The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 04:06:50

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

103

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 4

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอ่ื วิชา เขยี นแบบเครื่องมือกล 1
ช่ือหนว่ ย การกาหนดขนาดและมาตราส่าน

เร่ือง การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น จานวนชว่ั โมงสอน 17-24

3. จากแบบงานท่กี าหนดให้ จงกาหนดขนาดแบบงานใหส้ มบูรณ์

104

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 4

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอ่ื วิชา เขยี นแบบเครื่องมือกล 1
ช่ือหนว่ ย การกาหนดขนาดและมาตราส่าน

เร่ือง การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น จานวนชว่ั โมงสอน 17-24

4. จากแบบงานท่กี าหนดให้ จงกาหนดขนาดแบบงานใหส้ มบูรณ์

105

ใบมอบหมายงานหนว่ ยที่ 4 (Assignment Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วชิ า เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ช่อื หน่วย การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น

เรอื่ ง การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น จานวนชัว่ โมงสอน 17-24

1. จดุ ประสงค์การมอบหมายงาน
1.1 เพื่อเขียนสว่ นประกอบของการกาหนดขนาดได้
1.2 เพ่ือกาหนดขนาดในงานเขียนแบบได้ถูกต้อง
1.3 เพ่อื เขยี นมาตราส่วนท่ใี ช้ในงานเขยี นแบบไดถ้ กู ต้อง

2. แนวทางการปฏิบัตงิ าน
2.1 เขียนสว่ นประกอบของการกาหนดขนาดได้
2.2 กาหนดขนาดในงานเขียนแบบไดถ้ ูกต้อง
2.3 เขยี นมาตราสว่ นท่ีใชใ้ นงานเขยี นแบบไดถ้ ูกตอ้ ง

3. แหล่งค้นควา้
ตัวอย่าง

4. คาถาม/ปญั หา
4.1 วิธีการเขียนส่วนประกอบของการกาหนดขนาดได้
4.2 วธิ ีการกาหนดขนาดในงานเขยี นแบบได้ถกู ตอ้ ง
4.3 วธิ ีการเขียนมาตราสว่ นทใี่ ชใ้ นงานเขียนแบบไดถ้ กู ตอ้ ง

5. กาหนดเวลาสง่
สัปดาห์ถดั ไป

106

ใบงานหนว่ ยท่ี 4 (Job Sheet)

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย การกาหนดขนาดและมาตราสา่ น

เรือ่ ง การกาหนดขนาดและมาตราส่าน จานวนชัว่ โมงสอน 17-24

1. จดุ ประสงค์ทั่วไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครอ่ื งมอื /วสั ดุอปุ กรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ข้อควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานทม่ี อบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วัดผล/ประเมินผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

105

แผนการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 5

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1
ช่อื หนว่ ย การเขียนภาพฉาย

เร่ือง การเขียนภาพฉาย จานวนชว่ั โมงสอน 25-32

1. สาระสาคญั
ภาพฉายเปน็ ภาพท่มี ีจุดมงุ่ หมายในการแสดงภาพช้ินงานแบบ 2 มิติ ซึ่งเป็นภาพท่ีใช้สาหรับการ

เขียนแบบสงั่ งานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม เน่ืองจากเป็นภาพท่ีสามารถเขียนได้ต้ังแต่ภาพด้านเดียว
จนถงึ ภาพ 6 ด้าน ขึ้นอย่กู บั ความซบั ซ้อนของช้ินงานน้ัน ๆ รวมทั้งยังเป็นภาพที่สามารถกาหนดขนาดของ
มติ ิและรายละเอียดของแบบงานได้ครบถว้ นทีส่ ุด
2. งานประจาหน่วยการเรยี นรู้

2.1 การเขยี นภาพฉายมุมมองที่ 1
2.2 การเขียนภาพฉายมุมมองที่ 3
3. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
3.1 หลักการอา่ นแบบและฉายภาพ
3.2 การเขียนภาพฉายมุมมองท่ี 1
3.3 การเขยี นภาพฉายมมุ มองท่ี 3
3.4 ภาพช่วย
4 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้)
4.1 จดุ ประสงค์ทัว่ ไป

เพอ่ื ให้รู้หลักการอ่านแบบและฉายภาพ การเขียนภาพฉายมมุ มองที่ 1 การเขียนภาพ
ฉายมุมมองที่ 3 และภาพชว่ ยในงานเขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1

4.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4.2.1 เพือ่ ใหร้ ู้หลกั การอา่ นแบบและฉายภาพ
4.2.2 เพื่อเขียนภาพฉายมมุ มองท่ี 1
4.2.3 เพื่อเขียนภาพฉายมุมมองท่ี 3
4.2.4 เพือ่ เขียนภาพชว่ ยในงานเขียนแบบเครื่องมอื กล 1

5. สาระการเรียนรู้

*********เน้อื หาตามใบความรู้*********

106

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใช้เทคนิคการสอน แบบขนั้ ตอนการเรียนรแู้ บบ MAIP

6.1 สปั ดาห์ท่ี 1

1. ขัน้ สนใจ (M = Motivation)

1.1 ครูชแ้ี จงการวัดผลและประเมนิ ผลในวชิ าเขียนแบบเครอื่ งมือกล 1

1.2 ครูและนกั เรยี นสร้างขอ้ ตกลงร่วมกนั ในการจดั การเรยี นรู้วชิ าเขยี นแบบเครื่องมอื กล 1

1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธ์กิ อ่ นเรียน

1.4 ครูสนทนากบั ผู้เรียนเกย่ี วกบั การเขียนภาพฉาย เชน่ หลักการอา่ นแบบและฉายภาพ

การเขียนภาพฉายมุมมองท่ี 1 การเขียนภาพฉายมมุ มองท่ี 3 และภาพช่วยในงานเขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1

2. ขน้ั ศกึ ษาขอ้ มลู (I = Information)

2.1 ผ้เู รยี นศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง การเขียนภาพฉาย

2.2 ครูอธบิ ายเนื้อหาเพิม่ เติมใน เร่ือง การเขียนภาพฉาย

2.3 ครสู าธติ และยกตวั อยา่ งการเขยี นภาพฉาย

2.4 ผเู้ รียนแบง่ กลุม่ เพอ่ื ศกึ ษาและหาขอ้ สรปุ การเขียนภาพฉาย

3. ข้นั พยายาม (A = Application)

3.1 ผู้เรยี นฝึกปฏิบัตกิ ารเขยี นส่วน ประกอบของการกาหนดขนาด กาหนดขนาดในงานเขียน

แบบ เขยี นมาตราสว่ นที่ใชใ้ นงานเขยี นแบบ

3.2 ผูเ้ รียนและครูร่วมกนั สรปุ เนือ้ หาวิชาเขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1 เรื่อง การเขยี นภาพฉาย เช่น

หลักการอ่านแบบและฉายภาพ การเขียนภาพฉายมมุ มองที่ 1 การเขียนภาพฉายมุม มองที่ 3 และภาพชว่ ย

ในงานเขยี นแบบเครอื่ งมอื กล 1

3.3 ผู้เรยี นทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ

4. ขน้ั สาเร็จผล (P = Progress)

4.1 ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ และอธบิ ายเพ่ิมเติมเพอ่ื ให้ผเู้ รยี นเข้าใจเน้ือหาวชิ า

มากยง่ิ ขึน้

7. สอื่ การเรียนรู้

7.1 หนังสอื เรยี น 7.4 แบบฝกึ หัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลักฐานการเรยี นรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

107

9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล

ลาดับ เครอื่ งมือการประเมิน วิธวี ดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผา่ น ไม่ผ่าน
1 แบบฝกึ หัด ตรวจแบบฝึกหัด ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ขอ้ ละ 1 คะแนน ขึ้นไป รอ้ ยละ 60

ถูก 1 คะแนน

ไมถ่ กู 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ข้นึ ไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
3 แบบประเมนิ ช้นิ งาน ตรวจประเมนิ ช้ินงาน รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
4 แบบทดสอบปฏิบัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบัติ รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
5 แบบสังเกตพฤติกรรม ตรวจแบบสงั เกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ดี 4 คะแนน
ประสงค์ตามค่านยิ ม 12 พอใช้ 3 คะแนน
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรับปรุง 1 คะแนน
10. แหลง่ การเรียนรู้
10.1 หอ้ งสมดุ
10.2 ห้องอินเตอรเ์ น็ต

108

11. บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาท่พี บ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ……………………………………ผู้สอน ลงช่อื ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ ากา

109

ใบความรู้หนว่ ยที่ 5 (Information Sheet)

รหสั วิชา 20102-2001 ชอื่ วิชา เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1
ช่อื หน่วย การเขียนภาพฉาย

เร่ือง การเขยี นภาพฉาย จานวนชวั่ โมงสอน 25-32

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. จุดประสงค์ทั่วไป
เพอ่ื ให้รู้วธิ กี ารเขยี นสว่ นประกอบของการกาหนดขนาด กาหนดขนาดในงานเขยี นแบบ เขยี นมาตรา

สว่ นทีใ่ ช้ในงานเขียนแบบ
2. จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

2.1 เพอ่ื ให้รู้หลักการอา่ นแบบและฉายภาพ
2.2 เพอื่ เขียนภาพฉายมุมมองที่ 1
2.3 เพือ่ เขยี นภาพฉายมมุ มองที่ 3
2.4 เพือ่ เขียนภาพชว่ ยในงานเขยี นแบบเครือ่ งมือกล 1

เนอื้ หาสาระ หน่วยที่ 5 เรอ่ื ง การเขียนภาพฉาย
การเขียนภาพฉาย

ภาพฉายเปน็ ภาพแสดงรูปร่างช้นิ งานเป็นภาพดา้ นในระนาบ 2 มิติ ซึง่ อาจจะแสดงภาพดา้ น
เดียว ภาพสองดา้ นหรือภาพสามด้านกไ็ ด้ สาหรับวธิ กี ารมองภาพฉายมีดว้ ยกนั 2 วิธี คอื การมองภาพฉาย
มมุ ท1ี่ (First Angle Projection) และการมองภาพฉายมมุ ที่ 3 (Third Angle Projection) ดงั ระนาบ
การมองภาพรูปที่ 5.1

รูปที่ 5.1 ระนาบการมองภาพบนระนาบของภาพฉาย

110
1. การเขียนภาพฉายมมุ ท่ี 1 (First Angle Projection)

การเขียนภาพฉายมุมท่ี 1 เปน็ การเขียนภาพฉายตามมาตรฐานสากลระบบยโุ รป (ISO Method
E) ซึง่ เปน็ มาตรฐานทสี่ านกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (สมอ.) กาหนดให้เป็นมาตรฐานการ
เขียนแบบเครอ่ื งกลในประเทศไทย สาหรบั วิธกี ารเขียนภาพฉายมุมที่ 1 ชนิ้ งานจะถกู วางไวใ้ นจตุภาคท่ี 1
ภาพฉายท่เี กดิ ขึน้ จะเกิดจากการมองจุดตา่ ง ๆ บนขอบผิวชิน้ งานเป็นเสน้ ตรงไปกระทบกับฉากรบั ภาพ
ระนาบเสน้ ตรงท่มี องภาพเราเรียกวา่ “เส้นฉาย” (Projection) ดังรปู ที่ 5.2 และรปู ท่ี 5.3

รปู ที่ 5.2 ลักษณะการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1

111

รปู ท่ี 5.3 วิธีการมองภาพฉายมุมท่ี 1
จากรูปท่ี 5.3 เมื่อเปดิ ฉากรบั ภาพออกโดยให้ฉากรบั ภาพในระนาบดง่ิ อยู่ตาแหน่งเดิม สว่ นฉากรบั ภาพ
ระนาบขา้ งให้เปิดออกด้านขวามือ และฉากรบั ภาพระนาบนอนใหเ้ ปดิ ลงด้านลา่ ง จะไดภ้ าพฉาย 3 ดา้ น
ภาพทอี่ ยูร่ ะนาบดิ่งจะเปน็ ภาพด้านหนา้ (Front View) ซง่ึ เป็นภาพหลกั ของภาพฉาย ดงั นัน้ ในการเขียน
ภาพฉายตอ้ งเขียนภาพดา้ นหนา้ กอ่ นเสมอ ภาพทอ่ี ยูร่ ะนาบขา้ งจะเป็นภาพดา้ นข้าง (Side View) และ
ภาพทีอ่ ยูร่ ะนาบนอนจะเป็นภาพด้านบน (Top View) ดังรปู ที่ 5.4

รูปที่ 5.4 ภาพฉาย 3 ดา้ นท่ีเกิดจากการมองภาพมมุ ท่ี 1
2. หลักเกณฑใ์ นการเขยี นภาพฉายมมุ ท่ี 1

การเขยี นภาพฉายโดยทว่ั ไปจะนิยมเขยี นเพียง 3 ด้าน คือภาพดา้ นหนา้ ภาพดา้ นข้างและภาพ
ด้านบน ซง่ึ สามารถใหร้ ายละเอยี ดของรปู ร่างและกาหนดขนาดของมติ ิได้ครบท้งั หมด ดงั นนั้ เพื่อใหเ้ กดิ
ความเข้าใจทดี่ ีขน้ึ ควรยึดหลักเกณฑใ์ นการเขียนภาพฉายมมุ ท่ี 1 ดังน้ี

1. การเลอื กภาพด้านหนา้ ควรเลือกด้านทสี่ ามารถเหน็ รายละเอยี ดของแบบงานชัดเจนมากทีส่ ดุ
2. ทศิ ทางการมองภาพจากภาพดา้ นหน้า ดา้ นขา้ งและดา้ นบนใหม้ องจากทางซา้ ยมือหรอื มอง
ภาพแบบเวียนซา้ ยหรอื ตามเข็มนาฬิกา

112

3. ภาพดา้ นขา้ งซา้ ยตอ้ งอยดู่ า้ นขวาของภาพด้านหน้า และต้องอยใู่ นแนวระนาบเดียวกัน
(ระนาบนอน)

4. ภาพด้านบนตอ้ งอยู่ด้านล่างของภาพด้านหน้าและต้องอยใู่ นแนวระนาบเดียวกัน (ระนาบต้ัง)
5. ความยาวของภาพดา้ นบน ตอ้ งยาวเท่ากับความยาวของภาพด้านหน้า
6. ความสงู ของภาพดา้ นขา้ ง ตอ้ งสูงเท่ากับความสูงของภาพด้านหนา้
7. ความกว้างของภาพด้านบน ต้องกวา้ งเท่ากับความกว้างของภาพด้านข้าง

รูปที่ 5.6 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาพฉายทั้ง 3 ดา้ น
3. การเขยี นภาพฉายมุมที่ 3 (Third Angle Projection)

การเขยี นภาพฉายมุมที่ 3 เป็นการเขยี นภาพฉายที่จัดอยใู่ นระบบ ISO เชน่ เดยี วกันกับภาพฉาย
มมุ ที่ 1 แต่เปน็ มาตรฐาน ISO ระบบ A (ISO Method A) หรือท่เี ราเรียกว่า “ภาพฉายระบบอเมรกิ นั ”
สาหรับวธิ ีการเขยี นภาพฉายมุมที่ 3 ชนิ้ งานจะถกู วางไว้ในจตุภาคแดรนท่ี 3 ภาพฉายที่เกิดขึ้นจะตรงข้าม
กับการมองภาพมมุ ท่ี 1 เนื่องจากภาพทเ่ี ห็นจะถกู วางท่ีฉากรบั ภาพด้านเดยี วกนั กับตาแหนง่ ที่มอง ดงั รปู ท่ี
5.7 และรปู ที่ 5.8

113

รูปท่ี 5.7 ลักษณะการมองภาพฉายมมุ ที่ 3

รปู ท่ี 5.8 วิธกี ารมองภาพฉายมมุ ที่ 3
จากรูปที่ 5.8 เมอ่ื เปิดฉากรบั ภาพออกโดยให้ฉากรบั ภาพในระนาบดงิ่ อยู่ตาแหน่งเดมิ สว่ นฉาก
รับภาพระนาบข้างให้เปดิ ออกด้านขวามอื และฉากรับภาพระนาบนอนให้เปิดขึ้นด้านบน จะได้ภาพฉาย 3
ด้าน ภาพฉายที่อยใู่ นระนาบดง่ิ จะเป็นภาพดา้ นหน้า (Front View) ภาพฉายท่ีอย่รู ะนาบต้ังจะเป็นภาพ
ด้านข้าง (Side View) และภาพฉายทอี่ ย่รู ะนาบนอนจะเปน็ ภาพดา้ นบน (Top View) ดังรูปท่ี 5.9

รปู ที่ 5.9 ภาพฉาย 3 ดา้ นทเ่ี กิดจากการมองภาพมมุ ที่ 3
4. หลกั การเขยี นภาพฉายมุมที่ 3

หลักเกณฑ์การเขยี นภาพฉายมุมที่ 3 จะมลี ักษณะคล้ายกบั การเขียนภาพฉายมมุ ท่ี 1 แตจ่ ะขอ้
แตกต่างกันทว่ี ธิ กี ารมองภาพหรอื การพลิกภาพ หลกั เกณฑใ์ นการเขยี นภาพฉายมมุ ที่ 3 มดี ังนี้

1. การเลือกภาพดา้ นหนา้ ควรเลือกดา้ นทีส่ ามารถเห็นรายละเอยี ดของแบบงานชัดเจนมากทส่ี ุด
2. ทศิ ทางการมองภาพจากภาพดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ งและด้านบนให้มองจากทางขวามอื หรือมอง
ภาพแบบเวยี นขวาหรือทวนเข็มนาฬกิ า
3. ภาพดา้ นข้างขวาต้องอยดู่ า้ นขวาของภาพด้านหนา้ และตอ้ งอยใู่ นแนวระนาบเดยี วกัน
(ระนาบนอน)
4. ภาพด้านบนตอ้ งอยดู่ า้ นบนของภาพด้านหน้าและตอ้ งในแนวระนาบเดยี วกนั (ระนาบต้ัง)

114

5. ความยาวของภาพด้านบน ต้องยาวเท่ากบั ความยาวของภาพด้านหน้า
6. ความสูงของภาพดา้ นข้าง ต้องสงู เท่ากับความสูงของภาพด้านหนา้
7. ความกว้างของภาพดา้ นบน ต้องกว้างเทา่ กับความกวา้ งของภาพดา้ นขา้ ง

รปู ที่ 5.10 การเลือกภาพดา้ นหน้า ทิศทางการมองภาพ รปู ที่ 5.11 ความสัมพันธร์ ะหว่างภาพฉายทง้ั 3 ดา้ น

จากการเขยี นภาพฉายทง้ั 2 ระบบ เม่อื นาไปเขียนแบบช้นิ งานเดียวกนั จะมคี วามแตกต่างกนั ท่ี
วิธีการเขียนภาพเท่านั้น ดังนัน้ ถ้าเขยี นภาพฉายทั้ง 2 ระบบในกระดาษแผน่ เดียวกัน ควรเขียนสัญลกั ษณ์ของ
ระบบกากบั ไว้บริเวณแบบงานทีเ่ ขยี น ดงั รปู ที่ 5.12 แตถ่ ้าเขยี นภาพฉายระบบเดียวกันท้ังหมด กไ็ มต่ ้องเขียน
สัญลักษณก์ ากับไว้ในแบบงาน อาจจะเขยี นสัญลกั ษณข์ องภาพฉายกากับไว้ในตารางรายการของกระดาษเขียน
แบบกไ็ ด้

115

รปู ที่ 5.12 แสดงการเปรียบเทียบและการเขยี นภาพฉายมมุ ท่ี 1 และมมุ ท่ี 3
บทสรปุ

ภาพฉายเปน็ ภาพทม่ี จี ุดม่งุ หมายในการแสดงภาพชิ้นงานแบบ 2 มิติ ซึ่งเป็นภาพที่ใช้สาหรับการ
เขยี นแบบสง่ั งานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากเป็นภาพท่ีสามารถเขียนได้ต้ังแต่ภาพด้านเดียว
จนถึงภาพ 6 ดา้ น ข้นึ อยกู่ ับความซบั ซอ้ นของช้ินงานนั้น ๆ รวมทั้งยังเป็นภาพที่สามารถกาหนดขนาดของ
มติ ิและรายละเอียดของแบบงานได้ครบถว้ นที่สุด

116

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 5

รหสั วิชา 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1
ชอ่ื หน่วย การเขียนภาพฉาย

เร่ือง การเขยี นภาพฉาย จานวนชว่ั โมงสอน 25-32

คาสงั่ จากภาพสามมิติทก่ี าหนดให้ จงเขยี นเคร่อื งหมาย X ในวงกลมของภาพฉาย 3 ดา้ นที่ถกู ตอ้ งท่ีสดุ

117

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 5

รหสั วิชา 20102-2001 ช่อื วชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ช่อื หน่วย การเขียนภาพฉาย

เรอื่ ง การเขยี นภาพฉาย จานวนช่วั โมงสอน 25-32

คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปนี้
คาสง่ั จากภาพสามมิตแิ ละภาพฉายท่ีกาหนดให้ จงเขยี นตวั อกั ษรจากภาพไอโซเมตรกิ ลงในภาพฉายใน
ตาแหน่งที่ตรงกนั

118

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 5

รหัสวิชา 20102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ช่ือหนว่ ย การเขยี นภาพฉาย

เรอื่ ง การเขียนภาพฉาย จานวนชว่ั โมงสอน 25-32

119

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 5

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอ่ื วิชา เขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1
ช่อื หน่วย การเขียนภาพฉาย

เรอ่ื ง การเขียนภาพฉาย จานวนชัว่ โมงสอน 25-32

คาสั่ง จากภาพสามมิติ A – E ทกี่ าหนดให้ จงหาภาพด้านหนา้ ด้านขา้ งและภาพด้านบน และเขยี น
หมายเลขลงในตารางด้านล่าง

120

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5

รหสั วิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นภาพฉาย

เร่ือง การเขียนภาพฉาย จานวนช่ัวโมงสอน 25-32

คาสั่ง จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ดา้ นทกี่ าหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายดา้ นท่ีเหลือใหถ้ ูกต้อง

121

แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 5

รหสั วิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1
ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นภาพฉาย

เร่ือง การเขียนภาพฉาย จานวนช่ัวโมงสอน 25-32

คาสั่ง จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ดา้ นทกี่ าหนดให้ จงเขยี นแบบภาพฉายดา้ นท่ีเหลือใหถ้ ูกต้อง

122

เฉลยแบบฝึกหดั หน่วยที่ 5

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ชื่อหน่วย การเขียนภาพฉาย

เรือ่ ง การเขียนภาพฉาย จานวนช่ัวโมงสอน 25-32

คาสั่ง จากภาพสามมิติทก่ี าหนดให้ จงเขียนเครอื่ งหมาย X ในวงกลมของภาพฉาย 3 ด้านท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุด

123

เฉลยแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 5

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ช่ือหน่วย การเขียนภาพฉาย

เรือ่ ง การเขียนภาพฉาย จานวนชั่วโมงสอน 25-32

คาส่งั จากภาพสามมิติและภาพฉายทก่ี าหนดให้ จงเขยี นตวั อกั ษรจากภาพไอโซเมตริกลงในภาพฉายใน
ตาแหนง่ ทตี่ รงกัน

124

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 5

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชือ่ หน่วย การเขียนภาพฉาย

เร่อื ง การเขยี นภาพฉาย จานวนช่วั โมงสอน 25-32

125

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 5

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่ือวิชา เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
ช่อื หนว่ ย การเขยี นภาพฉาย

เร่ือง การเขียนภาพฉาย จานวนช่ัวโมงสอน 25-32

คาสงั่ จากภาพสามมิติ A – E ท่กี าหนดให้ จงหาภาพด้านหน้า ด้านขา้ งและภาพด้านบน และเขยี น
หมายเลขลงในตารางดา้ นล่าง

126

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5

รหัสวิชา 20102-2001 ชือ่ วชิ า เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชอื่ หน่วย การเขียนภาพฉาย

เร่ือง การเขยี นภาพฉาย จานวนชวั่ โมงสอน 25-32

คาสง่ั จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ดา้ นทกี่ าหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายดา้ นท่ีเหลือให้ถูกต้อง

127

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5

รหัสวิชา 20102-2001 ชือ่ วชิ า เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชอื่ หน่วย การเขียนภาพฉาย

เร่ือง การเขยี นภาพฉาย จานวนชวั่ โมงสอน 25-32

คาสง่ั จากภาพสามมิติและภาพฉาย 2 ดา้ นทกี่ าหนดให้ จงเขียนแบบภาพฉายดา้ นท่ีเหลือให้ถูกต้อง

128

ใบมอบหมายงานหน่วยท่ี 5 (Assignment Sheet)

รหัสวชิ า 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1
ชอื่ หน่วย การเขยี นภาพฉาย

เรอื่ ง การเขียนภาพฉาย จานวนชวั่ โมงสอน 25-32

1. จุดประสงค์การมอบหมายงาน
1.1 เพ่ือใหร้ ู้หลักการอ่านแบบและฉายภาพ
1.2 เพอื่ เขียนภาพฉายมุมมองที่ 1 ไดถ้ กู ตอ้ ง
1.3 เพอ่ื เขยี นภาพฉายมุมมองท่ี 3 ได้ถกู ต้อง

2. แนวทางการปฏิบัติงาน
2.1 รู้หลกั การอา่ นแบบและฉายภาพ
2.2 เขยี นภาพฉายมุมมองที่ 1 ไดถ้ ูกตอ้ ง
2.3 เขียนภาพฉายมมุ มองที่ 3 ได้ถูกต้อง

3. แหลง่ คน้ ควา้
ตวั อย่าง

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วิธีการอ่านแบบและฉายภาพ
4.2 วธิ กี ารเขยี นภาพฉายมุมมองที่ 1
4.3 วธิ ีการเขียนภาพฉายมุมมองที่ 3

5. กาหนดเวลาส่ง
สปั ดาหถ์ ัดไป

129

ใบงานหน่วยที่ 5 (Job Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขยี นแบบเคร่อื งมอื กล 1
ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นภาพฉาย

เร่อื ง การเขยี นภาพฉาย จานวนชัว่ โมงสอน 25-32

1. จุดประสงคท์ ั่วไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครอื่ งมือ/วัสดอุ ปุ กรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ข้อควรระวัง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานที่มอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วัดผล/ประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

129

แผนการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 6

รหสั วิชา 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1
ช่ือหนว่ ย การเขียนภาพ 3 มิติ

เรอ่ื ง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชั่วโมงสอน 33-44

1. สาระสาคญั
ภาพสามมิติเป็นภาพที่แสดงสัดส่วนของชิ้นงาน ในลักษณะที่คล้ายกับรูปทรงจริงของชิ้นงาน ซ่ึง

สามารถแสดงมิติไดท้ ัง้ 3 มติ ิในภาพเพียงภาพเดียว ทาให้ผู้อ่านแบบเขา้ ใจแบบได้งา่ ย แต่ไมส่ ามารถนาไปใช้
เป็นแบบทางานได้ เนื่องจากไม่สามารถกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ลงในภาพสามมิติได้ครบถ้วน โดย
ส่วนมากจะใช้ร่วมกบั ภาพฉาย เพ่อื ใหอ้ ่านแบบงานไดง้ ่ายขนึ้
2. งานประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

2.1 การเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric)
2.2 การเขียนลายออพลิก (oblique)
3. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
3.1 อธิบายความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิติได้
3.2 อธิบายลกั ษณะของภาพออพลิกได้
3.3 เขยี นภาพออบรกิ ตามมาตรฐานไดถ้ ูกต้อง
3.4 อธิบายภาพไอโซเมตริกได้
3.5 เขยี นภาพไอโซเมตริกตามมาตรฐานได้
4 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรยี นรู้)
4.1 จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป

เพ่ือให้รู้ความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิติ ลักษณะของภาพออบริก ภาพออบริกตาม
มาตรฐาน และภาพไอโซเมตรกิ

4.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
4.1 อธิบายความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิตไิ ด้
4.2 อธิบายลกั ษณะของภาพออบรกิ ได้
4.3 เขียนภาพออบริกตามมาตรฐานได้ถูกต้อง
4.4 อธบิ ายภาพไอโซเมตรกิ ได้
4.5 เขยี นภาพไอโซเมตริกตามมาตรฐานได้

5. สาระการเรียนรู้

*********เน้อื หาตามใบความรู้*********

130

6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ใชเ้ ทคนคิ การสอน แบบขน้ั ตอนการเรยี นรแู้ บบ MAIP

6.1 สัปดาห์ที่ 1

1. ขั้นสนใจ (M = Motivation)

1.1 ครชู ้แี จงการวดั ผลและประเมนิ ผลในวชิ าเขียนแบบเครอื่ งมอื กล 1

1.2 ครแู ละนักเรยี นสรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกันในการจดั การเรียนรวู้ ิชาเขียนแบบเครื่องมอื กล 1

1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธ์กิ อ่ นเรยี น

1.4 ครูสนทนากับผเู้ รียนเก่ยี วกับการเขยี นภาพ 3 มิติ เช่น ความหมายและจาแนกของ

ภาพ 3 มิติ ลักษณะของภาพออบรกิ ภาพออบรกิ ตามมาตรฐาน และภาพไอโซเมตรกิ

2. ขั้นศกึ ษาขอ้ มลู (I = Information)

2.1 ผเู้ รียนศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง การเขียนภาพ 3 มติ ิ

2.2 ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมใน เรอ่ื ง การเขยี นภาพ 3 มิติ

2.3 ครูสาธติ และยกตัวอยา่ งการเขียนภาพ 3 มิติ

2.4 ผู้เรยี นแบ่งกล่มุ เพื่อศกึ ษาและหาข้อสรปุ การเขยี นภาพ 3 มิติ

3. ข้ันพยายาม (A = Application)

3.1 ผู้เรยี นฝึกการเขียนภาพ 3 มิติ ความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิติ ลกั ษณะ

ของภาพออบรกิ ภาพออบริกตามมาตรฐาน และภาพไอโซเมตริก

3.2 ผเู้ รยี นและครูร่วมกันสรุปเน้อื หาวชิ าเขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1 เรอ่ื ง การเขยี นภาพ 3

มิติ เชน่ ความหมายและจาแนกของภาพ 3 มติ ิ ลักษณะของภาพออบรกิ ภาพออบริกตามมาตรฐาน

และภาพไอโซเมตรกิ

3.3 ผเู้ รียนทาแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ

4. ขัน้ สาเร็จผล (P = Progress)

4.1 ผู้สอนเฉลยแบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ และอธบิ ายเพม่ิ เติมเพื่อให้ผ้เู รียนเข้าใจ

เนอื้ หาวชิ ามากยิง่ ขน้ึ

7. สื่อการเรยี นรู้

7.1 หนังสือเรยี น 7.4 แบบฝกึ หัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสงั เกตพฤติกรรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลักฐานการเรียนรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

131

9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล

ลาดับ เครอื่ งมือการประเมิน วิธวี ดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผา่ น ไม่ผ่าน
1 แบบฝกึ หัด ตรวจแบบฝึกหัด ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ขอ้ ละ 1 คะแนน ขึ้นไป รอ้ ยละ 60

ถูก 1 คะแนน

ไมถ่ กู 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ข้นึ ไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
3 แบบประเมนิ ช้นิ งาน ตรวจประเมนิ ช้ินงาน รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
4 แบบทดสอบปฏิบัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบัติ รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
5 แบบสังเกตพฤติกรรม ตรวจแบบสงั เกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ดี 4 คะแนน
ประสงค์ตามค่านยิ ม 12 พอใช้ 3 คะแนน
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรับปรุง 1 คะแนน
10. แหลง่ การเรียนรู้
10.1 ห้องสมดุ
10.2 ห้องอินเตอรเ์ น็ต

132

11. บันทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้
11.1 ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาทีพ่ บ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ……………………………………ผูส้ อน ลงชอื่ ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ

133

ใบความร้หู น่วยท่ี 6 (Information Sheet)

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครื่องมือกล 1
ช่ือหน่วย การเขียนภาพ 3 มติ ิ

เรอ่ื ง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนชั่วโมงสอน 33-44

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. จดุ ประสงค์ท่ัวไป
เพ่ือใหร้ ู้ความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิติ ลักษณะของภาพออบรกิ ภาพออบรกิ ตามมาตรฐาน

และภาพไอโซเมตริก
2. จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

2.1 อธบิ ายความหมายและจาแนกของภาพ 3 มิตไิ ด้
2.2 อธิบายลักษณะของภาพออบริกได้
2.3 เขียนภาพออบริกตามมาตรฐานไดถ้ ูกตอ้ ง
2.4 อธบิ ายภาพไอโซเมตรกิ ได้
2.5 เขยี นภาพไอโซเมตรกิ ตามมาตรฐานได้
เนื้อหาสาระ หน่วยที่ 6 เรอ่ื ง การเขียนภาพ 3 มติ ิ
การเขียนภาพ 3 มติ ิ
1. ชนดิ ของภาพสามมติ ิ (Pictorial View Type)
1.1 ภาพไอโซเมตริก (Isometric) เป็นภาพสามมิตทิ น่ี ิยมใชใ้ นการเขียนแบบเครอ่ื งกลมากท่ีสดุ

สามารถเขียนได้ง่ายเพราะมีมมุ เอียงของแกน 30 ทัง้ 2 ด้าน ขนาดความยาวทกุ ด้านเทา่ กับขนาดความ
ยาวจริง แตม่ ีข้อเสยี คอื งานมีขนาดใหญก่ ินเนื้อทีม่ าก ดังรูปท่ี 6.1

134

รปู ที่ 6.1 ลกั ษณะของภาพไอโซเมตรกิ

1.2 ภาพออบลกิ (Oblique) เป็นภาพสามมติ ทิ ่ีนิยมเขียนเช่นเดยี วกนั เพราะสามารเขยี นไดง้ ่าย
และรวดเร็ว เน่อื งจากภาพดา้ นหน่งึ จะวางอยู่บนแนวระดบั สว่ นอีกด้านหน่งึ เอียงมมุ 45 ไปทางดา้ นซา้ ย
หรอื ดา้ นขวากไ็ ด้ ภาพออบลิกสามารถเขียนได้ 2 แบบ ดังน้ี

1. คาวาเลียร์ (Cavalier) เป็นภาพออบลิกท่ีมีความลึกของแบบงานเท่ากบั ขนาดจรงิ ของ
ชน้ิ งาน ซึ่งเป็นแบบทไี่ ม่นิยมใชใ้ นงานเขยี นแบบ เพราะขนาดและรูปทรงผิดจากความเป็นจริงมากและใช้
เนื้อท่ีในการเขียนมากข้ึนดว้ ย ดงั รปู ท่ี 6.2

2. คาบิเนต (Cabinet) เปน็ ภาพออบลกิ ท่มี ีความลกึ ของแบบงานเพยี งคร่ึงหนึ่งของขนาดจริง
ซึง่ เปน็ แบบท่นี ิยมใช้มากกว่าแบบคาวาเลยี รเ์ พราะใหภ้ าพท่เี หมอื นจรงิ มากกวา่ และใช้พ้ืนท่ใี นการเขียนแบบ
นอ้ ยกว่า ดังรูปที่ 6.3

รปู ท่ี 6.2 ภาพออบลกิ แบบคาวาเลยี ร์ รปู ที่ 6.3 ภาพออบลิกแบบคาบิเนต

1.3 ภาพไตรเมตริก (Trimetric) เป็นภาพสามมิติทม่ี อี ตั ราสว่ นความกว้างและความยาวตอ่ ขนาด

ความจริงของชน้ิ งานไมเ่ ท่ากัน สว่ นความสูงมีขนาดเท่ากับความสูงจรงิ เปน็ ภาพสามมิติทีถ่ ือว่ามีความ

สวยงามและมลี กั ษณะคลา้ ยความเปน็ จรงิ ท่สี ดุ แต่เขียนยากเพราะมีมมุ เอยี งของแกน 12 และ 23 และมี
อตั ราส่วนความยาวในแต่ละด้านไมเ่ ท่ากันอีกด้วย ดงั รปู ท่ี 6.4

135

รปู ที่ 6.4 ลักษณะของภาพไตรเมตริก รูปท่ี 6.5 ลกั ษณะของภาพไดเมตรกิ

1.4 ภาพไดเมตริก (Diametric) เป็นภาพสามมิติทม่ี ลี ักษณะคลา้ ยกับภาพถ่าย มีความสวยงาม

และคลา้ ยกับความเปน็ จริงมากทส่ี ดุ ทาใหง้ ่ายต่อการอา่ นแบบ แต่เขยี นแบบยากเน่ืองจากมมุ ของแนวแกน

เอยี งเท่ากับ 7 และ 42 ซ่งึ จะใช้เวลาในการเขียนมาก สว่ นความลกึ ของภาพจะเขยี นเพียงครงึ่ หนึง่ ของ
ความลึกจรงิ ของชิ้นงานเท่านนั้ ดังรปู ที่ 6.5

2. การเขียนภาพไอโซเมตรกิ
2.1 แกนไอโซเมตริกและเส้นไอโซเมตริก (Isometric Axis and Isometric Lines) แกนไอโซ

เมตริกประกอบดว้ ย 3 แกน ซ่ึงแกนหน่ึงจะอยู่ในแนวดงิ่ และอีก 2 แกน จะทามุม 30 กับแนวระดบั ดงั น้นั
เส้นขอบรปู ของชน้ิ งานท่ีขนานกบั แกนไอโซเมตริก จะเรียกวา่ เส้นไอโซเมตริก ส่วนเส้นทีเ่ อยี งหรอื เสน้ ท่ไี ม่
อยู่ในแกนไอโซเมตรกิ เรียกวา่ เส้นนอกแกนไอโซเมตรกิ (Non Isometric Lines) ดงั รูปท่ี 6.6

รูปที่ 6.6 แกนไอโซเมตรกิ และเสน้ ไอโซเมตรกิ

2.2 ข้ันตอนการเขยี นภาพไอโซเมตริก (Step in Marking an Isometric Drawing) การเขียน
ภาพไอโซเมตริกจะเขยี นเป็นลาดบั ขนั้ โดยเริม่ จากการร่างแกนไอโซเมตรกิ และรูปกลอ่ งขนึ้ มาก่อน จากน้ัน

136
จึงรา่ งแบบจากขนาดความกว้าง ความยาวและความสูงทั้งหมดของชิน้ งานในส่วนท่เี หน็ ชดั เจนและส่วนท่ี
เขยี นงา่ ยก่อน แล้วจึงเขียนสว่ นอืน่ ๆ จนครบตามรายละเอยี ดที่กาหนดจากภาพฉาย ดงั รปู ท่ี 6.7

รปู ที่ 6.7 ลาดับข้ันตอนการเขยี นภาพไอโซเมตริก
2.3 การสร้างวงรีในภาพภาพไอ
โซเมตริก (Ellipse in Isometric Drawing) ชน้ิ งานทีม่ ลี กั ษณะเปน็ รูปทรงกระบอกหรืองานทม่ี ีหนา้ ตัดกลม
เชน่ เพลา รูกลม ส่วนโค้ง เมอื่ เขียนเป็นภาพไอโซเมตรกิ หนา้ ตดั ของทรงกระบอกหรอื รกู ลมนั้น จะเอยี งมุม
30 ทาให้มองเหน็ เป็นรปู วงรี การสร้างวงรีในภาพสามมิติ สามารถสรา้ งโดยใชจ้ ดุ ศนู ยก์ ลาง 4 จดุ ซงึ่ เป็น
วธิ ีท่ีนยิ มเขยี นมากท่ีสุดเพราะสรา้ งไดง้ ่าย ดงั ตวั อย่างการสร้างวงรี รปู ท่ี 6.8 และ 6.9
ขน้ั ตอนสร้างวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ

1. สร้างรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนมุม 30 ให้ขนาดแต่ละด้านมีขนาดเท่ากับเส้นผ่านศูนย์
กลางของวงกลม กาหนดให้จุดที่ 1, 2, 3, และ 4 เป็นจุดแบ่งคร่ึงด้านจุด O และจุด P เป็นมุมป้านของรูป
สเี่ หลย่ี ม

2. จากมมุ ปา้ น O และ P ลากเส้นไปแบ่งครึ่งดา้ นตรงข้ามคือจดุ ที่ 2, 3 และ 1, 4 จะได้จดุ ตัด
Q และ R

137

3. ใช้จุด Q และ R เปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางเขียนส่วนโค้งเลก็
4. ใช้จุด O และ P เปน็ จุดศูนย์กลางเขียนสว่ นโคง้ ใหญ่

รปู ท่ี 6.8 ลกั ษณะของวงรใี นภาพไอโซเมตริก

รูปที่ 6.9 แสดงลาดับขน้ั สร้างวงรใี นภาพไอโซเมตริก
3. การเขยี นภาพออบลิก

3.1 เส้นแกนออบลกิ และมมุ มองของภาพออบลกิ (Oblique Axis and Oblique View) เส้น
แกนออบลิกจะมีแกน 2 แกนตง้ั ฉากกนั ส่วนอกี แกนหนึ่งจะทามมุ เอียง 45 กบั แกนระดบั ส่วนมุมมองภาพ
ออบลกิ ทใี่ ช้ในการวางตาแหนง่ ภาพสามารถวางได้หลายทิศทาง ขึน้ อยู่กับมุมมองและส่วนที่ต้องการแสดง
รายละเอียดของชน้ิ งาน ซ่ึงสว่ นใหญ่จะนิยมใชอ้ ยู่ 4 มุมมอง ดังรปู ท่ี 6.10

138

รูปที่ 6.10 แสดงรปู แบบของแกนออบริกและการวางตาแหน่งของภาพออบริก
3.2 ข้ันตอนการเขียนภาพออบลิก (Step in Oblique Drawing) การเขียนภาพออบลิกมี
ขั้นตอนการเขียนเช่นเดยี วกันกับภาพไอโซเมตริก จะแตกต่างกนั ท่ีลกั ษณะของเส้นแกนเท่าน้ัน โดยเริ่มจาก
การรา่ งแกนออบลกิ และภาพดา้ นหน้า จากนั้นจึงรูปกล่องสี่เหล่ียมตามขนาดความหนา แล้วจึงร่างส่วนอื่น
ๆ จนครบตามรายละเอยี ดท่ีกาหนดจากแบบงาน จงึ เขียนเส้นขอบรปู ดังรปู ท่ี 6.11

139

รูปที่ 6.11 แสดงตวั อย่างการเขียนภาพออบลิก
3.3 การสร้างวงรีในภาพออบลกิ (Ellipse in Oblique) ภาพออบลกิ ท่ีสร้างรูปวงรีได้นั้นจะต้อง
เป็นภาพออบลิกท่ีเขียนแบบคาวาเลียร์ การวางแนวในการสร้างรูปวงรีในภาพออบลิกมี 2 แบบคือ วงรี
ด้านข้างและวงรีดา้ นบน ข้นั ตอนการสร้างวงรีในภาพออบลิก ดังรูปท่ี 6.12 และ รูปที่ 6.13
ข้นั ตอนการสร้างวงรีในภาพออบลิก
1. สรา้ งรูปส่เี หล่ยี มขนมเปยี กปูนให้มขี นาดความยาว และความกวา้ ง เท่ากับเส้นผา่ นศนู ย์กลาง
ของวงกลม กาหนดใหจ้ ุดที่ 1, 2, 3, และ 4 เปน็ จุดแบง่ ครึ่งของส่เี หลยี่ ม

2. ทจ่ี ุดที่ 1 และจดุ ท่ี 3 ลากเส้นตง้ั ฉากใหเ้ ลยรูปสเ่ี หล่ยี มพอประมาณ
3. ทจ่ี ดุ ท่ี 2 และจุดที่ 4 ลากเส้นตัง้ ฉากใหเ้ ลยรูปส่เี หลี่ยมจะไดจ้ ดุ ตดั O, P, Q, และ R
4. ใชจ้ ุด Q และจุด R เป็นจดุ ศนู ย์กลางของสว่ นโค้งเล็ก และใช้จุด O และจดุ P เปน็ จดุ
ศนู ยก์ ลางของส่วนโค้งใหญ่ จะได้วงรใี นภาพออบลกิ ตามขนาดต้องการ

รปู ท่ี 6.12 ลกั ษณะของวงรใี นภาพออบลกิ

140

รูปที่ 6.13 ขนั้ ตอนการสร้างวงรใี นภาพออบลิก

4. การกาหนดขนาดภาพสามมติ ิ (Pictorial Dimensioning)
ในการเขียนภาพสามมติ ิ กจ็ ะตอ้ งกาหนดขนาดเช่นเดยี วกันกบั การเขยี นภาพฉาย แตม่ ขี ้อควร

ระวังในการกาหนดขนาดในภาพสามติ ิคือ ขนาดความลึกของภาพสามิติบางชนดิ ทเี่ ขียนโดยไม่ได้ใช้ความลึก
จรงิ ของชนิ้ งาน การกาหนดขนาดความลกึ จะต้องกาหนดขนาดจรงิ ของช้นิ งานเท่านนั้ ไม่ใชข่ นาดที่นามา
เขียนแบบ การกาหนดขนาดภาพสามิติมหี ลกั การท่สี าคญั ดังนี้

1. การกาหนดขนาดจะต้องกาหนดดา้ นทเ่ี ห็นได้ชัดเจนที่สุด
2. เสน้ ชว่ ยกาหนดขนาด (Extension Line) ตอ้ งลากออกจากเสน้ ขอบรปู ที่ต้องการกาหนดขนาด
3. เส้นกาหนดขนาด (Dimension Line) ต้องขนานกบั เส้นแกนของภาพสามมติ ิ เขยี นหวั ลูกศร
แบบปลายปิดระบายดาทบึ ท่ปี ลายเสน้ ทงั้ สองข้าง (ในบางกรณีอาจมหี ัวลกู ศรข้างเดียวกไ็ ด้)
4. การกาหนดขนาดความลกึ ของรู และความสูงของทรงกระบอก จะตอ้ งกาหนดจากศนู ย์กลาง
ของรแู ละทรงกระบอก
5. การกาหนดขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางของรูและทรงกระบอก เส้นกาหนดขนาดต้องขนานกบั เสน้
แกนของภาพสามมติ ิ
6. การเขยี นตวั เลขกาหนดขนาดจะต้องเขยี นใหอ้ ่านได้จากทางขวามอื และเขียนไวเ้ หนอื เส้น
กาหนดขนาดประมาณ 1-2 มม.
7. การกาหนดขนาดในภาพสามมิติ บางครัง้ อาจต้องแสดงตาแหน่งรูเจาะหลาย ๆ รู ให้ใช้เสน้ ช้ี
โยงกาหนดขนาด เชน่ 5-2Holes, 4-M6 และ 6.5Thru C’bore 11-6Deep เปน็ ตน้
8. การกาหนดขนาดรัศมขี องสว่ นโค้ง วงกลม จะต้องเขียนตัว R กากับหนา้ ตวั กาหนดขนาดด้วย

141
รูปที่ 6.14 ตัวอยา่ งการกาหนดขนาดภาพสามมิติ

142

แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 6

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชื่อหน่วย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เร่ือง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชว่ั โมงสอน 33-44

คาสง่ั จงเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ พรอ้ มกาหนดขนาดให้สมบูรณด์ ว้ ยมาตราส่วน 1:1 (กาหนดให้ 1 ช่อง
ตาขา่ ยเท่ากับ 10 มม.)

143

แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 6

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชื่อหน่วย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เร่ือง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชว่ั โมงสอน 33-44

คาสง่ั จงเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ พรอ้ มกาหนดขนาดให้สมบูรณด์ ว้ ยมาตราส่วน 1:1 (กาหนดให้ 1 ช่อง
ตาขา่ ยเท่ากับ 10 มม.)

144

แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 6

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่ือวชิ า เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1
ชอ่ื หน่วย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เรอ่ื ง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนช่วั โมงสอน 33-44

คาสั่ง จงเขยี นแบบภาพออบลกิ แบบคาวาเลยี ร์ พรอ้ มกาหนดขนาดให้สมบูรณ์ด้วยมาตราส่วน 1:1
(กาหนดให้ 1 ชอ่ งตาข่ายเท่ากบั 10 มม.)

145

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 6

รหัสวชิ า 20102-2001 ชอื่ วิชา เขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย การเขียนภาพ 3 มติ ิ

เรอ่ื ง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชว่ั โมงสอน 33-44

คาส่ัง จงเขยี นแบบภาพออบลกิ แบบคาบิเนต พร้อมกาหนดขนาดให้สมบรู ณด์ ้วยมาตราส่วน 1:1
(กาหนดให้ 1 ช่องตาขา่ ยเท่ากับ 10 มม.)

146

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 6

รหัสวิชา 20102-2001 ชอื่ วิชา เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1
ชื่อหน่วย การเขยี นภาพ 3 มิติ

เรอื่ ง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชวั่ โมงสอน 33-44

คาสงั่ จากแบบงานภาพฉาย 3 ด้าน จงเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบริกแบบคาบเิ นตในกระดาษ
เขียนแบบ ด้วยมาตราส่วน 1:1

ไอโซเมตริก

ออบรกิ

147

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 6

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1

ช่อื หนว่ ย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เรอ่ื ง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนชั่วโมงสอน 33-44

คาส่ัง จงเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ พร้อมกาหนดขนาดให้สมบรู ณ์ด้วยมาตราสว่ น 1:1 (กาหนดให้ 1 ช่อง
ตาข่ายเทา่ กับ 10 มม.)

148

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 6

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1
ช่อื หนว่ ย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เรอ่ื ง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนชั่วโมงสอน 33-44

คาส่ัง จงเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ พร้อมกาหนดขนาดให้สมบรู ณ์ด้วยมาตราสว่ น 1:1 (กาหนดให้ 1 ช่อง
ตาข่ายเทา่ กับ 10 มม.)

149

เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 6

รหัสวชิ า 20102-2001 ชือ่ วิชา เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1
ช่ือหน่วย การเขยี นภาพ 3 มิติ

เรอ่ื ง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนช่ัวโมงสอน 33-44

คาส่ัง จงเขยี นแบบภาพออบลกิ แบบคาวาเลยี ร์ พร้อมกาหนดขนาดให้สมบรู ณ์ดว้ ยมาตราส่วน 1:1
(กาหนดให้ 1 ช่องตาข่ายเทา่ กบั 10 มม.)


Click to View FlipBook Version