The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

๑๙ มีนาคม ๒๕๖๔
พิธเี ปิดศนู ย์บริการนักทอ่ งเท่ียว
ภายในอทุ ยานประวัตศิ าสตร์ภูพระบาท
จงั หวัดอดุ รธานี

249

๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗
งานถวายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน ณ วัดไชยชมุ พลชนะสงคราม จงั หวดั กาญจนบรุ ี

๑๙ - ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙
การประชมุ สมั มนาวชิ าการนานาชาตวิ า่ ดว้ ยการอนุรักษ์โบราณสถานอิฐในแหล่งมรดกโลก
250

๗ - ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๔
การอบรมหลกั สูตรนกั อนรุ กั ษ์ ชา่ งอนรุ กั ษ์ และผ้คู มุ งานอนุรกั ษ์โบราณสถาน รุ่นที่ ๑

๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
พิธเี ปิดและส่งมอบอาคารและส่อื การเรียนรพู้ ระราชวงั หลวงแห่งกรงุ ศรอี ยุธยา

251

อธบิ ดกี รมศิลปากร

ผ้เู ผชิญหนา้ ภาวะวกิ ฤตในวาระแหง่ โลก

เมื่อได้รับแต่งต้ังให้เป็นอธิบดีกรมศิลปากร แม้มุ่งหวังว่าจะสานงานที่อธิบดี
ทา่ นที่แล้วมาให้บรรลุเปา้ หมาย และวางรากฐานสรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหก้ ับบคุ ลากรและ
องคก์ รดา้ นวชิ าการและการอนุรกั ษ์ แตย่ ังมไิ ด้ทันด�ำเนนิ การสร้างสรรค์งานใหมๆ่ ท่คี ิดไว้
ให้เป็นรูปธรรมชัดเจนอย่างชัดเจน เกิดวิกฤตการณ์โรคระบาดคือ โควิด ๑๙ ในปลาย
พ.ศ. ๒๕๖๒ ต้องเรียกว่า ตนเองเป็นอธิบดีท่ีอยู่ตลอดช่วงเวลาแห่งโควิด วิกฤติการณ์
อันเป็นวาระของโลกและของประเทศชาติจึงต้องเปลี่ยนยุทธวิธีในการท�ำงานเพ่ือสานต่อ
ภารกจิ ที่ตอ้ งท�ำต่อเนอ่ื งอยา่ งไม่หยดุ ยั้ง ต้องด�ำเนินการไปใหไ้ ด้ เช่น การประชมุ ทางไกล
แบบเทเลคอนเฟอรเ์ รนซ์ การเวิร์คฟอร์มโฮม อกี ทั้งได้สานตอ่ ภารกจิ อธบิ ดอี นันต์ ชูโชติ
ที่วางไว้คอื งานพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ บา้ นเกา่ กาญจนบรุ ี โดยเร่งรัดใหส้ �ำนักศิลปากร
ที่ ๒ สพุ รรณบุรี ด�ำเนินการวชิ าการ ท�ำขอ้ มลู จรงิ จังต้งั แตท่ ี่หนองราชวัตรและทบี่ า้ นเก่า

252

๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔
การประชุมผูบ้ ริหารกรมศลิ ปากร ณ หอ้ งประชุมหอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศิลปากร

เพื่อใช้มาจัดท�ำพิพิธภัณฑ์ฯ บ้านเก่าให้แล้วเสร็จ และเปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ใน
พ.ศ. ๒๕๖๔ หลงั จากปิดก่อสรา้ งปรบั ปรุงภูมิทศั น์และการจัดนทิ รรศการยาวนาน

นอกจากนี้ ยังประสานกับพิพิธภัณฑสถานพีบอดีของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
เพื่อขอโบราณวัตถุ คือ เครื่องมือหิน น�ำกลับมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
บ้านเก่า เครื่องมือหินน้ีเป็นชุดท่ีฟาน ฮีเกอเรน พบท่ีบ้านเก่าช่วงเป็นเชลยศึกของ
กองทหารญี่ปุ่นมาสร้างทางรถไฟคร้ังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ แล้วเผยแพร่ไป ท�ำให้ท่ัวโลก
ได้รับรู้ว่า มีมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศของเราเหมือนกัน ภารกิจสานต่อ
อกี แหง่ หนงึ่ คอื อทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ ดก๊ กอ๊ กธม จงั หวดั สระแกว้ เรง่ รดั ใหส้ �ำนกั ศลิ ปากร
ท่ี ๕ ปราจีนบุรี เติมเต็มสิ่งท่ีขาดและต้องแก้ไขทั้งกายภาพและความรู้ท่ีเป็นเอกสาร
และการเตรียมพ้นื ทใี่ ห้ครบถว้ นเพ่ือให้เปดิ ไดเ้ นอ่ื งในวันอนรุ กั ษ์มรดกไทย

253

ภารกิจต่อเนื่องและมองเห็นผลส�ำเร็จบ้างแล้ว เช่น การจัดท�ำแผนแม่บทการ
อนุรักษ์และพัฒนาเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาน�ำเสนอไปยังสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติแล้ว และจะน�ำเสนอแผนงานการอนุรักษ์ให้คณะกรรมการมรดกโลก
ของยูเนสโกต่อไป งานติดตามโบราณวัตถุของไทยในต่างประเทศกลับคืนสู่ประเทศไทย
บัดน้ีรัฐบาลสหรฐั อเมริกาก�ำลงั น�ำโบราณวตั ถุที่ถกู น�ำลกั ลอบออกไป ๒ ชิ้น คอื ทบั หลัง
ที่ปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว และทับหลังที่ปราสาทหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์
กลบั คนื สู่ประเทศไทย

๒๐ เมษายน ๒๕๖๔
การประชุมคณะกรรมการตดิ ตามโบราณวัตถขุ องไทยในต่างประเทศกลบั คืนสปู่ ระเทศไทย ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔
254

๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔
พิธรี ับมอบทบั หลังปราสาทหนองหงส์ จงั หวัดบรุ รี ัมย์ และทับหลังปราสาทเขาโลน้ จังหวัดสระแก้ว

งานสานต่อภารกิจที่ค้างอยู่บางอย่าง ไม่ใช่งานในไม่ก่ีปีที่ผ่านมา แต่ร้ือฟื้นงาน
ท่ีเคยหยุดไปเม่ือกว่าสิบปีท่ีแล้ว ซ่ึงเห็นว่าเป็นงานที่ดีมีประโยชน์ต่อคนไทยและ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคือ การจัดนิทรรศการศิลปะคันธาระที่เคยมีการเจรจายืม
พุทธศิลป์แบบคันธาระจากปากีสถานมาจัดแสดงนิทรรศการในบ้านเรา หรือแม้แต่งานท่ี
กรมศลิ ปากรไปลงนามความรว่ มมอื กบั จังหวัดซากะ ประเทศญี่ปุ่น ในการจดั นิทรรศการ
เซรามกิ ไทย - ญ่ปี นุ่ ที่ตอ้ งเลือ่ นจากปที แ่ี ลว้ มาเป็นปีนี้และคงต้องเปลยี่ นไปปหี น้า เพราะ
สถานการณ์โควิด ถึงกระนั้นยังติดตามให้ความส�ำคัญและให้การสนับสนุน โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงการเตรียมบุคลากรให้พร้อมเพ่ือท�ำงานที่ยกระดับไปสู่สากล นี่จึงมาถึงแนวคิด
ท่ีย�้ำเสมอว่า เราต้องสร้างคนให้มีความแข็งแกร่งในแต่ละสาขา ต้องเข้าใจตรงกันว่า
ภาวะด้อยของเราอยู่ตรงไหน การพฒั นาคนของกรมศิลปากรใน ๔ งานหลกั ต้องเกิดขน้ึ
เป็นส�ำคัญ น�ำความโดดเด่นในวิชาการกลับคืนมา มองเห็นมาตลอดว่า กรมศิลปากร
มีบทบาทส�ำคญั ยิ่งคอื

“...ความเป็นนักวิชาการเฉพาะด้าน...” แต่เราก�ำลังเผชิญวิกฤติทางวิชาการ
เรามบี คุ ลากรท่ีเช่ยี วชาญจรงิ ๆ เพยี งพอละหรือ? เมือ่ มีปัญหาจากสาธารณชนมาให้ตอบ
เราตอบได้น่าเชื่อถือ ชัดเจนไหม? ทุกวันนี้ ความคิด ความเห็นจากสาธารณชนมีมาก
มีค�ำถามที่ท้าทายความรู้ของเรากลับมาด้วย ส่ิงที่เคยเป็นจุดแข็งของเราในทางวิชาการ
ดอ้ ยลงไปไหม? ความรทู้ ไ่ี มพ่ อท�ำใหว้ ปิ ลาสคลาดเคลอื่ นในการตอบหรอื แกป้ ญั หาหรอื ไม?่

255

แนน่ อนผบู้ รหิ ารทกุ คนมคี วามคาดหวงั วา่ จะสรา้ งองคก์ รใหเ้ ขม้ แขง็ และท�ำทกุ อยา่ งใหไ้ ปสู่
จุดหมายน้ัน แต่ระหว่างทางที่เดินไป ไม่รู้ว่าเราจะมาถึงจุดที่อ่อนแอเม่ือใด? เราต้อง
เตรยี มคนใหพ้ รอ้ ม ไมว่ า่ จะดว้ ยการพฒั นาคนของเราใหไ้ ดร้ บั การอบรม หรอื หาวธิ เี พม่ิ เตมิ
ความรู้ ดตู วั อยา่ งจากอยธุ ยา ปญั หาหลงั จากเหตกุ ารณน์ ำ้� ทว่ ม ค�ำถามทค่ี ลางแคลงใจจาก
ศนู ยม์ รดกโลกยเู นสโกในการซอ่ มแซมบรู ณะโบราณสถานของเรา ท�ำใหเ้ ราตอ้ งมหี ลกั สตู ร
อบรมช่างฝีมือ...จากความช่วยเหลือของยูเนสโก นั่นเป็นจุดเร่ิมต้นทดลอง แต่คราวนี้
ตอ้ งการใหเ้ ปน็ รปู ธรรมและใชไ้ ดจ้ รงิ ตอ้ งเปน็ หลกั สตู ร จงึ มอบหมายให้ ดร.วสุ โปษยะนนั ทน์
และนางสาวมนชั ญา วาจกว์ ิศุทธ์ิ สถาปนกิ ของกรมฯ ชว่ ยกนั ประมวลยกร่างตามแนวทาง
ทใ่ี ห้ไวเ้ ป็น “หลักสูตรชา่ งอนุรกั ษโ์ บราณสถาน” วางไว้ใหม้ กี ารอบรมคนของเราเองและ
ที่เราจะจ้างเป็นเอาต์ซอร์ช เช่น คนของบริษัทที่จะมารับงานซ่อมแซมบูรณะของ
กรมศิลปากร ก็ต้องให้เข้ามาอบรมด้วย ต้องให้คนที่เป็นช่าง สถาปนิก นักโบราณคดีท่ี
จะต้องปฏิบัติงานด้านน้ีมีความรู้เท่าเทียมกัน ส่ิงน้ีไม่เคยมีการเรียนการสอนอย่าง
เต็มรูปแบบในสถาบันใดมากอ่ น เราตอ้ งสรา้ งขึน้ และสร้างเปน็ มาตรฐานเอาไว้ หลกั สูตร
ทเ่ี กดิ ขนึ้ นม้ี าจากการท�ำงานรว่ มกนั จากหลายสว่ น ตงั้ แตค่ นในกรมฯ ของเราเอง นกั วชิ าการ
ของมหาวิทยาลัย กรมพัฒนาฝีมือแรงงานและยูเนสโก กรุงเทพฯ มุ่งหวังไว้ว่าจะให้มี
การเปิดอบรมหลักสูตรนี้ครั้งแรกภายในปีน้ี เสมือนเป็น “เช้ือไฟ” ไว้ก่อน ผู้เรียนจบ
ได้ประกาศนียบัตรรับรองเป็นมาตรฐาน และจะถือเป็นหลักเกณฑ์ต่อไปว่า เอกชนที่จะ
รบั งานบรู ณะจากกรมศลิ ปากรตอ้ งผา่ นหลกั สตู รมปี ระกาศนยี บตั รรบั รอง มคี วามรทู้ ง้ั ทฤษฎี
และปฏบิ ัติ บางคนร้แู ตป่ ฏบิ ัติ ตอ้ งเสรมิ ความรทู้ ฤษฎี บางคนรแู้ ตว่ ิธีคิด - วธิ อี อกแบบ
แต่ไม่รู้ว่าปฏิบัติอย่างไร เม่ือมาเรียน/อบรมแล้วจะเข้าใจผู้ปฏิบัติงานด้วย พวกช่างฝีมือ
ช่างไม้ ช่างปูนมาเรียนได้ และน�ำมาปรับใช้ได้อย่างเข้าใจ ท้ังต้องก�ำหนดไว้ให้ท�ำอย่าง
ต่อเนื่อง หากท�ำเช่นนี้สืบไป งานอนุรักษ์โบราณสถานย่อมมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ
ที่มาจากความรู้จริง ตระหนักเสมอว่า การเป็นผู้บริหารกรมฯ ในท่ามกลางวิกฤติการณ์
โควิด ไม่ใช่ภาวะปกติ เม่ือทบทวนแล้วว่า กรมศิลปากรท�ำหน้าท่ีอะไร น่ันคือ ศึกษา
อนุรักษ์ ต่อยอด ย่อมแปลว่า ต้องท�ำให้กับประชาชน การอนุรักษ์พัฒนาโบราณสถาน
ก็เพื่อคน เพื่อสังคม แม้เมื่อเข้าภาวะวิกฤต การเดินทางของคนถูกจ�ำกัด มาไม่ได้
แหล่งเรียนรู้หรือส�ำนักงานปิดตามมาตรการป้องกัน เป็นนโยบายก็ต้องท�ำงานกันให้ได้
ตามหน้างานสู่ประชาชน เอาทุกหน้างานแปรรูปสู่ประชาชนด้วยช่องทางท่ีเป็นไปได้
จงึ ใหท้ กุ หนว่ ยงานเขยี นบทความ ขา่ วสาร วชิ าการสนั้ ๆ สมำ�่ เสมอเผยแพรท่ างสอื่ ออนไลน์
ของกรมฯ มีเร่ืองราวนับพันเรื่องแล้วที่เผยแพร่สื่อออนไลน์ของเราออกสู่ประชาชน

256

งานปรับปรุงพพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

เราตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยใี หท้ กุ คนไดเ้ ขา้ ถงึ ความรขู้ องกรมศลิ ปากร พฒั นาตอ่ ยอดจากทอี่ ธบิ ดี
คนกอ่ นวางไวเ้ รอื่ งเวอรช์ วล เรยี ลลติ ้ี ทง้ั ของอทุ ยานประวตั ศิ าสตรแ์ ละพพิ ธิ ภณั ฑฯ์ ตอนน้ี
ใหส้ ามารถดาวนโ์ หลดลงโทรศัพทม์ ือถอื ได้

สว่ นฐานขอ้ มลู เอกสารโบราณ - จารกึ หอสมดุ แหง่ ชาตกิ ส็ รา้ งชอ่ งทางใหค้ นเขา้ ถงึ
ได้โดยตรงแล้ว มีการหาวิธีสร้างค�ำค้นให้ค้นได้ง่าย กรมศิลปากรยังจัดท�ำสารคดีสั้น ๆ
ไว้มาก ตอนนี้ก�ำลังให้ไปสู่ช่องทางส่ือสารมหาชนแบบยูทูบให้ได้ ใครสนใจ ด้านไหน
เมื่อเราเชื่อมต่อได้มาก จะได้เข้ามาดูเร่ืองราววิชาการด้านต่าง ๆ ของกรมศิลปากรได้
เพ่ือให้ความรู้กับประชาชน มากไปกว่าน้ันอีก จึงริเร่ิมให้มีโครงการ “ไขความรู้จากครู
กรมศิลป์” ให้นักวิชาการของกรมศิลปากรผลัดเวียนกันมาออกอากาศให้ความรู้ทางส่ือ
ออนไลน์ทุกวันพฤหัสบดี สัปดาห์ละครั้ง คนท่ีอ่านหนังสือจากส่ือออนไลน์ไม่สะดวก
หอสมุดแห่งชาติยังให้บริการอ่านหนังสือให้ฟัง เลือกหนังสือความรู้ดี ๆ เช่น นิทาน
โบราณคดี เขา้ ถงึ ไดจ้ ากสมารท์ โฟน เปน็ การเขา้ ถงึ ความรจู้ ากกรมศลิ ปากรไดโ้ ดยไมจ่ �ำกดั
เวลาและสถานที่ กรมศิลปากรด�ำเนินการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนางาน
ทง้ั วชิ าการ - อนรุ กั ษ์ - เผยแพร่ โดยเฉพาะการบนั ทกึ โบราณสถานแบบสามมติ ิ เกบ็ ขอ้ มลู
สภาพปจั จบุ ันใหม้ าก มรี ายละเอยี ดทกุ แง่มมุ เพอื่ การใช้ประโยชน์ในอนาคต ตอนนี้ท�ำไป
พอประมาณแลว้ คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ในเวลาอนั ใกล้ สามารถน�ำขอ้ มลู เหลา่ นม้ี าใชร้ ว่ มกนั ได้
ท้ังวิชาการและบริหารจัดการ นี่เป็นวิธีคิดและปฏิบัติจริงในสภาวการณ์อันยากล�ำบาก
เช่นนที้ เ่ี ราทุกคนไมย่ อมแพ้ ไม่นิ่งเฉย เพือ่ การพฒั นางานของกรมศลิ ปากรใหเ้ ปน็ ท่ีพ่งึ พงิ
ทางวิชาการไดใ้ นปัจจบุ นั และอนาคต

257

258

259

260

261

262

263

ประทปี วิทรรศน์ : รวมเร่อื งโบราณคดีอยธุ ยา

พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๖๔
จ�ำ นวน ๑,๐๐๐ เล่ม
ISBN 978-616-283-589-6
ลิขสิทธ์ขิ องกรมศลิ ปากร

ท่ีปรึกษา อธิบดกี รมศลิ ปากร
นายประทีป เพ็งตะโก นักอกั ษรศาสตร์ทรงคุณวฒุ ิ
นางสาวพิมพพ์ รรณ ไพบลู ย์หวังเจริญ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นอักษรศาสตร์
(ภาษา เอกสาร และหนงั สือ)
รองอธิบดกี รมศลิ ปากร
นายอรณุ ศกั ด์ิ กงิ่ มณ ี รองอธบิ ดกี รมศิลปากร
นายพนมบตุ ร จันทรโชต ิ รองอธบิ ดีกรมศิลปากร
นายจารกึ วิไลแก้ว ผู้อำ�นวยการสำ�นกั บริหารกลาง
นางรกั ชนก โคจรานนท์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์
นางสาวศกุ ลรัตน์ ธาราศักดิ์

ผเู้ ขยี น อธบิ ดกี รมศิลปากร
นายประทีป เพง็ ตะโก

บรรณาธกิ าร ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ ประวัตศิ าสตร ์
นายบณั ฑิต ลวิ่ ชัยชาญ

บรรณาธกิ ารผู้ช่วย ภัณฑารักษช์ ำ�นาญการ
นางสาวอภิรดี พิชิตวิทยา

กองบรรณาธิการ นางสาวเปรมา สตั ยาวุฒพิ งศ์
นายไอยคุปต์ ธนบัตร นางสาวระชา ภชุ ชงค ์
นางสาวอาทิพร ผาจนั ดา นายเอกลกั ษณ์ ลอยศกั ด์ิ
นายชัยสิทธิ์ ปะนนั วงค ์

ภาพประกอบ ส�ำ นักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา
ส�ำ นักศลิ ปากรที่ ๒ สุพรรณบรุ ี ส�ำ นักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสมี า
สำ�นกั ศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย
กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

พมิ พ์ที่
บรษิ ัท อมรนิ ทร์พร้ินติง้ แอนด์พับลชิ ช่งิ จ�ำ กดั (มหาชน)

ดาวน์โหลดหนังสอื

ประทปี วิทรรศน์ : รวมเรอ่ื งโบราณคดีอยธุ ยา

นายประทปี เพง็ ตะโก

อธิบดีกรมศิลปากร

(๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔)

กรมศลิ ปากร
The Fine Arts Department


Click to View FlipBook Version