The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ประทีปวิทรรศน์ รวมเรื่องโบราณคดีอยุธยา

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๕ ช้นิ จำ� นวน ๔ ชิน้ จำ� นวน ๔ ช้นิ

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒ ช้ิน จ�ำนวน ๑ ช้นิ จ�ำนวน ๕ ชิ้น

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๓ ชน้ิ จำ� นวน ๒ ชิน้ จำ� นวน ๔ ชน้ิ

199

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผน่ ) (ก. แผน่ )

จำ� นวน ๕ ชนิ้ จ�ำนวน ๑ ชิ้น จ�ำนวน ๓ ชิ้น

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. แผน่ ) (ก. แผ่น) (ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๑ ชน้ิ จ�ำนวน ๓ ช้นิ จ�ำนวน ๔ ชนิ้

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายพันธพ์ุ ฤกษา ประเภทลายครุฑยดุ นาค
(ก. ลอน) (ก. แผ่น) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชนิ้ จำ� นวน ๒ ช้นิ จำ� นวน ๑๓ ชนิ้

200

ประเภทลายเส้นโคง้ ประเภทลายเส้นโค้ง
ประกอบกันเปน็ รปู สามเหลี่ยม ประกอบกันเปน็ รปู สามเหลีย่ ม

แบบท่ี ๒ แบบที่ ๒

(ก. ลอน) จ�ำนวน ๕ ช้ิน (ก. ลอน) จ�ำนวน ๙ ช้ิน

ประเภทลายทรงกระจัง ประเภทลายทรงกระจัง
(ก. ลอน) จ�ำนวน ๕ ชิ้น (ก. แผน่ ) จ�ำนวน ๘ ชน้ิ

201

๓. วัดอโุ บสถ
กรมศิลปากรด�ำเนินการขุดแต่งวัดอุโบสถ เม่ือปีงบประมาณ ๒๕๓๘๓๗
พบกระเบอื้ งเชิงชายในชัน้ ดินพงั ทลายทบั ถม ดงั น้ี

ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๒ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๔ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ชิ้น จ�ำนวน ๓ ชน้ิ

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๙ ประเภทลายเสน้ โคง้
(ก. ลอน) ประกอบกนั เป็นรปู สามเหลย่ี ม

จำ� นวน ๒ ชน้ิ แบบท่ี ๒
(ก. ลอน)

จำ� นวน ๔ ช้นิ

๓๗ รายละเอียดโปรดดู รายงานการศึกษาโบราณสถานวัดอุโบสถ - วัดหลังคาดํา ตําบลประตูชัย
อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เสนอสํานักงานโครงการนครประวัติศาสตร์
พระนครศรอี ยธุ ยา, ๒๕๓๘), หนา้ ๑๔ และรปู หนา้ ๑๖. (อดั สาํ เนา).

202

๔. พระท่ีน่งั เย็น จังหวดั ลพบุรี
กระเบ้ืองเชิงชายพบจากการขุดแต่งพระท่ีน่ังเย็น จังหวัดลพบุรี ประมาณ
พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๓๓

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๒ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒ ชิน้ จำ� นวน ๗ ชน้ิ

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๔ ช้ิน จ�ำนวน ๑ ชิน้

203

๕. วดั สวุ รรณาวาส
กระเบ้ืองเชิงชายพบท่ีวัดสุวรรณาวาส ได้มาจากการขุดแต่ง โดยอุทยาน
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยธุ ยา เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๐๓๘

ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๓ ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๓ ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๓
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๒ ชิ้น จำ� นวน ๗ ชน้ิ จ�ำนวน ๒ ชน้ิ

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๔ ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๔ ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๕
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ช้นิ จำ� นวน ๙ ช้นิ จำ� นวน ๑ ช้นิ

๓๘ รายละเอียดโปรดดู ขจร มุกมีค่า และ สุดา งามเหลือ, รายงานการขุดแต่งและบูรณะโบราณสถาน
วัดสุวรรณาวาส (ร้าง) ต.ท่าวาสุกรี อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา (อุทยานประวัติศาสตร์
พระนครศรอี ยธุ ยา กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๐), หน้า ๓๔. และรปู ที่ ๘๐ – ๘๒ (อดั สําเนา).

204

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๓ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๔
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒ ชิ้น จ�ำนวน ๑ ช้ิน จำ� นวน ๑ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑๑ ชิ้น จ�ำนวน ๑๖ ช้นิ จ�ำนวน ๘ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑ ชิน้ จำ� นวน ๗ ชิ้น จำ� นวน ๗ ชน้ิ

205

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๘ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเสน้ โคง้
(ก. ลอน) (ก. แผน่ ) ประกอบกันเป็นรูปสามเหลย่ี ม

จำ� นวน ๓๓ ชิ้น จำ� นวน ๔ ช้ิน แบบท่ี ๑
(ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชิน้

๖. วดั ปราสาท คลองสระบวั
กระเบ้ืองเชิงชายพบท่ีวัดปราสาท คลองสระบัว ได้มาจากการส�ำรวจ เมื่อ
พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๖ โดยโครงการส�ำรวจและข้นึ ทะเบยี นโบราณสถาน

ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๓
(ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑ ชนิ้

206

๗. วดั ขนุ แสน
ส�ำนักงานโครงการนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ด�ำเนินการขุดแต่ง
วดั ขนุ แสน เมื่อปีงบประมาณ ๒๕๓๗ - ๒๕๓๘๓๙

ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๔ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๓ ชิ้น จำ� นวน ๒ ชน้ิ จำ� นวน ๒ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๖ ชิ้น จำ� นวน ๓ ช้ิน จำ� นวน ๖ ช้นิ

๓๙ รายละเอียดโปรดดู, รายงานการขุดแต่งและบูรณะเสริม ความม่ันคงเจดีย์วัดขุนแสน ตําบลหัวรอ
อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เสนอสํานักงานโครงการนครประวัติศาสตร์
พระนครศรอี ยุธยา, ๒๕๓๗), หน้า ๑๓ - ๑๕ และรูปที่ ๗๐ - ๗๕. (อัดสาํ เนา).

207

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗ ประเภทลายหนา้ กาล แบบที่ ๒
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชน้ิ จำ� นวน ๘ ช้ิน

๘. วัดไชยวฒั นาราม
กรมศิลปากรด�ำเนินการขุดแต่ง เพ่ือการบูรณะวัดไชยวัฒนาราม ระหว่าง
พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๓๔๐

ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๒ ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๔
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ชิ้น

๔๐ รายละเอยี ดโปรดดู ประทปี เพง็ ตะโก, “โบราณวตั ถ”ุ วดั ไชยวฒั นาราม (กรงุ เทพมหานคร : หา้ งหนุ้ สว่ นจาํ กดั
ไอเดียสแควร์, ๒๕๓๗), หนา้ ๑๓๒ - ๑๓๔. 
208

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑๑ ช้ิน จ�ำนวน ๒๓ ชิ้น จำ� นวน ๑ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๓ ช้ิน จ�ำนวน ๑ ช้ิน จำ� นวน ๑ ชิ้น

ประเภทลายทรงกระจัง ประเภทลายทรงกระจงั
จำ� นวน ๔ ช้นิ จำ� นวน ๓ ชิน้

209

๙. วัดพระยาแมน
กระเบอ้ื งเชงิ ชายจากวดั พระยาแมน ไดจ้ ากการสำ� รวจ ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๕

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑ ชิ้น จ�ำนวน ๓ ชนิ้

๑๐. วัดโคกพระยา
กระเบื้องเชิงชายจากวดั โคกพระยา ใกล้วัดภูเขาทอง พบจากการสำ� รวจ

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑๓ ชิ้น จำ� นวน ๑ ชนิ้

210

๑๑. วดั สวุ รรณเจดยี ์
กระเบื้องเชิงชายจากวัดสุวรรณเจดีย์ ได้มาจากการขุดแต่ง โดยอุทยาน
ประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๔ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๓ ชิ้น จ�ำนวน ๙ ชิน้ จำ� นวน ๑๓ ชนิ้

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายหน้ากาล แบบท่ี ๒
(ก. แผ่น) (ก. แผน่ ) (เดอื ยยึด)

จำ� นวน ๖ ช้นิ จำ� นวน ๑ ชนิ้ จ�ำนวน ๑ ชนิ้

211

๑๒. วดั ธรรมมกิ ราช
กระเบื้องเชิงชายจากวัดธรรมิกราช ได้มาจากการขุดแต่งโบราณสถาน เมื่อ
พ.ศ. ๒๕๓๐ และ พ.ศ. ๒๕๓๗๔๑

ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๕ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๕ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๔
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒ ชน้ิ จำ� นวน ๒ ช้นิ จำ� นวน ๑๗ ชนิ้

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๔ ช้ิน จำ� นวน ๑๒ ชิน้ จำ� นวน ๑ ช้นิ

๔๑ รายละเอียดโปรดดู รายงานการขุดแต่งและขุดค้นโบราณสถานวัดธรรมิกราช ตําบลท่าวาสุกรี อําเภอ
พระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา (เสนอสาํ นักงานโครงการนครประวัตศิ าสตร์พระนครศรอี ยธุ ยา,
๒๕๓๗), หนา้ ๒๕ - ๒๖. (อดั สาํ เนา).
212

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น) (ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๒๑ ชิน้ จำ� นวน ๑ ชิ้น จำ� นวน ๑ ชิ้น

๑๓. วดั มณฑป
กระเบอื้ งเชงิ ชายจากวดั มณฑปได้มาจากการส�ำรวจ

ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๕
(ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชนิ้

213

๑๔. วดั พลบั พลาไชย
กระเบอ้ื งเชิงชายจากวดั พลับพลาไชย ไดม้ าจากการขุดแตง่ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๐๔๒

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๕ ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕
(ก. ลอน) (ก. แผ่น) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๓ ชนิ้ จ�ำนวน ๒ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. ลอน) (ก. แผน่ )

จำ� นวน ๑ ช้นิ จ�ำนวน ๑๑ ช้นิ

๔๒ รายละเอียดโปรดดู ขจร มุกมีค่า, รายงานการขุดแต่งวัดพลับพลาไชย ตําบลท่าวาสุกรี อําเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (โครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา, ๒๕๓๐),
หนา้ ๒๔ และรูปท่ี ๕๕ - ๖๐. (อัดสําเนา).
214

๑๕. วัดมหาสมัน
กระเบ้ืองเชิงชายจากวดั มหาสมนั ไดม้ าจากการขุดแตง่ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๗๔๓

ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๙ ช้ิน จำ� นวน ๑๖ ชน้ิ

๑๖. บ้านวิชาเยนทร์
กระเบือ้ งเชงิ ชายจากบ้านวิชาเยนทร์ ได้มาจากการขุดแต่ง

ประเภทลายดอกบวั แบบที่ ๕ ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. แผน่ )

จ�ำนวน ๔ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ช้นิ จ�ำนวน ๒ ชน้ิ

๔๓ รายละเอียดโปรดดู รายงานการขุดแต่งและขุดค้นโบราณสถานวัดมหาสมัน ตําบลประตูชัย อําเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เสนอสํานกั งานโครงการนครประวตั ศิ าสตร์พระนครศรอี ยุธยา,
๒๕๓๗), หน้า ๑๕. (อัดสาํ เนา).

215

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชน้ิ จ�ำนวน ๓ ช้นิ จ�ำนวน ๒ ช้นิ

ประเภทลายหน้ากาล แบบที่ ๑ ประเภทลายทรงกระจัง
(ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๑ ชิน้ จ�ำนวน ๑ ช้ิน

216

๑๗. วดั นครโกษา
กระเบอื้ งเชิงชายจากวดั นครโกษาไดม้ าจากการขดุ แต่ง

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น) (ก. แผน่ )

จ�ำนวน ๑ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ชน้ิ จ�ำนวน ๑ ชิ้น

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑
(ก. แผ่น) (ก. แผน่ ) (ก. แผ่น)

จำ� บวน ๑ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ช้ิน จ�ำนวน ๑ ชน้ิ

217

๑๘. วัดโพง
กระเบอ้ื งเชงิ ชายจากวัดโพง ได้มาจากการขดุ แต่ง๔๔

ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๓
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชิน้ จำ� นวน ๘ ชน้ิ จำ� นวน ๘ ชนิ้

๑๙. วัดนางคำ�
กระเบื้องเชงิ ชายจากวดั นางค�ำ ไดม้ าจากการส�ำรวจ

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๓ ช้นิ จ�ำนวน ๒ ชน้ิ

๔๔ รายละเอยี ดโปรดดู รายงานการขดุ แตง่ ศกึ ษาโบราณสถานวดั โพง ตาํ บลประตชู ยั อาํ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา
จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (เสนอสาํ นกั งานโครงการนครประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา, ๒๕๓๙), หนา้ ๒๕ - ๒๗.
(อดั สําเนา).
218

๒๐. วดั สวนหลวงคา้ งคาว
กระเบ้ืองเชงิ ชายจากวดั สวนหลวงคา้ งคาว ได้มาจากการขุดแตง่

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๔ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ช้ิน จ�ำนวน ๒ ชิ้น จ�ำนวน ๒ ชน้ิ

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชิ้น จ�ำนวน ๒ ชน้ิ จ�ำนวน ๑ ชนิ้

219

๒๑. วัดเจา้ ปราบ
กระเบื้องเชงิ ชายจากวดั เจา้ ปราบ ไดม้ าจากการขุดแต่ง

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒ ช้นิ จ�ำนวน ๑ ช้นิ จ�ำนวน ๒ ช้นิ

๒๒. วดั กฎุ ีดาว
กระเบ้ืองเชิงชายจากวดั กฎุ ดี าว ได้มาจากการขดุ แต่ง

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น) (ก. แผน่ )

จำ� นวน ๑๘ ชิ้น จ�ำนวน ๔ ช้นิ จำ� นวน ๓๘ ชน้ิ

220

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผน่ ) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๔ ชน้ิ จำ� นวน ๔ ชน้ิ จำ� นวน ๔๐ ช้ิน

ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๔ ประเภทลายทรงกระจงั ประเภทลายทรงกระจงั
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชิ้น จำ� นวน ๒๗๓ ชนิ้ จำ� นวน ๔๑ ชนิ้

221

๒๓. วหิ ารแกลบ
กระเบอื้ งเชิงชายจากวหิ ารแกลบ ไดม้ าจากการขดุ แตง่ ๔๕

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๑๓๔ ชน้ิ จำ� นวน ๕๓ ชน้ิ

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายหน้ากาล แบบท่ี ๒
(ก. แผ่น) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๔ ช้นิ จ�ำนวน ๑๕ ชน้ิ

๔๕ รายละเอยี ดโปรดดู รายงานการขดุ แตง่ โบราณสถานวหิ ารแกลบ ตาํ บลประตชู ยั อาํ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา
จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (เสนอสาํ นกั งานโครงการนครประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา, ๒๕๓๙), หนา้ ๑๓ - ๑๕.
(อดั สาํ เนา).
222

๒๔. วัดหสั ดาวาส
กระเบือ้ งเชงิ ชายจากวัดหัสดาวาส ไดม้ าจากการส�ำรวจ

ประเภทลายหน้ากาล แบบท่ี ๓
(ก. แผ่น)

จำ� นวน ๒ ชิ้น

๒๕. พระต�ำหนกั ค�ำหยาด
กระเบอื้ งเชิงชายจากพระต�ำหนักค�ำหยาด ได้มาจากการขุดแต่งเม่อื พ.ศ. ๒๕๒๙

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐
(ก. แผ่น) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๖ ชน้ิ จำ� นวน ๑ ชน้ิ

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๑๐ ประเภทลายกลบี บัว แบบท่ี ๔
(ก. แผ่น) (ก. แผน่ )

จำ� นวน ๑ ชิ้น จำ� นวน ๓ ชน้ิ

223

๒๖. วดั ท่าแค
กระเบ้อื งเชงิ ชายจากวัดทา่ แค ไดม้ าจากการส�ำรวจ

ประเภทลายพนั ธ์ุพฤกษา
(ก. แผ่น)

จ�ำนวน ๑ ชน้ิ

๒๗. วดั วรเชษฐ์
กระเบ้อื งเชิงชายจากวัดวรเชษฐ์ ได้มาจากการขดุ แตง่ ในช้นั ดินทับถม

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑๑ ช้ิน จำ� นวน ๒๒ ชนิ้ จ�ำนวน ๑ ช้ิน

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชิน้ จำ� นวน ๑๑ ช้ิน จ�ำนวน ๑ ชน้ิ

224

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๗ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๗
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๑ ช้ิน จ�ำนวน ๖ ชน้ิ

๒๘. วดั วังไชย
กระเบอ้ื งเชิงชายจากวดั วังไชย ได้มาจากการขุดแตง่ ในชั้นดนิ ทับถม๔๖

ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๖ ประเภทลายดอกบัว แบบที่ ๗
(ก. ลอน) (ก. แผน่ )

จ�ำนวน ๑ ชน้ิ จำ� นวน ๒ ชิน้

๔๖ รายละเอียดโปรดดู รายงานการขดุ แตง่ โบราณสถานวัดวังไชย ตาํ บลประตูชัย อาํ เภอพระนครศรอี ยุธยา
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา (เสนอสํานกั งานโครงการนครประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา, ๒๕๓๘), หนา้ ๓๔.
(อัดสาํ เนา).

225

๒๙. วัดวรโพธ์ิ หรือวัดระฆัง
กระเบ้ืองเชิงชายจากวัดวรโพธ์ิ หรือวัดระฆัง ได้มาจากการขุดแต่ง ในชั้นดิน
ทบั ถม๔๗

ประเภทลายเสน้ โคง้
ประกอบกันเปน็ รปู สามเหลี่ยม

แบบที่ ๒
(ก. ลอน) จ�ำนวน ๑ ชน้ิ

๓๐. เนนิ โบราณสถานใกล้วดั เตวจ็
กระเบ้ืองเชงิ ชายจากเนนิ โบราณสถานใกล้วดั เตว็จ ได้มาจากการส�ำรวจ

ประเภทลายทรงกระจัง ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๑๐ ?
(ก. ลอน ?) (ก. ลอน?)

จำ� นวน ๒ ชน้ิ (ก. ลอน ?) จำ� นวน ๑ ชิน้

๔๗ รายละเอียดโปรดดู รายงานการขุดแต่งศึกษาโบราณสถานวัดวรโพธิ (วัดระฆัง) ตําบลประตูชัย
อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เสนอสํานักงานโครงการนครประวัติศาสตร์
พระนครศรีอยธุ ยา, ๒๕๓๘), หนา้ ๑๘ และรูปที่ ๓๖. (อัดสําเนา).
226

๓๑. วดั ไตรตรึงค์
กระเบือ้ งเชิงชายจากวัดไตรตรงึ ค์ ได้มาจากการขุดแตง่ ๔๘

ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๕ ประเภทลายดอกบวั แบบท่ี ๕
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จ�ำนวน ๒๓๒ ชน้ิ จำ� นวน ๖ ช้นิ

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๖ ประเภทลายทรงกระจงั
(ก. ลอน) (ก. แผ่น)

จำ� นวน ๑ ชิ้น จำ� นวน ๑ ชิ้น

๔๘ รายละเอียดโปรดดู รายงานการขุดแต่งศึกษาโบราณสถานวัดไตรตรึงค์ ตําบลประตูชัย อําเภอ
พระนครศรีอยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (เสนอสาํ นักงานโครงการนครประวตั ศิ าสตร์พระนครศรอี ยุธยา,
๒๕๓๙), หน้า ๒๔ - ๒๘. (อัดสําเนา).

227

๓๒. ต�ำหนกั วัดมเหยงคณ์
กระเบอ้ื งเชิงชายจากตำ� หนักวดั มเหยงคณ์ ไดม้ าจากการส�ำรวจ

ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๕ ประเภทลายดอกบัว แบบท่ี ๕ ประเภทลายเทพพนม แบบที่ ๓
(ก. ลอน) (ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๑ ชนิ้ จำ� นวน ๑ ช้ิน จำ� นวน ๒ ชิน้

ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๓ ประเภทลายเทพพนม แบบท่ี ๘
(ก. ลอน) (ก. ลอน)

จำ� นวน ๒ ชิ้น จำ� นวน ๒ ช้ิน

228

229

ภาพสีน้�ำมัน ผลงานนายจักรพนั ธ์ หิรญั สาลี
จิตรกรชำ� นาญการ สำ� นักชา่ งสบิ หมู่ กรมศลิ ปากร

จากนกั โบราณคดีภาคสนาม

ก ผนู้สู่ ำ�
รมศลิ ปากร

นายประทปี เพ็งตะโก

อธิบดกี รมศิลปากร

“...ฝ่ามรสุมวิกฤตโิ ควดิ
สบื สานภารกิจวชิ าการ
วางรากฐานงานอนรุ กั ษ์”
ประวัติสว่ นตวั

เกิดวันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ณ ตำ�บลศีรษะทอง
อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม บุตรชายของนายจอก และ
นางลำ�ยวง เพ็งตะโก สมรสกับนางปภัสร เพ็งตะโก มีบุตร-ธิดา
๓ คน คอื ๑. นายปวัน เพ็งตะโก ๒. นางสาวปภาพินท์ เพง็ ตะโก
๓. นายปวรี ์ เพง็ ตะโก

231

232

การศึกษา

ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ ๑ - ๔ โรงเรียนวัดศีรษะทอง
อ�ำ เภอนครชยั ศรี และประถมศกึ ษาชนั้ ปที ่ี ๕ - ๗ โรงเรยี นวดั หว้ ยตะโก
อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ต่อมาเข้าศึกษาต่อในระดับ
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๕ โรงเรยี นพระปฐมวทิ ยาลยั อ�ำ เภอเมอื งนครปฐม
จังหวัดนครปฐม หลงั จากนน้ั จงึ ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ ดงั นี้
• พ.ศ. ๒๕๒๕ ศลิ ปศาสตรบัณฑติ (โบราณคด)ี
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
• พ.ศ. ๒๕๔๐ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ)
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
• พ.ศ. ๒๕๕๓ หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ่ ท่ี ๕๔
สถาบนั ด�ำ รงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
• พ.ศ. ๒๕๕๗ หลกั สตู รวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร
รุ่นท่ี ๕๖ (วปอ. ๕๖) กองบัญชาการกองทพั ไทย

233

ประวัติรบั ราชการ

๓ ธนั วาคม ๒๕๒๗ บรรจเุ ขา้ รบั ราชการ
ตำ�แหน่งนกั โบราณคดี ระดบั ๓

ตำ�แหนง่ ส�ำ คัญ

๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓ ​- ๘ ตลุ าคม ๒๕๔๔ ผู้อำ�นวยการส�ำ นักโบราณคดี
และพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตทิ ี่ ๑๐ สงขลา
๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ - ๑๕ เมษายน ๒๕๔๗ ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั งานศิลปากรที่ ๑๓
สงขลา
๑๖ เมษายน ๒๕๔๗ - ๘ มีนาคม ๒๕๕๐ ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งานศลิ ปากรที่ ๒
สุพรรณบรุ ี
๙ มีนาคม ๒๕๕๐ - ๗ ธันวาคม ๒๕๕๗ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ศลิ ปากรที่ ๒ สพุ รรณบรุ ี
๘ ธนั วาคม ๒๕๕๗ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๐ ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั ศิลปากรที่ ๓
พระนครศรีอยธุ ยา
๒๒ มีนาคม - ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ รองอธบิ ดกี รมศลิ ปากร
๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ - ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๒ ผตู้ รวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม
๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๒ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ อธบิ ดีกรมศลิ ปากร

234

เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ชน้ั สูงสุดท่ีได้รบั

๒๗ กันยายน ๒๕๖๐ มหาวชิรมงกฎุ (ม.ว.ม.)
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ประถมาภรณช์ ้างเผอื ก (ป.ช.)
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒ เหรยี ญจกั รพรรดมิ าลา

เกียรตปิ ระวัติท่ีได้รบั การยกย่อง

พ.ศ. ๒๕๓๑ เกียรตบิ ตั รยกย่องเป็นผปู้ ฏิบัติงานดว้ ยความอุตสาหะ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๖๐ นักศกึ ษาเก่าดเี ดน่ ประเภทผู้ประกอบวิชาชพี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

235

ชีวติ

กอ่ นเข้ารบั ราชการ

เรื่องที่ภาคภูมิใจในชีวิตประการหนึ่งคือ การท่ีเป็นเด็กชนบทธรรมดาคนหน่ึง
ทส่ี ามารถสอบเขา้ เรยี นในโรงเรยี นชายประจ�ำจงั หวดั ทมี่ ชี อื่ เสยี ง โดยเขา้ เรยี นมธั ยมปลาย
สายวิทยาศาสตร์ ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และเป็นวิชาท่ีชอบและท�ำได้ดี จึงเป็น
พ้ืนฐานให้คิดค�ำนวณตามเหตุและผล และยังเป็นพ้ืนฐานต่อการครองชีวิตและการงาน
ในเวลาต่อมา นอกจากน้ี ยงั เปน็ นักกฬี าวอลเลย์บอลของโรงเรยี นอกี ดว้ ย

ต่อมาเข้าศึกษาต่อท่ีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาโบราณคดี
วิชาโทมานษุ ยวิทยา

หลังจากจบการศึกษา เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดท้ �ำงานเป็นลกู จ้างโครงการโบราณคดี
ภาคเหนือ ซึ่งมีศูนย์ตั้งอยู่ท่ีจังหวัดเชียงใหม่ การท�ำงานในปีแรกขุดค้นทางโบราณคดี
ที่เมืองลี้ จงั หวดั ล�ำพูน และปีท่สี องร่วมส�ำรวจแหล่งโบราณคดใี นพื้นท่จี ังหวัดแมฮ่ ่องสอน
โดยใช้เวลาในการส�ำรวจกว่า ๖ เดือน นับเป็นชุดบุกเบิกการส�ำรวจฯ ในพื้นท่ีดังกล่าว
หลังจากน้นั กลับมาส�ำรวจและขุดค้นทางโบราณคดเี ฉพาะกิจที่ล�ำพนู เชยี งแสน (จงั หวัด
เชียงราย) และล�ำปาง ท�ำงานกับโครงการฯ นี้อยู่ตลอด ๒ ปี ทั้งกับเพื่อนและรุ่นพ่ี
คนเดิม จึงมีโอกาสได้พบปะรุ่นพ่ีอาวุโสท่ีมีประสบการณ์ให้ค�ำแนะน�ำส่ังสอนหลายคน
สร้างความประทับใจและแรงบันดาลใจให้มุ่งมั่นท�ำงาน เป็นฐานความคิด - ความรู้ -
ความเข้าใจในการท�ำงานท่จี ะก้าวต่อไป

236

เร่ิมต้น

เป็นขา้ ราชการกรมศลิ ปากร

เม่ือสอบเข้ารับราชการกรมศิลปากรสามารถสอบได้ล�ำดับท่ี ๑ ในขณะน้ัน
มีต�ำแหน่งว่างอยู่เพียง ๒ แห่ง คือ หน่วยศิลปากรที่อยุธยากับท่ีสงขลา จึงเลือกบรรจุ
ที่หน่วยศิลปากรอยุธยา เป็นนักโบราณคดีประจ�ำท่ีอยุธยายาวนาน ๑๒ - ๑๓ ปี คือ
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๔๑ งานแรกทีไ่ ดร้ ับมอบหมายคอื โครงการขดุ คน้ - ขดุ แต่งและ
บูรณะพระต�ำหนักค�ำหยาด ต้องรับผิดชอบท�ำทุกขั้นตอนจนจบโครงการฯ ท�ำให้มีความ
ม่ันใจท่ีจะท�ำงานโครงการท่ีมีขนาดใหญ่มากข้ึนคือ โครงการขุดค้น - ขุดแต่ง - บูรณะ
พระราชวังโบราณพระนครศรีอยุธยา แต่มองเห็นปัญหาจากสภาพของแหล่งท่ีทรุดโทรม
ถกู ท�ำลายรอื้ คน้ ซำ้� ซอ้ น หลกั ฐานสญู หาย ทง้ั ยงั ซอ้ นทบั กนั หลายยคุ หลายสมยั สบื คน้ หายาก
จึงมาคิดว่าจ�ำเป็นต้องสร้างระบบเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการท�ำงานตามหลักวิชาการ
โบราณคดเี ปน็ อนั ดบั แรก ระบบทว่ี า่ นคี้ อื การวางระบบผงั กรดิ รวม ใหเ้ ปน็ กรอบครอบคลมุ
พ้ืนที่ของพระราชวังโบราณทั้งหมด มีหมุดหมาย - ต�ำแหน่งตามผังชัดเจนอ้างอิงได้
โดยตลอด เม่ือด�ำเนินการขุดค้นฯ ในต�ำแหน่งใด บันทึกเป็นหลักฐานที่โยงยึดถึงกันได้
เสมอื นการคอ่ ย ๆ ต่อภาพจิ๊กซอวใ์ หเ้ พมิ่ ขนึ้ ๆ จนครบถ้วนได้ในอนาคต ระบบผังกรดิ รวม
ท่ีคิดและวางไว้น้ี ยังใช้ในการด�ำเนินงานโบราณคดี ณ พื้นท่ีพระราชวังโบราณแห่งนี้
สบื ตอ่ มาจนทกุ วนั นี้ เปน็ เรอื่ งทค่ี วรแกก่ ารภมู ใิ จวา่ ณ กา้ วเรมิ่ ตน้ แหง่ การเปน็ นกั โบราณคดี
ที่พระนครศรีอยุธยา ได้ช่วยคิดค้นวางรากฐานงานศึกษาโบราณคดีอยุธยาให้เป็นระบบ
ระเบียบเพื่อการต่อยอดงานในอนาคต ควบคู่ไปกับการจัดระบบระเบียบการประมวล
หลักฐานเอกสารทุกอย่างเก่ียวกับกรุงศรีอยุธยาและงานบันทึกศึกษาของคนท�ำงาน
ร่นุ แรก ๆ เช่น พระยาโบราณราชธานนิ ทร์ ขณะอยูอ่ ยธุ ยางานซึ่งน�ำประสบการณ์ในการ
บริหารจัดการและความภูมิใจมาให้อีกงานหนึ่ง คือ การด�ำเนินการอนุรักษ์และพัฒนา
วัดไชยวัฒนาราม ซ่ึงตอนนั้นอยู่ในสภาพถูกท้ิงร้างเหมือนป่าดง ชาวบ้านเข้ามาอยู่อาศัย
ประชดิ วดั ฯตอ้ งใชค้ วามรู้-ความสามารถในการวางแผนปรบั ปรงุ พน้ื ท่ีการเจรจากบั ชาวบา้ น
ในการเคลอ่ื นยา้ ย - ชดเชย การเวนคนื - จดั สรรพนื้ ทใี่ หใ้ หม่ การด�ำเนนิ การขดุ คน้ - ขดุ แตง่ -
บูรณะจนฟื้นคืนสภาพความเป็นโบราณสถานท่ีงดงามโดดเด่นของพระนครศรีอยุธยา
ในทุกวันนี้

237

ความคดิ ริเร่ิมวางรากฐานงาน

เม่อื ครง้ั เป็นภณั ฑารกั ษ์และเจา้ หน้าท่บี ริหารงานโบราณคดี

ก่อนหน้าจะมาด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี
เคยด�ำรงต�ำแหนง่ ภณั ฑารกั ษ์มาก่อน คงเปน็ เพราะผูบ้ ังคับบญั ชาในส�ำนกั โบราณคดแี ละ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมัยน้ัน เล็งเห็นว่าเป็นคนคิดพัฒนาระบบ และจัดการพัฒนา
พน้ื ทที่ มี่ ปี ญั หาการบกุ รกุ ไดด้ อี ยา่ งทเ่ี คยท�ำส�ำเรจ็ มาแลว้ ทวี่ ดั ไชยวฒั นาราม ใน พ.ศ. ๒๕๔๑
จึงให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นภัณฑารักษ์ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษกคลองห้า
ปทุมธานี ซ่ึง ผู้อ�ำนวยการสมลักษณ์ เจริญพจน์ ผู้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ในขณะนั้น มีแนวคิดพัฒนาให้เป็นพิพิธภัณฑ์ฯ ชาติพันธุ์วิทยา แต่ปัญหาใหญ่คือกรมฯ
สรา้ งอาคารขนึ้ มาหลงั หนง่ึ บนพน้ื ที่ ๒๕๐ ไร่ มชี าวบา้ นเขา้ มาครอบครองพนื้ ทหี่ ลายสว่ น
ต้องหาทางให้โยกย้ายรงั วดั พน้ื ที่และคดิ คา่ ชดเชย จนสรา้ งแนวเขตชัดเจนได้

238

ขณะอยู่ท่ีน่ีตลอด ๑ ปี ส่ิงท่ีคิดอยากท�ำและอยากวางแนวทางไว้คือเร่ือง
โบราณวตั ถทุ อี่ ยใู่ นคลงั พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ซง่ึ ยา้ ยมาเกบ็ รกั ษาทนี่ ่ี ปญั หา
ยุ่งยากคือ บัญชีและทะเบียนโบราณวัตถุที่ไม่ครบถ้วน เลขหมายซ�้ำซ้อน บัญชีกับของ
ไมต่ รงกนั บา้ ง มขี องแตบ่ ญั ชไี มม่ บี า้ ง ตอนนน้ั คดิ เรอื่ งการวางระบบโดยตอ้ งตรวจสอบใหม่
ทง้ั หมด ท�ำฐานขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ชดุ เดยี วกนั และตอ้ งสบื คน้ ไดง้ า่ ย รกั ษาหลกั ฐานความรไู้ วไ้ ดด้ ว้ ย
แต่ยังไม่มีโอกาสลงมือท�ำ ก็มีค�ำส่ังให้ย้ายไปเป็นหัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์ท่ีพนมรุ้ง
เหน็ วา่ หนา้ แลง้ บนเขาพนมรงุ้ แลง้ นกั จงึ คดิ ระบบสปรงิ เกอร์ เพอ่ื น�ำนำ้� มาใชใ้ หพ้ น้ื ทชี่ มุ่ ชนื้ ได้
ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นบ์ า้ ง ดแู ลอะไรตอ่ มอิ ะไร งานวชิ าการท�ำไดไ้ มม่ าก ตอนนน้ั มเี รอื่ งวาทกรรม
โต้แย้งท่ีต้องพิสูจน์ให้สาธารณชนประจักษ์ในค�ำกล่าวว่าทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์
ทส่ี ง่ คนื มาจากอเมรกิ า แลว้ มาตดิ ตง้ั ไวท้ เี่ ดมิ ทปี่ ราสาทพนมรงุ้ เปน็ ของจรงิ หรอื ของปลอม
อยู่ท่ีนี่ไม่นานนัก อธิบดีอาวุธ เงินชูกล่ิน แต่งต้ังให้ไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนัก
ศลิ ปากรที่ ๑๐ สงขลา ท�ำงานสานตอ่ จากงานทผี่ อู้ �ำนวยการคนกอ่ นคอื พธ่ี ราพงศ์ ศรสี ชุ าติ
และพี่อัศวี ศรจิตติได้วางงานไว้แล้ว คือ โครงการขดุ คน้ - ขุดแต่งและบรู ณะเมอื งโบราณ
ยะรงั ปตั ตานี แตส่ งิ่ ทท่ี �ำเพมิ่ เตมิ และท�ำไดส้ �ำเรจ็ คอื การถา่ ยโอนภารกจิ การดแู ลศนู ยข์ อ้ มลู
เมืองโบราณยะรัง ซง่ึ กรมฯ ใหง้ บประมาณปรับปรงุ อาคารท่วี ่าการอ�ำเภอหลงั เก่า และน�ำ
โบราณวัตถุที่ขุดค้นได้จากโบราณสถานเมืองยะรังมาจัดแสดง เพิ่มเติมให้มีห้องสมุด
ในศูนย์ฯ แห่งน้ีด้วย นับว่าเป็นแห่งแรกที่ด�ำเนินการถ่ายโอนภารกิจของกรมศิลปากร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามนโยบายการกระจายอ�ำนาจของรัฐบาล สิ่งส�ำคัญ
ท่ีเกย่ี วเนอ่ื งกับเรือ่ งน้ีคอื การเตรยี มความพรอ้ มใหบ้ ุคลากรท้องถนิ่ มกี ารจดั อบรมเพอ่ื ให้
บคุ ลากรทอ้ งถน่ิ สามารถสานงานตอ่ ไดใ้ นทกุ ดา้ น กรณนี จี้ งึ เปน็ ตวั อยา่ งแรกทท่ี �ำใหเ้ กดิ การ
ถ่ายโอนภารกิจฯ เช่นน้ีในอีกหลายแห่งในเวลาต่อมา รวมทั้งท่ีสุพรรณบุรีเมื่อไปเป็น
ผอู้ �ำนวยการส�ำนักฯ ที่นัน่ ตามทีเ่ ลา่ มาแล้วดว้ ย

239

๒๕ มนี าคม ๒๕๔๓
รับเสดจ็ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณวิ ฒั นา
กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ ณ ปราสาทเมอื งตำ�่ จังหวดั บุรรี มั ย์
ครัง้ ด�ำรงตำ� แหน่งหวั หนา้ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

240

พระมหากรณุ าธิคณุ

และพระจริยาวัตรตอ่ งานมรดกวัฒนธรรมทีต่ ราตรงึ ใจ

เม่ือครั้งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร เสด็จฯ มายังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้มีโอกาส
รับเสด็จ แต่มิได้มีโอกาสปฏิบัติงานสนองพระมหากรุณาธิคุณโดยตรงแต่อย่างใด
จนกระทั่งเม่ือท�ำงานโบราณคดีท่ีวัดไชยวัฒนาราม จึงมีโอกาสปฏิบัติงานสนองพระ
มหากรณุ าธคิ ุณกราบบงั คมทลู ถวายค�ำบรรยายทีว่ ัดแหง่ น้ี เม่ือพระองค์พร้อมดว้ ยสมเด็จ
พระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง และพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๑๐ เมอื่ ครงั้ ยงั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ
สยามมกฎุ ราชกุมารโดยเสดจ็ ฯ มาวดั ไชยวัฒนาราม

241

๑๘ พฤษภาคม ๒๕๓๔
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จพระราชด�ำเนนิ พร้อมดว้ ย สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง
และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทอดพระเนตรโบราณสถานวัดไชยวัฒนาราม
โดยมนี ายปฏพิ ฒั น์ พมุ่ พงษแ์ พทย์ นกั โบราณคดี นายประทปี เพง็ ตะโก นกั โบราณคดี นายณรงค์ โคกสนั เทยี ะ
นักวชิ าการชา่ งศิลป์ และนายพิชัย บุญแจ้ง นายชา่ งโยธา ถวายรายงานการบูรณะโบราณสถาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ทรงสนพระราชหฤทัยมาก ทรงถือ
กล้องถ่ายรูปโบราณสถานมุมต่าง ๆ แต่จะทรงหยุดนิ่งรับฟังเม่ือถวายค�ำบรรยายเรื่อง
ข้อสันนิษฐานเจดียท์ ี่วา่ นา่ จะเป็นทีบ่ รรจุพระอัฐิเจ้าฟ้ากุง้ หรอื ข้อสันนิษฐานการสรา้ งวัด
ในสมัยพระเจ้าปราสาททองฯ การเสด็จฯ วัดไชยวัฒนารามของพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ทงั้ ๒ พระองค์ และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ ครงั้ นนั้ ทรงประทบั ทอดพระเนตร
เปน็ เวลานานดว้ ยความสนพระราชหฤทยั จนตะวนั พลบและมดื คำ่� ลง พระจรยิ าวตั รงดงาม
และความใส่พระราชหฤทัยในโบราณสถานและประวัติศาสตร์ของโบราณสถานท�ำให้
ทุกคนที่เฝ้าฯ รับเสด็จ ปลาบปล้ืมใจนัก ข้าราชการกรมศิลปากรที่ได้เข้าเฝ้าฯ ใกล้ชิด
โดยเฉพาะผู้ได้ปฏิบตั งิ านถวายค�ำบรรยาย ไม่อาจกล่าวได้ถงึ ความประทบั ตราตรึงใจและ
ขวัญก�ำลงั ใจในการท�ำงานตราบจนทกุ วันน้ี

242

๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๔๓
รบั เสดจ็ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ณ อุทยานประวตั ศิ าสตรพ์ นมรงุ้ จังหวดั บรุ ีรัมย์
เมื่อครั้งด�ำรงตำ� แหนง่ หัวหนา้ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

243

244

๒๓ เมษายน ๒๕๔๓
รับเสดจ็ พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสทุ ธนารนี าถ
ณ อุทยานประวตั ศิ าสตรพ์ นมรงุ้ จงั หวัดบรุ ีรมั ย์

หลังจากนั้นได้มีโอกาสถวายค�ำอธิบายน�ำชมโบราณสถานแด่สมเด็จพระกนิษฐา
ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะพระอาจารย์
เมื่อคร้ังทรงน�ำนักเรียนนายร้อยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ามาทัศนศึกษา
โบราณสถานพระนครศรอี ยธุ ยา นบั เปน็ ภาพในความทรงจ�ำงดงาม อกี ทง้ั ยงั มคี วามภมู ใิ จ
ที่ได้สนองพระราชด�ำริที่จะสานต่องานวิทยานิพนธ์เร่ืองจารึกที่ปราสาทพนมรุ้งของ
พระองค์ เมอ่ื ครัง้ เปน็ หัวหน้าอทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ นมรุ้ง โดยขอให้พี่บรรจบ ไมตรีจติ ต์
ถา่ ยภาพปราสาทมมุ ตา่ งๆ แลว้ จดั ท�ำสมดุ ภาพพรอ้ มค�ำอธบิ ายภาพวา่ ภาพสลกั อยสู่ ว่ นไหน
ของปราสาท แล้วน�ำเสนอให้ทา่ นอาวธุ เงินชกู ลน่ิ อธิบดีฯ สมัยน้ัน น�ำขึ้นทลู เกล้าฯ ถวาย

นอกจากน้ี ยงั มพี ระบรมวงศช์ นั้ สงู อกี ๒ พระองคท์ เี่ สดจ็ ฯ ทอดพระเนตรปราสาท
พนมรุ้ง และปราสาทเมืองต่�ำ จังหวัดบรุ ีรมั ย์ และได้มีโอกาสน�ำทอดพระเนตรและถวาย
ค�ำอธบิ ายคอื สมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์
และพระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมนื่ สุทธนารีนาถ ทรงสนพระทยั และ
มพี ระเมตตาตอ่ เจา้ หนา้ ทก่ี รมศลิ ปากรทกุ คนทเ่ี ฝา้ รบั เสดจ็ ถวายงานฯ ณ ปราสาทพนมรงุ้
ในคร้งั นน้ั

245

ภารกิจสำ�คญั

ในฐานะผ้อู ำ�นวยการสำ�นักศิลปากร
ก่อนเป็นรองอธิบดแี ละผตู้ รวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม

เมอื่ ไดร้ บั ค�ำสงั่ ใหม้ าเปน็ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั ศลิ ปากรท่ี ๓ พระนครศรอี ยธุ ยาพบวา่
จังหวัดอยุธยาเปลี่ยนแปลงไปมาก บุคคลในท้องถิ่นก็เปล่ียน การประสานงานขาดช่วง
ไม่ว่าจะคิดแผนอะไร เมื่อท้องถิ่นไม่เอาด้วย ย่อมท�ำอะไรไม่ได้ คนเข้ามาอยู่เพ่ิมมากข้ึน
พื้นที่แออัดหนาแน่น แผนแม่บทท่ีเคยท�ำไว้ต้องร้ือฟื้นกันใหม่ การบริหารจัดการพื้นที่
ของที่นี่ต้องเดินด้วยแผนแม่บทอันเป็นที่รับรองให้ทุกภาคส่วนด�ำเนินการตาม...มาอยู่
อยุธยาเข้ามาแก้ปัญหาเรื่องการใช้พื้นที่วัดมงคลบพิตร มีการบุกรุก เข้ามาจัดระเบียบ
เพ่ือรักษาคุณค่าตามความเป็นมรดกโลก และพัฒนาศักยภาพแหล่งวัดวาอารามที่เป็น
โบราณสถาน มีสิง่ อ�ำนวยความสะดวก เป็นแหล่งทอ่ งเท่ียวท่ีเหมาะสม วางแนวคิดไว้ให้
ในเรื่องการสร้างความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละพิพิธภัณฑ์ฯ เช่น
พิพธิ ภัณฑ์ฯ เจา้ สามพระยาเน้นศิลปะเครอ่ื งทองทีเ่ ลอค่าและประวัติศาสตร์ศิลปะ

ส่วนพิพิธภัณฑ์ฯ จันทรเกษมเน้นสถาปัตยกรรมและความเป็นวังหน้า อธิบดี
อนนั ต์ ชโู ชติ ผลกั ดนั การพฒั นาพพิ ธิ ภณั ฑฯ์ ทงั้ สองแหง่ เปน็ รปู ธรรม เมอื่ มาเปน็ รองอธบิ ดฯี
ไดช้ ว่ ยสานงานตอ่ เนอื่ ง ครนั้ ไปเปน็ ผตู้ รวจราชการฯ อยทู่ กี่ ระทรวงวฒั นธรรม ภารกจิ งาน
กวา้ งมาก เปน็ งานมอบหมายตดิ ตามงานจากเจา้ กระทรวงและปลดั กระทรวงเปน็ สว่ นใหญ่
ถึงกระน้ันได้มองเห็นว่า การท�ำงานราชการต้องมีเครือข่าย ต้องสร้างเครือข่ายให้มาก
จึงจะน�ำพางานไปสู่ความส�ำเร็จ กระทรวงวัฒนธรรมมีวัฒนธรรมจังหวัดทุกจังหวัด
มีสภาวัฒนธรรมทกุ จังหวดั กรมศลิ ปากรก็มเี ขตรบั ผดิ ชอบครอบคลมุ ทกุ จงั หวัด เพียงแต่
ต้องเกอื้ หนนุ การท�ำงานซึง่ กนั และกนั ใหม้ ากยงิ่ ข้ึน

246

งานก่อสร้างอาคารและจัดแสดงนทิ รรศการเครื่องทองอยธุ ยา
พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เจ้าสามพระยา จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

247

งานปรบั ปรงุ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ บา้ นเก่า
จงั หวดั กาญจนบุรี

248


Click to View FlipBook Version