The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 04:06:50

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

150

เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 6

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ช่ือหนว่ ย การเขยี นภาพ 3 มิติ

เรื่อง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชัว่ โมงสอน 33-44

คาสั่ง จงเขียนแบบภาพออบลิกแบบคาบิเนต พร้อมกาหนดขนาดให้สมบรู ณ์ด้วยมาตราส่วน 1:1
(กาหนดให้ 1 ชอ่ งตาขา่ ยเท่ากบั 10 มม.)

151

เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 6

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1
ชอื่ หนว่ ย การเขียนภาพ 3 มิติ

เรอื่ ง การเขยี นภาพ 3 มิติ จานวนชว่ั โมงสอน 33-44

คาสั่ง จากแบบงานภาพฉาย 3 ดา้ น จงเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกและภาพออบลกิ แบบคาบิเนตในกระดาษ
เขียนแบบ ดว้ ยมาตราส่วน 1:1

ไอโซเมตริก

ออบลกิ

152

ใบมอบหมายงานหนว่ ยที่ 6 (Assignment Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ชอ่ื หน่วย การเขียนภาพ 3 มิติ

เรือ่ ง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนชว่ั โมงสอน 33-44

1. จุดประสงคก์ ารมอบหมายงาน
1.1 เพือ่ เขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric)
1.2 เพื่อเขยี นลายออพลกิ (oblique)

2. แนวทางการปฏิบตั งิ าน
2.1 เขยี นภาพไอโซเมตรกิ (Isometric) ที่กาหนดให้
2.2 เขยี นลายออพลกิ (oblique) ทีก่ าหนดให้

3. แหลง่ คน้ ควา้
ตัวอยา่ ง , หนงั สอื เรียน

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วิธีการเขียนภาพไอโซเมตรกิ (Isometric)
4.2 วธิ ีการเขยี นลายออพลกิ (oblique)

5. กาหนดเวลาสง่
สัปดาห์ถัดไป

153

ใบงานหนว่ ยท่ี 6 (Job Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเครอื่ งมอื กล 1
ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นภาพ 3 มติ ิ

เรื่อง การเขียนภาพ 3 มิติ จานวนช่ัวโมงสอน 33-44

1. จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครอ่ื งมือ/วสั ดอุ ปุ กรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ขอ้ ควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานทีม่ อบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วดั ผล/ประเมินผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

152

แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 7
รหัสวิชา 20102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมอื กล 1

ช่ือหนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรื่อง ภาพสเกตซ์ จานวนชวั่ โมงสอน 45-52

1. สาระสาคญั

การสเกตซ์ภาพเปน็ การเขยี นแบบวิธีหนง่ึ ซ่งึ เปน็ การเขียนโดยไม่ใช้เคร่ืองมอื เขยี นแบบช่วยในการ

เขียน ใช้เพียงมือเปล่าและอุปกรณ์ที่จาเป็นคือดินสอ ยางลบและกระดาษเท่านั้น โดยสามารถสเกตซ์วัตถุ

และรูปทรงตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การลากเสน้ ตรง การสเกตซ์วงกลม การสเกตซ์วงรี การสเกตซ์ส่วนโค้ง การสเกตซ์

ภาพไอโซเมตริกและการสเกตซ์ภาพฉาย

2. งานประจาหน่วยการเรยี นรู้

2.1 สเกตซภ์ าพ 3 มติ ิ

2.2 สเกตซ์ภาพออพลกิ

2.3 สเกตซภ์ าพไอโซเมตริก

3. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้

3.1 แสดงความรู้เกี่ยวกบั ภาพสเกตซ์

3.2 สเกตซ์ภาพฉายได้ถกู ตอ้ ง

3.3 การสเกตซภ์ าพ 3 มิติ

3.4 สเกตซ์ภาพออพลิกได้

3.5 สเกตซภ์ าพไอโซเมตริกได้

4 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้)

4.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป

เพอ่ื แสดงความร้เู กี่ยวกับภาพสเกตซ์ สเกตซ์ภาพฉายได้ถูกต้อง สเกตซ์ภาพ 3 มิติได้ สเกตซ์

ภาพออพลิกได้ และสเกตซ์ภาพไอโซเมตรกิ ได้

4.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

4.1 แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ภาพสเกตซ์

4.2 สเกตซ์ภาพฉายไดถ้ กู ต้อง

4.3 การสเกตซ์ภาพ 3 มิติ

4.4 สเกตซภ์ าพออพลิกได้

4.5 สเกตซภ์ าพไอโซเมตริกได้

5. สาระการเรยี นรู้

153

*********เนือ้ หาตามใบความรู้*********

6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ใช้เทคนิคการสอน แบบขน้ั ตอนการเรียนรู้แบบ MAIP

6.1 สัปดาหท์ ่ี 1

1. ขน้ั สนใจ (M = Motivation)

1.1 ครูชี้แจงการวัดผลและประเมินผลในวิชาเขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1

1.2 ครูและนกั เรียนสรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกันในการจดั การเรยี นรวู้ ิชาเขยี นแบบเครื่องมือกล 1

1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธิก์ ่อนเรียน

1.4 ครูสนทนากับผู้เรียนเก่ียวกับภาพสเกตซ์ เช่น แสดงความรู้เก่ียวกับภาพสเกตซ์

สเกตซ์ภาพฉายได้ถกู ต้อง สเกตซภ์ าพ 3 มิติได้ สเกตซ์ภาพออพลกิ ได้ และสเกตซ์ภาพไอโซเมตรกิ ได้

2. ขัน้ ศกึ ษาข้อมลู (I = Information)

2.1 ผู้เรียนศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง ภาพสเกตซ์

2.2 ครอู ธบิ ายเน้ือหาเพิม่ เตมิ ใน เรอ่ื ง ภาพสเกตซ์

2.3 ครสู าธิตและยกตวั อย่างภาพสเกตซ์

2.4 ผูเ้ รียนแบ่งกลุม่ เพ่ือศกึ ษาและหาข้อสรปุ การเขยี นภาพสเกตซ์

3. ขน้ั พยายาม (A = Application)

3.1 ผู้เรยี นฝกึ สเกตซ์ภาพฉายไดถ้ ูกตอ้ ง สเกตซ์ภาพ 3 มติ ิได้ สเกตซ์ภาพออพลิกได้ และ

สเกตซ์ภาพไอโซเมตริกได้

3.2 ผู้เรียนและครูรว่ มกันสรปุ เนอ้ื หาวชิ าเขยี นแบบเคร่อื งมอื กล 1 เรอ่ื ง สเกตซ์ภาพฉาย

ได้ถกู ต้อง สเกตซภ์ าพ 3 มติ ิได้ สเกตซภ์ าพออพลิกได้ และสเกตซ์ภาพไอโซเมตริกได้

3.3 ผ้เู รียนทาแบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ

4. ข้นั สาเรจ็ ผล (P = Progress)

4.1 ผ้สู อนเฉลยแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ และอธิบายเพ่ิมเตมิ เพือ่ ให้ผ้เู รียนเขา้ ใจ

เน้อื หาวิชามากย่งิ ขึน้

7. สอื่ การเรียนรู้

7.1 หนงั สอื เรยี น 7.4 แบบฝึกหัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสงั เกตพฤติกรรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลกั ฐานการเรียนรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

154

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดบั เคร่อื งมอื การประเมิน วิธวี ดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผา่ น ไมผ่ ่าน
1 แบบฝึกหดั ตรวจแบบฝึกหัด ได้คะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ตา่ กวา่
ขอ้ ละ 1 คะแนน ขึ้นไป รอ้ ยละ 60

ถกู 1 คะแนน

ไมถ่ กู 0 คะแนน

(หรือตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
รอ้ ยละ 60 ต่ากว่า
(ตามความเหมาะสม) ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
3 แบบประเมนิ ชิ้นงาน ตรวจประเมินช้ินงาน รอ้ ยละ 60 ต่ากว่า
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
4 แบบทดสอบปฏิบัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบตั ิ ร้อยละ 60 ต่ากว่า
(ตามความเหมาะสม) ข้ึนไป ร้อยละ 60
ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
5 แบบสังเกตพฤติกรรม ตรวจแบบสงั เกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ 60 ตา่ กวา่
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60
ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ดี 4 คะแนน
ประสงค์ตามคา่ นยิ ม 12 พอใช้ 3 คะแนน
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรับปรุง 1 คะแนน
10. แหล่งการเรยี นรู้
10.1 ห้องสมุด
10.2 หอ้ งอินเตอรเ์ นต็

11. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
11.1 ขอ้ สรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

155

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาท่ีพบ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแก้ไขปญั หา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………………………ผู้สอน ลงช่อื ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ

156

ใบความร้หู น่วยท่ี 7 (Information Sheet)
รหสั วิชา 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1

ช่ือหน่วย ภาพสเกตซ์

เร่ือง ภาพสเกตซ์ จานวนชว่ั โมงสอน 45-52

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. จดุ ประสงค์ทั่วไป

เพ่อื แสดงความรู้เกี่ยวกับภาพสเกตซ์ สเกตซ์ภาพฉายไดถ้ กู ตอ้ ง สเกตซ์ภาพ 3 มิติได้ สเกตซ์ภาพออ

พลกิ ได้ และสเกตซ์ภาพไอโซเมตรกิ ได้

2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

2.1 แสดงความรู้เก่ียวกับภาพสเกตซ์

2.2 สเกตซ์ภาพฉายได้ถูกตอ้ ง

2.3 การสเกตซภ์ าพ 3 มติ ิ

2.4 สเกตซภ์ าพออพลิกได้

2.5 สเกตซ์ภาพไอโซเมตรกิ ได้

เนือ้ หาสาระ หนว่ ยที่ 7 เรอ่ื ง ภาพสเกตซ์

ภาพสเกตซ์
1. การสเกตซ์เสน้ ตรง (Line Sketching)

การสเกตซ์เส้นตรงให้จบั ดนิ สอห่างจากปลายดนิ สอมากกวา่ ปกตปิ ระมาณ 2 – 3 เท่า ปลาย

ดินสอจรดกบั จุดเริ่มตน้ และทามมุ ประมาณ 90 กบั แนวเสน้ ท่ีลาก โดยใชส้ ายตาเล็งแนวท่จี ะลากเสน้
จากจดุ เร่ิมตน้ ไปยังจุดปลายของเส้น และลากเสน้ ด้วยความเรว็ ด้วยแขนโดยใชศ้ อกและไหลช่ ่วยในการ

ควบคมุ เคลอ่ื นทีใ่ นการลากเส้น ดงั รปู ที่ 8.1 ถงึ 8.4

รปู ท่ี 8.1 ลกั ษณะการจับดินสอสาหรบั สเกตซภ์ าพ 157
ขวา รปู ท่ี 8.2 การสเกตซเ์ สน้ แนวนอนจากซา้ ยไป

รปู ที่ 8.3 การสเกตซ์เส้นแนวตั้งจากด้านบนลงดา้ นลา่ ง รปู ท่ี 8.4 การสเกตซ์เส้นเอียง
2. การสเกตซ์วงกลม (Circle Sketching)

การสเกตซ์รปู วงกลมสามารถสเกตซไ์ ด้หลายวิธี ดงั นี้
2.1 การสเกตซ์วงกลมจากส่เี หล่ยี มจัตรุ ัส เป็นการสเกตซว์ งกลมโดยเขียนรปู สี่เหลย่ี มจัตุรสั
ใหม้ ีขนาดเทา่ กบั ขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลางวงกลม ลากเส้นทแยงมมุ และกาหนดจดุ ทวี่ งกลมจะต้องลาก
ผา่ น เขยี นส่วนโคง้ ผา่ นจุดท่ีกาหนดด้วยเสน้ ร่าง จากนนั้ จงึ ลากด้วยเส้นเตม็ หนา ดงั รปู ท่ี 8. 5

รูปท่ี 8.5 การสเกตซว์ งกลมจากส่เี หลีย่ มจัตุรัส
2.2 การสเกตซว์ งกลมจากเส้นรศั มี เปน็ การสเกตซ์วงกลมโดยลากเส้นแนวระดับและแนวตง้ั
ตัดกัน ลากเส้นแบ่งคร่ึงมุมฉากตัดกันทจ่ี ดุ ศูนยก์ ลางจะได้เส้นรศั มีทั้งหมด 8 เสน้ กาหนดจุดท่ีวงกลม
จะต้องลากผา่ นบนเสน้ รัศมีทุกเส้นและเขยี นส่วนโค้งผา่ นจุดที่กาหนดด้วยเส้นร่าง จากน้นั จึงลากด้วย
เสน้ เต็มหนา ดังรปู ที่ 8. 6

158

รปู ท่ี 8.6 การสเกตซ์วงกลมจากเสน้ รัศมี
2.3 การสเกตซ์วงกลมโดยการวัดระยะ เป็นการสเกตซ์วงกลมโดยใช้เศษกระดาษ ซ่ึงด้านหน่ึงเปน็ จดุ
ศนู ยก์ ลาง และอกี ด้านหนึง่ เปน็ รัศมี หมุนกระดาษไปตามเส้นรอบวงของวงกลม พร้อมกบั ขีดเส้นประไป
ตามเสน้ รอบวง และขดี เสน้ เต็มหนาทบั ตามแนวเส้นประ ดงั รปู ที่ 8. 7

รูปที่ 8.7 การสเกตซว์ งกลมโดยการวัดระยะ
2.4 การสเกตซ์วงกลมโดยการหมุนกระดาษ เป็นการสเกตซว์ งกลมโดยใช้น้ิวกอ้ ยจรดท่ีจุดศนู ย์กลาง
วงกลม แล้วหมุนกระดาษไปจนครบรอบวงกลม ดงั รปู ท่ี 8.8

รูปท่ี 8.8 การสเกตซ์วงกลมโดยการหมนุ กระดาษ

159
2.5 การสเกตซว์ งกลมด้วยดนิ สอ 2 แทง่ เปน็ การสเกตซ์วงกลมโดยใหด้ ินสอแทง่ หน่ึงจรดที่จุด
ศูนย์กลาง และอกี แท่งหนงึ่ จรดทเี่ สน้ รอบวงแลว้ หมุนกระดาษจนครบวงกลม โดยในขณะหมุนกระดาษ
จะต้องบังคบั ระยะของดินสอให้คงท่ี ดังรูปท่ี 8.9

รปู ที่ 8.9 การสเกตซ์วงกลมด้วยดนิ สอ 2 แทง่
3. การสเกตซ์วงรี (Ellipse Sketching)

การสเกตซ์วงรสี ามารถทาได้ 2 วิธี ดังน้ี
3.1 การสเกตซว์ งรจี ากสเ่ี หลย่ี มผนื ผ้า เปน็ การสเกตซ์วงรโี ดยสเกตซ์รปู สี่เหล่ยี มผนื ผ้าให้มี
ขนาดเท่ากับเส้นผา่ นศูนย์หลัก (Major Diameter) และขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางรอง (Minor
Diameter) ของวงรี ลากเสน้ แบ่งครึง่ ทง้ั ดา้ นยาวและดา้ นกว้างของสเี่ หลยี่ ม เขียนส่วนโค้งท่ีจุดตัดของ
เส้นแบง่ ครง่ึ ท้ัง 4 ดา้ น เขยี นรปู วงรดี ้วยเสน้ ร่าง เม่อื ได้รปู วงรที ่ีถูกต้องจึงเขียนเส้นเต็มหนา ดังรูปท่ี
8.10

รปู ท่ี 8.10 การสเกตซว์ งรีจากสเี่ หลยี่ มผนื ผ้า
3.2 การสเกตซ์วงรโี ดยการวัดระยะ เป็นการสเกตซว์ งรโี ดยการใช้เศษกระดาษกาหนดระยะ
รัศมขี นาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางหลักและเส้นผา่ นศูนย์กลางรอง เชน่ กาหนดระยะ ac เป็นรศั มเี ส้นผ่าน
ศนู ย์กลางหลกั และ ab เปน็ รศั มเี ส้นผ่านศูนยก์ ลางรองของวงรี หมนุ เศษกระดาษโดยใช้จุด b และ c
เป็นจุดศนู ย์กลาง และรา่ งจดุ ตามการเคลอื่ นที่ของจุด a และเขียนเสน้ เต็มหนาตามแนวร่าง ดังรปู ที่
8.11

160

รูปที่ 8.11 การสเกตซ์วงรโี ดยการวัดระยะ
4. การสเกตซส์ ่วนโคง้ (Arc Sketching)

4.1 การสเกตซส์ ่วนโค้งของวงกลมจากเสน้ รศั มี ใหล้ ากเสน้ ตรง 2 ตัดกนั เปน็ มมุ ฉากและ
กาหนดระยะรศั มีสว่ นโคง้ ลากเส้นแบง่ ครึ่งมุมฉากและกาหนดจดุ ทส่ี ว่ นโค้งจะลากผ่าน เขียนสว่ นโค้ง
ดว้ ยเสน้ ร่างแบบ เม่ือไดส้ ่วนโคง้ ที่ถกู ตอ้ งจึงลงเสน้ เตม็ หนา ดงั รปู ท่ี 8.12

รูปที่ 8.12 การสเกตซ์ส่วนโค้งของวงกลมจากเสน้ รศั มี
4.2 การสเกตซ์ส่วนโคง้ ของวงกลมโดยใช้เศษกระดาษ ให้ลากเส้นตรง 2 ตัดกันเปน็ มมุ ฉาก
และกาหนดระยะรศั มสี ่วนโคง้ ใชก้ ระดาษวดั ระยะรัศมีโดยให้ด้านหนงึ่ อย่ทู ีจ่ ุดศูนยก์ ลาง และอกี ดา้ น
หนงึ่ อยทู่ ี่เสน้ รอบวง หมนุ กระดาษและกาหนดจุดตามแนวของส่วนโคง้ และลงเสน้ เต็มหนาตามแนวของ
เส้นร่าง ดงั รปู ที่ 8.13

รปู ท่ี 8.13 การสเกตซส์ ว่ นโค้งของวงกลมโดยใช้เศษกระดาษ
4.3 การสเกตซ์ส่วนโค้งสมั ผสั เช่น สว่ นโค้งสัมผัสกับมมุ แหลม มมุ ปา้ น ส่วนโค้งสมั ผัสกับ
เส้นตรงและสว่ นโคง้ สว่ นโค้งสมั ผัสกับสว่ นโค้ง เป็นต้น ให้สรา้ งเสน้ ขนานและสว่ นโค้งขนานกับเส้นตรง

161
และสว่ นโคง้ เท่ากับรัศมีของสว่ นโค้งท่ตี ้องการสร้าง ร่างส่วนโค้งด้วยเสน้ รา่ ง เมอื่ ไดส้ ่วนโค้งท่ีต้องการ
จงึ เขยี นดว้ ยเส้นเตม็ หนา ดังรูปที่ 8.14

รูปที่ 8.14 การสเกตซส์ ่วนโค้งสัมผสั
5. การสเกตซภ์ าพไอโซเมตรกิ (Isometric Sketching)

5.1 การสเกตซร์ ปู กล่องจากแกนไอโซเมตริก ใช้สาหรบั เร่ิมตน้ สเกตซภ์ าพไอโซเมตริก
ตัวอย่างเชน่ กาหนดจดุ O เป็นจดุ เริม่ ตน้ ลากเสน้ แนวดิง่ OA และลากเส้นแกนไอโซเมตรกิ OB และ
OC ทามุมกบั แนวระดับ 30 ถ่ายระยะความสูงของแบบงานมาทีเ่ สน้ OA ความกว้างมาที่เส้น OB
และความลึกมาทีเ่ ส้น OC ลากเส้นไอโซเมตรกิ ขนานกบั แกนไอโซเมตรกิ ดังรูปท่ี 8.15

รูปที่ 8.15 การสเกตซร์ ูปกลอ่ งจากแกนไอโซเมตรกิ
5.2 การสเกตซ์รปู ทรงกระบอกในภาพไอโซเมตริก เร่ิมด้วยการสเกตซ์รูปกล่องจากแกนไอโซ
เมตรกิ ลากเสน้ แบง่ คร่ึงและเสน้ ทแยงมมุ ของรปู กล่อง ลากส่วนโค้งเลก็ และสว่ นโค้งใหญ่ต่อกันด้วยเส้น
ร่างแบบ เม่ือไดส้ ว่ นโค้งทีต่ อ้ งการจึงเขียนดว้ ยเสน้ เตม็ หนา ดงั รปู ท่ี 8.16

162

รูปท่ี 8.16 การสเกตซ์รปู ทรงกระบอกในภาพไอโซเมตริก
6. การสเกตซ์ภาพฉาย (Orthographic Sketching)

การสเกตซ์ภาพฉายมีหลักการและข้ันตอนเช่นเดยี วกับการเขยี นแบบภาพฉาย โดยเริ่มตน้ ร่าง
ภาพจากภาพดา้ นหนา้ ด้านข้างและภาพดา้ นบนแบบเครา่ ๆ จากนนั้ ร่างรายละเอยี ดต่าง ๆ ของภาพ
ใหค้ รบถ้วนโดยใชเ้ สน้ ฉายภาพ ขน้ั ตอนสุดท้ายใหล้ บเสน้ ร่างภาพออก จึงลงเส้นหนกั ทับเสน้ รา่ ง และ
กาหนดขนาดในภาพสเกตซ์ ตัวอย่างดังรปู ท่ี 8.17

รูปที่ 8.17 ตัวอย่างการสเกตซภ์ าพฉาย

163

แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7
รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมือกล 1

ชื่อหนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรอื่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนชั่วโมงสอน 45-52

คาสงั่ จงสเกตซ์เส้นตรง วงกลม ส่วนโค้ง วงรตี ามแบบงานทก่ี าหนดให้

164

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 7
รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1

ชือ่ หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เร่อื ง ภาพสเกตซ์ จานวนชั่วโมงสอน 45-52

คาส่ัง จากภาพฉาย 2 ด้านทกี่ าหนดให้ จงสเกตซภ์ าพไอโซเมตริก ตามกลอ่ งไอโซเมตริกทก่ี าหนดให้

165

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 7
รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1

ชือ่ หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เร่อื ง ภาพสเกตซ์ จานวนชั่วโมงสอน 45-52

คาส่ัง จากภาพฉาย 2 ด้านทกี่ าหนดให้ จงสเกตซภ์ าพไอโซเมตริก ตามกลอ่ งไอโซเมตริกทก่ี าหนดให้

166

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 7
รหสั วิชา 20102-2001 ชอื่ วิชา เขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1

ชื่อหนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรื่อง ภาพสเกตซ์ จานวนช่ัวโมงสอน 45-52

คาส่งั จากภาพฉาย 3 ด้านที่กาหนดให้ จงสเกตซ์ภาพฉายตามแบบงานทีก่ าหนดให้

167

แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 7
รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเคร่อื งมอื กล 1

ชื่อหนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรอื่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนชัว่ โมงสอน 45-52

คาส่งั จากภาพไอโซเมตรกิ ทกี่ าหนดให้ จงสเกตซ์ภาพฉาย 3 ด้าน

168

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 7
รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1

ชือ่ หน่วย ภาพสเกตซ์

เร่ือง ภาพสเกตซ์ จานวนช่ัวโมงสอน 45-52

คาสั่ง จงสเกตซเ์ สน้ ตรง วงกลม ส่วนโค้ง วงรตี ามแบบงานท่กี าหนดให้

169

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7
รหัสวชิ า 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1

ชือ่ หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรอื่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนช่ัวโมงสอน 45-52

คาสัง่ จากภาพฉาย 2 ด้านทก่ี าหนดให้ จงสเกตซภ์ าพไอโซเมตรกิ ตามกล่องไอโซเมตรกิ ที่กาหนดให้

170

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7
รหัสวชิ า 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1

ชือ่ หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรอื่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนช่ัวโมงสอน 45-52

คาสัง่ จากภาพฉาย 2 ด้านทก่ี าหนดให้ จงสเกตซภ์ าพไอโซเมตรกิ ตามกล่องไอโซเมตรกิ ที่กาหนดให้

171

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7
รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1

ชอ่ื หน่วย ภาพสเกตซ์

เรือ่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนชวั่ โมงสอน 45-52

คาส่งั จากภาพฉาย 3 ด้านทก่ี าหนดให้ จงสเกตซภ์ าพฉายตามแบบงานท่ีกาหนดให้

172

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 7
รหัสวิชา 2102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1

ช่อื หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เร่อื ง ภาพสเกตซ์ จานวนชั่วโมงสอน 45-52

คาสั่ง จากภาพไอโซเมตริกท่ีกาหนดให้ จงสเกตซภ์ าพฉาย 3 ด้าน

173

ใบมอบหมายงานหน่วยท่ี 7 (Assignment Sheet)
รหัสวชิ า 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1

ชือ่ หนว่ ย ภาพสเกตซ์

เรือ่ ง ภาพสเกตซ์ จานวนช่ัวโมงสอน 45-52

1. จดุ ประสงคก์ ารมอบหมายงาน
1.1 เพื่อเขียนภาพสเกตซ์ 3 มิติ
1.2 เพื่อเขียนภาพสเกตซ์ออพลกิ
1.3 เพือ่ เขียนภาพสเกตซไ์ อโซเมตริก

2. แนวทางการปฏบิ ัตงิ าน
2.1 สเกตซ์ภาพ 3 มิติ
2.2 สเกตซภ์ าพออพลกิ
2.3 สเกตซ์ภาพไอโซเมตริก

3. แหล่งคน้ คว้า
ตัวอยา่ ง , หนังสอื เรยี น

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วธิ กี ารเขียนภาพสเกตซ์ 3 มิติ
4.2 วธิ กี ารเขยี นภาพสเกตซ์ออพลิก
4.3 วธิ ีการเขยี นภาพสเกตซไ์ อโซเมตรกิ

5. กาหนดเวลาส่ง
สปั ดาห์ถดั ไป

174

ใบงานหนว่ ยที่ 7 (Job Sheet)
รหัสวชิ า 20102-2001 ช่ือวชิ า เขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1

ชื่อหน่วย ภาพสเกตซ์

เรอ่ื ง ภาพสเกตซ์ จานวนชัว่ โมงสอน 45-52

1. จุดประสงค์ท่ัวไป

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. เคร่ืองมอื /วัสดุอุปกรณ์

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ขอ้ ควรระวงั

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. งานที่มอบหมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. วดั ผล/ประเมินผล

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

175

แผนการเรียนร้หู น่วยที่ 8

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเคร่ืองมือกล 1
ชื่อหนว่ ย ภาพตัด

เร่ือง ภาพตัด จานวนชวั่ โมงสอน 53-64

1. สาระสาคญั
ในงานเขียนแบบชิ้นงานท่ีมีความซับซ้อนมาก ซ่ึงยากต่อการอ่านแบบและเขียนแบบ ดังนั้น

เพ่อื ให้งา่ ยตอ่ การอา่ นแบบเขียนแบบและสามารถแสดงรายละเอยี ดของแบบงานได้สมบูรณม์ ากขึน้ จึงนิยม
นาวิธีการผา่ ชิน้ งาน เพ่อื แสดงรปู รา่ งทัง้ ภายในและภายนอกของชน้ิ งาน ซึ่งการผ่าดังกล่าวไม่ใช่เป็นการผ่า
ชิ้นงานจริง ๆ เป็นเพียงการจินตนาการในการมองภาพเท่าน้ัน ส่วนภาพท่ีได้จากการผ่าอาจจะเขียนไว้ท่ี
ภาพดา้ นใดด้านหนึ่งของภาพฉาย นอกภาพฉาย และภาพสามมติ กิ ไ็ ด้
2. งานประจาหน่วยการเรยี นรู้

2.1 การเขยี นภาพเสน้ ลายตดั
2.2 การเขยี นภาพตัดเต็ม
2.3 การเขยี นภาพตดั ครงึ่
2.4 การเขยี นภาพตดั ออฟเซต
3. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
3.1 แสดงความรู้เก่ยี วกับชนดิ ของภาพตัด
3.2 อธบิ ายชนดิ ของภาพตดั ได้
3.3 บอกสญั ลักษณเ์ ส้นในการเขียนภาพตัดได้
3.4 อธิบายเส้นท่ีใชใ้ นภาพตดั ได้
3.5 เลือกใช้สญั ลกั ษณ์เสน้ ลายตดั ของวัสดุในการเขยี นภาพตดั ไดถ้ ูกตอ้ ง
3.6 บอกหลักเกณฑ์ในการเขยี นภาพตดั
3.7 เขยี นภาพตัดเตม็ ไดถ้ ูกต้อง
3.8 เขียนภาพตดั ครง่ึ ไดถ้ กู ต้อง
3.9 เขียนภาพตัดออฟเซตไดถ้ ูกตอ้ ง
4 จุดประสงค์การเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้)
4.1 จดุ ประสงค์ทัว่ ไป

เพือ่ แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ชนดิ ของภาพตัด อธบิ ายชนดิ ของภาพตัดได้ บอกสญั ลักษณ์เสน้
ในการเขยี นภาพตดั ได้ อธบิ ายเสน้ ท่ีใช้ในภาพตัดได้ เลือกใช้สญั ลกั ษณเ์ สน้ ลายตัดของวสั ดุในการเขยี นภาพ
ตัดได้ถูกตอ้ ง บอกหลักเกณฑใ์ นการเขียนภาพตัด เขยี นภาพตัดเต็มไดถ้ กู ต้อง เขียนภาพตดั คร่ึงไดถ้ ูกตอ้ ง
และเขยี นภาพตดั ออฟเซตได้ถกู ตอ้ ง

176

4.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
4.1 แสดงความรเู้ ก่ียวกับชนิดของภาพตัด
4.2 อธบิ ายชนดิ ของภาพตดั ได้
4.3 บอกสญั ลักษณเ์ ส้นในการเขยี นภาพตัดได้
4.4 อธบิ ายเสน้ ที่ใช้ในภาพตดั ได้
4.5 เลือกใช้สัญลักษณ์เส้นลายตัดของวัสดุในการเขียนภาพตัดได้ถกู ต้อง
4.6 บอกหลักเกณฑ์ในการเขียนภาพตดั
4.7 เขยี นภาพตัดเต็มไดถ้ กู ตอ้ ง
4.8 เขยี นภาพตัดครึ่งไดถ้ กู ตอ้ ง
4.9 เขยี นภาพตัดออฟเซตไดถ้ ูกต้อง

5. สาระการเรยี นรู้
*********เน้อื หาตามใบความรู้*********

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใชเ้ ทคนคิ การสอน แบบขนั้ ตอนการเรียนรู้แบบ MAIP
6.1 สปั ดาหท์ ี่ 1
1. ขั้นสนใจ (M = Motivation)
1.1 ครชู ี้แจงการวัดผลและประเมินผลในวิชาเขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
1.2 ครูและนักเรยี นสร้างข้อตกลงรว่ มกนั ในการจดั การเรียนรวู้ ชิ าเขยี นแบบเครือ่ งมือกล 1
1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธิ์ก่อนเรยี น
1.4 ครูสนทนากับผู้เรียนเก่ียวกับภาพตัด เช่น แสดงความรู้เก่ียวกับชนิดของภาพตัด

อธิบายชนดิ ของภาพตดั ได้ บอกสัญลักษณ์เส้นในการเขียนภาพตัดได้ อธิบายเส้นที่ใช้ในภาพตัดได้ เลือกใช้
สญั ลกั ษณเ์ สน้ ลายตัดของวสั ดใุ นการเขยี นภาพตดั ได้ถกู ต้อง บอกหลักเกณฑ์ในการเขียนภาพตัด เขียนภาพ
ตัดเต็มได้ถกู ต้อง เขยี นภาพตัดครง่ึ ไดถ้ กู ต้อง และเขียนภาพตดั ออฟเซตได้ถูกตอ้ ง

2. ขน้ั ศกึ ษาข้อมูล (I = Information)
2.1 ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน เร่ือง ภาพตดั
2.2 ครอู ธบิ ายเนอ้ื หาเพ่มิ เตมิ ใน เร่ือง ภาพตดั
2.3 ครูสาธติ และยกตวั อยา่ งภาพตดั
2.4 ผเู้ รยี นแบ่งกลุ่มเพอื่ ศึกษาและหาข้อสรปุ การเขียนภาพตดั

3. ขั้นพยายาม (A = Application)
3.1 ผูเ้ รยี นฝึกแสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ชนิดของภาพตดั อธิบายชนิดของภาพตัดได้ บอก

สญั ลกั ษณเ์ ส้นในการเขียนภาพตดั ได้ อธบิ ายเสน้ ที่ใช้ในภาพตัดได้ เลอื กใช้สญั ลักษณเ์ ส้นลายตัดของวัสดุใน
การเขยี นภาพตดั ได้ถกู ตอ้ ง บอกหลกั เกณฑ์ในการเขียนภาพตัด เขียนภาพตัดเต็มไดถ้ กู ตอ้ ง เขยี นภาพตดั
ครึ่งไดถ้ กู ต้อง และเขียนภาพตดั ออฟเซตได้ถูกต้อง

177

3.2 ผ้เู รยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ เน้อื หาวชิ าเขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1 เร่ือง แสดงความรู้

เก่ยี วกบั ชนดิ ของภาพตัด อธิบายชนิดของภาพตัดได้ บอกสญั ลักษณ์เสน้ ในการเขียนภาพตัดได้ อธบิ ายเสน้ ท่ี

ใช้ในภาพตดั ได้ เลือกใช้สัญลักษณเ์ สน้ ลายตัดของวัสดใุ นการเขยี นภาพตัดไดถ้ ูกต้อง บอกหลกั เกณฑ์ในการ

เขยี นภาพตัด เขียนภาพตัดเตม็ ไดถ้ กู ต้อง เขียนภาพตดั ครงึ่ ได้ถูกตอ้ ง และเขยี นภาพตดั ออฟเซตได้ถูกตอ้ ง

3.3 ผเู้ รียนทาแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ

4. ขนั้ สาเร็จผล (P = Progress)

4.1 ผสู้ อนเฉลยแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ และอธิบายเพ่มิ เติมเพอื่ ให้ผูเ้ รยี นเข้าใจ

เน้ือหาวิชามากยิง่ ขึน้

7. สอ่ื การเรียนรู้

7.1 หนังสือเรยี น

7.2 ใบความรู้

7.3 ใบงาน

7.4 แบบฝึกหัด

7.5 แบบสงั เกตพฤติกรรม

7.6 แบบทดสอบ

8. หลักฐานการเรียนรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดับ เคร่ืองมอื การประเมิน วธิ วี ดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผ่าน ไม่ผา่ น

1 แบบฝึกหดั ตรวจแบบฝึกหัด ได้คะแนน ไดค้ ะแนน

ข้อละ 1 คะแนน ร้อยละ 60 ต่ากว่า

ถูก 1 คะแนน ขึ้นไป ร้อยละ 60

ไม่ถกู 0 คะแนน

(หรือตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ได้คะแนน ได้คะแนน
(ตามความเหมาะสม) ร้อยละ 60 ต่ากว่า
ข้นึ ไป รอ้ ยละ 60

178

ลาดบั เคร่ืองมอื การประเมิน(ตอ่ ) วธิ ีวดั และประเมนิ (ตอ่ ) เกณฑ์
ท่ี(ตอ่ ) การประเมนิ (ตอ่ )
ตรวจประเมนิ ช้ินงาน ผา่ น ไม่ผา่ น
3 แบบประเมนิ ชน้ิ งาน (ตามความเหมาะสม) ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 60 ต่ากวา่
4 แบบทดสอบปฏบิ ัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบัติ ขึน้ ไป รอ้ ยละ 60
(ตามความเหมาะสม) ได้คะแนน ได้คะแนน
ร้อยละ 60 ต่ากวา่
5 แบบสังเกตพฤติกรรม ตรวจแบบสังเกตพฤตกิ รรม ข้ึนไป ร้อยละ 60
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน
ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ดี 4 คะแนน รอ้ ยละ 60 ตา่ กวา่
ประสงค์ตามค่านิยม 12 พอใช้ 3 คะแนน ข้นึ ไป รอ้ ยละ 60
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรบั ปรุง 1 คะแนน
10. แหล่งการเรยี นรู้
10.1 ห้องสมุด
10.2 ห้องอินเตอร์เนต็

11. บันทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้
11.1 ข้อสรปุ หลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาทพ่ี บ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

179

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ……………………………………ผสู้ อน ลงช่ือ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผอู้ านวยการฝา่ ยวิชาการ

180

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 8 (Information Sheet)

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วชิ า เขียนแบบเคร่อื งมือกล 1
ชือ่ หน่วย ภาพตดั

เรือ่ ง ภาพตดั จานวนช่วั โมงสอน 53-64

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. จดุ ประสงค์ท่ัวไป
เพอ่ื แสดงความรเู้ ก่ยี วกับชนดิ ของภาพตดั อธบิ ายชนดิ ของภาพตัดได้ บอกสญั ลกั ษณ์เสน้ ในการ

เขียนภาพตดั ได้ อธบิ ายเสน้ ที่ใช้ในภาพตัดได้ เลือกใชส้ ญั ลักษณ์เส้นลายตัดของวสั ดุในการเขยี นภาพตัด
ไดถ้ กู ต้อง บอกหลกั เกณฑใ์ นการเขยี นภาพตัด เขียนภาพตัดเต็มได้ถกู ต้อง เขยี นภาพตัดครึ่งได้ถูกตอ้ ง
และเขียนภาพตัดออฟเซตได้ถกู ตอ้ ง
2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

2.1 แสดงความรูเ้ กย่ี วกับชนดิ ของภาพตัด
2.2 อธบิ ายชนิดของภาพตดั ได้
2.3 บอกสญั ลักษณ์เส้นในการเขยี นภาพตัดได้
2.4 อธบิ ายเสน้ ท่ีใช้ในภาพตดั ได้
2.5 เลือกใช้สญั ลกั ษณ์เสน้ ลายตัดของวัสดุในการเขยี นภาพตดั ได้ถกู ตอ้ ง
2.6 บอกหลกั เกณฑ์ในการเขยี นภาพตัด
2.7 เขยี นภาพตัดเต็มได้ถกู ตอ้ ง
2.8 เขยี นภาพตัดครงึ่ ได้ถูกตอ้ ง
2.9 เขยี นภาพตดั ออฟเซตไดถ้ กู ต้อง
เนื้อหาสาระ หน่วยท่ี 8 เร่ือง ภาพตดั
ภาพตดั
1. ความหมายและคาจากัดความของภาพตัด
ภาพตดั (Section View) หมายถงึ การใช้มโนภาพหรือการจินตนาการตดั เพ่ือผา่ ชน้ิ งาน
ออกเปน็ สองสว่ น โดยนาส่วนใดสว่ นหนงึ่ ของชนิ้ งานออกไป และนาอีกสว่ นทเ่ี หลือมาแสดงรายละเอียด
ภายในช้นิ งานที่มคี วามยุ่งยากซบั ซ้อน ให้ง่ายต่อการเขียนแบบและอา่ นแบบ ดังรูปท่ี 7.1 และรปู ท่ี 7.2

181

รูปที่ 7.1 ชน้ิ งานสามมติ กิ ่อนการตัด รปู ท่ี 7.2 การตดั ชนิ้ งานเพอื่ แสดงรายละเอียดภายใน

จากคาจากัดความสรุปได้ว่า ภาพตัดเป็นการจินตนาการเพื่อมองภาพภายในของชิ้นงาน
(ส่วนท่ีถูกบัง) ซ่ึงโดยปกติการแสดงจะแสดงด้วยเส้นประ แต่ถ้าเขียนเป็นภาพตัดรายละเอียดภายใน
ของชิ้นงานกจ็ ะสามารถแสดงดว้ ยเสน้ เตม็ หรือเสน้ ขอบรูปได้ ส่วนเนื้อของช้ินงานท่ถี กู ตดั ก็จะแสดงด้วย
เส้นลายตัด
2. หลกั เกณฑก์ ารเขียนภาพตัด

1. การเขยี นแบบภาพตัดตอ้ งจนิ ตนาการว่า ผ่าชนิ้ งานออกเป็นสองสว่ นตามแนวตดั ทก่ี าหนด
ขน้ึ โดยสว่ นท่อี ยู่ใกล้กบั ผูม้ องภาพใหน้ าออกไป สว่ นอกี ดา้ นหนงึ่ ให้นาไปเปน็ เขยี นภาพตดั ดงั รูปท่ี 7.3

รูปที่ 7.3 ลักษณะการผ่าชิน้ งานเพ่ือเขียนภาพตดั
2. เส้นแสดงแนวตัด (Cutting Plan Line) เขียนด้วยเสน้ ศูนย์กลางใหญ่ ความหนา 0.5 มม.
หัวลูกศรกากบั แนวตัดเปน็ หัวลกู ศรใหญ่ (โตกว่าหัวลูกศรกาหนดขนาดประมาณ 1.5 เท่า) เส้นหัวลูกศร

182
เขยี นด้วยเสน้ เต็มหนาและลากเลยหัวลกู ศรประมาณ 5 มม. ตัวอักษรกากบั แนวตัดเขียนด้วยตวั อักษร
พิมพใ์ หญ่สงู 5 มม. ไว้ทห่ี ัวลกู ศรกากบั แนวตดั เช่น A-A, B-B หรอื A-B เป็นต้น ดังรปู ท่ี 7.4

รูปที่ 7.4 การเขยี นเส้นแสดงแนวตดั (Cutting Plan Line)
3. กรณีทเี่ ปน็ ภาพตดั หลายระนาบจะต้องเขียนเสน้ หักเหของระนาบตดั เสน้ หกั เหของระนาบตดั เขียน
ด้วยเสน้ เตม็ หนา ยาวประมาณ 5 มม. ดงั รูปที่ 7.5

รูปท่ี 7.5 การเขยี นเสน้ หกั เหของภาพตัดหลายระนาบ
4. ภาพด้านท่เี ขียนแบบภาพตดั ต้องเป็นไปตามทศิ ทางการช้ีของหวั ลกู ศรกากบั แนวตัด เชน่
หัวลกู ศรกากับแนวตดั อยู่ทีภ่ าพด้านบนชขี้ ึ้นไปท่ภี าพด้านหน้า ภาพทถี่ กู ตัดจะต้องเปน็ ภาพด้านหน้า
โดยสว่ นทอ่ี ยดู่ า้ นบนของหวั ลกู ศรกากบั แนวตัดให้พลิกขึน้ ไปเพือ่ เขยี นภาพตัด ส่วนท่อี ยใู่ ต้หัวลูกศรให้
สมมตุ วิ ่าตัดท้ิงไป ดงั รูปที่ 7.6

183

รปู ที่ 7.6 แสดงทิศทางหัวลูกศรกากับแนวตัดและการเขียนภาพตดั
5. ด้านล่างของภาพตัดทุกภาพ ให้เขียนชื่อภาพตัดกากับไว้ด้วย เช่น Section A-A,
Section B-B
ตามชอื่ แนวตดั ทีเ่ ขยี นไว้ทีห่ วั ลูกศรกากับแนวตัด ดังรูปที่ 7.6
6. การเขยี นภาพตัดไม่นยิ มแสดงแสดงสว่ นท่ถี ูกบัง หรือเส้นขอบรูปที่อยดู่ า้ นหลังแนวตัดด้วย
เส้นประ เพราะจะทาให้การอ่านแบบยุ่งยากมากขึ้น ดังรปู ที่ 7.7

รปู ท่ี 7.7 การเปรยี บเทยี บการเขยี นแบบภาพตัดส่วนทถ่ี กู บัง
7. ถา้ จาเปน็ ต้องแสดงสว่ นที่ถกู บัง จะแสดงไดก้ ต็ ่อเมื่อส่วนน้ันมีความจาเป็นต้องแสดงจริง ๆ
ถา้ ไมแ่ สดงจะทาให้ภาพน้ันไม่สมบูรณ์ เช่น กรณที ช่ี ิน้ งานที่มีรูปร่างไม่สมมาตรกัน ดังรูปท่ี 7.8 ชิ้นงาน
มคี วามหนาของฐานไมเ่ ทา่ กนั จึงจาเปน็ ต้องแสดงความหนาของฐานช้ินงานทีถ่ ูกบังด้วยเสน้ ประ

184

รปู ท่ี 7.8 แสดงลักษณะชนิ้ งานทีต่ อ้ งแสดงส่วนทถ่ี กู บังด้วยเสน้ ประ
8. ถ้าตอ้ งแสดงรายละเอียดของชิ้นงานท่ีอยดู่ า้ นหลังของหวั ลูกศรกากับแนวตัด ซึ่งโดย
ปกติจะถกู ตัดออกไป ให้แสดงดว้ ยเสน้ ศนู ย์กลางเลก็ ดงั รูปท่ี 7.9

รปู ที่ 7.9 การแสดงรายละเอยี ดชน้ิ งานท่อี ยูด่ า้ นหลงั หัวลกู ศรกากบั แนวตดั
9. การแสดงส่วนทม่ี องเห็นได้ชดั เจนหรอื ส่วนท่ถี ูกตัด จะตอ้ งแสดงใหห้ มดทกุ สว่ น จะ
ขาดตกบกพร่องสว่ นใดส่วนหน่งึ ไมไ่ ด้ เพราะจะทาให้ภาพท่ไี ด้ขาดความสมบูรณ์ ดงั รูปที่ 7.10

รูปท่ี 7.10 การแสดงรายละเอียดภายในชนิ้ งานตามขน้ั ตอนการเขียนภาพตัด

185
3. การเขยี นเสน้ ลายตดั (Section Line) มหี ลักการในการเขยี นทส่ี าคัญ ดงั นี้

1. เน้อื ของชิ้นงานท่ถี กู ตัดที่ไมใ่ ชโ่ พรง ครีบ ปกี ซี่ ก้าน และชิน้ สว่ นมาตรฐาน จะตอ้ งแสดง
ด้วยเสน้ ลายตดั ดังรูปท่ี 7.11

รูปท่ี 7.11 แสดงเนื้อชน้ิ งานทีถ่ กู ตดั ด้วยเสน้ ลายตัด
2. เส้นลายตดั เขยี นด้วยเส้นเตม็ บางขนาดความหนาของเส้น 0.25 มม. เอียงทามุม 45 กับ
เส้นขอบรปู หรอื เส้นศูนยก์ ลางของชิน้ งาน ดังรูปท่ี 7.12

รปู ท่ี 7.12 การเขียนเส้นลายตัดลกั ษณะตา่ ง ๆ
3. เส้นลายตัดต้องมีระยะหา่ งเท่ากนั ตลอดพื้นที่หนา้ ตดั เดียวกัน พ้ืนที่หน้าตัดท่ีมีพ้ืนที่เล็กจะ
มีระยะห่างของเสน้ ลายตดั แต่ละเสน้ แคบกว่าชนิ้ งานท่มี ีพนื้ ที่หนา้ ตัดใหญ่ ดังรปู ท่ี 7.13

186
รูปที่ 7.13 แสดงเส้นลายตัดชน้ิ งานท่มี พี นื้ หน้าตดั ตา่ งกัน
4. กรณชี ิน้ งานประกอบกันอยหู่ ลายชน้ิ และถูกตัด จะตอ้ งแสดงเส้นลายตัดตา่ งทิศทางกันหรอื
เขยี นระยะหา่ งของเส้นลายตดั ให้ต่างกัน ดงั รูปท่ี 7.14

รปู ท่ี 7.14 การเขยี นเสน้ ลายตัดชิน้ งานทป่ี ระกอบกันอยู่
5. พ้นื ทหี่ นา้ ตัดแคบ ๆ หรอื พืน้ ที่หน้าตัดบาง ๆ เส้นลายตัดของภาพลักษณะนี้ ไม่ต้องแสดง
ดว้ ยเส้นลายตัด ให้ใชก้ ารระบายดาทบึ แทน ดังรปู ที่ 7.15

รูปท่ี 7.15 การระบายดาทึบแทนการเขียนเสน้ ลายตัดของชิ้นงานท่ีมีหน้าตัดแคบ
6. ถ้าจาเป็นต้องกาหนดขนาดในพ้ืนที่หน้าตัดที่ถูกตัด จะต้องเว้นช่องว่างของเส้นลายตัด
สาหรับตวั เลขกาหนดขนาด ดงั รูปท่ี 7.16

187
รูปท่ี 7.16 การกาหนดขนาดในพ้นื ที่หนา้ ท่ีถกู ตดั
7. ระยะห่างของเส้นลายตัดควรเขียนใหไ้ ดส้ ดั สว่ นกับพื้นทีห่ นา้ ตดั ของชนิ้ งาน ถ้าพนื้ ทใี่ หญ่
มากการเขยี นเส้นลายตัดใหเ้ ขยี นเป็นเสน้ สัน้ ๆ ติดกับขอบรปู ก็พอ ดงั รูปท่ี 7.17

รปู ท่ี 7.17 การเขยี นเสน้ ลายตดั พ้ืนท่หี นา้ ตดั ขนาดใหญ่
8. สญั ลกั ษณล์ ายตดั ของวสั ดุท่ถี ูกตัด จะตอ้ งแสดงให้เหน็ ถงึ ความแตกตา่ งของวสั ดุแตล่ ะ
ชนิด โดยเฉพาะในกรณที ีเ่ ปน็ ภาพภาพทป่ี ระกอบกนั และมีวสั ดุตา่ งชนิดประกอบกนั มสี ญั ลกั ษณ์ลาย
ตัดของวัสดุ ดังรปู ที่ 7.18

รูปท่ี 7.18 สญั ลักษณห์ นา้ ตัดของวัสดชุ นดิ ต่าง ๆ

188

4. ชนิ้ สว่ นท่ยี กเวน้ ในการเขยี นภาพตดั
การตดั ช้ินงานบางครง้ั ถึงแมว้ ่าแนวตดั จะตัดผ่านช้ินส่วน เช่น เพลา แขนหรอื กา้ น ซ่ีหรอื กง

ล้อ สลัก หมดุ ย้า ครีบ ล่มิ ลกู ปืน และชิ้นส่วนมาตรฐาน ช้นิ ส่วนตา่ ง ๆ เหล่าน้จี ะถอื วา่ ไมถ่ ูกตัด เพอ่ื
ไม่ให้เกิดความสบั สนในการเขยี นแบบและอ่านแบบ ดงั แสดงตัวอย่างในรูปท่ี 7.19 ถงึ 7.24

รปู ท่ี 7.19 ภาพตัดของเพลาและลกู ปนื รปู ที่ 7.20 ภาพตัดการจบั ยึดดว้ ยสกรแู ละนัต

รปู ที่ 7.21 การเขยี นภาพตดั ท่ีจับยดึ ดว้ ยสลัก รูปท่ี 7.22 การเขยี นภาพตดั ชน้ิ งานท่จี บั ยึดดว้ ยหมดุ ยา้

189

รปู ท่ี 7.23 การเขยี นภาพตดั ชนิ้ งานท่ีตัดผา่ นครีบ

รปู ที่ 7.24 แสดงการเขยี นภาพตัดช้ินงานทมี่ ซี ี่ล้อ
5. การหมุนส่วนประกอบชน้ิ งานที่ไม่อยู่ในระนาบตัด
ชนิ้ งานที่นามาเขียนแบบบางชนิ้ สว่ นประกอบบางสว่ นของชน้ิ งานอาจไม่อยใู่ นระนาบตดั แต่เพ่ือให้
งา่ ยตอ่ การอา่ นแบบและเขยี นแบบ จะต้องหมุนสว่ นประกอบตา่ ง ๆ เชน่ รูเจาะ ซีห่ รือกงล้อ ครีบ เป็น
ตน้ ให้อยู่ในแนวแกนท่จี ะตดั ตัวอย่างรูปที่ 7.25 ถึง 7.28

190

รปู ท่ี 7.25 การหมนุ ซ่ีล้อหรอื กงล้อ รูปที่ 7.26 การหมนุ รเู จาะและซลี่ ้อ

รปู ท่ี 7.27 การหมนุ ช้ินงานท่ีมคี รีบและรูเจาะ รปู ท่ี 7.28 การหมุนช้นิ งานท่ีเปน็ แขน

6. การเขียนภาพตัด (Section View) ภาพตัดสามารถเขียนไดห้ ลายประเภท ดงั นี้
6.1 การเขียนภาพตดั เต็ม (Full Section) ภาพตัดเต็มเป็นการตัดชน้ิ งานโดยแบง่ ชน้ิ งาน

ออกเปน็ สองส่วน (1/2 สว่ นของชนิ้ งาน) ซึง่ มรี ะนาบสาหรับตดั ชนิ้ งานเปน็ ระนาบเดียว ซง่ึ สมารถตัด
ได้ทง้ั ระนาบต้ังและระนาบนอน ดังรูปที่ 7.29 และ 7.30

รปู ที่ 7.29 ระนาบตัดแบบตัดเต็ม รปู ที่ 7.30 ชิ้นงานและระนาบตดั บนภาพฉาย

191
จากรูปท่ี 7.29 เป็นลักษณะการวางระนาบตัด (Cutting Plan) ในภาพสามมิติ ระนาบตัดน้ี
เป็นการจนิ ตนาการเหมอื นกบั การนาแผน่ ใสวางตามแนวตดั ทต่ี อ้ งการจะตัด ส่วนของช้ินงานท่ีอยู่เหนือ
ระนาบตัดเป็นส่วนท่ีจะนาไปเขียนแบบ ส่วนด้านล่างของระนาบตัดเป็นส่วนที่สมมุติว่าตัดท้ิงไป รูปท่ี
7.30 เปน็ การตดั ท่ภี าพด้านหนา้ เสน้ แสดงแนวตดั แสดงอยทู่ ภ่ี าพด้านบน ลูกศรกากับแนวตัดช้ีขึ้นไปที่
ภาพด้านหนา้ ดา้ นลา่ งของหวั ลกู ศรกากับแนวตัดจะตอ้ งเขยี นตวั อักษรกากับแนวตัด และเขียนชื่อภาพ
ตัดไว้ใตภ้ าพทเี่ ขียนภาพตดั ด้วย

รปู ที่ 7.31 แสดงลักษณะการผา่ ช้นิ งานาหรับเขียนภาพตดั เต็ม
ตัวอย่างการเขียนภาพตดั เตม็

รูปท่ี 7.32 ภาพตัดเต็มแบบภาพฉาย 2 ดา้ น รูปท่ี 7.33 ภาพตัดเตม็ แบบภาพฉาย 3 ดา้ น

192

รูปท่ี 7.34 ภาพตดั เต็มแบบภาพฉาย 2 ด้าน

6.2 การเขียนภาพตัดครึ่ง (Half Section) ภาพตัดครึ่งเป็นการตัดชิ้นงานโดยแบ่งช้ินงาน
ออกเป็น4 ส่วน (ส่วนท่ีตัด1/4 ส่วน) โดยมีระนาบตัด (Cutting Plan) เป็นระนาบหักฉากที่จุด
ศนู ย์กลางของชนิ้ งาน ภาพตดั ครง่ึ เปน็ ภาพท่วี ตั ถุประสงคเ์ พื่อแสดงรายละเอียดทั้งภายในและภายนอก
ชิน้ งาน ดงั นน้ั ชน้ิ งานทจ่ี ะนามาเขยี นภาพตดั ครง่ึ จะตอ้ งสมมาตรกัน (Symmetry) และจะต้องไม่แสดง
ส่วนท่ีถูกบังในซีกที่ไม่ถูกตัดด้วย ส่วนเส้นแบ่งคร่ึงระหว่างภายนอกและภายในช้ินงานให้ใช้เส้น
ศูนย์กลางเล็ก ดงั รูปที่ 7.35 ถงึ 7.37

รูปที่ 7.35 ระนาบตดั สาหรบั ภาพตดั ครงึ่ รูปท่ี 7.36 ช้นิ งานและระนาบตัดบนภาพฉาย

193

รปู ท่ี 7.37 การเขยี นเสน้ แสดงแนวตดั และการเขียนภาพตัดครง่ึ
6.3 การเขียนภาพตัดหลายระนาบ (Offset Section) ภาพตัดหลายระนาบหมายถึงการตัด
ชิ้นงานเพื่อแสดงรายละเอียดภายในของช้ินงาน โดยการหักเหไปตามระนาบท่ีต้องการตัด ซ่ึงในแบบ
งานหนึง่ สามารถกาหนดระนาบตดั ไดม้ ากกว่าหนง่ึ ระนาบ ขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของช้ินงาน ส่วนการ
เขียนภาพตัดจะตอ้ งไมแ่ สดงแนวหกั เหของระนาบตัดในภาพตัดด้วย ดังรปู ท่ี 7.38 ถึง 7.42

รปู ท่ี 7.38 ระนาบตดั บนภาพตัดหลายระนาบ รูปที่ 7.39 ภาพท่ีนาไปเขยี นภาพตัดหลายระนาบ

194

รูปท่ี 7.40 ตัวอยา่ งระนาบตัดและภาพตัดหลายระนาบ

รูปที่ 7.41 เปรียบเทยี บลกั ษณะภาพตัดหลายระนาบ
6.4 การเขียนภาพตัดหมุนโค้ง (Rotated Section) ภาพตัดหมุนโค้งเป็นวิธีการตัดภาพท่ีมี
สว่ นประกอบของชิ้นงานบางส่วนไมอ่ ยใู่ นระนาบการตัดปกติ ถ้าฉายภาพและตัดภาพตามลักษณะจริง
ของช้ินงาน จะทาความยาวของชนิ้ ส่วนนนั้ ไมถ่ กู ตอ้ งตามความเป็นจริง ดังน้ันการฉายภาพและการตัด
ภาพลักษณะน้ี จะต้องหมุนส่วนประกอบของชิ้นงานดังกล่าวให้อยู่ในแนวระนาบก่อน จากนั้นจึงฉาย
ภาพเพือ่ เขยี นภาพตัด ซึง่ จะทาให้ภาพตดั ทไี่ ดม้ ีขนาดถูกต้องตามจริง ดังรปู ท่ี 7.42

195

รปู ที่ 7.42 แสดงการเขียนแบบภาพตัดหมนุ โค้ง
6.5 การเขียนภาพตัดหมุนข้าง (Revolved Section) ภาพตัดหมุนข้างเป็นการตัดภาพเพื่อ
แสดงลักษณะหน้าตัดของช้ินงาน สาเหตุเพราะชิ้นงานบางช้ินเมื่อเขียนเป็นภาพฉายแล้ว อาจจะไม่
สามารถแสดงลกั ษณะหนา้ ตัดของชิน้ งานไดส้ มบูรณ์ ท้ังนอ้ี าจเป็นเพราะพน้ื หน้าตัดแต่ละช่วงมีลักษณะ
ต่างกันหรือขนาดหน้าตัดไม่เท่ากัน ดังน้ันจึงต้องหมุนหน้าตัดของชิ้นงานให้ต้ังฉากกับระนาบตัดหรือ
หมุนทามุม 90 กับเส้นศูนย์กลางของระนาบ ส่วนการเขียนภาพตัดหมุนข้างสามารถเขียนได้ 2
ลกั ษณะ คือการเขียนภาพหน้าตัดทับในภาพฉายได้เลยโดยใช้เส้นเต็มบาง และเขียนภาพหน้าตัดด้วย
เส้นเต็มหนาโดยการตดั แยกพื้นทหี่ นา้ ตดั ออกจากชน้ิ งาน ดังรปู ที่ 7.43

196

รปู ท่ี 7.43 การเขยี นภาพตดั หมนุ ข้าง
6.6 การเขียนภาพตัดเคล่ือนท่ี (Removed Section) ภาพตัดเคลื่อนที่มีลักษณะคล้ายกับ
ภาพตัดหมุนขา้ ง แตกต่างกนั ทภี่ าพตัดเคลื่อนท่ี จะนาพื้นที่หน้าตัดของช้ินงานมาเขียนไว้นอกภาพ ซ่ึง
จะใช้ในกรณที ่ชี ้ินงานเดียวกันแต่มีหน้าตัดต่างกันหลายหน้าตัด และไม่สามารถเขียนเป็นภาพตัดหมุน
ข้างได้ จึงจาเปน็ ต้องนาพนื้ ทีห่ นา้ ตดั มาเขยี นไวน้ อกชิน้ งาน ดังรูปที่ 7.44

รปู ที่ 7.44 แสดงการเขยี นภาพตัดเคลอ่ื นท่ี

197
6.7 การเขียนภาพตดั เฉพาะส่วน (Broken - Out Section) การตัดชน้ิ งานในบางครง้ั อาจจะ
ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งตัดชน้ิ งานทงั้ หมดกไ็ ด้ ซงึ่ อาจจะมรี ายละเอยี ดเพยี งบางสว่ นเท่าน้ันทีต่ ้องจะแสดงภาพ ซึ่ง
สามารถตดั เฉพาะสว่ นได้ โดยเลือกตัดเฉพาะส่วนที่ต้องการหรือเน้นความสาคัญ การตัดเฉพาะส่วนให้
เขียนขอบเขตการตดั ด้วยเส้นมือเปลา่ (Free hand Line) โดยไม่ตอ้ งเขียนเสน้ แสดงแนวตัด (Cutting
Plan Line) ดังรูปที่ 7.45

รูปท่ี 7.45 แสดงการเขียนภาพตัดเฉพาะส่วน


Click to View FlipBook Version