The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 04:06:50

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนการเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี

แบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562
รายวชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
รหัส 20102-2001

จัดทาโดย
นายเจษฎา คาภาพันธ์
ตาแหน่ง พนกั งานราชการ

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
วทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ อาชวี ศึกษาจงั หวัดสกลนคร
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
แบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

และคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
ตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2562

รายวิชา เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
รหัส 20102-2001

จัดทาโดย
นายเจษฎา คาภาพนั ธ์
ตาแหนง่ พนกั งานราชการ

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
วิทยาลยั เทคนิคสวา่ งแดนดิน อาชีวศกึ ษาจงั หวัดสกลนคร
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้

เห็นควรอนุญาตให้ใชแ้ ผนการเรยี นรู้
ควรปรบั ปรุงเก่ียวกับ

ลงช่ือ
(นายสรุ ัตน์ โคตรปญั ญา)

หวั หนา้ แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน

………………/.................../………………

เห็นควรอนญุ าตให้ใช้ทาการสอนได้
ควรปรบั ปรุงดงั เสนอ
อนื่ ๆ

ลงชือ่
(นายทินกร พรหมอินทร์)
รองผูอ้ านวยการฝ่ายวชิ าการ

………………/.................../………………

อนญุ าตให้ใช้ทาการสอนได้
อ่นื ๆ

ลงช่ือ
(นางวรรณภา พว่ งกลุ )

ผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

………………/.................../………………

คำนำ

วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1 รหัส 20102-2101 จานวน 2 หนว่ ยกิต ศกึ ษาและปฏิบัติ
เก่ียวกับหลักการอ่านและเขียนแบบภาพสองมิติ สามมิติ ภาพประกอบ ภาพฉาย ภาพตัดเต็ม ภาพตัด
ครงึ่ ภาพย่อส่วน ภาพขยายเฉพาะส่วน ภาพชว่ ย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบลิก การกาหนดขนาด พิกัด
ความเผอ่ื พิกัดงานสวม ภาพชนิ้ สว่ นมาตรฐาน สญั ลักษณค์ ณุ ภาพผวิ งาน

แผนการสอนเล่มนี้ มีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ เพราะจะช่วยทาให้ผู้เรยี นสามารถนาเอกสารเล่มนไ้ี ปศึกษาและเรียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ช่วยให้ผู้ฝึก
สามารถทาตามคาแนะนา คาปรกึ ษาที่ถูกต้อง ตรงตามคาถามข้อสงสัยของผู้เรียน อีกทั้งยังทาให้ผู้สอน
สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเนื้อหาวิชา ตรงตาม
จุดม่งุ หมาย ของหลกั สูตร ตรงกบั สภาพของผูเ้ รียน ช่วยทาใหเ้ กิดการเรยี นรูแ้ ละมผี ลสาเร็จทีด่ ียิ่งข้นึ

ผู้เรียบเรยี งขอขอบพระคณุ ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งกับการจดั ทาหนังสือเล่มน้ีทุกท่านได้แก่ ผู้แนะ
นาการเขียน ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีตรวจสอบความถูกต้อง เจ้าของตาราที่ผู้เรียบเรียงใช้อ้างอิง ตลอดจนบิดา
มารดา ผูใ้ หก้ าเนดิ และ สนับสนุนการศึกษา ให้กาลังใจลูกมาโดยตลอด และครูอาจารย์ผู้อบรมส่ังสอน
ทกุ ๆ ทา่ น ความดีทง้ั หลายขออทุ ิศใหแ้ กท่ ุก ๆ ทา่ น

บรรณำนุกรม

จารญู ตนั ตพิ ศิ าล. (2552). เขยี นแบบวิศวกรรม (เขยี นแบบเคร่อื งกล). พิมพค์ ร้งั ท่ี 11. กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ .ี

รกั ชาติ วจิ ัทมขุ . เขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น. กรงุ เทพ ฯ: สานกั พิมพ์เอมพนั ธ์, 2545
สมหมาย นรนิติไธสง (2557). เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1 พิมพ์คร้ังที่ 2 นนทบรุ ี : บริษัท ศนู ยเ์ มอื งไทย

จากัด
อวยชยั จันทรเ์ พ็ญ และคณะ (2559). เขียนแบบเครอ่ื งกล ขอนแก่น : ขอนแกน่ การพิมพ์

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า
ลักษณะรายวชิ า ...................................................................................................................... 1
วิเคราะห์หวั ข้อเรอื่ ง ..............……………………………………………………………………..................... 3
รายละเอียดหัวขอ้ เร่อื ง ............................................................................................................ 6
รายการวิเคราะห์ เนอ้ื หาวิชา จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า ................................ 8
ตารางวเิ คราะหร์ ะดับ พุทธพิ ิสัย ทักษะพิสยั จิตพสิ ัย.............................................................. 11
กาหนดการเรยี นรู้ .................................................................................................................. 15
แผนการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 1 ....................................................................................................... 16
ใบความรหู้ นว่ ยท่ี 1 ............................................................................................................... 20
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 .......................................................................................................... 29
เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 1 .................................................................................................. 30
ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 1 .................................................................................................. 31
ใบงานหน่วยที่ 1 ................................................................................................................... 32
แผนการเรียนรหู้ น่วยท่ี 2 ....................................................................................................... 33
ใบความรหู้ น่วยท่ี 2 ............................................................................................................... 37
แบบแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2 ...................................................................................................... 49
เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 2 .................................................................................................. 52
ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 2 .................................................................................................. 55
ใบงานหน่วยท่ี 2 ................................................................................................................... 56
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 3 ....................................................................................................... 57
ใบความรหู้ น่วยท่ี 3 ............................................................................................................... 60
แบบแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 3 ...................................................................................................... 72
เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 3 .................................................................................................. 77
ใบมอบหมายงานหน่วยที่ 3 .................................................................................................. 82
ใบงานหน่วยที่ 3 ................................................................................................................... 83
แผนการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 4 ....................................................................................................... 84
ใบความรหู้ นว่ ยที่ 4 ............................................................................................................... 87
แบบแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 4 ...................................................................................................... 95
เฉลยแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 4 .................................................................................................. 99
ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 4 .................................................................................................. 103

สารบญั (ตอ่ )

เรื่อง หนา้
ใบงานหน่วยท่ี 4 ................................................................................................................... 104
แผนการเรยี นรหู้ น่วยที่ 5 ....................................................................................................... 105
ใบความรูห้ นว่ ยที่ 5 ............................................................................................................... 109
แบบแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5 ...................................................................................................... 115
เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 5 .................................................................................................. 121
ใบมอบหมายงานหน่วยที่ 5 .................................................................................................. 127
ใบงานหน่วยท่ี 5 ................................................................................................................... 128
แผนการเรยี นรู้หน่วยท่ี 6 ....................................................................................................... 129
ใบความรู้หน่วยท่ี 6 ............................................................................................................... 132
แบบแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 6 ...................................................................................................... 140
เฉลยแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 6 .................................................................................................. 165
ใบมอบหมายงานหน่วยที่ 6 .................................................................................................. 150
ใบงานหนว่ ยที่ 6 ................................................................................................................... 151
แผนการเรยี นรู้หน่วยที่ 7 ....................................................................................................... 152
ใบความรู้หน่วยที่ 7 ............................................................................................................... 155
แบบแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7 ...................................................................................................... 163
เฉลยแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 7 .................................................................................................. 168
ใบมอบหมายงานหน่วยท่ี 7 .................................................................................................. 173
ใบงานหนว่ ยท่ี 7 ................................................................................................................... 174
แผนการเรียนรู้หนว่ ยที่ 8 ....................................................................................................... 175
ใบความร้หู นว่ ยท่ี 8 ............................................................................................................... 179
แบบแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8 ...................................................................................................... 199
เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 8 .................................................................................................. 206
ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 8 .................................................................................................. 213
ใบงานหน่วยท่ี 8 ................................................................................................................... 214
แผนการเรียนร้หู นว่ ยที่ 9 ....................................................................................................... 215
ใบความรู้หนว่ ยท่ี 9 ............................................................................................................... 219
แบบแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 9 ...................................................................................................... 227
เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 9 .................................................................................................. 229

สารบญั (ตอ่ )

เร่ือง หนา้
ใบมอบหมายงานหน่วยที่ 9 .................................................................................................. 231
ใบงานหนว่ ยท่ี 9 ................................................................................................................... 232
บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 233

1

ลักษณะรายวชิ า
รหสั วิชา 20102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเครือ่ งมือกล 1
ท-ป-น (1-3-2)
หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม
สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครอ่ื งมือกล

จดุ ประสงค์รายวิชาเพ่อื ให้
1. เขา้ ใจหลกั การเขยี นแบบ การใช้เครือ่ งมือ และอปุ กรณ์ต่าง ๆ ในงานเขียนแบบเครือ่ งมอื กล
2. ความสามารถในการอา่ นแบบและเขยี นแบบเบื้องตน้ เก่ยี วกบั ภาพภาพฉาย ภาพตัด และภาพ

สามมติ ติ ามมาตรฐานการเขียนแบบ
3. มกี ิจนิสัยในการทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบเป็นระเบยี บ สะอาด ตรงตอ่ เวลาและรบั ผดิ

ชอบ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลกั การอ่านแบบและเขียนแบบ
2. อ่านแบบ เขยี นแบบภาพประกอบและแบบส่ังงานช้นิ ส่วนเครื่องมอื กลได้

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั หลักการอา่ นและเขียนแบบภาพสองมิติ สามมิติ ภาพประกอบ ภาพฉาย

ภาพตดั เตม็ ภาพตัดครึ่ง ภาพย่อสว่ น ภาพขยายเฉพาะสว่ น ภาพช่วย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบริก การ
กาหนดขนาด พิกดั ความเผ่ือ พกิ ัดงานสวม ภาพชิ้นสว่ นมาตรฐาน สัญลกั ษณ์คณุ ภาพผวิ งาน

2

ลกั ษณะรายวิชา
รหสั วิชา 20102-2001 ชือ่ วิชา เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ท-ป-น (1-3-2)
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชพี ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม
สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมอื กล

คาอธิบายรายวชิ า (ปรับปรุง)

ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั หลกั การอ่านแบบ มาตราส่วนในงานเขียนแบบและเขียนแบบภาพสอง
มิติ สามมิติ ภาพประกอบ ภาพฉาย ภาพตัดเต็ม ภาพตัดครึ่ง ภาพย่อส่วน ภาพขยายเฉพาะส่วน ภาพ
ช่วย ภาพไอโซเมตรกิ ภาพออบรกิ การกาหนดขนาด พกิ ดั ความเผอ่ื พิกัดงานสวม ภาพช้นิ สว่ นมาตรฐาน
สญั ลักษณ์คณุ ภาพผวิ งาน

3

วิเคราะหห์ ัวข้อเร่อื ง

รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สตู ร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมือกล

หวั ขอ้ หลกั (Main Element)/ แหลง่ ข้อมูล

หน่วยการเรยี นรู้ (Learning Unit) ABCD E

1. เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ในการเขียนแบบ √

2. มาตรฐานในการเขยี นแบบ √

3. การสร้างรปู ทรงเรขาคณิต √

4. การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น √

5. การเขียนฉายภาพ √

6. การเขียนภาพ 3 มิติ √

7. ภาพสเกตซ์ √

8. ภาพตัด √

9. สัญลกั ษณ์เบอ้ื งตน้ ในงานเขยี นแบบ √

หมายเหตุ A: คาอธบิ ายรายวิชา
B: ผเู้ ช่ียวชาญ
C: ผชู้ านาญงาน
D: ประสบการณข์ องครผู ู้สอน
E: เอกสาร/ตารา/คมู่ ือ

4

วิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอื่ วิชา เขียนแบบเครอื่ งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมอื กล

หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะ
1
เครื่องมือและอปุ กรณ์ในการเขียน 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั เครอ่ื งมือและอุปกรณใ์ น
2
แบบ การเขยี นแบบ
3
4 2. ใชเ้ ครื่องมือและอปุ กรณใ์ นการเขยี นแบบได้

3. มกี จิ นิสยั ในการทางาน ดว้ ยความรอบคอบ

และเป็นระเบียบ สะอาด ตรงตอ่ เวลา และมี

ความรบั ผดิ ชอบ

มาตรฐานในการเขยี นแบบ 1. บอกมาตรฐานกระดาษเขยี นแบบได้

2. บอกชนดิ เส้นท่ีใชใ้ นการเขียนแบบได้

3. เขยี นตวั เลข, ตวั อกั ษรตามมาตรฐานเขียน

แบบไดถ้ ูกต้อง

4. ใช้เส้นในการเขียนแบบตามมาตรฐานเขยี น

แบบได้ถกู ตอ้ ง

5. มีกิจนสิ ยั ในการทางานเขยี นแบบได้

การสรา้ งรูปทรงเรขาคณิต 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั เสน้ ในรูปแบบต่าง ๆ

2. สร้างสามเหลีย่ มดา้ นเทา่ ไดถ้ กู ต้อง

3. สรา้ งรูปสามเหลี่ยมจัตรุ ัสไดถ้ กู ตอ้ ง

4. สร้างรูปหกเหลี่ยมด้านเท่าไดถ้ กู ตอ้ ง

5. สรา้ งรูปวงรไี ด้ถูกตอ้ ง

การกาหนดขนาดและมาตราสว่ น 1. อธบิ ายและเขียนส่วนประกอบของการกาหนด

ขนาดได้

2. อธบิ ายและกาหนดขนาดในงานเขยี นแบบได้

ถกู ตอ้ ง

3. อธิบายและเขยี นมาตราส่วนทใี่ ช้ในงานเขยี น

แบบไดถ้ กู ตอ้ ง

5 การเขยี นภาพฉาย 5

1. แสดงความร้เู ก่ยี วกบั การอา่ นและการฉายภาพ
ได้ถกู ตอ้ ง
2. เขียนภาพฉายมุมมองตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
3. อธิบายและเขียนภาพช่วยบนระนาบตา่ ง ๆ ได้
ถูกตอ้ ง

6

วิเคราะหห์ วั ขอ้ เรอ่ื ง

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรมกรรม

สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมือกล

หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ สมรรถนะ
6
7 การเขยี นภาพ 3 มติ ิ 1. อธบิ ายความหมายและจาแนกของภาพ 3 มติ ิ
8
ได้
9
2. อธบิ ายลักษณะของภาพออพลกิ ได้

3. เขียนภาพออพลกิ ตามมาตรฐานไดถ้ ูกตอ้ ง

4. อธิบายภาพไอโซเมตรกิ ได้

5. เขียนภาพไอโซเมตริกตามมาตรฐานได้

ภาพสเกตซ์ 1. แสดงความรูเ้ ก่ียวกับภาพสเกตซ์

2. สเกตซ์ภาพฉายไดถ้ กู ต้อง

3. การสเกตซภ์ าพ 3 มิติได้

4. สเกตซภ์ าพออพลกิ ได้

5. สเกตซภ์ าพไอโซเมตรกิ ได้

ภาพตัด 1. แสดงความรู้เก่ียวกับชนิดของภาพตัด

2. อธิบายชนดิ ของภาพตัดได้

3. บอกสญั ลกั ษณ์เสน้ ในการเขียนภาพตัดได้

4. อธิบายเส้นทใ่ี ชใ้ นภาพตัดได้

5. เลือกใช้สญั ลักษณเ์ สน้ ลายตดั ของวสั ดใุ นการ

เขียนภาพตดั ได้ถูกตอ้ ง

6. บอกหลกั เกณฑใ์ นการเขยี นภาพตัด

7. เขยี นภาพตดั เตม็ ไดถ้ ูกต้อง

8. เขยี นภาพตดั คร่งึ ได้ถูกต้อง

9. เขยี นภาพตดั ออฟเซตได้ถกู ตอ้ ง

สัญลกั ษณเ์ บอ้ื งต้นในงานเขียนแบบ 1. แสดงความร้เู ก่ียวกับสญั ลกั ษณ์เบ้ืองต้นในงาน

เคร่อื งมือกล เขยี นแบบเครอื่ งมือกล

2. เขยี นสญั ลกั ษณท์ ใี่ ช้แทนเกลยี วไดถ้ ูกตอ้ ง

3. อธิบายความหมายของสัญลักษณ์ความหยาบ

ของผิวงานได้

7

4. บอกสัญลักษณ์ค่าความหยาบผิวตามมาตร
ฐาน DIN และ ISO ได้
5. บอกและเขียนค่าพิกัดความเผื่อสูงสุดและค่า
พกิ ัดความเผอ่ื ต่าสุดสาหรับขนาดได้

8

รายละเอียดหัวข้อเรื่อง

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรมกรรม

สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมอื กล

หัวข้อหลัก (Main Element) / หัวข้อย่อย (Element)
หน่วยการเรียนรู้ (Learning Unit)

1. เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นการเขียนแบบ 1.1 โต๊ะเขยี นแบบ กระดาษเขยี นแบบ

1.2 ไมท้ ี

1.3 บรรทัดสามเหลย่ี ม บรรทดั มาตราสว่ น บรรทัด

เขียนส่วนโค้ง

1.4 วงเวียน วงเวยี นวัดระยะ

1.5 ดินสอเขียนแบบ ยางลบ

1.6 แผ่นแบบ

2. มาตรฐานในงานเขยี นแบบ 2.1 กระดาษเขียนแบบ

2.2 เส้นตา่ ง ๆ ที่ใช้ในงานเขยี นแบบ

2.3 การเขยี นตวั อักษร

3. การสร้างรปู ทรงเรขาคณิต 3.1 การสรา้ งเส้นในรูปตา่ ง ๆ

3.2 การสร้างรูปสามเหลีย่ มด้านเท่า

3.3 การสรา้ งรปู สี่เหลย่ี มจตั ุรัส

3.4 การสรา้ งรปู หา้ เหลย่ี มดา้ นเท่า

3.5 การสร้างรปู หกเหล่ยี มด้านเท่า

3.6 การสร้างรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า

3.7 การสร้างรปู วงรี

4. การกาหนดขนาดและมาตราส่าน 4.1 ส่วนประกอบของการกาหนดขนาด

4.2 วิธีการในการกาหนดขนาด

4.3 ลกั ษณะของมาตราส่วน

5. การเขียนฉายภาพ 5.1 หลักการอา่ นและฉายภาพ

5.2 การเขียนภาพฉายมมุ มองที่ 1

5.3 การเขยี นภาพฉายมุมมองท่ี 3

5.4 ภาพชว่ ย

6. การเขียนภาพ 3 มติ ิ 6.1 ประเภทของภาพ 3 มิติ

9

7. ภาพสเกตซ์ 6.2 การเขียนภาพไอโซเมตรกิ (Isometric)
6.3 การเขียนลายออพลิก (oblique)
7.1 การสเกตซ์ภาพ
7.2 การสเกตซ์ภาพฉาย
7.3 การสเกตซ์ภาพ 3 มิติ

10

รายละเอยี ดหัวขอ้ เร่อื ง

รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวิชา อุตสาหกรรมกรรม

สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เคร่อื งมือกล

หัวขอ้ หลัก (Main Element) / หัวขอ้ ย่อย (Element)
หน่วยการเรยี นรู้ ( Learning Unit)

8. ภาพตดั 8.1 ชนดิ ของภาพตดั

8.2 สญั ลักษณ์ของเส้นในการเขยี นภาพตัด

8.3 หลักเกณฑ์ในการเขยี นภาพตัด

8.4 การเขยี นภาพตัด

9. สัญลกั ษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบ 9.1 สัญลักษณ์เกลียว
9.2 สัญลักษณ์ผวิ งาน
9.3 สัญลกั ษณ์แนวเชื่อม
9.4 ค่าพิกัดความเผ่อื

11

รายการวิเคราะห์ เนอื้ หาวิชา จดุ ประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวชิ า

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครอื่ งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครื่องมอื กล

หวั ข้อ

หลัก/ จดุ ประสงค์ มาตรฐานรายวิชา/

หน่วย เน้อื หาวิชา รายวิชา สมรรถนะรายวิชา

การ

เรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

1 1.1 โต๊ะเขยี นแบบ กระดาษ √ √

เขียนแบบ

1.2 ไม้ที √ √

1.3 บรรทดั สามเหลยี่ ม

บรรทดั มาตราสว่ น บรรทัด √ √

เขยี นสว่ นโค้ง

1.4 วงเวยี น วงเวียนวดั ระยะ √ √

1.5 ดนิ สอเขียนแบบ ยางลบ √ √

1.6 แผ่นแบบ √ √

2 2.1 กระดาษเขยี นแบบ √ √

2.2 เสน้ ต่าง ๆ ทใี่ ช้ในงาน √ √

เขยี นแบบ

2.3 การเขียนตวั อกั ษร √ √

3 3.1 การสร้างเส้นในรูปตา่ ง ๆ √ √

3.2 การสร้างรปู สามเหลย่ี ม √ √

ดา้ นเท่า

3.3 การสรา้ งรูปสเี่ หลย่ี ม √ √

จตั รุ สั

3.4 การสรา้ งรปู ห้าเหลี่ยม √ √

ด้านเท่า

3.5 การสร้างรปู หกเหลย่ี ม √ √

ดา้ นเทา่

3.6 การสรา้ งรูปแปดเหลีย่ ม √ 12

ด้านเท่า √

3.7 การสร้างรูปวงรี √

13

รายการวิเคราะห์ เนอื้ หาวิชา จดุ ประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวิชา

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครอ่ื งมอื กล

หวั ขอ้

หลัก/ จดุ ประสงค์ มาตรฐานรายวชิ า/

หน่วย เนื้อหาวิชา รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา

การ

เรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

4 4.1 สว่ นประกอบของการ √ √

กาหนดขนาด

4.2 วธิ ีการในการกาหนด √ √

ขนาด

4.3 ลกั ษณะของมาตราสว่ น √ √

5 5.1 หลักการอ่านและฉาย √ √

ภาพ

5.2 การเขียนภาพฉาย √ √

มมุ มองท่ี 1

5.3 การเขียนภาพฉาย √ √

มุมมองที่ 3

5.4 ภาพชว่ ย √ √

6 6.1 ประเภทของภาพ 3 มติ ิ √ √

6.2 การเขียนภาพไอโซ √ √

เมตรกิ (Isometric)

6.3 การเขยี นลายออพลิก √ √

(oblique)

7 7.1 การสเกตซ์ภาพ √ √

7.2 การสเกตซ์ภาพฉาย √ √

7.3 การสเกตซ์ภาพ 3 มิติ √ √

8 8.1 ชนิดของภาพตัด √ √

8.2 สญั ลักษณ์ของเส้นในการ √ √

เขียนภาพตดั √ 14
8.3 หลักเกณฑใ์ นการเขยี น √
ภาพตัด √
8.4 การเขียนภาพตัด √

15

รายการวิเคราะห์ เนือ้ หาวิชา จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวิชา

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เคร่ืองมอื กล

หัวข้อ

หลัก/ จุดประสงค์ มาตรฐานรายวชิ า/

หนว่ ย เนอ้ื หาวิชา รายวิชา สมรรถนะรายวิชา

การ

เรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

9 9.1 สัญลกั ษณ์เกลียว √ √

9.2 สญั ลกั ษณ์ผวิ งาน √ √

9.3 สญั ลักษณแ์ นวเช่ือม √ √

9.4 คา่ พิกดั ความเผอื่ √ √

16

ตารางวเิ คราะห์ระดบั พุทธิพิสยั ทกั ษะพิสัย จิตพสิ ัย
รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1
ท-ป-น (1-3-2)
หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครื่องมือกล
วเิ คราะหร์ ะดับพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์รายวชิ า
1) พุทธิพิสัย....................4....................ระดับ
2) ทักษะพสิ ัย.................4....................ระดับ
3) จิตพิสัย......................5....................ระดบั
การบรู ณาการ รหสั วชิ า 2102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเครื่องมอื กล1
1. นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบรู ณาการในรายวชิ า
ความรู้
ศึกษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั หลักการอ่านและเขยี นแบบภาพสองมติ ิ สามมติ ิ ภาพประกอบ ภาพฉาย
ภาพตัดเต็ม ภาพตดั ครึง่ ภาพยอ่ สว่ น ภาพขยายเฉพาะสว่ น ภาพชว่ ย ภาพไอโซเมตรกิ ภาพออบริก การ
กาหนดขนาด พิกัดความเผ่ือ พกิ ัดงานสวม ภาพช้ินสว่ นมาตรฐาน สัญลกั ษณ์คุณภาพผวิ งาน
คณุ ธรรม
ผูเ้ รียนมคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ เสยี สละ อดทน กตัญญตู ่อพ่อแม่
ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์ ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี น รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทย มีศลี ธรรม
รกั ษาความสัตย์ เข้าใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย มรี ะเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรจู้ กั การ
เคารพผูใ้ หญ่ มีสติร้ตู ัว รู้คิด รู้ทา รจู้ ักดารงตนอย่โู ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีความเข้มแข็งทง้ั
ร่างกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพต้ อ่ อานาจฝ่ายตา่ คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกวา่ ผลประโยชน์
ของตนเอง
ความพอประมาณ
พอประมาณการในการใช้ทรพั ยากรการใช้ข้อมลู การใช้อุปกรณ์เคร่ืองมอื การใช้วัสดุครุภัณฑ์
การใชเ้ วลาที่เหมาะสม
ความมีเหตผุ ล
ใช้ทรัพยากรตามทจี่ าเป็นเพอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ การขาดแคลนทรพั ยากรในอนาคตเป็นการรักษา
สิ่งแวดล้อมให้คงอยู่และเปน็ มิตรกับส่ิงมชี ีวิต
การมีภมู คิ ุ้มกนั
เปน็ การปอ้ งกบั การใชจ้ า่ ยเงนิ อย่างฟุ่มเฟือย มรี ะบบการวางแผนในการทางานได้อยา่ งรอบคอบ
ยอมรับเพอ่ื นร่วมงานได้ไม่มกี ารกระทบกระทั่งภายในห้องเรียนมคี วามเขม้ แขง็ ตอ่ สภาวะแวดลอ้ ม
สามารถทางานกบั เพ่ือนร่วมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

17

ตารางวิเคราะห์ระดับ พทุ ธิพิสยั ทกั ษะพสิ ยั จติ พิสัย
รหสั วิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ท-ป-น (1-3-2)
หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทวิชา อุตสาหกรรมกรรม
สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครอื่ งมอื กล
วตั ถุ
1. การใชก้ ระดาษเขียนแบบอย่างคุ้มค่า
2. ใชด้ ินสอเขยี นแบบอยา่ งคุ้มค่า
3. ใชย้ างลบอย่างคุ้มค่า
4. ใช้ปร้ินเตอรอ์ ยา่ งคมุ้ คา่
สงิ่ แวดล้อม
1. สภาพแวดลอ้ มมีความปลอดภัย
2. ผเู้ รียนรู้จักช่วยเหลือซึง่ กันและกนั
3. ลดการใช้พลังงาน ปิดไฟฟ้า ปดิ พดั ลม ลดภาวะโลกร้อน และการใช้ทรัพยากรภายในหอ้ งเรียน
สังคม
1. ผู้เรียนอยู่รว่ มกันอยา่ งมคี วามสุข
2. ผู้เรียนร้จู ักเอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3. ใช้ทรพั ยากรรว่ มกันทาให้สงั คมไมเ่ ดอื ดร้อน
วฒั นธรรม
1. ผู้เรียนมวี ฒั นธรรมทีด่ ี
2. ผเู้ รยี นเข้าใจการใชช้ วี ิตในสงั คม
3. ผู้เรยี นเขา้ ใจการอย่รู ว่ มกันในสงั คม
4. ผเู้ รียนเข้าใจการดารงชวี ิต
5. ผู้เรียนมคี วามกตญั ญูต่อผูม้ พี ระคุณ

18

ตารางวิเคราะหร์ ะดับ พทุ ธพิ ิสยั ทักษะพิสยั จติ พิสยั
รหสั วิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ท-ป-น (1-3-2)
หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมกรรม
สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน สาขางาน เคร่อื งมอื กล
2. การบรู ณาการตามค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
2.1 มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
-ผู้เรยี นรู้จักความเสยี สละของบรรพบุรุษไทย ยกยอ่ งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2.2 ซอ่ื สัตย์ เสยี สละ อดทน
-ผู้เรยี นมีความอดทนต่อสภาพแวดลอ้ ม
2.3 กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
-ผเู้ รยี นมีความกตัญญูตอ่ พอ่ แม่ครบู าอาจารย์
2.4 ใฝห่ าความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางออ้ ม
-ผู้เรียนรู้จกั การค้นคว้าหาความรู้เพม่ิ เตมิ เพ่ือสรา้ งประสบการณ์ในการทางาน
2.5 รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทย
-ผเู้ รยี นรจู้ กั การรกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยและ๓มิปญั ญาทอ้ งถ่ิน
2.6 มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย์
-ผู้เรียนมีศีลธรรมมีความซื่อสตั ย์ตอ่ ตนเองและผูอ้ ื่น
2.7 เขา้ ใจเรยี นรู้การเปน็ ประชาธิปไตย
-ผู้เรียนยอมรบั ระบบการปกครองแบบประชาธปิ ไตย
2.8 มรี ะเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรูจ้ กั การเคารพผู้ใหญ่
-ผเู้ รยี นมรี ะเบยี บ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผ้นู ้อยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่
2.9 มีสตริ ูต้ ัว รคู้ ิด รทู้ า
-ผู้เรียนมสี ติรู้ตัว รู้คิด รทู้ า
2.10 รู้จักดารงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-ผู้เรยี นร้จู กั ดารงตนอยู่โดยใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.11 มีความเขม้ แขง็ ทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยตา่
-ผเู้ รยี นมีความเขม้ แข็งทง้ั ร่างกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออานาจฝ่ายตา่
2.12 คานึงถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวมมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
-ผเู้ รยี นคานึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวมมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง

19

ตารางวิเคราะห์ระดบั พุทธิพิสัย ทักษะพสิ ยั จติ พสิ ยั

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1

ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรมกรรม

สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน สาขางาน เครือ่ งมอื กล

ระดับพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์

หน่วย หน่วยการเรยี นรู้ พุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพสิ ัย เวลา

ท่ี 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 (ชม.)

1 1. เครื่องมือและ √ √ √4

อุปกรณใ์ นการ

เขยี นแบบ

2 2. มาตรฐานในการ √ √ √8

เขียนแบบ

3 3. การสร้างรปู ทรง √ √ √8

เรขาคณิต

4 4. การกาหนด √ √ √8

ขนาดและมาตรา

ส่าน

5 5. การเขยี นฉาย √ √ √ 12

ภาพ

6 6. การเขยี นภาพ √ √ √ 12

3 มติ ิ

7 7. ภาพสเกตซ์ √ √ √8

8 8. ภาพตัด √ √ √ 12

9 9. สัญลักษณ์ √ √ √8

เบอ้ื งตน้ ในงาน

เขียนแบบ

พทุ ธพิ ิสัย ทักษะพสิ ัย จิตพสิ ยั

1 = ความรู้ 1 = เลยี นแบบ 1 = รับรู้

2 = ความเข้าใจ 2 = ทาไดต้ ามแบบ 2 = ตอบสนอง

3 = การนาไปใช้ 3 = ทาไดถ้ กู ต้อง 3 = เห็นคุณค่า

4 = การวิเคราะห์ แมน่ ยา 4 = จดั ระบบคุณคา่

5 = การสังเคราะห์ 20
6 = การประเมินค่า
4 = ทาได้ต่อเนอ่ื ง 5 = พัฒนาเปน็ ลักษณะนสิ ยั
ประสานกัน
5 = ทาได้อยา่ งเป็น
ธรรมชาติ

21

กาหนดการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ท-ป-น (1-3-2)

หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน สาขางาน เครอื่ งมือกล

หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สัปดาห์ท่ี ชว่ั โมงท่ี
1 1-4
1 เคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ 2-3 5-8
9-16
2 มาตรฐานในการเขียนแบบ 17-24
25-32
3 การสรา้ งรูปทรงเรขาคณติ 4-5 33-44
45-52
4 การกาหนดขนาดและมาตราส่าน 6-7 53-64
65-72
5 การเขียนฉายภาพ 8-10 72

6 การเขยี นภาพ 3 มติ ิ 11-13
7 ภาพสเกตซ์ 14-15
8 ภาพตดั 16-18

9 สัญลักษณ์เบือ้ งต้นในงานเขยี นแบบ 19-20

รวม

ภาคผนวก ก

ข้อสอบปลายภาค แบบปรนัย

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1

จานวนชั่วโมงสอบ 2 ช่วั โมง นายเจษฎา คาภาพนั ธ์ ผูอ้ อกขอ้ สอบ

จงเลือกคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใดไม่ใช่เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการลากเสน้ ตรงรว่ มกบั โตะ๊ เขยี นแบบ

ก. ไมท้ ี ข. บรรทัดเลอื่ น

ค. ฉากสามเหล่ียม ง. วงเวยี น

2. ข้อใดไม่ใชข่ นาดมุมของฉากสามเหล่ียม

ก. 30 องศา ข. 45 องศา

ค. 60 องศา ง. 75 องศา

3. ถ้านาฉากสามเหลยี่ มทง้ั สองอนั มาประกอบใชง้ านร่วมกนั จะสามารถแบง่ มุมไดค้ รั้งละกีอ่ งศา

ก. 15 องศา ข. 30 องศา

ค. 45 องศา ง. 60 องศา

4. การเขยี นส่วนโค้งดว้ ยบรรทดั สว่ นโคง้ ควรมจี ุดสมั ผัสอย่างน้อยกี่จดุ

ก. 2 จดุ ข. 3 จุด

ค. 4 จดุ ง. 5 จดุ

5. ข้อใดกล่าวถึงการเขยี นวงกลมและการแบ่งระยะ ได้ถกู ต้องมากทีส่ ดุ

ก. Bow Compass เป็นวงเวยี นสาหรับเขียนวงกลมขนาดใหญ่

ข. Large Compass เปน็ วงเวยี นสาหรับเขยี นวงกลมขนาดเล็ก

ค. Divider เหมอื นกบั วงเวยี นทวั่ ไป แตม่ ขี าเป็นเหลก็ ปลายแหลมท้งั 2 ข้าง

ง. ถกู ทุกข้อ

6. ขนาดของไสป้ ากกาเขียนแบบที่เล็กที่สุดตามมาตรฐาน ISO คอื ข้อใด

ก. 0.10 มม. ข. 0.13 มม.

ค. 0.15 มม. ง. 0.18 มม.

7. ขอ้ ใดเป็นกลมุ่ ความแขง็ ของไสด้ นิ สอที่ใช้สาหรับรา่ งแบบ

ก. 9H – 4H ข. 3H - B

ค. 2B – 7B ง. 9H – 7B

8. ขอ้ ใดเปน็ กลุ่มความแขง็ ของไส้ดินสอท่ีใช้สาหรับเขียนแบบทว่ั ไป

ก. 9H – 4H ข. 3H - B

ค. 2B – 7B ง. 9H – 7B

9. ข้อใดเป็นอปุ กรณ์ทาความสะอาดทเ่ี หมาะกับการเขียนแบบทว่ั ไปมากทส่ี ุด

ก. ยางลบ ข. ยางลบไฟฟ้า

ค. แผน่ ก้ันลบ ง. แปรงปัดผง

10. ข้อใดเปน็ เหตผุ ลท่ีไม่ควรใช้ไม้ทแี ละฉากสามเหล่ียมเป็นเครื่องมือทาบตัดกระดาษ

ก. ทาใหค้ รีบทข่ี อบของไมท้ แี ละฉากสามเหลี่ยมหายไป

ข. ทาใหข้ อบของไม้ทีและฉากสามเหล่ียมเรียบและตรง

ค. ทาใหข้ อบของไมท้ ีและฉากสามเหลย่ี มล่นื

ง. ทาให้ขอบของไม้ทแี ละฉากสามเหล่ียมบิน่ และโค้ง

11. ขอ้ ใดเป็นการใช้วงเวยี นที่ไม่ถูกต้อง

ก. ใชเ้ ป็นเหลก็ ขีด ข. ใช้เป็นเหลก็ งัด

ข. ใชเ้ ปน็ เหลก็ เจาะกระดาษ ง. ถกู ทกุ ข้อ

12. กรณที ีไ่ มม่ คี วามรู้ในการบารุงรักษาเครอ่ื งมือเขยี นแบบ ควรทาอย่างไร

ก. ปรึกษาบริษทั ผูผ้ ลิต ข. ปรกึ ษาผเู้ ช่ียวชาญ

ค. ศึกษาจากคมู่ ือการใชง้ าน ง. ทดลองทาดว้ ยตวั เอง

13. ขอ้ ใดเปน็ มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ

ก. มาตรฐาน A ข. มาตรฐาน B

ค. มาตรฐาน C ง. มาตรฐาน D

14. ข้อใดเป็นมาตรฐานของกระดาษเขียนแบบขนาด A4

ก. 420x594 ข. 297x420

ค. 210x297 ง. 148x210

15. กลุ่มเสน้ ขนาด 0.5 มม. เหมาะสาหรับใช้เขยี นแบบงานลักษณะใด

ก. เขยี นแบบไฟฟา้ ข. เขยี นแบบโยธา

ค. เขยี นแบบเคร่อื งกล ง. ถูกทุกขอ้

16. ชนิดเส้นในข้อใดใช้สาหรับเขยี นเส้นขอบรูป

ก. เสน้ เต็มบาง ข. เสน้ เตม็ หนา

ค. เสน้ ประ ง. เส้นศนู ย์กลางใหญ่

17. ชนิดเสน้ ในขอ้ ใดใชส้ าหรบั เขียนเส้นกาหนดขนาด

ก. เส้นเต็มบาง ข. เสน้ เตม็ หนา

ค. เสน้ ประ ง. เสน้ ศูนย์กลางใหญ่

18. ชนดิ เสน้ ในข้อใดใช้สาหรับเขยี นเส้นแสดงแนวตัด

ก. เสน้ เตม็ บาง ข. เส้นเต็มหนา

ค. เสน้ ประ ง. เสน้ ศนู ย์กลางใหญ่

19. ชนิดเสน้ ในข้อใดใช้สาหรับเขียนเสน้ ขอบรปู ท่ีถูกบัง

ก. เสน้ เตม็ บาง ข. เสน้ เตม็ หนา

ค. เสน้ ประ ง. เส้นศูนยก์ ลางใหญ่

20. ชนิดเสน้ ในข้อใดใชส้ าหรับเขียนเส้นผา่ นศนู ย์กลางวง ทรงกลมและทรงกระบอก

ก. เสน้ ศนู ยก์ ลางเลก็ ข. เส้นศนู ยก์ ลางใหญ่

ค. เสน้ มือเปล่า ง. เสน้ ประ

21. ชนิดเสน้ ในข้อใดใชส้ าหรบั เขยี นเสน้ ขอบเขตการตัดเฉพาะส่วน

ก. เสน้ ศนู ยก์ ลางเล็ก ข. เส้นศนู ยก์ ลางใหญ่

ค. เสน้ มือเปล่า ง. เส้นประ

22. ถา้ ใช้กลมุ่ เสน้ 0.5 ในการเขยี นแบบ ตวั อักษรพิมพ์เลก็ ต้องมคี วามสูงเท่าใด

ก. 2.5 มม. ข. 3.5 มม.

ค. 5 มม. ง. 7 มม.

23. ขอ้ ใดคือมุมของตัวอกั ษรเอยี งตามมาตรฐาน ISO

ก. 30 องศา ข. 45 องศา

ค. 60 องศา ง. 75 องศา

24. ขอ้ ใดเปน็ มาตรฐานความสงู ของตัวอักษรไทย

ก. 7/10h ข. 10/10h

ค. 16/10h ง. 18/10h

25. ขอ้ ใดเป็นระยะหา่ งระหวา่ งบรรทัดของตัวอักษรไทย

ก. 7/10h ข. 10/10h

ค. 16/10h ง. 18/10h

26. ขอ้ ใดเปน็ มาตราส่วนจรงิ หรอื มาตราส่วนมาตรฐาน

ก. 1 : 1 ข. 2 : 2

ค. 5 : 5 ง. 10 : 10

27. ถ้าต้องการยอ่ ชนิ้ งานเขยี นแบบลงครงึ่ หนึ่ง ต้องใช้มาตรสว่ นในข้อใด

ก. 1 : 1 ข. 1 : 2

ค. 2 : 1 ง. 2 : 2

28. Bisecting on Object หมายถึง

ก. การสร้างรูปหลายเหลย่ี ม ข. การเขียนวงรี

ค. การแบ่งคร่งึ วตั ถุ ง. การสร้างส่วนโคง้ สัมผัส

29. ขอ้ ใดเป็นการเริ่มตน้ การแบ่งคร่ึงวัตถุ

ก. กาหนดเสน้ ตรงและสว่ นโคง้ ข. ใช้จดุ เป็นจุดศนู ยก์ ลางเขยี นสว่ นโคง้

ค. กาหนดมมุ ABC เพอ่ื แบ่งครึง่ ง. ลากเสน้ ตรง แบง่ คร่งึ เสน้ ตรงและส่วน

โคง้

30. การลากเสน้ ขนานควรสรา้ งรัศมี R หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. ควร เพราะ เส้นรศั มี R ใช้กาหนดจดุ สมั ผสั

ข. ควร เพราะ เสน้ รศั มี R ใช้กาหนดจดุ สมั ผัส

ค. ไม่ควร เพราะ การสรา้ งเสน้ รัศมี R เปน็ การกาหนดสว่ นโค้ง

ง. ไมค่ วร เพราะ การสร้างเส้นรัศมี R ใชใ้ นการแบง่ ครึง่ วงกลม

31. จากภาพขอ้ ใดเป็นการเริ่มตน้ สรา้ งเสน้ ขนาน

ก. ข.

ค. ง.
32.การสรา้ งรูปสเ่ี หลย่ี มควรใชไ้ มบ้ รรทัด ชนดิ ใด
ข. บรรทัดสามเหลย่ี ม มุม 45°
ก. บรรทัดสามเหล่ียม มุม 35° ง. บรรทัดสามเหล่ยี ม มุม 90°
ค. บรรทัดสามเหลีย่ ม มุม 60°

33. การสร้างรปู ห้าเหล่ยี ม ควรใชว้ งเวียนเขียนติดเสน้ รอบวงกี่ส่วน

ก. 4 สว่ น ข. 5 ส่วน

ค. 6 สว่ น ง. 7 สว่ น

34. การสร้างรูปแปดเหลยี่ มด้านเท่าควรทาอยา่ งไร

ก. สรา้ งเสน้ A B ลากเส้นตรงตอ่ จุดไปยงั จุดแบง่ 1, 2, 3, 4 จากนั้นลากเส้นตรงต่อจดุ A1,

B2, C3, D4 จะได้รปู แปดเหลี่ยม

ข. สร้างวงกลมรัศมี OA ลากเส้นสัมผัสรอบวงแนวตั้ง แนวนอนใช้บรรทัดสามเหลี่ยม มุม

45° ลากเสน้ สมั ผัสวงกลมจะไดร้ ูปแปดเหลย่ี ม

ค. สร้างวงกลมรัศมี OA แบ่งวงกลมออกเปน็ 4 สว่ น ลากเส้นตรงตัดจุดศนู ยก์ ลางของ

วงกลมใชบ้ รรทัดสามเหลยี่ มลากเสน้ ตรงตามจุดสมั ผสั

ง. กาหนดมุม A B C แบง่ คร่ึง กางวงเวียนรศั มเี กินคร่ึงเสน้ AC และ AB เขยี นส่วนโคง้ ตดิ

จุดลากเสน้ ตรงตามจดุ ตดั

35. การสรา้ งวงรีโดยใช้สเ่ี หลย่ี มผนื ผ้า ควรแบ่งสเี่ หลย่ี มผืนผ้าเปน็ กีส่ ว่ น

ก. 4 ส่วนเทา่ ๆ กนั ข. 5 สว่ นเท่า ๆ กนั

ค. 6 สว่ นเทา่ ๆ กนั ง. 7 สว่ นเทา่ ๆ กัน

36. ขอ้ ใดไมใ่ ชว่ ธิ ีการเขยี นสว่ นโคง้ สัมผสั สว่ นโค้งสองส่วน

ก. กาหนดวงกลม A1 และ A2 ข. กางวงเวียนรัศมี Ri+ri1

ค. ใช้จดุ A เป็นจดุ ศนู ย์กลาง ง. ใชจ้ ุด B เป็นจุดศนู ยก์ ลาง

37. ข้อใดเปน็ เส้นสาหรบั เขียนเสน้ ชว่ ยกาหนดขนาดและเสน้ กาหนดขนาด

ก. เส้นเต็มหนา ข. เส้นเต็มบาง

ค. เสน้ ศูนย์กลาง ง. เสน้ มือเปลา่

38. เสน้ กาหนดขนาดเสน้ แรกควรห่างจากขอบรูปช้นิ งานเท่าใด

ก. 5 มม. ข. 7 มม.

ค. 8 มม. ง. 10 มม.

39. เส้นกาหนดขนาดเส้นถัดไปควรหา่ งจากเสน้ กาหนดขนาดเส้นแรกเทา่ ใด

ก. 5 มม. ข. 7 มม.

ค. 8 มม. ง. 10 มม.

40. กรณที ไ่ี มส่ ามารถเขยี นเส้นกาหนดขนาดต้งั ฉากกับเส้นขอบรูป ข้อใดถกู ตอ้ ง

ก. กาหนดเอยี งมุม 15 องศา ข. กาหนดเอียงมุม 30 องศา

ค. กาหนดเอยี งมมุ 45 องศา ง. กาหนดเอยี งมมุ 60 องศา

41. เสน้ ช่วยกาหนดขนาดควรเขยี นให้เลยหวั ลกู ศรกาหนดขนาดเท่าใด

ก. 1 มม. ข. 1.5 มม.

ค. 2 มม. ง. 2 มม.

42. ข้อใดเป็นชนดิ ของหัวลูกศรกาหนดขนาดในงานเขียนแบบเครอ่ื งกล

ก. หัวลูกศรปลายเปดิ ระบายดาทบึ ข. หัวลกู ศรปลายปิดระบายดาทบึ

ค. หวั ลูกศรสามเหลย่ี มด้านเท่าระบายดาทบึ ง. ถูกทุกขอ้

43. ข้อใดเป็นสตู รในการคานวณหาขนาดของหวั ลกู ศรกาหนดขนาด

ก. 2d ข. 3d

ค. 5d ง. 7d

44. ขนาดกาหนดในข้อใด จะต้องเขยี นหัวลกู ศรกาหนดขนาดภายนอกเส้นช่วยกาหนดขนาด

ก. มากกวา่ 10 มม. ข. มากกวา่ 8 มม.

ค. นอ้ ยกวา่ 8 มม. ง. นอ้ ยกว่า 10 มม.

45. ตวั อกั ษรและตวั เลขกาหนดขนาดตามมาตรฐานมคี วามสูงเทา่ ใด

ก. 2.5 มม. ข. 3.5 มม.

ค. 5 มม. ง. 7 มม.

46. ข้อใดกล่าวถงึ ตัวเลขกาหนดขนาดได้ถูกต้อง

ก. ตัวเลขกาหนดขนาดแนวตง้ั ต้องเขียนให้สามารถอา่ นไดจ้ ากทางขวามือ

ข. ตวั เลขกาหนดขนาดแนวตง้ั ตอ้ งเขียนให้สามารถอา่ นไดจ้ ากทางซ้ายมอื

ค. ตัวเลขกาหนดขนาดแนวตงั้ ตอ้ งเขียนในระนาบนอนเทา่ นนั้

ง. ตวั เลขกาหนดขนาดในแนวนอน ต้องเขยี นอย่รู ะหว่างเสน้ กาหนดขนาด

47. ข้อใดกาหนดขนาดรัศมี ไดถ้ กู ตอ้ ง

ก. R10 ข. 10R

ค. r10 ง. 10r

48. ขอ้ ใดกาหนดขนาดชิ้นงานเรยี วไมถ่ กู ต้อง

ก. อตั ราเรยี วใช้กับชนิ้ งานทรงกรวย

ข. คาว่าอัตราเรียวและอตั ราลดเขียนใหข้ นานกบั เส้นศนู ย์กลางของชิน้ งาน

ค. คาวา่ อัตราลาดเขียนใหข้ นานกับเสน้ ศนู ยก์ ลางของช้ินงาน

ง. อตั ราเรยี วในใหเ้ ขียนเหนอื เส้นศูนย์กลางสว่ นอตั ราเรียวนอกให้เขยี นใต้เสน้ ศูนยก์ ลาง

49. ข้อใดกาหนดขนาดโดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ส่เี หลย่ี มจตั ุรสั และเส้นทแยงมุมพ้นื ท่รี าบได้ถกู ต้อง

ก. สัญลักษณ์สเี่ หลีย่ มจตั ุรสั ให้เขยี นเป็นรูปสเี่ หลยี่ มจัตุรัสและลากเส้นทแยงมมุ ทั้ง 4 มมุ

ข. ความสงู ของสญั ลักษณส์ เ่ี หลีย่ มจัตุรสั สูงเทา่ กับตัวอกั ษรพิมพ์ใหญ่

ค. สญั ลกั ษณ์ส่เี หล่ยี มจตั รุ ัสใหก้ าหนดไว้ในภาพฉาย แมจ้ ะมภี าพดา้ นใดด้านหนงึ่ มองเห็น

ภาพสเี่ หล่ยี มจัตรุ ัสแลว้ กต็ าม

ง. พ้ืนทที่ ถี่ ูกปาดผิวใหร้ าบเรยี บ ให้เขียนเสน้ ทแยงมมุ พน้ื ทรี่ าบดว้ ยเส้นเต็มบาง

50. ข้อใดกาหนดขนาดมุมลบคมชิน้ งานไดถ้ กู ต้อง

ก. การกาหนดขนาดมุมลบคม 45° ใหก้ าหนดระยะลบคมและมมุ ลบคมแยกกัน

ข. การกาหนดขนาดมุมลบคม 45° ใหก้ าหนดระยะลบคมคูณด้วยมมุ ท่ลี บคม

ค. การกาหนดขนาดมุมลบคมอน่ื ให้กาหนดระยะลบคมคูณด้วยมุมทล่ี บคม

ง. การกาหนดขนาดลบคมของมมุ ทกุ ขนาด ให้กาหนดระยะลบคมและมุมลบคมแยกกัน

51. ข้อใดเป็นวิธีการมองภาพฉายท่ีใชใ้ นปัจจุบนั

ก. ภาพฉายมมุ ที่ 1 และมมุ ท่ี 2 ข. ภาพฉายมมุ ท่ี 1 และมุมที่ 3

ค. ภาพฉายมมุ ท่ี 2 และมุมท่ี 4 ง. ภาพฉายมมุ ที่ 3 และมุมที่ 4

52. ขอ้ ใดเป็นมาตรฐานของภาพฉายระบบยุโรป

ก. ISO Method A&ISO Method D ข. ISO Method D&ISO Method M

ค. ISO Method A&ISO Method E ง. ISO Method M& ISO Method A

53. ขอ้ ใดเปน็ มาตรฐานของภาพฉายท่ี สมอ. กาหนดใหใ้ ช้ในงานเขียนแบบเครอ่ื งกลในประเทศไทย

ก. ISO Method A ข. ISO Method D

ค. ISO Method E ง. ISO Method M

54. ขอ้ ใดเป็นลักษณะการปรากฏภาพของภาพฉายมุมที่ 1

ก. ภาพทเี่ กิดขึ้นจะปรากฏทฉี่ ากรับภาพ ทอ่ี ยู่ด้านตรงข้ามกับจุดทมี่ องภาพ

ข. ภาพท่เี กิดข้นึ จะปรากฏท่ฉี ากรับภาพ ที่อยู่ด้านเดยี วกนั กับจุดท่มี องภาพ

ค. ภาพทป่ี รากฏเปน็ ลกั ษณะของแสงเงากระทบกับวตั ถุแล้วเกดิ ภาพที่ด้านหลังของวัตถุ

ง. ข้อ ก. และขอ้ ค. ถูกตอ้ ง

55. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะการปรากฏภาพของภาพฉายมมุ ท่ี 3

ก. ภาพท่เี กิดข้นึ จะปรากฏทฉ่ี ากรบั ภาพ ทีอ่ ยดู่ ้านตรงขา้ มกบั จุดท่มี องภาพ

ข. ภาพท่ีเกิดขึ้นจะปรากฏทีฉ่ ากรับภาพ ทอี่ ยดู่ า้ นเดยี วกนั กบั จุดท่ีมองภาพ

ค. ภาพท่ีปรากฏเปน็ ลักษณะธรรมชาติทีแ่ สงกระทบวตั ถุแลว้ สะทอ้ นเกิดภาพท่ตี า

ง. ข้อ ข. และขอ้ ค. ถูกต้อง

56. ข้อใดเป็นขอ้ ควรคานึงในการเลอื กภาพดา้ นหน้าของภาพฉาย

ก. ด้านท่เี หน็ รายละเอยี ดของแบบงานชัดเจนทส่ี ดุ ข. ดา้ นทีเ่ หน็ รายละเอยี ดนอ้ ยที่สุด

ค. ด้านขวามือของแกนภาพสามมติ ิ ง. ดา้ นซา้ ยมอื ของแกนภาพสามมติ ิ

57. ข้อใดเปน็ ทิศทางของการมองภาพด้านหนา้ ดา้ นขา้ งและดา้ นบนของภาพฉายมุมที่ 1

ก. เวยี นขวามือหรอื ทิศทางตามเข็มนาฬิกา ข. เวียนซา้ ยมือหรอื ทิศทวนเขม็ นาฬิกา

ค. เวยี นขวามอื หรอื เวยี นซ้ายมือกไ็ ด้ ง. ไม่มขี ้อกาหนดขนึ้ อยูก่ ับความถนดั

58. ขอ้ ใดเปน็ ทศิ ทางการมองภาพด้านหนา้ ด้านขา้ งและภาพดา้ นบนของภาพฉายมมุ ที่ 3

ก. เวยี นขวามือหรือทิศทางตามเขม็ นาฬกิ า ข. เวยี นซ้ายมอื หรอื ทศิ ทวนเข็มนาฬิกา

ค. เวียนขวามือหรือเวียนซ้ายมอื กไ็ ด้ ง. ไมม่ ีขอ้ กาหนดขึน้ อย่กู ับความถนดั

59. จากรปู ขอ้ ใดเปน็ สัญลกั ษณ์ของภาพฉายระบบ ISO Method E

ก. ข.

ค. ง.

60. จากรูปข้อใดเปน็ สญั ลกั ษณ์ของภาพฉายระบบ ISO Method A
ก. ข.
ค. ง.

ขอ้ สอบปลายภาค แบบอัตนัย

รหสั วชิ า 2102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1

จานวนชว่ั โมงสอบ 2 ชว่ั โมง นายคมั ภีร์ สริ วิ รไพบูลย์ ผู้ออกขอ้ สอบ

คาสงั่ จงเขยี นภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานทก่ี าหนดให้ลงในกระดาษเขียนแบบโดยเปลยี่ นภาพ

ดา้ นหน้า ให้เปน็ ภาพตัดเต็มตามแนวตัว A-A ดว้ นมาตราสว่ น 1:1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถกู ตอ้ ง

เฉลยขอ้ สอบปลายภาค แบบอัตนัย

รหสั วิชา 2102-2001 ชือ่ วิชา เขยี นแบบเคร่อื งมอื กล 1

จานวนช่วั โมงสอบ 2 ช่ัวโมง นายคมั ภีร์ สิรวิ รไพบลู ย์ ผูอ้ อกขอ้ สอบ

จงเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการลากเส้นตรงร่วมกับโตะ๊ เขียนแบบ

ก. ไม้ที ข. บรรทัดเล่ือน

ค. ฉากสามเหล่ยี ม ง. วงเวยี น

2. ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ นาดมุมของฉากสามเหลีย่ ม

ก. 30 องศา ข. 45 องศา

ค. 60 องศา ง. 75 องศา

3. ถ้านาฉากสามเหลี่ยมท้งั สองอนั มาประกอบใชง้ านร่วมกัน จะสามารถแบง่ มุมไดค้ ร้ังละกีอ่ งศา

ก. 15 องศา ข. 30 องศา

ค. 45 องศา ง. 60 องศา

4. การเขยี นสว่ นโคง้ ดว้ ยบรรทัดสว่ นโคง้ ควรมจี ุดสัมผัสอย่างน้อยก่จี ดุ

ก. 2 จุด ข. 3 จุด

ค. 4 จดุ ง. 5 จดุ

5. ขอ้ ใดกล่าวถงึ การเขยี นวงกลมและการแบง่ ระยะ ไดถ้ กู ต้องมากทีส่ ดุ

ก. Bow Compass เปน็ วงเวยี นสาหรับเขียนวงกลมขนาดใหญ่

ข. Large Compass เป็นวงเวียนสาหรับเขยี นวงกลมขนาดเลก็

ค. Divider เหมอื นกับวงเวียนทั่วไป แต่มขี าเปน็ เหลก็ ปลายแหลมท้ัง 2 ขา้ ง

ง. ถกู ทกุ ขอ้

6. ขนาดของไส้ปากกาเขยี นแบบทเ่ี ลก็ ที่สุดตามมาตรฐาน ISO คือขอ้ ใด

ก. 0.10 มม. ข. 0.13 มม.

ค. 0.15 มม. ง. 0.18 มม.

7. ขอ้ ใดเป็นกลุ่มความแขง็ ของไสด้ นิ สอที่ใช้สาหรับรา่ งแบบ

ก. 9H – 4H ข. 3H - B

ค. 2B – 7B ง. 9H – 7B

8. ข้อใดเปน็ กลุ่มความแขง็ ของไสด้ ินสอที่ใช้สาหรับเขียนแบบท่วั ไป

ก. 9H – 4H ข. 3H - B

ค. 2B – 7B ง. 9H – 7B

9. ขอ้ ใดเปน็ อุปกรณ์ทาความสะอาดท่ีเหมาะกับการเขยี นแบบทั่วไปมากที่สดุ

ก. ยางลบ ข. ยางลบไฟฟา้

ค. แผ่นกั้นลบ ง. แปรงปัดผง

10. ข้อใดเปน็ เหตุผลที่ไมค่ วรใชไ้ ม้ทแี ละฉากสามเหลยี่ มเป็นเครื่องมอื ทาบตดั กระดาษ

ก. ทาให้ครีบท่ีขอบของไมท้ แี ละฉากสามเหล่ยี มหายไป

ข. ทาให้ขอบของไม้ทแี ละฉากสามเหลยี่ มเรยี บและตรง

ค. ทาใหข้ อบของไม้ทีและฉากสามเหล่ียมลื่น

ง. ทาใหข้ อบของไม้ทีและฉากสามเหลี่ยมบน่ิ และโค้ง

11. ข้อใดเปน็ การใชว้ งเวยี นทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง

ก. ใชเ้ ปน็ เหล็กขีด ข. ใช้เป็นเหลก็ งดั

ข. ใช้เป็นเหลก็ เจาะกระดาษ ง. ถูกทกุ ข้อ

12. กรณีท่ีไม่มคี วามรู้ในการบารงุ รกั ษาเครอื่ งมือเขียนแบบ ควรทาอย่างไร

ก. ปรกึ ษาบริษัทผู้ผลิต ข. ปรกึ ษาผู้เช่ยี วชาญ

ค. ศึกษาจากคู่มือการใชง้ าน ง. ทดลองทาดว้ ยตัวเอง

13. ข้อใดเปน็ มาตรฐานของกระดาษเขยี นแบบ

ก. มาตรฐาน A ข. มาตรฐาน B

ค. มาตรฐาน C ง. มาตรฐาน D

14. ข้อใดเป็นมาตรฐานของกระดาษเขียนแบบขนาด A4

ก. 420x594 ข. 297x420

ค. 210x297 ง. 148x210

15. กลมุ่ เสน้ ขนาด 0.5 มม. เหมาะสาหรบั ใชเ้ ขยี นแบบงานลักษณะใด

ก. เขยี นแบบไฟฟา้ ข. เขียนแบบโยธา

ค. เขียนแบบเคร่ืองกล ง. ถูกทุกขอ้

16. ชนดิ เสน้ ในข้อใดใชส้ าหรบั เขยี นเสน้ ขอบรูป

ก. เส้นเต็มบาง ข. เส้นเต็มหนา

ค. เสน้ ประ ง. เส้นศนู ย์กลางใหญ่

17. ชนิดเสน้ ในข้อใดใช้สาหรบั เขียนเสน้ กาหนดขนาด

ก. เส้นเตม็ บาง ข. เส้นเต็มหนา

ค. เสน้ ประ ง. เส้นศูนยก์ ลางใหญ่

18. ชนิดเส้นในข้อใดใชส้ าหรบั เขียนเส้นแสดงแนวตัด

ก. เส้นเต็มบาง ข. เส้นเตม็ หนา

ค. เส้นประ ง. เสน้ ศูนย์กลางใหญ่

19. ชนดิ เสน้ ในขอ้ ใดใช้สาหรับเขยี นเส้นขอบรูปที่ถกู บงั

ก. เส้นเต็มบาง ข. เส้นเตม็ หนา

ค. เส้นประ ง. เส้นศนู ยก์ ลางใหญ่

20. ชนิดเสน้ ในข้อใดใชส้ าหรบั เขียนเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางวง ทรงกลมและทรงกระบอก

ก. เสน้ ศนู ยก์ ลางเลก็ ข. เสน้ ศูนยก์ ลางใหญ่
ค. เสน้ มอื เปลา่ ง. เสน้ ประ

21. ชนิดเสน้ ในข้อใดใชส้ าหรบั เขยี นเสน้ ขอบเขตการตัดเฉพาะสว่ น

ก. เสน้ ศนู ย์กลางเลก็ ข. เส้นศูนยก์ ลางใหญ่

ค. เส้นมือเปลา่ ง. เส้นประ

22. ถา้ ใชก้ ลุม่ เส้น 0.5 ในการเขยี นแบบ ตัวอกั ษรพมิ พเ์ ล็กตอ้ งมคี วามสูงเท่าใด

ก. 2.5 มม. ข. 3.5 มม.

ค. 5 มม. ง. 7 มม.

23. ขอ้ ใดคือมมุ ของตัวอกั ษรเอียงตามมาตรฐาน ISO ข. 45 องศา
ก. 30 องศา ง. 75 องศา
ค. 60 องศา
ข. 10/10h
24. ขอ้ ใดเป็นมาตรฐานความสูงของตัวอกั ษรไทย ง. 18/10h
ก. 7/10h
ค. 16/10h ข. 10/10h
ง. 18/10h
25. ข้อใดเปน็ ระยะหา่ งระหวา่ งบรรทดั ของตวั อกั ษรไทย
ก. 7/10h ข. 2 : 2
ค. 16/10h ง. 10 : 10

26. ขอ้ ใดเป็นมาตราสว่ นจริงหรือมาตราส่วนมาตรฐาน
ก. 1 : 1
ค. 5 : 5

27. ถา้ ต้องการย่อช้นิ งานเขยี นแบบลงครึง่ หนง่ึ ต้องใช้มาตรสว่ นในขอ้ ใด

ก. 1 : 1 ข. 1 : 2

ค. 2 : 1 ง. 2 : 2
28. Bisecting on Object หมายถึง

ก. การสรา้ งรูปหลายเหลย่ี ม ข. การเขียนวงรี

ค. การแบ่งคร่ึงวตั ถุ ง. การสรา้ งส่วนโคง้ สมั ผสั

29. ข้อใดเปน็ การเร่ิมต้น การแบง่ ครึ่งวัตถุ

ก. กาหนดเส้นตรงและส่วนโคง้ ข. ใช้จุด เปน็ จุดศูนยก์ ลางเขยี นส่วนโคง้

ค. กาหนดมมุ ABC เพอื่ แบ่งครงึ่ ง. ลากเส้นตรง แบ่งคร่งึ เส้นตรงและสว่ น

โค้ง

30. การลากเสน้ ขนานควรสร้างรศั มี R หรือไม่ เพราะเหตุใด

ก. ควร เพราะ เสน้ รัศมี R ใช้กาหนดจุดสัมผสั

ข. ควร เพราะ เสน้ รัศมี R ใช้กาหนดจุดสัมผัส

ค. ไมค่ วร เพราะ การสรา้ งเส้นรัศมี R เปน็ การกาหนดสว่ นโค้ง

ง. ไมค่ วร เพราะ การสร้างเส้นรัศมี R ใชใ้ นการแบ่งครึง่ วงกลม

31. จากภาพขอ้ ใดเปน็ การเริ่มต้นสรา้ งเสน้ ขนาน

ก. ข.

ค. ง.

32.การสรา้ งรปู สเี่ หล่ียมควรใช้ไมบ้ รรทดั ชนดิ ใด

ก. บรรทดั สามเหล่ยี ม มมุ 35° ข. บรรทัดสามเหล่ียม มุม 45°

ค. บรรทัดสามเหลยี่ ม มุม 60° ง. บรรทดั สามเหลย่ี ม มุม 90°

33. การสร้างรปู ห้าเหลีย่ ม ควรใชว้ งเวยี นเขียนตดิ เสน้ รอบวงก่สี ่วน

ก. 4 ส่วน ข. 5 ส่วน

ค. 6 สว่ น ง. 7 ส่วน

34. การสร้างรูปแปดเหล่ยี มดา้ นเท่าควรทาอยา่ งไร

ก. สร้างเสน้ A B ลากเส้นตรงตอ่ จุดไปยังจดุ แบง่ 1, 2, 3, 4 จากนั้นลากเส้นตรงต่อจุด A1, B2,

C3, D4 จะไดร้ ูปแปดเหลีย่ ม

ข. สร้างวงกลมรัศมี OA ลากเส้นสัมผัสรอบวงแนวตั้ง แนวนอนใช้บรรทัดสามเหล่ียม มุม 45°

ลากเสน้ สัมผัสวงกลมจะไดร้ ปู แปดเหลยี่ ม

ค. สรา้ งวงกลมรัศมี OA แบง่ วงกลมออกเป็น 4 สว่ น ลากเสน้ ตรงตัดจุดศนู ย์กลางของวงกลมใช้

บรรทัดสามเหลี่ยมลากเสน้ ตรงตามจดุ สัมผัส

ง. กาหนดมุม A B C แบ่งคร่ึง กางวงเวียนรัศมีเกินครึ่งเส้น AC และ AB เขียนส่วนโค้งติดจุด

ลากเสน้ ตรงตามจดุ ตดั

35. การสรา้ งวงรีโดยใช้สีเ่ หลยี่ มผืนผา้ ควรแบง่ ส่เี หลย่ี มผนื ผ้าเป็นกสี่ ่วน

ก. 4 ส่วนเท่า ๆ กนั ข. 5 ส่วนเท่า ๆ กนั

ค. 6 ส่วนเทา่ ๆ กนั ง. 7 ส่วนเท่า ๆ กัน

36. ขอ้ ใดไม่ใช่วิธีการเขยี นสว่ นโค้งสัมผัสสว่ นโคง้ สองสว่ น

ก. กาหนดวงกลม A1 และ A2 ข. กางวงเวียนรัศมี Ri+ri1

ค. ใชจ้ ุด A เป็นจดุ ศนู ย์กลาง ง. ใชจ้ ุด B เปน็ จดุ ศนู ยก์ ลาง

37. ข้อใดเปน็ เส้นสาหรับเขียนเสน้ ชว่ ยกาหนดขนาดและเส้นกาหนดขนาด

ก. เส้นเต็มหนา ข. เสน้ เต็มบาง

ค. เสน้ ศนู ยก์ ลาง ง. เส้นมือเปล่า

38. เสน้ กาหนดขนาดเส้นแรกควรหา่ งจากขอบรปู ชนิ้ งานเทา่ ใด

ก. 5 มม. ข. 7 มม.

ค. 8 มม. ง. 10 มม.

39. เสน้ กาหนดขนาดเสน้ ถดั ไปควรหา่ งจากเสน้ กาหนดขนาดเส้นแรกเท่าใด

ก. 5 มม. ข. 7 มม.

ค. 8 มม. ง. 10 มม.

40. กรณที ไ่ี ม่สามารถเขยี นเสน้ กาหนดขนาดตั้งฉากกบั เส้นขอบรูป ขอ้ ใดถูกต้อง

ก. กาหนดเอยี งมมุ 15 องศา ข. กาหนดเอยี งมมุ 30 องศา

ค. กาหนดเอยี งมุม 45 องศา ง. กาหนดเอยี งมมุ 60 องศา

41. เส้นช่วยกาหนดขนาดควรเขยี นให้เลยหัวลูกศรกาหนดขนาดเทา่ ใด

ก. 1 มม. ข. 1.5 มม.

ค. 2 มม. ง. 2.5 มม.

42. ขอ้ ใดเป็นชนิดของหวั ลกู ศรกาหนดขนาดในงานเขยี นแบบเครื่องกล

ก. หัวลกู ศรปลายเปดิ ระบายดาทึบ ข. หวั ลกู ศรปลายปิดระบายดาทึบ

ค. หัวลูกศรสามเหลย่ี มดา้ นเทา่ ระบายดาทึบ ง. ถกู ทุกข้อ

43. ข้อใดเป็นสูตรในการคานวณหาขนาดของหัวลูกศรกาหนดขนาด

ก. 2d ข. 3d

ค. 5d ง. 7d

44. ขนาดกาหนดในข้อใด จะต้องเขยี นหัวลูกศรกาหนดขนาดภายนอกเส้นช่วยกาหนดขนาด

ก. มากกวา่ 10 มม. ข. มากกวา่ 8 มม.

ค. น้อยกว่า 8 มม. ง. นอ้ ยกว่า 10 มม.

45. ตวั อักษรและตวั เลขกาหนดขนาดตามมาตรฐานมีความสูงเทา่ ใด

ก. 2.5 มม. ข. 3.5 มม.

ค. 5 มม. ง. 7 มม.

46. ข้อใดกล่าวถงึ ตวั เลขกาหนดขนาดได้ถกู ตอ้ ง

ก. ตัวเลขกาหนดขนาดแนวตง้ั ต้องเขยี นใหส้ ามารถอ่านไดจ้ ากทางขวามอื

ข. ตัวเลขกาหนดขนาดแนวตง้ั ตอ้ งเขยี นให้สามารถอา่ นได้จากทางซา้ ยมอื

ค. ตวั เลขกาหนดขนาดแนวตงั้ ตอ้ งเขียนในระนาบนอนเทา่ น้ัน

ง. ตวั เลขกาหนดขนาดในแนวนอน ตอ้ งเขยี นอยู่ระหวา่ งเส้นกาหนดขนาด

47. ขอ้ ใดกาหนดขนาดรศั มี ไดถ้ ูกตอ้ ง

ก. R10 ข. 10R

ค. r10 ง. 10r

48. ขอ้ ใดกาหนดขนาดช้ินงานเรยี วไม่ถกู ตอ้ ง

ก. อตั ราเรยี วใช้กับช้ินงานทรงกรวย

ข. คาว่าอัตราเรียวและอตั ราลดเขียนใหข้ นานกบั เสน้ ศนู ยก์ ลางของชิน้ งาน

ค. คาว่าอัตราลาดเขยี นให้ขนานกับเสน้ ศูนย์กลางของชิ้นงาน

ง. อัตราเรยี วในใหเ้ ขียนเหนอื เสน้ ศนู ย์กลางสว่ นอัตราเรยี วนอกให้เขียนใตเ้ ส้นศูนย์กลาง

49. ข้อใดกาหนดขนาดโดยใชส้ ัญลักษณ์สเี่ หลีย่ มจัตรุ สั และเสน้ ทแยงมุมพนื้ ท่รี าบไดถ้ กู ต้อง

ก. สัญลักษณส์ ่ีเหลย่ี มจตั ุรสั ให้เขยี นเป็นรปู สี่เหลย่ี มจตั ุรัสและลากเสน้ ทแยงมุมทงั้ 4 มมุ

ข. ความสงู ของสัญลักษณ์ส่เี หลยี่ มจัตรุ สั สงู เทา่ กับตวั อักษรพิมพใ์ หญ่

ค. สัญลกั ษณ์ส่เี หล่ยี มจัตุรัสให้กาหนดไวใ้ นภาพฉาย แมจ้ ะมีภาพด้านใดด้านหน่ึงมองเห็นภาพ

ส่ีเหลี่ยมจัตุรสั แล้วกต็ าม

ง. พื้นท่ที ่ีถูกปาดผิวให้ราบเรียบ ให้เขยี นเส้นทแยงมุมพ้นื ท่รี าบดว้ ยเส้นเต็มบาง

50. ขอ้ ใดกาหนดขนาดมุมลบคมชนิ้ งานไดถ้ กู ต้อง

ก. การกาหนดขนาดมุมลบคม 45 ให้กาหนดระยะลบคมและมุมลบคมแยกกัน

ข. การกาหนดขนาดมมุ ลบคม 45 ให้กาหนดระยะลบคมคูณด้วยมุมที่ลบคม

ค. การกาหนดขนาดมุมลบคมอ่นื ใหก้ าหนดระยะลบคมคณู ด้วยมมุ ที่ลบคม

ง. การกาหนดขนาดลบคมของมมุ ทุกขนาด ให้กาหนดระยะลบคมและมุมลบคมแยกกนั

51. ขอ้ ใดเปน็ วิธีการมองภาพฉายทีใ่ ช้ในปจั จบุ ัน ข. ภาพฉายมุมท่ี 1 และมุมที่ 3
ก. ภาพฉายมมุ ท่ี 1 และมุมท่ี 2 ง. ภาพฉายมุมท่ี 3 และมุมที่ 4
ค. ภาพฉายมุมท่ี 2 และมมุ ที่ 4

52. ขอ้ ใดเป็นมาตรฐานของภาพฉายระบบยโุ รป

ก. ISO Method A ข. ISO Method D

ค. ISO Method E ง. ISO Method M

53. ข้อใดเป็นมาตรฐานของภาพฉายท่ี สมอ. กาหนดให้ใช้ในงานเขียนแบบเครอ่ื งกลในประเทศไทย

ก. ISO Method A ข. ISO Method D

ค. ISO Method E ง. ISO Method M

54. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะการปรากฏภาพของภาพฉายมุมที่ 1

ก. ภาพทเี่ กดิ ข้ึนจะปรากฏทฉ่ี ากรบั ภาพ ทีอ่ ยู่ดา้ นตรงขา้ มกบั จุดท่ีมองภาพ

ข. ภาพทีเ่ กิดข้นึ จะปรากฏทีฉ่ ากรบั ภาพ ทอี่ ยู่ด้านเดียวกนั กบั จดุ ทมี่ องภาพ

ค. ภาพที่ปรากฏเปน็ ลักษณะของแสงเงากระทบกับวตั ถุแลว้ เกดิ ภาพทีด่ า้ นหลังของวตั ถุ

ง. ข้อ ก. และข้อ ค. ถกู ต้อง

55. ขอ้ ใดเป็นลักษณะการปรากฏภาพของภาพฉายมมุ ท่ี 3

ก. ภาพท่เี กิดขึน้ จะปรากฏที่ฉากรับภาพ ทีอ่ ย่ดู ้านตรงขา้ มกับจุดท่ีมองภาพ

ข. ภาพท่ีเกดิ ข้นึ จะปรากฏท่ีฉากรบั ภาพ ท่อี ยดู่ ้านเดียวกนั กบั จดุ ท่มี องภาพ

ค. ภาพทป่ี รากฏเป็นลักษณะธรรมชาตทิ ่แี สงกระทบวตั ถุแลว้ สะท้อนเกิดภาพทต่ี า

ง. ข้อ ข. และข้อ ค. ถกู ต้อง
56. ข้อใดเป็นข้อควรคานึงในการเลือกภาพด้านหนา้ ของภาพฉาย

ก. ดา้ นท่ีเหน็ รายละเอียดของแบบงานชัดเจนท่สี ุด ข. ด้านทเ่ี ห็นรายละเอยี ดน้อยทส่ี ดุ

ค. ดา้ นขวามือของแกนภาพสามมิติ ง. ด้านซ้ายมือของแกนภาพสามมติ ิ

57. ขอ้ ใดเป็นทศิ ทางของการมองภาพดา้ นหนา้ ด้านขา้ งและด้านบนของภาพฉายมุมที่ 1

ก. เวยี นขวามอื หรอื ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ข. เวียนซา้ ยมอื หรอื ทิศตามเข็มนาฬกิ า

ค. เวียนขวามือหรอื เวียนซา้ ยมือกไ็ ด้ ง. ไม่มขี อ้ กาหนดขน้ึ อย่กู ับความถนดั

58. ข้อใดเปน็ ทิศทางการมองภาพด้านหน้า ด้านขา้ งและภาพดา้ นบนของภาพฉายมุมท่ี 3

ก. เวยี นขวามือหรือทศิ ทางทวนเข็มนาฬิกา ข. เวยี นซ้ายมอื หรอื ทิศตามเขม็ นาฬกิ า

ค. เวยี นขวามอื หรอื เวียนซา้ ยมือก็ได้ ง. ไมม่ ขี ้อกาหนดข้นึ อยูก่ ับความถนดั

59. จากรปู ขอ้ ใดเปน็ สัญลักษณข์ องภาพฉายระบบ ISO Method E

ก. ข.

ค. ง.

60. จากรูปขอ้ ใดเป็นสัญลกั ษณ์ของภาพฉายระบบ ISO Method A
ก. ข.
ค. ง.

ข้อสอบปลายภาค แบบอตั นยั

รหสั วชิ า 2102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครอื่ งมอื กล 1

จานวนชัว่ โมงสอบ 2 ชวั่ โมง นายคมั ภรี ์ สริ ิวรไพบูลย์ ผอู้ อกข้อสอบ

คาส่ัง จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษเขียนแบบโดยเปล่ียนภาพ

ดา้ นหน้าให้เป็นภาพตดั เตม็ ตามแนวตัว A-A ด้วนมาตราส่วน 1:1 พรอ้ มกาหนดขนาดใหถ้ กู ตอ้ ง

ภาคผนวก ข

16

แผนการเรียนรหู้ น่วยท่ี 1

รหสั วิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1
ช่ือหน่วย เครือ่ งมือและอปุ กรณใ์ นการเขียนแบบ

เรอ่ื ง เครอ่ื งมือและอุปกรณใ์ นการเขียนแบบ จานวนชว่ั โมงสอน 1-4

1. สาระสาคัญ
เครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นการเขยี นแบบ คอื การปฏิบัติการเขียนแบบ ทจี่ ะได้แบบงานท่ีถูกตอ้ ง

และเปน็ มาตรฐาน จะตอ้ งอาศัย ทกั ษะของผู้ปฏิบัตกิ ารเขยี นแบบรวมทั้งเครือ่ งมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
เขียนแบบมคี วามสาคญั มากเพราะจะทาให้แบบงานไดค้ ุณภาพเป็นมาตรฐาน

2. งานประจาหนว่ ยการเรียนรู้
2.1 รายงานความรู้การใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขยี นแบบ

3. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้
3.1 แสดงความร้เู กีย่ วกับเคร่ืองมือและอปุ กรณใ์ นการเขยี นแบบ
3.2 ใชเ้ คร่ืองมือและอปุ กรณ์ในการเขียนแบบได้
3.3 มีกิจนิสัยในการทางาน ด้วยความรอบคอบ และเป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา และมี

ความรับผิดชอบ

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้)
4.1 จดุ ประสงคท์ ่วั ไป
เพ่อื ใหร้ ู้จักและใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ในการเขียนแบบและมีกิจนิสัยในการทางาน ด้วยความ

รอบคอบ เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา และมีความรบั ผิดชอบ
4.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
4.2.1 อธิบายการใช้เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ในการเขยี นแบบได้
4.2.2 ใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ในการเขยี นแบบได้
4.2.3 มีกิจนสิ ยั ในการทางาน ดว้ ยความรอบคอบ และเปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา

และมีความรับผดิ ชอบ

5. สาระการเรยี นรู้

*********เนือ้ หาตามใบความรู้*********

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใชเ้ ทคนคิ การสอน แบบขนั้ ตอนการเรียนรแู้ บบ MAIP

17

6.1 สปั ดาห์ที่ 1
1. ข้ันสนใจ (M = Motivation)
1.1 ครชู ี้แจงการวัดผลและประเมนิ ผลในวิชาโปรแกรมจดั การฐานข้อมลู
1.2 ครแู ละนกั เรยี นสร้างข้อตกลงร่วมกันในการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าโปรแกรมจัดการ

ฐานขอ้ มลู
1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธิก์ อ่ นเรยี น
1.4 ครูสนทนากบั ผู้เรียนเก่ยี วกับการใช้เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ในการเขียนแบบ ด้วยความ

รอบคอบ เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา และมีความรบั ผดิ ชอบ
2. ขนั้ ศึกษาข้อมูล (I = Information)

2.1 ผู้เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง การใช้เครือ่ งมอื อุปกรณ์ในการเขียนแบบ
2.2 ครูอธิบายเนอ้ื หาเพิ่มเติมใน เร่ือง การใช้เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ในการเขียนแบบ
2.3 ครสู าธิตและยกตัวอย่างการใช้เคร่อื งมือ อุปกรณ์ในการเขยี นแบบ
2.4 ผู้เรยี นแบ่งกลุ่มเพอื่ ศึกษาและหาขอ้ สรปุ การใชเ้ คร่อื งมอื อปุ กรณใ์ นการเขยี นแบบ
3. ขนั้ พยายาม (A = Application)
3.1 ผู้เรยี นฝึกการใช้เครือ่ งมือ อุปกรณใ์ นการเขยี นแบบ
3.2 ผู้เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปเน้อื หาวิชา เรอ่ื ง การใช้เครื่องมอื อุปกรณ์ในการเขียนแบบ
ด้วยความรอบคอบ เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ
3.3 ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
4. ขนั้ สาเร็จผล (P = Progress)
4.1 ผสู้ อนเฉลยแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ และอธบิ ายเพม่ิ เติมเพ่ือให้ผู้เรยี นเขา้ ใจ
เนือ้ หาวิชามากยิง่ ขน้ึ

7. ส่อื การเรยี นรู้ 7.4 แบบฝึกหัด
7.1 หนงั สือเรียน 7.5 แบบสังเกตพฤติกรรม
7.2 ใบความรู้ 7.6 แบบทดสอบ
7.3 ใบงาน

8. หลกั ฐานการเรยี นรู้
8.1 ใบงาน
8.2 แบบฝึกหัด
8.3 รายงาน


Click to View FlipBook Version