The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

การรัฐประหารคร้ังน้ีมิใช่เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน เป็นเรื่องท่ีฝ่าย
พระราชวงั หลวงล่วงรเู้ หตกุ ารณ์อยแู่ ลว้ การทเี่ จ้าพระยากลาโหมสามารถยกพลเข้ามาถงึ
กลางเมืองถึงศาลพระกาฬก็เป็นสถานท่ีใกล้พระราชวังมากพร้อมจะปะทะกับก�ำลัง
ฝ่ายวังหลวง การท่ีพงศาวดารกล่าวว่า ไปชุมพลท่ีวัดสุทธาวาส จึงเป็นการยกก�ำลัง
เข้าล้อมพระราชวังทุกด้านอย่างใกล้ชิด โดยยึดวัดสุทธาวาสเป็นศูนย์กลางบัญชาการรบ
ดังน้นั วดั สทุ ธาวาสจะต้องเป็นวัดท่ีต้ังอยใู่ นละแวกเดียวกบั พระราชวังหลวง

ต่อมาเม่ือสมเด็จพระเจ้าปราสาททองขึ้นครองราชสมบัติแล้วทรงสถาปนา
พระอนชุ าเปน็ พระศรสี ธุ รรมราชาให้ตั้งบ้านหลวงอยู่ริมวัดสุทธาวาส๕ เม่ือสมเด็จพระเจ้า
ปราสาททองสวรรคตทรงมอบราชสมบตั ใิ หเ้ จา้ ฟา้ ไชย ทำ� ใหส้ มเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ไมพ่ อพระทยั จงึ ทรงลอบหนอี อกจากพระราชวงั ทางประตทู ผ่ี า่ นสระแกว้ ไปเฝา้ พระเจา้ อา
คือพระศรีสุธรรมราชา รวบรวมก�ำลังพลยกเข้ามาในพระราชวังหลวง ปลดเจ้าฟ้าไชย
ออกจากราชสมบัติ พระศรีสุธรรมราชาได้ครองราชบัลลังก๖์

ในชว่ งเวลาทเ่ี จา้ ฟา้ ไชยครองราชสมบตั ิ สมเดจ็ พระนารายณ์ ซง่ึ ทรงเปน็ พระอนชุ า
ตา่ งพระมารดาคงจะประทบั อยภู่ ายในพระราชวงั หลวงดว้ ย เมอ่ื ทรงไมพ่ อพระทยั พระเชษฐา
ดว้ ยสาเหตใุ ดสาเหตหุ นงึ่ จงึ เสดจ็ ออกจากพระราชวงั ไปสมทบกบั พระเจา้ อาซง่ึ ตง้ั บา้ นหลวง
อย่บู รเิ วณวดั สุทธาวาส ซึ่งพระราชพงศาวดารกลา่ วว่าเสด็จออกทางประตทู ี่ผา่ นสระแก้ว
คอื ออกจากพระราชวงั ไปทางทศิ ตะวนั ตกถงึ บา้ นของพระศรสี ธุ รรมราชา ซงึ่ เมอื่ พจิ ารณา
วดั ทต่ี งั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของพระราชวงั หลวง ประกอบดว้ ยวดั สำ� คญั ทอี่ ยใู่ กลพ้ ระราชวงั
๓ วัด คือ วัดระฆัง (วัดวรโพธิ์) วัดวรเชษฐาราม และวัดโลกยสุธา เป็นไปได้หรือไม่ว่า
วัดสุทธาวาสท่ปี รากฏในพระราชพงศาวดารเป็นวดั เดียวกบั วัดโลกสุธาหรือวดั โลกยสุธา

เพราะว่า สุทธ สทุ ธ์ (ว.) หมายถงึ หมดจด, สะอาด, ลว้ น, แท้
วาสะ (น.) หมายถึง การอยู่ การพกั ทอ่ี ยู่ บ้าน
สุทธาวาส จึงน่าจะหมายความว่า ที่อยู่ที่สะอาดบริสุทธิ์ หรือเป็นชื่อพรหมโลก
ซ่งึ เปน็ ดินแดนท่มี นี ำ้� อมฤต ดังนัน้ ทัง้ “โลกสธุ า” “โลกยสธุ า”และ “สุทธาวาส” จึงมี
ความหมายไปในทำ� นองเดยี วกนั คอื หมายถงึ สง่ิ ทด่ี ี สถานทดี่ ี หรอื ดนิ เปน็ ทม่ี นี ำ้� อมฤตทง้ั สน้ิ
จงึ นา่ จะเปน็ ไปไดว้ า่ ชอ่ื “วดั สทุ ธาวาส” เปน็ ชอื่ วดั เมอ่ื แรกสรา้ งและเปน็ ทร่ี จู้ กั กนั
ในชุมชนสมัยอยุธยา เม่ือถึงสมัยอยุธยาตอนปลายอาจจะมีการปรับปรุงเปล่ียนช่ือเป็น

๕ เรอื่ งเดยี วกนั , หนา้ ๖.
๖ เร่ืองเดียวกัน, หนา้ ๑๓.

99

“วดั โลกสธุ า” ซง่ึ เมอ่ื เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ ชาวอยธุ ยาทถ่ี กู กวาดตอ้ น
ไปพมา่ จงึ ใหก้ ารไวใ้ นคำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ ทงั้ ๒ ชอื่ ทง้ั “วดั สทุ ธาวาส” และ “วดั โลกสธุ า”๗
ซึ่งคงจะเป็นค�ำให้การจากหลายปาก ส่วนช่ือ “วัดโลกยสุธา” เป็นช่ือเรียกภายหลัง
เสียกรุงแล้ว เม่ือชาวอยุธยาท่ีหลบหนีภัยสงครามกลับมาอยู่อาศัยบริเวณนี้อีกครั้งหน่ึง
จนถึงสมยั รชั กาลที่ ๕ พระยาโบราณราชธานินทร์เข้ามาส�ำรวจวดั ร้างในกรงุ เก่าจงึ ลงช่อื
วดั น้ไี วว้ า่ “วดั โลกยสธุ า”
สถาปตั ยกรรมที่วัดโลกยสธุ า

๑. ปรางค์ประธาน เปน็ ปรางคก์ ่ออฐิ ถอื ปนู ตงั้ อยู่บริเวณกง่ึ กลางของวัด หันหน้า
ไปทางทิศตะวันออก องค์ปรางค์ต้ังอยู่บนฐานยกระดับซึ่งอาจจะประกอบด้วยฐาน
เรียงซ้อนกันประมาณ ๓ ช้ัน ส่วนล่างขององค์ปรางค์คงจะเป็นฐานบัวซ้อนกัน ๓ ชั้น
รองรับเรือนธาตุ (เหลือหลักฐานช้ันท่ี ๒ และ ๓) เรือนธาตุก่อซุ้มทิศย่ืนออกมาจาก
เรือนธาตุเท่ากันท้ัง ๔ ด้าน เป็นซุ้มต้ืน หลังคามุขลด ๒ ช้ัน ภายในซุ้มเคยเป็นที่
ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูป แต่ปจั จุบันหลุดร่วงลงท้ังหมด ซ้มุ ทิศตะวนั ออกเจาะเปน็ ทางเขา้
สู่เรือนธาตุ ส่วนยอดของปรางค์เป็นช้ันรัดประคดซ้อนกัน ๗ ชั้น แต่ละช้ันเคยประดับ
ซุ้มบันแถลงท้ัง ๔ ทิศ ตามมุมปักกลีบขนุนประจ�ำทุกชั้นกลีบขนุนชั้นล่างสุดปั้นปูน
เป็นรูปพระพุทธเจ้าประทับยืนปางถวายเนตร ยังคงเหลือหลักฐานท่ีมุมด้านตะวันตก
เฉียงเหนือ ๑ องค์ ด้านตะวันตกเฉียงใต้ ๒ องค์ ดังน้ัน กลีบขนุนทุกใบท่ีช้ันล่างน้ี
คงจะปน้ั ปนู เปน็ รปู พระพทุ ธเจา้ ประทบั ยนื ปางถวายเนตรเหมอื นกนั รอ่ งรอยการปฏสิ งั ขรณ์
ทปี่ รางคอ์ งคน์ อ้ี ยา่ งนอ้ ยครงั้ หนง่ึ โดยกอ่ อฐิ ฉาบปนู หมุ้ องคป์ รางคท์ ง้ั องคต์ ามทรวดทรงเดมิ
และระเบียบการประดับที่ส่วนยอดเปลี่ยนไป คือ กลีบขนุนซ่ึงเคยเป็นแบบลอยตัวถูก
เปล่ียนแปลงเป็นกลีบขนุนแบบแปะแนบชิดกับองค์ปรางค์และซุ้มบันแถลงหายไป
ซงึ่ เปน็ แบบนยิ มทพ่ี บเสมอในปรางคท์ ส่ี รา้ งขนึ้ ในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย เชน่ ปรางคร์ ายคู่
หน้าวัดโลกยสธุ า ปรางคว์ ดั บรมพทุ ธาราม และปรางคน์ ้อยวดั ไชยวัฒนาราม เปน็ ตน้

รูปแบบของปรางค์ประธานวัดโลกยสุธาองค์ที่สร้างขึ้นครั้งแรกดังได้กล่าวมา
ข้างต้น ควรเป็นรูปแบบของปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้น เพราะมีระเบียบบางประการ

๗ ดรู ายชอื่ พระอารามหลวงในกรงุ ศรอี ยธุ ยาเพมิ่ เตมิ ใน กรมศลิ ปากร, คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ คำ� ใหก้ ารขนุ หลวง
หาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ,์ิ หนา้ ๒๑๕.
100

เหมือนกับปรางค์วัดส้ม ปรางค์วัดลังกา ปรางค์ประธาน และปรางค์รายบางองค์ท่ี
วดั มหาธาตุ เป็นตน้

๒. อโุ บสถ ตงั้ อยดู่ า้ นหลงั ของปรางคป์ ระธาน ปจั จบุ นั เหลอื เฉพาะสว่ นฐาน มรี อ่ งรอย
การกอ่ สรา้ งทบั ซอ้ น ๓ ครงั้

คร้ังแรก อุโบสถมีแผนผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีมุขย่ืนออกทั้งหน้าหลังและน่าจะเป็น
มุขโถง ส่วนล่างก่อฐานบัวลูกแก้วอกไก่รองรับผนัง มีบันไดทางเข้าออกด้านหน้า - หลัง
ดา้ นละ ๒ ประตู ขนาบขา้ งมขุ โถง ในอาคารมเี สารว่ มใน ๒ แถว เปน็ เสา ๘ เหลยี่ ม กอ่ ดว้ ย
ศลิ าแลง พืน้ อโุ บสถปดู ้วยกระเบื้องดนิ เผา ๘ เหลีย่ ม

ครั้งท่ี ๒ เป็นการขยายอุโบสถให้กว้างยิ่งข้ึนเฉพาะด้านหน้า โดยขยายออกท้ัง
ตวั อาคารและมุข

ครง้ั ท่ี ๓ เปน็ การรอ้ื โครงสรา้ งอโุ บสถหลงั เดมิ ลงสรา้ งใหมท่ งั้ หมด การสรา้ งอโุ บสถ
ครง้ั นขี้ ยายกวา้ งขนึ้ ทกุ ดา้ น ในแผนผงั สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ ไมม่ มี ขุ หนา้ หลงั สว่ นลา่ งกอ่ ฐานบวั ควำ่�
รองรบั ผนงั ในอาคารมแี ถวเสารว่ มใน ๒ แถว ซงึ่ ยงั คงเป็นเสา ๘ เหล่ียมก่อดว้ ยศิลาแลง
กบั มแี ถวเสานางจรลั รองรบั ชายคาปกี นก ภายนอกอาคารอกี ขา้ งละแถว มปี ระตทู างเขา้ ออก
ทผ่ี นงั ดา้ นสกดั ดา้ นละ ๒ ประตู ใบเสมาของอโุ บสถมขี นาดใหญท่ ำ� มาจากหนิ ชนวน ปจั จบุ นั
ปักอยูก่ ับพ้ืนดิน

๓. วหิ ารหลวง ตง้ั อยดู่ า้ นหนา้ ทางทศิ ตะวนั ออกในแนวแกนเดยี วกบั ปรางคป์ ระธาน
และอุโบสถ ส่วนท้ายของวิหารสร้างยื่นล�้ำเข้าไปในระเบียงคด มีหลักฐานการก่อสร้าง
ทบั ซอ้ นถงึ ๒ ครง้ั ครงั้ แรก สรา้ งวหิ ารหลวงในแผนผงั รปู สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ ขนาด ๑๖ x ๕o เมตร
มมี ขุ โถงดา้ นหนา้ สว่ นฐานอาคารกอ่ ฐานบวั ควำ่� รองรบั ผนงั มปี ระตทู างเขา้ ดา้ นหนา้ ๓ ประตู
มีประตูเข้าออกที่ผนังด้านยาวตรงท้ายฐานชุกชีด้านละ ๑ ประตู ในอาคารมีเสาร่วมใน
๒ แถว ซึ่งคงจะเปน็ เสา ๘ เหลี่ยม กอ่ ด้วยศลิ าแลงมแี ถวเสานางจรัลรองรบั ชายคาปีกนก
ท้ัง ๒ ข้าง มีอาสน์สงฆ์ภายในอาคารกอ่ ดว้ ยอฐิ เป็นแนวยาวแนบผนังด้านใต้ มฐี านชกุ ชี
ส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูปภายในอาคารหลายองค์ มีทั้งพระพุทธรูปนั่งและ
พระพทุ ธรปู ยนื ทำ� จากหนิ ทรายและปนู ปน้ั พระพทุ ธรปู ประธานนา่ จะเปน็ พระพทุ ธรปู ยนื
ทำ� จากหนิ ทรายขนาดใหญ่ ทฐ่ี านชกุ ชปี ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู นง่ั องคห์ นงึ่ ทำ� เปน็ ฐานสงิ ห์
ประดับลายปูนปน้ั ส่วนของน่องสงิ ห์ประกอบดว้ ยวงโคง้ หลายวงซ่ึงเปน็ ลกั ษณะทีเ่ หมือน
กับแขง้ สิงหข์ องวิหารหลวงวดั พระศรีสรรเพชญ์สรา้ งเม่อื พ.ศ. ๒๐๔๒

ครงั้ ท่ี ๒ มกี ารปรบั ระดบั พนื้ วหิ ารใหส้ งู ขน้ึ ฐานวหิ ารกอ่ ฐานบวั ควำ่� พอกทบั ของเดมิ
เสาร่วมในท้ัง ๒ แถว เปล่ียนเป็นเสากลมก่ออิฐ หมายความว่าการก่อสร้างครั้งนี้เป็น

101

การร้ือโครงสร้างส่วนหลังคาลงท�ำใหม่ทั้งหมด แต่ผนังคงใช้ของเดิมก้อนศิลาแลง
แปดเหลย่ี ม ซง่ึ เปน็ โครงสรา้ งของเสาเดิมน�ำมากอ่ เสรมิ ฐานชกุ ชใี หส้ งู ขึ้น

๔. วิหารราย อยทู่ างดา้ นเหนือของวิหารหลวง มีแผนผังรปู สเ่ี หลี่ยมผืนผ้าขนาด
๑๑ x ๓๐ เมตร กอ่ ฐานบัวคว�ำ่ รองรบั ผนงั มีประตทู างเข้าออก ดา้ นหนา้ - หลัง ดา้ นละ
๒ ประตู มีบันไดทางขึ้นสู่วิหาร มีฐานชุกชีส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูปแต่ช�ำรุดมาก
ลักษณะวิหารน่าจะมีห้องโถงด้านหน้า ๒ ห้อง ก่อนถึงตัววิหารซ่ึงมีผนังค่ัน วิหารหลังนี้
มีร่องรอยการซ่อมอยา่ งน้อย ๑ ครงั้

๕. วหิ ารราย อย่ทู างด้านใตข้ องวหิ ารหลวง ลกั ษณะและขนาดเดยี วกบั วหิ ารราย
ทางดา้ นทศิ เหนอื

๖. วหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ ตง้ั อยทู่ างดา้ นหลงั ของปรางคป์ ระธานตอ่ จากอโุ บสถ
ซง่ึ เปน็ ด้านท้ายของวัด วิหารพงั ทลายลงเหลือเฉพาะส่วนฐาน เป็นอาคารทก่ี ่อสร้างอย่ใู น
แผนผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีร่องรอยการก่อสร้างทับซ้อนกันอย่างน้อย ๓ คร้ัง การก่อสร้าง
แต่ละครั้งเป็นการขยายขนาดของอาคารให้กว้างขึ้นโดยการรื้อโครงสร้างเดิมลงท�ำใหม่
ทกุ ครงั้ ครง้ั หลงั สดุ อาคารอยใู่ นแผนผงั สเี่ หลย่ี มผนื ผา้ มมี ขุ ยนื่ หนา้ หลงั และมรี อ่ งรอยของ
การกอ่ สร้างระเบียงคดใหเ้ ชอ่ื มตอ่ กับวิหารพระพทุ ธไสยาสน์

องค์พระพุทธไสยาสน์ก่อด้วยอิฐฉาบปูนประทับนอนตะแคงขวาหันพระเศียร
ไปทางทิศเหนอื หนั พระพักตรไ์ ปทางทิศตะวนั ตก องค์พระพุทธรูปประทับนอนบนอาสนะ
ซงึ่ กอ่ เปน็ ฐานปทั ม์ ยกพระหตั ถข์ วาขน้ึ รองรบั พระเศยี ร โดยปลายพระหตั ถช์ ไ้ี ปในทางเดยี ว
กับพระเศียร และท�ำบัวกลุ่มซ้อนกันรองรับพระเศียรอีกชั้นหนึ่ง ลักษณะพระพักตร์เป็น
รูปไข่ องคพ์ ระพุทธรปู ครองจีวรหม่ เฉยี ง พระบาทซ้ายวางทับพระบาทขวาแนบสนิท

การก่อสร้างคร้ังแรกพบหลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดีว่าพระเศียร
พระพุทธไสยาสน์เป็นแบบพระพุทธรูปไม่ทรงเคร่ือง เม็ดพระศกท�ำมาจากดินเผาเป็นรูป
กน้ หอย ครองจวี รหม่ เฉยี งชายผา้ สงั ฆาฏเิ ปน็ เขย้ี วตะขาบ การซอ่ มครง้ั หลงั ไดก้ อ่ ปนู พอกทบั
ของเดิมตลอดท้ังองค์ โดยพยายามจะท�ำเป็นพระพุทธรูปทรงเคร่ืองจึงปั้นปูนรูปมงกุฎ
ครอบพระเศยี รไวโ้ ดยไมท่ ำ� ลวดลายปนู ปน้ั ประดบั แตอ่ ยา่ งใด ชายสงั ฆาฏทิ ำ� ปลายตดั ตรง
การซ่อมคร้ังหลังดังภาพที่ปรากฏปัจจุบันมีหลักฐานว่าด�ำเนินการโดยผู้จัดการโรงงาน
แอลกอฮอล์ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยาเมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยกรมศิลปากรเปน็ ผขู้ ดุ แตง่

๗. เจดีย์แปดเหลี่ยม จ�ำนวน ๔ องค์ ต้ังอยู่ภายในวงล้อมของระเบียงคดตรง
มุขหักท้ัง ๔ แห่ง เหลือเฉพาะรากฐานและปล้องไฉน สันนิษฐานว่าเป็นเจดีย์ทรงกลม
ฐานแปดเหล่ียมลักษณะเดียวกับเจดีย์มุมบนฐานทักษิณปรางค์วัดราชบูรณะ ซ่ึงสร้างใน
สมัยอยธุ ยาตอนตน้

102

๘. ระเบียงคด ก่อสร้างล้อมปรางค์ประธานและอุโบสถไว้ภายใน ระเบียงคด
ด้านตะวันออกมีแนววิหารหลวงสร้างล้�ำเข้ามาภายใน แนวระเบียงคดด้านเหนือและใต้
ก่อชนผนังด้านตะวันออกของวิหาร ดังนั้น วิหารพระพุทธไสยาสน์จึงใช้ประโยชน์เป็น
ระเบยี งคดด้านตะวันตกด้วย

หลักฐานจากการขุดแต่งทางโบราณคดีพบว่าการก่อสร้างวัดโลกยสุธาครั้งแรก
สร้างก�ำแพงล้อมรอบปรางค์ประธานและอุโบสถ ขุดพบฐานรากของก�ำแพงใต้แนว
ระเบียงคดด้านเหนือ ระเบียงคดเป็นการก่อสร้างครั้งหลังน่าจะพร้อมกับการปฏิสังขรณ์
วหิ ารพระพุทธไสยาสน์ครงั้ หลังสดุ

๙. กำ� แพงแกว้ เปน็ แนวกำ� แพงลอ้ มรอบโบราณสถานสำ� คญั ทกี่ ลา่ วไวแ้ ลว้ ขา้ งตน้
ภายในคงจะเป็นก�ำแพงเต้ีย ๆ มีหัวเม็ดประจ�ำมุมก�ำแพงที่ก่อหักฉากทุกมุม พ้ืนภายใน
กำ� แพงแก้วสงู กว่าภายนอกเล็กน้อย

๑๐. เจดยี ท์ รง ๘ เหลีย่ ม มชี ้ันซอ้ น ต้ังอย่ตู รงมมุ กำ� แพงชัน้ นอกด้านตะวนั ตก
เฉียงเหนือ คงจะเป็นเจดีย์ท่ีสร้างข้ึนคร้ังแรกพร้อมกับการสร้างวัดโลกยสุธาและน่าจะมี
เจดียล์ กั ษณะเดียวกนั นีอ้ ีกอย่างน้อย ๓ องค์ ตงั้ อยูป่ ระจำ� มุมกำ� แพงชน้ั นอกทงั้ ๔ ทิศ

ลกั ษณะของเจดยี ส์ ว่ นลา่ งชำ� รดุ มากแตม่ รี อ่ งรอยวา่ นา่ จะเปน็ ฐานซง่ึ อยใู่ นแผนผงั
สี่เหล่ียมจัตุรัสย่อมุม เหนือข้ึนไปเป็นส่วนท่ีเหลือหลักฐานค่อนข้างสมบูรณ์ ลักษณะเป็น
ฐานปัทม์ท่ียึดส่วนท้องไม้ให้สูงข้ึนมาซ้อนลดหลั่นกันข้ึนไป ๔ ชั้น ทั้งหมดอยู่ในผัง
แปดเหลย่ี มทมี่ ดี า้ นตรงทศิ หลกั กวา้ งกวา่ ดา้ นตรงทศิ เฉยี ง (สเี่ หลยี่ มจตั รุ สั ตดั มมุ ) แตล่ ะชนั้
มีซุ้มทศิ ประจ�ำทั้ง ๘ ดา้ น โดยมเี สากรวยซมุ้ รว่ มกันตรงมุมของ ๘ เหลี่ยม ภายในซมุ้ มี
รอ่ งรอยประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ทกุ ซมุ้ โดยจะกำ� หนดนบั ชน้ั แปดเหลยี่ มจากชน้ั ลา่ งขน้ึ ไป
เรยี กวา่ ช้ันท่ี ๑, ๒, ๓, และ ๔ ตามล�ำดบั เพอ่ื อธิบายลักษณะพระพุทธรูป ดังน้ี

ชั้นท่ี ๑ ภายในซุ้มจระน�ำประจ�ำทิศหลักทั้ง ๔ ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูป
ปางร�ำพึง ประทับยืนบนดอกบัว ซุ้มจระน�ำประจ�ำทิศเฉียงประดิษฐานพระพุทธรูป
ปางถวายเนตร ประทับยืนบนดอกบัว

ชนั้ ที่ ๒ ภายในซุม้ จระนำ� ทศิ ทั้งแปดประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางสมาธิ
ชั้นที่ ๓ ภายในซุ้มจระน�ำทิศทั้งแปดประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย
ภายใตร้ ่มโพธ์ิ
ชั้นที่ ๔ ภายในซุ้มจระน�ำทิศทงั้ แปดประดษิ ฐานพระพุทธรปู ปางสมาธิ
เพราะพระพุทธรูปแต่ละปางถูกสร้างข้ึนมาเพื่อเป็นการแสดงเร่ืองราวแต่ละตอน
ในพุทธประวัติส�ำคัญ ส�ำหรับพระพุทธรูปที่ประดับประจ�ำชั้นต่าง ๆ ของเจดีย์องค์นี้

103

กล่าวได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเหตุการณ์ในพุทธประวัติเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้ท่ีใต้ร่ม
มหาโพธ์ิ ต�ำบลพทุ ธคยา

พระพุทธรูปปางสมาธิท่ีประดิษฐานประจ�ำซุ้มจระน�ำทิศท้ัง ๘ ซุ้ม บนชั้นท่ี ๔
แสดงเหตกุ ารณเ์ มอ่ื วนั เพญ็ เดอื น ๖ กอ่ นพทุ ธศกั ราช ๔๕ ปี พระพทุ ธองคเ์ สดจ็ ขนึ้ ประทบั
ขัดสมาธิเหนือรัตนบัลลังก์ใต้ร่มมหาโพธิ์ หันพระพักตร์ไปทางทิศบูรพา ตั้งพระสติ
เจริญสมาธิภาวนาหาทางหลุดพ้นจากทุกข์ แล้วออกพระโอษฐ์ด�ำรัสพระสัตยาธิษฐานว่า
หากไมบ่ รรลพุ ระสมั มาสมั โพธญิ าณจะไมเ่ สดจ็ ลกุ ขน้ึ เรอื่ งราวตอนนแี้ สดงดว้ ยพระพทุ ธรปู
ปางสมาธิ คอื พระนง่ั ขดั สมาธิ พระหัตถข์ วาวางทับพระหัตถ์ซา้ ยอยเู่ หนือพระเพลา

ในขณะที่พระพุทธเจ้าก�ำลังบ�ำเพ็ญสมาธิใกล้จะตรัสรู้ พระยาวัสสวดีมารซึ่งเฝ้า
พยายามจะขัดขวางพระพทุ ธองค์มาหลายคร้งั แต่ไม่สำ� เร็จ จึงใช้ความพยายามจะท�ำลาย
สมาธิของพระพุทธเจ้าอีกคร้ังหนึ่ง โดยให้ประชุมพลเสนามารทั้งหลายยกมาจะท�ำร้าย
พระพุทธองค์ด้วยอาวุธ เวทมนตร์ และอิทธิฤทธิ์นานาประการ แต่พระพุทธองค์มิได้
หว่ันไหว พระยามารพยายามบังคับให้เสด็จลุกจากรัตนบัลลังก์ ซ่ึงพระยามารอ้างว่า
เกิดข้ึนด้วยบารมีของตนและถามว่ามีหลักฐานอันใดแสดงว่าได้ทรงบ�ำเพ็ญบุญบารมี
มากมายจนเกิดรัตนบัลลังก์ พระพุทธองค์ขณะน้ันพระหัตถ์ขวาวางซ้อนพระหัตถ์ซ้าย
อยบู่ นพระเพลาทำ� ปางสมาธิ ทรงยกพระหตั ถข์ วาวางพาดพระชานุ ปลายพระหตั ถช์ ลี้ งยงั
พืน้ พสุธาอา้ งพระธรณีเป็นพยาน ทนั ใดนัน้ แมพ่ ระธรณีปรากฏกายข้นึ บิดมวยผม น้�ำไหล
ออกมาจากผมแมพ่ ระธรณเี กดิ นำ้� ทว่ มพดั พาพลพรรคพระยามารแตกหนไี ปหมดสนิ้ การท่ี
พระพุทธองค์มีชัยชนะเหนือหมู่มารเสมือนสามารถขจัดกิเลสทั้งปวง พระพุทธรูป
แทนเหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนนี้เรียกว่า พระพุทธรูปปางมารวิชัย ดังปรากฏใน
ซมุ้ จระน�ำทิศทั้ง ๘ ซุ้ม บนชน้ั ท่ี ๓ ของเจดยี อ์ งค์นี้

เมื่อพระพุทธองค์สามารถขจัดพลพรรคพระยามารพ่ายแพ้ไปส้ินแล้ว ทรงยก
พระหตั ถข์ วากลบั มาทำ� สมาธติ อ่ ไป จนตรสั รพู้ ระอนตุ รสมั มาสมั โพธญิ าณเมอ่ื ใกลร้ งุ่ วนั เพญ็
เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เหตุการณ์ตอนน้ีแสดงด้วยพระพุทธรูปปางสมาธิ
ดังปรากฏในซมุ้ จระนำ� ทศิ ทง้ั ๘ ซุ้ม บนชน้ั ท่ี ๒ ของเจดียอ์ งค์น้ี

เมอ่ื พระพทุ ธองคต์ รสั รแู้ ลว้ ยงั คงประทบั เสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ อยใู่ ตต้ น้ มหาโพธเิ์ ปน็ เวลา
๑ สัปดาห์ ในสัปดาห์ท่ี ๒ จึงลุกจากรัตนบัลลังก์ไปประทับยืนอยู่ทางทิศตะวันออก
เฉียงเหนือของต้นมหาโพธ์ิ ลืมพระเนตรเพ่งดูพระมหาโพธิ์อยู่ ๗ วัน พระพุทธรูปท่ีเป็น
ตัวแทนของเหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนนี้เรียกว่า พระพุทธรูปปางถวายเนตร ท�ำเป็น
พระพุทธรูปยืน พระหัตถ์ทั้งสองห้อยลงมาประสานกันอยู่หน้าพระเพลา พระหัตถ์ขวา

104

ทับพระหตั ถ์ซา้ ย ลืมพระเนตรท้ัง ๒ ขา้ ง อยใู่ นอาการสังวร๘ พระพทุ ธรปู ปางถวายเนตร
ประดษิ ฐานอยูซ่ มุ้ จระนำ� ประจำ� ทิศเฉียงท้ัง ๔ ซุ้มของชั้นท่ี ๑ ของเจดีย์องคน์ ้ี

ในสปั ดาหท์ ี่ ๓ เสด็จพระดำ� เนนิ กระทำ� รัตนจงกรมทางทิศเหนอื ของตน้ มหาโพธ์ิ
สัปดาหท์ ี่ ๔ เสดจ็ พระดำ� เนนิ ประทบั นง่ั ในรัตนฆระเรอื นแก้วทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนอื
ของต้นมหาโพธ์ิ สัปดาห์ท่ี ๕ เสด็จพระด�ำเนินไปประทับนั่งใต้ต้นไทรทางทิศตะวันออก
ของตน้ มหาโพธิ์ สปั ดาหท์ ่ี ๖ เสดจ็ พระดำ� เนนิ ไปประทบั นง่ั ใตต้ น้ จกิ ทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก
เฉยี งใตข้ องตน้ มหาโพธิ์ สปั ดาหท์ ่ี ๗ ซง่ึ เปน็ สปั ดาหส์ ดุ ทา้ ยทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงเสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ
ทรงเสด็จพระดำ� เนนิ ไปประทับใตต้ น้ เกตทุ างดา้ นทศิ ใต้ของตน้ จกิ

เมอ่ื พระพทุ ธองคเ์ สวยวมิ ตุ ตสิ ขุ ครบ ๗ สปั ดาหแ์ ลว้ ทรงรำ� ลกึ ถงึ พระธรรมทพ่ี ระองค์
ทรงตรัสรู้นั้นเป็นสิ่งลึกซึ้งยากที่จะสั่งสอนมนุษย์ให้เข้าใจก็ทรงท้อพระทัยจะไม่โปรดสัตว์
โลก ทา้ วสหมั บดพี รหมลว่ งรจู้ งึ มาเฝา้ อาราธนาใหแ้ สดงพระธรรมแกม่ วลมนษุ ย์ เหตกุ ารณ์
ตอนนแี้ สดงดว้ ยพระพทุ ธรปู ปางรำ� พง่ึ ซงึ่ ทำ� เปน็ พระพทุ ธรปู ยนื พระหตั ถท์ งั้ ๒ ขา้ งประสาน
กนั อยทู่ พ่ี ระอรุ ะ พระหตั ถข์ วาทบั พระหตั ถซ์ า้ ย๙ พระพทุ ธรปู ปางรำ� พงึ ประดษิ ฐานอยทู่ ซี่ มุ้
จระนำ� ประจ�ำทิศหลักทั้ง ๔ ซุม้ ของช้นั ที่ ๑ ของเจดยี อ์ งคน์ ้ี

การนำ� พระพทุ ธรปู ปางตา่ งกนั ประดบั ประจำ� ชน้ั ตา่ ง ๆ ของเจดยี อ์ งคน์ เี้ ปน็ หลกั ฐาน
ช้ินส�ำคัญท่ีแสดงอย่างเด่นชัดว่า ชั้นต่าง ๆ ของเจดีย์น้ีถูกก่อสร้างให้มีความหมายแสดง
เหตกุ ารณใ์ นพทุ ธประวตั ติ อนพระพทุ ธเจา้ ตรสั รตู้ ามทอี่ ธบิ ายมาแลว้ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี สามารถ
คิดต่อไปได้หรือไม่ว่า ส่วนฐานล่างซึ่งน่าจะเป็นผังสี่เหลี่ยมย่อมุมอาจจะหมายถึงส่ิงที่
พระพุทธเจ้าตรสั รู้ คอื อริยสัจ ๔ และชนั้ แปดเหลี่ยมทอ่ี ยเู่ หนอื ข้ึนไปหมายถึง มรรค ๘

อย่างไรก็ตาม น่าจะกล่าวได้ว่าการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเนื่องในพุทธศาสนา
โดยเฉพาะสถูปเจดีย์น่าจะมีแนวความคิดและปรัชญาเน่ืองมาจากพุทธศาสนา เช่น
พทุ ธประวตั ิ ชาดกพระธรรม และไตรภมู เิ ปน็ แรงบนั ดาลใจใหส้ ถาปนกิ แตโ่ บราณสรา้ งสรรค์
สถปู เจดยี ข์ น้ึ มาไดห้ ลากหลายรปู แบบ ทป่ี ระกอบดว้ ยเชงิ ชน้ั สลบั ซบั ซอ้ นและมพี ฒั นาการ
ควบค่มู ากบั พระพุทธศาสนาถงึ ปัจจบุ ัน แต่สถูปเจดีย์เหลา่ น้นั จะแฝงไว้ดว้ ยความคิดและ
ปรัชญาอย่างใดย่อมไม่อาจยืนยันให้แน่ชัดลงไปได้ หากมิได้มีโบราณวัตถุบางช้ินก�ำกับไว้
อยา่ งชดั เจน สถปู เจดยี ท์ มี่ รี ปู แบบเดยี วกนั อาจจะมแี นวความคดิ และปรชั ญาเมอ่ื แรกสรา้ ง

๘ สมพร อยโู่ พธิ์, พระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๓๕ (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไพศาลศิริ, ๒๕๓๕. พิมพเ์ ปน็
อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ นางวิเชียร สุพรรณโรจน์ บ.ม. ณ ฌาปนสถานกองทพั บกวดั โสมนัสวิหาร
กรงุ เทพมหานคร วนั ท่ี ๓๐ มนี าคม พทุ ธศักราช ๒๕๓๕), หนา้ ๓๒.
๙ เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๕๐.

105

๑๒ ๓ ๑. ปรางคร์ าย
๔๕ ๖ ๒. ใบเสมารอบอโุ บสถ
๓. พระพทุ ธไสยาสน์
๗ ๔. หอระฆงั
๕. ปรางค์ราย
๖. อุโบสถ
๗. ปรางคป์ ระธาน

ตา่ งกนั กเ็ ปน็ ได้ ซงึ่ เรอ่ื งนเ้ี คยมผี ศู้ กึ ษาแปลความหมายตวั เลขของชนั้ ตา่ ง ๆ ในสถาปตั ยกรรม
ไทยเปน็ แนวทางการศึกษาไว้มากแล้ว

๑๑. ปรางคร์ าย ตง้ั อยทู่ างดา้ นตะวนั ออกของวดั นอกกำ� แพงแกว้ มจี ำ� นวน ๒ องค์
ซง่ึ มลี กั ษณะเดยี วกัน แต่มขี นาดและทรวดทรงตา่ งกันเลก็ นอ้ ย

ส่วนฐานอยู่ในผังสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้ ๑๒ ประกอบด้วยฐานเรียงซ้อนกัน ๒ ชั้น
ต่อด้วยฐานบัวลกู แก้วอกไก่ ถดั ขนึ้ ไปเป็นฐานหน้ากระดาน ๘ เหลี่ยม ๑ ชน้ั ถดั ขนึ้ ไปเป็น
ฐานสิงห์ ซ้อนกัน ๓ ชั้น ในผังส่ีเหลี่ยมย่อมุมไม้ ๒๐ รองรับเรือนธาตุ มีซุ้มจระน�ำ
ย่ืนออกมาจากเรือนธาตุเท่ากันทั้ง ๔ ด้าน ส่วนยอดเป็นช้ันกลีบขนุนซ้อนกันหลายช้ัน
ซง่ึ ชน้ั บน ๆ หกั พงั ลง กลบี ขนนุ ปน้ั แนบชดิ กบั องค์ ไมม่ ซี มุ้ บนั แถลงทช่ี นั้ รดั ประคด องคป์ รางค์
มีลวดลายปูนปั้นประดบั ตามช้ันต่าง ๆ

106

ลักษณะของปรางค์ท่ีมีซุ้มบันแถลงประจ�ำช้ันรัดประคดยังคงปรากฏที่ปรางค์มุม
วัดไชยวัฒนาราม (ซ่ึงน่าจะเป็นปรางค์ที่มีลักษณะตามสมัยนิยมเวลาน้ัน พ.ศ. ๒๑๗๓)
แต่ลักษณะคลี่คลายไปจากซุ้มบันแถลงสมัยอยุธยาตอนต้นมากแล้ว ต่อมาท่ีปรางค์วัด
บรมพุทธาราม (สร้าง พ.ศ. ๒๒๓๓) ซึ่งมีลักษณะเดียวกันกับปรางค์วัดโลกยสุธาไม่ท�ำ
ซมุ้ บนั แถลง จงึ เชอ่ื วา่ ปรางคว์ ดั โลกยสธุ านา่ จะสรา้ งหลงั จากปรางคว์ ดั ไชยวฒั นาราม แตค่ ง
ไม่ก่อนปรางค์วัดบรมพุทธาราม เน่ืองจากลักษณะแข้งสิงห์ของปรางค์วัดโลกยสุธา
ยังมีลักษณะใกล้เคียงกับแข้งสิงห์ท่ีวัดไชยวัฒนารามมาก แต่แข้งสิงห์ของปรางค์วัด
บรมพทุ ธาวาสมบี วั หลงั สงิ หซ์ งึ่ เปน็ งานชน้ั หลงั ดงั นนั้ ปรางคว์ ดั โลกยสธุ าจงึ นา่ จะเปน็ งาน
ก่อสร้างในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ฯ ซึ่งลวดลายปูนปั้นประดับองค์ปรางค์ก็แสดง
การสบื ทอดและเกี่ยวขอ้ งกบั ลวดลายท่วี ัดไชยวัฒนารามมากพอสมควร

๑๒. หอระฆงั ตง้ั อยทู่ างดา้ นใตข้ องวหิ ารพระพทุ ธไสยาสนน์ อกกำ� แพงแกว้ ลกั ษณะ
ของหอระฆังเป็นอาคารทรงบุษบกหรือมณฑปขนาดเล็ก ส่วนฐานเป็นฐานสิงห์ซ้อนกัน
๓ ช้ัน ส่วนกลางคือเรือนธาตุเจาะประตูทรงกลีบบัวท้ัง ๔ ด้าน ส่วนยอดเป็นรูปเจดีย์
ส่ีเหลีย่ มยอ่ มมุ ไม้สบิ สอง

ลักษณะของฐานสิงห์ที่หอระฆังเป็นแบบเดียวกับฐานสิงห์ท่ีปรางค์รายด้านหน้า
วัดเดียวกัน จึงเชอ่ื วา่ เปน็ งานก่อสรา้ งพร้อมกนั ในรัชกาลสมเดจ็ พระนารายณ์
การกำ�หนดอายุสมยั วดั โลกยสธุ า

วัดโลกยสธุ าคงจะเป็นวัดเดยี วกบั วัดโลกสุธาและวัดสทุ ธาวาส น่าจะสรา้ งมาแล้ว
ตงั้ แต่สมยั อยุธยาตอนตน้

ในการกอ่ สรา้ งครง้ั แรก สร้างปรางคเ์ ปน็ ประธานของวัด มีวิหารหลวงตัง้ อย่ทู าง
ดา้ นหนา้ อโุ บสถอยทู่ างดา้ นหลงั ในแกนเดยี วกนั โดยมกี ำ� แพงลอ้ มรอบปรางคป์ ระธานและ
อุโบสถไว้ภายใน ที่มุมภายในก�ำแพงมีเจดีย์ ๘ เหล่ียม มุมละองค์ วิหารรายขนาบข้าง
เหนือ - ใต้ของวิหารหลวง ด้านท้ายวัดมีวิหารพระพุทธไสยาสน์ ทั้งหมดล้อมรอบด้วย
ก�ำแพงแก้วและก�ำแพงชั้นนอก และที่มุมในก�ำแพงชั้นนอกน่าจะมีเจดีย์เรือนธาตุ
๘ เหลย่ี ม ซอ้ นช้ันมุมละองค์

การปฏิสังขรณ์วัดโลกยสุธาครั้งส�ำคัญที่สุดเกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์
ส่ิงก่อสร้างเดิมทกุ หลงั มรี อ่ งรอยการปฏิสงั ขรณ์พรอ้ มกับมีการกอ่ สร้างส่ิงต่าง ๆ เพมิ่ เตมิ
คือ ปรางคร์ าย ระเบยี งคด และหอระฆัง เปน็ ต้น

107

108

บ พระทนี่ ั่ง
รรยงก์รตั นาสน์

พระราชวังหลวงแห่งพระนครศรีอยุธยาเป็นท่ีประทับของ
พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานวุ งศ์ เปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นการเมอื ง
การปกครอง เป็นศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรือง เป็นจุดก�ำเนิดทาง
วิทยาการแทบทุกสาขา ดังน้นั พระราชวงั จึงเปน็ สถานทีส่ �ำคัญท่สี ดุ
ของเมืองที่สร้างบนพื้นท่ีกว้างขวาง มีขอบเขตมั่นคงแข็งแรง
เปรียบเสมือนเมืองอีกเมืองหน่ึงทีเดียว บรรดาพระมหาปราสาท
ที่สร้างข้ึนเพื่อประดับพระเกียรติยศขององค์พระมหากษัตริย์
หรือเป็นท่ีประทับล้วนมีขนาดใหญ่โต มีความงดงามด้วยงาน
สถาปตั ยกรรมและศลิ ปกรรมชนั้ สงู สมพระเกยี รตอิ งคพ์ ระเทวราชา
ประมุขแหง่ พระราชอาณาจกั ร

109

บริเวณซ่ึงปัจจุบันเป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์คือ บริเวณพระราชวังท่ีสมเด็จ
พระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงโปรดให้สร้างข้ึนเป็นท่ีประทับ สร้างพระท่ีนั่ง
ไพฑูรย์มหาปราสาทองค์หน่ึง พระท่ีนั่งไพชยนต์มหาปราสาทองค์หนึ่ง และพระที่น่ัง
ไอศวรรยม์ หาปราสาท ตอ่ มาปรากฏชอื่ พระทน่ี งั่ มงั คลาภเิ ษก ในรชั กาลสมเดจ็ พระราเมศวร
องค์หน่ึง พระท่ีน่ังตรีมุขในรัชกาลสมเด็จเจ้าสามพระยาอีกองค์หน่ึง รวมเป็นพระที่นั่ง
๕ องค์ ในบริเวณพระราชวังหลวงแหง่ แรก

เมอื่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถขนึ้ ครองราชสมบตั ิ ทรงยกพน้ื ทพ่ี ระราชวงั ใหเ้ ปน็
พทุ ธาวาส ทรงโปรดให้สรา้ งพระราชวงั ขึ้นในทแี่ หง่ ใหม่ทางดา้ นเหนือของพระราชวังเดิม
สถาปนาพระท่ีนั่งเบญจรัตนมหาปราสาทองค์หน่ึง กับพระที่น่ังสรรเพชญ์ปราสาท
อีกองค์หน่ึง เป็นพระที่นั่ง ๒ องค์แรกในพระราชวังแห่งใหม่ ต่อมาในรัชกาลสมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ปรากฏชื่อพระท่นี ง่ั มังคลาภเิ ษกอีกองคห์ น่งึ รวมเป็น ๓ องค์ดว้ ยกัน

ขอบเขตพระราชวังใหม่ ท่ีย้ายมาสร้างต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มขี นาดใหญก่ วา่ พระราชวังเดิมครง้ั สมเด็จพระเจา้ อ่ทู อง แตข่ อบเขตดา้ นใตย้ ังไม่เชอ่ื มตอ่
กับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ด้านเหนือยังไม่ชนก�ำแพงเมือง และด้านตะวันออกยังมิได้คลุม
พื้นท่ีไปถึงท้ายวัดธรรมิกราช จนถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จึงทรงให้ขยาย
ขอบเขตพระราชวงั ใหอ้ อกไปถงึ พน้ื ท่ดี ังกลา่ วมา และทรงโปรดให้สร้างพระมหาปราสาท
เพ่ิมอีก ๒ องค์ คือ พระที่นั่งสุริยาสน์อัมรินทร์และพระที่น่ังจักรวรรดิไพชยนต์ ส่วน
พระทนี่ ง่ั มงั คลาภเิ ษก ซง่ึ ถกู ฟา้ ผา่ ไฟไหม้ กโ็ ปรดใหป้ ฏสิ งั ขรณใ์ หมเ่ ปลย่ี นชอื่ เปน็ พระทน่ี ง่ั
วิหารสมเด็จ ในรัชกาลต่อมามีการก่อสร้างพระท่ีน่ังบรรยงก์รัตนาสน์อีกองค์หน่ึงเป็น
ท่ปี ระทบั ในเขตพระราชฐานช้ันใน

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาหลายฉบับให้เนื้อความตรงกันว่า พระที่น่ัง
บรรยงกร์ ตั นาสน์ สรา้ งขนึ้ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา ปรากฏความในพระราชพงศาวดาร
ฉบบั พระราชหตั ถเลขาวา่ “ลศุ กั ราช๑๐๔๙ปเี ถาะนพศกสมเดจ็ บรมพติ รพระพทุ ธเจา้ อยหู่ วั
มพี ระราชด�ำรัสให้ช่างพนกั งานจดั การสร้างพระมหาปราสาทพระองค์หนึ่ง ในพระราชวัง
ข้างในครั้นเสร็จแล้วพระราชทานนามบัญญัติมหาปราสาทชื่อพระที่น่ังบรรยงก์รัตนาสน์
เป็นสี่ปราสาทด้วยกันท้ังเก่าสาม คือ พระท่ีน่ังพระวิหารสมเด็จองค์หนึ่ง พระที่นั่ง
สรรเพชญป์ ราสาทองคห์ นง่ึ พระทน่ี ง่ั สรุ ยิ าสนอ์ มั รนิ ทรอ์ งคห์ นงึ่ แลว้ ขดุ สระเปน็ คอู่ ยซู่ า้ ยขวา
ของพระท่นี ่งั บรรยงกร์ ตั นาสน์ แล้วให้ก่อสรา้ งอา่ งแกว้ และภเู ขามที อ่ อุทกธาราไหลลงใน
อ่างแกว้ นน้ั ท่รี ิมสระคู่พระมหาปราสาทนนั้ และใหท้ �ำระหัดนำ�้ ณ อา่ งแก้วรมิ น้�ำ ฝังท่อ
ให้น้ำ� เขา้ ไปผุดขึ้น ณ อา่ งแก้วรมิ สระนัน้ และให้ท�ำพระท่ีนง่ั ทรงปืน ณ ท้ายสระ เปน็ ท่ี

110

เสด็จออก กลบั เอาท่ที า้ ยสนมเปน็ ขา้ งหน้า และใหท้ �ำศาลาลกู ขุนในซา้ ยขวา และโปรดให้
ขนุ นางเขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท ณ พระทนี่ งั่ ทรงปนื และเขา้ ทางประตมู หาโภคราช”๑

แต่มีจดหมายเหตุของชาวต่างชาติอย่างน้อย ๓ ฉบับ ท่ีบันทึกเรื่องราวของ
พระราชวังหลวง ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางตอนท่ีกล่าวถึงพระท่ีนั่ง
ซึ่งเป็นพระทน่ี งั่ ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชชวนใหค้ ดิ ว่า หมายถงึ พระท่ีนั่งบรรยงก์
รตั นาสน์ ท่มี สี ภาพและบรรยากาศแบบนั้น

นิโกลาส์ แชร์แวส ชาวฝร่ังเศส เดินทางเข้ามาพ�ำนักอยู่ในพระนครศรีอยุธยา
นานถงึ ๔ ปี ระหวา่ งประมาณ พ.ศ. ๒๒๒๕ – ๒๒๒๙ โดยใน พ.ศ. ๒๒๒๙ เดนิ ทาง
กลับไปยังประเทศฝร่งั เศสพร้อมกบั คณะราชทูต เชอวาลเิ อร์ เดอ โชมองต์ เมือ่ ถงึ ฝรั่งเศส
ได้เขียนหนังสือเล่มหน่ึงทูลเกล้าฯ ถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ เนื้อหาในเอกสารของท่าน
แสดงวา่ ทา่ นไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งราวของพระนครศรอี ยธุ ยาอยา่ งละเอยี ด และมโี อกาสเหน็ สภาพ
ภายในของพระราชวังหลวงมากพอสมควร และในระยะเวลาทท่ี า่ นราชทตู เดอ โชมองต์
ปฏิบัติภารกิจในอยุธยานั้น ท่านเป็นผู้หน่ึงท่ีติดตามคณะทูตในการเข้าเฝ้าสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราชด้วย ตอนหน่งึ แชรแ์ วส บันทึกสภาพพระทนี่ ่ังที่ประทบั ของสมเดจ็
พระนารายณม์ หาราช ในพระราชวงั หลวงพระนครศรอี ยธุ ยาวา่ “พระทน่ี ง่ั องคท์ ปี่ ระทบั ของ
พระเจา้ แผน่ ดนิ อยใู่ นลานชน้ั ในสดุ เพงิ่ สรา้ งขน้ึ ใหมท่ องคำ� ทปี่ ระดษิ ฐ์ ประดบั ไวใ้ หร้ งุ่ ระยบั
อย่ใู นท่ีตั้งพันแห่งนน้ั เปน็ ที่สงั เกตไดโ้ ดยงา่ ยจากพระท่นี ั่งองคอ์ ่ืน ๆ สรา้ งเปน็ รปู กากบาท
หลังคาพระท่ีนั่งประดับฉัตรหลายช้ันอันเป็นเคร่ืองหมายหรือตราแผ่นดิน กระเบื้องท่ีใช้
มุงนั้นเป็นดีบุก งานสถาปัตยกรรมท่ีปรากฏอยู่ทุกด้านทุกมุมน้ันงดงามมาก พระที่น่ังที่
ประทับของสมเด็จพระราชินี พระธิดาและพระสนมซึ่งตั้งอยู่ใกล้พระที่นั่งท่ีประทับของ
พระเจ้าแผ่นดนิ ดจู ากด้านนอกแลว้ ก็เหน็ วา่ งดงามดี หันหนา้ เข้าสู่อทุ ยานท�ำนองเดียวกัน
ทางเดินนั้นมีล�ำคูตัดผ่านเป็นตาหมากรุก เสียงน้�ำไหลรินเชื้อเชิญบุคคลท่ีนอนอยู่บน
สนามหญา้ เขยี วขจที ขี่ อบคนั คนู น้ั ใหเ้ คลม้ิ หลบั เปน็ ทยี่ ง่ิ นกั ”๒ ในจดหมายเหตขุ องบาทหลวง
เดอชวั ซยี ์อปุ ทตู ในคณะราชทตู ของเดอโชมองต์บรรยายเหตกุ ารณว์ นั ทสี่ มเดจ็ พระนารายณ์
มหาราชมพี ระบรมราชานญุ าตใหค้ ณะราชทตู ฝรงั่ เศสเขา้ เฝา้ เปน็ กรณพี เิ ศษ ณ พระราชวงั
กรงุ ศรอี ยธุ ยา ภายหลงั จากทไี่ ดเ้ ขา้ ถวายพระราชสาสน์ แลว้ ประมาณ ๘ วนั วา่ “...เขาไดน้ ำ�
เราเข้าไปในท่ีรโหฐานแห่งหน่ึงในพระบรมมหาราชวัง ซ่ึงไม่เคยมีชาวต่างประเทศคนใด

๑ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เล่ม ๒, หน้า ๑๕๐.
๒ นโิ กลาส์ แชร์แวส, ประวัตศิ าสตรธ์ รรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจกั รสยาม, หน้า ๓๙.

111

ได้เข้าไปมาแต่ก่อนเลย เป็นอุทยานท่ีน่าร่ืนรมย์ตัดคั่นด้วยล�ำคูและทางเดินอันงดงาม
พวกขนุ นางมตี ระกลู อยกู่ นั ในรม่ หลงั คา สว่ นพวกเราพากนั ขนึ้ ไปบนลานเฉลยี ง ทา่ นราชทตู
น่ังลงบนเก้าอ้ี ท่านมุขนายกมิสซังกับข้าพเจ้าน่ังลงบนพรมเบ้ืองขวาและซ้ายของท่าน
ม.ก็องสตังซ์นั้นลงหมอบอยู่ ท�ำหน้าท่ีเป็นล่าม เมื่อเราเข้าไปนั้นได้ถวายค�ำนับเช่นการ
เข้าเฝ้าในครั้งแรก และสมเด็จพระเจ้ากรุงสยามประทับอยู่บนพระเก้าอ้ีที่เกยเล็ก ๆ
แหง่ หนงึ่ …หลงั จากอาหารมอื้ กลางวนั แลว้ เราพากนั ไปดปู ลาในลำ� คู หวั ของปลานน้ั มรี ปู รา่ ง
เหมอื นของหญงิ ทหี่ นา้ ตาอปั ลกั ษณ.์ ..”๓ นอกจากน้ี บาทหลวงตาชารด์ ยงั บนั ทกึ เหตกุ ารณ์
เขา้ เฝ้าในวนั เดียวกนั มเี นื้อความสอดคลอ้ งกับบาทหลวงเดอ ชวั ซยี ์ วา่ “...ฉะนนั้ อกี แปด
หรือสิบวันต่อมาจากการเข้าเฝ้าคร้ังแรก ท่านราชทูตจึงได้เข้าเฝ้าอีกครั้งหน่ึง ครั้งนั้น
เปน็ การเฝ้าในทีร่ โหฐาน พวกขนุ นางผู้มีตระกลู ได้ร่วมเขา้ เฝ้าดว้ ย ทา่ นราชทูตนำ� แต่ทา่ น
มุขนายกมิซซัง เดอ เมเทลโลโปลิส เจ้าอธิการโบสถ์ เดอ ลิออนน์ เท่าน้ันเข้าไป ส่วน
คนอ่นื ๆ น้นั คอยอยู่ทีพ่ ระราชฐานชน้ั นอกภายใตร้ ม่ ไม้รมิ คลอง...”๔

๓ เดอ ชัวซีย์, จดหมายเหตุรายวนั การเดนิ ทางไปสปู่ ระเทศสยาม, หน้า ๓๙๖ - ๓๙๗.
๔ ตาชาร์ด, จดหมายเหตกุ ารเดนิ ทางสู่ประเทศสยามของบาทหลวงตาชารด์ , หนา้ ๕๘.
112

ข้อมูลจากเอกสารทงั้ ๓ ฉบบั แสดงภาพใหเ้ หน็ ชัดเจนวา่ เขตพระราชฐานชั้นใน
เวลาน้ันมีพระที่นั่งองค์หน่ึงเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ลักษณะเป็น
พระท่ีนั่งจตุรมุข หลังคาเป็นเครื่องยอดซ้อนกันหลายชั้น มุงกระเบื้องดีบุกตกแต่งอย่าง
วจิ ิตรงดงาม บรรยากาศรอบ ๆ พระทนี่ ัง่ เป็นอทุ ยานที่ร่มร่นื มคี ูคลองตดั ผา่ นบริเวณน้ัน
เปน็ ทีเ่ ลี้ยงปลา ซึง่ ภาพดังกลา่ ว ภายในพระราชวังหลวงมีเพยี งพระท่นี ั่งบรรยงกร์ ตั นาสน์
เทา่ นน้ั ทม่ี บี รรยากาศนา่ รนื่ รมยอ์ ยา่ งนี้ อกี ประการหนง่ึ ตำ� หนกั ของสมเดจ็ พระราชนิ แี ละ
พระธดิ าทกี่ ลา่ วถงึ ในเอกสารของแชรแ์ วสนน้ั เปน็ ทท่ี ราบแนน่ อนวา่ คอื ตำ� หนกั คหู าสวรรค์
หรอื ตำ� หนกั ตกึ ซง่ึ ตง้ั อยทู่ างตอนใตน้ อกครู อบพระทนี่ งั่ บรรยงกร์ ตั นาสนน์ น่ั เอง นอกจากน้ี
หลกั ฐานการกอ่ สรา้ งระบบประปา ภเู ขาจำ� ลอง และนำ้� พุ บนพระทนี่ งั่ บรรยงกร์ ตั นาสนน์ น้ั
เป็นวิทยาการสมัยใหม่ท่ีเกิดข้ึนในพระนครศรีอยุธยาเป็นครั้งแรก ในรัชกาลสมเด็จ
พระนารายณม์ หาราชโดยพระองคท์ รงชน่ื ชอบสงิ่ เหลา่ นมี้ าก ดงั จะพบวา่ ทรงโปรดใหม้ กี าร
ก่อสร้างระบบการประปา ภูเขาจ�ำลอง และน้ำ� พุลกั ษณะเดียวกันท่พี ระราชวังเมืองลพบรุ ี
อกี แหง่ หนึ่งดว้ ย



113

ดังนั้น พระที่น่ังบรรยงก์รัตนาสน์ในพระราชวังหลวงคงจะก่อสร้างมาแล้วตั้งแต่
รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชตอนปลายเพอ่ื เปน็ ทปี่ ระทบั ตอ่ มาสมเดจ็ พระเพทราชา
ข้นึ ครองราชสมบตั กิ ท็ รงโปรดพระท่ีน่งั องค์น้ีเชน่ เดยี วกนั คงจะโปรดให้ก่อสร้างส่ิงตา่ ง ๆ
เพิ่มเติมหรือปฏิสังขรณ์เปลี่ยนแปลงส่ิงก่อสร้างอย่างใดอย่างหนึ่ง จนต่อมาพระราช
พงศาวดารซึ่งเขียนข้ึนในคร้ังหลังจ�ำเหตุการณ์ครั้งนั้นผิดพลาดไป จึงเขียนลงในพระราช
พงศาวดารวา่ สมเดจ็ พระเพทราชาทรงสรา้ งพระทน่ี ง่ั องคน์ ้เี ลยทีเดยี ว

ในรัชกาลต่อมาเม่ือสมเด็จพระเจ้าเสือข้ึนครองราชสมบัติทรงประทับท่ีพระท่ีน่ัง
สรุ ิยาสนอ์ ัมรินทร์ เนอ่ื งจากพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสนเ์ ป็นทีป่ ระดิษฐานของพระบรมศพ
สมเดจ็ พระเพทราชากอ่ นพธิ ถี วายพระเพลงิ จนถงึ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทา้ ยสระจงึ กลบั มา
ประทับทพ่ี ระท่ีน่ังองคน์ อ้ี กี ครัง้ หน่งึ

เมอื่ สมเดจ็ พระเจา้ บรมโกศขนึ้ ครองราชสมบตั ิ ปรากฏวา่ ในระยะแรกทรงประทบั
ที่พระราชวังบวรสถานมงคล ด้วยคงจะยังไม่วางใจเสี้ยนหนามข้างพระราชวังหลวงคราว
สงครามกลางเมืองชิงราชสมบัติกับเจ้าฟ้าอภัยและสภาพของพระราชวังหลวงเวลาน้ัน
ชำ� รุดทรดุ โทรมลงมากด้วย ปรากฏหลังจากน้นั ว่าโปรดใหซ้ ่อมแซมพระท่นี ง่ั ตา่ ง ๆ แทบ
ทกุ องค์ สว่ นพระทนี่ ง่ั บรรยงกร์ ัตนาสน์น้ัน ทรงเห็นวา่ คร่ำ� ครา่ ชำ� รดุ มากนัก จึงโปรดให้ร้อื
ลงปรงุ เคร่อื งบนท�ำใหมท่ ั้งหมด หกเดือนจงึ สำ� เรจ็ แตย่ งั ไมเ่ สดจ็ มาประทับในพระราชวงั
หลวงในระยะน้ัน จนถงึ พ.ศ. ๒๒๘๗ เกดิ เพลงิ ไหม้พระราชวังบวรสถานมงคล จงึ เสด็จ
พระราชดำ� เนินเขา้ มาอยู่ ณ พระราชวงั หลวง เสดจ็ ขนึ้ สถติ ณ พระทนี่ งั่ บรรยงก์รัตนาสน์
ท้ายสระ๕ จนเสด็จสวรรคต เม่อื พ.ศ. ๒๓๐๑ หลังจากน้นั พระมหากษตั รยิ ์อกี ๒ พระองค์
ท่ีครองราชสมบัติสืบต่อมาก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเสด็จมาประทับท่ีพระที่น่ังบรรยงก์
รัตนาสน์อีกเลย

พระท่ีนั่งบรรยงก์รัตนาสน์ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานช้ันในติดก�ำแพงพระราชวัง
ด้านตะวันตก ตัวพระที่นั่งสร้างขึ้นบนเกาะกลางสระหรือลักษณะมีคูน�้ำล้อมรอบ น�้ำใช้
ในท้องสระชักเข้ามาจากคลองท่อทางประตูอุดมคงคา น้�ำที่ใช้แล้วจะไหลคืนกลับไปยัง
คลองทอ่ อกี คร้งั หนึง่ ทางประตูชลชาตทิ วารสาคร ดังนน้ั น�ำ้ ในท้องสระรอบพระทน่ี ่ังจงึ มี
ระบบไหลหมนุ เวยี นท่ีดีท�ำให้ใสสะอาดอยตู่ ลอดเวลา

พระทน่ี งั่ ตงั้ อยบู่ รเิ วณกงึ่ กลางเกาะ ลกั ษณะเปน็ พระมหาปราสาทจตรุ มขุ กอ่ ดว้ ย
อฐิ สลบั ศลิ าแลง ตง้ั หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวนั ออกมบี นั ไดทางขนึ้ ลงทม่ี ขุ หนา้ ๓ บนั ได มบี นั ได

๕ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ๒, หนา้ ๒๒๑.

114

ทางขึน้ ลงมุขหลัง ๒ บันได พืน้ บนพระทีน่ งั่ คงเปน็ พ้ืนอฐิ ปทู ับด้วยไม้ เน่อื งจากพบแนวอฐิ
ก่อเป็นเอ็นและเป็นบ่าส�ำหรับรองรับพ้ืนไม้ สภาพปัจจุบันของพระท่ีน่ังเหลือเฉพาะส่วน
ฐาน ผนังและเคร่ืองยอดพังลงท้ังหมด แต่พบหลักฐานในค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่
ทรงธรรมว่า เคร่ืองบนเป็นยอดมณฑปยอดเดียว มีมุขโถงยาวออกมาจากมุขใหญ่ทั้ง
๔ ด้าน๖ และค�ำให้การชาวกรงุ เก่าใหข้ ้อมลู เพิ่มเติมวา่ มขี นาดข่ือเพียง ๓ วา สูง ๒๐ วา
เคร่ืองยอด ๙ ชั้น มีพรหมพักตร์ มีฉัตรและหลังคามุงด้วยกระเบื้องดีบุก แต่ไม่มี
พระราชบัลลังก์ในปราสาทองค์นี้๗ เหตุที่ไม่มีพระราชบัลลังก์บนพระที่นั่งองค์นี้เน่ืองจาก
เป็นทปี่ ระทับนั่นเอง

มีก�ำแพงแก้วเตี้ย ๆ ล้อมรอบพระที่นั่งอีกช้ันหน่ึง พ้ืนท่ีระหว่างก�ำแพงแก้วกับ
ตัวพระท่ีนั่งเป็นพื้นอิฐ ปูทับด้วยแผ่นหินชนวนหรือกระเบ้ืองดินเผา ในก�ำแพงแก้ว
ด้านตะวนั ตกเฉียงใต้มีห้องน้�ำ ๑ ห้อง และถังน้ำ� ๑ ถงั

ห้องน้�ำต้ังอยู่ตรงกับบันไดทางข้ึนลงพระท่ีนั่งที่มุขหลังข้างใต้ ลักษณะเป็นห้อง
สเ่ี หลย่ี มผนื ผ้า ขนาด ๔ x ๕ เมตร ผนังกอ่ อิฐหนา ๐.๘๐ เมตร ส่วนลา่ งของผนังบดุ ว้ ย
แผ่นหินแกรนิตโดยรอบ พื้นห้องปูด้วยแผ่นหินชนวนมีแนวท่อระบายน้�ำออกจากห้องน้�ำ
๒ แนว สูบ่ อ่ ซมึ ก่อนทง้ิ ลงสระดา้ นใต้ ส่วนของผนังหอ้ งน้ำ� จะเวน้ ชอ่ งหนา้ ตา่ งหรอื ช่องลม
อย่างไรไม่ทราบด้วยผนังพังลงท้ังหมด แต่คงจะมีประตูทางเข้าที่ผนังด้านเหนือ ตรงกับ
บนั ไดพระทนี่ งั่ สว่ นบนของหลงั คานนั้ คงจะเปน็ เครอื่ งไมม้ งุ กระเบอื้ งดนิ เผา หอ้ งนำ�้ หลงั น้ี
คงเปน็ ห้องสรงของพระมหากษัตรยิ ์ ซ่งึ มมี าแลว้ พร้อมกบั การกอ่ สร้างพระทีน่ ่งั ในรัชกาล
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ห้องน้�ำลักษณะเดียวกับที่กล่าวมาแล้วพบอีก ๑ ห้อง
ทางดา้ นใตพ้ ระท่ีนัง่ นอกกำ� แพงแก้วแต่มีขนาดเลก็ กว่า

ถังน�้ำต้ังอยู่ติดกับห้องน้�ำทางตะวันตกเป็นรูปส่ีเหลี่ยม ขนาด ๓ x ๓.๒๐ เมตร
ผนังก่ออิฐหนา ๐.๗๐ เมตร พืน้ ปดู ว้ ยหินชนวนเช่นเดยี วกบั ห้องนำ�้ ท่ีพื้นมแี นวท่อดนิ เผา
จากถังน�้ำประปา มาผุดที่ตรงกลางส่วนบนของถัง เป็นอย่างไร สูงเท่าไร ไม่มีหลักฐาน
ทพ่ี ้นื นอกถังน้ำ� ดา้ นใต้มีแนวท่อระบายนำ้� ๑ แนว ซงึ่ จะรับน้ำ� เสียไปสูบ่ อ่ ซึม ขนาดใหญ่
บ่อหนึ่งท่ีขอบสระข้างใต้ ก่อนระบายน้�ำลงท้องสระ ถังน้�ำแห่งนี้คงจะเป็นท่ีขังน�้ำไว้ใช้
และคงจะมสี ว่ นเก่ียวข้องกับห้องนำ�้ ดงั กลา่ วมาแลว้

๖ “ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดูท่ รงธรรม,” แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี ๓ (๑) : ๓๐.
๗ ค�ำให้การชาวกรงุ เกา่ ฯ, หนา้ ๒๒๐.

115

นอกก�ำแพงแก้ว ด้านตะวันตกท้ายพระที่น่ังเป็นท่ีตั้งของถังประปาและอ่างแก้ว
ถังน�ำ้ ประปามีจ�ำนวน ๓ ถัง แตล่ ะถังไมไ่ ด้สร้างข้ึนในคราวเดียวกัน ถงั นำ�้ ประปาถงั แรก
ตั้งอยบู่ นแนวก�ำแพงลอ้ มพระทนี่ ัง่ ขนาด ๓ x ๘ เมตร กอ่ ฐานล่างเป็นบัวคว่ำ� ความสูง
ของถังน�ำ้ ประปาเทา่ ทเ่ี หลือ ๒.๕๐ เมตร ซง่ึ เป็นเพยี งส่วนหนง่ึ ของฐานเท่านนั้ สว่ นบนท่ี
เป็นถังน�้ำประปานั้นพังลงท้ังหมด ที่ผนังมีแนวท่อน�้ำดินเผาฝังอยู่ ๒ แนว แนวหนึ่งเป็น
ทอ่ นำ� นำ�้ ขน้ึ เกบ็ บนถงั นำ้� ประปา แนวทอ่ ดงั กลา่ ววางจากถงั นำ�้ ประปาสขู่ อบสระ ดา้ นตะวนั ตก
เฉียงเหนอื ของพระทน่ี ัง่ ตรงประตอู ดุ มคงคา ซงึ่ เปน็ ทต่ี ง้ั ของระหดั นำ�้ แนวทอ่ อกี แนวหนงึ่
วางจากถังน�้ำประปาไปผุดทถี่ งั น้ำ� ใกลห้ ้องนำ้� ในเขตก�ำแพงแกว้ ดังทกี่ ล่าวมาแลว้

ถงั นำ้� ประปาถงั ท่ี ๒ และ ๓ ถกู สรา้ งตอ่ มาภายหลงั เมอ่ื ความตอ้ งการใชน้ ำ�้ มากขนึ้
โดยถังนำ�้ ประปาถงั ท่ี ๒ ขนาด ๓ x ๑๓ เมตร ตั้งอยบู่ นแนวก�ำแพงตอ่ จากถังน�้ำประปา
ถงั แรกมาทางด้านเหนือ ส่วนถังนำ�้ ประปาถงั ที่ ๓ ขนาด ๖ x ๑๒ เมตร มีขนาดใหญท่ ีส่ ดุ

116

ต้งั อย่ดู า้ นตะวนั ออกของถังน้�ำประปาที่ ๒ หลักฐานจากการขดุ ตรวจการวางท่อน้ำ� ดนิ เผา
ทำ� ใหท้ ราบวา่ ถังน�ำ้ ประปาถังแรกและถังท่ี ๓ เทา่ นั้นท่ใี ชป้ ระโยชน์ในครั้งหลงั สดุ

อ่างแก้วต้ังอยู่ด้านหน้าของถังน้�ำประปาถังแรก ลักษณะผังรูปสี่เหลี่ยมมุมมน
ขนาด ๙ x ๑๓ เมตร ก่อสร้างดว้ ยอฐิ หมุ้ ทบั ด้วยหนิ ปะการังท�ำนองจะท�ำใหเ้ หมือนภเู ขา
จ�ำลองภายในอ่างแก้วก่ออิฐเป็นเกาะเล็ก เกาะน้อยจ�ำนวนมากหุ้มทับด้วยหินปะการัง
เชน่ กนั เพอ่ื ตกแตง่ สภาพใหเ้ หมอื นธรรมชาตใิ ตท้ อ้ งทะเล ใชเ้ ปน็ ทเี่ ลย้ี งปลา มบี นั ไดทางขน้ึ
ไปเดนิ ไดร้ อบบนขอบอา่ งแกว้ เพอื่ ดปู ลาในอา่ งแกว้ นนั้ ในอา่ งแกว้ คงจะมนี ำ�้ พดุ งั ทกี่ ลา่ วไว้
ในพงศาวดาร เน่ืองจากมแี นวทอ่ น�ำ้ จากถงั ประปาถังแรกวางแนวผ่านอา่ งแก้วไปยงั ถงั นำ้�
ในก�ำแพงแกว้ ดงั นั้น คงจะมีท่อแยกตรงกลางอา่ งแก้วเพือ่ ท�ำนำ้� พุ

ทางด้านใต้ของอ่างแก้วมีร่องรอยของอาคารไม้หลังหนึ่งพ้ืนปูกระเบื้องคงจะเป็น
อาคารโถงท่ีประทับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ แต่คงไม่ใช่พระท่ีน่ังโปรยข้าวตอกเพราะ
ปรากฏหลักฐานตอ่ มาว่าพระท่ีนง่ั โปรยข้าวตอกเป็นพระทีน่ ัง่ ปลูกลงกลางสระ

117

ด้านหน้าพระท่ีนั่งนอกก�ำแพงแก้วมีพ้ืนที่กว้าง คงเป็นที่ตั้งของอาคารหลายหลัง
พบแนวอฐิ ก่อจ�ำนวนหน่งึ แต่ไม่สามารถวิเคราะหล์ กั ษณะทางสถาปัตยกรรมได้

ท่ีริมขอบสระท้ัง ๔ ด้าน มีก�ำแพงล้อมรอบพระท่ีน่ังอีกชั้นหน่ึงมีโคมไฟดินเผา
ซ่ึงอยู่บนสันก�ำแพงถัดจากแนวก�ำแพงเข้ามามีถนนปูอิฐเดินได้รอบ ในแนวก�ำแพงด้าน
ตะวันออกและด้านเหนือมีร่องรอยของอาคารวางตัวยาวตามแนวก�ำแพงน้ันคงจะเป็น
ทิมดาบส�ำหรับต�ำรวจและมหาดเล็กอยู่รักษาพระที่น่ัง ตามแนวก�ำแพงรอบพระที่นั่ง
มปี ระตทู งั้ ๔ดา้ นประตดู า้ นตะวนั ออกมสี ะพานขา้ มสระไปยงั เขตพระราชฐานชน้ั กลางประตู
ดา้ นตะวนั ออกตรงประตมู หาโภคราชทา้ ยวงั มสี ะพานขา้ มสระเสดจ็ ออกวา่ ราชการแผน่ ดนิ
ณ พระท่ีนั่งทรงปืน ข้างท้ายสระ ประตูทั้งสองมีถนนบนอิฐเชื่อมต่อถึงกัน มีประตูออก
ที่กลางด้านของก�ำแพงด้านเหนือและด้านใต้ เป็นประตูออกพระท่ีน่ังกลางสระ ท้ังสอง
ประตูนี้มีถนนอิฐเช่ือมต่อถึงกันกับมีประตูออกท่ีกลางด้านของก�ำแพงด้านตะวันออกอีก
๑ ประตู เปน็ ประตอู อกพระทีน่ ่ังกลางสระเช่นกัน

พระที่น่ังที่ปลูกลงกลางสระน้ันมีหลักฐานปรากฏในค�ำให้การขุนหลวงวัด
ประดทู่ รงธรรมวา่ ๘ ทก่ี ลางสระดา้ นเหนอื เปน็ พระทน่ี งั่ สำ� หรบั มเี ทศนม์ หาชาตเิ ปน็ พระทน่ี ง่ั
ห้าห้อง มีฝาเขียนลายรดน�้ำ (ลงรักปิดทอง) หลังคาซ้อน ๒ ช้ัน มีช่อฟ้า หางหงส์
มีพระบัญชรลูกกรงเหล็ก ระเบียงชานเฉลียง มีลูกกรงลูกมะหวดมีสะพานทอดข้ามจาก
พระมหาปราสาทถงึ พระทนี่ งั่ องคน์ ้ี ทก่ี ลางสระดา้ นใตม้ พี ระทน่ี ง่ั โปรยขา้ วตอกเปน็ ทปี่ ระทบั
ทอดพระเนตรและพระราชทานอาหารปลาหน้าคน ปลากระโห้ ปลาตะเพียนทองและ
ปลาต่าง ๆ ในท้องสระพระท่ีน่ังโปรยข้าวตอก เป็นพระท่ีน่ังโถงไม่มีฝามีแต่ลูกกรง
ลกู มะหวดรอบพระเฉลียง เสาพระทน่ี ัง่ ลงรกั ปิดทองลายพุ่มขา้ วบณิ ฑ์ มีสะพานทอดขา้ ม
จากพระมหาปราสาทถึงพระท่ีนั่งองค์น้ี ที่กลางสระด้านตะวันออกมีพระท่ีน่ังส�ำหรับ
ทอดพระเนตรดาว สุริยุปราคา และจันทรุปราคา เป็นพระทน่ี ง่ั ไม่มีหลังคา มีแตพ่ ื้นและ
ลกู กรงลกู มะหวดโดยรอบ มสี ะพานขา้ มถึงเชน่ กัน

๘ “ค�ำใหก้ ารขุนหลวงวัดประดทู่ รงธรรม”, หนา้ ๓๐ - ๓๑.
118

119

120

บรรณานุกรม
ช�ำระประวัติศาสตร์ไทย, คณะกรรมการ. “ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม.”
แถลงงานประวตั ศิ าสตร์ เอกสาร โบราณคด.ี พระนคร : โรงพมิ พส์ ำ� นกั ทำ� เนยี บ
นายกรัฐมนตรี, ๒๕๑๒.
เดอ ชวั ซยี .์ จดหมายเหตรุ ายวนั การเดนิ ทางไปสปู่ ระเทศสยาม. สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร แปล.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, ๒๕๑๖.
ตาชาร์ด. จดหมายเหตุการเดินทางสู่ประเทศสยามของบาทหลวงตาชาร์ด. สันต์ ท.
โกมลบตุ ร แปล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, ๒๕๑๗.
นิโกลาส์ แชร์แวส. ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม.
สันต์ ท. โกมลบตุ ร แปล. พระนคร : สำ� นักพมิ พก์ า้ วหนา้ , ๒๕๐๖.
พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา เล่ม ๒. พระนคร : โรงพมิ พอ์ ักษรสัมพนั ธ์,
๒๕๐๕.

121

122

ปอ้ มเพชร

ปราการเหลก็ แหง่ อยธุ ยา

ป้อมเพชรปราการขนาดใหญ่ ต้ังอยู่บนก�ำแพงเมือง
พระนครศรีอยุธยาด้านทิศใต้ตรงบางกะจะ คือ บริเวณท่ีแม่น้�ำ
ป่าสักไหลมารวมกับแม่น้�ำเจ้าพระยา ก่อนที่จะไหลลงไปทางทิศใต้
สอู่ ่าวสยามทะเลหลวง

ปอ้ มเพชรมคี วามสำ� คญั ในฐานะทเี่ ปน็ ปอ้ มรกั ษาการณท์ งั้ ใน
ยามทม่ี สี งคราม และยามสงบในจดุ ทเี่ ป็นทางนำ�้ ๓ แพร่ง ทัง้ ขา้ ศึก
และเรือสินค้าท่ีข้ึนล่องตามแม่น้�ำเจ้าพระยายากท่ีจะหลุดพ้นจาก
จุดสงั เกตการณ์ ณ ป้อมเพชรไปได้

123

ป้อมเพชร

ในเอกสารประวัตศิ าสตร์

เม่ือสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๓ นั้น๑
ก�ำแพงเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นแต่เพียงคันดิน ซึ่งสันนิษฐานว่าหลังสงครามคราว
พม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาคร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๑ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงทรง
พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งกำ� แพงเมอื งดว้ ยอฐิ ขนึ้ เปน็ ครง้ั แรก แตน่ กั วชิ าการกเ็ ชอ่ื วา่
ก�ำแพงอฐิ นา่ จะสร้างในรชั กาลสมเดจ็ พระมหาธรรมราชามากกวา่

ระยะเวลาตามทสี่ นั นษิ ฐานขา้ งตน้ ดจู ะมเี หตผุ ลและความเปน็ ไปไดท้ งั้ สน้ิ เพราะวา่
๑. การสรา้ งกำ� แพงเมอื งและปอ้ มปราการดว้ ยอฐิ มเี ชงิ เทนิ และใบเสมาสมั พนั ธก์ บั
การสรู้ บทีม่ ปี ืนใหญเ่ ข้ามาเกี่ยวข้องดว้ ย
๒. ชาวยุโรปทอี่ ยธุ ยาติดต่อด้วยเป็นครง้ั แรก คอื ชาวโปรตุเกส ในรชั กาลสมเด็จ
พระรามาธบิ ดที ่ี ๒ พ.ศ. ๒๐๕๔ และได้มกี ารท�ำสนธสิ ญั ญามิตรภาพระหวา่ งอยธุ ยากับ
โปรตุเกสเป็นฉบับแรกเม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๑ มีสาระส�ำคัญข้อหนึ่งว่า โปรตุเกสจะช่วยเหลือ
ด้านการทหารแก่อยุธยา ส่วนโปรตุเกสก็จะได้สิทธิเสรีภาพทางศาสนาและการค้าเป็น
การตอบแทน หลังจากน้ันชาวโปรตุเกสจ�ำนวนมากได้เดินทางเข้ามาในประเทศสยาม
และไดส้ ง่ั สอนชาวอยธุ ยาใหร้ จู้ กั ศลิ ปะในการสงคราม การสรา้ งปอ้ มปราการและการอาวธุ ๒
จึงเป็นหลักฐานที่บ่งช้ีว่าในห้วงเวลาดังกล่าวน่าจะมีความเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปแบบ
การรบโดยทมี่ กี ารใช้ปนื ใหญใ่ นสงครามมากขน้ึ

๑ “พระราชพงศาวดารกรงุ เกา่ ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ,ิ์ ” ประชมุ พงศาวดาร เลม่ ๑ (พระนคร : องคก์ ารคา้
ของครุ สุ ภา, ๒๕๐๖), หน้า ๑๓๐.
๒ Hélder de Mendonça e Cunha, "The 1820 Land Concession to the Portuguese" Thailand
and Portugal 470 years of Friendship. (Calouste Gulbenkian Foundation : Lisbon - Portugal,
1982), p. 58.
124

ภาพแผนทเ่ี มืองอยธุ ยา โดยชาวต่างชาติ

๓. เชื่อว่ามีการใช้ปืนใหญ่ในสงครามคราวกรุงศรีอยุธยารบกับพม่าที่เมือง
เชยี งกรานเมอ่ื พ.ศ. ๒๐๘๑๓ ครง้ั นม้ี ชี าวโปรตเุ กสจำ� นวน ๑๒๐ คน เปน็ ทหารรกั ษาพระองค์
ร่วมทัพไปดว้ ย๔

๔. นายแฟร์นงั มังเดช ปินโต นักแสวงโชคชาวโปรตเุ กสเดินทางเขา้ มาถึงอยุธยา
๒ ครัง้ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๖๕ จงึ ไดร้ ู้เหตุการณค์ วามวุ่นวายในราชส�ำนักอยุธยาระยะนัน้
พอสมควร และเขาพดู ถึงกำ� แพงเมืองและป้อมปราการแห่งอยธุ ยาไวว้ า่ ๖

๓ “พระราชพงศาวดารกรงุ เก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต,ิ์ ” ประชุมพงศาวดาร เลม่ ๑, หน้า ๑๔๒.
๔ สนั ต์ ท. โกมลบุตร (ผูแ้ ปล), การท่องเที่ยวผจญภยั ของแฟรน์ งั มงั เดช ปินโต (กรุงเทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นสามญั
นติ ิบุคคลสหประชาพานชิ ย,์ ๒๕๒๖), หน้า ๖๖.
๕ Hélder de Mendonça e Cunha, "The 1820 Land Concession to the Portuguese" Thailand and
Portugal 470 years of Friendship, p. 50.
๖ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๗๑.

125

แผนที่เมืองอยธุ ยา เขียนโดยหมอแกมเฟอร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓

“ไม่มีท่ีม่ันที่แข็งแรงเลย นอกจากค่ายที่ท�ำด้วยรั้วไม้เท่านั้นอันง่ายท่ีจะพิชิตนัก
สว่ นชาวเมืองนั้นเล่ากอ็ ่อนแอและไม่มอี าวธุ ปอ้ งกนั ตัวเลย”

จึงมีเหตุผลท่ีน่าเช่ือได้ว่า ก่อนรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ก�ำแพงเมือง
อยธุ ยายังเป็นคันดินปักเสาระเนยี ดไวบ้ นก�ำแพง

จนถึงรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ภายหลังจากสงครามคราวพม่าล้อม
กรงุ ศรอี ยุธยาครง้ั แรก หรือสงครามคราวเสยี สมเดจ็ พระสรุ โิ ยทยั เม่อื พ.ศ. ๒๐๙๑ น้ัน
จะเห็นได้ชัดเจนว่าอยุธยาอยู่ในฐานะเสียเปรียบ แม้ว่าจะไม่เสียกรุงศรีอยุธยาแก่ข้าศึก
ในครัง้ น้กี ็ตาม

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิน่าจะทรงเห็นว่ามีสงครามต่อ ๆ ไป จึงทรงปรับปรุง
ก�ำแพงเมืองไว้เพื่อป้องกันข้าศึก ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า “แรกให้ก่อก�ำแพง
พระนครศรีอยุธยา” เมอ่ื พ.ศ. ๒๐๙๒๗

๗ “พระราชพงศาวดารกรงุ เกา่ ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ,์ิ ” ประชมุ พงศาวดาร เลม่ ๑, หนา้ ๑๔๓ – ๑๔๔.

126

ต่อมาหลังเสยี กรุงศรอี ยุธยา พ.ศ. ๒๑๑๒ แล้ว พระราชพงศาวดารไดก้ ลา่ วอีกว่า
สมเด็จพระมหาธรรมราชาทรงโปรดเกล้าฯ ให้ “ร้ือก�ำแพงกรุงพระนครออกไปต้ังริม
แม่น�้ำ”๘ สอดคล้องกับข้อความในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับวันวลิต
พ.ศ. ๒๑๘๒ วา่ ทรงขยายตัวเมืองออกไปและสร้างก�ำแพงเมอื งล้อมรอบ๙ ซ่งึ คร้งั นน้ี ่าจะ
หมายถึงการขยายก�ำแพงเมืองออกไปคลุมพ้ืนท่ีวังจันทรเกษมปัจจุบัน ซึ่งเดิมเป็นที่ต้ัง
เพนียด ดังนัน้ เพนยี ดก็จะตอ้ งถูกย้ายออกไปสร้างใหมท่ ่ีตำ� บลทะเลหญ้าในคราวเดียวกัน
และเปน็ ไปได้วา่ ชาวโปรตเุ กสซึง่ เปน็ ชาวยโุ รปทมี่ บี ทบาทอยใู่ นราชส�ำนกั อยธุ ยามากท่สี ุด
ในขณะนั้น น่าจะมีส่วนในการออกแบบก�ำแพงเมืองและป้อมท่ีมีเชิงเทินและใบเสมา
สำ� หรบั เปน็ ทกี่ ำ� บงั กระสนุ ปนื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การสรู้ บทม่ี กี ารใชป้ นื ใหญต่ ามแบบตะวนั ตก

ดงั นนั้ เอกสารท้ังฝ่ายไทยและตา่ งประเทศ ตา่ งรบั รองในแนวเดียวกันวา่ ก�ำแพง
ก่ออิฐของอยุธยาน่าจะสร้างในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จ
พระมหาธรรมราชาหรือท้ังสองรัชกาล

บรเิ วณป้อมเพชร

ไม่มีหลักฐานเอกสารใดกล่าวถึงลักษณะรูปพรรณสัณฐานของป้อมเพชรต้ังแต่
แรกสร้าง จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๑๗๙ จึงมีภาพของป้อมเพชรในแผนท่ีเมืองอยุธยา
เขยี นสนี ำ�้ มนั โดยจติ รกรนริ นามชาวดตั ช์ ในแผนทด่ี งั กลา่ ว ปอ้ มเพชรเปน็ กระเปาะโคง้ รปู
ครึ่งวงกลม ต่อออกมาจากก�ำแพงเมืองตรงปากคลองสายหน่ึง (คลองในไก่หรือคลอง
มะขามเรยี ง) ตรงกับแผนที่ท่ีใช้ชือ่ วา่ “JUDIA : De Hoofb - stad van SIAM” เขยี นโดย
ชาวดตั ช์ในปเี ดียวกนั

๘ เรอ่ื งเดียวกัน, หนา้ ๑๕๑.
๙ เดวดิ เค. วัยอาจ (บรรณาธิการ), พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบบั วนั วลติ พ.ศ. ๒๑๘๒ (กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพแ์ สงรงุ้ การพมิ พ์, ๒๕๒๓), หนา้ ๘๒.

127

ตอ่ มามแี ผนทเ่ี ขยี นในครงั้ รชั สมยั
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยนาย
Johannes Vingboons เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๐๘
แตเ่ ปน็ แผนทคี่ ดั ลอกจากฉบบั พ.ศ. ๒๑๗๙
ลักษณะของป้อมเพชรเหมือนกับแผนท่ี
๒ ฉบับดงั กลา่ วมาแลว้

ระยะต่อมามีแผนท่ีซ่ึงเขียนขึ้น
โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส เช่น แผนท่ีเมือง
อยุธยาโดยบาทหลวงโทมัส วัลกาเนวิรา
พ.ศ. ๒๒๓๐ จะเห็นว่าลักษณะผังของ
ป้อมเพชรเปล่ียนจากผังครึ่งวงกลมเป็น
ผงั เหลยี่ ม เชน่ เดยี วกบั แผนทข่ี องแกมเฟอร์
พ.ศ. ๒๒๓๓

หลกั ฐานขา้ งตน้ เปน็ รอ่ งรอยทเี่ ชอื่
ได้ว่า น่าจะมีการปรับปรุงและซ่อมแซม
ป้อมเพชรครั้งใหญ่ ราวปลายสมเด็จ

128

พระนารายณ์มหาราชถึงขนาดก่อสร้างใหม่ เพราะแผนผังของป้อมเปลี่ยนจากผังโค้ง
เป็นผังเหล่ียม และเป็นไปได้อย่างย่ิงว่าวิศวกรชาวฝร่ังเศสเป็นผู้ออกแบบเช่นเดียวกับ
กำ� แพงและปอ้ มเมอื งลพบรุ ี แผนทเ่ี ขยี นโดยชาวตา่ งประเทศตอ่ จากนยี้ งั มอี ยบู่ า้ ง แตโ่ ดยมาก
เปน็ แผนทค่ี ัดลอกแทบทง้ั สิ้น

ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจและความม่ันคง
ของประเทศ จึงได้มีการน�ำอิฐก�ำแพงเมืองจากอยุธยามาใช้ในการสร้างราชธานีแห่งใหม่
ป้อมเพชรก็ถูกร้ือด้วยแต่ไม่หมด เพราะความแข็งแกร่งของวัสดุก่อสร้างของอิฐและปูน
ที่คุณภาพระดับ “ปูนเพชร” ยังปรากฏร่องรอยการสกัดอิฐให้เห็นจนทุกวันนี้ จนราว
พ.ศ. ๒๕๐๐ จอมพล ป. พบิ ลู สงครามเปน็ รฐั บาล ได้มกี ารปฏสิ ังขรณ์ปอ้ มเพชรข้นึ มาใหม่
เปน็ บางส่วน
หลกั ฐานทางโบราณคดี

เน่ืองจากป้อมเพชรเป็นหลักฐานส�ำคัญ มีหลักฐานเหลืออยู่มากกว่าป้อมอ่ืนใด
ในเมืองอยุธยา แต่สภาพพื้นท่ีถูกบุกรุกสร้างที่อยู่อาศัยโดยขาดสุขลักษณะ ก่อให้เกิด
สภาพแวดลอ้ มเสือ่ มโทรมไม่เหมาะสม

กรมศิลปากร โดยส�ำนักงานโครงการประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาจึง
ด�ำเนินการขุดค้น ขุดแต่งทางโบราณคดี และออกแบบเพื่อการบูรณะโบราณสถาน
ปอ้ มเพชร เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๓๗

ภายหลังการขดุ แต่งพบวา่ มีร่องรอยการก่อสร้างทับซอ้ นกนั ๒ คร้ัง
๑. การกอ่ สรา้ งครงั้ แรกตวั ปอ้ มกอ่ ดว้ ยอฐิ เปน็ กระเปาะโคง้ ออกไปจากกำ� แพงเมอื ง
เหลือหลกั ฐานเฉพาะส่วนฐานรากยังฝงั อย่ภู ายใต้ปอ้ ม ระยะที่ ๒ มรี ่องรอยของพืน้ ปอู ิฐ
เอาสันต้ัง คงจะเป็นส่วนของชอ่ งกดุ
๒. มกี ารรอื้ ปอ้ มอฐิ ระยะแรกแลว้ สรา้ งปอ้ มใหมท่ บั มแี นวอฐิ กอ่ เปน็ แนวฝงั ไวใ้ ตด้ นิ
ติดริมน�้ำ ซึ่งน่าจะท�ำหน้าท่ีเป็นก�ำแพงกันดิน (Retaining Wall) ป้อมในการก่อสร้าง
ครั้งที่สองเป็นป้อมเหลี่ยม มีช่องกุดท้ังใช้เป็นทางเข้าออกของชาวเมืองเป็นปรกติและ
ช่องกุดท่ีใช้เป็นท่ีต้ังปืนใหญ่ในยามสงคราม ที่ว่ามีการร้ือป้อมเดิมและสร้างป้อมใหม่
เพราะในชน้ั ดนิ ทบั ถมเตม็ ไปดว้ ยอฐิ และกระเบอื้ งมงุ หลงั คา สว่ นชอ่ งกดุ มรี อ่ งรอยการกอ่ อฐิ
ปิดโดยเปดิ ชอ่ งเล็ก ๆ ลกั ษณะโค้งกลม ซง่ึ นา่ จะเปน็ ช่องปืนใหญ่

129

130

ส ่ ว น โ บ ร า ณ วั ต ถุ ช้ิ น ส� ำ คั ญ ท่ี ลูกกระสุนปนื ใหญ่ ท�ำจากหนิ และเหลก็
นอกเหนือจากเศษภาชนะดินเผาของไทย นกหวดี ดนิ เผา
และตา่ งประเทศ ยงั ได้พบกระสนุ ปืนใหญ่
ท�ำมาจากหินจ�ำนวน ๑๐ ลูก มีขนาด
เสน้ ผ่านศูนย์กลางระหว่าง ๔.๕ - ๙ ซ.ม.
เหรียญกษาปณ์ของจีน นกหวีดดินเผา
ตกุ๊ ตาดนิ เผา ขวดแกว้ ตกุ๊ ตาดนิ เผาเคลอื บ
คลา้ ยรูปเคารพในศาสนาคริสต์ และโลหะ
ประเภทตะปเู หลก็ กุญแจ และตลับสำ� ริด
เปน็ ต้น

ตุ๊กตาคลา้ ยรปู เคารพในศาสนาครสิ ต์

สาเหตกุ ารพงั ทลายของปอ้ มเพชร
หากพิจารณาจากแผนท่ีอยุธยาของชาวต่างชาติฉบับ พ.ศ. ๒๑๗๙ และฉบับ

คัดลอกจะเห็นได้ว่าคลองในไก่ (มะขามเรียง) มีแนวตรงและบรรจบกับแม่น้�ำเจ้าพระยา
ตรงปอ้ มเพชรพอดี

ในแผนทดี่ งั กลา่ วลงแนวคลองนไี้ วไ้ มผ่ ดิ เพราะในพน้ื ทจี่ รงิ ถา้ หากลากแนวคลอง
ในไก่ตรงมาโดยไม่หักเลี้ยวดังปัจจุบัน ปากคลองจะมาบรรจบแม่น้�ำเจ้าพระยาท่ีข้าง
ปอ้ มเพชรพอดี ซึ่งจะตรงกับแนวแผนทีโ่ บราณ

131

จึงอาจจะเป็นไปได้ว่า กระแสน้�ำในคลองสายน้ีน่าจะพุ่งตรงเข้ากัดเซาะฐานราก
ของป้อมเพชรพอดี จนอาจจะเป็นสาเหตุหนงึ่ ท่ที ำ� ใหป้ อ้ มชำ� รุดเสยี หายได้

จากชั้นดินที่เห็นจากการขุดค้นขุดแต่งในบริเวณน้ีก็พบว่ามีอิฐหัก และกระเบื้อง
ทบั ถมมาก แมว้ า่ ไมส่ ามารถปกั ใจลงไปไดท้ นั ทวี า่ เกดิ จากกระแสนำ�้ ทำ� ใหพ้ งั ทลาย กจ็ ะตอ้ ง
เกิดจากการรอ้ื ป้อมเก่าเพอ่ื สรา้ งปอ้ มใหมแ่ นน่ อน เพราะเกิดปัญหาบางอยา่ งขน้ึ

ดังนัน้ ในแผนท่ฉี บับของบาทหลวงโทมัส พ.ศ. ๒๒๓๐ เราจึงเห็นได้วา่ ปากคลอง
ในไก่ส่วนท่ีจะบรรจบกับแม่น้�ำเจ้าพระยา ได้หักแนวไปทางทิศตะวันตกอย่างชัดเจน
ไม่พุ่งตรงเข้าหาป้อมเพชรอย่างแผนที่ฉบับ พ.ศ. ๒๑๗๙ และผังของป้อมก็เปลี่ยนเป็น
ผังเหล่ยี ม

ปอ้ มเพชรสมัยที่ ๑ สภาพหลงั ขดุ แต่ง
132

ทง้ั หมดชวนใหเ้ ชอื่ วา่ แนวคลองในไก่ (มะขามเรยี ง) ซงึ่ เปน็ แนวตรงในระยะแรก ๆ
ของอยธุ ยา นา่ จะเป็นสาเหตใุ ห้กระแสนำ้� พุ่งชนปอ้ มเพชรจนเป็นอนั ตรายถงึ กับตอ้ งสรา้ ง
ปอ้ มใหมใ่ นรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช พรอ้ มกนั นน้ั วศิ วกรไดห้ กั แนวคลองสว่ นที่
จะบรรจบกบั แมน่ ้�ำเจา้ พระยาไม่ใหเ้ บียดป้อม เพื่อแก้ปญั หากระแสน�ำ้ ด้วย

อาจมปี ญั หาทแี่ ยง้ กบั ความขา้ งตน้ บา้ ง ถา้ นำ� แผนทข่ี องหมอแกมเฟอร์ พ.ศ. ๒๒๓๓
มาพจิ ารณารว่ ม เพราะคลองในไกย่ งั มแี นวตรงและไดพ้ งุ่ เขา้ กลางปอ้ มเพชรซงึ่ ยอ่ มเปน็ ไป
ไม่ได้ในแง่ของความเป็นจริง ความคลาดเคล่ือนของแผนที่ย่อมมีได้ เพราะว่าแกมเฟอร์
เข้ามาใช้ชีวิตในอยุธยาเพียง ๓๓ วัน และได้เดินทางไปท่ัวอยุธยา ดังบันทึกอยู่ใน
จดหมายเหตุแกมเฟอร์ คงไม่มีเวลาท�ำแผนท่ี คงท�ำได้เพียงใช้แผนท่ีของผู้อ่ืนที่มีอยู่แล้ว
เป็นตน้ แบบหรอื คดั ลอก

วิเคราะห์แบบป้อมเพชร
ปอ้ มเพชรสมยั แรก
ส่วนของก�ำแพงเมืองก่อเป็นแนวโค้งออกเล็กน้อย รับกับภูมิประเทศคือแนว

ธรรมชาตขิ องแมน่ �ำ้ สว่ นตัวปอ้ มเปน็ กระเปาะครึง่ วงกลมตอ่ ออกไปจากแนวก�ำแพงเมือง
ก�ำแพงเมืองสมัยแรก (ท่ีสร้างด้วยอิฐ) หนาราว ๖.๕๐ เมตร ก่อผนัง ๒ ข้าง

มีคานอิฐเช่ือมผนังท้ังสองก่อให้เกิดห้องส่ีเหล่ียมซ่ึงถมด้วยดินและอิฐหัก ป้อมก่ออิฐ
ฝังรากลึกลงในพื้นดิน ก่อบัวไว้ท่ีเชิงผนังด้านนอก ส่วนผนังคงมีแนวสอบเข้าเล็กน้อย
มีช่องกุดเปน็ ทางเขา้ ออก แต่จำ� นวนช่องกดุ สนั นิษฐานชดั เจนไม่ได้และภายในป้อมน่าจะ
มสี ว่ นทมี่ หี ลงั คาคลมุ เพราะไดข้ ดุ คน้ พบกระเบอื้ งมงุ หลงั คา ในชนั้ ดนิ ทบั ถมเปน็ จำ� นวนมาก
แตห่ ลกั ฐานท่พี บยังไม่เพียงพอทจ่ี ะสันนษิ ฐานลักษณะที่แทจ้ ริงของหลังคา

ปอ้ มเพชรสมัยสอง
ท้ังแนวก�ำแพงและป้อมถูกสร้างใหม่ท้ังหมด ไม่ปรากฏว่ามีส่วนใดท่ีใช้ร่วมกับ
สิ่งก่อสร้างสมัยแรก จึงต้องรื้อป้อมสมัยแรกลงท้ังหมดจนเหลือเฉพาะรากฐานจมอยู่
ใต้ดิน การสร้างคร้ังนี้มีโครงสร้างเป็นแนวก่ออิฐไว้ใต้ดินขนานไปกับแนวของแม่น้�ำ
สันนิษฐานว่าน่าจะมีหน้าที่เป็นก�ำแพงกันดินเคลื่อนตัวอันเนื่องมาจากน�้ำหนักกดของ
ป้อม ก�ำแพงเมืองเฉพาะที่ผ่านตรงป้อมหนาเพียง ๑.๕๐ เมตร ต้ังอยู่บนเนินดิน ท�ำให้
ฐานก�ำแพงกว้างและแข็งแรงมากขึ้น ตัวป้อมมีผังเป็นเหลี่ยมท�ำเป็นกระเปาะย่ืนออกไป

133

จากก�ำแพงเมือง หลักฐานที่เหลืออยู่คือด้านทิศตะวันตก ๓ เหล่ียม และตะวันออก
๒ เหล่ยี ม ทุกเหลี่ยมมชี อ่ งกดุ ประจ�ำเหลี่ยมละ ๑ ช่อง ส่วนท่ีถกู นำ้� เซาะพังไปคอื ด้านที่
หนั เขา้ หาแมน่ ำ้� เจา้ พระยา และเหน็ ไดว้ า่ ชอ่ งกดุ ซง่ึ ตง้ั ปนื ใหญล่ ว้ นเลง็ แนวไปยงั แมน่ ำ�้ ทง้ั สนิ้

ช่องท ่ี ๑ แนวแกนประตเู ล็งขนานกำ� แพงเมืองไปทางทิศตะวนั ตก ไม่มีรอ่ งรอย
การตงั้ ปนื ใหญ่ จงึ น่าจะเปน็ ทางเข้าออกปรกตมิ ากกวา่

ช่องท่ี ๒ แนวแกนของประตูเล็งไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ คือแนวของแม่น้�ำ
เจ้าพระยาก่อนท่ีจะรวมกับแมน่ ้ำ� ป่าสกั

ช่องท ่ี ๓ แนวแกนของประตเู ลง็ ไปทิศใตจ้ ับขอบแม่น�ำ้ เจา้ พระยาฝง่ั ตะวนั ตก
ชอ่ งที่ ๔ แนวแกนประตูเลง็ ไปทศิ ใต้จบั ขอบแม่นำ้� เจา้ พระยาฝ่ังตะวนั ออก
ชอ่ งท่ ี ๕ แนวแกนของประตูเล็งขนานก�ำแพงเมืองไปทางทิศตะวันออก ไม่มี
รอ่ งรอยการตัง้ ปืนใหญ่ จงึ น่าจะเป็นทางเข้าออกปรกตเิ ช่นกนั
ปญั หาทมี่ อี ยคู่ อื สว่ นของปอ้ มทพ่ี งั ทลายไปนนั้ มอี กี กเ่ี หลย่ี ม ประเดน็ นพ้ี จิ ารณาจาก
แผนท่ีของชาวต่างชาติอย่างเดยี วไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากมคี วามขดั แยง้ กันเอง เพราะแผนที่ฉบับ
พ.ศ. ๒๒๓๐ เขยี นเปน็ ปอ้ มส่ีเหลย่ี มคล้ายปอ้ มท่เี มอื งลพบุรี แต่แผนท่ีฉบับ พ.ศ. ๒๒๓๓
เขยี นเปน็ กระเปาะ ๖ เหลยี่ ม จงึ ตอ้ งพจิ ารณาจากหลกั ฐานทางโบราณคดี และเจตนาของ
การสรา้ งป้อมเพชรประกอบกนั โดยเจตนาน้ันปอ้ มเพชรมหี น้าทีห่ ลกั คอื การคมุ เส้นทาง
ตดิ ตอ่ ดา้ นทศิ ใตท้ จี่ ดุ บรรจบของทางนำ�้ ๓ แพรง่ โดยแมน่ ำ�้ เจา้ พระยาเปน็ เสน้ ทางตดิ ตอ่ กบั
เมืองทางใตแ้ ละทะเล จึงเป็นเสน้ ทางส�ำคญั ที่สุด
เราไดเ้ ห็นแล้ววา่ ชอ่ งกดุ ที่ ๓ และ ๔ ลว้ นเล็งไปสทู่ างแม่น�้ำเจา้ พระยาทั้ง ๒ ฝง่ั
จงึ เปน็ กรอบในการสนั นิษฐานอยใู่ นตวั ว่า ส่วนท่หี ายไปไมว่ ่าจะมกี ่เี หล่ียมก็ตาม จะตอ้ งมี
ช่องกุดท่ีเล็งสู่กลางแม่น�้ำเจ้าพระยาเท่าน้ัน เมื่อเป็นดังน้ีจึงสันนิษฐานต่อไปได้ว่า ส่วนท่ี
หายไปของปอ้ มเพชร นา่ จะมอี กี เพยี งเหลยี่ มเดยี ว และเมอื่ เขยี นแบบสนั นษิ ฐานในผงั แลว้
เหลยี่ มนจี้ ะเปน็ เหลย่ี มทยี่ าวทส่ี ดุ หนั ดา้ นทงั้ ดา้ นขวางปากนำ�้ เจา้ พระยาพอดี และควรจะ
มีช่องกุดส�ำหรับตั้งปืนใหญ่อย่างน้อย ๓ ช่อง หากเป็นดังข้อมูล และเหตุผลที่ช้ีแจงมา
ข้างต้น ผังสันนิษฐานป้อมเพชรสมัยที่สองน่าจะมีผัง ๖ เหลี่ยม หากนับรวมเหล่ียม
ก�ำแพงเมืองดว้ ยก็จะเป็น ๗ เหล่ียม ความหนาของป้อมราว ๑๔ เมตร
สว่ นรปู ตงั้ ของปอ้ มนน้ั ยงั เหลอื รอ่ งรอยอยมู่ าก คอื ดา้ นหนา้ ทำ� บวั ควำ่� ไวท้ เ่ี ชงิ ผนงั
สว่ นของผนงั เอนสอบเขา้ เลก็ นอ้ ย สว่ นบนสดุ ตง้ั ใบเสมา (ทบ่ี งั กระสนุ ) มเี ชงิ เทนิ กวา้ งใหญ่
โดยอาจจะมี ๒ ระดบั ความสงู ของปอ้ มรวมใบเสมาแล้วประมาณ ๖.๕๐ เมตร

134

ป้อมเพชรสภาพหลงั ขุดแตง่

ปอ้ มเพชรนา่ จะเปน็ ปอ้ มทไี่ มม่ หี ลงั คาคลมุ อยา่ งไมม่ ปี ญั หา เพราะจากการขดุ แตง่
ได้พบกระเบื้องคลุมหลังคาเพียงเล็กน้อย และอาจเป็นกระเบ้ืองท่ีติดมากับดินถมก็ได้
ที่ส�ำคัญหากเป็นป้อมชนิดมีหลังคา ก็จะต้องมีเสา ไม่ว่าจะท�ำด้วยไม้หรืออิฐ เพ่ือรองรับ
โครงสร้างและหลังคา แตไ่ ม่พบหลกั ฐานจากการขดุ แต่ง

135

136

137

สรปุ
ก�ำแพงเมืองพระนครศรีอยุธยาเม่ือแรกสถาปนาสร้างเป็นก�ำแพงดิน ต่อมาเม่ือ

มีการติดต่อสัมพันธ์กับชาวยุโรปจึงสร้างก�ำแพงเมืองอิฐ โดยมีหลักฐานเป็นสนธิสัญญา
มติ รภาพระหวา่ งอยธุ ยากบั โปรตเุ กส เมอ่ื พ.ศ. ๒๐๖๑ วา่ โปรตเุ กสจะชว่ ยเรอื่ งการทหาร
แก่อยธุ ยา โดยจัดหาอาวุธปนื และสร้างปอ้ มปราการ ส่วนโปรตุเกสจะได้สิทธเิ สรภี าพทาง
ศาสนาและการคา้ ตอบแทน ดังนน้ั สิ่งหนึ่งที่ได้มกี ารเปลี่ยนแปลง คอื วธิ ีการสรู้ บที่มีปนื
ใช้ในการสงคราม

ทหารโปรตุเกสได้ร่วมรบในสงครามกับพม่าท่ีเมืองเชียงกราน น่าจะมีการใช้
ปนื ใหญ่ในสงคราม และเปน็ สว่ นส�ำคัญทที่ �ำใหอ้ ยธุ ยาไดร้ บั ชัยชนะในคราวนี้

การเปลยี่ นแปลงรปู แบบการรบ น่าจะมีสว่ นอยู่ด้วยในการสรา้ งกำ� แพงเมืองและ
ปอ้ มแบบทมี่ เี ชงิ เทนิ และใบเสมาเปน็ ทก่ี ำ� บงั กระสนุ ซง่ึ จำ� เปน็ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงวสั ดกุ อ่ สรา้ ง
เปน็ อฐิ ราวรัชกาลสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ หรือรชั กาลสมเดจ็ พระมหาธรรมราชา และ
ป้อมเพชรสร้างขน้ึ เป็นครงั้ แรกในคราวนี้ โดยทชี่ าวโปรตเุ กสน่าจะมีบทบาทส�ำคญั ในการ
ออกแบบและกอ่ สรา้ ง โดยปอ้ มมผี งั โคง้ รปู ครงึ่ วงกลมมหี ลงั คา แตย่ งั ไมส่ ามารถสนั นษิ ฐาน
ลกั ษณะทแ่ี ท้จรงิ ของหลงั คาได้

อาจจะมีสาเหตุมาจากแนวคลองในไก่เบียดชิดตัวป้อมมากเกินไป ท�ำให้กระแส
น้�ำกัดเซาะรากฐานของป้อม จนน่าจะเป็นสาเหตุของการสร้างป้อมเพชรใหม่ราวปลาย
รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช การสร้างคร้ังน้ีได้หักทิศทางของคลองให้พ้นจาก
ตัวป้อม และผังป้อมก็เปลี่ยนเป็นป้อมเหลี่ยม โดยวิศวกรชาวฝร่ังเศสน่าจะมีส่วนในการ
ออกแบบป้อมในครงั้ นี้

ป้อมเพชรท�ำหน้าท่ีควบคุมและสังเกตการณ์ ตรงจุดที่แม่น้�ำมาบรรจบกันเป็น
๓ แพรง่ โดยเฉพาะคมุ ปากน้�ำเจ้าพระยาทัง้ สองฝั่งและกลางแมน่ ำ�้

สว่ นของปอ้ มเปน็ กระเปาะยื่นออกไปจากก�ำแพง เป็นผัง ๖ เหลยี่ ม แตล่ ะเหลี่ยม
มชี อ่ งกุดประจำ� ดา้ นละ ๑ ช่อง ยกเว้นเหล่ียมใหญซ่ ่ึงเป็นด้านทว่ี างขวางปากแมน่ �้ำ ซง่ึ มี
ความยาวกว่าดา้ นอน่ื ควรจะมีช่องกดุ อย่างนอ้ ย ๓ ช่อง (สันนษิ ฐาน)

รูปตง้ั ของปอ้ มมีบัวคว่�ำท่ีเชงิ ผนงั สว่ นผนังเอนสอบเขา้ เลก็ นอ้ ย ส่วนบนสดุ ต้ังใบ
เสมาและเชงิ เทนิ กวา้ งใหญ่อาจจะมี ๒ ระดับ ภายในป้อมไม่พบหลักฐานว่าเคยมหี ลังคา
คลมุ เพราะไมพ่ บแนวเสา และกระเบ้ืองมุงหลงั คาที่พบบริเวณนกี้ ม็ เี พยี งเล็กน้อย

138

ตอ่ มาในสมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ ด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจและความม่ันคงของ
ประเทศจึงได้มีการน�ำอิฐก�ำแพงเมืองจากอยุธยามาใช้ในการสร้างราชธานีแห่งใหม่
แตป่ อ้ มเพชรเปน็ สว่ นทร่ี อื้ ยาก เพราะความแขง็ แกรง่ ของอฐิ และปนู สอจงึ ยงั เหลอื หลกั ฐาน
ไว้ให้ศกึ ษาดา้ นสถาปัตยกรรมพอสมควร

จนราว พ.ศ. ๒๕๐๐ ไดม้ คี วามพยายามปฏสิ งั ขรณป์ อ้ มเพชรตามเคา้ โครงเดมิ แต่
ทำ� ไดเ้ พียงบางสว่ น ก็ถูกปล่อยใหท้ ิ้งร้างอกี ทำ� ใหร้ าษฎรเข้ามาอยอู่ าศยั บริเวณน้ี

กรมศลิ ปากรไดเ้ ขา้ ไปดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาการบกุ รกุ ดำ� เนนิ การขดุ คน้ ขดุ แตง่
และออกแบบเพอื่ การบรู ณะตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นตน้ มา ได้ด�ำเนินการสร้างเขื่อนเพอ่ื
ปอ้ งกนั การกัดเซาะของน้�ำ และด�ำเนนิ การบรู ณะ ปรับปรงุ ภมู ิทัศน์ตอ่ ไป

139

140

สะพานปา่ ถา่ น

ในกรงุ ศรอี ยุธยา*

ภูมิสถานที่ตั้งของเมืองพระนครศรีอยุธยาท่ีสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงเลือกเพ่ือสร้างเมืองน้ัน
ตั้งอยู่ในชัยภูมิเหมาะสมเป็นที่ชุมนุมของแม่น�้ำส�ำคัญ ๓ สาย คือ
แม่นำ้� เจ้าพระยา แม่นำ้� ปา่ สกั และแม่น�้ำลพบรุ ี

แม่น้�ำ ๒ สายแรกถูกใช้เป็นคูเมืองธรรมชาติ คือ แม่น�้ำ
เจ้าพระยา เป็นคูเมืองด้านตะวันตกและด้านใต้ แม่น้�ำลพบุรีเป็น
คูเมืองดา้ นเหนอื

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงโปรดให้ขุดคูข่ือหน้า
เป็นทางลัดแม่น�้ำป่าสักมาเช่ือมกับแม่น้�ำเจ้าพระยาตรงบางกะจะ
หรอื ปอ้ มเพชร เปน็ คเู มอื งดา้ นตะวนั ออก ทำ� ใหเ้ มอื งพระนครศรอี ยธุ ยา
เป็นเมืองที่มีสภาพเป็นเกาะมีน้�ำล้อมรอบ มีขนาดเหมาะสมกับ
จำ� นวนประชากรในระยะเริ่มแรกสร้างเมืองนน้ั

* เขียนรว่ มกบั นายดสุ ิต ทุมมาภรณ์ อุทยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา

141

รปู แบบสะพานปา่ ถา่ นหลงั การขดุ แตง่
142

แยกสะพานป่าถา่ น มองเห็นฐานเจดยี ์เจา้ อา้ ยพระยาและเจา้ ยพ่ี ระยา
บนสามเหล่ยี มเกาะกลางถนน

ความรอบรู้ในวิชาผังเมืองและความเข้าใจใน
ธรรมชาติของแม่น้�ำทั้งสามสายท่ีไหลจากเหนือลงมา
ทางใต้มารวมกันบริเวณน้ี ในฤดูน�้ำหลากปีใดน�้ำมากกว่า
ปกติ เมืองพระนครศรีอยุธยาจะเป็นเป้าหมายของ
การถูกท�ำลายจากกระแสน้�ำให้พินาศย่อยยับได้โดยง่าย
ดังนนั้ สถาปนกิ ผ้อู อกแบบการสรา้ งเมืองในระยะเรมิ่ แรก
น้ัน จึงให้มีการขุดคลองเพ่ิมข้ึนจ�ำนวนมากเช่ือมต่อกับ
แม่น้�ำล�ำคลอง ซ่ึงมีอยู่เดิมตามธรรมชาติแล้วส่วนหน่ึง
เพอื่ ชว่ ยแบง่ ปนั และลดความรนุ แรงของนำ้� ในฤดนู ำ้� หลาก
เป็นส�ำคัญ ท�ำให้สภาพของเมืองพระนครศรีอยุธยา
เต็มไปด้วยแม่น้�ำล�ำคลองเป็นเครือข่ายโยงใยโดยท่ัวไป
ท้ังภายในและนอกเมือง และยังท�ำให้ดูคล้ายกับว่าเมือง
พระนครศรีอยุธยาเป็นเมืองท่ีประกอบไปด้วยเกาะเล็ก
เกาะนอ้ ยจ�ำนวนมาก

143

ตอมอ่ สะพานป่าถ่าน

ฐานเจดยี เ์ จ้าอา้ ยพระยาและเจ้าย่พี ระยา
144

ผลได้จากคูคลองจ�ำนวนมากเหล่าน้ี เป็นแหล่งน้�ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคในชีวิต
ประจำ� วนั ของประชาชนพลเมอื ง เปน็ แหลง่ นำ�้ เพอื่ การเกษตรกรรม เปน็ เสน้ ทางคมนาคม
ติดต่อทั้งระบบภายในและภายนอก ระบบแม่น้�ำล�ำคลองจึงมีส่วนเกี่ยวพันกับวิถีชีวิต
ประจ�ำวันของชาวพระนครศรอี ยธุ ยาอย่างแนบแน่น

ลักษณะทางกายภาพของเมืองพระนครศรีอยุธยา ครั้งบ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง
ปรากฏในเอกสารโดยเฉพาะจดหมายเหตขุ องชาวตา่ งชาตหิ ลายฉบบั ไดก้ ลา่ วเปรยี บเทยี บ
พระนครศรอี ยุธยาว่าเปน็ เมอื ง เวนิสแหง่ ตะวนั ออก ทีเดียว

นายแกมเฟอร์ ผ้ทู ีเ่ ดนิ ทางเขา้ มายังพระนครศรีอยธุ ยา เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๓๓ บนั ทกึ
สภาพของเมืองไว้อย่างชัดเจนว่า “มีคลองใหญ่ขุดจากแม่น้�ำผ่านเข้าไปในเมืองจาก
ทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกบ้าง จากเหนือไปทิศใต้บ้าง และยังมีคลองเล็กๆ น้อยๆ
ซอยจากคลองใหญ่อีกเป็นอันมาก เรืออาจแล่นจากแม่น�้ำเข้าไปในเมืองจอดเทียบท่า
พระราชวังและต�ำหนักส�ำคัญๆ ได”้ ดังน้ัน การคมนาคมทางน้�ำจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับ
ประชาชนชาวพระนครศรีอยุธยาเป็นอยา่ งยิ่ง

แต่อย่างไรก็ตาม การคมนาคมทางบกก็เป็นสิ่งจ�ำเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน
ดว้ ยพบวา่ มกี ารสรา้ งถนนเป็นแนวคขู่ นานไปกับแนวคลองแทบทกุ สาย โดยถนนสายหลกั
มขี นาดกว้างใหญม่ ักเป็นถนนปอู ฐิ และมถี นนดินซ่ึงเปน็ ถนนซอยขนาดเล็กทั่วไป

ด้วยเหตุที่เมืองพระนครศรีอยุธยามีคลองและถนนจ�ำนวนมาก ท�ำให้มีสะพาน
ขา้ มคลองจ�ำนวนมากตามไปด้วย

ลักษณะของสะพานมี ๓ แบบด้วยกัน ได้แก่ สะพานไม้ แบบหนึ่ง สะพานอิฐ
และศลิ า แบบหนงึ่ และสะพานสายโซ่ หรอื สะพานหก อกี แบบหนง่ึ

ในบรรดาสะพานสำ� คญั ๆ กวา่ ๓๐ สะพาน ทมี่ ชี อ่ื ปรากฏในเอกสารนนั้ สะพานปา่ ถา่ น
เปน็ สะพานแหง่ หนง่ึ ทมี่ เี รอ่ื งราวเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งพระนครศรอี ยธุ ยาทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ
ตอนหนง่ึ

สะพานปา่ ถา่ น เปน็ สะพานทต่ี ง้ั อยบู่ นแนวถนนหนา้ พรหม ทอดขา้ มคลองประตู
ขา้ วเปลอื กระหวา่ งวดั มหาธาตกุ บั วดั ราชบรู ณะ

พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยากลา่ วถงึ สะพานแหง่ นเ้ี ปน็ ครงั้ แรก ราว พ.ศ. ๑๙๖๗
เมอ่ื สมเดจ็ พระอนิ ทราชาเสดจ็ สวรรคต เจา้ ฟา้ ๒ พระองค์ คอื เจา้ อา้ ยพระยากบั เจา้ ยพ่ี ระยา
ยกกองทพั เขา้ มาเพอ่ื ชงิ ราชสมบตั ิ เจา้ อา้ ยพระยาตง้ั ทพั ตำ� บลปา่ มะพรา้ ว ทว่ี ดั พลบั พลาไชย
เจา้ ยพี่ ระยาตงั้ ทพั ณ วดั ไชยภมู ิ คนละฝง่ั คลองประตขู า้ วเปลอื ก ทง้ั ๒ พระองค์ ยกพล
มาปะทะกันท่ีเชิงสะพานป่าถ่าน ถึงข้ันยุทธหัตถีบนหลังช้างส้ินพระชนม์พร้อมกันทั้ง

145

วัดราชบรู ณะ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

๒ พระองค์ ราชสมบตั พิ ระนครศรอี ยธุ ยาจงึ ตกอยกู่ บั เจา้ สามพระยา เมอ่ื สมเดจ็ เจา้ สามพระยา
ขนึ้ ครองราชสมบตั แิ ลว้ จงึ โปรดใหส้ ถาปนาวดั ราชบรู ณะขน้ึ ตรงทถี่ วายพระเพลงิ พระบรมศพ
พระเชษฐาทง้ั กบั ทรงโปรดใหส้ ถาปนาพระเจดยี ์๒องค์กอ่ สรา้ งเปน็ เจดยี ฐ์ าน๘เหลย่ี มยงั ปรากฏ
รากฐานอยจู่ นถงึ ทกุ วนั น้ี นบั เปน็ อนสุ าวรยี ท์ รี่ ะลกึ ถงึ พระเชษฐาทงั้ ๒ พระองค์ ในเหตกุ ารณ์
จลาจลกลางเมอื งครง้ั นน้ั

สภาพของสะพานปา่ ถา่ นหกั พงั ลงตามกาลเวลาพรอ้ มกบั การสญู สภาพของคลองประตู
ขา้ วเปลอื กและการลม่ สลายของเมอื งพระนครศรอี ยธุ ยาภายหลงั สงครามกบั พมา่ อนั สง่ ผลให้
มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งยา้ ยเมอื งหลวงศนู ยก์ ลางการปกครองไปอยทู่ ธี่ นบรุ ี และกรงุ เทพฯ ตามลำ� ดบั
จนปจั จบุ นั ซากสะพานปา่ ถา่ น และเจดยี เ์ จา้ อา้ ยพระยาและเจา้ ยพ่ี ระยา ถกู กนั ขอบเขตไวเ้ ปน็
สว่ นหนงึ่ ของเกาะกลางถนนนเรศวร(ถนนหนา้ พรหม)ดว้ ยสภาพทปี่ รกั หกั พงั แตก่ ย็ งั เปน็ จดุ สงั เกต
บนผวิ ดนิ ทห่ี ลงเหลอื อยใู่ หศ้ กึ ษาเรอ่ื งราวหนา้ หนง่ึ ในประวตั ศิ าสตรก์ ารเมอื งพระนครศรอี ยธุ ยา

อทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา ไดด้ ำ� เนนิ การขดุ แตง่ ทางโบราณคดี เพอ่ื ศกึ ษา
ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมของสะพานปา่ ถา่ น ระหวา่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ - เมษายน ๒๕๓๓ ทำ� ให้
ทราบวา่ สว่ นทห่ี ลงเหลอื อยจู่ มอยใู่ ตพ้ น้ื ดนิ คอื สว่ นของฐานรากหรอื ตอมอ่ ของสะพานกอ่ อฐิ ถอื ปนู
จำ� นวน ๔ ตน้ แตล่ ะตน้ เปน็ แทง่ สเ่ี หลย่ี มมปี ลายแหลม ทงั้ ๒ ตน้ ขนาด ๒ x ๘ เมตร ถา้ เรยี งกนั
ในแนวตะวนั ออก - ตะวนั ตก ระยะจากตอมอ่ ตน้ ที่ ๑ ถงึ ตน้ ที่ ๔ ยาว ๑๗ เมตร ซงึ่ เปน็ ขนาด
ความกวา้ งของคลองประตขู า้ วเปลอื ก ชอ่ งวา่ งระหวา่ งตอมอ่ แตล่ ะชว่ งตา่ งกนั คอื ตอมอ่ ที่ ๑ - ๒
และ ๓ - ๔ ระยะหา่ ง ๒.๕๐ เมตร ตอมอ่ ที่ ๒ - ๓ ระยะหา่ ง ๕ เมตร ชอ่ งวา่ งระหวา่ งตอมอ่
ทก่ี ลา่ วถงึ เปน็ ชอ่ งทจี่ ะใหเ้ รอื สามารถสญั จรผา่ นไปมาได้ การทร่ี ะยะหา่ งระหวา่ งตอมอ่ ไมเ่ ทา่ กนั

146

ทำ� ใหข้ นาดความสงู ของชอ่ งโคง้ สงู ไมเ่ ทา่ กนั ดว้ ย ทค่ี อสะพานทง้ั สองขา้ งมฐี านรากกอ่ อฐิ เปน็ เอน็
ตดั กนั เปน็ หอ้ งสเ่ี หลย่ี มหลายหอ้ ง ขนาดกวา้ ง ๖ เมตร ยาวประมาณ ๑๙ เมตร ทงั้ สองฝง่ั
เปน็ ฐานรากของถนน ยกระดบั พนื้ ถนนใหล้ าดเอยี งขนึ้ ไปรบั กบั คอสะพานทง้ั สองฝง่ั

นอกจากนี้ ยงั พบชนิ้ สว่ นปนู ปน้ั รปู ดอกบวั ตมู และสว่ นโคง้ ของสะพาน ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ
ทชี่ ว่ ยในการสนั นษิ ฐานลกั ษณะของสะพานปา่ ถา่ นไดช้ ดั เจนยง่ิ ขนึ้

หลกั ฐานสะพานปา่ ถา่ นทเี่ หลอื อยสู่ ามารถเปรยี บเทยี บไดก้ บั สะพานประตจู นี ซงึ่ เปน็
สะพานอฐิ แบบเดยี วกนั และเหลอื สภาพของชอ่ งโคง้ อยา่ งชดั เจน ๑ ชอ่ ง โดยมรี ปู แบบของ
การกอ่ อฐิ ตอมอ่ เหมอื นกนั ดงั นน้ั สว่ นบนทเี่ ปน็ การกอ่ อฐิ แบบสนั ตงั้ เปน็ ชอ่ งโคง้ แหลมนา่ จะ
เหมอื นกนั ดว้ ย

ดังน้ัน จึงอาจสันนิษฐานได้ว่าสะพานป่าถ่านเป็นสะพานโค้ง มีช่องใต้สะพาน
ให้เรือสญั จรผา่ นไปมาได้ ๓ ชอ่ ง โดยช่องกลางกว้างกว่าอกี ๒ ช่องที่ขนาบขา้ ง ลักษณะ
การก่ออิฐสันต้ังเป็นช่องโค้งแหลม ส่วนโค้งของช่องกลางสูงกว่าอีก ๒ ช่องที่ขนาบข้าง
แนวถนน ยกระดบั ลาดเอยี งขนึ้ รบั คอสะพานทงั้ สองขา้ ง และนา่ จะมรี าวสะพานทง้ั สองขา้ ง
โดยกอ่ เป็นเสาหวั เมด็ รูปดอกบัวตมู

เกย่ี วกบั การกอ่ สะพานปา่ ถา่ นนน้ั เปน็ ทท่ี ราบแนช่ ดั วา่ มมี าแลว้ ตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยา
ตอนต้น อย่างน้อยในรัชกาลสมเด็จเจ้าสามพระยา เม่ือ พ.ศ. ๑๙๖๗ และเป็นไปได้ว่า
อาจจะก่อสร้างมาแล้วพร้อมกับการสถาปนาพระนครศรีอยุธยา เมื่อมีการขุดลอกคลอง
และสร้างถนนเป็นจ�ำนวนมาก แต่รูปแบบของสะพานไม้หรือสะพานอิฐ รูปแบบใด
รูปแบบหนง่ึ ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานใดท่จี ะกลา่ วอา้ งถงึ ได้

ส่วนรูปแบบของสะพานป่าถ่านที่ปรากฏหลักฐานหลังสุด ซ่ึงมีเทคนิคการก่ออิฐ
เปน็ ช่อง รปู โค้งแหลมดังกลา่ วมาแลว้ นัน้ เปน็ เทคนิคการกอ่ สร้างที่ไดร้ บั อทิ ธิพลตะวันตก
ซึ่งมปี รากฏในงานกอ่ สร้างสถาปตั ยกรรมไทยอย่างมาก ตั้งแตร่ ัชกาลสมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราช เปน็ ต้นมา

จึงเป็นไปได้ว่าสะพานป่าถ่านคงได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งหน่ึงประมาณรัชกาล
สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชเป็นคร้ังสำ� คัญทสี่ ุด

147

148


Click to View FlipBook Version