The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 04:06:50

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

18

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดบั เคร่ืองมือการประเมิน วธิ วี ดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผ่าน ไม่ผา่ น
1 แบบฝึกหดั ตรวจแบบฝึกหัด ได้คะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
ข้อละ 1 คะแนน ข้นึ ไป ร้อยละ 60

ถูก 1 คะแนน

ไมถ่ ูก 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
3 แบบประเมินชิ้นงาน ตรวจประเมินชิ้นงาน ร้อยละ 60 ตา่ กวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ได้คะแนน
4 แบบทดสอบทฤษฎี ตรวจแบบทดสอบทฤษฎี ร้อยละ 60 ต่ากว่า
ข้ึนไป ร้อยละ 60
ข้อละ 1 คะแนน

ถกู 1 คะแนน

ไมถ่ ูก 0 คะแนน

(หรือตามความเหมาะสม)

5 แบบสังเกตพฤตกิ รรม ตรวจแบบสงั เกตพฤติกรรม ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดมี าก 5 คะแนน ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 60

ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึง ดี 4 คะแนน

ประสงค์ตามค่านยิ ม 12 พอใช้ 3 คะแนน

ประการ พอใช้ 2 คะแนน

ปรับปรุง 1 คะแนน

10. แหล่งการเรียนรู้
10.1 ห้องสมดุ
10.2 หอ้ งอนิ เตอร์เน็ต

19

11. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้

11.1 ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้

...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาทพี่ บ

...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………………………ผสู้ อน ลงชอื่ ………………………………..…….

(……………………………….) (……………………………………….)

รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ

20

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 1 (Information Sheet)

รหัสวิชา 2102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชื่อหน่วย เครื่องมอื และอุปกรณ์ในการเขยี นแบบ

เร่อื ง เครอื่ งมอื และอปุ กรณใ์ นการเขียนแบบ จานวนช่วั โมงสอน 1-4

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. จุดประสงคท์ ั่วไป
เพอื่ ให้รจู้ ักและใช้เคร่ืองมอื อุปกรณใ์ นการเขยี นแบบและมีกจิ นสิ ัยในการทางาน ด้วยความรอบคอบ
เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา และมีความรับผดิ ชอบ
2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

2.1 อธิบายการใช้เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ในการเขยี นแบบได้
2.2 ใชเ้ คร่ืองมอื และอุปกรณใ์ นการเขียนแบบได้
2.3 มกี จิ นิสัยในการทางาน ดว้ ยความรอบคอบ และเปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงตอ่ เวลา และมี
ความรับผดิ ชอบ

เนอ้ื หาสาระ หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ในการเขยี นแบบ
ความร้เู บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ในการเขยี นแบบ
1.1 โต๊ะเขยี นแบบ (DRAWING TABLE)
โต๊ะเขียนแบบโดยท่ัว ๆ ไปจะมขี นาดมาตรฐานจาก 600 X 900 มม.ถงึ 1,050 X 2100 มม. คณุ ลกั ษณะทดี่ ี
ของโต๊ะเขยี นแบบ คอื

1. สามารถควบคมุ การปรับเอยี งของโตะ๊ ได้ 1 ด้าน
2. สามารถควบคมุ การปรบั ความสงู ไดด้ ว้ ยมือหรอื เท้า
3. สามารถปรบั ตาแหน่งกระดานใหอ้ ยใู่ นแนวตง้ั ได้
4. มีโคมไฟ
5. มีอุปกรณ์ประกอบในการเขียนแบบ
โต๊ะเขยี นแบบที่เปน็ รางเลอื่ น มีแขนเลอ่ื นตามขวางซ่ึงเลอ่ื นไปทางซา้ ยและขวาของโต๊ะเขียนแบบรูปร่าง
และการเคล่ือนท่ี ตลอดจนการควบคุมการเคลอ่ื นท่ีจะแตกต่างกนั ไปตามบรษิ ทั ผู้ผลติ ดังรูป 1.1 ซึ่งแสดงถงึ
ส่วนตา่ งๆ ของโต๊ะเขียนแบบที่เป็นรางเลื่อน ซ่ึงมขี ้อดดี งั น้ี
1. มนั่ คงและแมน่ ยา
2. ขณะใช้งานสามารถเอยี งโต๊ะเป็นมุมชนั และชดุ หัวไมเ่ ล่ือนลง
3. ทงั้ ชดุ หัวและแขนเล่ือนตามขวางลอ็ คได้ทกุ ตาแหน่ง ซ่ึงเปน็ คุณลักษณะทสี่ าคัญเมื่อตอ้ งเขียน
ตวั อกั ษรหรือใชอ้ ุปกรณ์อ่ืนๆ ในการเขยี นแบบที่ตอ้ งการตาแหน่งอันมนั่ คง

21

ภาพที่ 1.1 ลักษณะกระดานเขยี นแบบและโต๊ะเขียนแบบ

ภาพที่ 1.2 โตะ๊ เขยี นแบบ

1.2 กระดานเขยี นแบบ

22
จะต้องมีพนื้ ผวิ เรียบทข่ี อบดา้ นซ้ายมอื จะต้องเรียบและตรง เนอ่ื งจากหวั ของไมท้ ี (T-Square)
จะต้องแนบและเลื่อนข้ึนลงท่ขี อบดา้ นซา้ ยมอื นั้น กระดานเขียนแบบส่วนใหญ่นิยมนามาใช้ในการเขียนแบบ
สนามหรอื เขยี นแบบนอกสถานท่ี บางครัง้ กน็ ามาใช้เขียนแบบในโรงเรียนบา้ งเหมือนกันกรณีท่ีโรงเรยี นนัน้ ไมม่ ี
โต๊ะเขยี นแบบมาตรฐาน เพราะถา้ หากวา่ นกั ศึกษาเขยี นไม่เสรจ็ สามารถนาไปเขียนต่อทบ่ี ้านได้โดยไมต่ ้องแกะ
แบบออกจากกระดาน ดงั แสดงในภาพท่ี 1.3

ภาพที่ 1.3 แสดงลกั ษณะของกระดานเขียนแบบและการใช้งานกบั ไม้ที
1.4 บรรทดั เลือ่ น (Parallel Slide)

บรรทดั เล่อื นพัฒนามาจากไมท้ ี โดยใช้เชอื กหรือเส้นเอ็นขึงติดกับโตะ๊ หรือกระดานเขียนแบบทั้งส่ีมมุ
และตดิ ลูกล้อไวท้ ปี่ ลายบรรทดั เลอ่ื นทง้ั สองด้าน ซึ่งทาให้สามารถเคล่ือนทร่ี วดเร็วและรกั ษาระดบั ความขนาน
ได้มากกว่าไมท้ ี ดังรูปที่ 1.4

23

รูปที่ 1.4 บรรทัดเลอ่ื นและลักษณะการตดิ ตงั้ บรรทัดเลือ่ น
1.5 ฉากสามเหลีย่ ม (Set - Square)

ฉากสามเหลยี่ มประกอบไปด้วยฉากสามเหลย่ี ม 45 องศา และฉากสามเหล่ียม 30x60 องศา
ปัจจุบนั ผลติ จากพลาสตกิ ใสและพมิ พส์ เกลระบบเมตรกิ ไว้ที่ดา้ นประกอบมุมฉากทั้งสองด้าน ดงั รปู ที่ 1.6 ฉาก
สามเหลีย่ มทัง้ สองอันนอกจากจะใช้ลากเสน้ ในแนวดิง่ และเสน้ เอยี งตามมมุ ของฉากสามเหลย่ี มแลว้ ยงั ใช้
ประกอบกนั เพ่ือเขียนเสน้ เอียงทุก ๆ 15 องศา ดังรปู ที่ 1.5

รูปท่ี 1.5 ลักษณะของฉากสามเหล่ยี ม 45 องศาและฉากสามเหลี่ยม 30x60 องศา

24

รูปที่ 1.6 การใชฉ้ ากสามเหลย่ี มเขียนเส้นเอยี งทกุ ๆ 15 องศ
1.6 บรรทัดส่วนโค้ง (Irregular Curves)

บรรทดั สว่ นโค้งใช้สาหรับเขียนสว่ นโค้งที่ไม่สามารถใช้วงเวียนเขยี นได้ ซึ่งมหี ลายขนาดและรูปรา่ งท่ี
แตกตา่ งกันออกไป ดงั รูปท่ี 1.7 การเขยี นส่วนโคง้ ด้วยบรรทดั สว่ นโคง้ จะต้องทาบบรรทดั สว่ นโค้งให้สมั ผสั กับ
จดุ อยา่ งน้อย 3 จดุ แล้วลากส่วนโคง้ ผ่านไปตามจุดน้นั ๆ จนกว่าจะได้ส่วนโคง้ ตามต้องการ ดังรูปที่ 1.8

รูปท่ี 1.7 ลักษณะของบรรทดั ส่วนโค้ง

รูปท่ี 1.8 การเขียนสว่ นโค้งด้วยบรรทดั ส่วนโคง้
1.7 วงเวียน (Compasses)

วงเวยี นเปน็ อปุ กรณส์ าหรบั เขียนวงกลมและส่วนโคง้ การใช้วงเวยี นสาหรับเขยี นแบบควรเลือกใช้
ดนิ สอที่มไี ส้อ่อนกว่าไสด้ นิ สอท่เี ขียนด้วยมือ เน่ืองจากการเขยี นวงกลมและส่วนโคง้ ด้วยวงเวียน ไมส่ ามารถ
ออกแรงกดได้เท่ากับการกดบนดนิ สอ สว่ นการเลือกใชว้ งเวยี นควรพจิ ารณาขนาดรัศมีหรอื ขนาดเส้นผ่าน
ศูนยก์ ลางวงกลมและสว่ นโคง้ ซง่ึ มใี หเ้ ลือกใช้ ดังนี้

25

รปู ท่ี 1.11 การเขียนวงกลมขนาดใหญ่ โดยใชข้ าขยายของวงเวียนเขยี นวงกลมโต
1.7.3 วงเวียนแบ่ง (Divider) วงเวียนแบ่งมลี กั ษณะคลา้ ยกับวงเวียนทใี่ ช้งานทัว่ ๆ ไป แตกต่างกนั
ตรงทมี่ ขี าเปน็ เหลก็ แหลมท้งั สองข้าง ใช้สาหรับการถ่ายขนาดจากเคร่อื งมือวัดและนาไปถ่ายลงในกระดาษ
เขียนแบบที่มีระยะเท่ากนั จานวนมาก ซงึ่ จะทาใหม้ ีความรวดเร็วในการถา่ ยระยะมากกว่าใช้วงเวยี นทว่ั ไป ดงั
รูปท่ี 1.12

รปู ที่ 1.12 การใชว้ งเวียนแบ่งถา่ ยขนาด

1.8 ปากกาเขียนแบบ (Drawing Pen)
ปากกาเขียนแบบผลิตตามความหนาเสน้ มาตรฐาน ISO ซ่งึ มีขนาดความหนาของเส้นตั้งแต่ 0.13 มม.

จนถึงขนาด 2.00 มม. โดยเพ่มิ ขนาดความหนาเสน้ ตามหลักอนุกรมความก้าวหน้าทางคณติ ศาสตร์ ลักษณะ
ของปากกาเขยี นแบบและขนาดความหนาของปากกาเขียนแบบตามระบบ ISO ดงั รูปท่ี 1.13

รูปที่ 1.13 ลักษณะของปากกาเขียนแบบและขนาดเสน้ ตามมาตรฐาน ISO

26

1.9 ดนิ สอเขยี นแบบ (Drawing Pencil)
ดินสอที่ใช้ในการเขยี นแบบโดยทวั่ ไปมี 2 ชนดิ คือ ดินสอเปลือกไม้ (Wood Pencil) และดนิ สอกล

(Machanical Pencil) หรอื ท่เี รียกกันโดยท่วั ไปว่า “ดนิ สอกด” ดงั รปู ที่ 1.14

รปู ท่ี 1.14 ลกั ษณะของดนิ สอเปลอื กไม้และดนิ สอกด
ดินสอเปลอื กไมส้ ามารถแบง่ เกรดความแขง็ ได้ 3 กลุ่มคอื กลมุ่ แขง็ ตงั้ แต่ 9H-4H ใช้สาหรับเขยี นเส้น
รา่ งแบบ กลมุ่ ปานกลางตงั้ แต่ 3H-B ใช้ในการเขียนแบบทัว่ ไป และกลมุ่ อ่อนตัง้ แต่ 2B-7B ใช้สาหรับงานศลิ ปะ
ดงั รปู ที่ 1.15 ส่วนดนิ สอกลหรือดนิ สอกดจะมีขนาดความโตของไสใ้ ห้เลอื กใช้งานต้ังแต่ 0.25 มม. ,0.35 มม.
,0.50 มม. และ 0.70 มม. เกรดความแขง็ มตี งั้ แต่ 2B-B-HB-H-2H เปน็ ต้น

รปู ที่ 1.15 ดนิ สอเปลอื กไมแ้ ละเกรดความแข็งของไสด้ ินสอ
1.9.1 การเหลาดินสอเปลอื กไม้ เสน้ ท่ไี ด้ในการเขียนแบบจะหนาหรอื บาง จะข้นึ อยกู่ บั การเหลา
ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบ การเหลาดนิ สอเขียนแบบสามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ

1. การเหลาดินสอแบบกรวย การเหลาดนิ สอแบบนี้จะทาใหไ้ ด้ปลายดินสอแหลม ใช้ในการ
ร่างแบบ เขยี นเส้นกาหนดขนาด เส้นช่วยกาหนดขนาด เส้นศูนยก์ ลางเล็ก เสน้ ทแยงมุมพน้ื ทีร่ าบและเส้นลาย
ตัด ดงั รปู ที่ 1.1

27

รูปที่ 1.16 การเหลาดนิ สอแบบกรวย
2. การเหลาดนิ สอแบบล่ิม การเหลาดนิ สอแบบนจ้ี ะทาใหไ้ ดป้ ลายดนิ สอแหลมและแบนใช้ในการ
เขียนเส้นขอบรูป เส้นสุดเกลียวและเสน้ ศนู ย์กลางใหญ่ ดังรปู ท่ี 1.17

รูปที่ 1.17 การเหลาดินสอแบบล่มิ
1.9.2 การใชด้ นิ สอเขยี นแบบ

1. การเขยี นเสน้ ในแนวระดบั (Drawing a Horizontal Lines) การเขียนเส้นในแนวระดับ
จะต้องใช้ไม้ทหี รอื บรรทัดเลือ่ น ถ้าใช้ไมท้ ีหัวไมท้ จี ะต้องแนบกบั ขอบดา้ นซา้ ยของกระดานเขียนแบบ ดังรปู
1.18 (ก) และจบั ดนิ สอให้อยู่ในแนวขอบของไม้ทีทามมุ เอยี งไปด้านหลัง 60 ดงั รูป 1.18 (ข) ถ้ามองจากส่วน
หวั ของไมท้ ี ดนิ สอเขยี นแบบตอ้ งตั้งฉากกับกระดาษเขียนแบบ ดังรปู 1.18 (ค) ไมค่ วรให้ปลายดนิ สอจรดกับ
ขอบไม้ที ดงั รูป 1.18 (ง) ขณะลากเส้นตอ้ งหมนุ ดินสอช้า ๆ เพื่อให้ขนาดเส้นมีความสม่าเสมอเท่ากนั และไส้
ดินสอสกึ หรอเทา่ กนั ด้วย

28

รปู ที่ 1.18 แสดงวิธกี ารเขียนเส้นในแนวระดับ
2. การเขยี นเส้นในแนวดงิ่ (Drawing a Vertical Lines) การเขียนเสน้ ในแนวด่ิง จะต้องใชไ้ ม้
ทหี รือบรรทัดเลื่อนรว่ มกับฉากสามเหลี่ยม 45 หรือ 30 x 60 โดยต้องยึดฉากสามเหลี่ยมให้แนบชิดกับไมท้ ี
หรือบรรทัดเล่ือน ดังรูป 1.19 (ก) ลากดนิ สอให้ทามุมประมาณ 60 กบั กระดาษเขียนแบบ ดังรูป 1.19 (ข)
และการลากเส้นใหส้ ะดวกผเู้ ขียนแบบควรบิดตวั ให้อยใู่ นท่าทีเ่ หมาะสม ดังรปู 1.19 (ค)

รปู ท่ี 1.19 แสดงวธิ ีการเขียนเส้นในแนวด่งิ

29

1.10 อุปกรณ์ทาความสะอาด
1.10.1 ยางลบ (Rubber Eraser) ยางลบท่ีใช้ในงานเขยี นแบบควรเลอื กใช้ยางลบที่มีคุณภาพ

ดี มีความออ่ นน่มุ สามารถลบรอยดนิ สอได้ง่าย โดยทีก่ ระดาษไม่ช้า ดงั รูป 1.20 (ก) แต่ถ้าเป็นนกั เขยี นแบบมือ
อาชีพจะนยิ มใช้ยางลบไฟฟ้า ซงึ่ สามารถลบไดง้ ่ายและลบในพ้ืนทแี่ คบ ๆ ไดด้ ี ดงั รปู 1.20 (ข)

1.10.2 แผ่นกน้ั ลบ (Eraser Shield) แผ่นก้นั ลบที่ใช้ในการเขยี นแบบทามาจากโลหะไร้
สนิม มขี นาดบาง ภายในแผ่นก้ันลบเซาะรอ่ งเปน็ รอ่ งตรงและร่องโค้ง ใชป้ ้องกนั ไม่ให้ยางลบไปลบถกู ส่วนท่ี
ต้องการ ดงั รูปท่ี 1.20 (ค)

1.10.3 แปรงปดั ผง (Brush) เป็นแปรงทผ่ี ลติ มาสาหรับการปัดผงกราไฟท์ของดินสอออกจาก
แบบงานโดยเฉพาะ และเครื่องมือเขียนแบบโดยไมท่ าให้ผงกราไฟทก์ ระจายตัว ดังรูปที่ 1.20

รปู ท่ี 1.20 อุปกรณ์ทาความสะอาดในงานเขยี นแบบ

2. การบารุงรกั ษาเครอ่ื งมือเขยี นแบบ
เคร่อื งมือเขียนแบบไดร้ บั การออกแบบเพอ่ื ให้ใชเ้ ฉพาะงาน หากนาไปใชก้ บั งานทไ่ี มเ่ หมาะสม จะ

ทาให้เกิดการเสียหายกบั เคร่ืองมือเขียนแบบได้ โดยสรุปดงั นี้
1. ไม่ควรใช้ไมท้ แี ละฉากสามเหลีย่ มเปน็ อปุ กรณท์ าบตัดกระดาษ เพราะจะทาใหข้ อบของไม้ทแี ละ

ฉากสามเหลย่ี มบน่ิ จากคมมดี ได้
2. ไม่ควรนาเทปกาวติดบนไมท้ แี ละฉากสามเหล่ยี ม เพราะเมือ่ ลอกออกจะทาให้เกิดยางเหนียวบาง ๆ

เมอ่ื นาอปุ กรณ์เหล่าน้ไี ปเขียนแบบจะทาใหแ้ บบงานสกปรกได้
3. ไม่ควรใช้ปลายวงเวียนเปน็ เหล็กงดั เชน่ งัดลวดเย็บกระดาษหรอื นาไปเจาะรู เพราะจะทาให้ปลา

ยวงเวียนหัก งอ หรือทอ่ื เม่อื นาไปเขียนแบบอาจลื่นไถลออกจากศูนยก์ ลางได้
4. การเชด็ ทาความสะอาดเคร่อื งมือเขียนแบบด้วยน้ายา ควรเลือกใชช้ นิดท่มี ีความเขม้ นอ้ ย ถ้าใช้

สารเคมีท่มี คี วามเข้มขน้ มาก จะทาให้สเกลของเคร่ืองมอื เขียนแบบลบออกได้ นอกจากน้นั สารเคมจี ะทาลาย
พืน้ ผิวของอุปกรณ์เขยี นแบบอกี ดว้ ย

30

5. เครื่องมอื เขยี นแบบปัจจบุ ัน มักจะมีคู่มือการใชง้ านกากับไว้ ผ้ใู ช้ควรศกึ ษาการใชง้ านและการ
บารงุ รักษาตามที่บริษัทผู้ผลติ กาหนดไวใ้ นคู่มือนน้ั ๆ

31

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1

รหสั วิชา 2102-2001 ชือ่ วชิ า เขยี นแบบเครอื่ งมอื กล 1
ชอื่ หนว่ ย เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ในงานเขยี นแบบ

เร่ือง เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ จานวนชัว่ โมงสอน 1-4

จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงขอ้ เดียว

1. ข้อใดไมใ่ ช่เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการลากเส้นตรงรว่ มกับโตะ๊ เขียนแบบ

ก. ไม้ที ข. บรรทัดเลือ่ น

ค. ฉากสามเหลยี่ ม ง. วงเวียน

2. การเขยี นแบบในลกั ษณะใดนิยมใช้กระดานเขียนแบบมากท่ีสุด

ก. งานเขยี นแบบภายในสานักงาน ข. งานเขยี นแบบภาคสนาม

ค. งานเขียนแบบทวั่ ไป ง. งานเขยี นแบบสาหรับชา่ งมืออาชีพ

3. ข้อใดไม่ใช่สว่ นประกอบของไม้ที

ก. สว่ นหัว ข. สว่ นใบ

ค. สเกลส่วนใบระบบเมตริก ง. สเกลส่วนใบระบบนว้ิ

4. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของบรรทัดเล่อื น

ก. เลือ่ นโดยใชร้ างบังคบั ความขนาน ข. เลือ่ นโดยใช้เชอื กหรอื เอ็น

ค. เลือ่ นโดยใชล้ ูกลอ้ ชว่ ยในการเคลื่อนที่ ง. เคลอ่ื นทไี่ ด้รวดเรว็ และรักษาความขนานได้

5. ขอ้ ใดไม่ใช่ขนาดมุมของฉากสามเหล่ยี ม

ก. 30 องศา ข. 45 องศา

ค. 60 องศา ง. 75 องศา

6. ถา้ นาฉากสามเหลยี่ มทั้งสองอนั มาประกอบใชง้ านร่วมกนั จะสามารถแบ่งมุมไดค้ รั้งละกี่องศา

ก. 15 องศา ข. 30 องศา

ค. 45 องศา ง. 60 องศา

7. การเขยี นส่วนโค้งดว้ ยบรรทดั สว่ นโคง้ ควรมจี ดุ สมั ผสั อย่างนอ้ ยก่ีจุด

ก. 2 จุด ข. 3 จุด

ค. 4 จุด ง. 5 จุด

8. การเขียนวงกลมขนาดเลก็ ควรเลือกใช้วงเวียนในข้อใด

ก. Divider ข. Bow Compass

ค. Large Compass ง. Spring Compass

9. การเขยี นวงกลมขนาด 100 มม. ข้นึ ไป ควรเลือกใชว้ งเวยี นในขอ้ ใด

ก. Divider ข. Bow Compass

32

ค. Large Compass ง. Spring Compass

10. ตอ้ งการถา่ ยขนาดหรอื ระยะทาง ควรเลือกใช้วงเวียนในข้อใด

ก. Divider ข. Bow Compass

ค. Large Compass ง. Spring Compass

33

เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1

รหัสวชิ า 2102-2001 ช่ือวชิ า เขียนแบบเคร่ืองมือกล 1
ชอ่ื หน่วย เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ

เรือ่ ง ความร้เู บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ระบบฐานข้อมูล จานวนช่วั โมงสอน 1-4

ขอ้ ตอบ
1ง
2ข

3ง

4ก

5ง
6ก
7ข
8ข

9ค

10 ก

34

ใบมอบหมายงานหน่วยที่ 1 (Assignment Sheet)

รหัสวิชา 2102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ชื่อหน่วย เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ

เรื่อง เครื่องมอื และอปุ กรณ์ในงานเขียนแบบ จานวนช่วั โมงสอน 1-4

1. จุดประสงคก์ ารมอบหมายงาน
เพอ่ื ให้ผู้เรยี นศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง

2. แนวทางการปฏิบัติงาน
จัดทารายงานพรอ้ มเข้าเลม่

3. แหล่งค้นควา้
ห้องสมดุ , หอ้ งอินเตอร์เนต็

4. คาถาม/ปญั หา
1. จัดทารายงานเร่ืองความรู้เบ้ืองต้นเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบไม่น้อยกว่า 5

หนา้ กระดาษ A4

5. กาหนดเวลาส่ง
สัปดาหถ์ ดั ไป

35

ใบงานหนว่ ยท่ี 1 (Job Sheet)

รหสั วชิ า 2102-2001 ชอ่ื วชิ า เขยี นแบบเครื่องมือกล 1
ชอื่ หน่วย เครอื่ งมอื และอปุ กรณใ์ นงานเขียนแบบ

เรื่อง เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในงานเขยี นแบบ จานวนช่วั โมงสอน 1-4

1. จดุ ประสงคท์ ั่วไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครือ่ งมอื /วสั ดอุ ปุ กรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ข้อควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานท่ีมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วดั ผล/ประเมินผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

33

แผนการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 2

รหัสวิชา 20102-2001 ชือ่ วชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1
ชื่อหน่วย มาตรฐานในการเขยี นแบบ

เรอื่ ง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนชั่วโมงสอน 5-8

1. สาระสาคญั
สง่ิ ท่ีสาคัญอยา่ งย่ิงในงานเขยี นแบบ ผเู้ ขยี นแบบจะต้องศึกษามาตรฐานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ

เขียนแบบสาขานั้น ๆ เพ่อื ให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง ซ่ึงมาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิคท่ี
ผู้เขียนแบบต้องศึกษาเป็นการเบ้ืองต้น ได้แก่ มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานเส้น การเขียน
ตวั อกั ษรภาษาอังกฤษและตัวเลข การเขียนตัวอกั ษรภาษาไทย วธิ ีการเขยี นตวั อกั ษรและมาตราส่วน
2. งานประจาหน่วยการเรยี นรู้

2.1 เขยี นตวั เลข, ตวั อักษรตามมาตรฐานเขยี นแบบได้ถูกตอ้ ง
2.2 เขยี นเสน้ ในการเขียนแบบตามมาตรฐานเขียนแบบได้ถกู ต้อง
3. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
3.1 บอกมาตรฐานกระดาษเขยี นแบบได้
3.2 บอกชนดิ เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบได้
3.3 เขยี นตัวเลข , ตวั อกั ษรตามมาตรฐานเขยี นแบบไดถ้ ูกต้อง
3.4 เขยี นเส้นในการเขยี นแบบตามมาตรฐานเขียนแบบได้ถกู ต้อง
3.5 มกี ิจนิสัยในการทางานเขยี นแบบได้
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (มาตรฐานการเรยี นรู้)
4.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป

เพื่อใหร้ ู้มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานเสน้ การเขยี นตัวอกั ษรภาษาองั กฤษและ
ตวั เลข การเขียนตวั อักษรภาษาไทย วธิ กี ารเขยี นตัวอักษรและมาตราสว่ น

4.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
4.2.1 บอกมาตรฐานกระดาษเขยี นแบบได้
4.2.2 บอกชนดิ เส้นท่ีใช้ในการเขียนแบบได้
4.2.3 เขียนตัวเลข, ตวั อกั ษรตามมาตรฐานเขียนแบบไดถ้ กู ต้อง
4.2.4 เขียนเสน้ ในการเขียนแบบตามมาตรฐานเขียนแบบไดถ้ กู ตอ้ ง
4.2.5 มีกิจนสิ ัยในการทางานเขยี นแบบได้

5. สาระการเรียนรู้

*********เน้อื หาตามใบความรู้*********

34

6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ใชเ้ ทคนคิ การสอน แบบขนั้ ตอนการเรยี นรแู้ บบ MAIP

6.1 สปั ดาหท์ ี่ 1

1. ขั้นสนใจ (M = Motivation)

1.1 ครชู ้แี จงการวัดผลและประเมินผลในวชิ าเขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1

1.2 ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงรว่ มกนั ในการจดั การเรียนรวู้ ิชาเขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1

1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธ์กิ ่อนเรียน

1.4 ครูสนทนากับผู้เรียนเก่ียวกับมาตรฐานในการเขียนแบบ เช่น กระดาษเขียนแบบ

มาตรฐานเส้น การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข การเขียนตัวอักษรภาษาไทย วิธีการเขียน

ตวั อกั ษรและมาตราส่วน

2. ขน้ั ศึกษาข้อมลู (I = Information)

2.1 ผู้เรียนศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง มาตรฐานในการเขียนแบบ

2.2 ครูอธิบายเนือ้ หาเพ่ิมเตมิ ใน เรอ่ื ง มาตรฐานในการเขียนแบบ

2.3 ครสู าธติ และยกตวั อย่างมาตรฐานในการเขยี นแบบ

2.4 ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มเพือ่ ศึกษาและหาข้อสรุปมาตรฐานในการเขียนแบบรปู แบบตา่ งๆ

3. ข้ันพยายาม (A = Application)

3.1 ผู้เรียนฝกึ ปฏิบัตกิ ารเขยี นตวั อกั ษรภาษาอังกฤษและตัวเลข การเขียนตัวอักษร

ภาษาไทย วิธกี ารเขียนตวั อักษรและมาตราส่วน

3.2 ผเู้ รียนและครรู ่วมกนั สรุปเนือ้ หาวิชา เรอื่ ง มาตรฐานในการเขยี นแบบ เชน่ มาตรฐาน

ของกระดาษเขียนแบบ มาตรฐานเสน้ การเขียนตัวอกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลข การเขียนตัวอักษรภาษา

ไทย วธิ กี ารเขียนตัวอักษรและมาตราส่วน

3.3 ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ

4. ขัน้ สาเร็จผล (P = Progress)

4.1 ผสู้ อนเฉลยแบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ และอธิบายเพ่ิมเติมเพอื่ ให้ผู้เรียนเข้าใจ

เนือ้ หาวชิ ามากย่งิ ขน้ึ

7. ส่ือการเรยี นรู้

7.1 หนังสอื เรยี น 7.4 แบบฝกึ หัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสังเกตพฤติกรรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลักฐานการเรยี นรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝึกหัด

8.3 รายงา

35

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดบั เครอื่ งมือการประเมนิ วิธีวัดและประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผา่ น ไมผ่ ่าน
1 แบบฝกึ หัด ตรวจแบบฝกึ หัด ได้คะแนน ได้คะแนน
ร้อยละ 60 ต่ากว่า
ข้อละ 1 คะแนน ขึน้ ไป รอ้ ยละ 60

ถกู 1 คะแนน

ไม่ถกู 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
3 แบบประเมินช้ินงาน ตรวจประเมนิ ชิ้นงาน ร้อยละ 60 ตา่ กวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ได้คะแนน
4 แบบทดสอบปฏิบัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ได้คะแนน
5 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ตรวจแบบสังเกตพฤติกรรม รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ข้นึ ไป ร้อยละ 60
ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึง ดี 4 คะแนน
ประสงค์ตามคา่ นิยม 12 พอใช้ 3 คะแนน
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรบั ปรุง 1 คะแนน
10. แหลง่ การเรียนรู้
10.1 ห้องสมดุ
10.2 ห้องอนิ เตอรเ์ น็ต

36

11. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้
11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาที่พบ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแก้ไขปญั หา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ……………………………………ผู้สอน ลงชือ่ ………………………………..…….
(…………………………………) (…………………………………..)
รองผอู้ านวยการฝาุ ยวชิ ากา

37

ใบความร้หู นว่ ยท่ี 1 (Information Sheet)

รหัสวิชา 2102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1
ช่อื หน่วย มาตรฐานในงานเขียนแบบ

เรอ่ื ง มาตรฐานในงานเขียนแบบ จานวนชัว่ โมงสอน 5-8

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. จดุ ประสงค์ทั่วไป
เพ่ือให้รมู้ าตรฐานของกระดาษเขยี นแบบ มาตรฐานเส้น การเขียนตัวอักษรภาษาองั กฤษและตัวเลข

การเขียนตวั อกั ษรภาษาไทย วธิ กี ารเขยี นตัวอักษรและมาตราส่วน
2. จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

2.1 บอกมาตรฐานกระดาษเขียนแบบได้
2.2 บอกชนดิ เสน้ ที่ใชใ้ นการเขยี นแบบได้
2.3 เขยี นตัวเลข , ตวั อกั ษรตามมาตรฐานเขยี นแบบได้ถูกต้อง
2.4 เขยี นเสน้ ในการเขยี นแบบตามมาตรฐานเขียนแบบไดถ้ ูกต้อง
2.5 มกี ิจนิสัยในการทางานเขียนแบบได้

เน้อื หาสาระ หน่วยท่ี 2 เรื่อง มาตรฐานในงานเขียนแบบ

มาตรฐานในงานเขียนแบบ

1. กระดาษเขยี นแบบ (Drawing Paper)

กระดาษเขยี นแบบมีรูปร่างเปน็ ส่เี หลย่ี มพื้นผ้า มีสัดส่วนความกว้างและความยาวเท่ากับ 1 : 2
โดยขนาดกระดาษมาตรฐานจะคิดจากพนื้ ท่ี 1 ตารางเมตร ขนาดกระดาษเขยี นแบบตามมาตรฐาน ดังตารางที่

1.1 และรปู ที่ 2.1

ตารางท่ี 2.1 มาตรฐานของกระดาษเขยี นแบบ

ขนาดมาตรฐาน A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6

เนอ้ื ทเ่ี ขียนแบบ 831x1179 584x831 410x584 287x410 200x287 138x200 95x138

ขนาดกระดาษท่ีตัด 841x1189 594x841 420x594 297x420 210x297 148x210 105x148

แลว้

38

รูปที่ 2.1 แสดงขนาดของกรอบพ้นื ทกี่ ระดาษเขยี นแบบ
1.1 การติดกระดาษเขียนแบบ

การตดิ กระดาษในงานเขยี นแบบ ยังไม่มวี ธิ ีการทต่ี ายตัวหรือดีท่ีสดุ ขนึ้ อย่กู บั ผู้เขยี นแบบ แต่
ก่อนอื่นต้องจัดวางกระดาษเขยี นแบบให้ขนานกบั ขอบโต๊ะและคอ่ นมาทางซา้ ยมือ ใชไ้ มท้ ีหรอื บรรทัดเล่อื น
ตรวจสอบความขนานของกระดาษ จากนน้ั จึงติดเทปกาวให้ครบท้งั 4 มมุ โดยติดมมุ ซ้ายบน มุมขวาล่าง มุม
ขวาบนและมุมซ้ายลา่ งตามลาดบั ดังรปู ที่ 2.2

รปู ท่ี 2.2 แสดงการตดิ กระดาษเขียนแบบ
1.2 ตารางรายการ

เป็นตารางที่ใช้แสดงรายละเอียดที่จาเปน็ ตา่ ง ๆ ในงานเขียนแบบ ได้แก่ ชื่อช้นิ งาน ชื่อสถาน
ประกอบการหรือองค์กร ชือ่ ผู้เขียนแบบ ชื่อผอู้ อกแบ ชอ่ื ผู้ตรวจแบบ หมายเขแบบ วัน เดอื น ปี ที่เขยี นแบบ
มาตราส่วนของแบบ สว่ นลักษณะของตารางรายการสามารถจาแนกไดค้ อื แบบอยา่ งงา่ ย ซึง่ นยิ มใช้ในสถาน
ศกึ ษาทั่วไป ดังรปู ท่ี 2.3 และตารางรายการท่ีใชใ้ นสถานประกอบการตามมาตรฐาน DIN 6771 ดังรูปท่ี 2.4

39
รปู ท่ี 2.3 ตัวอย่างตารางรายการที่ใชใ้ นสถานศกึ ษา

รปู ที่ 2.4 ตวั อย่างตารางรายการที่ใช้ในสถานประกอบการตาม DIN 6771

40

2. เสน้ (Line)

เสน้ ท่ีใช้ในงานเขยี นแบบถูกกาหนดความหนาของเสน้ ตามมาตรฐาน ISO ซึ่งเปน็ ขนาดทีเ่ หมาะสม

สาหรบั แบบงานทจ่ี ะยอ่ ลงในไมโครฟลิ ์ม และเม่อื ถ่ายแบบออกจากไมโครฟิลม์ แลว้ ไม่ว่าจะย่อหรอื ขยายแบบ

งานมาตรฐานความหนาของเสน้ กไ็ ม่เปลีย่ นแปลง ความหนาของเส้นมาตรฐาน ISO ทเี่ ลก็ ทส่ี ุดคือ 0.13 มม.

โดยจะเพิ่มขนาดความหนาตามหลัก “อนุกรมความก้าวหนา้ ทางคณิตศาสตร์” หมายถงึ ขนาดความหนาของ

เสน้ ต่อไปจะตอ้ งคูณด้วย 2 เช่น 0.13x 2 = 0.18 มม. เป็นตน้ ดังนน้ั ขนาดความหนาของเส้นท่ใี ช้ในงาน

เขยี นแบบปัจจบุ นั มดี งั น้ี 0.13, 0.18, 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4 และ 2.0 มม. และเม่ือนามาจัดกลุ่มเสน้

จะได้กล่มุ เสน้ ดงั ตารางที่ 2.5

ตารางที่ 2.2 แสดงความหนาของกลมุ่ เส้นในงานเขยี นแบบ

ความหนาของเสน้ กลมุ่ เส้น ความหนาของเสน้ ท่ใี ช้ (มม.) หมายเหตุ
a , d b , e, f c

0.25 0.25 0.25 0.13 0.18 *1 *2

0.35 0.35 0.35 0.18 0.25 *1 *2

0.5 0.5 0.5 0.25 0.35 *1 *2 *3

0.7 0.7 0.7 0.35 0.5 *3

1.0 1.0 1.0 0.5 0.7

1.4 1.4 1.4 0.7 1.0

2.0 2.0 2.0 1.0 1.4

หมายเหตุ *1 งานเขียนแบบไฟฟูา *2 งานเขยี นแบบโยธา *3 งานเขยี นแบบเครือ่ งกล

ตารางท่ี 2.3 แสดงตัวอย่างกลมุ่ เส้น 0.5

กลุม่ เสน้ ชนิดและความหนาของเส้น ความหนาเส้น ชนดิ ของเส้น
0.5 เส้นเตม็ หนา
a 0.25 เส้นเต็มบาง
0.35 เสน้ ประ
b 0.5 เสน้ ศูนย์กลางใหญ่
0.25 เส้นศนู ย์กลางเลก็
0.5 c 0.25 เสน้ มอื เปล่า

d

e

f

ตารางท่ี 2.4 แสดงชนิดของเสน้ และลักษณะการใช้งาน

41

ชนิดของเสน้ และการใช้งาน ความหนาและวิธกี ารเขียน ตัวอย่างการใชง้ าน
เสน้ เตม็ หนา (a) 0.5 มม.
เส้นขอบรปู ท่ีมองเห็น ,เสน้ รอบรูป ,
เส้นสดุ เกลยี ว , สัญลกั ษณง์ านเชอ่ื ม

เส้นเตม็ เบา,เส้นเต็มบาง (b) 0.25 มม.
เสน้ กาหนดขนาด, เสน้ ช่วยกาหนด
ขนาด
เส้นโคนเกลียว, เสน้ ทแยงมุมพืน้ ทรี่ าบ

ชนิดของเสน้ และการใช้งาน ความหนาและวธิ กี ารเขยี น ตวั อยา่ งการใชง้ าน
(ตอ่ ) เสน้ กรอบของเน้ือทภ่ี าคตดั
เส้นลายตัดพน้ื ทห่ี นา้ ตัดที่ถูกตัด
เส้นอธิบายรายละเอยี ด
เสน้ ขอบรูปของชิน้ สว่ นใกล้เคียง

เส้นประ (c) 0.35 มม.
เส้นขอบรปู ทีถ่ ูกบัง 0.5 มม.
เสน้ ขอบรปู ของวตั ถุโปร่งใส

เส้นศูนยก์ ลางใหญ่ (d)
เสน้ แสดงแนวการตัด (Cutting Plan
Line)
แสดงแนวการทางานพิเศษ เชน่
กระบวน

การ Heat Treatment เปน็ ตน้

42

เสน้ ศูนย์กลางเล็ก (e) 0.25 มม.

เส้นผ่านศนู ย์กลางวงกลม,ทรงกลม,

ทรงกระบอก, เส้นผา่ ศูนย์กลางฟนั เฟอื ง

เสน้ แบบสาเรจ็ ภายในช้ินงาน,

ระยะตา่ สดุ หรือระยะไกลสุดของแขน

หมนุ

เส้นแสดงรปู รา่ งเดมิ ของชิน้ งาน

เส้นมือเปลา่ (f) 0.25 มม.

เสน้ ขอบเขตการตัดเฉพาะส่วน

เส้นฉนวนกันความร้อน

เสน้ แสดงการหักของไม้- เส้นลายไม้

รูปที่ 2.5 ตัวอยา่ งการใชง้ านของเสน้ ในงานเขยี นแบบเครื่องกล

3. การเขยี นตวั อกั ษรภาษาอังกฤษและตวั เลข
ตวั อักษรภาษาองั กฤษท่ใี ชใ้ นงานเขียนแบบจะต้องเป็นแบบทีอ่ ่านได้ง่าย และมขี นาดเหมาะสม

กบั แบบงานทเี่ ขยี น ถ้าใช้ตวั อักษรท่ีไม่เหมาะสมกับแบบงาน ก็จะทาใหแ้ บบงานไม่สวยงามและขาดความเป็น

43

ระเบียบเรยี บร้อย ดงั น้ัน ในงานเขยี นแบบเครือ่ งกลจงึ กาหนดมาตรฐานการเขียนตัวอกั ษรภาษาองั กฤษและ
ตวั เลขไว้ เพื่อความสะดวกในการผลิตเครือ่ งมือสาหรับเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข เพื่อใช้ในงาน
เขียนแบบ ตัวอักษรและตัวเลขที่ใชใ้ นงานเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO จะมีท้งั แบบตัวตรงและแบบตัวเอียง
โดยมีมมุ เอยี ง 75 องศากบั แนวระดบั ดงั รปู ที่ 2.6 และ รูปที่ 2.7

ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
abcdefghijklmnopqrstuvwxyz
1234567890,O/.
[(&?!:,;;-=+x%)]

รปู ท่ี 2.6 ตัวอักษรภาษาอังกฤษและตวั เลขแบบตวั ตรง

ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
abcdefghijklmnopqrstuvwxyz
1234567890,O/.
[(&?!:.;;,,-=+x%)]

รูปที่ 2.7 ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและตวั เลขแบบตัวเอียง

ส่วนขนาดความสูงของตวั อักษรภาษาอังกฤษและตัวเลขเพม่ิ ขนาดตาม “หลกั อนกุ รมความก้าวหน้า
ทางคณติ ศาสตร์” โดยขนาดตัวอกั ษรและตวั เลขที่มีความสงู นอ้ ยท่สี ดุ คอื 2.5 มลิ ลเิ มตร ขนาดความสงู ของตัว
ต่อไปจะต้องคณู ดว้ ย 2 เชน่ 2.5x2=3.5 มม. ขนาดความสงู ของตวั อกั ษรและตัวเลขจะเพ่ิมขน้ึ ตามลาดับ
ดงั นี้ 2.5, 3.5, 5, 7, 10, 14, และ 20.0 มม. ดงั รปู ที่ 2.8

BEARING SHAFT MACHINE TOOL SCREW
bevel gear roller disk
ตัวอักษรขนาด 3.5 มม.

DESIGN REDUCING GEAR NUT
spring engine spindle
ตัวอักษรขนาด 5.0 มม.

ENGINE LATHE CARRIAGE
friction clutch winch
ตวั อกั ษรขนาด 7.0 มม.

ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1234567890

ตัวอกั ษรขนาด 10 มม.

44

รปู ท่ี 2.8 ขนาดความสงู ของตวั อักษรและตวั เลข
3.1 มาตรฐานการเขยี นตัวอักษรภาษาองั กฤษและตัวเลข
ตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลขอารบิคมีขนาดความหนาของเส้นเท่ากับ 1/10 ของความสูงของ
ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ ความสูงของตัวอักษรพิมพ์เล็กเท่ากับ 7/10 ของตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ มาตรฐานการเขียน
ตัวอกั ษรภาษาอังกฤษและตัวเลข ดงั รูปท่ี 2.9 และตารางที่ 2.5

รปู ท่ี 2.9 มาตรฐานการเขียนตัวอกั ษรภาษาอังกฤษและตวั เลข
รปู ท่ี 2.9 มาตรฐานการเขยี นแบบตัวอกั ษรภาษาอังกฤษและตัวเลข

ตารางท่ี 2.5 แสดงการเปรยี บเทยี บขนาดในการเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอกั ษรและตัวเลข ขนาด ความสงู ของตวั อักษร (h) (มลิ ลเิ มตร)
2.5 3.5 5 7 10

ความสูงของตวั อกั ษรพิมพใ์ หญ่ h 10/10h 2.5 3.5 5 7 10

ความสงู ของตัวอกั ษรพมิ พเ์ ล็ก c 7/10h - 2.5 3.5 5 7

ความหนาของเส้น 1/10h 0.25 0.35 0.5 0.7 1.0

d

ระยะห่างระหว่างบรรทดั 16/10h 3.5 5 7 10 14

b

ระยะหา่ งของตวั อักษร 2/10h 0.5 0.7 1.0 1.4 2

a

ระยะหา่ งระหวา่ งคา 6/10h 1.5 2.1 3 4.2 6

e

ความยาวส่วนบนและลา่ งของตวั พิมพ์เลก็ f 3/10h 0.75 1 1.5 2.1 3

ตัวอักษรและตัวเลขตามมาตรฐานระบบ ISO กาหนดเฉพาะความสูงไม่ได้กาหนดความกว้างของ

ตวั อกั ษรไว้ ขึน้ อยู่กับผู้ใช้จะเลือกใช้ให้เหมาะสมและสวยงาม จากการวัดขนาดของตัวอักษรบนบรรทัดเขียน

ตัวอักษรภาษาอังกฤษ จะมีขนาดเท่ากับ ตารางมาตรฐานการเขียนตัวอักษรจากหนังสือ “ Exercise in

45

Machine drawing Translated from the Russian by levent moscow 1975” โดยกาหนดขนาด
ความกว้างของตัวอักษรไว้ดังตารางที่ 2.6

ตารางท่ี 2.6 สดั สว่ นความสูงและความกวา้ งของตัวเลขและตวั อกั ษร

Specification Designation Specification Designation

Height of capital letters and h Width of lower-case letters

figures i,j,l and

Height of lower-case letters figure I b6=2/7h

(except b,d,f,

g,h,i,j,k,l,p,q,t, and y,) h1=5/7h Width of lower-case letters b7=3/7h

f,r, and t

Height of lower-case letters Width of lower-case letters b8=h

b,d,g,h,i, m and w

j,k,l,p,q,t, and y, h Line thickness of capital b9=1/7h

letters and figures

Width of capital letters (except Line thickness of lower-case b10=1/10h

A,I,J,M, letters

and W ) and figures (except b=4/7h Spaces between letters in

I) word and

Width of capital letters I b1=1/7h between figures in A=2/7h

numbers

Width of capital letters J b2=3/7h Spaces between word and

between

Width of capital letters A and M b3=5/7h number, not less than A1=h

Width of capital letters w b4=h Spaces between lines of

lettering not

Width of capital letters (except b5=4/7h less than A2=1 h

f,i,j,l,m,r,t,and w)

46

จากตารางท่ี 2.6 การกาหนดขนาดความสูงของตัวอักษรพิมพ์ใหญ่เท่ากับ 7/7h ซ่ึงเท่ากับ 10/10h ในระบบ

ISO เม่อื เทียบคา่ ความสูง 7h จากตารางเป็น 10h ในระบบ ISO จะได้ขนาดต่าง ๆ ดงั นี้

1. ความสูงตัวอักษรพิมพใ์ หญ่และตัวเลข 10/10h

2. ความสูงของตัวอักษรพมิ พเ์ ลก็ 7/10h

3. ความสูงตวั อกั ษรพมิ พเ์ ล็ก มีตัวอกั ษร b d t g h I j k l p q y 10/10h

4. ความกว้างตัวอักษรพมิ พ์ใหญ่ 6/10h

5. ความกวา้ งตวั อักษรพิมพ์ใหญ่ I 1/10h

6. ความกวา้ งตวั อกั ษรพิมพใ์ หญ่ J 4/10h

7. ความกวา้ งตวั อักษรพิมพใ์ หญ่ A และ M 7/10h

8. ความกว้างตัวอกั ษรพมิ พใ์ หญ่ W 10/10h

9. ความกวา้ งตัวอกั ษรพิมพ์เล็ก 6/10h

10. ความกวา้ งตวั อกั ษรพิมพ์เลก็ มตี ัวอกั ษร I j และ l 3/10h

11. ความกว้างตัวอักษรพิมพเ์ ลก็ มตี ัวอักษร f r และ t 4/10h

12. ความกวา้ งตัวอักษรพมิ พเ์ ลก็ มตี วั อักษร m และ w 10/10h

13. ความหนาของเส้นในการเขียนตัวอกั ษรพิมพใ์ หญ่และพมิ พ์เลก็ 1/10h

14. ระยะหา่ งของตัวอกั ษร 2/10h

15. ระยะห่างระหวา่ งคาและตัวเลข 6/10h

16. ระยะห่างของเส้นใต้นอ้ ยทส่ี ดุ 14/10h

4. การเขียนตวั อักษรไทย

ตัวอักษรไทยมวี ธิ กี ารเขยี นเหมือนกับตวั อักษรภาษาอังกฤษ ได้แก่ มาตรฐานความสูงของตัวอักษร ความหนา

ของเส้น ระยะห่างระหวา่ งบรรทดั ระยะหา่ งของตวั อกั ษร ระยะห่างระหวา่ งคาและความยาวส่วนบนและล่าง

ของตวั อกั ษรไทย ส่วนวิธีการเขียนตัวอักษรไทยมีท้ังแบบตัวอักษรเส้นบาง ตัวอักษรเส้นหนา ตัวอักษรตรง

และตัวอักษรเอยี ง ดังรูปที่ 2.10

กขคฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบป

ผฝพฟภมยรลวสศษหฬอฮ

๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐

กขคฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธบป

ผฝพฟมยรลวสศษหฬอฮ

๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐

กขคฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบป

ผฝพฟภมยรลวสศษหฬอฮ

๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐

47

รปู ที่ 2.10 ตวั อย่างการเขยี นตัวอักษรและตัวเลขไทย
4.1 มาตรฐานการเขยี นตัวอักษรไทย

การเขียนตวั อักษรไทยกาหนดความสูงของบรรทดั เทา่ กับ 10/10h ระยะห่างต่าง ๆ จะ
ขึน้ อย่กู บั ความสงู ของบรรทดั สว่ นการเขียนสระและวรรณยกุ ตใ์ หเ้ ขียนให้เหมาะสมกับขนาดของตวั อักษร

โดยมรี ะยะหา่ งระหว่างบรรทัดไม่ควรเกนิ 16/10h เพราะมสี ระทัง้ บนและล่างของตวั อักษร มาตรฐานการ
เขยี นตัวอักษรไทย ดังรปู ที่ 2.11

รปู ท่ี 2.11 มาตรฐานการเขยี นตัวอกั ษรภาษาไทย
5. วธิ ีการเขียนตวั อักษร
การเขยี นตวั อักษรทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในงานเขียนแบบ สามารถเขียนได้ 2 วิธีคือ

5.1 เขียนตัวอกั ษรด้วยมือเปลา่ เพอ่ื ใหก้ ารเขยี นตัวอกั ษรดว้ ยมือเปล่ารวดเรว็ และสะดวกมาก
ข้ึน จึงตอ้ งอาศัยเครอื่ งมือชว่ ยในการเขยี นตัวอักษร ดงั น้ี

1. ไมท้ ีและฉากสามเหลยี่ ม ใช้สาหรับวดั และขดี เสน้ ระดบั ความสูงสาหรบั เขียนตวั อกั ษร
และตวั เลข ดงั รูปท่ี 2.8

2. เทมเพลทขดี เส้น เปน็ เทมเพลทท่ีมีลกั ษณะเปน็ ร่องทม่ี ีความสูงเทา่ กับความสูงมาตรฐาน
ของตวั อกั ษรและตวั เลข ท้ังตัวพมิ พ์เลก็ และตัวพิมพ์ใหญ่ ดังรูปท่ี 2.12

3. แผ่นจานขีดเสน้ นา มลี กั ษณะเป็นแผน่ จานเจาะรตู ามระดบั ความสูงของตวั อกั ษรและ
ตวั เลขมาตรฐาน เวลาใช้งานตอ้ งใช้ประกอบกบั ไมท้ ี เพ่อื ลากเสน้ ความสงู ของตัวอกั ษรตามต้องการ ดงั รูป
ท่ี 2.13

4. ฉากสามเหลีย่ มขีดเส้นเอียง เปน็ ฉากสามเหลีย่ มที่รอ่ งเซาะเอียงมุม 75 กบั แนวระดบั
สาหรับเขียนตวั อกั ษรเอียงด้วยมอื เปล่า ดงั รูปท่ี 2.14

48

รูปที่ 2.12 การใชไ้ ม้ทแี ละฉากสามเหล่ยี ม รูปท่ี 2.13 ลักษณะของเทมเพลทขีดเส้น

รูปที่ 2.14 ลกั ษณะของแผ่นจานขีดเส้นนา รูปที่ 2.15 ลักษณะของฉากสามเหลี่ยมขีดเสน้ เอยี ง 75
5.2 การเขียนตัวอกั ษรดว้ ยเคร่อื งมือเขยี นตวั อกั ษร การเขียนตวั อักษรแบบนีจ้ ะทาให้

ตวั อกั ษรท่เี ขียนมีความสวยงามและเป็นระเบยี บมากข้ึน ซ่งึ สามารถเลือกใช้ได้ 2 ลักษณะ ดงั นี้
1. การเขียนตัวอักษรดว้ ยบรรทดั อักษร (Lettering Plate) มลี กั ษณะเป็นแผ่นเหมือนไม้

บรรทัดท่วั ไป แต่จะมรี ่องเป็นตวั อกั ษรและสัญลกั ษณใ์ นงานเขียนแบบเฉพาะอยา่ งครบทกุ ตวั อักษร เวลา
เขียนผูเ้ ขียนจะตอ้ งเลอื กขนาดของปากกาใหเ้ หมาะสมกับรอ่ งตัวอกั ษรน้นั ๆ ซ่ึงจะมีระบุไว้ที่ตัวบรรทัด
อักษร ลกั ษณะและการเขยี นตัวอักษรดว้ ยบรรทดั อักษร ดังรปู ที่ 2.16

รูปท่ี 2.16 ลักษณะและการเขียนตวั อกั ษรด้วยบรรทัดอักษร
2. การเขียนตวั อกั ษรดว้ ยเคร่ืองเขียนตัวอักษร (Leroy) เป็นอุปกรณเ์ ขยี นตัวอักษร
ประกอบดว้ ย กา้ มปูเขยี นตัวอกั ษรและบรรทดั ร่องตัวอักษร เวลาเขยี นจะต้องประกอบดนิ สอหรือปากกาที่หวั
จับปากกาของกา้ มปู แล้วนาไปวางบนบรรทัดรอ่ งตัวอกั ษร โดยให้แกนบงั คับของกา้ มปูอยู่ในร่องบังคับ
ตลอดเวลา สว่ นหัวเข็มของกา้ มปูใหเ้ ลอ่ื นไปตามร่องตัวอักษรทีต่ ้องการจะเขียน ดังรูปที่ 2.17

49

รปู ท่ี 2.17 ลกั ษณะและการใชเ้ ครอ่ื งเขียนตัวอกั ษร (Leroy)
6. มาตราสว่ น (Scale)

การเขยี นแบบสว่ นใหญม่ ักจะเขยี นแบบเทา่ กับขนาดของชนิ้ งานจริง แตถ่ ้าชิ้นงานมีขนาดใหญ่หรือ
เล็กเกนิ ไป ซึ่งไมเ่ หมาะสมในการเขียนลงในกระดาษเขียนแบบ เช่น ถ้าช้ินงานที่มีขนาดใหญ่ จะทาให้พ้ืนที่
ของกระดาษเขียนแบบไม่เพียงพอและยากต่อการวางแบบงาน ถ้าหากขนาดชิ้นงานเล็กก็จะทาให้พ้ืนท่ีของ
กระดาษเขียนแบบเหลอื มาก และการเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ของช้ินงานทาได้ยาก ดังน้ันจึงต้องใช้วิธีการ
เขียนแบบโดยย่อหรือขยายแบบงาน โดยเรียกว่า “มาตราส่วน” มาช่วยในการเขียนแบบ เพ่ือช่วยให้ง่ายต่อ
การเขยี นแบบช้นิ งานและมคี วามเหมาะสมมากขึ้น

การกาหนดสญั ลักษณม์ าตรฐานของมาตราส่วน การกาหนดสญั ลกั ษณม์ าตราส่วน จะใช้ตัวเลข
สองตัวคั่นด้วยจุดสองจุด (Prompt) ระหว่างตัวเลข เช่น มาตราส่วน 1:2 ตัวเลขด้านหน้าจุดหมายถึงขนาดที่
เขียนลงในกระดาษเขยี นแบบ ส่วนตวั เลขด้านหลังจดุ หมายถงึ ขนาดจรงิ ของชนิ้ งาน ดังรูปที่ 2.18

รปู ที่ 2.18 ตัวอยา่ งการเขยี นแบบโดยใชม้ าตราสว่ นแบบต่าง ๆ

50

มาตราสว่ นตามมาตรฐานมี 3 ลกั ษณะ คือ
1. มาตราสว่ นปกตหิ รอื มาตราสว่ นจริง คือ 1:1
2. มาตราส่วนย่อ เช่น 1:2 1:5 1:10 1:20 1:50 1:100 เปน็ ต้น
3. มาตราสว่ นขยาย เช่น 2:1 5:1 10:1 20:1 50:1 100:1 เป็นตน้

บทสรุป
ไมว่ ่าจะเปน็ มาตราส่วนจรงิ มาตราส่วนย่อ หรือมาตราสว่ นขยาย ขนาดของแบบงานจะต้อง

เปล่ยี นไปตามมาตราสว่ นทีก่ าหนดไว้ ส่วนการกาหนดขนาดของช้นิ งานจะตอ้ งเปน็ “ขนาดของชิน้ งานจริง”
เท่าน้ัน

51

แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2

รหสั วชิ า 2102-2001 ชอ่ื วิชา เขยี นแบบเคร่ืองมือกล 1
ช่ือหนว่ ย มาตรฐานในการเขียนแบบ

เร่อื ง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนชว่ั โมงสอน 5-8

คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1. จงเขียนแบบเส้นชนดิ ต่าง ๆ ให้ถกู ตอ้ งตามมาตรฐานลงในกระดาษเขียนแบบ A4 (เส้นห่างกนั 8 ม.ม.)

1) เส้นเต็มหนา 2) เส้นเต็มบาง

3) เสน้ ประ 4) เส้นศนู ยก์ ลางเลก็

5) เส้นศนู ย์กลางใหญ่ 6) เส้นมือเปล่า

52

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 2

รหัสวิชา 2102-2001 ชือ่ วิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1
ช่ือหนว่ ย มาตรฐานในการเขียนแบบ

เรอ่ื ง มาตรฐานในการเขียนแบบ จานวนช่วั โมงสอน 5-8

2. จงเขยี นตัวอกั ษรภาษาองั กฤษตัวพิมพใ์ หญ่แบบตัวตรงตามแบบที่กาหนดให้

53

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 2

รหสั วิชา 2102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมือกล 1
ชื่อหนว่ ย มาตรฐานในการเขียนแบบ

เรอื่ ง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนชวั่ โมงสอน 5-8

3. จงเขียนตัวเลขอารบิคแบบตัวตรงและตัวเอียงตามแบบทีก่ าหนดให้

54

เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2

รหัสวชิ า 2102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครือ่ งมือกล 1
ชื่อหน่วย มาตรฐานในการเขยี นแบบ

เรอ่ื ง มาตรฐานในการเขียนแบบ จานวนชัว่ โมงสอน 5-8

1. จงเขยี นแบบเส้นชนดิ ตา่ ง ๆ ใหถ้ กู ต้องตามมาตรฐานลงในกระดาษเขียนแบบ A4 (เส้นหา่ งกัน 8 มม.)

55

เฉลยแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2

รหัสวิชา 2102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1
ช่ือหนว่ ย มาตรฐานในการเขยี นแบบ

เรอ่ื ง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนชว่ั โมงสอน 5-8

2. จงเขียนตัวอกั ษรภาษาอังกฤษตัวพมิ พ์ใหญ่แบบตวั ตรงตามแบบทีก่ าหนดให้

56

เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2

รหัสวิชา 2102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเคร่อื งมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย มาตรฐานในการเขียนแบบ

เร่ือง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนชว่ั โมงสอน 5-8

3. จงเขยี นตวั เลขอารบิคแบบตวั ตรงและตวั เอยี งตามแบบทกี่ าหนดให้

57

ใบมอบหมายงานหน่วยท่ี 2 (Assignment Sheet)

รหัสวชิ า 2102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเครอ่ื งมือกล 1
ช่อื หนว่ ย มาตรฐานในการเขยี นแบบ

เรอื่ ง มาตรฐานในการเขียนแบบ จานวนชั่วโมงสอน 5-8

1. จุดประสงคก์ ารมอบหมายงาน
1.1 เพอ่ื ให้นักเรียนเขียนตวั เลข, ตวั อักษรตามมาตรฐานเขยี นแบบได้ถูกต้อง
1.2 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเขยี นเสน้ ในการเขียนแบบตามมาตรฐานเขียนแบบไดถ้ กู ต้อง

2. แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน
2.1 เขียนตัวเลข, ตัวอักษรตามมาตรฐานเขยี นแบบ
2.2 เขียนเสน้ ในการเขยี นแบบตามมาตรฐานเขียนแบบ

3. แหลง่ ค้นควา้
หอ้ งสมดุ , ตวั อย่าง

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วิธกี ารการเขียนตัวเลข, ตวั อกั ษรตามมาตรฐานเขยี นแบบ
4.2 วธิ ีการเขยี นเส้นในการเขยี นแบบตามมาตรฐานเขียนแบบ

5. กาหนดเวลาส่ง
สปั ดาหถ์ ัดไป

58

ใบงานหน่วยที่ 2 (Job Sheet)

รหัสวชิ า 2102-2001 ชือ่ วิชา เขยี นแบบเครอื่ งมือกล 1
ช่ือหนว่ ย มาตรฐานในการเขียนแบบ

เรื่อง มาตรฐานในการเขยี นแบบ จานวนช่วั โมงสอน 5-8

1. จุดประสงคท์ ่ัวไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เคร่ืองมอื /วสั ดอุ ปุ กรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ข้อควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานท่มี อบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วดั ผล/ประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

57

แผนการเรียนร้หู น่วยที่ 3

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ชื่อหนว่ ย การสร้างรูปทรงเรขาคณติ

เรอื่ ง การสร้างรปู ทรงเรขาคณิต จานวนชวั่ โมงสอน 9-16

1. สาระสาคัญ
รปู เรขาคณติ เปน็ ศาสตร์ท่วี ่าด้วยการสร้างรูปทรงต่าง ๆ ผู้เขียนแบบจะต้องนาเทคนิคและวิธีการ

ต่าง ๆ ทางเรขาคณิตไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแบบ เช่น การแบ่งครึ่งเส้นและมุม การเขียนเส้นและส่วน
โคง้ ขนานกัน การสร้างรูปหลายเหลย่ี ม การสรา้ งส่วนโคง้ สัมผัสมมุ และวัตถุ 2 วตั ถุ การเขียนวงรี เปน็ ตน้
2. งานประจาหน่วยการเรยี นรู้

2.1 เขยี นการแบ่งครง่ึ เส้นและมุม
2.2 เขียนเส้นและสว่ นโค้งขนานกนั
2.3 เขียนรปู หลายเหลย่ี ม
2.4 เขียนสว่ นโค้งสัมผสั มมุ และวตั ถุ 2 วตั ถุ
3. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้
3.1 แสดงความรเู้ กี่ยวกบั เส้นในรูปแบบตา่ ง ๆ
3.2 สร้างสามเหลีย่ มดา้ นเทา่ ไดถ้ ูกตอ้ ง
3.3 สร้างรูปสามเหลย่ี มจัตรุ ัสได้ถกู ต้อง
3.4 สร้างรูปหกเหล่ียมด้านเท่าได้ถกู ต้อง
3.5 สร้างรปู วงรีได้ถกู ต้อง
4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้)
4.1 จุดประสงคท์ ัว่ ไป

เพ่อื ให้รู้เทคนคิ และวิธีการต่าง ๆ ทางเรขาคณิตไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเขยี นแบบ เช่น การแบง่
ครงึ่ เส้นและมมุ การเขยี นเส้นและสว่ นโคง้ ขนานกนั การสร้างรปู หลายเหลยี่ ม การสร้างสว่ นโคง้ สัมผัสมุม
และวตั ถุ 2 วัตถุ การเขียนวงรี

4.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
3.2.1 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับเสน้ ในรูปแบบต่าง ๆ
3.2.2 เขียนสามเหลี่ยมด้านเท่าได้ถกู ต้อง
3.2.3 เขยี นรปู สามเหล่ียมจัตรุ ัสไดถ้ ูกตอ้ ง
3.2.4 เขยี นรูปหกเหลีย่ มด้านเทา่ ไดถ้ ูกตอ้ ง
3.2.5 เขยี นรูปวงรไี ดถ้ ูกตอ้ ง

5. สาระการเรยี นรู้
*********เนอ้ื หาตามใบความรู้*********

58

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ใช้เทคนคิ การสอน แบบขน้ั ตอนการเรียนรู้แบบ MAIP

6.1 สปั ดาหท์ ี่ 1

1. ขั้นสนใจ (M = Motivation)

1.1 ครูชี้แจงการวัดผลและประเมินผลในวชิ าเขยี นแบบเคร่อื งมือกล 1

1.2 ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงร่วมกันในการจดั การเรยี นรู้วชิ าเขียนแบบเครื่องมือกล 1

1.3 ทดสอบผลสัมฤทธกิ์ อ่ นเรียน

1.4 ครสู นทนากบั ผู้เรียนเกยี่ วกับการสรา้ งรปู ทรงเรขาคณติ เช่น การแบ่งคร่ึงเส้นและมุม

การเขียนเส้นและส่วนโค้งขนานกัน การสร้างรูปหลายเหลี่ยม การสร้างส่วนโค้งสัมผัสมุมและวัตถุ 2 วัตถุ

การเขยี นวงรี

2. ข้นั ศึกษาข้อมลู (I = Information)

2.1 ผเู้ รยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง การสรา้ งรูปทรงเรขาคณติ

2.2 ครอู ธบิ ายเน้อื หาเพ่มิ เตมิ ใน เรื่อง การสร้างรูปทรงเรขาคณิต

2.3 ครูสาธิตและยกตวั อย่างการสรา้ งรูปทรงเรขาคณติ

2.4 ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาและหาข้อสรปุ มาตรฐานในการสร้างรูปทรงเรขาคณิต

3. ข้ันพยายาม (A = Application)

3.1 ผู้เรยี นฝึกปฏบิ ัตกิ ารเขียนแบง่ ครง่ึ เสน้ และมมุ การเขียนเสน้ และส่วนโค้งขนานกัน การ

สร้างรปู หลายเหล่ียม การสรา้ งสว่ นโคง้ สมั ผัสมมุ และวตั ถุ 2 วัตถุ การเขยี นวงรี

3.2 ผู้เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปเนื้อหาวชิ า เรอื่ ง การสรา้ งรปู ทรงเรขาคณติ เชน่ การเขียน

เสน้ และสว่ นโค้งขนานกัน การสร้างรูปหลายเหล่ียม การสรา้ งสว่ นโคง้ สมั ผัสมมุ และวัตถุ 2 วตั ถุ การเขยี น

วงรี

3.3 ผเู้ รยี นทาแบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ

4. ข้นั สาเรจ็ ผล (P = Progress)

4.1 ผสู้ อนเฉลยแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ และอธิบายเพมิ่ เตมิ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นเข้าใจ

เน้ือหาวชิ ามากย่ิงขน้ึ

7. ส่ือการเรยี นรู้

7.1 หนังสือเรียน 7.4 แบบฝึกหัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสังเกตพฤติกรรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลักฐานการเรยี นรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

59

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดบั เครอื่ งมือการประเมนิ วิธีวัดและประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมิน
ผา่ น ไมผ่ ่าน
1 แบบฝกึ หัด ตรวจแบบฝกึ หัด ได้คะแนน ได้คะแนน
ร้อยละ 60 ต่ากว่า
ข้อละ 1 คะแนน ขึน้ ไป รอ้ ยละ 60

ถกู 1 คะแนน

ไม่ถกู 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 60 ตา่ กว่า
(ตามความเหมาะสม) ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60
ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
3 แบบประเมินช้ินงาน ตรวจประเมนิ ชิ้นงาน ร้อยละ 60 ตา่ กวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ได้คะแนน
4 แบบทดสอบปฏิบัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
(ตามความเหมาะสม) ขึ้นไป รอ้ ยละ 60
ได้คะแนน ได้คะแนน
5 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ตรวจแบบสังเกตพฤติกรรม รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ข้นึ ไป ร้อยละ 60
ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึง ดี 4 คะแนน
ประสงค์ตามคา่ นิยม 12 พอใช้ 3 คะแนน
ประการ พอใช้ 2 คะแนน
ปรบั ปรุง 1 คะแนน
10. แหลง่ การเรียนรู้
10.1 ห้องสมดุ
10.2 ห้องอนิ เตอรเ์ น็ต

60

11. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
11.1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปญั หาที่พบ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………………………………ผู้สอน ลงชอ่ื ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

61

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 3 (Information Sheet)

รหัสวิชา 20102-2001 ชือ่ วชิ า เขียนแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ช่ือหน่วย การสร้างรูปทรงเรขาคณิต

เรื่อง การสร้างรปู ทรงเรขาคณติ จานวนช่ัวโมงสอน 9-16

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
เพ่ือให้รู้เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ทางเรขาคณิตไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแบบ เช่น การแบ่งคร่ึง

เส้นและมมุ การเขยี นเส้นและสว่ นโค้งขนานกัน การสร้างรปู หลายเหลยี่ ม การสรา้ งสว่ นโคง้ สัมผัสมุมและ
วตั ถุ 2 วตั ถุ การเขียนวงรี
2. จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

2.1 แสดงความร้เู กย่ี วกบั เสน้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ
2.2 เขียนสามเหลย่ี มดา้ นเท่าได้ถกู ต้อง
2.3 เขยี นรูปสามเหลยี่ มจัตุรัสได้ถกู ตอ้ ง
2.4 เขียนรูปหกเหลยี่ มด้านเท่าไดถ้ กู ตอ้ ง
2.5 เขยี นรูปวงรีไดถ้ ูกต้อง
เนื้อหาสาระ หนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง การสรา้ งรูปทรงเรขาคณิต
การสร้างรูปทรงเรขาคณิต
1. การแบ่งคร่ึงวตั ถุ (Bisecting an Object)
1.1 การแบ่งครง่ึ เสน้ ตรงและสว่ นโค้ง (Bisecting a Line and Arc)

วธิ ีการสรา้ ง
1. กาหนดเสน้ ตรงและสว่ นโคง้ AB เป็นเสน้ ตรงและส่วนโคง้ ทีต่ ้องการแบ่งครึ่ง
2. กางวงเวียนรศั มี R (R จะตอ้ งยาวกวา่ 1/2 AB)
3. ใชจ้ ดุ A และจุด B เป็นจุดศนู ยก์ ลางเขียนสว่ นโค้งตัดดา้ นบนและลา่ ง จะได้จุดตดั C และ D
4. ลากเส้นตรงจากจดุ C ไปยงั จดุ D จะแบ่งครึ่งเสน้ ตรงและสว่ นโค้งออกเปน็ 2 สว่ นเท่า ๆ กนั

รูปท่ี 3.1 ขนั้ ตอนการแบ่งครง่ึ เส้นตรงและส่วนโค้ง
1.2 การแบ่งครงึ่ มุม (Bisecting an Angle)

62
วิธีการสรา้ ง
1. กาหนดให้มุม BAC เปน็ มุมทีต่ ้องการแบง่ ครึง่ มุม
2. ใชจ้ ุด A เป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง กางวงเวียนรัศมเี กินครึ่งเสน้ AC และ AB เขียนสว่ นโค้งตดั ท่จี ดุ D
และ E
3. ใช้จุด D และ E เป็นจดุ ศนู ยก์ ลางใชร้ ศั มเี ดิมเขยี นส่วนโค้งตัดจะไดจ้ ุดตัด F
4. ลากเสน้ ตรง AF เพื่อแบง่ คร่งึ มุม BAC

รูปท่ี 3.2 ขน้ั ตอนการแบ่งคร่งึ มุม
2. การเขยี นเสน้ ขนาน (Drawing a Line Parallel)

2.1 การเขียนเส้นขนานกัน (Drawing a Line Parallel to a Line)
วธิ กี ารสร้าง
1. กาหนดเส้นตรง AB และรศั มี R
2. กางวงเวียนรัศมี R เขยี นสว่ นโค้งที่เสน้ AB ระยะหา่ งระหว่างจดุ พอประมาณ
3. ลากเสน้ สัมผสั สว่ นโคง้ จะได้เสน้ ตรง CD มีระยะห่างจากเสน้ AB เทา่ กับรัศมี R

รูปท่ี 3.3 ขัน้ ตอนการเขียนเส้นขนานเส้นตรง
2.2 การเขยี นสว่ นโค้งขนานกัน (Drawing an Arc Parallel to an Arc)

วิธกี ารสรา้ ง


Click to View FlipBook Version