The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายเจษฎา คำภาพันธ์, 2021-04-02 04:06:50

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

แผนเขียนแบบเครื่องมือกล1

198
6.8 การเขียนภาพตัดย่อส่วน (Convention Breaks) ช้ินงานท่ีมีความยาวมากและ
พื้นทีห่ นา้ ตดั ของชิน้ งานคงทตี่ ลอดความยาว อาจจะไมม่ ีพื้นท่เี พยี งพอท่จี ะเขียนแบบไดต้ ลอดความยาว
ของชิ้นงาน การใชม้ าตราส่วนย่อก็อาจจะทาให้แบบงานท่ีไดม้ ขี นาดเล็ก ไมส่ ามารถกาหนดรายละเอียด
ได้ครบถว้ น ช้ินงานลกั ษณะนี้จงึ ตอ้ งอาศยั วธิ ีการเขียนภาพตัดยอ่ สว่ นให้ความยาวสน้ั ลง แตก่ ารกาหนด
ขนาดจะต้องกาหนดความยาวจริงของชิ้นงานเท่าน้ัน ดังรูปท่ี 7.46 และ 7.47 และตัวอย่างการตัด
ยอ่ สว่ นของวสั ดุแตล่ ะชนดิ ดังรูปท่ี 7.48

รปู ที่ 7.46 การเขียนแบบโดยใช้มาตราส่วน รปู ที่ 7.47 การเขยี นแบบโดยใชภ้ าพตัดยอ่ ส่วน

รูปท่ี 7.48 ลักษณะการเขียนภาพตัดยอ่ ส่วนของวัสดแุ ตล่ ะชนดิ

199

6.9 การเขียนภาพตัดเกลียว (Thread in Section)
1. เกลียวนอก (External Thread) เส้นยอดเกลียวให้เขียนด้วยเส้นเต็มหนา และเขียน

เสน้ โคนเกลยี วดว้ ยเสน้ เตม็ บาง (ความลึกของเกลยี ว = 0.8P) ดังรปู ที่ 7.49
2. ภาพหนา้ ตดั ของเกลยี วนอก เส้นยอดเกลยี วให้เขียนด้วยเส้นเต็มหนา เส้นโคนเกลียวท่ี

มองเห็นใหเ้ ขยี นวงกลมดว้ ยเสน้ เตม็ บางยาวเลย ¾ ของวงกลมเพียงเล็กนอ้ ย ส่วนเส้นโคนเกลียวท่ีมอง
ไม่เหน็ ใหเ้ ขยี นด้วยเส้นประเปน็ วงกลม ดงั รปู ที่ 7.50

รปู ที่ 7.49 การเขยี นแบบเกลียวนอก รูปที่ 7.50 การเขียนแบบหน้าตดั เกลียวนอก

3. การเขียนแบบเกลียวในให้เขียนด้วยเส้นประ โดยเส้นประท่ีอยู่ใกล้กันให้เขียนเยื้อง
กันหรือสลับช่องไฟกันเพื่อความสวยงาม ดงั รปู ที่ 7.51

4. ภาพหน้าตดั ของเกลยี วในที่มองเหน็ เสน้ ยอดเกลียวใหเ้ ขียนดว้ ยเส้นเต็มหนา เส้นโคน
เกลียวท่ีมองเห็นให้เขียนวงกลมด้วยเส้นเต็มบางยาวเลย ¾ ของวงกลมเพียงเล็กน้อย ส่วนเส้นโคน
เกลียวทีม่ องไมเ่ หน็ ใหเ้ ขียนด้วยเสน้ ประเปน็ วงกลม ดงั รูปที่ 7.52

รปู ท่ี 7.51 การเขียนแบบเกลียวในท่ีถกู บัง รูปที่ 7.52 การเขียนหนา้ ตดั เกลยี วใน

200
5. การเขียนแบบภาพตดั เกลยี วในใหเ้ ขียนเสน้ ยอดเกลยี วดว้ ยเสน้ เต็มหนาและเส้นยอดเกลียว
เขียนดว้ ยเสน้ เตม็ บาง สว่ นเสน้ ลายตดั ใหเ้ ขียนจากเส้นโคนเกลียวจนถงึ ขอบงาน ดังรปู ท่ี 7.53
6. เส้นสุดเกลียวท้ังเกลียวในและเกลียวนอกให้เขียนด้วยเส้นเต็มหนา มีขนาดความหนา
เท่ากับ 0.50 มม. ดงั รปู ที่ 7.54

รปู ที่ 7.53 การเขียนแบบภาพตดั เกลียวใน รูปที่ 7.54 การเขียนเสน้ สุดเกลยี วในและเกลยี วนอก
7. การเขียนแบบภาพประกอบเกลียวในและเกลยี วนอก ให้เขียนเสน้ เกลียวนอกเป็นภาพหลัก

ส่วนที่เลยเกลียวนอกใหแ้ สดงเป็นเกลยี วในและปลายดอกสว่านตามปกติ ดงั รปู ที่ 7.55
8. การกาหนดขนาดเกลียวนอกและเกลียวใน จะต้องประกอบไปด้วยสัญลักษณ์เกลียวตาม

ด้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเกลียว x ระยะพิตช์ (ถ้าเป็นระยะพิตช์มาตรฐานไม่ต้องเขียน
ระยะพิตชต์ ามหลังกไ็ ด้) เช่น M10, Tr 25x4, S32x4 เป็นต้น ส่วนความยาวจะต้องกาหนดให้ครบ
คือ ความยาวของเกลยี ว ความของสลักเกลียว ความลึกของเกลียวในและความลึกของรูเจาะ ดังรูปที่
7.56

รปู ท่ี 7.55 การเขียนภาพประกอบเกลียวรปู ท่ี 7.56 การกาหนดขนาดเกลียว

201

แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 8

รหัสวิชา 20102-2001 ชอ่ื วชิ า เขียนแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ช่อื หน่วย ภาพตัด

เร่อื ง ภาพตดั จานวนชว่ั โมงสอน 53-64

คาสง่ั จงเขยี นภาพฉาย 2 ดา้ นตามแบบงานท่ีกาหนดให้ลงในกระดาษเขียนแบบ A3 โดยเปล่ียนภาพ ด้าน
หนา้ ให้เป็นภาพตดั เต็มตามแนวตัว A-A ดว้ นมาตราส่วน 1:1 พรอ้ มกาหนดขนาดให้ถกู ต้อง

202

แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 8

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชือ่ หนว่ ย ภาพตดั

เรื่อง ภาพตดั จานวนชว่ั โมงสอน 53-64

คาสงั่ จงเขยี นภาพฉาย 2 ดา้ นตามแบบงานท่กี าหนดใหล้ งในกระดาษ A3 โดยเปลยี่ นภาพดา้ นหน้าใหเ้ ปน็
ภาพตัดครงึ่ ตามแนวตดั B-B ดว้ ยมาตราสว่ น 1:1 พรอ้ มกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

203

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 8

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่ือวชิ า เขยี นแบบเครอื่ งมือกล 1
ชอ่ื หน่วย ภาพตดั

เรอ่ื ง ภาพตดั จานวนชั่วโมงสอน 53-64

คาส่ัง จงเขียนภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้า ให้
เป็นภาพหมุนตัดข้างแบบเขียนทับในภาพฉายตามแนวตัด A-A ด้วยมาตราส่วน 1:1 พร้อมกาหนดขนาด
ใหถ้ ูกตอ้ ง

204

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8

รหสั วิชา 20102-2001 ช่ือวิชา เขยี นแบบเครอ่ื งมือกล 1
ชอ่ื หนว่ ย ภาพตัด

เรื่อง ภาพตัด จานวนชวั่ โมงสอน 53-64

คาส่งั จงเขียนภาพฉายด้านเดยี วเป็นตัดเฉพาะส่วนตามขอบเขตการตัดทก่ี าหนดใหล้ งในกระดาษ A4 ดว้ ย
มาตราสว่ น 1:1 พรอ้ มกาหนดขนาดใหถ้ ูกตอ้ ง

205

แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 8

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย ภาพตัด

เรือ่ ง ภาพตัด จานวนชั่วโมงสอน 53-64

คาส่ัง จงเขียนภาพตัดย่อส่วนตามขอบเขตการตัดท่ีกาหนดให้ลงในกระดาษ A4 ด้วยมาตราส่วน 1:1
พรอ้ มกาหนดขนาดใหถ้ ูกตอ้ ง

206

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่ือวิชา เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ชอ่ื หนว่ ย ภาพตดั

เร่ือง ภาพตดั จานวนชว่ั โมงสอน 53-64

คาส่งั จากภาพสามมิติและภาพตดั ท่ีกาหนดให้ จงเลือกภาพตัดให้ตรงกบั ภาพสามมิตแิ ละเขียนหมายเลขลง
ในตารางดา้ นลา่ ง

207

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 8

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครือ่ งมอื กล 1
ช่ือหน่วย ภาพตัด

เรือ่ ง ภาพตัด จานวนช่ัวโมงสอน 53-64

คาส่ัง จากภาพด้านข้างและภาพด้านบนที่กาหนดให้ จงเขียนภาพด้านหน้าให้เป็นภาพตัดพร้อมเขียนช่ือ
ภาพ ตัดตามแนวตัดทกี่ าหนดให้

1.

208

เฉลยแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครื่องมือกล 1
ชือ่ หนว่ ย ภาพตดั

เรือ่ ง ภาพตัด จานวนชวั่ โมงสอน 53-64

คาสั่ง จงเขยี นภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานทกี่ าหนดให้ลงในกระดาษเขียนแบบ A3 โดยเปลี่ยนภาพดา้ น
หนา้ ใหเ้ ป็นภาพตัดเต็มตามแนวตัว A-A ดว้ นมาตราสว่ น 1:1 พร้อมกาหนดขนาดใหถ้ กู ต้อง

209

เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8

รหัสวชิ า 20102-2001 ช่ือวิชา เขยี นแบบเครื่องมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย ภาพตดั

เรอื่ ง ภาพตดั จานวนชวั่ โมงสอน 53-64

คาส่งั จงเขยี นภาพฉาย 2 ด้านตามแบบงานท่ีกาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปล่ยี นภาพดา้ นหน้าใหเ้ ปน็
ภาพตดั คร่งึ ตามแนวตัด B-B ด้วยมาตราสว่ น 1:1 พรอ้ มกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

210

เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 8

รหสั วิชา 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ช่ือหนว่ ย ภาพตัด

เร่ือง ภาพตัด จานวนช่วั โมงสอน 53-64

คาส่งั จงเขยี นภาพฉาย 2 ดา้ นตามแบบงานที่กาหนดให้ลงในกระดาษ A3 โดยเปลี่ยนภาพด้านหน้าให้เป็น
ภาพหมุนตัดข้างแบบเขียนทับในภาพฉายตามแนวตัด A-A ด้วยมาตราส่วน 1:1 พร้อมกาหนดขนาดให้
ถูกตอ้ ง

211

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 8

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วชิ า เขยี นแบบเครอ่ื งมอื กล 1
ชื่อหนว่ ย ภาพตัด

เรื่อง ภาพตดั จานวนชัว่ โมงสอน 53-64

คาสั่ง จงเขียนภาพฉายด้านเดียวเป็นตัดเฉพาะส่วนตามขอบเขตการตัดทก่ี าหนดให้ลงในกระดาษ A4 ดว้ ย
มาตราส่วน 1:1 พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกต้อง

212

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 8

รหัสวชิ า 20102-2001 ชื่อวชิ า เขียนแบบเครอื่ งมอื กล 1
ช่อื หน่วย ภาพตดั

เรอ่ื ง ภาพตดั จานวนช่วั โมงสอน 53-64

คาสงั่ จงเขียนภาพตัดยอ่ ส่วนตามขอบเขตการตัดท่กี าหนดให้ลงในกระดาษ A4 ด้วยมาตราส่วน 1:1
พร้อมกาหนดขนาดให้ถูกตอ้ ง

213

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 8

รหสั วิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชอ่ื หนว่ ย ภาพตดั

เรอ่ื ง ภาพตดั จานวนชัว่ โมงสอน 53-64

คาส่ัง จากภาพสามมิตแิ ละภาพตัดท่ีกาหนดให้ จงเลือกภาพตัดใหต้ รงกับภาพสามมิตแิ ละเขียนหมายเลข
ลงในตารางด้านล่าง

214

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 8

รหัสวิชา 20102-2001 ชื่อวิชา เขียนแบบเคร่ืองมือกล 1
ช่ือหนว่ ย ภาพตัด

เรือ่ ง ภาพตัด จานวนชัว่ โมงสอน 53-64

คาสัง่ จากภาพด้านขา้ งและภาพดา้ นบนที่กาหนดให้ จงเขียนภาพด้านหนา้ ให้เป็นภาพตัดพร้อมเขียนช่อื
ภาพตดั ตามแนวตดั ที่กาหนดให้

215

ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 8 (Assignment Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเครอื่ งมอื กล 1
ชือ่ หน่วย ภาพตัด

เรอื่ ง ภาพตัด จานวนช่วั โมงสอน 53-64

1. จุดประสงคก์ ารมอบหมายงาน
1.1 เพอ่ื เขยี นภาพเสน้ ลายตัดได้ถูกตอ้ ง
1.2 เพอ่ื เขียนภาพตัดเต็มไดถ้ ูกตอ้ ง
1.3 เพ่อื เขียนภาพตัดครง่ึ ไดถ้ กู ต้อง
1.4 เพอื่ เขยี นภาพตัดออฟเซตได้ถกู ต้อง

2. แนวทางการปฏบิ ัตงิ าน
2.1 เขยี นภาพเสน้ ลายตัดตามท่กี าหนด
2.2 เขียนภาพตัดเต็มตามทกี่ าหนด
2.3 เขยี นภาพตัดครงึ่ ตามท่ีกาหนด
2.4 เขียนภาพตัดออฟเซตตามทก่ี าหนด

3. แหล่งค้นควา้
ตวั อยา่ ง , หนงั สือเรยี น

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วิธกี ารเขยี นภาพเสน้ ลายตัด
4.2 วธิ ีการเขยี นภาพตดั เตม็
4.3 วธิ ีการเขียนภาพตัดครึง่
4.4 วธิ ีการเขยี นภาพตัดออฟเซต

5. กาหนดเวลาสง่
สปั ดาหถ์ ัดไป

216

ใบงานหนว่ ยที่ 8 (Job Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ช่อื วิชา เขียนแบบเครื่องมือกล 1
ชื่อหนว่ ย ภาพตัด

เรือ่ ง ภาพตดั จานวนช่วั โมงสอน 53-64

1. จดุ ประสงคท์ ั่วไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครือ่ งมอื /วสั ดุอุปกรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ขอ้ ควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานที่มอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วดั ผล/ประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

215

แผนการเรยี นร้หู นว่ ยที่ 9

รหสั วชิ า 20102-2001 ชอื่ วชิ า เขียนแบบเครอื่ งมือกล 1
ชอ่ื หน่วย สญั ลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบเครอื่ งมอื กล

เรื่อง สัญลักษณเ์ บอื้ งตน้ ในงานเขียนแบบเคร่อื งมอื กล จานวนชัว่ โมงสอน 65-72

1. สาระสาคัญ
ในงานเขียนแบบไม่ว่าในสาขาวิชาใดก็ตาม ไม่อาจที่จะเขียนภาพตามความเป็นจริงของช้ินส่วน

หรือชนิ้ งานนน้ั ๆ ได้เปน็ จรงิ ที่สดุ จาเป็นต้องใช้สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ช่วยในการเขียนแบบทั้งส้ิน ดังน้ันผู้เขียน
แบบจงึ จาเป็นตอ้ งเรียนรู้เกีย่ วสัญลักษณ์เบื้องต้น ท่ีใช้ในงานเขียนแบบของแต่ละสาขาวิชา เพ่ือให้สามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้ในงานเขียนแบบได้
2. งานประจาหน่วยการเรียนรู้

2.1 เขยี นสัญลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนเกลียวได้ถูกต้อง
2.2 เขยี นสญั ลักษณ์ความหยาบของผิวงานได้
2.3 เขยี นสญั ลกั ษณ์คา่ ความหยาบผวิ ตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้
2.4 เขยี นคา่ พิกดั ความเผ่อื สูงสดุ และเขยี นค่าพิกัดความเผอื่ ต่าสุดสาหรบั ขนาดได้
3. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
3.1 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สัญลักษณ์เบอ้ื งต้นในงานเขยี นแบบเครอ่ื งมือกล
3.2 เขยี นสัญลกั ษณท์ ี่ใช้แทนเกลียวได้ถกู ตอ้ ง
3.3 อธิบายความหมายของสญั ลักษณค์ วามหยาบของผวิ งานได้
3.4 บอกสัญลกั ษณ์ค่าความหยาบผิวตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้
3.5 เขยี นค่าพกิ ัดความเผอื่ สูงสดุ และค่าพกิ ดั ความเผ่ือตา่ สุดสาหรับขนาดได้
4 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (มาตรฐานการเรยี นรู้)
4.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป

เพอ่ื แสดงความรู้เก่ียวกบั สญั ลักษณเ์ บ้อื งต้นในงานเขยี นแบบเครอื่ งมอื กล เขียนสัญลักษณ์
ท่ใี ช้แทนเกลียวไดถ้ กู ตอ้ ง อธบิ ายความหมายของสัญลกั ษณค์ วามหยาบของผิวงานได้ บอกสญั ลักษณ์คา่
ความหยาบผิวตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้ เขียนค่าพกิ ัดความเผ่ือสูงสุดและค่าพกิ ัดความเผื่อตา่ สุดสา
หรับขนาดได้

4.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
3.1 แสดงความรู้เกยี่ วกับสัญลกั ษณ์เบือ้ งตน้ ในงานเขียนแบบเคร่ืองมือกล
3.2 เขียนสัญลักษณ์ที่ใชแ้ ทนเกลียวไดถ้ ูกตอ้ ง
3.3 อธิบายความหมายของสัญลักษณ์ความหยาบของผิวงานได้
3.4 บอกสญั ลกั ษณ์ค่าความหยาบผวิ ตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้
3.5 เขยี นค่าพกิ ัดความเผื่อสงู สุดและค่าพิกัดความเผอื่ ตา่ สุดสาหรับขนาดได้

216

5. สาระการเรยี นรู้
*********เนอ้ื หาตามใบความรู้*********

6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ใช้เทคนคิ การสอน แบบขนั้ ตอนการเรยี นรู้แบบ MAIP
6.1 สัปดาหท์ ่ี 1
1. ขนั้ สนใจ (M = Motivation)
1.1 ครูชี้แจงการวัดผลและประเมินผลในวิชาเขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
1.2 ครแู ละนกั เรยี นสรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกันในการจดั การเรียนรู้วชิ าเขียนแบบเคร่ืองมอื กล 1
1.3 ทดสอบผลสมั ฤทธก์ิ อ่ นเรยี น
1.4 ครูสนทนากับผู้เรียนเก่ียวเกี่ยวกับสัญลักษณ์เบ้ืองต้นในงานเขียนแบบเครื่องมือกล

เชน่ แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ชนดิ ของภาพตดั อธิบายชนิดของภาพตดั ได้ บอกสัญลักษณ์เส้นในการเขียนภาพ
ตัดได้ อธิบายเส้นท่ีใช้ในภาพตัดได้ เลือกใช้สัญลักษณ์เส้นลายตัดของวัสดุในการเขียนภาพตัดได้ถูกต้อง
บอกหลกั เกณฑ์ในการเขียนภาพตดั เขียนภาพตดั เต็มได้ถูกต้อง เขียนภาพตัดคร่ึงได้ถูกต้อง และเขียนภาพ
ตดั ออฟเซตได้ถูกต้อง

2. ขนั้ ศึกษาขอ้ มูล (I = Information)
2.1 ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน เร่ือง สัญลักษณ์เบ้ืองต้นในงานเขียนแบบ

เครอ่ื งมือกล
2.2 ครอู ธิบายเนอ้ื หาเพม่ิ เติมใน เรื่อง สัญลกั ษณเ์ บ้ืองตน้ ในงานเขียนแบบเครือ่ งมือกล
2.3 ครสู าธิตและยกตวั อย่างเกีย่ วกับสัญลักษณเ์ บื้องต้นในงานเขยี นแบบเคร่ืองมือกล
2.4 ผู้เรยี นแบ่งกลุ่มเพ่ือศกึ ษาและหาขอ้ สรปุ เกี่ยวกบั สัญลกั ษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบ

เครื่องมอื กล
3. ขั้นพยายาม (A = Application)
3.1 ผู้เรียนฝึกแสดงความรู้เกี่ยวกับชนิดของเกี่ยวกับสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบ

แสดงความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์เบ้ืองต้นในงานเขียนแบบเครื่องมือกล เขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเกลียวได้
ถูกต้อง อธิบายความหมายของสัญลักษณ์ความหยาบของผิวงานได้ บอกสัญลักษณ์ค่าความหยาบผิวตาม
มาตร ฐาน DIN และ ISO ได้ เขียนคา่ พิกัดความเผ่อื สงู สดุ และค่าพิกัดความเผอ่ื ตา่ สุดสาหรับขนาดได้

3.2 ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปเน้ือหาวิชาเขียนแบบเคร่ืองมือกล 1 เร่ือง แสดงความรู้
เก่ียวกบั สัญลักษณเ์ บอื้ งต้นในงานเขียนแบบเครื่องมือกล เขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเกลียวได้ถูกต้อง อธิบาย
ความหมายของสัญลักษณ์ความหยาบของผิวงานได้ บอกสัญลักษณ์ค่าความหยาบผิวตามมาตร ฐาน DIN
และ ISO ได้ เขียนคา่ พกิ ดั ความเผอื่ สงู สดุ และค่าพิกดั ความเผ่อื ต่าสุดสาหรับขนาดได้

3.3 ผ้เู รียนทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
4. ขน้ั สาเรจ็ ผล (P = Progress)

217

4.1 ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ และอธบิ ายเพิ่มเตมิ เพอื่ ให้ผู้เรยี นเข้าใจ

เนอ้ื หาวชิ ามากยิง่ ขน้ึ

7. สอื่ การเรียนรู้

7.1 หนังสอื เรียน 7.4 แบบฝกึ หัด

7.2 ใบความรู้ 7.5 แบบสงั เกตพฤติกรรม

7.3 ใบงาน 7.6 แบบทดสอบ

8. หลกั ฐานการเรียนรู้

8.1 ใบงาน

8.2 แบบฝกึ หัด

8.3 รายงาน

9. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล

ลาดับ เคร่ืองมอื การประเมนิ วธิ ีวดั และประเมิน เกณฑ์
ท่ี การประเมนิ
ผ่าน ไมผ่ า่ น

1 แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝกึ หัด ไดค้ ะแนน ไดค้ ะแนน

ขอ้ ละ 1 คะแนน ร้อยละ 60 ต่ากวา่

ถกู 1 คะแนน ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60

ไมถ่ ูก 0 คะแนน

(หรอื ตามความเหมาะสม)

2 แบบประเมินผลการปฏิบัตงิ าน ตรวจผลการปฏิบตั งิ าน ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
(ตามความเหมาะสม) รอ้ ยละ 60 ตา่ กว่า
ข้ึนไป รอ้ ยละ 60
3 แบบประเมินชน้ิ งาน ตรวจประเมินชน้ิ งาน ได้คะแนน ไดค้ ะแนน
(ตามความเหมาะสม) ร้อยละ 60 ตา่ กว่า
ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 60

4 แบบทดสอบปฏบิ ัติ ตรวจแบบทดสอบปฏิบตั ิ ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
(ตามความเหมาะสม) ร้อยละ 60 ตา่ กวา่
ขึ้นไป ร้อยละ 60

218

ลาดับ เครอื่ งมอื การประเมนิ วธิ ีวดั และประเมนิ เกณฑ์
ท่ี การประเมนิ
ผา่ น ไมผ่ ่าน
5 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ตรวจแบบสงั เกตพฤตกิ รรม ไดค้ ะแนน ได้คะแนน
รอ้ ยละ 60 ต่ากวา่
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดมี าก 5 คะแนน ขน้ึ ไป ร้อยละ 60

ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึง ดี 4 คะแนน

ประสงค์ตามคา่ นิยม 12 พอใช้ 3 คะแนน

ประการ พอใช้ 2 คะแนน

ปรบั ปรุง 1 คะแนน

10. แหล่งการเรียนรู้
10.1 หอ้ งสมุด
10.2 หอ้ งอนิ เตอร์เน็ต

11. บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้
11.1 ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.2 ปัญหาที่พบ
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

219

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ……………………………………ผ้สู อน ลงชื่อ………………………………..…….
(……………………………….) (……………………………………….)
รองผ้อู านวยการฝา่ ยวชิ าการ

220

ใบความรหู้ น่วยที่ 9 (Information Sheet)

รหสั วิชา 20102-2001 ช่ือวชิ า เขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1
ชื่อหน่วย สญั ลกั ษณ์เบ้อื งต้นในงานเขยี นแบบเคร่อื งมอื กล

เรอ่ื ง สญั ลักษณเ์ บอ้ื งตน้ ในงานเขยี นแบบเคร่อื งมอื กล จานวนชวั่ โมงสอน 65-72

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. จดุ ประสงคท์ ั่วไป
เพื่อแสดงความรู้เก่ียวกับสัญลักษณ์เบื้องต้นในงานเขียนแบบเครื่องมือกล เขียนสัญลักษณ์ที่ใช้

แทนเกลียวไดถ้ ูกต้อง อธิบายความหมายของสัญลักษณค์ วามหยาบของผิวงานได้ บอกสัญลักษณ์ค่าความ
หยาบผิวตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้ เขียนค่าพิกัดความเผ่ือสูงสุดและค่าพิกัดความเผ่ือต่าสุดสา
หรับขนาดได้
2. จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

2.1 แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั สัญลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานเขยี นแบบเครื่องมือกล
2.2 เขียนสัญลกั ษณท์ ่ีใชแ้ ทนเกลียวไดถ้ ูกตอ้ ง
2.3 อธบิ ายความหมายของสญั ลักษณค์ วามหยาบของผิวงานได้
2.4 บอกสัญลักษณ์ค่าความหยาบผวิ ตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้
2.5 เขยี นค่าพิกดั ความเผ่ือสูงสดุ และค่าพกิ ัดความเผื่อตา่ สุดสาหรับขนาดได้

เน้ือหาสาระ หนว่ ยท่ี 9 เร่อื ง สญั ลกั ษณเ์ บือ้ งตน้ ในงานเขียนแบบเครอื่ งมอื กล
สญั ลกั ษณเ์ บ้อื งต้นในงานเขยี นแบบเครอื่ งมือกล
1. สัญลกั ษณเ์ บอื้ งต้นในงานเขยี นแบบเครอ่ื งกล (Basic Symbol of Mechanical Drawing)

1.1 สญั ลักษณเ์ กลียว เกลียวเป็นช้ินส่วนเครือ่ งกลใชส้ าหรับจบั ยึดชนิ้ งาน การปรับระยะ การ
เคล่อื นที่ของชน้ิ สว่ นและกลไกเครื่องกล ในงานเขียนแบบเคร่ืองกล รูปร่างของฟันเกลียวจะเขียนเป็น
สัญลักษณ์ เพ่ือประหยัดเวลาในการเขียนแบบ ส่วนชนิดเกลียว ขนาดและระยะพิตช์ของเกลียวจะ
กาหนดโดยใชส้ ัญลักษณ์ ดงั ตารางที่ 9.1
ตารางที่ 9.1 สัญลักษณ์เกลียว

ชนดิ เกลียว สัญลกั ษณ์ ลักษณะเกลียว การกาหนดขนาด ตวั อย่าง

เกลียวเมตริก ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง M16
(มาตรฐาน) นอกของเกลียวเปน็ มม.
เกลยี วเมตรกิ ฟันเกลียวเปน็ รูปสามเหลีย่ ม
(ละเอียด) M ร่องเกลียวเปน็ รัศมโี ค้ง มีมมุ ขนาดเสน้ ผ่านศนย์

เกลยี วเท่ากบั 60 กลางนอกของเกลียว M16x1.5
เปน็ มม. X ระยะพิตช์
ฟันเกลียวเป็นรปู สามเหลยี่ ม
เปน็ มม.

Tr ขนาดเสน้ ผ่าน Tr32x6

221

เกลยี ว ตดั ปลายตรง มุมเกลยี ว ศนู ยก์ ลางนอกของ
ส่เี หล่ยี มคาง
หมเู มตรกิ เทา่ กับ 30 ใช้เปน็ เกลยี วสง่ เกลียวเป็น มม.

เกลยี วท่อวทิ กาลังตามแนวแกนของ X ระยะพติ ชเ์ ปน็ มม.
เวิท R
(ทรงกระบอก) เครอื่ งจักรกล

เกลยี วกลม Rd มีลกั ษณะเหมือนเกลยี ววทิ ขนาดกาหนดของท่อ

เวิท แตเ่ กลยี วนอกหรอื เกลยี ว เป็นนวิ้ R3/4
Rd12x1/10
ท่อจะมมี ุมเรยี ว อัตราเรียว S16x2

เท่ากับ 1:16

ฟันเกลยี วมีรูปรา่ งคลา้ ยรูป ขนาดเสน้ ผ่าน

ครึง่ วงกลม มุมฟันเกลยี ว ศนู ย์กลางนอกของ

เทา่ กบั 30 เกลียวเป็น มม.
X ระยะพิตช์เป็น นว้ิ

ฟนั เกลียวมีรูปร่างเปน็ รูป ขนาดเสน้ ผา่ น

สามเหล่ยี ม มุมฟันเกลยี ว ศูนย์กลางนอกของ

เกลยี วฟัน S เท่ากับ 30 ด้านหนา้ ของฟัน เกลียวเป็น มม.
เล่อื ย เกลยี วทามุม 3 กับแนวแกน X ระยะพิตช์เปน็ มม.

ของเกลยี ว เปน็ เกลยี วสาหรับ

รบั แรงด้านเดยี ว

222

รูปท่ี 9.1 การเขยี นแบบเกลียวและกาหนดขนาดเกลยี วดว้ ยสัญลักษณ์
1.2 สัญลักษณ์ผิว (Surface Symbol) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับบอกและกาหนดค่าความ
คลาดเคล่ือนหรือค่าที่ยอมให้ใช้งานได้ของผิวงานในกระบวนการผลิตช้ินงาน ซ่ึงในงานเขียนแบบ
เครอ่ื งกลสามารถกาหนดได้ 2 มาตรฐาน ได้แก่ DIN 3141 และ ISO 1302 ดังน้ี
1. สญั ลักษณ์ผิวมาตรฐาน DIN 3141 จะกาหนดสัญลักษณ์เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ซ่ึงมี
จานวนสัญลักษณ์สามเหล่ียมด้านเท่าต้ังแต่ 1 รูป จนถึง 4 รูป แทนค่าคุณภาพผิวตั้งแต่หยาบจนถึง
ละเอยี ดทส่ี ุด

1.1 ผวิ ดิบทผี่ ลิตโดยไมเ่ สยี เศษ เชน่ ผวิ จากงานหลอ่ งานตี
1.2 ผิวหยาบ รอ่ งผิวสมั ผสั ได้ด้วยมือเปลา่ หรอื มองเหน็ ดว้ ยตาเปล่า
1.3 ผวิ ละเอยี ด ร่องผวิ สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่
1.4 ผิวละเอยี ดมาก ร่องผิวไม่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตาเปลา่
1.5 ผวิ ละเอียดท่สี ุด ร่องผวิ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

223

2. สญั ลกั ษณ์ผิวตามมาตรฐาน ISO 1302 สญั ลักษณ์มลู ฐานประกอบด้วยเส้นตรงสองเส้นที่
ยาวไม่เท่ากนั ทามุมซึง่ กนั และกนั 60 กบั ผวิ งาน สญั ลักษณ์มูลฐานมี 3 ลกั ษณะดงั นี้

1. สัญลกั ษณม์ ลู ฐาน โดยจะไม่แสดงความหมายใด ๆ ถ้าไม่มกี ารกาหนด

รายละเอียดเพ่มิ เตมิ

2. สญั ลักษณแ์ สดงผวิ งานทต่ี อ้ งมีการตัดเฉือนด้วยเครอื่ งมือกล ตามคา่ ความ

หยาบละเอยี ดของผิวงานท่ีกาหนด

3. สญั ลกั ษณ์ผวิ งานท่ไี มต่ ้องการเอาเน้อื วสั ดุออก หรือ ขบวนการผลติ โดย

กรรมวิธไี รเ้ ศษ เช่น งานหลอ่ งานดงึ งานรีด เปน็ ต้น

1.3 สัญลักษณง์ านเช่ือม (Welding Symbols) เปน็ สัญลักษณท์ ใี่ ช้สาหรับกาหนดในแบบ

งานแทนการเขียนรอยเชอ่ื มจริง โดยมีสัญลักษณพ์ ืน้ ฐาน ดงั ตารางท่ี 9.2

ตารางที่ 9.2 สญั ลักษณ์พ้ืนฐานของงานเชื่อม

ท่ี ชื่อแนวเชื่อม ภาพชิ้นงาน สญั ลกั ษณ์

1. การเชื่อมตอ่ ชนแบบแผน่ พบั ขอบ

(ขอบทีพ่ บั จะหลอมละลายไปทั้งหมด)

2. การเช่อื มต่อชนแบบหนา้ ฉาก

(แนว I)

3. การเชื่อมต่อชนแบบรูปตวั V

(แนว V)

4. การเชอื่ มตอ่ ชนแบบหนา้ เฉียงด้านเดยี ว

(แนว HV)

5. การเชอ่ื มต่อชนแบบรูปตัว V ดา้ นเดียวโดยมี
หนา้ ประชิดกว้าง (แนว Y)

6. การเชอื่ มต่อชนแบบหน้าเฉยี งดา้ นเดยี ว โดยมี
หนา้ ประชิดกว้าง (แนว HY)

7. การเชอื่ มต่อชนแบบรูป U ด้านเดียว
(หนา้ ขนานหรอื หน้าลาดเอยี ง) (แนว U)

8. การเช่อื มต่อชนแบบรปู U ดา้ นเดียว
(แนว HU)

224

9. การเชอ่ื มต่อฉาก
10. การเช่ือมอดุ

11. การเช่ือมจุด
12. การเชื่อมตะเข็บ

13. การเชื่อมปดิ ด้านหลัง

2. สญั ลักษณ์เบื้องตน้ ในงานเขยี นแบบไฟฟา้ (Basic Symbol of Electrical Drawing)

โดยทัว่ ไปการเขียนแบบไฟฟ้า จะใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณไ์ ฟฟ้าต่าง ๆ เพราะถา้ เขียนรูป

อุปกรณ์จริงในแบบงาน อาจทาให้การสื่อความหมายผิดพลาดได้ ดังน้ันจึงต้องกาหนดสัญลักษณ์ของ

อปุ กรณไ์ ฟฟา้ เพอ่ื ให้เปน็ มาตรฐาน ดังตารางที่ 9.3 – 9.5

ตารางท่ี 9.3 สัญลักษณ์สายไฟฟ้า

ท่ี ชอ่ื อุปกรณ์ งานติดตั้ง งานสาเร็จ งานควบคมุ

1. สายไลน์ (Line : L) 225
งานควบคมุ
2. สายนวิ ตรอน (Neutral : N)

3. สายปอ้ งกัน (Protection Earth
: PE)

4. จุดตอ่ สายไฟฟา้

5. จดุ ต่อบัดกรีสายไฟฟ้า

6. จดุ ตอ่ แยกสายไฟฟ้า

ตารางที่ 9.4 สัญลักษณ์สวทิ ชแ์ บบต่าง ๆ

ท่ี ชื่ออุปกรณ์ งานตดิ ต้ัง งานสาเรจ็

1. สวทิ ชโ์ ยก

2. คอนแทกปกติเปิด

3. คอนแทกปกติปิด

4. สวทิ ชป์ ุม่ กดปกตเิ ปิด

5. สวิทช์ปมุ่ กดปกตปิ ดิ

6. สวิทช์คันโยกอันดบั

ตารางท่ี 9.5 สญั ลักษณอ์ ุปกรณ์ไฟฟ้าแบบต่าง ๆ

ท่ี ชื่ออุปกรณ์ งานตดิ ต้ัง งานสาเร็จ 226
1. หลอดไฟฟ้าแบบไส้ งานควบคมุ
2. หลอดไฟฟา้ แบบสัญญาณ
3. หลอดฟลูออเรสเซนต์
4. ตวั ตา้ นทาน
5. คอยล์
6. โอเวอรโ์ หลดรเี ลย์
7. ไทร์เมอร์รเี ลย์
8. โวลตม์ เิ ตอร์
9. แอมปม์ ิเตอร์
10. วัตตม์ เิ ตอร์
11. ฟวิ ส์
12. มอเตอร์

3. สญั ลักษณ์เบ้ืองตน้ ในงานเขยี นแบบกอ่ สร้าง (Basic Symbol of Construction
Drawing)

สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นงานเขยี นแบบก่อสรา้ ง จะใชส้ ญั ลักษณ์ตามมาตรฐาน มอก. 440 ท่ี
สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) กาหนด นอกจากน้นั ยังใช้สญั ลกั ษณท์ ่ีนิยมใช้ควบคู่
กันไปด้วย ดงั ตารางที่ 9.6

227

ตารางท่ี 9.6 สัญลักษณ์ในงานเขยี นแบบกอ่ สรา้ ง

สัญลกั ษณ์และความหมาย

1. หวั ลูกศรแสดงทิศเหนอื 7. ดิน

2. ระดับความสงู ท่ีตอ้ งการในรปู ตดั 8. ทราย

3. ระดับท่ีแนวหวั ลกู ศรสูงกวา่ ระดับดิน 9. อิฐ
4. ต้นไมเ้ ดมิ ทตี่ อ้ งการตัดออก 10. คอนกรตี

5. ตน้ ไมเ้ ดิม ตน้ ไม้ขนาดใหญ่ 11. บันไดแสดงทางลงตามแนวหวั ลูกศร

6. ต้นไมป้ ลกู ใหม่ ตน้ ไมข้ นาดใหญ่ 12. บันไดแสดงทางขึน้ ตามแนวหวั ลกู ศร

13. ทางลาดขนึ้ มีสัดสว่ นความสงู : ความยาว 20. อ่างลา้ งชาม

14. ทางลาดลงมีสัดส่วนความสงู : ความยาว 21. อ่างลา้ งหนา้

15. ทน่ี ่ังสว้ มชนิดนง่ั ราบ หม้อนา้ เตี้ย 22. อ่างลา้ งหน้าแบบลอย

228

16. ทีน่ ่งั ส้วมชนิดนงั่ ราบ ฟลัชวาลว์ 23. อ่างล้างหนา้ แบบฝัง
17. ทน่ี ง่ั สว้ มชนดิ นั่งยอง 24. อ่างอาบน้า

18. โถปัสสาวะชนดิ ต่าง ๆ 25. อา่ งอาบน้าแบบยืน

19. ที่ปัสสาวะหญงิ 26. ฝกั บัว

27. ราวแขวนผ้า 31. ปากท่อน้าฝน
28. เตาหงุ ต้ม 32. ปม้ั นา้
29. เคร่อื งสบู น้า 33. ทอ่ ระบายน้าฝนจากหลังคา
30. ประตนู า้ 34. ช่องระบายนา้

229

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 9

รหสั วชิ า 20102-2001 ชือ่ วชิ า เขยี นแบบเครอื่ งมือกล 1
ชือ่ หน่วย สญั ลกั ษณ์งานเบื้องต้นในงานชา่ งอตุ สาหกรรม

เรือ่ ง สัญลักษณง์ านเบื้องตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม จานวนชั่วโมงสอน 65-72

คาสง่ั จงอธิบายความหมายของสญั ลกั ษณท์ ี่กาหนดให้

ท่ี สัญลกั ษณ์ ความหมาย

1 Rd

2 Tr

3S

4R

5M

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

230

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 9

รหสั วิชา 20102-2001 ชอ่ื วิชา เขยี นแบบเคร่อื งมอื กล 1
ชอ่ื หน่วย สัญลกั ษณ์งานเบื้องตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เร่ือง สัญลักษณง์ านเบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม จานวนช่ัวโมงสอน 65-72

คาส่งั จงอธิบายความหมายของสัญลกั ษณ์ท่ีกาหนดให้

ท่ี สญั ลักษณ์ ความหมาย

1
2
3

4

5

6

7

8

9

10

11

12
13
14

15

16

17

18
19
20

231

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 9

รหสั วิชา 20102-2001 ชือ่ วิชา เขียนแบบเครือ่ งมอื กล 1
ชื่อหน่วย สัญลักษณง์ านเบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม

เรอ่ื ง สญั ลกั ษณง์ านเบอ้ื งต้นในงานชา่ งอุตสาหกรรม จานวนชัว่ โมงสอน 65-72

คาสั่ง จงอธิบายความหมายของสัญลักษณท์ ี่กาหนดให้

ท่ี สญั ลกั ษณ์ ความหมาย

1 Rd เกลียวกลม
2 Tr เกลียวส่ีเหลยี่ มคางหมูเมตริก
3 S เกลยี วฟนั เลื่อย

4 R เกลยี วทอ่ วิทเวทิ

5 M เกลียวเมตริก

6 ผวิ ละเอยี ด รอ่ งผิวสามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า

7 ผิวดิบที่ผลิตโดยไม่เสียเศษ เชน่ ผวิ จากงานหลอ่ งานตี
8 ผิวละเอียดที่สุด ร่องผิวไมส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่
9 ผวิ ละเอียดมาก ร่องผิวไมส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า

10 ผวิ หยาบ รอ่ งผวิ สัมผัสได้ด้วยมอื เปล่าหรือมองเห็นดว้ ยตาเปลา่

11 สัญลกั ษณ์ผวิ งานทไ่ี มต่ ้องการเอาเน้อื วัสดุออก หรือ ขบวนการผลติ โดยกรรมวิธี
ไร้เศษ

12 สัญลกั ษณม์ ลู ฐาน โดยจะไม่แสดงความหมายใด ๆ ถา้ ไมม่ กี ารกาหนดรายละเอยี ด
เพม่ิ เติม

13 สัญลกั ษณแ์ สดงผิวงานทตี่ อ้ งมกี ารตัดเฉือนดว้ ยเครื่องมือกลตามคา่ ความหยาบ
ละเอยี ดของผวิ งานท่กี าหนด

14 การเช่ือมตอ่ ชนแบบรปู ตัว V (แนว V)

15 การเชือ่ มตอ่ ชนแบบรปู U ด้านเดยี ว (หน้าขนานหรอื หนา้ ลาดเอียง) (แนว U)

16 การเชอ่ื มตะเข็บ
17 การเชื่อมตอ่ ฉาก
18 การเชอ่ื มตอ่ ชนแบบรปู ตัว V ดา้ นเดียวโดยมีหนา้ ประชดิ กว้าง (แนว Y)

19 การเชือ่ มตอ่ ชนแบบหนา้ ฉาก (แนว I)

20 การเชื่อมจุด

232

เฉลยแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9

รหัสวิชา 20102-2001 ช่อื วิชา เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล 1
ชอื่ หนว่ ย สัญลกั ษณง์ านเบ้อื งตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

เรอื่ ง สญั ลกั ษณง์ านเบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม จานวนชว่ั โมงสอน 65-72

คาสัง่ จงอธบิ ายความหมายของสัญลกั ษณ์ท่ีกาหนดให้

ท่ี สัญลกั ษณ์ ความหมาย

1 สายไลน์ (Line : L)

2 สายนิวตรอน (Neutral : N)

3 จดุ ตอ่ สายไฟฟ้า

4 คอนแทกปกตเิ ปิด

5 คอนแทกปกติปดิ

6 สวิทชป์ ่มุ กดปกตเิ ปิด

7 คอยล์

8 หลอดไฟฟา้ แบบสญั ญาณ

9 มอเตอร์

10 ระดบั ท่ีแนวหวั ลูกศรสูงกว่าระดับดนิ

11 ดิน
12 ประตูน้า
13 หัวลกู ศรแสดงทิศเหนือ
14 อ่างล้างหนา้ แบบฝงั

15 ปมั้ น้า

16 ระดบั ความสงู ที่ต้องการในรูปตัด

17 ปากทอ่ นา้ ฝน
18 ท่นี ั่งส้วมชนดิ นง่ั ราบ ฟลชั วาล์ว
19 อา่ งล้างหนา้ แบบลอย

20 เคร่ืองสบู น้า

233

ใบมอบหมายงานหนว่ ยท่ี 9 (Assignment Sheet)

รหสั วชิ า 20102-2001 ชื่อวชิ า เขยี นแบบเคร่ืองมือกล 1
ชือ่ หน่วย สญั ลักษณ์งานเบอ้ื งตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

เรื่อง สัญลกั ษณ์งานเบือ้ งต้นในงานช่างอตุ สาหกรรม จานวนชว่ั โมงสอน 65-72

1. จดุ ประสงค์การมอบหมายงาน
1.1 เพอื่ เขียนสญั ลกั ษณ์ทีใ่ ช้แทนเกลียวไดถ้ กู ตอ้ ง
1.2 เพือ่ เขียนสญั ลกั ษณค์ วามหยาบของผิวงานได้
1.3 เพอ่ื เขยี นสัญลักษณ์ค่าความหยาบผวิ ตามมาตรฐาน DIN และ ISO ได้
1.4 เพ่ือเขียนค่าพกิ ดั ความเผอื่ สูงสุดและเขียนค่าพกิ ัดความเผอื่ ตา่ สุดสาหรับขนาดได้

2. แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน
2.1 เขียนสญั ลักษณ์ที่ใชแ้ ทนเกลยี วไดถ้ ูกต้อง
2.2 เขียนสัญลักษณ์ความหยาบของผวิ งานได้
2.3 เขียนสญั ลักษณ์ค่าความหยาบผวิ ตามมาตรฐาน DIN และ ISO ได้
2.4 เขียนคา่ พิกดั ความเผ่ือสงู สดุ และเขยี นค่าพกิ ดั ความเผ่อื ต่าสุดสาหรบั ขนาดได้

3. แหล่งค้นควา้
ตวั อยา่ ง , หนงั สอื เรียน

4. คาถาม/ปัญหา
4.1 วธิ กี ารเขยี นสัญลักษณท์ ่ใี ช้แทนเกลียวไดถ้ กู ตอ้ ง
4.2 วธิ กี ารเขยี นสัญลักษณ์ความหยาบของผวิ งานได้
4.3 วิธกี ารเขียนสัญลักษณ์ค่าความหยาบผิวตามมาตร ฐาน DIN และ ISO ได้
4.4 วิธกี ารเขียนคา่ พิกดั ความเผื่อสงู สดุ และเขยี นคา่ พกิ ดั ความเผอ่ื ตา่ สุดสาหรับขนาดได้

5. กาหนดเวลาส่ง
สัปดาห์ถัดไป

234

ใบงานหนว่ ยท่ี 9 (Job Sheet)

รหัสวิชา 20102-2001 ช่ือวิชา เขยี นแบบเครอ่ื งมือกล 1
ช่ือหน่วย สญั ลักษณ์งานเบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

เร่ือง สญั ลกั ษณ์งานเบ้ืองต้นในงานชา่ งอุตสาหกรรม จานวนชัว่ โมงสอน 65-72

1. จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เครือ่ งมอื /วัสดอุ ุปกรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ขอ้ ควรระวงั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. งานท่ีมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. วัดผล/ประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version