปีที่ 6 158 158 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 3 96 96 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 74 74 100.00 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation/Best Practice) ชื่อ นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ระดับการศึกษา มาตรฐานด้าน Pongpang and the 5 food groups ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ฺButterfly ผีเสื้อแสนงาม ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก โทรศัพท์มือถือ Mobile Phone ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ปลาหางนกยูงฟรุ้งฟริ้ง (Guppy Fish) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผู้พิทักษ์ รักษ์ต้องเลิก Garbage Ranger ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ช...ช้อนสร้างสรรค์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน จิ๋วแต่แจ๋ว ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน โคมไฟหรรษา (Technolo lamp) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน อุโมงค์ฆ่าเชื้อพิชิตโควิด ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน Powerpubegg ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนกา รสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ CHEWY CASSAVA BUBBLE ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนกา รสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5. รางวัลที่สถานศึกษาได้รับ ชื่อรางวัล ประเภท รางวัล ระดับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ปีที่ได้รับ รางวัล รางวัลชนะเลิศ การประกวดCGN Virtual Solo & Ensemble Competition 2022 นักเรียน ภาค/ประเทศ องค์กร CGN United Nethe rlands 2565 เกียรติบัตร รางวัลครูต้นแบบ ของคุรุสภา งานวันครู ครั้งที่ 67 / ปี 2566 “ พลังครูยุ คใหม่ สร้างคุณภาพคนไทยสู่สากล ” ครู เขตพื้นที่/จังหวัด คุรุสภาจังหวัด สำนักงานศึกษ าธิการจังหวัดปราจีนบุรี 2565 หน้า 78 จาก 109


ชื่อรางวัล ประเภท รางวัล ระดับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ปีที่ได้รับ รางวัล โล่ และ เกียรติบัตร รางวัลสดุดีครูเอกชน ครู ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา น และส่งเสริมการศึกษาเอก ชน ( ปส.กช. ) 2565 รางวัล “ ผู้บริหาร ครูเอกชนดีเด่น ” ภาค ตะวันออก (Private School Administra tors and Teachers of the Year 2023 ) ประจำปี 2566 ครู ภาค/ประเทศ สมาคมคณะกรรมการประสา นและส่งเสริมการศึกษาเอกช น ( ปส.กช. ) 2565 เกียรติบัตร รางวัล “ สถานศึกษาปลอดภัย ” ประจำปี 2564 ปีที่ 3 ติดต่อกัน สถานศึกษา ภาค/ประเทศ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแร งงาน 2564 รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับมัธยมศึกษา ถ้ วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นา งสาวตรีนุข เทียนทอง โครงการประกวดบ รรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ “อัครศิลปิน” ค รั้งที่ 2 นักเรียน ภาค/ประเทศ สมาคมเมโลเดียน ร่วมกับ สถ าบันส่งเสริมศักยภาพเด็กและ เยาวชนไทย สมาคมคนของแ ผ่นดิน สภาองค์กรเยาวชนคน สร้างสรรค์พัฒนาสังคม สภาอ งค์กรวัฒนธรรมไทย อาเซียน 2564 รางวัล ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบจังหวั ดปราจีนบุรี “ พลังครูยุคใหม่ สร้างคุณภา พคนไทยสู่สากล ” ผู้บริหาร เขตพื้นที่/จังหวัด คุรุสภาจังหวัด สำนักงานศึกษ าธิการจังหวัดปราจีนบุรี 2564 เกียรติบัตร ระดับดีเยี่ยม การบริหารจัดกา รควบคุมและป้องกันโรคโควิด - 19 ตามค ำแนะนำ คณะกรรมการโรคติดต่อ จังหวัด ปราจีนบุรี สถานศึกษา เขตพื้นที่/จังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อ จังห วัดปราจีนบุรี 2563 โล่รางวัล ชนะเลิศ การแช่งขันตอบปัญหา ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไมซ์ ระ ดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน ภาค/ประเทศ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยา ลัยบูรพา 2563 เกียรติบัตรรางวัล “ สถานศึกษาปลอดภัย ” ดีเด่น ประจำปี 2563 ปีที่ 2 ติดต่อกัน สถานศึกษา ภาค/ประเทศ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแร งงาน 2563 ถ้วยรางวัล ชนะเลิศ อันดับ 1 ของรัฐมนต รีกระทรวง วัฒนธรรม การประกวด Wind Ensemble THE 12th THAILAND INDO OR MARCHING COMPETTITION 2020 (TIMC) นักเรียน ภาค/ประเทศ กระทรวงวัฒนธรรมและกระ ทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 2563 หน้า 79 จาก 109


6. การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 6.1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 6.1.1. การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 6.1.2. การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 6.1.3. การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 6.2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 6.2.1. การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน 6.2.2. การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 6.2.3. การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) 6.2.4. การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 6.2.5. การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน 6.2.6. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 6.2.7. การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน 6.2.8. การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 6.3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 6.3.1. การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ 6.3.2. การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 6.4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 6.4.1. การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 6.5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล 6.5.1. การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ 6.5.2. การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา(Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 7.1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี 7.1.1. มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ 7.1.2. มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต 7.1.3. มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ 7.1.4. มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย 7.1.5. มีทักษะชีวิต หน้า 80 จาก 109


7.2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืน 7.2.1. มีทักษะทางปัญญา 7.2.2. ทักษะศตวรรษที่ 21 7.2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 7.2.4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 7.2.5. ทักษะข้ามวัฒนธรรม 7.2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 7.2.7. มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 7.3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข 7.3.1. มีความรักชาติ รักท้องถิ่น 7.3.2. รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 7.3.3. มีจิตอาสา หน้า 81 จาก 109


8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ที่ผ่านมา การประเมินรอบที่ 3 ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ประเมิน ระดับคุณภาพ ผลการรับรอง ระดับคุณภาพ ผลการรับรอง 2554 ดีมาก รับรอง ดี รับรอง การประเมินปีล่าสุด ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ประเมิน มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 2564 ดี ดี ดี ดี ดี ดี 9. หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก - สมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน - สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย - สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย - สมาคมสหพันธ์โรงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย หน้า 82 จาก 109


ส่วนที่ 4 : การประเมินตนเอง (Self - Assessment) 1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก จำนวนเด็กทั้งหมด : 409 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนเด็ก ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ 90.00 402 98.29 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของเด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน √ - 389 1.2 ร้อยละของเด็กเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี √ - 405 1.3 ร้อยละของเด็กดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและ ปฏิบัติจนเป็นนิสัย √ - 407 1.4 ร้อยละของเด็กปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความ ปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และ ระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยง อันตราย √ - 405 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 90.00 403 98.53 ยอดเยี่ยม 2.1 ร้อยละของเด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ เหมาะสม √ - 400 2.2 ร้อยละของเด็กรู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย √ - 398 2.3 ร้อยละของเด็กยอมรับและพอใจในความสามารถ และผล งานของตนเองและผู้อื่น √ - 400 2.4 ร้อยละของเด็กมีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี √ - 405 2.5 ร้อยละของเด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก √ - 403 2.6 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือแบ่งปัน √ - 403 2.7 ร้อยละของเด็กเคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทน อดกลั้น √ - 401 2.8 ร้อยละของเด็กซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม ตามที่ สถานศึกษากำหนด √ - 405 2.9 ร้อยละของเด็กมีความสุขกับศิลปะดนตรี และการ √ - 409 หน้า 83 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนเด็ก ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ เคลื่อนไหว 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 90.00 401 98.04 ยอดเยี่ยม 3.1 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประ จำวัน มีวินัย ในตนเอง √ - 402 3.2 ร้อยละของเด็กประหยัดและพอเพียง √ - 398 3.3 ร้อยละของเด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและ นอกห้องเรียน √ - 400 3.4 ร้อยละของเด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ฯลฯ √ - 405 3.5 ร้อยละของเด็กยอมรับหรือเคารพ ความแตกต่างระหว่าง บุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น √ - 404 3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัด แย้งโดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง √ - 397 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหา ความรู้ได้ 90.00 404 98.78 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ √ - 403 4.2 ร้อยละของเด็กตั้งคำถามในสิ่งที่ ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ √ - 403 4.3 ร้อยละของเด็กอ่านนิทานและเล่าเรื่อง ที่ตนเองอ่านได้ เหมาะสมกับวัย √ - 404 4.4 ร้อยละของเด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิด เชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหา และสามารถตัดสินใจในเรื่อง ง่าย ๆ ได้ √ - 406 4.5 ร้อยละของเด็กสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและ จินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่น อิสระ ฯลฯ √ - 405 4.6 ร้อยละของเด็กใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล ฯลฯ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหา ความรู้ได้ √ - 401 สรุปผลการประเมิน 98.41 ยอดเยี่ยม หน้า 84 จาก 109


จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก                  ระดับปฐมวัย   โรงเรียนมารีวิทยา  ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญ    ในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง  4  ด้าน อันได้แก่  ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์- จิตใจ  ด้านสังคมและด้านสติปัญญา  ดังนั้น จากความตระหนักลงไปสู่กระบวนการพัฒนา โรงเรียนจึงได้ดำเนินการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ดังนี้                  1.1 ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย   แข็งแรง   มีสุขนิสัยที่ดี    และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้  โรงเรียนได้มุ่งเน้นให้เด็ก  มีร่างกายเจริญเติบโต  มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว  ทรงตัวได้ดี  ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์   สามารถดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย  ปฏิบัติตนตามข้อ   ตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย   หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค   สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล   สิ่งแวดล้อม  และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตรายได้อย่างเหมาะสมตามวัย                                   1.2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ  ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้    โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาเด็ก โดยมุ่งเน้นให้เด็กระดับปฐมวัย ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย   ยอมรับ และพอใจในความสามารถ  และผลงานของตนเองและผู้อื่น   มีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี มีความมั่นใจ  กล้าพูด  กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ  รู้หน้าที่รับผิดชอบ  อดทนอดกลั้น  ซื่อสัตย์สุจริต  มีคุณธรรม จริยธรรม  ชื่นชมและ   มีความสุข กับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ระดับปฐมวัย   โรงเรียนมารีวิทยา  จึงได้ดำเนินการโดยจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างหลากหลาย เพื่อส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กอย่างต่อเนื่อง                 1.3  เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม  ช่วยเหลือตนเอง   และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม   โรงเรียนได้ดำเนินการ พัฒนาเด็ก  โดยมุ่งเน้นให้เด็กระดับปฐมวัย   สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัด และพอเพียง  มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน  มีมารยาทตาม   วัฒนธรรมไทย  เช่น  การไหว้  การยิ้ม ทักทาย   และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น   ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล   เช่น ความคิด   พฤติกรรม พื้นฐาน    ครอบครัว  เชื้อชาติ  ศาสนา  วัฒนธรรม  เป็นต้น  เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้  แก้ไขข้อขัดแย้ง โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง ระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา  จึงได้ดำเนินการโดยจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างหลากหลาย เพื่อส่งผลต่อ พัฒนาการของเด็กอย่างต่อเนื่อง                1.4  เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา  สื่อสารได้  มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้   โรงเรียนได้ ดำเนินการพัฒนาเด็ก โดยมุ่งเน้นให้เด็กระดับปฐมวัย สามารถสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตั้งคำถาม ในสิ่งที่ตนเอง สนใจหรือสงสัย   และพยายามค้นหาคำตอบ   อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย  มีความสามารถในการ คิดรวบยอด   การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์    และวิทยาศาสตร์   การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจ  ในเรื่องง่ายๆ ได้สร้างสรรค์ผลงานตามความคิด และจินตนาการ  เช่น งานศิลปะ    การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ และใช้สื่อเทคโนโลยี เป็นเครื่องมือใน  การเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้  ระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา จึงได้ดำเนินการ โดยจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างหลากหลายมากยิ่งขึ้น  หน้า 85 จาก 109


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป้าหมาย 5 ข้อ การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 5 ยอดเยี่ยม 1.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย √ - 1.2 ออกแบบจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ √ - 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลงมือปฏิบัติ (Active learning) √ - 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก ปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น √ - 1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง √ - 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 5 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดครูครบชั้นเรียน √ - 2.2 จัดครูให้มีความเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์ √ - 2.3 จัดครูไม่จบการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 2.4 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัย √ - 2.5 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัยและผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย √ - 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 3.1 มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบ หลักสูตรสถานศึกษา √ - 3.2 ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก √ - 3.3 ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สังเกต และประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล √ - 3.4 ส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัว √ - 3.5 ส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) √ - 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 5 ยอดเยี่ยม 4.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย √ - 4.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย √ - 4.3 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือ ร่วมใจ √ - 4.4 จัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ ที่ปลอดภัยและเพียงพอ เช่น √ - หน้า 86 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี การสืบเสาะหาความรู้ 4.5 จัดห้องประกอบที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก √ - 5. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 5.1 อำนวยความสะดวกและให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์และสื่อการ เรียนรู้ √ - 5.2 พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ √ - 5.3 มีการนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ √ - 5.4 มีการนำผลการนิเทศติดตามการใช้สื่อมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา √ - 5.5 ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพัฒนาสื่อ และนวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ์ √ - 6. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 5 ยอดเยี่ยม 6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัยและอัตลักษณ์ของสถานศึกษา √ - 6.2 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดและดำเนิน การตามแผน √ - 6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา √ - 6.4 มีการติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด √ - 6.5 นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม √ - สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ            โรงเรียนมารีวิทยา   ได้ดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านวิชาการ    ด้านครูและบุคลากรด้าน ข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแวดล้อม สื่อเพื่อการเรียนรู้และด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา  ติดตามการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจต่อคุณภาพการ จัดการศึกษาของโรงเรียน  ดังนี้           2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง  4  ด้าน  สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น           โรงเรียนมารีวิทยา มีหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนมารีวิทยา    กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของโรงเรียนไว้อย่างชัดเจน  มีองค์ประกอบที่สำคัญ เพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษา ระดับปฐมวัย ได้แก่  การพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพเด็กตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย  พุทธศักราช 2560  โดยโรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ของโรงเรียน   บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง    บูรณาการ Project Approach   โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน หน้า 87 จาก 109


ส่งครูเข้ารับการอบรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ครูได้เข้าใจหลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย และทำให้สอดคล้องกับ บริบทของท้องถิ่น   พิจารณาจากวัยของเด็ก  ประสบการณ์ของเด็ก  มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้านทั้งด้านร่างกาย  อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา  เพื่อให้เด็กมีความสุขในการเรียนรู้           2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน           โรงเรียน ดำเนินการบริหารจัดการ โดยจัดครูให้เหมาะสมและครบทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับชั้นปฐมวัยปีที่ 1 – 3  ตลอด จนจัดครูสอนเด็กเพิ่มเติมในกิจกรรมเสริมหลักสูตร  อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ห้องสมุด ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน  ดนตรี  พลศึกษา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างหลากหลาย ผ่านทางครูที่จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมสำหรับเด็กระดับปฐมวัย            2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์           โรงเรียน ดำเนินการพัฒนาครูให้มีศักยภาพ  โดยส่งครูเข้ารับการอบรม   เพื่อพัฒนาศักยภาพ  ครูด้านการศึกษาปฐมวัย อย่างต่อเนื่องกับสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) และหน่วยงานอื่นๆ ที่จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย  ซึ่งส่งผลให้ ครูระดับปฐมวัยทุกคน ล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย  มีทักษะในการจัด ประสบการณ์    บูรณาการลงสู่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง    Project Approach โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน   สอดแทรก คุณธรรมจริยธรรม และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล  เป็นรายกลุ่มมีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต  และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง  ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในรูปแบบ  PLC และสรุปผลการจัดประสบการณ์ร่วมกัน  กำหนดให้ครูระดับปฐมวัยทุกคนได้มีการศึกษาวิจัย  พัฒนาการจัดการเรียนรู้ใน ห้องเรียนของตนเอง  ภาคเรียนละ 1 เรื่อง  เป็นการช่วยเหลือและพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น         2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ           โรงเรียน  ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์  ต่อการพัฒนาเด็ก  ทั้งด้านร่างกาย  อารมณ์และจิตใจ สังคมและสติปัญญา เพื่อเน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง  คือ  จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ  จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  การบริหารจัดการเรียนรู้  เช่นจัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็ก ได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์  จัดให้มีอุปกรณ์  ของเล่น  ของใช้  เครื่องนอน  เครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆให้พอเพียง กับเด็ก  สะอาด  ตลอดเวลา ปลอดภัยทุกเมื่อที่ใช้ในห้องเรียน  จัดมุมประสบการณ์ต่างๆ สื่อการเรียนรู้ ที่จำเป็นต่อพัฒนาการ ของเด็กอย่างเพียงพอ และเหมาะสมกับวัย  มีเครื่องเล่นสนามที่เหมาะสมปลอดภัย  โดยจัดตารางเวลาในการลงมาเล่นเครื่อง เล่นอย่างมีระบบ   โดยมีครูดูแลเด็กให้เล่นอย่าง  ถูกวิธี  จัดให้มีพื้นที่สำหรับแปรงฟัน  ล้างมือ ทำความสะอาดร่างกาย  ห้องน้ำ พร้อมอุปกรณ์ที่จำเป็นถูกสุขลักษณะและเหมาะสมกับเด็ก           2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์           โรงเรียน มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้  มีการจัดสิ่งอำนวย  ความสะดวกให้บริการ  ด้านสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ อุปกรณ์  เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์   เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง   อีกทั้งส่งเสริมให้ครูจัดทำสื่อ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็ก  ทุกเดือน   ภาคเรียนละ 4 ชิ้น  เพื่อให้ครูสามารถคิด  สร้างสรรค์ผลิตผลงานสื่อการเรียนรู้อย่าง หลากหลาย บูรณาการสู่การสอนของครู  ได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ        2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม         โรงเรียนมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม   โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย  และอัตลักษณ์ที่โรงเรียนกำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบ คุณภาพภายในสถานศึกษา  ติดตามผลการ ดำเนินงาน   และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี  มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม  พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง หน้า 88 จาก 109


หน้า 89 จาก 109


มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จำนวนครูทั้งหมด : 23 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ 90.00 23 100.00 ยอดเยี่ยม 1.1 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล √ - 23 1.2 จัดทำแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์จากการ วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตร สถานศึกษา √ - 23 1.3 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้าน ร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา โดย ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว √ - 23 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 90.00 22 95.65 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม √ - 23 2.2 ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้อง การความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของ เด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย √ - 22 2.3 เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความ รู้ด้วยตนเอง √ - 22 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย 90.00 23 100.00 ยอดเยี่ยม 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก √ - 23 3.2 จัดให้มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบ การณ์และการจัดกิจกรรม √ - 23 3.3 จัดให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น √ - 23 3.4 ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความ สนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อของเล่นที่กระตุ้น ให้คิดและหาคำตอบ เป็นต้น √ - 23 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 90.00 23 100.00 ยอดเยี่ยม หน้า 90 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย √ - 23 4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม √ - 23 4.3 นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง √ - 23 4.4 นำผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ √ - 22 สรุปผลการประเมิน 98.91 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โรงเรียนจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน  ทั้งทางด้านร่างกาย   อารมณ์ จิตใจ   สังคม  และสติปัญญา  มีความรู้  คุณธรรม  จริยธรรม  และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต  โดยในกระบวนการเรียนรู้อย่าง หลากหลายในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เพื่อให้เด็กระดับปฐมวัย เป็นเด็กดี  เป็นเด็กเก่ง  และเป็นเด็ก ที่มีสุข สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง เหมาะสมตามวัย             3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ            ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล   จัดทำแผนการจัดประสบการณ์   จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย   โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็ก  ได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่าน การเล่น   โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม  เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ  ความสามัคคี  การแบ่งปัน  และ การรอคอย   เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข             3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง  เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข              ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม  ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ  ตามความต้องการ ความสนใจ  ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง             3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย             ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด   อากาศถ่ายเท   ปลอดภัย  มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก  พื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์และ การจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วม ในการจัดสภาพ  แวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้  ครูใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับเด็กทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มระยะความสนใจ   และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก  เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย   สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เป็นต้น หน้า 91 จาก 109


            3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมิน  พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการ จัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก             ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือ   และวิธีการที่หลากหลาย  เช่น การสังเกต การสอบถาม   การสำรวจ   วิเคราะห์ผล  การประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม   และนำผลการ ประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้ง ทำงานวิจัยและพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ   เยี่ยมบ้านเด็ก   จัดแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย    และจัดทำสารนิทัศน์ แล้วนำมาไตร่ตรองใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็กต่อไป หน้า 92 จาก 109


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน จำนวนนักเรียนทั้งหมด : 1,500 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวน นักเรียน ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคำนวณ 90.00 1,462 97.47 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการอ่านในแต่ละระดับชั้น ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด √ - 1,457 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการเขียนในแต่ละระดับชั้น ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด √ - 1,465 1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารในแต่ละระดับ ชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด √ - 1,472 1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคิดคำนวณในแต่ละดับ ชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด √ - 1,455 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลก เปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา 90.00 1,500 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ √ - 1,500 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น √ - 1,500 2.3 ร้อยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล √ - 1,500 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 90.00 1,452 96.80 ยอดเยี่ยม 3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ ได้ทั้งตัวเองและการทำงานเป็นทีม √ - 1,500 3.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้และ ประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็น แนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต √ - 1,403 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 90.00 1,500 100.00 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร √ - 1,500 4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการนำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์ √ - 1,500 หน้า 93 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวน นักเรียน ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ และมีคุณธรรม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 90.00 1,500 100.00 ยอดเยี่ยม 5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถาน ศึกษา √ - 1,500 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 90.00 1,500 100.00 ยอดเยี่ยม 6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี ในการศึกษาต่อ √ - 1,500 6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี ในการจัดการ การทำงานหรืองานอาชีพ √ - 1,500 7. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 90.00 1,487 99.13 ยอดเยี่ยม 7.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา √ - 1,473 7.2 ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถาน ศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี ของสังคม √ - 1,500 8. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 90.00 1,500 100.00 ยอดเยี่ยม 8.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของ ความเป็นไทย √ - 1,500 8.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ ประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย √ - 1,500 9. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 90.00 1,488 99.20 ยอดเยี่ยม 9.1 ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง ระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี √ - 1,488 10. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 90.00 1,480 98.67 ยอดเยี่ยม 10.1 ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละ ช่วงวัย √ - 1,483 10.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความ สุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น √ - 1,477 หน้า 94 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวน นักเรียน ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ สรุปผลการประเมิน 99.13 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของ   มาตรฐานที่ 1            โรงเรียนมารีวิทยา  ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ของผู้เรียน   และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นคนดีคนเก่งและมีความสุข   โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนพัฒนา ผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย  ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร  การออก แบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน   เรียนรู้รูปแบบกระบวนการคิดวิเคราะห์  จากโครงงานและกิจกรรมต่างๆครูเน้นใช้คำถาม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด  นำความรู้และทักษะกระบวนการที่ได้รับไปปฏิบัติ  ในการดำเนินชีวิตเป็นกิจวัตรประจำวันจนเกิดเป็น นิสัย  รักการสังเคราะห์  คิดสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการส่งเสริมการคิด (Thinking School) )  รูปแบบการจัดการเรียนรู้ของ  M-A-R-Y  Model  ลงมือปฏิบัติจริง   สร้างบรรยากาศความร่วมมือในการทำงานเป็นทีมสร้างองค์ความรู้แลกเปลี่ยนความคิด นำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ให้กับผู้อื่น รู้จักการใช้สื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมใหม่ๆจัดหาแหล่งเรียนรู้ แหล่งสืบค้นข้อมูล   และมี การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการสอน  โดยเน้นการการพัฒนา  ดังนี้ 1. พัฒนาความสามารถในการอ่าน   การเขียน  ภาษาไทย   ของนักเรียนทุกคนอยู่ในระดับ  3   ( 70 – 79 % )    2. พัฒนาความสามารถใช้ภาษาอังกฤษ  /  ภาษาจีน  ของนักเรียนทุกคน  ในการสื่อสารเบื้องต้น และสนทนาอย่างง่ายๆได้ 3. พัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์   สังเคราะห์   คิดอย่างมีวิจารณญาณ  อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น   เป็นราย    บุคคลอย่างต่อเนื่อง  และพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ( 3R X 8 C ) โดยบูรณาการ  STEM Education  4. พัฒนาผลงาน / ชิ้นงาน  ของนักเรียนจากการทำโครงงาน  โดยบูรณาการสะเต็มศึกษา STEM   Education  ทักษะชีวิตและ    อาชีพของผู้เรียน   และต่อยอดความคิดได้ 5. พัฒนาทักษะความสามารถของครูในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน    และนักเรียนในการใช้เทคโนโลยีสาร    สนเทศ  นวัตกรรมใหม่ๆ   และการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 6. พัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการวิเคราะห์ข้อสอบ  RT  ป.1 /  NT  ป.3  / O – NET  ป.6 , ม.3 , ม.6     โดยใช้    กระบวนการของ  Smart  Planning  ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้                  นอกจากนี้  โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาด้านคุณธรรม  จริยธรรม   มีจิตสาธารณะ   บำเพ็ญประโยชน์จิตอาสา  โครงการส่งเสริมคุณธรรม   จริยธรรม  มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด   และค่านิยมหลักคุณธรรม 12  ประการ  ปีการศึกษา  2565  โครงการคุณธรรมนำทาง  ศาสนธรรมนำใจ   ใฝ่ประพฤติดี  นำชีวีมีสุข   และคุณธรรมของ ปีการศึกษานี้  เน้นด้านความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มีพระคุณ และโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม  เรื่อง การเงินพอเพียง ของ นักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล - ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย  โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ – เอกลักษณ์โรงเรียน มารีวิทยา  ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การแนะแนว  การให้คำปรึกษา  กิจกรรมปลูกจิตสำนึก   ฝึกจิตอาสา /  กิจกรรม แบ่งปันความสุข  ผู้ด้อยโอกาส  มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย  การดูแลสุขภาพโดยการเลือกรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์   รักการออกกำลังกาย   กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัย / หลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดต่างๆ หน้า 95 จาก 109


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป้าหมาย 5 ข้อ การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 5 ยอดเยี่ยม 1.1 กำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้อง ถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด √ - 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง กับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด √ - 1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม √ - 1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร โรงเรียน √ - 1.5 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพร่ ต่อสาธารณชน √ - 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม 2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ √ - 2.2 มีการนำแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่าง ต่อเนื่อง √ - 2.3 มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน √ - 2.4 สถานศึกษามีการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา √ - 2.5 สถานศึกษาให้บุคลากรและผู้ทีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา √ - 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 5 ยอดเยี่ยม 3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา √ - 3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของ ผู้เรียน ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และท้องถิ่น √ - 3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านเชื่อมโยง วิถีชีวิตจริง √ - 3.4 กำหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มเป้าหมาย √ - 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม √ - 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5 ยอดเยี่ยม 4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ √ - 4.2 จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ √ - หน้า 96 จาก 109


การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ผล สำเร็จ ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 4.3 นำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน √ - 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน √ - 4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่เป็นแบบอย่างที่ดีที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน √ - 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึง ความปลอดภัย √ - 5.2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึง ความปลอดภัย √ - 5.3 จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม √ - 5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย √ - 5.5 จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากการจัดสภาพแวดล้อมตามศักยภาพของผู้เรียน √ - 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม 6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา √ - 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ สภาพของสถานศึกษา √ - 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะ สมกับสภาพของสถานศึกษา √ - 6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา √ - 6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการ บริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา √ - สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ การบริหารงาน  ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ( Covid - 19 ) โรงเรียนมารีวิทยา บริหารและจัดการศึกษา   พัฒนาโรงเรียนตามวิสัยทัศน์   ปรัชญาจุดเน้น และ ชพันธกิจที่กำหนดชัดเจน  คุณภาพของนักเรียน แสดงถึงเอกลักษณ์/ อัตลักษณ์/ปรัชญาของโรงเรียนมารีวิทยา และสอดคล้องกับหลักสูตรนโยบายของต้นสังกัดของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ  พ.ศ. 2561   ผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์คุณลักษณะของ คนไทย 4.0 สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง  ยั่งยืน / ต้องธำรงความเป็นไทย หน้า 97 จาก 109


การบริหารและจัดการศึกษาได้วางแผนและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน   และมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน  โดยใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม  ระหว่าง บ้าน   โรงเรียน   ร่วมคิดร่วมทำพัฒนาการศึกษา  มีคณะกรรมการบริหารโรงเรียน   ผู้ทรงคุณวุฒิ   ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบ กำหนด กรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษากำกับติดตามดูแลตรวจสอบคุณภาพการศึกษาฯ และปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  การบริหารงานเป็นระบบและมีคุณภาพได้ทัดเทียม ตามมาตรฐานสากล   ผู้บริหารยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการโรงเรียน   การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่  21 พัฒนาทักษะการคิดและพัฒนาผู้เรียน   ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ความสำคัญกับการ  การพัฒนาองค์กร และบุคลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ   การนิเทศการสอน  ตรวจสอบ   ติดตามงาน  แบบกัลยาณมิตร   โดยการพัฒนาประสิทธิภาพของ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการปรับเปลี่ยนหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนสร้างพื้นฐานให้กับผู้เรียนทุกด้าน   สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน  ได้มีความพร้อมด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ  เสริมด้วยภาษาจีน  และจัดให้ทุกห้องเรียน   เน้นทักษะภาษาอังกฤษเน้นด้านวิทยาศาสตร์  และคณิตศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษา  โรงเรียนพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ร่มรื่นสวยงามสิ่งแวดล้อมที่ดีการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมรับ ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานการศึกษา    โดยดำเนินงานพัฒนาดังนี้ 1. โรงเรียนบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล  ระบบการทำงานแบบมีส่วนร่วมการทำงานเป็นทีมสายชั้น  โดยใช้หลัก การทำงานแบบ   PDCA   โดยดำเนินงานตามรอยพ่อหลวง  ( รัชกาลที่ 9 )   ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   ได้รับโล่ รางวัล  ยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้บริหาร  งานวันการศึกษาเอกชน ภาคตะวันออก  ครั้งที่ 7  ประจำปี 2566 “ การศึกษาเอกชน เพื่อคนรุ่นใหม่  มุ่งสู่นวัตกรรมสร้างสรรค์ ”   โดย...สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน  และสมาคมคณะกรรม การประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ปส.กช.)           2. โรงเรียนจัดระบบและการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติกิจกรรม / โครงการต่างๆ / การกำกับ ติดตาม   ผลการดำเนินงาน โครงการของโรงเรียน  เชื่อมโยงกับโครงการหลักและโครงการรอง  ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี  ที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีคุณภาพ    3. โรงเรียนมารีวิทยา MOU  ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)  กับสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) เรื่อง การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ในรูปแบบห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนเอกชน  และ MOU  ความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบัน (สสวท.) / มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี /  ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ  กับ  มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพฯ  และ มหาวิทยาลัยของภาครัฐต่างๆ  อย่างต่อเนื่องประจำทุกปีการศึกษา           *  วันจันทร์ที่ 20  มีนาคม  2566  พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ( MOU )  ไทย - แคนาดา                        โครงการทุนนักเรียนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ  ณ  โรงแรมอมารี  ดอนเมือง  แอร์พอร์ต  กรุงเทพฯ           4. โรงเรียนจัดกิจกรรมทักษะการสื่อสาร  ด้านภาษาต่างประเทศ                  4.1 ภาษาอังกฤษ  ออกเสียงด้วยสำเนียง  CNN  ของสถาบันTHambrit  โดย Mr.Paul             4.2 ภาษาจีน  โดยครูผู้สอนเป็นเจ้าของภาษา  และ โรงเรียนมารีวิทยา  MOU กับมหาวิทยาลัยบูรพา  จังหวัดชลบุรี การทดสอบภาษาจีน HSK ระดับชั้นมัธยมศึกษา ทดสอบประจำทุกปี  ปีการศึกษา 2565 การสอบ  YCT ระดับประถมศึกษา   ยกเลิกการทดสอบ 5. โรงเรียนมารีวิทยามีศูนย์เครือข่ายวิชาการของบริษัทต่างๆ โดยการเรียนในรูปแบบออนไลน์( Smart Class Room ) เช่น โปรแกรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  Learn Education / ภาคภาษาอังกฤษ / ภาควิชาการ  English  For Tcas หน้า 98 จาก 109


6. ประสานความร่วมมือระหว่างครู  ผู้ปกครอง   ชุมชนให้มีบทบาทและมีส่วนร่วมการเรียนรู้ของนักเรียนในการเรียนรู้ แบบ  Active Learnning  โดยบูรณาการสะเต็มศึกษา  STEM  Education / ทักษะในศตวรรษที่ 21           7. โรงเรียนพัฒนาระบบเทคโนโลยี   สารสนเทศที่สนับสนุน  การบริหารจัดการและการเรียนรู้ครูและบุคลากรใช้  ICT   นวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  และใช้ประโยชน์เต็มศักยภาพ            8. โรงเรียนสนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ   ศึกษาหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก 9. แนะแนวการศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  สายสามัญและสายอาชีพ  แนะแนวการศึกษาต่อระดับชั้น ม.1 และ ชั้น ม.4   โดยเชิญวิทยากรจากภายนอกและสถาบันต่างๆ           10. โรงเรียนสนับสนุนการร่วมกิจกรรมค่ายเยาวชนสร้างชาติ   ประจำปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง   ในโครงการเยาวชน สร้างชาติ  ร่วมกิจกรรมเยาวชนจิตอาสาของจังหวัดปราจีนบุรี และร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้  และจัดการเรียนรู้แบบเศรษฐกิจพอเพียง   11. โรงเรียนประสานความร่วมมือในโครงการ / งาน /กิจกรรมต่างๆของโรงเรียนกับชุมชนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วม กันระหว่างบุคลากรภายในระหว่างโรงเรียนกับครอบครัวชุมชนและองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี หน้า 99 จาก 109


มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำนวนครูทั้งหมด : 82 การปฏิบัติงาน ประเด็นพิจารณา ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ เป้าหมาย ร้อยละ จำนวนครู ที่ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียน กำหนด (คน) ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพ ที่ได้ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตได้ 90.00 82 100.00 ยอดเยี่ยม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง √ - 82 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง √ - 82 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความ จำเป็น และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ √ - 82 1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุป องค์ความรู้ และนำเสนอผลงาน √ - 82 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถนำไปประ ยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ √ - 82 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ 90.00 82 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ √ - 82 2.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนรู้ √ - 82 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อ ที่หลากหลาย √ - 82 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 90.00 82 100.00 ยอดเยี่ยม 3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิ สัมพันธ์เชิงบวก √ - 82 3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่าง มีความสุข √ - 82 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน 90.00 82 100.00 ยอดเยี่ยม 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ √ - 82 4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่ เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ √ - 82 4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมใน √ - 82 หน้า 100 จาก 109


Click to View FlipBook Version