The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ป น์ระทปี วทิ รรศ
รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

จจาารรึกกึ แแผผ่น่นททอองงแแดดงงววัดัดไไชชยยววัฒฒั นนาารราามม

ออกั ักษษรรขขออมม ภภาาษษาาบบาาลลี ีไทไทยย
พพุททุ ธธศศักักรราาชช๒๒๑๑๙๙๒๒

ขขึ้น้ึนตต้น้นดด้วว้ ยยบบทท สสมมฺพฺพทุ ุทฺเธเฺ ธ แแลละตะต่อ่อดด้ว้วยย ปปฏฏจิ ิจจฺ จฺ สสมมปุ ุปปฺ ฺปาาทท
ตตออนนททา้ ้ายยรระบะบเุ วุเวลลาาในในกกาารรจจาารรึกึก

บรบรจรอุรจยุอใู่ นยตู่บำารแเิ หวณนง่ พดร้าะนอหรุ ละังดตา้อนนพลร่าะงปขอฤงษพฎราะงศคอ์
พพรระพะพทุ ุทธธรรูปปู ททรรงงเคเครรอื่ ือ่ งงปปรระดะดิษษิ ฐฐาานนทที่เมเี่ มรรทุ ุทิศศิ เมเมรรุรุราายยรรออบบพพรระปะปรราางงคค์ ์

ววัดัดไชไชยยววฒั ัฒนนาารราามม จจงั ังหหววัดดั พพรระนะนคครรศศรรอี อี ยยธุ ุธยยาา
พพบบคครรงั้ ั้งแแรรกกโดโดยย

นนาายยปปรระทะทีปีป เพเพง็ ง็ตตะโะกโก แแลละนะนาายยถถนนออมมศศกั ักดด์ิ ิ์ แแจจม่ ม่ ววิมิมลล
จจำาำ�นนววนน๒๒แแผผน่ ่น

เมเม่อื อื่ ววันันทท่ี ๒ี่ ๒๑๑กกมุ มุ ภภาาพพันันธธ์ ๒์ ๒๕๕๓๓๕๕
ตต่ออ่ มมาาพพบบเพเพ่ิมิ่มออกี กี ๓๓แแผผ่น่น

ป น์ระทีปวทิ รรศ
รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ค�ำนำ�

กรมศิลปากรมภี ารกิจในการคุม้ ครอง ปอ้ งกัน อนุรักษ์ บำ� รุงรกั ษา ฟ้นื ฟู ส่งเสรมิ
สร้างสรรค์ เผยแพร่ ศึกษา ค้นคว้า วจิ ัย พัฒนา สบื ทอดศิลปะและมรดกทรพั ยส์ นิ ทาง
ศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธ�ำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นไทย อันจะน�ำไปสู่
การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ของสงั คมไทยและความมน่ั คงของชาติ โดยเฉพาะภารกจิ ดา้ นโบราณคดี
มีโบราณสถานและโบราณวัตถุเป็นทรัพยากรส�ำคัญที่กรมศิลปากรต้องท�ำหน้าท่ีปกป้อง
ดูแล รวมถงึ บริหารจดั การทง้ั ในดา้ นวชิ าการและการอนุรกั ษ์สืบทอดใหย้ นื ยาว

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นท่ีตั้งของ “กรุงศรีอยุธยา” ซึ่งเป็นอาณาจักร
ที่เคยเจริญรุ่งเรืองแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานยืนยันในเอกสาร
ต่าง ๆ และมีโบราณสถานส�ำคัญ เช่น พระราชวังโบราณ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ
วัดพระศรสี รรเพชญ์ วัดพระราม วิหารพระมงคลบพิตร ฯลฯ กรมศิลปากรได้ดำ� เนินงาน
ทางด้านโบราณคดี และประกาศก�ำหนดเขตที่ดินโบราณสถานพระนครศรีอยุธยา
เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๙ ตอ่ มาจงึ ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลกภายใตช้ อ่ื “นครประวตั ศิ าสตร์
พระนครศรีอยุธยาและเมืองบริวาร” เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔ ตามเกณฑ์การเป็นเอกลักษณ์
หรอื ประจกั ษพ์ ยานของอารยธรรมอนั ทรงคณุ คา่ ท่ียงั คงหลงเหลอื มาถึงปัจจุบนั

ช่วงเวลาท่ีกรมศิลปากรด�ำเนินงานดังกล่าวอยู่นั้น ผู้เขียนได้รับการบรรจุเข้า
รับราชการในต�ำแหน่ง นักโบราณคดีของหน่วยศิลปากรที่ ๑ พระนครศรีอยุธยา เมื่อ
พ.ศ. ๒๕๒๗ และได้ร่วมด�ำเนินงานขุดค้นขุดแต่งทางโบราณคดี ณ โบราณสถาน
หลายแห่งในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา อีกทง้ั เวลานนั้ ยังอยู่ในหว้ งการเปลย่ี นผา่ นพฒั นา
พื้นที่ มีองค์ความรู้ที่ก้าวหน้าเพิ่มข้ึนในแต่ละช่วงเวลาจนมีความสมบูรณ์พร้อม จึงได้รับ
ยกย่องให้เป็นมรดกโลกดังกล่าว นักโบราณคดีจึงมีหน้าที่ในการน�ำความรู้ที่ได้จาก
การด�ำเนินงานมาศึกษาวิจัยให้เป็นองค์ความรู้ด้านวิชาการ และเรียบเรียงผลการศึกษา
วิจัยเหล่าน้ันตีพิมพ์เผยแพร่ไว้ในแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือเป็นข้อมูลให้นักวิชาการและ
ผู้สนใจไดศ้ กึ ษาค้นควา้ ตลอดมา

กรมศิลปากรเล็งเห็นความส�ำคัญขององค์ความรู้ และการขับเคลื่อนผลักดัน
งานวิชาการอย่างต่อเนื่อง จึงรวบรวมบทความทางวิชาการที่เก่ียวเน่ืองกับแหล่ง
โบราณสถานและโบราณวตั ถใุ นจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ หนงั สอื “ประทปี วทิ รรศน์ :
รวมเร่ืองโบราณคดีอยุธยา” เล่มน้ีข้ึน เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์
โบราณคดีเก่ียวกับกรุงศรีอยุธยา ให้ผู้สนใจได้ศึกษาและต่อยอดองค์ความรู้ที่ได้จาก
การขุดค้นทางโบราณคดีของกรมศิลปากร เพื่อเน้นให้เป็นแหล่งข้อมูลสนับสนุน
ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้า วิจัย เก่ียวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดีของอาณาจักร
กรงุ ศรอี ยุธยาใหส้ มบูรณ์ครบถ้วนยิ่งขน้ึ ในอนาคต


(นายประทีป เพง็ ตะโก)
อธิบดีกรมศลิ ปากร



ค�ำชี้แจง

“ประทีปวทิ รรศน์ : รวมเรื่องโบราณคดอี ยุธยา” เปน็ หนังสือท่ีคัดสรรผลงานทาง
วชิ าการอนั เปน็ ผลจากการศกึ ษา คน้ ควา้ และประสบการณค์ วามรขู้ องนายประทปี เพง็ ตะโก
อธิบดีกรมศิลปากร ผู้ที่ได้ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งนักโบราณคดีของกรมศิลปากรในพ้ืนที่
พระนครศรีอยุธยามาอย่างยาวนานกว่า ๑๒ ปี นับตั้งแต่ได้เริ่มต้นชีวิตการรับราชการ
และประจ�ำอยู่ ณ หน่วยศิลปากรที่ ๑ อยุธยา กองโบราณคดี ภายหลังได้โยกย้ายไป
รบั ต�ำแหนง่ ในพืน้ ที่อนื่ ๆ กระท่ังกลบั มาด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อำ� นวยการส�ำนักศลิ ปากรท่ี ๓
พระนครศรีอยุธยา เป็นเวลาประมาณ ๒ ปี ก่อนข้ึนสู่ต�ำแหน่งรองอธิบดีกรมศิลปากร
ซึ่งก็ได้รับมอบหมายจากอธิบดีกรมศิลปากรในขณะนั้นให้รับผิดชอบดูแลภารกิจของ
กรมศิลปากรในพื้นท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กล่าวได้ว่าชีวิตการรับราชการมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพ้ืนท่ีนี้มากที่สุด จึงมีโอกาสศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดี
ที่เก่ียวข้องกับอาณาจักรอยุธยาอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะงานด้านโบราณคดี นับได้ว่า
เปน็ นกั วชิ าการคนหนง่ึ ทม่ี คี วามรอบรเู้ รอ่ื งราวของกรงุ ศรอี ยธุ ยา ดงั ปรากฏในผลงานทาง
วิชาการที่แสดงด้วยข้อมูลหลักฐานอย่างชัดแจ้ง ดังความหมายของค�ำว่า “วิทรรศน์”
อันหมายความว่า เห็นอย่างชัดแจ้ง ดังนั้น ประทีปวิทรรศน์ จึงอาจหมายถึง แสงสว่าง
ที่ท�ำให้เห็นได้อย่างแจ่มชัด เฉกเช่นผลงานวิชาการของผู้เขียนที่ท�ำให้เร่ืองราวเก่ียวกับ
อยธุ ยากระจา่ งชัดขนึ้

ความรู้และความเช่ียวชาญในเรื่องโบราณคดีอยุธยาของนายประทีป เพ็งตะโก
อธิบดีกรมศิลปากร เป็นท่ีประจักษ์ชัดในแวดวงวิชาการโบราณคดี ดังเห็นได้จาก
เม่อื คร้ังยงั ดำ� รงตำ� แหนง่ นกั โบราณคดี สำ� นักโบราณคดีและพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติที่ ๓
พระนครศรีอยุธยา ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและจัดพิมพ์หนังสือ
ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๕ ให้เป็นผู้จัดท�ำค�ำอธิบายเพ่ิมเติมข้อมูล
ทางโบราณคดี ซง่ึ นกั โบราณคดรี นุ่ หลงั ไดข้ ดุ คน้ ขดุ แตง่ โบราณสถานในพระนครศรอี ยธุ ยา
ที่เป็นความรู้เพิ่มเติมอีกจ�ำนวนมาก ในการตรวจสอบช�ำระงานนิพนธ์เร่ือง “ภูมิแผนท่ี
พระนครศรอี ยธุ ยา” หรอื “วา่ ดว้ ยแผนทกี่ รงุ ศรอี ยธุ ยา” ซงึ่ รจู้ กั กนั โดยทวั่ ไปในชอื่ “อธบิ าย
แผนท่พี ระนครศรีอยธุ ยากบั ค�ำวินิจฉยั ของพระยาโบราณราชธานินทร์”

ผลงานวชิ าการของผเู้ ขยี นนบั ตงั้ แตป่ ฏบิ ตั งิ านในฐานะนกั โบราณคดแี ละผบู้ รหิ าร
สะท้อนให้เห็นถึงทรรศนะและการตีความทางประวัติศาสตร์โบราณคดีอยุธยาได้อย่าง
ลุ่มลกึ และน่าสนใจ แม้กระทงั่ เมื่อศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญามหาบณั ฑติ ก็ไดท้ �ำวทิ ยานิพนธ์
ในหัวข้อท่ีเกี่ยวกับยุคสมัยดังกล่าวอีกเช่นกัน ตัวอย่างผลงานวิชาการท้ังเอกสารรายงาน
การส�ำรวจ ขุดค้นทางโบราณคดี และผลงานท่ีได้รับการตีพิมพ์ซ้�ำหลายครั้ง เช่น
วดั ไชยวฒั นาราม ทปี่ จั จบุ นั ผอู้ า่ นสามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยงา่ ย อยา่ งไรกด็ ี ยงั มผี ลงานประเภท
บทความทส่ี ว่ นใหญไ่ มม่ กี ารตพี มิ พซ์ ำ้� และยงั ไมม่ กี ารเผยแพรแ่ บบออนไลน์ จงึ เปน็ ทมี่ าของ
การรวบรวมผลงานเล่มนี้ เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิชาการของผู้เขียนให้แพร่หลายยิ่งข้ึน
อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้สนใจศึกษาขอ้ มลู ทางวชิ าการโบราณคดีอยุธยาตอ่ ไป

หนงั สอื เลม่ น้ี ประกอบดว้ ยเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั อยธุ ยา จำ� นวน ๑๐ เรอื่ ง จำ� แนกตาม
ลกั ษณะการตพี มิ พเ์ ผยแพรไ่ ด้ ๓ กลมุ่ ดงั น้ี

กลุ่มแรก เป็นเร่ืองท่ีตีพิมพ์ในหนังสือโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เลม่ ๑ และเล่ม ๒ จ�ำนวน ๕ เรอื่ ง ได้แก่

๑. วัดวรเชษฐแ์ ละวัดวรเชษฐาราม (เล่ม ๑, หน้า ๘๑ - ๘๗)
๒. วดั ทา่ การ้อง (เล่ม ๑, หนา้ ๑๑๓ - ๑๒๑)
๓. พระราชวงั โบราณ (เลม่ ๑, หนา้ ๒๑๑ - ๒๔๑)
๔. วิหารพระมงคลบพติ รและวดั ชเี ชยี ง (เล่ม ๑, หน้า ๓๑๑ - ๓๒๑)
๕. วัดโลกยสธุ า (เลม่ ๒, หน้า ๒๘๕ - ๓๐๑)
หนังสือดงั กล่าวกรมศิลปากรได้ระดมเหล่าผ้ทู รงคุณวุฒแิ ละคณะนักวิชาการของ
กรมศิลปากรแขนงต่าง ๆ ร่วมเป็นคณะท�ำงาน โดยมีศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ
ดิศกุล ทรงเป็นประธาน เพ่ือเผยแพร่เร่ืองราวสถานท่ีส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของ
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยาอยา่ งละเอยี ดสมบูรณ์ และพมิ พ์เผยแพร่เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๑
กลมุ่ ทส่ี อง เปน็ บทความทางวชิ าการทตี่ พี มิ พใ์ นนติ ยสารและหนงั สอื ทางวชิ าการ
ต่าง ๆ ไดแ้ ก่
๑. พระที่นัง่ บรรยงก์รัตนาสน์ (นิตยสารศิลปากร ปที ี่ ๓๔ เลม่ ๔ หนา้ ๖๓ - ๗๖)
๒. ป้อมเพชรปราการเหล็กแห่งอยุธยา (นิตยสารศิลปากร ปีที่ ๔๐ ฉบับท่ี ๕,
หน้า ๑๑ - ๖๕)
๓. สะพานป่าถ่านในกรุงศรีอยุธยา (นิตยสารศิลปวัฒนธรรม, หน้า ๘๖ - ๙๐)
เขยี นรว่ มกับนายดุสิต ทมุ มากร

6

๔. แบบพระพักตร์พระพุทธรูปหินทรายสมัยอยุธยา (หนังสือรวมบทความ
ทางวิชาการ ๗๒ พรรษาท่านอาจารย์ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล,
หน้า ๗๓ - ๙๐)

บทความดังกล่าวข้างต้นน้ี เป็นข้อมูลทั้งจากการด�ำเนินงานขุดค้นขุดแต่งทาง
โบราณคดี และการศึกษาวิจัยเพื่อเรียบเรียงเป็นผลงานการศึกษาเผยแพร่ข้อมูล
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงจากหลักฐานทางโบราณคดี ท�ำให้ได้มาซ่ึงประเด็น
ตา่ ง ๆ ทน่ี ่าสนใจ

กลมุ่ ที่ ๓ เป็นการสรปุ คัดย่อวทิ ยานิพนธ์คร้ังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาศลิ ปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. ๒๕๔๐ เรอื่ ง กระเบื้องเชิงชายสมยั อยุธยา ซง่ึ เปน็ อกี ผลงานส�ำคัญท่นี กั โบราณคดี
ในปัจจุบันใช้ในการอ้างอิงรูปแบบและการวิเคราะห์กระเบ้ืองเชิงชายท่ีขุดค้นได้จาก
แหลง่ โบราณคดี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา พรอ้ มทงั้ คดั ลอกลายเสน้
กระเบื้องเชิงชายจากวิทยานิพนธ์ฉบับดังกล่าวมาประกอบเพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษา
ในเบ้ืองต้น และหากต้องการศึกษาข้อมูลฉบับเต็มก็สามารถสืบค้นต่อได้จากหอสมุด
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

หนงั สอื เลม่ นจี้ ดั ทำ� ขนึ้ เพอื่ เปน็ ประจกั ษพ์ ยานของการทมุ่ เทรบั ใชร้ าชการแผน่ ดนิ
ของนายประทปี เพง็ ตะโก อธบิ ดกี รมศลิ ปากร ในฐานะนกั โบราณคดที ไ่ี ดเ้ รมิ่ ตน้ ขนึ้ ตงั้ แตเ่ ปน็
นกั ศกึ ษาคณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และเขา้ รบั ราชการในตำ� แหนง่ นกั โบราณคดี
ของกรมศิลปากร จนกระท่ังก้าวขึ้นสู่ผู้บริหารสูงสุดในต�ำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร และ
หวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่าผลงานดังกล่าวจะอำ� นวยประโยชน์แกผ่ ู้สนใจโดยทั่วกัน




(นายอรุณศกั ดิ์ กิ่งมณี)
รองอธบิ ดีกรมศิลปากร

7



สารบัญ

คำ�นำ� ๑๓
คำ�ช้ีแจง ๒๗
วดั วรเชษฐแ์ ละวัดวรเชษฐาราม ๓๕
วดั ทา่ การอ้ ง ๘๕
พระราชวังโบราณ ๙๗
วหิ ารพระมงคลบพติ รและวดั ชีเชยี ง ๑๐๙
วัดโลกยสธุ า ๑๒๓
พระท่นี ัง่ บรรยงก์รัตนาสน์ ๑๔๑
ปอ้ มเพชร ปราการเหลก็ แห่งอยธุ ยา ๑๔๙
สะพานปา่ ถา่ นในกรงุ ศรอี ยุธยา ๑๗๑
แบบพระพักตรพ์ ระพทุ ธรูปหนิ ทรายสมัยอยธุ ยา ๒๓๑
กระเบอื้ งเชงิ ชายสมัยอยุธยา
จากนักโบราณคดภี าคสนามสผู่ ูน้ ำ�กรมศลิ ปากร

โบราณสถาน

ในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา



12

วัดวรเชษฐ์
วั และ

ดวรเชษฐาราม

ประวัติและความสำ�คญั
พระราชพงศาวดารกล่าววา่ สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้

สร้างวัดขึ้นเป็นท่ีบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
พระเชษฐาของพระองค์ โดยกล่าวช่ือวัดไว้ในพระราชพงศาวดาร
ว่า "วัดวรเชษฐ์" บ้าง "วัดวรเชษฐาราม" บ้าง แต่มีวัดร้างในเขต
พระนครศรอี ยธุ ยาทเ่ี รยี กชอื่ ทำ� นองเดยี วกนั จำ� นวน ๒ แหง่ แหง่ แรก
ต้ังอยู่ในก�ำแพงเมือง ซ่ึงในแผนท่ีพระนครศรีอยุธยาของพระยา
โบราณราชธานนิ ทร์ พ.ศ. ๒๔๖๙ ระบชุ อ่ื วา่ "วดั วรเชษฐาราม" ยงั เปน็
ช่ือเรียกในปัจจุบัน แห่งที่สองต้ังอยู่นอกก�ำแพงเมืองทิศตะวันตก
ซ่ึงในแผนท่ีพระนครศรีอยุธยาของ ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา
พ.ศ. ๒๕๑๐ ระบชุ อ่ื วา่ "วดั ประเชด" แตห่ ลกั ฐานในคำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่
ระบุว่า กองทัพของพม่าทัพหนึ่งท่ียกเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยา
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ต้ังอยู่ที่ "วัดวรเชษฐ์" ดังน้ัน ต่อไปน้ีจะใช้ค�ำว่า
"วัดวรเชษฐาราม" เมื่อกล่าวถึงวัดที่ต้ังอยู่ในเมือง และใช้ค�ำว่า
"วดั วรเชษฐ"์ เม่อื กล่าวถงึ วดั ทีต่ ัง้ อยนู่ อกเมือง

13

พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และฉบับพระราชหัตถเลขา
กล่าวเน้ือความตรงกัน เมื่อสมเด็จพระเอกาทศรถทรงราชาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติ
กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๑๔๘๑ “ทรงสร้างวัดวรเชษฐารามวิหาร อันรจนา พระพุทธ
ปฏิมามหาเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ส�ำเร็จกุฎีสถานปราการสมด้วยอรัญวาสี
แลว้ กส็ รา้ งพระไตรปฎิ กธรรมจบบรบิ รู ณ์ ทง้ั พระบาลแี ละอรรถกถาฎกี าคนั ถวี วิ รณท์ ง้ั ปวง
จงึ แตง่ หอพระสทั ธรรมเสรจ็ กน็ มิ นตพ์ ระสงฆอ์ รญั วาสี ผทู้ รงศลี าธคิ ณุ อนั วเิ ศษมาอยคู่ รอง
พระวรเชษฐารามน้ันแล้ว ก็แต่งขุนหมื่นข้าหลวงไว้ส�ำหรับอารามนั้น แล้วจ�ำหน่าย
พระราชทรัพย์ไว้ให้แต่งจตุปัจจัยไทยทาน ถวายแก่พระสงฆ์เป็นนิจกาล แล้วให้แต่ง
ฉทานศาลาแล้วประสาทพระราชทรัพย์ ให้แต่งโภชนาหารจังหันถวายแก่ภิกษุสงฆ์
เป็นนิตยภัตรมิได้ขาด”๒ การก่อสร้างตามนัยแห่งพงศาวดารดังกล่าวมาเป็นการก่อสร้าง
ก่อนท่ีจะมีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ส่วน
ค�ำให้การชาวกรุงเก่ากล่าววา่ เม่อื สมเดจ็ พระเอกาทศรถได้ครองราชสมบตั แิ ลว้ จงึ ใหท้ �ำ
พระเมรุถวายพระเพลิงพระเชษฐาธิราช แล้วทรงสร้างวัดอุทิศพระราชกุศลถวาย
พระเชษฐาธิราชวัดหน่ึง พระราชทานนามว่า วัดวรเชษฐ๓์ และค�ำให้การขุนหลวงหาวัด
ให้ข้อมูลท่ีแตกต่างออกไปว่าสมเด็จพระเอกาทศรถสร้างวัดไว้ที่ถวายพระเพลิง
พระนเรศวรแล้วจึงสมมุตินามเรียกว่า วัดสบสวรรค์ พระองค์จึงสร้างวัดไว้ท่ีสวน
ฉลองพระองค์พระเชษฐาวดั หน่งึ จึงสมมุตินามเรยี กว่า วัดวรเชษฐาราม๔ แต่วัดสบสวรรค์
นั้น เป็นท่ีเชื่อกันในหมู่นักวิชาการแล้วว่าเป็นวัดท่ีสร้างข้ึนเพื่อเป็นที่ระลึกสมเด็จ
พระสุริโยทัย ส่วนต�ำแหน่งที่ตั้งยังคงมีข้อโต้แย้งกันอยู่บ้าง ในชั้นน้ีจึงน่าจะสรุปได้ว่า
สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้สร้างวัดเพ่ือถวายพระราชกุศลและเป็นท่ีบรรจุพระบรม
อัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระเชษฐาของพระองค์ วัดดังกล่าวเป็นวัดฝ่าย
อรญั วาสี จึงมปี ระเดน็ ในวงวชิ าการวา่ วดั ใดควรจะเปน็ วดั ท่สี มเดจ็ พระเอกาทศรถโปรด
ให้สร้างข้ึนเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซ่ึงมีสาระส�ำคัญควร
ยกขน้ึ มาพจิ ารณาดังนี้

๑ ศกั ราชตรวจสอบใหมโ่ ปรดดู ขจร สุขพานชิ “เรอ่ื งสอบศกั ราชสมเด็จพระเอกาทศรถ” อยุธยาคดี ในตาราง
เทียบปีศกั ราชระหวา่ งหนา้ ๑๑๒ และ ๑๑๓.
๒ พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๑, หน้า ๓๗๐ และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
ฉบับพนั จนั ทนุมาศ (เจิม), หน้า ๘๑.
๓ ค�ำให้การชาวกรงุ เก่าฯ, หนา้ ๙๘.
๔ เรื่องเดียวกนั , หน้า ๓๑๖.
14

๑. พระราชพงศาวดารกลา่ ววา่ สมเดจ็ พระเอกาทศรถทรงนมิ นตพ์ ระสงฆอ์ รญั วาสี
มาครองวัด ดงั นัน้ วดั น้จี งึ เปน็ วดั อรญั วาสี

หลกั ฐานเกย่ี วกบั การแบง่ วดั พระสงฆใ์ นพทุ ธศาสนาออกเปน็ ๒ ฝา่ ย ตามวตั รปฏบิ ตั ิ
ของพระภกิ ษุสงฆ์ เปน็ ฝา่ ยคามวาสีและฝ่ายอรัญวาสมี ีมาแลว้ ตั้งแตส่ มยั สโุ ขทยั การแบง่
ดงั กล่าวปรากฏตอ่ มาในสมัยอยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร์ตอนตน้ ตามล�ำดับ พระสงฆ์
แตล่ ะฝา่ ยมพี ระสงั ฆราชเปน็ ประมขุ ปกครองของตนเอง พระสงฆฝ์ า่ ยคามวาสมี กั อาศยั อยู่
ในเขตชมุ ชน ใฝใ่ จศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมคอื มคี วามมงุ่ หมายทจี่ ะรกั ษาพระสตู ร พระธรรม
พระวินัย หรือพระไตรปิฎกไว้สืบทอดพระพุทธศาสนาให้ม่ันคง และมีหน้าที่ส่ังสอน
ศีลธรรมและพระศาสนาต่อชุมชนด้วย ส่วนพระสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีมักอยู่อาศัยในเขต
ป่าเขาห่างจากชุมชน เปน็ ภิกษุทีม่ งุ่ ศกึ ษาทางปฏบิ ัติ เรียกวา่ วิปัสสนาธุระ

ในสมยั สโุ ขทยั ทต่ี งั้ ของวดั ฝา่ ยอรญั วาสมี กั จะอยนู่ อกเมอื งไปทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก
เชน่ เขตอรญั ญกิ ของเมอื งสโุ ขทยั และเมอื งกำ� แพงเพชร เปน็ ตน้ ซงึ่ อาจจะเปน็ หลกั เกณฑ์
ท่ียึดถือปฏิบัติในระยะเวลาน้ัน ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าวดูเหมือนว่าไม่เป็นข้อบังคับในสมัย
อยธุ ยา เนอ่ื งจากมหี ลกั ฐานในคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรมเรอ่ื งลำ� ดบั ตำ� แหนง่ ยศ
ของพระสงฆอ์ ยธุ ยา กลา่ วถงึ พระผคู้ รองวดั อรญั วาสหี ลายแหง่ ทต่ี งั้ อยใู่ นเขตชมุ ชนภายใน
ก�ำแพงเมอื ง ได้แก่ พระธรรมโคดมวัดธรรมิกราช พระธรรมเจดยี ว์ ดั สวนหลวงสบสวรรค์
พระโพธวิ งศว์ ดั สวนหลวงคา้ งคาว พระธรรมสารเถรวดั ปราสาท พระญานสมโพธวิ ดั ปา่ ตอง
พระอรยิ วงศม์ นุ วี ดั วรเชษฐาราม พระนกิ รมวดั ธงไชย (วดั วงั ไชย) และพระญาณรงั ษวี ดั สาทตชิ น๕
ดังนั้น วัดและพระสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีในสมัยอยุธยาอยู่อาศัยในวัดท้ังท่ีต้ังอยู่ในเขตเมือง
และนอกเมือง

ดังน้ันทั้งวัดวรเชษฐาราม และวัดวรเชษฐ์จึงอยู่ในหลักเกณฑ์ที่สามารถเป็นวัด
อรัญวาสีได้ทง้ั ๒ แห่ง

๒. วัดซึ่งสมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้สร้างข้ึนน้ันน่าจะเป็นการสร้างวัดใหม่
ไมใ่ ชก่ ารปฏิสังขรณ์วัดเกา่ เพอื่ ให้สมพระเกยี รตพิ ระเชษฐาทพี่ ระองคท์ รงใหค้ วามเคารพ
รักใคร่ และมีความผูกพันกันมาตั้งแต่เยาว์วัย หากพิจารณาสถาปัตยกรรมท่ีสร้างเป็น
ประธานของวัดวรเชษฐ์ ท้ัง ๒ แหง่ มรี ปู แบบทางสถาปตั ยกรรมที่ตา่ งกัน

วดั วรเชษฐารามมเี จดยี ท์ รงระฆงั เปน็ ประธานของวดั เจดยี อ์ งคท์ ส่ี รา้ งขนึ้ ครงั้ แรก
ประกอบดว้ ยฐานเขยี งรองรบั ฐานบวั ๑ ชนั้ ถดั ขนึ้ ไปนา่ จะเปน็ มาลยั ลกู แกว้ ซอ้ นกนั ๓ ชนั้

๕ “ค�ำใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม,” แถลงงานเอกสาร ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ๔ (๒) : ๖๙.

15

บวั ปากระฆงั องคร์ ะฆงั เตยี้ บลั ลงั กส์ เี่ หลยี่ มมเี สาหานรองรบั ปลอ้ งไฉนและปลที ห่ี กั ลงแลว้
ระเบียบของเจดีย์ทรงระฆังดังกล่าวปรากฏมาแล้วอย่างน้อยเมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๑ ท่ีเจดีย์
ประธานและเจดยี ร์ าย (องคใ์ นซงึ่ ถกู หอ่ หมุ้ ในคราวปฏสิ งั ขรณ)์ วดั มเหยงคณ๖์ ปรากฏตอ่ มา
ทวี่ ดั พระศรสี รรเพชญ์สร้าง พ.ศ. ๒๐๓๕ ๗ ท่ีวดั พระศรสี รรเพชญ์ยังพบหลักฐานของเจดีย์
ทรงระฆงั แบบมีซุ้มทิศ (เจดีย์ประธาน ๓ องค์ และเจดยี ์รายองค์มุมท้ัง ๔ องค์) และแบบ
ไม่มซี มุ้ ทิศ (เจดยี ์ราย) เชอ่ื วา่ เปน็ การกอ่ สร้างคร้งั เดยี วกนั ดงั นัน้ เจดียท์ รงกลมทง้ั ๒ แบบ
จึงน่าจะมีวิวัฒนาการร่วมกันมา หลังจากนั้นเจดีย์ทรงระฆังแบบไม่มีซุ้มทิศปรากฏว่า
มกี ารกอ่ สรา้ งเปน็ เจดยี ร์ ายองคห์ นง่ึ ดา้ นหลงั วดั มหาธาตซุ งึ่ นา่ จะเปน็ งานกอ่ สรา้ งในรชั กาล
สมเด็จพระเจ้าปราสาททองคราวปฏิสังขรณ์พระปรางค์วัดมหาธาตุ๘ ด้วยเหตุนี้เจดีย์
ประธานวัดวรเชษฐาราม จึงน่าจะมีอายุการก่อสร้างระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐
ถงึ ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ ได้ ดงั นนั้ วดั วรเชษฐารามจงึ อาจเปน็ วดั ทสี่ มเดจ็ พระเอกาทศรถ
สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๑๔๘ ก็ได้

วดั วรเชษฐ์สรา้ งพระปรางคเ์ ปน็ ประธานของวัด องค์พระปรางคก์ อ่ ฐานบัวลูกฟกั
ซ้อนกัน ๓ ชน้ั รองรบั เรอื นธาตซุ ึง่ มมี ขุ ทศิ ยนื่ ออกมาทง้ั ๔ ด้าน หลังคามุขทศิ เปน็ หลังคา
ลด ๓ ชั้น มีบนั ไดทางข้ึนสู่มุขทิศทัง้ ๔ ด้าน โดยด้านตะวนั ออกเปน็ ทางเข้าสู่เรอื นธาตุ
สว่ นมขุ ทศิ อกี ๓ ดา้ น เปน็ มขุ ตนั สำ� หรบั ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู สว่ นยอดเปน็ ชน้ั รดั ประคด
ซ้อนกัน ๗ ช้ัน ซึ่งเป็นท่ีต้ังกลีบขนุนและซุ้มบันแถลง ส่วนบนสุดคงเป็นรูปดอกบัวตูม
รองรับนภศูลซึ่งหลุดหายไปแลว้

ปรางค์นิยมน�ำมาก่อสร้างเป็นประธานของวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น เช่น วัด
พุทไธสวรรย์ วัดพระราม วดั มหาธาตุ วัดราชบรู ณะ วัดสม้ และวดั ลงั กา เป็นตน้

พระปรางคว์ ดั วรเชษฐเ์ ปน็ รปู แบบทพี่ ฒั นามาจากพระปรางคส์ มยั อยธุ ยาตอนตน้
โดยซมุ้ ทิศทงั้ ๔ ดา้ น เริ่มย่ืนออกมาจากเรือนธาตุมากกวา่ ปรางคร์ ะยะแรก รูปแบบของ
พระปรางค์ดังกล่าวน่าจะให้อิทธิพลต่อการก่อสร้างพระปรางค์วัดไชยวัฒนาราม
ซ่ึงสร้างขึ้นเมอื่ พ.ศ. ๒๑๗๓

๖ พระราชพงศาวดารกรงุ เก่าฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนิต,์ิ หนา้ ๖๖๗.
๗ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๔๕๒.
๘ พระปรางคว์ ดั มหาธาตพุ งั ลงในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม ปฏสิ งั ขรณใ์ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง.
16

ดงั นัน้ พระปรางค์ท่วี ดั วรเชษฐ์จึงน่าจะเปน็ งานก่อสรา้ งกอ่ นพระปรางคป์ ระธาน
วัดไชยวัฒนารามไม่นานนัก อาจเป็นงานก่อสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ตอนต้นถึง
ตอนกลาง และสามารถเป็นวัดท่ีสมเด็จพระเอกาทศรถสร้างเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดเ้ ช่นเดียวกนั

๓. ในรชั กาลสมเด็จพระเอกาทศรถเปน็ เวลาท่กี รงุ ศรีอยุธยามีความเจริญรุ่งเรือง
ทางด้านเศรษฐกจิ มีการติดต่อค้าขายกบั ต่างชาตอิ ยา่ งกว้างขวาง สภาพบา้ นเรอื นมคี วาม
สงบสุขปราศจากศึกสงคราม พระองค์ทรงท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี
ซงึ่ คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ กลา่ ววา่ แมแ้ ตพ่ ระองคเ์ องกไ็ ดท้ รงเลา่ เรยี นพระกรรมฐานมไิ ดข้ าด

แมว้ า่ ไมม่ หี ลกั ฐานใดทจ่ี ะบง่ ชใี้ หเ้ หน็ ชดั วา่ พระองคท์ รงโปรดทจี่ ะบำ� เพญ็ พระราช
กุศลที่วัดใดเป็นพิเศษ แต่น่าเช่ือว่า วัดวรเชษฐ์ที่พระองค์ทรงโปรดให้สร้างขึ้นเพ่ือบรรจุ
พระบรมอัฐิของพระเชษฐาธิราชท่ีพระองค์ทรงให้ความเคารพรักใคร่และผูกพันเป็นท่ีสุด
น้ัน น่าจะเป็นวัดที่พระองค์ทรงท�ำนุบ�ำรุงเป็นพิเศษและคงจะเสด็จบ�ำเพ็ญพระราชกุศล
อยู่เป็นนิจ เม่ือเป็นดังน้ี วัดวรเชษฐารามซ่ึงตั้งอยู่ใกล้พระราชวังเป็นผลให้พระองค์
เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาปฏบิ ตั พิ ระกรรมฐานไดส้ ะดวกและบอ่ ยครงั้ แตว่ ดั วรเชษฐแ์ มจ้ ะอยู่
นอกเมืองก็มิใช่หนทางไกลท่ีจะเสด็จพระราชด�ำเนินไปด้วยความยากล�ำบาก เนื่องจาก
มีถนนโบราณสายหน่ึงยังคงมีร่องรอยอยู่ทุกวันนี้ซึ่งน่าจะสร้างขึ้นส�ำหรับเป็นทางเสด็จ
พระราชด�ำเนินไปยังวัดน้โี ดยเฉพาะ แนวถนนดังกล่าวเป็นถนนท่สี ร้างโดยถมดนิ ให้สงู ขน้ึ
และอาจเป็นถนนปูอิฐตัดเป็นแนวตรงจากด้านหน้าวัดเข้าสู่ตัวเมืองชนแม่น้�ำเจ้าพระยา
ระหวา่ งวดั ราชพลกี บั วดั กษตั ราธริ าชฝง่ั ตรงขา้ มพระราชวงั หลงั ตำ� แหนง่ นน้ั คงจะมที า่ เรอื
ถนนเส้นน้ีมีความส�ำคัญอยู่มิใช่น้อยเพราะเป็นส่ิงที่แสดงถึงความส�ำคัญของวัด
ประเชดหรือวรเชษฐเป็นอย่างดีและหลักฐานที่มีในปัจจุบันถนนสายน้ีเป็นถนนเพียง
เสน้ เดียวทีส่ ร้างขึน้ นอกเมอื ง

ประเด็นที่ยกขึ้นมาพิจารณาทั้ง ๓ ประเด็น แสดงถึงหลักฐานและความส�ำคัญ
ของวัดทั้งสองมีน�้ำหนักเท่ากัน ซึ่งคงจะไม่เพียงพอที่จะตัดสินว่าแห่งใดคือวัดวรเชษฐ์
ที่สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้สร้างข้ึนเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระนเรศวร
มหาราช แมว้ า่ จะมกี ารขดุ คน้ เพอ่ื เสาะหาพระบรมอฐั กิ ต็ าม เพราะหากวา่ บงั เอญิ พบอฐั ซิ ง่ึ
อาจจะยังคงฝังอยู่ก็คงไม่มีวิธีการใด ๆ ท่ีจะก�ำหนดและบ่งชี้ไปได้ว่าเป็นอัฐิของผู้ใด
ดว้ ยอัฐิซึ่งเป็นกระดกู ของมนษุ ย์ที่เผาไฟย่อมมีสณั ฐานเชน่ เดยี วกัน

17

วัด

วรเชษฐาราม

วัดวรเชษฐารามต้ังอยู่ด้านทิศตะวันตกของพระราชวังโบราณ ปัจจุบันอยู่ในเขต
การปกครองต�ำบลประตูชัย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ในสมัย
โบราณวดั วรเชษฐารามตงั้ อยใู่ นเขตชมุ ชนบรเิ วณตลาดยอด แขวงขนุ ธรณบี าล รมิ ฝง่ั คลอง
ฝางข้างเหนือ ด้านใต้ติดต่อวัดโลกยสุธา ด้านตะวันออกติดต่อวัดวรโพธิ์ (วัดระฆัง)
ด้านเหนือและตะวันตก คือ ชุมชนบริเวณตลาดยอด ตัววัดสร้างบนท่ีสูงมีคูน้�ำโดยรอบ
โดยคลองฝางเป็นคูวดั ด้านใต้

จากการขุดค้นทางโบราณคดีในหลุมทดสอบบริเวณท้ายอุโบสถพบหลักฐาน
เกย่ี วกับกิจกรรมการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินบรเิ วณน้ี ดังน้ี

ช้ันวัฒนธรรมที่ ๑ (ชัน้ ดนิ ธรรมชาติที่ ๖) เปน็ ช้นั ดินลา่ งสดุ ทม่ี ีกจิ กรรมเกี่ยวกับ
การอยู่อาศัยก่อนการสร้างวัดวรเชษฐาราม พบโบราณวัตถุประเภทไหจากแหล่งเตาเผา
บ้านบางปูน (ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ - ๒๐) เศษภาชนะดินเผาจากแม่น้�ำน้อย (ราว
พุทธศตวรรษท่ี ๒๐ - ๒๓) เศษเตาดินเผาเคลือบจากกลุ่มเตาเผาศรีสัชนาลัย และเศษ
ภาชนะดินเผาอ่ืน ๆ อีกจ�ำนวนหน่ึง หลักฐานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็น
ที่อยู่อาศัยของชุมชนมาก่อนก่อสร้างวัดวรเชษฐาราม (หรือก่อนรัชกาลของสมเด็จ
พระเอกาทศรถ)

ชั้นวัฒนธรรมท่ี ๒ (ช้ันดินธรรมชาติท่ี ๕ และชั้นอิฐปูพ้ืน) พ้ืนท่ีบริเวณนี้
ใช้ประโยชน์เป็นท่ีอยู่อาศัยมาระยะเวลาหนึ่งจึงมีการถมปรับพื้นท่ีให้สูงขึ้นเพ่ือการ
ก่อสรา้ งวดั วรเชษฐาราม ชนั้ อิฐทพี่ บในหลุมขดุ คน้ เป็นลานวดั โดยพ้นื อฐิ อยู่ในระดบั เดยี ว
กับฐานทักษณิ เจดยี ์ประธานทส่ี รา้ งขึ้นครัง้ แรก (ฐานทักษณิ และองคเ์ จดยี ์มีการกอ่ อฐิ หมุ้
ในคราวปฏสิ งั ขรณส์ มยั หลงั ) โบราณวตั ถทุ พี่ บในชน้ั ดนิ นจ้ี งึ เปน็ สง่ิ ของทปี่ ะปนมากบั ดนิ ถม

ช้ันวัฒนธรรมท่ี ๓ (ช้นั ดินธรรมชาตทิ ี่ ๓ และชั้นทราย) เกดิ จากการถมดนิ ปรับ
พ้นื ที่ยกระดับพ้นื วัดให้สงู ข้ึนทว่ั บริเวณสงู ประมาณ ๘๐ เซนตเิ มตร แลว้ ถมทรายซ่ึงคงจะ
ปูอิฐทั่วบริเวณเช่นเดียวกับพื้นสมัยแรก พบหลักฐานจากการขุดแต่งเป็นพื้นรอบโบสถ์
แต่บริเวณหลุมขุดค้นถูกรบกวนจึงไม่ปรากฏพื้นอิฐหลงเหลือ ความเปล่ียนแปลงคร้ังนี้
คงจะสบื เนอื่ งมาจากปญั หาเรอื่ งนำ้� ทว่ มเปน็ ประการสำ� คญั ดงั นนั้ อาคารสง่ิ กอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ

18

คงได้รับการปฏิสังขรณ์ในครั้งเดียวกันนี้ โดยเฉพาะเจดีย์ประธานและวิหารหลวง
มีหลกั ฐานการกอ่ สรา้ งทับซอ้ น ส่วนอุโบสถคงเร่ิมสร้างขึ้นในเวลาเดยี วกันนี้ โบราณวตั ถุ
ท่ีพบในช้ันดินน้ีส่วนใหญ่เป็นเศษภาชนะดินเผาท่ีปนมากับดินถมเป็นประเภทเดียวกับ
ท่ีพบในชน้ั วัฒนธรรมที่ ๑

ชั้นวัฒนธรรมท่ี ๔ (ช้ันดินธรรมชาติท่ี ๑ และผิวดิน) เป็นชั้นพังทลายของ
โบราณสถานภายหลังการทิ้งร้างและการลักลอบขุดหาสมบัติ ดังน้ันดินน้ีจึงประกอบ
ไปดว้ ยชนิ้ สว่ นของโบราณสถาน เชน่ อฐิ ปนู ปน้ั และกระเบอ้ื ง ผสมคลกุ เคลา้ กบั เศษภาชนะ
ดนิ เผา เชน่ เศษภาชนะดนิ เผาเขยี นสนี ำ้� เงนิ ของจนี สมยั ราชวงศช์ งิ และเครอื่ งถว้ ยเบญจรงค์
เปน็ ตน้

การพบภาชนะดนิ เผาจากเตาบา้ นบางปนู รว่ มกบั ภาชนะดนิ เผาจากเตาแมน่ ำ�้ นอ้ ย
ในชน้ั วฒั นธรรมท่ี ๑ กอ่ นการสรา้ งวดั วรเชษฐารามสามารถนำ� มากำ� หนดอายกุ ารสรา้ งวดั
ได้เป็นอยา่ งดี

แหล่งผลิตภาชนะดินเผาบ้านบางปูนมีความเจริญรุ่งเรืองอยู่ในช่วงเวลา
กอ่ นสมัยอยธุ ยาสบื ต่อมาถึงสมยั อยธุ ยาตอนต้น (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐) ภาชนะ
ดินเผาบ้านบางปูนมักมีเน้ือดินสีด�ำ เผาด้วยอุณหภูมิต่�ำคุณภาพไม่ดีนัก ดังน้ันเมื่อชุมชน
แถบแม่น�้ำนอ้ ยเรมิ่ ผลิตภาชนะดินเผา (ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ - ๒๑) ทมี่ ีเนอื้ แกร่งและ
คณุ ภาพสงู กวา่ ความนยิ มภาชนะดินเผาแมน่ ้�ำนอ้ ยจึงเขา้ มาแทนทภ่ี าชนะดนิ เผาจากเตา
บ้านบางปูน อยา่ งนอ้ ยตงั้ แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒ ซ่ึงนา่ จะเปน็ ช่วงเวลาท่ีการผลติ
ภาชนะดนิ เผาทเ่ี ตาแมน่ ำ�้ นอ้ ยมคี วามเจรญิ สงู สดุ เนอื่ งจากพบหลกั ฐานภาชนะดนิ เผาจาก
เตาแมน่ ำ้� นอ้ ยจำ� นวนมากในเรอื สนิ คา้ ทอี่ บั ปางหลายแหง่ ทม่ี หี ลกั ฐานวา่ เรอื ดงั กลา่ วจมลง
ในระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ - ๒๒ เป็นจำ� นวนมากท่สี ดุ ๙

ดังนั้นพื้นที่บริเวณวัดวรเชษฐารามจึงน่าจะใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยของชุมชนในสมัย
อยุธยาตอนต้น ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๐ - ๒๑ (ช้ันวฒั นธรรมที่ ๑) กอ่ นใชพ้ ้นื ท่นี ้ีสรา้ ง
วัดวรเชษฐารามในพุทธศตวรรษที่ ๒๒ (ช้ันวัฒนธรรมที่ ๒) ต่อจากนั้นมีการปฏิสังขรณ์
วดั วรเชษฐารามครง้ั สำ� คญั ครง้ั หนง่ึ (ชนั้ วฒั นธรรมที่ ๓) กอ่ นจะมกี ารทง้ิ รา้ ง (ชน้ั วฒั นธรรม
ท่ี ๔) ซ่ึงคงจะพรอ้ มกับเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาครง้ั ท่ี ๒ เม่อื พ.ศ. ๒๓๑๐

๙ สายนั ต์ ไพรชาญจิตร์, เตาแมน่ ำ�้ นอ้ ย, หนา้ ๖๐ – ๖๗.

19

โบราณสถานวัดวรเชษฐาราม

๑. ก�ำแพงวัด ขนาด ๘๘ x ๘๘ เมตร มปี ระตทู างเขา้ - ออกดา้ นหน้า ๒ ประตู
ดา้ นหลัง ๑ ประตู ตรงมุมหักของกำ� แพงไมก่ ่อหวั เม็ด

๒. อุโบสถ เปน็ อาคารขนาด ๕ ห้อง ปกั ใบเสมาโดยรอบท้ัง ๘ ทศิ ตวั อาคาร
กอ่ ฐานบวั คว�่ำรองรับผนงั ด้านหนา้ มปี ระตทู างเขา้ ๒ ประตู ด้านหลัง ๑ ประตู ภายในมี
พระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ต้ังตรงกลางยังเหลือสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ แต่พระเศียร
หักลงมาแล้ว มีอาสนะสงฆ์ก่อด้วยอิฐชิดผนังด้านเหนือ หน้าบันด้านหน้ามีร่องรอย
การประดับด้วยถ้วยชามแต่หลุดหายไปเกือบท้ังหมด ส่วนหลังคาหักพังลงหมดแล้ว
ลวดลายปูนปั้นที่ยังคงเหลือ คือบัวประดับปลายเสาติดผนังมีลักษณะเป็นบัวกลีบยาว
ปิดทับด้วยกระจัง ลักษณะดังกล่าวมีตัวอย่างท่ีอุโบสถวัดพระยาแมนซึ่งปฏิสังขรณ์
ในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. ๒๒๓๒๑๐ และท่ีอุโบสถวัดกุฎีดาวซึ่งปฏิสังขรณ์
ในรชั กาลสมเด็จพระเจา้ ท้ายสระ พ.ศ. ๒๒๕๒๑๑

ดังน้ันอุโบสถท่ีวัดวรเชษฐารามจึงน่าจะเป็นงานก่อสร้างในคราวปฏิสังขรณ์
ราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๓

๓. เจดยี ป์ ระธาน มกี ารกอ่ สรา้ งทบั ซ้อน ๒ คร้งั ครงั้ แรกก่อฐานทกั ษณิ เปน็ ฐาน
บวั ลกู ฟกั รององค์เจดีย์ ลกั ษณะขององค์เจดยี ์ประกอบดว้ ยฐานบวั ๑ ช้นั มาลัยลกู แก้ว
๓ ชัน้ บวั ปากระฆงั องค์ระฆัง บัลลงั กส์ ่เี หล่ียมมีเสารองรบั ส่วนยอดซึ่งท�ำเปน็ บวั ฝาละมี
และปลอ้ งไฉนตามลำ� ดบั สว่ นปลหี กั หายไป ครง้ั ท่ี ๒ เปน็ การปฏสิ งั ขรณ์ ดงั ปรากฏหลกั ฐาน
ในชน้ั ดนิ ทางโบราณคดที ก่ี ลา่ วมาแลว้ (ชนั้ วฒั นธรรมท่ี ๒) การปฏสิ งั ขรณค์ รงั้ นเี้ จดยี ท์ งั้ องค์
ถกู ก่อหุ้มโดยฐานทกั ษิณท�ำเป็นฐานบวั ลกู แกว้ อกไก่ ส่วนองค์เจดยี ถ์ ูกก่อหมุ้ ตามระเบียบ
การก่อสร้างเดิม รูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังแบบนี้พบในสถาปัตยกรรมอยุธยาระหว่าง
ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ถงึ ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ การปฏิสังขรณ์เจดยี ์ประธานคงจะ
มขี ึน้ อีกครงั้ หน่งึ พร้อมกับการสร้างอุโบสถ ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๓

๔. วิหารหลวง ต้ังอยู่ด้านหน้าของเจดีย์ประธาน มีหลักฐานว่า มีการก่อสร้าง
ทับซ้อนถึง ๓ ครั้ง แต่ละคร้ังเป็นการร้ืออาคารเดิมเพื่อสร้างใหม่ท้ังส้ิน คร้ังหลังสุด
พระวหิ ารหลวงก่อสร้างบนชาลา ลักษณะวิหารมีมุขหน้า - หลัง สว่ นฐานกอ่ ฐานบัวคว�่ำ
รองรบั ผนงั มปี ระตทู างเขา้ ออกเฉพาะดา้ นหนา้ ๒ ประตู ภายในวหิ ารหลวงดา้ นหลงั กอ่ ฐาน

๑๐ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๒, หนา้ ๑๕๑.
๑๑ เล่มเดียวกนั , หนา้ ๒๐๑.
20

ยกระดบั ใหส้ งู จากพนื้ เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปนู ปน้ั หลายองค์ พระประธานมขี นาด
ใกล้เคียงกับพระประธานในอุโบสถและเศียรหายไปแล้ว นอกจากนี้ยังมีฐานชุกชี
ประดษิ ฐานพระพุทธรปู โดยรอบพระประธานอกี จำ� นวน ๗ องค์

๕. เจดียย์ ่อมุม ตั้งอยตู่ รงมุมก�ำแพงวัดดา้ นตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เจดยี ์อีก ๒ องค์
ต้ังอยู่บนฐานเดียวกัน ฐานน้ีมีบันไดข้ึนทางตะวันตก องค์เจดีย์ช�ำรุดโดยส่วนบนหัก
หายไปและส่วนที่เหลือเป็นฐานสิงห์ซ้อนกัน ๒ ช้ัน ในแผนผังส่ีเหลี่ยมย่อมุมไม้ ๒๐
บนหลังสิงห์ประดับแถวลายปูนปั้นรูปกระจังซ่ึงมีร่องรอยการซ่อมอย่างน้อย ๑ ครั้ง
ลักษณะของฐานสิงห์ที่เหลือน่าจะเทียบได้กับเจดีย์รายของวัดภูเขาทอง มีอายุราว
พุทธศตวรรษท่ี ๒๓ ถงึ ตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒๔๑๒

นอกจากนี้ภายในวัดวรเชษฐารามยังมีซากโบราณสถานอีกจ�ำนวนหนึ่ง ได้แก่
วหิ าร ๓ หลงั หอระฆงั และเจดยี ์รายรอบพระวหิ ารหลวงอีกจำ� นวนหน่งึ

หลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและชั้นดินทางโบราณคดีดังได้กล่าวมาแล้ว
สามารถสรุปได้ว่า บริเวณที่เป็นที่ตั้งของวัดวรเชษฐารามเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชุมชน
ในสมัยอยุธยาตอนต้นราวพุทธศตวรรษ ท่ี ๒๐ - ๒๑ ต่อมามีการสร้างวัดวรเชษฐาราม
พทุ ธศตวรรษท่ี๒๒และมกี ารปฏสิ งั ขรณค์ รง้ั สำ� คญั ราวพทุ ธศตวรรษท่ี๒๓กอ่ นวดั วรเชษฐาราม
จะถกู ทิ้งรา้ งราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ คราวเสียกรงุ ศรีอยธุ ยา ครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐

กรมศิลปากรได้ประกาศข้ึนทะเบียนวัดวรเชษฐารามเป็นโบราณสถานของชาติ
ตามประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๖๙ ตอนที่ ๖๐ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๖

๑๒. สนั ติ เล็กสุขุม, เจดียเ์ พม่ิ มุม เจดยี ย์ อ่ มุมสมยั อยุธยา, หนา้ ๔, ๗๔.

21

วดั

วรเชษฐ์

วัดวรเชษฐ์ หรือวัดประเชด ต้ังอยู่นอกเมืองด้านตะวันตก ห่างจากแม่น้�ำ
เจา้ พระยาออกไปราว ๑ กโิ ลเมตร ปจั จุบนั อยูใ่ นเขตการปกครองต�ำบลบ้านปอ้ ม อ�ำเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในสมัยอยุธยามีถนนโบราณสายหน่ึง
ตดั เปน็ แนวตรงจากดา้ นหนา้ วดั ประเชดเขา้ มาสตู่ วั เมอื งบรรจบกบั แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาระหวา่ ง
วัดราชพลีกับวัดกษัตราธิราชตรงข้ามพระราชวังหลัง ตรงน้ีคงมีท่าเรือส�ำหรับ
พระมหากษตั รยิ เ์ สดจ็ พระราชด�ำเนินไปบ�ำเพ็ญพระราชกุศลท่วี ัดน้ี

โบราณสถานวดั วรเชษฐ์

๑. กำ� แพงวดั สภาพพงั ทลายลงเปน็ สว่ นมาก แตย่ งั คงปรากฏแนวกำ� แพงคอ่ นขา้ ง
ชดั เจน ทางดา้ นหน้าเป็นก�ำแพงก่อดว้ ยอิฐ

๒. ปรางค์ประธาน เป็นปรางค์กอ่ ดว้ ยอิฐซง่ึ โดยทวั่ ไปใช้อฐิ ต่างกัน ๒ ขนาด คอื
อิฐหนาประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้ก่อส่วนฐาน และอิฐหนาประมาณ ๕ เซนติเมตร
ใชก้ อ่ ส่วนยอด พระปรางคต์ ั้งอยู่บนฐานทักษณิ ซึง่ กอ่ เป็นฐานบัวลกู ฟกั ฐานของปรางค์
กอ่ ฐานบัวลกู ฟักซอ้ นกัน ๓ ชั้น รองรบั เรือนธาตุ ซ่งึ ก่อมขุ ทศิ ย่นื ออกมาเทา่ กันทัง้ ๔ ด้าน
หลังคามุขเป็นมุขลด ๓ ชั้น มีบันไดทางข้ึนสู่มุขทิศทั้ง ๔ โดยด้านตะวันออกเจาะเป็น
ช่องทางเข้าสู่เรือนธาตุ ส่วนมุขอีก ๓ ด้าน เป็นมุขส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป
ส่วนยอดท�ำเป็นชั้นรัดประคดปักกลีบขนุนและมีซุ้มบันแถลงประจ�ำทุกชั้นจ�ำนวน ๗ ช้ัน
ส่วนยอดคงเป็นรูปดอกบัวตูมปักนภศูลซ่ึงพังลงหมดแล้ว ลักษณะของพระปรางค์น่าจะ
มีอายอุ ย่ใู นราวต้นพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒

๓. อุโบสถ ตั้งอยู่ด้านใต้ของปรางค์ประธานมีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด
๑๒ x ๑๘ เมตร มีมุขยื่นออกมาด้านหน้า ผนังของอาคารเหลือสภาพค่อนข้างมาก
แตห่ ลงั คาพงั ลงแลว้ ทงั้ หมด ผนงั ดา้ นหมุ้ กลองมปี ระตทู างเขา้ ออก ดา้ นละ ๒ ประตู ระหวา่ ง
ประตูมีหน้าตา่ ง ๑ ชอ่ ง ผนงั ดา้ นยาวแบง่ เป็น ๕ หอ้ ง โดยมหี นา้ ตา่ งห้องกลาง ด้านละ
๑ ชอ่ ง ภายในวหิ ารเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ประธานปางมารวชิ ยั แตเ่ ศยี รหกั หายไป

22

ภาพมุมกว้างวดั วรเชษฐ์

๔. เจดีย์ทรงระฆัง ต้ังอยู่ด้านหลังอุโบสถในแกนเดียวกัน ส่วนฐานและยอด
พังทลายลงทั้งหมด ไม่เห็นรูปทรง ส่วนท่ีเหลือคือช้ันบัวปากระฆังและองค์ระฆังซ่ึงเป็น
องค์ระฆังทรงเต้ียปากผาย ระเบียบการก่อสร้างของเจดีย์องค์นี้น่าจะเหมือนกับเจดีย์
ประธาน และเจดีย์รายวัดมเหยงคณ์ เจดีย์ประธานและเจดีย์รายวัดพระศรีสรรเพชญ์
และเป็นแบบเดียวกับเจดีย์ประธานวัดวรเชษฐารามซ่ึงมีอายุอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษ
ที่ ๒๐ - ๒๒

๕. วิหาร ตง้ั อยดู่ า้ นหลังพระปรางคใ์ นแกนเดยี วกัน เป็นวิหารขนาดใหญ่ใชว้ ัสดุ
ก่อสร้างแบบเดียวกับพระปรางค์ น่าจะเป็นงานก่อสร้างคร้ังเดียวกัน วิหารมีแผนผัง
รูปสี่เหลยี่ มผืนผ้าขนาด ๑๔ x ๒๗ เมตร มมี ุขย่นื หน้าหลังโดยมขุ หนา้ เปน็ โถง มุขหลังเป็น
มุขทึบ (มผี นัง) วิหารแบง่ เป็น ๗ ห้อง กอ่ ฐานบัวลูกแก้วอกไก่รองรับผนงั มีประตทู างเขา้
วหิ ารด้านหนา้ และหลงั ๒ ประตู พระพทุ ธรปู ประธานในอโุ บสถวัดวรเชษฐน์ ่าสนใจมาก
เน่ืองจากท�ำเป็นพระพทุ ธรูปปูนป้ัน ๔ องค์ น่ังหันพระปฤษฎางค์ชนทรงปราสาท ซึง่ ยังไม่
เคยพบมาก่อนในศิลปกรรมสมัยอยุธยา พระพุทธรูปท้ัง ๔ องค์ดังกล่าวน่าจะหมายถึง
พระพุทธเจ้าในอดีต ๔ พระองค์ ได้แก่ พระกกุสันโธ พระโกนาคม พระกัสสปะ และ
พระสมณโคดม คือพระพทุ ธเจ้าองคป์ ัจจบุ ัน ซง่ึ นิยมสร้างในศิลปะพกุ ามของพมา่

๖. เจดยี ท์ รงปราสาทยอด ตง้ั อยรู่ มิ กำ� แพงดา้ นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของพระปรางค์
ประธาน คงเหลือสภาพสมบูรณม์ ากทส่ี ุด องคเ์ จดยี ต์ งั้ อยบู่ นฐานทักษณิ ทที่ �ำเป็นฐานสิงห์
บนลานทักษิณมีก�ำแพงล้อมรอบ มีบันไดทางขึ้นบนลานทักษิณทางด้านหน้าองค์เจดีย์

23

มแี ผนผงั สเี่ หลยี่ มจตั รุ สั ยอ่ มมุ ไม้ ๒๐ สว่ นลา่ งคอื ฐานบวั ลกู แกว้ อกไกซ่ อ้ นกนั ๓ ชน้ั รองรบั
เรือนธาตุ เหนือช้ันเรือนธาตุท�ำเป็นชั้นรัดประคดซ้อนกัน ๓ ช้ันรองรับองค์ระฆังและ
บลั ลงั กส์ ีเ่ หล่ียม ยอดท�ำเป็นบัวคล่มุ เถา ซ่ึงเหลือเพยี ง ๑ ช้นั ตามชนั้ ตา่ ง ๆ ขององคเ์ จดยี ์
ประดบั ลวดลายปูนป้นั ซึง่ อาจก�ำหนดอายุในราวกลางพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒๑๓

กรมศิลปากรประกาศข้ึนทะเบียนวัดวรเชษฐ์ เป็นโบราณสถานของชาติ ตาม
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๙ ตอนที่ ๖๐ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๕

๑๓. สนั ติ เลก็ สุขุม, ลวดลายปนู ปัน้ แบบอยธุ ยาตอนปลาย, หน้า ๓๙, ๔๖, ๙๘.
24

25

26

วัด

ทา่ การ้อง

ทา่ การอ้ งตง้ั อยรู่ มิ ฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ�้ เจา้ พระยา นอกเกาะ
เมืองพระนครศรีอยุธยาทางด้านเหนือ ในเขตต�ำบลบ้านป้อม
อำ� เภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

วดั ท่าการ้องคงจะเกิดจากการรวมวดั ๒ วัดเขา้ ด้วยกนั คอื
วัดท่า วัดหน่ึง และวัดการ้อง อีกวัดหนงึ่ เนอื่ งจากคราวทพี่ ระยา
โบราณราชธานนิ ทรส์ ำ� รวจภูมิสถานกรุงเก่า ไดท้ �ำแผนท่ีไวฉ้ บับหนึ่ง
พิมพ์ขึน้ ในรัชกาลที่ ๖ โดยลงต�ำแหน่งวัดทา่ อยูร่ ิมแมน่ �้ำเจ้าพระยา
และวัดการ้องต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกของวัดท่า ระยะห่างกันราว
๔๐๐ เมตร วดั ท้ังสองเป็นวัดเก่าในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา แลว้ ไดร้ บั การ
ฟน้ื ฟใู หเ้ ปน็ วดั ขนึ้ ใหมห่ ลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจา้ อยหู่ ัว

27

ปัจจุบันสภาพของวัดการ้องถูกท�ำลายลงเกือบทั้งหมด คงเหลือแต่เพียงเนินดิน
และพระพุทธรปู องคห์ น่ึงซึ่งอาจเป็นพระพทุ ธรปู ของเดมิ ทีม่ ีผ้ศู รทั ธาไดส้ ร้างศาลาคลุมไว้
เป็นที่สักการบูชา พระพุทธรูปองค์น้ีเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยประทับน่ังสมาธิ
ถูกปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งองค์ด้วยฝีมือช่างชาวบ้าน จนไม่หลงเหลือเค้าเดิมของพระพุทธรูป
สมัยอยุธยา อย่างไรก็ตาม วัดการ้องเคยปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดาร
กรงุ ศรีอยุธยา ๒ คร้งั ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกับเหตกุ ารณส์ งครามท้ังส้นิ

รชั กาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. ๒๑๐๖ คราวสงครามชา้ งเผอื ก พระเจา้
หงสาวดียกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา ทัพพระมหาอุปราชากองหน้าต้ังค่ายต�ำบลเพนียด
คา่ ยพระเจา้ แปรปกี ซา้ ยตงั้ ตำ� บลทงุ่ วดั โพธารามไปคลองเกาะแกว้ ทพั พระเจา้ องั วะปกี ขวา
ตั้งค่ายต�ำบลวัดพุทไธสวรรย์มาคลองตะเคียน ทัพพระยาตองอู ทัพพระยาจิตตอง
ทัพพระยาละเค่ิงเกียกกายตั้งค่ายแต่วัดการ้องลงไปวัดไชยวัฒนาราม ทัพพระยาพสิม
ทัพพระยาเสี่ยง กองหน้าของทัพหลวงต้ังค่ายต�ำบลลุมพลี ทัพหลวงต้ังค่ายต�ำบล
วัดโพธิ์เผือก ทุ่งขนอนปากคู และทัพสมเด็จพระมหาธรรมราชาต้ังตำ� บลมะขามหย่อง
หลงั คา่ ยหลวง๑ สงครามครง้ั นฝ้ี า่ ยกรงุ ศรอี ยธุ ยายอมเปน็ พระราชไมตรี กษตั รยิ ท์ งั้ สองฝา่ ย
เสดจ็ มาทำ� สตั ยาธษิ ฐานหลงั่ นำ�้ ทกั ษโิ ณทกตำ� บลวดั พระเมรุ พระเจา้ หงสาวดขี อเอาสมเดจ็
พระเจา้ ลูกเธอ พระราเมศวร และชา้ งเผือก ๔ เชอื กกลับไปหงสาวด๒ี

สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาเม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ พม่ายกทัพใหญ่เข้ามาโจมตี
กรงุ ศรีอยุธยา ๒ ทพั ทพั แรกยกมาทางดา้ นเหนอื โดยเนเมยี วสหี บดเี ป็นแม่ทัพ ทัพท่ีสอง
ยกมาทางด้านใต้โดยมีมังมหานรธาเป็นแม่ทัพ ในขณะที่ต้ังล้อมกรุงอยู่น้ัน มังมหานรธา
เสียชีวิตลง การบัญชาการรบท้ังหมดจึงตกอยู่กับเนเมียวสีหบดีท้ังหมด การรบคร้ังนี้
พม่าเขา้ มาต้ังปอ้ มค่ายล้อมกรงุ ไว้ทุกด้าน โดยตั้งค่ายใหญ่ทีต่ �ำบลโพธ์สิ ามตน้ ค่ายรอบใน
ท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการสู้รบคร้ังนี้ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเมืองท่ีบ้านป้อมวัดการ้อง
วดั ภเู ขาทอง เพนยี ด วดั เจดยี แ์ ดง วดั สามวหิ ารวดั มณฑป วดั กระโจม วดั นางชี วดั แมน่ างปลม้ื
และวัดศรีโพธ์ิ ได้ร้ืออิฐโบสถ์วิหารมาสร้างค่ายท�ำหอรบต้ังปืนใหญ่น้อยยิงเข้ามาในกรุง
ทกุ ค่าย ถึงวนั อังคารขึน้ ๙ ค่ำ� เดือน ๕ วนั เนาว์สงกรานต์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เสยี กรงุ ศรีอยุธยา
แก่พมา่ ขา้ ศกึ

๑ กรมศลิ ปากร, พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๑ (กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พมิ พค์ ลงั วทิ ยา, ๒๕๑๖).
๒ กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนติ ิ์ (พระนคร : ส�ำนักพิมพค์ ลงั วทิ ยา,
๒๕๑๕).
28

การกล่าวชื่อวัดการ้องในพระราชพงศาวดารทุกคร้ัง ไม่ใช่เป็นการกล่าวถึงการ
สร้างวัด ดังน้ันจึงไม่อาจเช่ือได้ว่าในรัชกาลพระมหาจักรพรรดิน้ันมีวัดการ้องอยู่แล้ว
เนื่องจากพระราชพงศาวดารเล่มน้ีรวบรวมข้ึนในสมัยรัตนโกสินทร์แต่เขียนเร่ืองของ
สมยั อยธุ ยา การอา้ งชอ่ื วดั บางแหง่ เพยี งเพอ่ื การอธบิ ายเหตกุ ารณส์ งครามใหเ้ หน็ ภาพพจน์
ดังนั้นการศึกษาเก่ียวกับประวัติการก่อสร้างวัดจ�ำเป็นต้องศึกษาด้านสถาปัตยกรรมและ
ศลิ ปกรรมของวดั แหง่ นน้ั ควบคกู่ นั ไปดว้ ย กรณขี องการอา้ งชอ่ื วดั ไชยวฒั นารามรว่ มอยกู่ บั
วัดการ้องระยะนี้ก็เช่นเดียวกัน เพราะปรากฏในพระราชพงศาวดารชัดเจนว่า
วดั ไชยวฒั นารามแรกสถาปนาขน้ึ เมอื่ พ.ศ. ๒๑๗๓ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง๓

แต่หลักฐานทางสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมของวัดการ้อง ปัจจุบันก็ไม่อยู่ใน
สภาพที่เอ้ืออำ� นวยต่อการศกึ ษาอายสุ มัยของวัดน้ไี ด้แน่ชดั แต่น่าเชือ่ วา่ วัดการอ้ งนา่ จะมี
มาแลว้ ตง้ั แตส่ มยั อยธุ ยา โดยพิจารณาร่วมกับหลักฐานท่วี ดั ท่าที่จะกลา่ วต่อไปน้ี

วัดท่าซึ่งปัจจุบันเป็นท่ีต้ังของ “วัดท่าการ้อง” คงจะเป็นวัดท่ีสร้างมาแล้ว
ต้ังแต่สมัยอยุธยา แต่ไม่ปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดาร หนังสือประวัติวัด
ท่วั ราชอาณาจกั ร เล่ม ๔ ของกรมการศาสนากล่าวถึงประวตั ิวัดท่าวา่ สร้างข้ึนประมาณ
พ.ศ. ๒๒๗๕ ได้รับพระราชทานวิสงุ คามสมี ามาแลว้ ประมาณ พ.ศ. ๒๒๘๕

วัดนี้ตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออกสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา อุโบสถสร้างข้ึนเป็นหลัก
ของวัด มีเจดียท์ รงระฆังและเจดยี ท์ รงปรางค์จ�ำนวนหน่ึงซึง่ เปน็ เจดยี ร์ าย

พระประธานในอโุ บสถนา่ จะเปน็ หลกั ฐานชนิ้ สำ� คญั ทพ่ี จิ ารณาไดว้ า่ สรา้ งพรอ้ มกบั
การสรา้ งวดั น้ี พระพทุ ธรปู องคน์ ที้ ำ� ปางมารวชิ ยั ประทบั นงั่ บนฐานชกุ ชซี งึ่ ทำ� เปน็ ฐานสงิ ห์
ลักษณะพระพักตร์เป็นรูปไข่ค่อนข้างกลม พระขนงโค้ง พระเนตรอูมเหลือบลงเบื้องล่าง
พระนาสกิ โดง่ ขมวดพระเกศาเปน็ กน้ หอยมเี กตมุ าลาและรศั มี เปน็ ลกั ษณะของพระพทุ ธรปู
สมัยอยุธยาตอนกลาง ลักษณะของฐานสิงห์ทรงเต้ีย น่องสิงห์ประกอบด้วยวงโค้ง ๓ วง
เคยพบมาแล้วท่ีวัดพระศรีสรรเพชญ์ ราว พ.ศ. ๒๐๔๓ ดังนั้นหากพระพุทธรูปประธาน
องคน์ เ้ี ปน็ ของเดมิ ทไี่ ดร้ บั การซอ่ มตามแบบเดมิ ไมใ่ ชง่ านกอ่ สรา้ งสมยั หลงั ทห่ี นั กลบั ไปทำ�
เลียนแบบของเดิมแล้ว วัดท่าน่าจะก่อสรา้ งมาแลว้ อยา่ งน้อยสมยั อยุธยาตอนกลาง

๓ กรมศลิ ปากร, พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๒ (กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พมิ พค์ ลงั วทิ ยา, ๒๕๑๖),
หน้า ๖.

29

สิ่งส�ำ คญั ในวัดทา่ การ้อง
๑. อุโบสถ ขนาด ๑๑ x ๒๒ เมตร เปน็ อุโบสถขนาด ๕ ห้อง มีมขุ โถงหน้าหลงั

อกี ดา้ นละห้อง หลังคาทรงจั่วลด ๒ ชั้น สว่ นลาดหลังคาซอ้ น ๓ ตับ มุงกระเบื้องดินเผา
แบบเกรด็ เต่า กรอบหนา้ บัน (ปา้ นลม) ปน้ั ปนู ทำ� ช่อฟา้ ใบระกาและหางหงส์ ส่วนน้เี ป็น
งานซอ่ มราว พ.ศ. ๒๕๐๘ ชอ่ ฟา้ และหางหงสข์ องเดมิ ทำ� ดว้ ยไม้ หนา้ บนั ทำ� ดว้ ยไมแ้ กะสลกั
ลายหน้ากาลคายช่อลายเปลว หน้าบันปีกนกท�ำด้วยไม้แกะสลักรูปลิงและช่อลายเปลว
เชน่ กนั

ประตทู างเขา้ ดา้ นหนา้ มี ๓ ประตู ทำ� ลวดลายปนู ปน้ั ประดบั ประตกู ลางเปน็ ประตซู มุ้
ทรงปราสาท บานประตูแกะสลักลวดลายลงรักปิดทอง ประตูที่ขนาบอยู่ท้ัง ๒ ข้างและ
ประตูท้ายอีก ๒ ประตู เปน็ ประตูซุม้ ทรงบนั แถลง บานประตลู งรกั ปิดทอง ผนงั ด้านข้าง
เจาะชอ่ งหนา้ ตา่ งประจำ� ทกุ หอ้ งทำ� ซมุ้ ทรงบนั แถลง บานประตไู มล้ งรกั ปดิ ทองเชน่ เดยี วกนั

ฐานชุกชีของกลุ่มพระพุทธรูปประธานท�ำเป็นฐานสิงห์ ส่วนน้ีซ่อมใหม่แล้ว
พระพทุ ธรูปประธานประทับน่งั ปางมารวชิ ยั เหนือฐานสิงหก์ อ่ บนฐานชุกชี ฐานน้แี อน่ โคง้
เลก็ นอ้ ย ในระดบั ฐานชกุ ชมี พี ระพทุ ธรปู รายอกี ๖ องค์ ในจำ� นวนน้ี ๒ องคท์ อี่ ยดู่ า้ นขวาของ
พระประธานเปน็ พระพทุ ธรปู ประทบั นงั่ ปางมารวชิ ยั บนฐานสงิ ห์ ลกั ษณะองคพ์ ระพทุ ธรปู
และฐานสงิ หท์ แี่ อน่ โคง้ เหมอื นกบั ฐานสงิ หข์ องพระประธาน จงึ นา่ จะเปน็ งานสรา้ งพรอ้ มกนั

พระพุทธรูปอีก ๓ องค์ อันอาจเป็นงานสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะและ
ขนาดเดียวกันต้ังอยู่ด้านหน้าฐานชุกชี เป็นพระพุทธรูปทรงเคร่ืองใหญ่ประทับนั่งบน
ฐานสิงห์ ส่วนล่างของฐานสิงห์ช�ำรุด เน้ือปูนและอิฐเปื่อยยุ่ยเนื่องจากการกัดกร่อนของ
เกลอื และนำ�้ ใตด้ นิ แต่ยงั เหลือส่วนบนของผ้าทพิ ย์ เศยี รพระพทุ ธรปู ทง้ั ๓ องคน์ ้ีถกู ขโมย
ไปท้ังหมดแล้ว ต่อมาทางวดั ไดป้ ้ันเศียรใหมเ่ ม่ือ ๑๐ กวา่ ปมี าน้ี

เสมารอบอโุ บสถเปน็ เสมาคู่ ตงั้ อยบู่ นฐานสงิ ห์ โดยทำ� ซมุ้ ทรงเสมาครอบใบเสมาไว้
ใบเสมาท�ำมาจากหินทรายเหลือเพยี ง ๑ ใบ บางส่วนถูกถอดเก็บไว้ในกุฏิเจ้าอาวาส

ก�ำแพงแก้วล้อมรอบอุโบสถท�ำก�ำแพงหลังเจียดล้อมรอบ เสาหัวเม็ดท�ำส่วนบน
ทรงเมด็ มะยมซอ้ น ๒ ชนั้ รบั ยอดทรงสเี่ หลยี่ ม ประตดู า้ นหนา้ เปน็ ทรงคฤห หลงั คาประดบั
เจดีย์สี่เหล่ียมย่อมุมไม้สิบสอง ๓ องค์ ประตูด้านหลัง ๑ ประตู และประตูด้านข้างอีก
ดา้ นละ ๒ ประตู ทั้งหมดท�ำชอ่ งประตูทรงกลีบบัว

ใน พ.ศ. ๒๕๔๗ วดั ท่าการ้องไดด้ ำ� เนนิ การบรู ณปฏสิ ังขรณพ์ ระอโุ บสถครง้ั ใหญ่
๒. เจดยี ย์ อ่ มมุ ไมส้ บิ สองทรงเครอื่ ง ตง้ั อยนู่ อกกำ� แพงแกว้ ดา้ นหนา้ ดา้ นซา้ ยขวา
ขา้ งละองค์ ลกั ษณะเหมอื นกนั สว่ นลา่ งกอ่ ฐานทกั ษณิ ดว้ ยฐานสงิ หเ์ ตยี้ พนื้ ทบ่ี นลานทกั ษณิ

30

แคบ องคเ์ จดียท์ ี่ตั้งบนฐานทกั ษิณกอ่ ฐาน ลวดลายประดบั หน้าบันของอุโบสถ
สิงห์ ๒ ชนั้ ชน้ั เชิงบาตรองคร์ ะฆัง บัลลังก์ พระประธานในอโุ บสถ
ปล้องไฉนเป็นทรงบัวคลุ่มเรียงลดหล่ันกัน
๗ ชั้น ปลซี ง่ึ ยืดสงู มาก มีลกู แกว้ ค่ันกลาง
องค์ระฆังท�ำลวดลายปูนปั้นประเภท
รักร้อยประดับการท�ำปลียืดสูงจนต้อง
ท� ำ ลู ก แ ก ้ ว คั่ น ก ล า ง เ ร่ิ ม มี อ ยู ่ ใ น ส มั ย
กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และได้พบเสมอ
ในเจดยี ์สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้

๓. เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองมีเรือน
ธาตุ ตั้งอยู่นอกก�ำแพงแก้ว ด้านเหนือใต้
ขา้ งหนา้ ขา้ งละองคแ์ ละในกำ� แพงแกว้ หนา้
อุโบสถด้านซ้ายอีก ๑ องค์ ลักษณะและ
ขนาดเดียวกันแต่องค์ท่ีอยู่ในก�ำแพงแก้ว
ขนาดยอ่ มกว่าเล็กนอ้ ย

สว่ นลา่ งทำ� ฐานบวั ลกู แกว้ เตย้ี เปน็
ฐานทักษิณ พ้ืนบนฐานทักษิณแคบ องค์
เจดีย์ทำ� ฐานสงิ ห์ ๒ ช้นั รองรบั เรือนธาตุ
มีจระนำ� ทศิ ท้ัง ๔ ด้าน เหนือเรือนธาตุท�ำ
ฐานสิงห์ ๒ ช้ัน และช้ันเชิงบาตรรองรับ
องค์ระฆัง บัลลังก์และปล้องไฉน ท�ำบัว
หงายรองรับปลีซึ่งยืดยาวมากจนต้องมี
ลูกแก้วค่ันกลาง เจดีย์ท้ัง ๓ องค์น้ีน่าจะ
สรา้ งหรอื ซอ่ มในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้

๔. เจดีย์ทรงปรางค์ย่อมุมไม้
ย่ีสิบ จ�ำนวน ๑ องค์ ต้ังอยใู่ นกำ� แพงแก้ว
หน้าอุโบสถด้านขวา ส่วนล่างก่อฐานบัว
๑ ชน้ั ฐานสิงห์ ๒ ชน้ั รองรบั เรอื นธาตุ ซึ่ง
ท�ำจระน�ำทั้ง ๔ ด้าน ส่วนยอดท�ำชั้นรัด
ประคดซอ้ นกนั ๗ ชนั้ ใบขนนุ และกลบี ขนนุ

31

เจดียย์ ่อมุมไม้สบิ สองทรงเครอื่ ง

แปะติดกับองค์ปรางค์ ไม่มีซุ้มบัญชรประจ�ำช้ันรัดประคด ปรางค์องค์นี้จึงน่าจะสร้างข้ึน
สมยั อยุธยาตอนปลายหรอื รัตนโกสินทร์ตอนต้น

32

เจดีย์ย่อมมุ ไมส้ ิบสอง เจดยี ์ทรงปรางค์

๕. หอระฆงั ตงั้ อยนู่ อกกำ� แพงดา้ นเหนอื เปน็ อาคารแปดเหลย่ี ม ๒ ชน้ั พนื้ ชน้ั บน
ปูด้วยไม้ หลังคาเคร่ืองไม้พังลงแล้ว ผนังทุกช้ันทุกเหล่ียมเจาะช่องหน้าต่างทรงกลีบบัว
กรุช่องหน้าต่างด้วยดินเผาเคลือบเขียวแผ่นส่ีเหล่ียมจัตุรัสฉลุลาย ทางเข้าหอระฆังเจาะ
ช่องสีเ่ หลย่ี มท่ีชั้นล่างที่ผนังดา้ นเหนือ
บรรณานุกรม
การศาสนา, กรม. ประวตั ิวดั ทั่วราชอาณาจักร เลม่ ๔. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์การศาสนา,
๒๕๒๘.
ศลิ ปากร, กรม. พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พมิ พ์
คลงั วิทยา, ๒๕๑๖.
_________.พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๒. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั พมิ พ์
คลังวทิ ยา, ๒๕๑๖.
_________.พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์. พระนคร :
สำ� นักพิมพค์ ลังวทิ ยา, ๒๕๑๕.

33

34

พระราชวงั
โบราณ

พระราชวังโบราณ หรอื พระราชวงั หลวงเป็นท่ปี ระทับของ
พระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ เปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเมอื ง
การปกครองในเวลาเดียวกัน ภายในพระราชวังหลวงจึงประกอบ
ไปด้วยพระมหาปราสาท พระต�ำหนัก พระคลังต่าง ๆ อาคาร
สง่ิ กอ่ สรา้ งอน่ื ๆ อกี จำ� นวนมาก นอกจากนย้ี งั ประกอบไปดว้ ยอาคาร
สถานท่ีราชการอีกหลายแห่ง ซ่ึงปรกติต้ังอยู่ในเขตพระราชฐาน
ช้ันนอก กล่าวไดว้ ่าพระราชวังหลวงเป็นศนู ยร์ วมงานสถาปตั ยกรรม
และศลิ ปกรรมทง่ี ดงาม เปน็ ศรสี งา่ ของบา้ นเมอื ง จนชาวตา่ งประเทศ
ท่ีเดินทางเข้ามาในพระนครศรีอยุธยาในเวลานั้น กล่าวถึง
พระราชวังหลวงแห่งกรุงศรีอยุธยาว่า มีอาณาบริเวณกว้างขวาง
บรรดาสิ่งกอ่ สร้างตา่ ง ๆ ท่ีประกอบกันขึน้ เปน็ พระราชวังน้ันมคี วาม
ใหญ่โตงดงาม มองเห็นเป็นสีทองท้ังหมด ดุจเป็นเมืองอีกเมืองหน่ึง
ทเี ดยี ว

พระราชวังหลวงแห่งกรุงศรีอยุธยากล่าวโดยประวัติการ
กอ่ สรา้ งและการเปลยี่ นแปลงลกั ษณะทางกายภาพ สามารถแบง่ ออก
ได้เปน็ ๓ ระยะ ดังน้ี

35

๑. พระราชวังหลวงระยะที่ ๑ รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ถึงรัชกาลสมเด็จ
พระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ (พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๑๙๙๑)

๒. พระราชวงั หลวงระยะท่ี ๒ รชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ถงึ รชั กาลสมเดจ็
พระอาทติ ยวงศ์ (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๑๗๓)

๓. พระราชวงั หลวงระยะที่ ๓ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง ถงึ รชั กาลสมเดจ็
พระเจา้ เอกทศั (พ.ศ. ๒๑๗๓ - ๒๓๑๐)

พระราชวังหลวง

ระยะท่ี

พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนิตกิ์ ล่าวว่า “ศกั ราช ๗๑๒
ขาลศก (พ.ศ. ๑๘๙๓) วนั ศกุ ร์ ขน้ึ ๖ คำ�่ เดอื น ๕ เพลารงุ่ แลว้ ๓ นาฬกิ า ๙ บาท แรกสถาปนา
กรุงพระนครศรอี ยุธยา”๑ และพระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา ให้รายละเอยี ด
เกี่ยวกับการก่อสร้างพระราชวังหลวงว่า สมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงโปรดให้สร้างพระที่นั่ง
ไพฑรู ยม์ หาปราสาทองคห์ นง่ึ สรา้ งพระทน่ี ง่ั ไพชยนตม์ หาปราสาทองคห์ นงึ่ สรา้ งพระทน่ี ง่ั
ไอสวรรยม์ หาปราสาทองคห์ นงึ่ ๒ ดงั นน้ั จงึ มพี ระทนี่ ง่ั สำ� คญั ๓ องคแ์ รก ในพระราชวงั หลวง
ท่ีสมเด็จพระเจา้ อู่ทองทรงโปรดให้สร้างข้ึน

ชยั ภมู ทิ ต่ี งั้ พระราชวงั หลวงนนั้ สมเดจ็ พระเจา้ อทู่ องทรงเลอื กพน้ื ทบี่ รเิ วณกง่ึ กลาง
เมอื งคอ่ นไปทางดา้ นเหนอื เนอ่ื งจากเปน็ ทดี่ อน ในขณะทโี่ ดยรอบเปน็ บงึ นำ�้ ธรรมชาตแิ ละ
เป็นท่ีลุ่ม การเลือกพ้ืนท่ีดังกล่าวนอกจากจะอยู่ในท�ำเลท่ีเป็นศูนย์กลางของเมืองแล้ว
ยังเป็นการประหยัดเวลาและแรงงานอีกด้วย บริเวณดังกล่าวนั้น ปัจจุบันเป็นที่ต้ังของ
วดั พระศรสี รรเพชญ์

๑ กรมศิลปากร, ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับ
หลวงประเสรฐิ อักษรนิติ์ (พระนคร : สำ� นักพมิ พ์คลังวิทยา, ๒๕๐๗), หน้า ๔๔๓.
๒ กรมศลิ ปากร, พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๑ (พระนคร : โรงพมิ พอ์ กั ษรสมั พนั ธ,์ ๒๕๐๕),
หน้า ๙๘.
36

ขอบเขตพระราชวังเม่ือแรกสร้างน้ันคงจะมีก�ำแพงอิฐล้อมรอบ คือแนวก�ำแพง
ที่เป็นก�ำแพงวัดพระศรีสรรเพชญ์ในปัจจุบัน ขนาดก�ำแพงหนาประมาณ ๑.๕๐ เมตร
บนสันก�ำแพงปักใบเสมามีเชิงเทินส�ำหรับทหารยืนรักษาการณ์โดยตลอด ตรงมุมก�ำแพง
และตามด้านท่ีส�ำคัญ ยังไม่มีป้อมปืนประจ�ำ เนื่องจากเวลานั้นปืนใหญ่ยังไม่มีใช้ใน
กรุงศรอี ยธุ ยา ดังนั้น ตรงมมุ ก�ำแพงพระราชวังหลวงจงึ สร้างเปน็ เสาหวั เมด็ ยงั คงปรากฏ
ของเดมิ ทม่ี มุ กำ� แพงวดั พระศรสี รรเพชญด์ า้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สว่ นปอ้ มปนื ทส่ี รา้ งอยู่
ประจ�ำมุม ประจ�ำด้านที่ก�ำแพงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ปัจจุบันเป็นส่ิงท่ีสร้างต่อเติมขึ้น
ภายหลังเมื่อผนวกเขตวัดพระศรีสรรเพชญ์ และพระราชวังหลวงให้เป็นเขตเดียวกัน
ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง

ไมม่ เี อกสารใดทก่ี ลา่ วถงึ ชอื่ และตำ� แหนง่ ของประตพู ระราชวงั หลวงในระยะนี้ แต่
เน่ืองจากแนวกำ� แพงพระราชวังระยะที่ ๑ นี้ ต่อมาใช้เป็นกำ� แพงของวดั พระศรีสรรเพชญ์
สนั นษิ ฐานวา่ ตำ� แหนง่ และชอ่ื ของประตคู งจะใชข้ องเดมิ คอื ดา้ นตะวนั ออกหนา้ พระราชวงั
มี ๒ ประตู ดา้ นเหนือ ๑ ประตู คอื ประตูท่ีต่อมาเรียกว่าประตฉู นวนวัดพระศรีสรรเพชญ์
ดา้ นตะวนั ตกทา้ ยวงั มี ๑ ประตู เปน็ ประตชู อ่ งกดุ ดา้ นใตม้ ี ๑ ประตู คอื ประตทู ต่ี อ่ มาเรยี กวา่
ประตูบวรนิมติ ร ลักษณะการแบง่ พนื้ ท่ีภายในคงจะแบ่งออกเป็นเขตพระราชฐานช้นั นอก
ชั้นกลาง และชน้ั ในเช่นเดยี วกัน

สิ่งก่อสร้างภายในพระราชวังนอกจากพระมหาปราสาท ๓ หลงั ดงั กล่าวมาแลว้
ในรัชกาลสมเด็จพระเจา้ อู่ทองยังปรากฏชื่อพระท่ีน่ังมังคลาภิเษกอกี ๑ องค์ ในกฎหมาย
ตราสามดวง๓ ในรชั กาลต่อมาพระราชพงศาวดารกลา่ วว่า สมเด็จพระราเมศวรเสดจ็ ออก
ทรงศีล ณ พระที่นั่งมังคลาภิเษก เพลา ๑๐ ทุ่ม ทอดพระเนตรไปทางทิศตะวันออก
เห็นพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฏิหาริย์จึงเรียกปลัดวังให้เอาพระราชยานทรงเสด็จออก
ไปให้เอากรุยปักข้ึน สถาปนาพระมหาธาตุสูง ๑๙ วา ให้ชื่อ “วัดมหาธาตุ”๔ ต่อมา
รัชกาลสมเด็จเจ้าสามพระยาเกิดเพลิงไหม้พระราชมณเฑียรเมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๓ และ
เกิดเพลิงไหม้พระที่นั่งตรีมุข เมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๔๕ ดังน้ัน พระราชวังหลวงระยะที่ ๑ นี้
จึงปรากฏหลักฐานในเอกสารว่าประกอบด้วยพระที่น่ังจ�ำนวน ๕ องค์ คือ พระท่ีนั่ง

๓ สมเด็จพระเจ้าอู่ทองเสด็จออกพระที่น่ังมังคลาภิเษกให้ตรากฎหมายพิสูจน์ด�ำน�้ำลุยเพลิง เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๙
พระอัยการลักษณะโจร เม่ือ พ.ศ. ๑๙๐๓ และพระอยั การเบ็ดเสรจ็ เมอ่ื พ.ศ. ๑๙๐๖ โปรดดู ประมวลกฎหมาย
รัชกาลที่ ๑ เล่ม ๑ หน้า ๓๕๘, เล่ม ๒ หนา้ ๒๙๑ และประมวลกฎหมายรชั กาลท่ี ๑ จลุ ศักราช ๑๑๑๖ เล่ม ๒
(กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๙), หนา้ ๒๕๔.
๔ พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา เล่ม ๑, หนา้ ๔๔๗.
๕ คำ� ใหก้ ารชาวกรุงเก่าฯ, หน้า ๔๔๗.

37

ไพชยนต์มหาปราสาท พระที่น่ังไอศวรรย์มหาปราสาท พระที่น่ังไพฑูรย์มหาปราสาท
พระที่น่ังมังคลาภิเษก และพระท่ีนั่งตรีมุข พระราชมณเฑียรซึ่งอาจจะเป็นท่ีประทับอีก
๑ หลัง สว่ นอาคารอ่ืน ๆ ไมป่ รากฏในเอกสาร

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชวินิจฉัยเกี่ยวกับ
ตำ� แหนง่ ทต่ี งั้ ของพระมหาปราสาทภายในพระราชวงั หลวงระยะท่ี ๑ น้ี ในหนงั สอื พระราช
นิพนธ์เรื่องพระราชมณเฑียรในกรุงเก่าว่า “คะเนดูพระราชวังครั้งน้ันปราสาทสามองค์
คือ พระท่ีน่ังไพฑูรย์มหาปราสาท พระท่ีนั่งไพชยนต์มหาปราสาท พระที่นั่งไอสวรรย์
มหาปราสาท คงเป็นวหิ ารยอด ซง่ึ ตั้งอยใู่ นระหว่างพระเจดยี ์ ๓ องค์ เปน็ ทป่ี รากฏอยจู่ น
บดั นี้ คงจะเปน็ ปราสาทสเ่ี หลยี่ มไมไ่ ดย้ อ่ เกจ็ อยา่ งยอ่ มๆ เทา่ ทเี่ หน็ อยนู่ ไี้ มส่ จู้ ะเปน็ ทปี่ ระทบั
สบายนัก จงึ ไดม้ ีพระท่ีนั่งตรีมุข พระราชมณเฑยี รและพระที่นงั่ มังคลาภิเษก ถ้าจะคะเนดู
พระทนี่ งั่ ตรีมขุ นัน้ คงจะเปน็ ท่ีเสด็จออกมุขหน้าอกี ๒ มุข เปน็ ท่ปี ระทับ พระราชมณเฑยี ร
อยหู่ ลงั เข้าไปลักษณะอย่างพระราชวงั เดิมที่กรงุ เทพฯ ซึง่ เปน็ พระราชวงั กรุงธนบุรี ฤาใน
พระบรมมหาราชวงั พระทนี่ งั่ อมั รนิ ทรวนิ จิ ฉยั พระทนี่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ เปน็ ตรมี ขุ พระทน่ี งั่
จักรวรรดิพิมานเป็นพระราชมณเฑียรแต่ขนาดใหญ่เล็กเทียบดูปราสาทคงจะไม่ใหญ่มาก
เช่นหมู่พระท่ีนั่งจักรวรรดิพิมานแน่ น่าท่ีจะเท่ากับพระราชวังเดิม และที่ซ่ึงตั้งน้ันท่ีไหน
ไม่เหมาะเท่าท่ีพระวิหารใหญ่ด้านตะวันออก พระที่นั่งมังคลาภิเษกในพระราชวังเก่านี้
เปน็ ทท่ี รงศลี ฤาเป็นทป่ี ระทบั ส�ำราญไมใ่ ช่ที่ประทับอยู่เป็นนจิ ท่ซี ง่ึ ควรจะตั้งมอี ยู่ ๒ แหง่
อยู่แนวกำ� แพงแกว้ พระที่น่ังตรมี ขุ เช่น หอพระปรติ สาตราคม ณ พระที่น่งั ดสุ ิตดาภิรมย์
ในพระบรมมหาราชวัง ฤาพระท่ีนงั่ มังคลาภิเษก พระที่นงั่ เอกอลงกฎในพระราชวังบวรฯ
อย่างหน่ึงฤาไม่ฉะน้ันก็อยู่ตรงมุขเหนือมุขใต้พระที่น่ังตรีมุข เช่น หอพระเจ้า หอพระอัฐิ
ซง่ึ ตอ่ กบั พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ จะออกไปตงั้ ขา้ งหนา้ ทเี ดยี วไมไ่ ด้ เพราะถา้ ตงั้ อยขู่ า้ งหนา้
ทีเดียว สมเด็จพระราเมศวรที่ไหนจะไปเห็นท้าวมณเฑียรน่ังขวางทางเพราะผิดต�ำแหน่ง
เปน็ ขา้ งหน้า แต่ถา้ หากว่าจะเปน็ พระท่นี ่งั ข้างในทเี ดียวก็ไมไ่ ด้ เพราะพระราชวงั หนั หน้า
ตะวันออกท่ีไหนจะทอดพระเนตรเห็นพระสารีริกธาตุตกลงในท่ีซึ่งสร้างวัดมหาธาตุได้
จงึ สนั นษิ ฐานว่าจะตง้ั อยู่เหนอื หอพระเจ้า หอพระอฐั ใิ นพระบรมมหาราชวงั เมอื่ ได้ความ
สันนิษฐานเช่นนี้จึงเห็นเหมาะสมว่าพระท่ีนั่งตรีมุขและพระราชมณเฑียรต้ังอยู่ในท่ี
พระวิหารหลวงด้านตะวนั ออก พระที่นัง่ มังคลาภิเษกคงจะตัง้ อย่ใู นวิหารหลังพระอุโบสถ
เปน็ ตรงปลายตรมี ขุ ขา้ งหนง่ึ และขา้ งเหนอื คงมอี กี องคห์ นง่ึ ซง่ึ ไมม่ เี หตจุ ะกลา่ วถงึ พระทนี่ งั่
จอมทอง ซ่ึงพระเจ้าอยู่หัวทรงธรรมออกบอกหนังสือพระก็คงเป็นชื่อเก่าไม่ใช่ตั้งใหม่
เป็นชื่อของพระที่นั่งเย็นเช่นดุสิตดาภิรมย์ อยู่มุมก�ำแพงท้องพระโรง แต่ท่ีวิหารสามหลัง

38

เดยี๋ วนจ้ี ะเคลอื่ นคลาดจากทเี่ ดมิ กเ็ ปน็ ได้ ดว้ ยพระวหิ ารใหญน่ นั้ โตมากกต็ อ้ งขยายทอี่ อกไปตอ่
พระราชมณเฑยี รไปตามแนวพระระเบยี งวดั พระศรสี รรเพชญเ์ ดยี๋ วนค้ี งเปน็ เรอื นจนั ทรแ์ ลว้
จึงมีก�ำแพงอีกช้ันหนึง่ นัน้ เปน็ ข้างใน”

การขุดแต่งทางโบราณคดีบริเวณวิหารหลวงพบว่าฐานของวิหารหลวงส่วนล่าง
ฝังลึกอยู่ใต้ดินสันนิษฐานว่าวิหารหลวงหลังนี้คงมีมาแต่เดิม ซ่ึงอาจจะเป็นพระท่ีนั่ง
มงั คลาภิเษก หรือพระทนี่ ่ังตรีมขุ องคใ์ ดองค์หนง่ึ ดงั พระราชวนิ จิ ฉยั ของพระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั ต่อมาเม่ือยกพระราชวังใหเ้ ป็นพุทธาวาสแลว้ จึงแปลงใหเ้ ปน็
พระวิหาร

สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเสดจ็ ขนึ้ ครองราชสมบตั ิ เมอ่ื พ.ศ. ๑๙๙๑๖ ทรงยกพนื้ ท่ี
พระราชวงั หลวงเดมิ ใหเ้ ปน็ พทุ ธาวาส เนอ่ื งจากพระราชวงั หลวงเดมิ คงชำ� รดุ ทรดุ โทรมยาก
จะปฏสิ งั ขรณ์ จากเหตุเพลงิ ไหม้ถงึ ๒ ครงั้ ในรัชกาลท่ีผ่านมาประการหนึ่ง ทรงโปรดให้
สร้างพระราชวังหลวงแห่งใหม่ท่ีริมแม่น้�ำ ด้านเหนือของพระราชวังเดิม๗ ในตอนต้น
รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถยังทรงประทับอยู่ในพระราชวังหลวงแห่งเดิม เพราะ
การก่อสร้างพระราชวงั หลวงแห่งใหมค่ งจะใชเ้ วลาเกอื บตลอดรัชกาล เนือ่ งจาก

๑. บริเวณท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเลือก เพื่อสร้างพระราชวังแห่งใหม่
เป็นท่ีลุ่มและบึงน้�ำตามธรรมชาติ มีหลักฐานช้ันดินจากการขุดค้นทางโบราณคดีใน
พระราชวังหลวงพบว่า ชน้ั ดินช้ันล่างสดุ ในหลุมขดุ คน้ หลายหลมุ เคยเปน็ บอ่ น�ำ้ หรือบงึ น�้ำ
ชั้นดินโดยท่ัวไปเกิดจากการน�ำดินจากที่ใดที่หนึ่งมาถมปรับพ้ืนท่ีเพ่ือการก่อสร้าง
หลายคร้ังหลายสมัย สระน�้ำในพระราชวังหลวงทุกแห่งเคยเป็นบึงน้�ำธรรมชาติท่ีขุดลอก
ไวใ้ ชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่ สระแกว้ สระโอ สระหนองหวาย สระรอบพระทนี่ ง่ั บรรยงกร์ ตั นาสน์
และสระระฆัง ดังน้ัน การสร้างพระราชวังใหม่ต้องใช้เวลาและก�ำลังคนปรับถมพื้นที่
เป็นอันมาก

๒. การท�ำสงครามติดพันกับพระเจ้าติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา นับต้ังแต่
ตน้ รชั กาลนา่ จะสง่ ผลใหก้ ารสรา้ งพระราชวงั แหง่ ใหมล่ า่ ชา้ ลงเปน็ อนั มาก พระราชพงศาวดาร
กล่าวว่า สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถต้องทรงเสด็จขึ้นไปประทับท่ีเมืองพิษณุโลกตั้งแต่
พ.ศ. ๒๐๐๖ จนเสด็จสวรรคตเม่ือ พ.ศ. ๒๐๓๑๘ รวมเวลา ๒๕ ปี ในระยะเวลาดังกลา่ ว

๖ คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เก่าฯ, หน้า ๔๔๘.
๗ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา เลม่ ๑, หนา้ ๑๒๑.
๘ คำ� ใหก้ ารชาวกรุงเกา่ ฯ, หน้า ๔๔๙ - ๔๕๒.

39

ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๓ พระราชโอรสใหค้ รองราชสมบตั กิ รงุ ศรอี ยธุ ยา
และคงเปน็ แมก่ องดำ� เนินการกอ่ สรา้ งพระราชวังแหง่ ใหม่

๓. ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการก่อสร้างใด ๆ ในบริเวณพระราชวังหลวงเดิม
ในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยเฉพาะเจดีย์ประธานซึ่งเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีสุดของ
พระพุทธาวาสในสมัยอยุธยาจนถึงรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ จึงพบหลักฐาน
การก่อสร้างมหาเจดีย์ ๒ องค์ เม่ือ พ.ศ. ๒๐๓๕ เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิธาตุของสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถองค์หน่ึง สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ องค์หน่ึง๙ เจดีย์ ๒ องค์
ดงั กลา่ วคงจะหมายถงึ เจดยี ์ ๒ ใน ๓ องค์ ทส่ี รา้ งเปน็ ประธานของวดั พระศรสี รรเพชญเ์ จดยี ์
อีกองคห์ น่ึง สนั นษิ ฐานวา่ สมเด็จพระบรมราชาหน่อพทุ ธางกรู สร้างขึ้นเพอ่ื บรรจพุ ระบรม
อฐั ธิ าตขุ องสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี๒สว่ นวหิ ารหลวงนน้ั ไดร้ บั การปฏสิ งั ขรณ์เมอื่ พ.ศ.๒๐๔๒
เพ่อื ประดษิ ฐานพระพุทธรปู ศรีสรรเพชญ์

อยา่ งไรกต็ าม มหี ลกั ฐานวา่ พระราชวงั หลวงแหง่ ใหมน่ า่ จะสรา้ งแลว้ เสรจ็ ในรชั กาล
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เนอ่ื งจากปรากฏหลกั ฐานในคำ� ปรารภของกฎหมายพระอยั การ
ตำ� แหนง่ นาพลเรอื นทตี่ ราขน้ึ ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เขยี นวา่ พระองคป์ ระทบั
ณ พระท่ีน่ังเบญจรัตนมหาปราสาท๑๐ ซ่ึงเป็นชื่อพระท่ีน่ังท่ีพระองค์โปรดให้สร้างใน
พระราชวังหลวงแห่งใหม่

ดงั นน้ั พระราชวงั ระยะที่ ๑ นเ้ี ปน็ ทปี่ ระทบั ของพระมหากษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา
๗ พระองค์ ตง้ั แตร่ ัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ อ่ทู อง ถงึ รัชกาลสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒
ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๑๙๙๑ รวม ๙๘ ปี ทง้ั นยี้ งั ไมร่ วมเวลาทส่ี มเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
ทรงประทับท่พี ระราชวังแห่งน้ใี นตอนต้นรชั กาลซ่งึ ไม่มีหลกั ฐานแน่ชดั วา่ นานเทา่ ใด

๙ เล่มเดียวกนั , หนา้ ๔๕๒.
๑๐ ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑, หน้า ๑๗๘.
40

พระราชวังหลวง
ระยะที่

พระราชพงศาวดารกลา่ ววา่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงโปรดใหส้ รา้ งพระทน่ี งั่
สรรเพชญป์ ราสาทองคห์ นงึ่ และพระทนี่ งั่ เบญจรตั นมหาปราสาทอกี องคห์ นงึ่ ในพระราชวงั
แห่งใหม่ ตัวพระราชวังตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออกมีก�ำแพงก่ออิฐล้อมรอบ ขนาด
ประมาณ ๑๙๐ x ๔๕๐ เมตร กำ� แพงหนาประมาณ ๑.๕๐ เมตร ลกั ษณะกำ� แพงกอ่ อฐิ
หกั มุมเปน็ เสาหัวเมด็ พบหลักฐานตรงมมุ ก�ำแพงบริเวณที่ต่อมาเป็นป้อมสวนองนุ่ กำ� แพง
พระราชวงั หลวงระยะท่ี ๒ นี้ ยงั ไมม่ ปี อ้ มประจำ� มมุ ประจำ� ดา้ นและพน้ื ทขี่ องพระราชวงั หลวง
กับวัดพระศรสี รรเพชญย์ งั มไิ ดเ้ ช่อื มตอ่ ใหเ้ ปน็ อันหนง่ึ อันเดียวกนั

ก�ำ แพงและประตพู ระราชวงั ชั้นนอก
แนวก�ำแพงพระราชวังหลวงด้านตะวันออกอยู่บริเวณก่ึงกลางท้องสนามหน้า

จักรวรรดใิ นปจั จบุ ัน ขุดค้นพบรากฐานของกำ� แพงและประตู ๒ ประตู ประตแู รกตรงเขา้
พระทน่ี ง่ั วหิ ารสมเดจ็ ประตทู ี่ ๒ ตรงทางเขา้ พระทน่ี ง่ั สรรเพชญป์ ราสาท ตวั กำ� แพงและประตู
ก่อดว้ ยศลิ าแลงใช้อฐิ ผสมเลก็ นอ้ ย ลักษณะของประตมู แี ผนผงั หยักมุมหลายมมุ คงจะเปน็
ประตยู อด มหี อ้ งทพ่ี กั โขลนทวารในชอ่ งประตู และมบี านประตู ๒ ชน้ั ชอื่ ประตทู แ่ี นวกำ� แพง
ด้านนพ้ี บหลกั ฐานในพระราชพงศาวดาร คือ

ประตูมงคลสุนทร เป็นประตูด้านหน้าพระราชวังหลวงระยะที่ ๒ ปรากฏช่ือใน
พระราชพงศาวดารอยา่ งนอ้ ย ๒ ครงั้ ครงั้ แรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๑๕๓ พระพมิ ลธรรม (พระศรศี ลิ ป)์
บวชอยวู่ ดั ระฆงั ซอ่ งสมุ สมคั รพรรคพวกยกเขา้ มาฟนั ประตมู งคลสนุ ทรเขา้ ไปในพระราชวงั
ปลดสมเดจ็ พระศรเี สาวภาคยอ์ อกจากราชบลั ลงั ก์ ขนึ้ ครองราชสมบตั ทิ รงพระนามสมเดจ็
พระเจ้าทรงธรรม อีกครั้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๒ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองครั้งด�ำรง
ต�ำแหน่งเจ้าพระยากลาโหม ยกพลเข้ามาฟันประตูมงคลสุนทรเข้ายึดพระราชวังหลวง
ปลดสมเด็จพระเชษฐาธิราชออกจากราชบัลลังก์ แล้วสถาปนาสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์๑๑ การท�ำรัฐประหารท้ัง ๒ ครั้ง ผู้ก่อการสามารถยกก�ำลังมาตั้ง

๑๑ กรมศลิ ปากร, พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๒ (พระนคร : โรงพมิ พอ์ กั ษรสมั พนั ธ,์ ๒๕๐๕),
หนา้ ๗.

41

ประชมุ พลภายในพระนครกอ่ นจะยกเขา้ โจมตพี ระราชวงั หลวงทางดา้ นหนา้ การรฐั ประหาร
ครงั้ แรกกำ� ลงั พลของพระพมิ ลธรรมตงั้ ประชมุ พลทว่ี ดั มหาธาตุ ซง่ึ อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของ
พระราชวังหลวง เส้นทางที่จะใช้ยกพลเข้ามาพระราชวังได้สะดวกท่ีสุดคือทางถนน
ตลาดเจา้ พรหม เขา้ โจมตพี ระราชวงั หลวงทางดา้ นหนา้ ดงั นน้ั ประตแู รกทผี่ กู้ อ่ การรฐั ประหาร
เข้าถงึ ก่อน คอื ประตตู รงหนา้ พระทีน่ ัง่ วิหารสมเดจ็ ประตนู จ้ี ึงน่าจะชื่อประตูมงคลสุนทร

ประตไู พชยนต์ ปรากฏชื่อในพระราชพงศาวดารตอนแผ่นดินสมเดจ็ พระยอดฟ้า
วา่ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๑ เสดจ็ ออกสนามใชช้ นชา้ ง และงาช้างพระยาไฟนน้ั หักเปน็ ๓ ทอ่ น
อน่ึง อยู่มา ๒ วัน ช้างต้นพระยาฉัททันต์ไล่ร้องเป็นเสียงสังข์ อน่ึง ประตูไพชยนต์ร้อง
เป็นอุบาทว์ ถึงวันอาทิตย์ข้ึน ๕ ค่�ำ เดือน ๘ สมเด็จพระยอดฟ้าเป็นเหตุจึงขุนชินราช
ได้ราชสมบัติ๑๒ ประตูน้ีน่าจะเป็นประตูส�ำคัญอยู่ท่ีแนวก�ำแพงพระราชวังด้านหน้า คือ
ประตทู ี่ตรงเขา้ พระทีน่ ัง่ สรรเพชญ์ปราสาท

แนวกำ� แพงพระราชวงั หลวงดา้ นเหนอื มปี ระตู ๓ ประตู ไมป่ รากฏหลกั ฐานชดั เจน
วา่ ชอ่ื อะไร แตเ่ นอื่ งจากแนวกำ� แพงเสน้ นย้ี งั คงใชป้ ระโยชนต์ อ่ มาถงึ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย
โดยเปน็ กำ� แพงชน้ั ในของพระราชวงั ทขี่ ยายในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง ปรากฏ
ช่ือประตทู ั้ง ๓ ประตนู ี้ในแผนที่พระนครศรีอยุธยา นับจากด้านตะวันออก คอื

ประตไู ชยมงคลไตรภพชล อยใู่ กลศ้ าลหลวง ตรงกบั ประตเู จา้ ปราบทกี่ ำ� แพงเมอื ง
ประตูน้ีขุดพบรากฐานก�ำแพงมีแผนผังเช่นเดียวกับประตูมงคลสุนทร และส่วนยอดของ
ประตูเปน็ ช้ันซ้อน สนั นิษฐานวา่ เป็นอย่างยอดปรางค์

ประตูโคหาภพชล อยู่ตรงท้ายพระที่น่ังสรรเพชญ์ปราสาท ตรงกับประตู
มหาไตรภพชลทวารอทุ กทก่ี ำ� แพงเมอื งและฉนวนนำ้� ทา่ วาสกุ รี ประตนู หี้ ลกั ฐานยงั ไมช่ ดั เจน

ประตูต้นส้มโอ อยู่ตรงโรงเคร่ืองต้น ขุดพบรากฐานประตูเหมือนกับประตู
มงคลสุนทรและประตไู ชยมงคลไตรภพชล

แนวก�ำแพงพระราชวังหลวงด้านตะวันตกท้ายวังเป็นแนวขนานไปกับคลองท่อ
มปี ระตบู ก ๑ ประตู ประตนู ำ�้ ๒ ประตู แนวกำ� แพงดา้ นนใี้ ชเ้ ปน็ กำ� แพงชน้ั นอกของพระราชวงั
ทป่ี ฏสิ งั ขรณใ์ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง ดงั นน้ั ชอื่ ประตทู ง้ั หมดคงจะเปน็ ชอื่ ทม่ี ี
มาแตเ่ ดมิ ดังปรากฏในแผนท่ีพระนครศรอี ยุธยา นับจากด้านเหนือ คือ

๑๒ คำ� ให้การชาวกรุงเก่าฯ, หน้า ๔๕๖.
42

ประตูอดุ มคงคา เป็นประตูชกั น�ำ้ เขา้ มาใช้ในสระทา้ ยวัง (สระนีใ้ นรัชกาลสมเดจ็
พระนารายณ์ มีการขุดลอกและถมดินทรายเป็นเกาะตรงกลาง สร้างพระที่น่ังบรรยงก์
รตั นาสน)์ ชอ่ งประตนู ม้ี แี ผนผงั หยกั มมุ ๒ มมุ นา่ จะเปน็ ประตทู รงคฤห มบี านประตไู ม้ ๒ ชน้ั

ประตูมหาโภคราช เป็นประตูบกอยู่กึ่งกลางระหว่างประตูอุดมคงคากับประตู
ชลชาติวารสาคร ฐานรากของประตูท่ีขุดค้นพบไม่มีแผนผังหยักมุม สันนิษฐานว่าน่าจะ
เปน็ ประตูยอดมณฑป

ประตูชลชาตทิ วารสาคร เปน็ ประตไู ขนำ�้ ออกจากสระภายในพระราชวงั ลกั ษณะ
เชน่ เดยี วกบั ประตอู ดุ มคงคา

แนวก�ำแพงพระราชวังหลวงด้านใต้เชื่อมต่อจากก�ำแพงพระราชวังด้านตะวันตก
ตรงสวนองนุ่ มาบรรจบกบั กำ� แพงพระราชวงั ดา้ นตะวนั ออกทก่ี ลางทอ้ งสนามหนา้ จกั รวรรดิ
มปี ระตู ๓ ประตู นับจากด้านตะวันตก คอื

ประตสู วนองนุ่ หรอื ประตบู วรเจษฎานารี อยตู่ รงหนา้ ตำ� หนกั ตกึ มถี นนออกไปยงั
สวนองนุ่ และคงจะเป็นทางออกของฝ่ายในไปวดั พระศรสี รรเพชญ์

ประตูฉนวน ประตูน้�ำมีถนนปูอิฐเป็นทางเสด็จพระราชด�ำเนินไปวัดพระศรี
สรรเพชญ์

ประตู อยู่ตรงหอพระมณเฑยี รธรรมซง่ึ ตัง้ อยกู่ ลางสระหนองหวาย
การแบ่งเขตภายในพระราชฐาน

การศึกษาการจัดแบ่งเขตภายในพระราชฐานของพระราชวังหลวงระยะที่ ๒
มขี อ้ จำ� กดั ดา้ นเอกสารทางประวตั ศิ าสตรป์ ระการหนงึ่ ขอ้ จำ� กดั ดา้ นหลกั ฐานทางโบราณคดี
อกี ประการหนึ่ง เนือ่ งจากรากฐานของก�ำแพง รากฐานของพระทน่ี งั่ และอาคารต่าง ๆ ท่ี
เร่ิมสรา้ งมาต้ังแตร่ ัชกาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถนัน้ อยู่ในระดับชนั้ ดนิ ลึกกว่าปจั จบุ นั
จากการปฏิบัติงานทางโบราณคดีในพระราชวังหลวงท่ีผ่านมาได้กระท�ำเพียงการขุดแต่ง
ศกึ ษาซากโบราณสถานทป่ี รากฏบนผวิ ดนิ ซง่ึ เปน็ หลกั ฐานของสมยั อยธุ ยาตอนปลายเปน็
ส่วนมาก การขดุ ค้นชัน้ ดนิ ทางโบราณคดียังกระท�ำอย่างจ�ำกัด

หลกั ฐานจากการขดุ คน้ ชนั้ ดนิ ทางโบราณคดใี นพระราชวงั หลวงทผี่ า่ นมานนั้ พบวา่
ชนั้ ดนิ ทเี่ รมิ่ กอ่ สรา้ งพระราชวงั หลวงตงั้ แตร่ ชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ อยใู่ นระดบั
ความลกึ ประมาณ ๑.๕๐ เมตร จากระดบั ผวิ ดนิ ปจั จบุ นั ชนั้ ดนิ ทอ่ี ยเู่ หนอื ขนึ้ มาอกี หลายชนั้
แสดงความตั้งใจที่จะถมปรับระดับพ้ืนของพระราชวังให้สูงข้ึนกว่าเดิมด้วยดินเหนียวและ

43

อฐิ หกั กากปนู โดยปรบั ผวิ หนา้ ดว้ ยทรายอกี ชนั้ หนง่ึ เสมอ พน้ื ดนิ เหลา่ นน้ั แสดงถงึ กจิ กรรม
การก่อสร้างอาคารใหม่และการปฏิสังขรณ์ส่ิงก่อสร้างเดิมที่ทรุดโทรม ซ่ึงการถมพื้นที่
ให้สูงขึ้นจากกิจกรรมดังกล่าวน้ันน่าจะสัมพันธ์กับระดับพ้ืนของเมืองโดยรวมท่ีสูงข้ึน
ทุกปีด้วย เนือ่ งจากการทบั ถมของตะกอนน้�ำท่วม

เมอื่ มกี ารถมพนื้ ทใี่ หส้ งู ขน้ึ สว่ นฐานของสง่ิ กอ่ สรา้ งเดมิ จะตอ้ งจมอยใู่ ตด้ นิ ถา้ หาก
สิ่งก่อสร้างเหล่าน้ันยังคงใช้ประโยชน์ก็จะต้องก่ออิฐเสริมให้ฐานและพื้นสูงพ้นจากผิวดิน
ในขณะที่สิ่งก่อสร้างเดิมบางอย่างก็อาจจะจ�ำเป็นต้องเลิกใช้ กรณีน้ีพบตัวอย่างท่ีแนว
ก�ำแพงแกว้ ลอ้ มรอบพระท่ีนงั่ สรรเพชญป์ ราสาทถกู ถมไว้ใต้ดนิ แลว้ สร้างแนวกำ� แพงแก้ว
ใหม่ ซง่ึ เกดิ ขนึ้ ในคราวปฏิสงั ขรณค์ รั้งใดครั้งหนงึ่

อยา่ งไรกต็ าม สนั นษิ ฐานวา่ สถานทสี่ ำ� คญั ภายในพระราชวงั โดยเฉพาะมหาปราสาท
เมื่อมีการปฏิสังขรณ์ คงจะสร้างลงในท่ีเดิม แต่แนวก�ำแพงท่ีแบ่งเขตต่าง ๆ อาจมีการ
ปรบั เปลย่ี นไปบา้ งใหส้ มั พันธ์กบั สิง่ ก่อสรา้ งใหม่ ดงั นน้ั โดยภาพรวมของพระราชวงั หลวง
ระยะที่ ๒ น่าจะมกี ารแบง่ เขตภายในเป็น ๓ สว่ น คือ เขตพระราชฐานชน้ั นอก ชั้นกลาง
และช้นั ใน โดยศกึ ษาเทียบเคียงได้จากเอกสารแผนทพ่ี ระนครศรีอยธุ ยา ดงั นี้

เขตพระราชฐานช้ันนอก คือพื้นที่ส่วนหน้าของพระราชวัง เป็นที่ตั้งของส่วน
ราชการตา่ ง ๆ อาคารทยี่ งั เหลอื หลกั ฐาน คือ ศาลหลวงตั้งอยตู่ รงมุมกำ� แพงทศิ ตะวันออก
เฉียงเหนอื ใกล้ประตูไชยมงคลไตรภพชล ศาลหลวงหลังนใี้ ช้ประโยชนม์ าถึงตอนปลาย

เขตพระราชฐานช้ันกลาง มีก�ำแพงล้อมรอบอีกช้ันหนึ่งโดยแนวก�ำแพงด้าน
ตะวนั ออกมปี ระตูทางเข้า ๒ ประตู สว่ นด้านอ่ืนไมพ่ บหลักฐาน พืน้ ที่ภายในกำ� แพงช้ันนี้
ถมสูงกวา่ ระดับพ้นื ท่ีโดยรวม เป็นทตี่ ้ังของพระมหาปราสาทส�ำคญั ๒ หลงั คือ พระทน่ี ง่ั
วหิ ารสมเดจ็ และพระทีน่ งั่ สรรเพชญป์ ราสาท พระที่นงั่ ทัง้ ๒ องค์ มีกำ� แพงแก้วล้อมรอบ
สนามระหวา่ งพระมหาปราสาท ดา้ นหนา้ มโี รงชา้ ง โรงมา้ และทมิ ดาบ พระคลงั มหาสมบตั ิ
ต้งั อยตู่ รงพน้ื ทวี่ ่างระหวา่ งท้ายพระทน่ี ัง่ ท้ัง ๒ องค์ มกี ำ� แพงล้อมรอบอีกชัน้ หน่ึง

พน้ื ทนี่ อกกำ� แพงลอ้ มเขตพระราชฐานชนั้ กลาง ดา้ นใตม้ สี ระนำ�้ ชอื่ สระหนองหวาย
กลางสระน้�ำเป็นที่ตั้งหอพระมณเฑียรธรรม รอบสระนั้นมีหอพระเทพบิดรคลังศุภรัตน์
คลงั พมิ านอากาศ และโรงชา่ งทำ� เงิน

เขตพระราชฐานชั้นใน คือพ้ืนที่นอกก�ำแพงล้อมเขตพระราชฐานช้ันกลาง
ไปทางทศิ ตะวนั ตกจนถงึ ทา้ ยพระราชวงั เขตนมี้ แี นวกำ� แพงซง่ึ เชอื่ มระหวา่ งกำ� แพงชนั้ นอก
ดา้ นเหนือและดา้ นใต้ แบง่ พน้ื ท่อี อกเป็น ๒ เขตย่อย คอื สว่ นหน้าและสว่ นหลงั

44

เขตพระราชฐานช้นั ในส่วนหน้า คือ พ้ืนท่ีตอ่ จากเขตพระราชฐานชนั้ กลางไปทาง
ทิศตะวันตก มีก�ำแพงล้อมรอบชั้นหนึ่ง ภายในวงก�ำแพงนี้น่าจะเป็นท่ีตั้งของพระท่ีน่ัง
เบญจรัตนมหาปราสาท ตรงต�ำแหน่งที่เป็นพลับพลาตรีมุขในปัจจุบันใช้เป็นท่ีประทับ
ของพระมหากษัตริย์ ทางด้านเหนือมีโรงเครื่องต้น ๒ โรง บริเวณนี้คงจะเป็นท่ีอยู่ของ
ฝ่ายในด้วย

เขตพระราชฐานช้ันในส่วนหลัง คือ พื้นท่ีตอนท้ายสุดของพระราชวัง มีสระน�้ำ
ขนาดใหญ่ ๑ สระ คอื บรเิ วณทตี่ ่อมาเปน็ ที่ก่อสร้างพระที่นง่ั บรรยงก์รตั นาสน์ บรเิ วณน้ี
น่าจะเป็นสวนหลวงภายในพระราชวังมาแต่เดิม มีประตูชักน้�ำเข้ามาใช้ในสระ ๒ ประตู
ดังกลา่ วมาแล้ว

พระราชวังหลวงระยะท่ี ๒ เป็นท่ปี ระทบั ของพระมหากษตั ริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
๑๕ พระองค์ ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถถึงรัชกาลสมเด็จพระอาทิตยวงศ์
ระหว่าง พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๑๗๓ รวม ๑๘๒ ปี

พระราชวงั หลวง
ระยะที่

สมเด็จพระเจ้าปราสาททองปราบดาภิเษกข้ึนครองราชสมบัติพระนครศรีอยุธยา
เมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๓ ในระยะเวลาน้ัน กล่าวได้ว่า การเศรษฐกิจของกรุงศรีอยุธยาเร่ิมมี
ความเจริญมั่งค่ังถึงท่ีสุดจากการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเวลาท่ีบ้านเมืองสงบ
ปราศจากศกึ ภายนอกเขา้ มาตดิ พนั ดงั นน้ั ในรชั กาลของพระองค์ จงึ มเี วลาทจี่ ะทำ� นบุ ำ� รงุ
บ้านเมืองใหเ้ จริญรุ่งเรอื งยงิ่ ขึน้ ในดา้ นสถาปตั ยกรรมและศลิ ปกรรมนัน้ กล่าวไดว้ ่าเจริญ
รุ่งเรืองสูงสุดเชน่ เดียวกนั

การท่ีสมเด็จพระเจ้าปราสาททองมิได้มีเช้ือสายพระมหากษัตริย์ตามการสืบ
ราชสันตติวงศ์ ท�ำให้พระองค์ทรงพยายามทุกวิถีทางท่ีจะสร้างอ�ำนาจและบารมีให้เป็นที่
ยอมรบั ตอ่ บรรดาขนุ นางและไพรฟ่ า้ ขา้ แผน่ ดนิ สง่ิ ทแ่ี สดงออกมาใหเ้ หน็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
ได้แก่ การก่อสร้างศาสนสถาน การสร้างและปฏิสังขรณ์พระมหาปราสาทในพระราชวัง

45

หลวง เป็นต้น ศาสนสถานที่พระองค์ทรงสร้างหลายแห่งมีขนาดใหญ่โต บางแห่งอ้างถึง
การไปจ�ำลองแบบมาจากประเทศเขมร ลักษณะดังกล่าวท�ำให้คิดไปได้ว่า พระองค์ทรง
พยายามที่จะยกพระองค์ดุจเทวราชตามอย่างลัทธิเขมรในการสร้างอ�ำนาจของพระองค์
อยู่บา้ งไมม่ ากก็น้อย

งานด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมท่ีสร้างในรัชกาลของพระองค์น้ัน มิใช่
งานก่อสร้างที่เน้นเฉพาะเร่ืองความใหญ่โตหรือปริมาณ เพ่ือให้เป็นส่ิงส่งเสริมอ�ำนาจ
และบารมีของพระองค์แต่เพียงอย่างเดียว งานเหล่านั้นมีคุณภาพและงดงามอย่างย่ิง
ส่ิงก่อสร้างหลายรูปแบบคิดค้นและเร่ิมสร้างเป็นคร้ังแรกในรัชกาลของพระองค์ ด้าน
งานศิลปกรรมที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนานั้น จะพบว่า พระพุทธรูปทรงเคร่ืองทั้งท่ีเป็น
ปนู ปน้ั และสำ� รดิ สรา้ งไดอ้ ยา่ งงดงาม ไดส้ ดั สว่ น กลา่ วไดว้ า่ พระองคท์ รงใฝพ่ ระทยั สนบั สนนุ
งานด้านสถาปตั ยกรรมและศิลปกรรมอยา่ งแทจ้ รงิ ท�ำใหง้ านด้านนีพ้ ฒั นาไปอย่างมาก

ในสว่ นของพระราชวงั หลวงทปี่ ระทบั ของพระองคเ์ องนน้ั มกี ารพฒั นาเปลย่ี นแปลง
อยา่ งมากทง้ั การกอ่ สรา้ ง ปฏสิ งั ขรณพ์ ระมหาปราสาท การขยายขอบเขตพระราชวงั หลวง
ให้กว้างขวาง และการเสริมสร้างแนวกำ� แพงปอ้ มปราการให้มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น

ศักราช ๙๔๔ ปีวอก (พ.ศ. ๒๑๗๕) โปรดให้สร้างพระที่น่ังจักรวรรดิไพชยนต์
มหาปราสาท๑๓ พระที่นั่งองค์นี้ สร้างข้ึนบนที่ว่างระหว่างพระราชวังหลวงกับวัด
พระศรีสรรเพชญ์ ค่อนไปทางด้านหน้า ดังนั้น เม่ือแรกสร้างพระท่ีน่ังน้ีต้ังอยู่นอกเขต
พระราชฐาน ตัวพระที่น่ังจักรวรรดิไพชยนต์เป็นปราสาทจัตุรมุข มีมุขหลังส้ันกว่าอีก
๓ ด้าน ต่อออกมาทางด้านทิศตะวันตก ในแนวแกนเดียวกันมีอาคารหลังหน่ึงคงจะเป็น
พระต�ำหนัก พระต�ำหนักหลังนี้มีก�ำแพงล้อมรอบ โดยก�ำแพงด้านใต้ใช้แนวก�ำแพงวัด
พระศรีสรรเพชญ์ แนวก�ำแพงด้านตะวันออกคงจะต่อออกไปจากแนวก�ำแพงด้านหน้า
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ท�ำให้มุขท้ายของพระท่ีน่ังจักรวรรดิไพชยนต์ต้ังอยู่บนก�ำแพง หรือ
ก�ำแพงล้อมต�ำหนกั พุง่ เขา้ ชนมุขท้ายพระท่นี ่งั

พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขากล่าวต่อไปว่า ศักราช ๙๙๘ ปีชวด
(พ.ศ. ๒๑๗๙) โปรดใหร้ อื้ เทวสถานพระอศิ วรและพระนารายณข์ นึ้ มาตง้ั ยงั ชกี นุ ในปนี นั้ ใหย้ ก
กำ� แพงออกไปให้สรา้ งพระมหาปราสาทวิหารสมเดจ็ ๑๔

๑๓ พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา เลม่ ๒, หนา้ ๑๑.
๑๔ เล่มเดยี วกัน, หนา้ ๑๗.
46

คำ� ให้การชาวกรงุ เก่ากล่าวว่า สมเด็จพระเจา้ ปราสาททองโปรดใหส้ รา้ งพระทนี่ ั่ง
ขน้ึ ใหมอ่ กี ๓ องค์ พระราชทานนามวา่ พระทนี่ ง่ั สรุ ยิ าสนอ์ มั รนิ ทร์ วชิ ยั (จกั รวรรดไิ พชยนต)์
ไอสวรรย์ทิพยอาสน์ท่ีบางปะอิน แล้วให้สร้างพระราชมณเฑียรและพระคลังขึ้นอีก
เป็นอนั มาก๑๕

พระราชพงศาวดารที่ยกขึ้นมากล่าวตอนน้ีมีสาระส�ำคัญ ๓ ประเด็นท่ีมีความ
เกย่ี วข้องกัน

ประเด็นท่ี ๑ การยกก�ำแพงออกไป คือการขยายพระราชวงั หลวง
ประเด็นท่ี ๒ การสร้างพระทน่ี ่ังวหิ ารสมเด็จหรือสุริยาสน์อมั รนิ ทร์
ประเดน็ ท่ี ๓ การสร้างพระราชมณเฑียรและพระคลังเพ่ิมขน้ึ
การทพ่ี ระราชพงศาวดารกลา่ วถงึ การสรา้ งพระทนี่ ง่ั วหิ ารสมเดจ็ เมอื่ พ.ศ. ๒๑๗๙
นน้ั พระยาโบราณราชธานนิ ทรเ์ คยวนิ จิ ฉยั แลว้ เหน็ วา่ เปน็ การกลา่ วชอ่ื กอ่ นมกี ารกอ่ สรา้ ง
เพราะพระราชพงศาวดารกลา่ วไวช้ ดั เจนวา่ พ.ศ. ๒๑๘๖ อสนุ บี าตลงพระทน่ี งั่ มงั คลาภเิ ษก
พงั ลง ทรงพระกรณุ าใหช้ า่ งจดั การกอ่ พระมหาปราสาท ปหี นง่ึ แลว้ เสรจ็ ใหน้ ามชอื่ พระวหิ าร
สมเดจ็ ๑๖ ดงั น้ันพระท่นี งั่ วหิ ารสมเดจ็ แปลงชอื่ มาจากพระทีน่ งั่ มังคลาภิเษก ต้ังอย่ขู ้างใน
เพียงแต่ซ่อมใหม่หาต้องยกก�ำแพงออกไปไม่ พระท่ีนั่งที่สร้างขึ้นพร้อมกับการขยาย
พระราชวัง จึงควรจะเป็นพระท่ีน่ังสุริยาสน์อัมรินทร์ โดยเป็นพระที่น่ังสร้างใหม่ตามที่
กล่าวถงึ ในคำ� ให้การชาวกรงุ เก่า
การสร้างพระคลังเพ่ิมจากเดิม ดังปรากฏในค�ำให้การชาวกรุงเก่าเกี่ยวข้องกับ
การขยายพระราชวงั เชน่ กนั เพราะพบหลกั ฐานตอ่ มาในแผนทพี่ ระนครศรอี ยธุ ยาวา่ บรเิ วณ
ที่เป็นท่ีสร้างของพระคลังมหาสมบัติมี ๒ แห่ง คือพ้ืนที่ตอนท้ายระหว่างพระที่น่ังวิหาร
สมเด็จกับพระที่น่ังสรรเพชญ์ปราสาทแห่งหนึ่ง และบริเวณสวนไพชยนต์เบญจรัตน์อีก
แห่งหนึ่ง แห่งแรกสร้างมาแล้วพร้อมกับการสร้างพระราชวังในแผ่นดินสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ ดังน้ัน พระคลังมหาสมบัติบริเวณสวนไพชยนต์เบญจรัตน์จึงเป็นบริเวณท่ี
สรา้ งใหม่ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง ในพ้นื ทีข่ ยายของพระราชวงั ดา้ นใต้
ดงั นัน้ ในรชั กาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีการขยายพระราชวังออกไปดงั น้ี

๑๕ คำ� ให้การชาวกรงุ เกา่ ฯ, หน้า ๑๐๔.
๑๖ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เล่ม ๒, หนา้ ๒๔.

47

๑. ขยายพระราชวังออกไปทางทศิ เหนือคลมุ พ้ืนที่วา่ งระหว่างกำ� แพงพระราชวงั
กับก�ำแพงเมือง โดยต่อก�ำแพงพระราชวังด้านตะวันตกไปทางทิศเหนือชนก�ำแพงเมือง
ทป่ี อ้ มปากทอ่ แนวกำ� แพงพระราชวงั ดา้ นเหนอื ใชร้ ว่ มกบั แนวกำ� แพงเมอื ง พนื้ ทพ่ี ระราชวงั
ส่วนท่ีขยายออกมาทางด้านนี้ ซีกตะวันออกของฉนวนน้�ำท่าวาสุกรีทรงโปรดให้สร้าง
พระทน่ี ง่ั สรุ ยิ าสนอ์ มั รนิ ทรเ์ พอื่ เปน็ ทปี่ ระทบั ซกี ตะวนั ตกของฉนวนใหเ้ ปน็ ทอ่ี ยขู่ องฝา่ ยใน
ต�ำหนักประถมเพลิง ซ่ึงต้ังอยู่ตอนท้ายพระท่ีน่ังสุริยาสน์อัมรินทร์คงจะสร้างในรัชกาลนี้
เช่นเดยี วกนั

๒. ขยายพระราชวงั ออกไปทางทศิ ใต้ เดมิ พนื้ ทส่ี ว่ นนี้ เปน็ ทว่ี า่ งระหวา่ งพระราชวงั
กบั วดั พระศรสี รรเพชญ์ การขยายพระราชวงั ออกมาทางดา้ นนท้ี ำ� ใหพ้ นื้ ทพี่ ระราชวงั หลวง
กับวัดพระศรสี รรเพชญ์เปน็ พนื้ ท่ีเดียวกนั โดยสร้างกำ� แพงในแนวเหนอื - ใต้ เชอ่ื มก�ำแพง
พระราชวังหลวงมาชนกำ� แพงวดั พระศรีสรรเพชญ์ตรงจดุ นส้ี ร้างป้อมปนื ๑ ป้อม กำ� แพง
เสน้ นลี้ อ้ มฉนวนวดั พระศรสี รรเพชญไ์ วข้ า้ งใน กนั สระแกว้ ไวข้ า้ งนอก พนื้ ทพี่ ระราชวงั หลวง
สว่ นท่ีขยายออกมาทางดา้ นน้ีเป็นสถานที่กอ่ สร้างพระคลงั มหาสมบัติ

๓. ขยายพระราชวงั ออกไปทางทศิ ตะวนั ออก โดยตอ่ แนวกำ� แพงวดั พระศรสี รรเพชญ์
ดา้ นใตท้ างทศิ ตะวนั ออกราว ๑๐๐ เมตร แลว้ หกั ขน้ึ ไปทางทศิ เหนอื ชนกำ� แพงเมอื งทปี่ อ้ ม
ท่าคั่น การขยายเขตพระราชวังหลวงออกมาทางด้านนี้ล้อมพระที่น่ังจักรวรรดิไพชยนต์
ซง่ึ สรา้ งมาแลว้ ตอนตน้ รชั กาลไวข้ า้ งใน พรอ้ มกบั การยา้ ยสว่ นราชการตา่ ง ๆ ออกมาสรา้ งใน
พนื้ ทแ่ี หง่ นี้ เชน่ ศาลาลกู ขนุ ศาลาสารบญั ชี หอแปลพระราชสาสน์ และศาลหลวง เปน็ ตน้

กำ� แพงพระราชวงั หลวงชนั้ นอกทส่ี รา้ งในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททองสรา้ ง
ให้หนามากขึ้น พบหลักฐานจากการขุดแต่งทางโบราณคดีว่า จะก่ออิฐหุ้มก�ำแพงเดิมไว้
ขา้ งใน ได้แก่ แนวกำ� แพงด้านตะวันตก แนวกำ� แพงดา้ นใต้บางส่วน แนวก�ำแพงวัดพระศรี
สรรเพชญ์ ดา้ นเหนอื ดา้ นตะวนั ตก และดา้ นใต้ พรอ้ มกนั นนั้ มกี ารสรา้ งปอ้ มปนื ประจำ� มมุ
ประจำ� ดา้ นโดยรอบพระราชวงั สว่ นแนวกำ� แพงชน้ั นอกของพระราชวงั เดมิ ทอี่ ยใู่ นวงลอ้ ม
ของกำ� แพงพระราชวงั ทขี่ ยาย ยงั คงใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ กำ� แพงชน้ั ใน ยกเวน้ กำ� แพงดา้ นตะวนั ออก
ถูกร้ือลง สร้างแนวกำ� แพงใหม่ขยบั เขา้ ไปดา้ นในเลก็ น้อย

ศกั ราช ๑๐๗๗ ปมี ะแม (พ.ศ. ๒๑๙๘) สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงประชวรหนกั แปลง
สถานลงไปอยพู่ ระทน่ี ง่ั เบญจรตั น์ ๑๗ ความในพระราชพงศาวดารขา้ งตน้ อธบิ ายไดว้ า่ สมเดจ็

๑๗ เล่มเดียวกัน, หนา้ ๒๔.
48


Click to View FlipBook Version