The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สนุกคิดในชีวิตประจําวันแบบเศรษฐศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keittapong, 2021-03-20 00:39:27

สนุกคิดในชีวิตประจําวันแบบเศรษฐศาสตร์

สนุกคิดในชีวิตประจําวันแบบเศรษฐศาสตร์

ใแนสบนชบุกเีวคศิดติ รปษรฐะศจาำสวตนั ร

THE

The EcoเรnียoบmเรียicงจNากaturalist
RobertโดHย. Frank

ดร.เอเกรยีอบรเรุณยี งโอดยวนสกลุ

สนกุ คดิ ในชวี ติ ประจ�ำ วันแบบเศรษฐศ�สตร์

เรียบเรียงจาก The Economic Naturalist
ของ Robert H. Frank
เรียบเรยี งโดย ดร. เอกอรณุ อวนสกุล

สงวนลขิ สิทธ์ิในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธ์ิ © พ.ศ. 2556 โดย บริษัท ซเี อด็ ยูเคชนั่ จำากดั (มหาชน)
ห้ามคัดลอก ลอกเลยี น ดดั แปลง ทาำ ซำา้ จดั พิมพ์ หรือกระทำาอืน่ ใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ
ไมว่ า่ สว่ นหน่งึ สว่ นใดของหนงั สือเลม่ น้ี เพ่ือเผยแพร่ในสอื่ ทกุ ประเภท หรอื เพือ่ วตั ถปุ ระสงค์ใดๆ
นอกจากจะไดร้ บั อนญุ าต

Original edition copyright © 2007 Robert H. Frank. All rights reserved.
Thai edition copyright © 2008 by SE-EDUCATION Public Company Limited.
No part of this publication may by reproduces or distributed in any form or by any means,
or stored in database or retrieval system, without the prior written permission of publisher,
with the exception that the program listings may be entered, stored, and esecuted in a computer system,
out they may not be reproduced for publication.

ขอ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหง ชาต​ิ

แฟรงก์ โรเบริ ต์ เอช.
สนกุ คดิ ในชวี ติ ประจาำ วนั แบบเศรษฐศาสตร.์ --กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชน่ั , 2556.
1. เศรษฐศาสตร.์
I. เอกอรณุ อวนสกลุ , ผแู้ ปล. II. ชอ่ื เรอ่ื ง.
330

ISBN (e-book) : 978-616-08-1007-9

ผลติ และจดั จ�ำ หน� ยโดย

อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ชนั้ 19 เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา
เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศพั ท์ 0-2739-8000
หากมคี าำ แนะนำาหรอื ตชิ ม สามารถตดิ ตอ ไดท่ี [email protected]



1 • ค�ำนิยม •

“น่าทง่ึ มาก สามารถใหค้ ำ� ตอบกบั ปญั หายุ่งยากของชวี ติ บางเร่อื งได”้
– หนงั สอื พมิ พ์ Daily Mail
“อธบิ ายใหเ้หน็ วา่ เงนิ ตราทำ� ใหโ้ ลกเรากลมไดอ้ ย่างไร”
– หนงั สอื พมิ พ์ Independent
“สามารถกลบั ไปอ่านซำ�้ ไดอ้ กี หลายรอบ เหมอื นกบั บฟุ เฟ่ตท์ ก่ี นิ ไดไ้ มอ่ นั้ ”
– หนงั สอื พมิ พ์ New York Times
“ไมค่ วรพลาดกบั หนงั สอื ทท่ี ำ� ใหเ้สพตดิ ซง่ึ โรเบริ ต์ แฟรงก์ และนกั ศึกษา
ของเขาร่วมกนั ไขปรศิ นาของเร่อื งราวอนั น่าทง่ึ หลายเร่อื ง ใหท้ งั้ แนวคดิ ทแ่ี ปลก น่า
ศึกษา และอ่านสนุก เป็นหนงั สอื ทอ่ี ศั จรรยม์ าก”
– ทมิ ฮารด์ ฟอรด์
ผูเ้ขยี นหนงั สอื The Undercover Economist and The Logic of Life
“เฉียบแหลม ยอดเยย่ี ม และน่าชน่ื ชม สำ� หรบั บอ็ บ แฟรงก์ นกั เขยี นทาง
เศรษฐศาสตรท์ ด่ี ที ส่ี ุดคนหน่งึ ของสหรฐั ฯ”
– เทยเ์ ลอร์ โคเวน ผูเ้ขยี นหนงั สอื Discover Your Inner Economist
“น่าทง่ึ มาก ช่วยเปิดใจใหก้ วา้ ง และมเี ร่อื งสนุกมากมาย”
– สตเี วน พงิ เกอร์ ผูเ้ขยี นหนงั สอื The Blank Slate

ค�ำนยิ ม 3

“หนงั สอื แนะนำ� ดา้ นเศรษฐศาสตรเ์ ลม่ น้ีของ โรเบริ ต์ เอช. แฟรงก์ ช่วยไข
กญุ แจในสง่ิ ทถ่ี กู ออกแบบมาใหเ้ราฉงนสนเท่หท์ พ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจำ� วนั ”

– หนงั สอื พมิ พ์ International Herald Tribune
“สนุกและน่าทง่ึ มาก หนงั สอื เลม่ น้จี ะทำ� ใหค้ ุณนึกตงั้ คำ� ถามข้นึ มาวา่ ทำ� ไม
ผูจ้ ดั การทมี เบสบอลสวมเคร่อื งแบบนกั กฬี า แต่โคช้ บาสเกตบอลสวมสูททเ่ี หลอื
นอกจากนนั้ บอ็ บ แฟรงก์ จะเป็นผูใ้ หค้ ำ� ตอบทแ่ี ทจ้ รงิ กบั คุณเอง”
– สตเี วน สตรอ์ เกตซ์ ผูเ้ขยี นหนงั สอื SYNC
“หนงั สอื อ่านสนุก เพลดิ เพลนิ พอๆ กบั หนงั สอื ตลกขบขนั เลม่ หน่งึ ของ เจย์
เรโน แต่ต่างกนั ทค่ี ำ� ถามและคำ� ตอบทใ่ี หไ้ ว ้ โดยหนงั สอื ของ บอ็ บ แฟรงก์ ไมใ่ ช่
เร่อื งตลก แต่แฝงไปดว้ ยขอ้ สงั เกตทแ่ี หลมคมและมสี าระเก่ยี วขอ้ งกบั การดำ� เนิน
ชวี ติ ของพวกเรา ซง่ึ จะทำ� ใหผ้ ูอ้ ่านมคี วามซาบซ้งึ กบั แก่นทแ่ี ทจ้ รงิ ของเหตผุ ลทาง
เศรษฐศาสตร”์
– โรเบริ ต์ เจ. ชลิ เลอร์
ผูเ้ขยี นหนงั สอื The New Financial Order and Irrational Exuberance
“หนงั สอื เลม่ น้ีของ บอ็ บ แฟรงก์ แสดงใหเ้หน็ วา่ เมอ่ื คณุ ขอใหน้ กั ศึกษา
หนั ไปมองสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั เขาจะเหน็ สง่ิ ทน่ี ่าสนใจหลายเร่อื ง และแน่นอน
วา่ แนวคดิ พ้นื ฐานทางเศรษฐศาสตรส์ ามารถช่วยอธบิ าย บอกแนวทางปฏบิ ตั ิ และ
ใหผ้ ลลพั ธท์ ม่ี เี หตมุ ผี ล วธิ นี ้ีเป็นวธิ กี ารศึกษาเรยี นรูเ้ ศรษฐศาสตรท์ ด่ี ที ส่ี ุด ถา้ จะ
ใหพ้ ดู ความจรงิ นบั เป็นวธิ ที ม่ี ปี ระโยชนใ์ นการช่วยแกไ้ ขวธิ กี ารเรยี นรูข้ องพวกนกั
เศรษฐศาสตรอ์ ย่างเราทเ่ี หลอื ดว้ ย”
– โรเบริ ต์ โซโลว์ เจา้ ของรางวลั โนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ปี 1987

4 สนกุ คดิ ในชวี ิตประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์

• กติ ตกิ รรมประกาศ •

เ ม่อื ผมเร่ิมสอนวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ มอี าจารยอ์ าวุโสร่วมคณะท่าน
หน่งึ แนะนำ� ใหผ้ มเร่มิ ตน้ ชวั่ โมงการสอนดว้ ยการเลา่ เร่อื งขำ� ขนั เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษา
อารมณ์ดแี ละพรอ้ มจะฟงั การบรรยายเร่ืองหนกั ๆ ต่อไป แต่ผมไม่เคยทำ� ตาม
คำ� แนะนำ� นนั้ เลย ไมใ่ ช่ผมไมเ่ ชอ่ื แต่เพราะมนั ค่อนขา้ งยากในการหาเร่อื งขำ� ขนั มา
เลา่ ในแต่ละครง้ั ก่อนการบรรยายใหน้ กั ศึกษาฟงั

แต่โชคกเ็ ขา้ ขา้ งผมอยู่นะ เมอ่ื ไมน่ านมาน้บี งั เอญิ วา่ ผมไปอ่านเจอเรอ่ื งตลก
ขำ� ขนั เร่อื งหน่งึ ซง่ึ มสี าระตรงใจมากกบั ความตง้ั ใจเขยี นหนงั สอื เลม่ น้ี สำ� หรบั เร่อื ง
ขำ� ขนั มที ม่ี าจากเมอื งบอสตนั ในเขตนวิ องิ แลนด์ ของสหรฐั ฯ ซง่ึ เมอื งน้เี ป็นเมอื งท่ี
รูก้ นั วา่ มคี นขบั แทก็ ซห่ี ลายคนทอ่ี อกจากการเรยี นในมหาวทิ ยาลยั อนั มชี อ่ื เสยี งกอ้ ง
โลก อย่างมหาวทิ ยาลยั ฮารว์ ารด์ และสถาบนั MIT (Massachusetts Institute
of Technology) เร่อื งขำ� ขนั ทไ่ี ดอ้ ่านมาเป็นดงั น้ี

สภุ าพสตรีคนหนง่ึ ลงจากเครื่องบินที่สนามบินโลแกน ฉวยกระเป๋ า
เดินทาง และรีบขนึ ้ รถแท็กซ่ีออกไปด้วยความหิว อยากกินอาหารทะเล
รสดีของนิวอิงแลนด์เป็นมือ้ เยน็ เธอจงึ บอกกบั คนขบั แทก็ ซ่ีวา่ “พาฉนั ไป
ท่ีไหนก็ได้ท่ีมีปลาคอดให้กิน”

คนขบั แทก็ ซ่ีหนั กลบั มา และพดู อยา่ งข�ำๆ ขนึ ้ วา่ “นี่เป็นครัง้ แรกที่ผม
ได้ยินคนพดู แสดงความปรารถนาเชน่ นนั้ โดยใช้ประโยคในรูปของอดีต
สมบรู ณกาล”

กติ ติกรรมประกาศ 5

หลายคนไมเ่ คยรูจ้ กั หรอื เคยไดย้ นิ กาล (Tense) ในไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ
ทเ่ี รยี กวา่ Pluperfect Subjunctive มาก่อน ผมเองกไ็ มร่ ูจ้ กั เช่นกนั จงึ ไดล้ อง
พยายามคน้ หาจากอนิ เทอรเ์ น็ตจนไดค้ วามดงั น้ี

Pluperfect Subjunctive Tense หรือ Past Perfect Subjunctive
Tense เป็นอดีตสมบรู ณกาลในไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ ถกู ใช้เพ่ือแสดง
สถานการณ์สมมติ หรือการกระท�ำที่ตรงข้ามกบั ความเป็ นจริง โดยค�ำ
กิริยาจะต้องถกู ผนั อยใู่ นอนปุ ระโยคเง่ือนไข (Conditional Form) และใน
อนปุ ระโยค (Subordinate Clause) จำ� เป็นต้องใช้รูปประโยค Subjunctive
แสดงความต้องการ
ตวั อย่างเช่น “ถา้ ฉนั ไม่นอนหลบั เพลนิ ไปหน่อย ฉนั ก็คงไม่พลาดรถไฟ
เทย่ี วทจ่ี องไว”้ คงเป็นประโยคทค่ี ุน้ เคยสำ� หรบั หลายๆ คนนะครบั
คุณคงเร่มิ สงสยั วา่ ประโยคทส่ี ุภาพสตรพี ดู กบั คนขบั รถแทก็ ซน่ี น้ั เก่ยี ว
อะไรกบั Pluperfect Subjunctive Tense แต่ดูเหมอื นจะไมเ่ ก่ยี ว เพราะเธอ
มไิ ดใ้ ชป้ ระโยคในรูปอดตี สมบูรณกาล และถา้ จะใหค้ ำ� พดู ตลกๆ ทค่ี นขบั รถแทก็ ซ่ี
พยายามสรา้ งข้นึ เพอ่ื ใหใ้ ชไ้ ดผ้ ล กม็ หี นทางเดยี วเท่านน้ั ทจ่ี ะเป็นไปได้นนั่ คอื คน
ฟงั จะตอ้ งเขา้ ใจความหมายของ Pluperfect Subjunctive เสยี ก่อนวา่ คอื อะไร
จำ� เป็นดว้ ยหรือทเ่ี ราตอ้ งเขา้ ใจความหมายดงั กลา่ วก่อนจงึ จะเขา้ ใจเร่ือง
ตลกน้ี นกั จติ วทิ ยาบางทา่ นเคยมคี วามเชอ่ื วา่ คนทวั่ ไปจะไมส่ ามารถเขา้ ใจไดอ้ ย่าง
ชดั เจนกบั คำ� พดู ทม่ี เี หตผุ ลสวนทางกนั แมพ้ วกเขายงั ไมร่ ูร้ ายละเอยี ดทางเทคนิค
ของกาลต่างๆ ในไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ อย่างไรกต็ าม ความเชอ่ื ดงั กลา่ วไมเ่ ป็น
ความจรงิ เสมอไป ตวั อยา่ งทพ่ี บกนั อยูบ่ อ่ ยๆ คอื การพากยก์ ฬี าทางโทรทศั น์ พบวา่
แมน้ กั พากยส์ ว่ นใหญ่เหมอื นจะไมร่ ูจ้ กั ประโยคในรูปอดตี สมบูรณกาล (หรอื เลอื ก
ทจ่ี ะไมใ่ ชใ้ นการพากย)์ แต่เขากส็ ามารถพากยโ์ ดยใชต้ รรกะหรอื ใชเ้ หตผุ ลอา้ งองิ
ทส่ี วนทางกนั เสมอ เช่น “เบคแฮมยงิ ลูกโทษได้ ทมี องั กฤษไมแ่ พใ้ นการต่อเวลา”

6 สนกุ คิดในชวี ิตประจ�ำวันแบบเศรษฐศาสตร์

การรูแ้ ละเขา้ ใจการใชร้ ูปประโยคในรูปอดตี สมบูรณกาลสำ� หรบั ไวยากรณ์
ภาษาองั กฤษไมใ่ ช่เร่อื งทไ่ี มด่ ี ถา้ วตั ถปุ ระสงคค์ อื ตอ้ งการเรยี นรูก้ ารใชภ้ าษาใหมๆ่
ซง่ึ เวลาและความพยายามทต่ี อ้ งเสยี ไปกบั การศึกษารายละเอยี ดทางเทคนิคของ
การใชไ้ วยากรณท์ ถ่ี กู ตอ้ ง ควรจะถกู นำ� ไปใชใ้ นการศึกษาแบบอน่ื ๆ ทเ่ี ป็นความรู ้
ใหมจ่ ะดกี วา่ นอกจากน้ี หลกั สูตรทเ่ี นน้ การสอนใหล้ งลกึ ถงึ รายละเอยี ดของการ
ใชไ้ วยากรณไ์ มใ่ ช่เร่อื งสนุกนกั สำ� หรบั นกั ศึกษา และพบวา่ ไมไ่ ดผ้ ลดว้ ย

ผมใชเ้วลาสป่ี ีกบั การเรยี นภาษาสเปนในชน้ั มธั ยม และเรยี นภาษาเยอรมนั
สามเทอมในวทิ ยาลยั ซง่ึ ใชเ้ วลาไปมากกบั การเรยี นการสอนประโยคในรูปอดตี
สมบูรณกาล และความล้ลี บั ของการใชไ้ วยากรณต์ ่างๆ ทค่ี รูผูส้ อนคดิ วา่ มคี วาม
สำ� คญั แต่เรากไ็ มไ่ ดเ้รยี นวธิ กี ารพดู ดงั นน้ั เมอ่ื ผมเดนิ ทางไปประเทศสเปนและ
เยอรมนั จงึ ตอ้ งพบกบั การสอ่ื สารทม่ี คี วามยากลำ� บากมาก แมแ้ ต่การใชค้ ำ� หรอื
ถอ้ ยคำ� งา่ ยๆ พ้นื ๆ กต็ าม ซง่ึ เพอ่ื นๆ ของผมหลายคนกม็ ปี ญั หาทำ� นองเดยี วกนั

ผมนึกสะดุดใจวา่ น่าจะมวี ธิ กี ารเรยี นภาษาทไ่ี ดผ้ ลมากกวา่ น้ี ก็เมอ่ื คราว
เขา้ รบั การฝึกอบรมก่อนบรรจเุ ป็นเจา้ หนา้ ทอ่ี าสาสมคั รขององคก์ าร US Peace
Corps ประจำ� อยู่ทเ่ี นปาล ซง่ึ โปรแกรมฝึกอบรมทส่ี มบูรณใ์ ชร้ ะยะเวลาเพยี ง 13
สปั ดาห์ มวี ธิ กี ารสอนทแ่ี ตกต่างกนั โดยส้นิ เชงิ กบั การเรยี นภาษาในรูปแบบปกติ
ของโรงเรยี นและมหาวทิ ยาลยั ในการฝึกอบรมนน้ั ไมเ่ คยมสี กั ครงั้ ทจ่ี ะพดู ถงึ การใช้
ประโยคในรูปอดตี สมบูรณกาล ครูผูส้ อนเนน้ เพยี งอย่างเดยี วคอื พดู ภาษาเนปาล
ใหไ้ ด้ การเรยี นในเร่อื งการใชไ้ วยากรณอ์ นั ล้ลี บั ต่างๆ จงึ ไมอ่ ยู่บนเสน้ ทางเพอ่ื นำ�
ไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายในการพดู ภาษาเนปาลได้ ซง่ึ วธิ กี ารสอนน้ีลอกเลยี นแบบ
จากวธิ ที เ่ี ดก็ ๆ ทวั่ ไปหดั พดู ภาษาของตวั เอง

ครูจะเร่มิ ตน้ สอนดว้ ยประโยคงา่ ยๆ และใหพ้ วกเราพดู ตามซำ�้ หลายๆ ครง้ั
ประโยคแรกคอื “หมวกใบน้มี รี าคาแพง” ซง่ึ นบั วา่ เป็นประโยชน์ เพราะการซ้อื ขาย
สนิ คา้ ตามทอ้ งถนนทกุ แห่งในเนปาลตอ้ งมกี ารต่อรองเสมอ ขนั้ ตอนต่อไปคอื ครู
จะขานหรอื ประกาศคำ� นามต่างๆ ทลี ะคำ� เช่น ถงุ เทา้ และใหผ้ ูเ้ขา้ รบั การอบรมทกุ

กิตติกรรมประกาศ 7

คนขานตอบเป็นภาษาเนปาลวา่ “ถงุ เทา้ เหลา่ น้มี รี าคาแพง” วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหพ้ วก
เราหดั พดู ไดโ้ ดยอตั โนมตั โิ ดยทไ่ี มต่ อ้ งคดิ ก่อนวา่ จะพดู อะไร

โดยสรปุ ครูผูส้ อนจะเร่มิ ตน้ ดว้ ยประโยคงา่ ยๆ จากสง่ิ ทพ่ี วกเราคนุ้ เคยกนั
ดกี ่อน โดยใหพ้ วกเราฝึกฝนพดู หลายๆ ครงั้ จากนน้ั กเ็ ปลย่ี นคำ� ไปเร่อื ยๆ และฝึก
พดู จนชนิ เมอ่ื เราชนิ แลว้ ครูกจ็ ะสอนในขน้ั ต่อไปทจ่ี ะกา้ วหนา้ ข้นึ

หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบสำ� หรบั ผูบ้ รหิ ารโปรแกรมการฝึกอบรมน้กี ค็ อื ตอ้ งให้
แน่ใจวา่ พวกเราสามารถเดนิ และวง่ิ ไดบ้ า้ งในดา้ นการพดู ภาษาเนปาล หลงั จากพน้
13 สปั ดาหแ์ ลว้ ผมและเพอ่ื นอาสาสมคั รบางคนกม็ โี อกาสสอนวชิ าคณิตศาสตร์
และวทิ ยาศาสตรห์ ลงั จากอยู่ในเนปาลไดไ้ ม่นาน เร่ิมตน้ นบั จากศูนย์ แต่เราก็
สามารถทำ� ได้ กระบวนการเรยี น-การสอนภาษาของโปรแกรมฝึกอบรมน้ีโดยตวั
ของมนั เองไดช้ ่วยสรา้ งจติ สำ� นึกแห่งความเช่อื มนั่ ซง่ึ ผมไม่เคยประสบทไ่ี หนมา
ก่อนสำ� หรบั หลกั สูตรการเรยี นภาษาต่างประเทศทวั่ ๆ ไป

ดงั นนั้ บคุ คลแรกทผ่ี มตอ้ งขอขอบคุณคอื ครูทส่ี อนวชิ าภาษาเนปาลใหแ้ ก่
ผมนานมาแลว้ เป็นผูช้ ่วยเปิดโลกทศั นแ์ ละทำ� ใหห้ ูตาผมสวา่ งข้นึ เก่ยี วกบั วธิ กี าร
เรยี นการสอนงา่ ยๆ แบบเรยี นนอ้ ยแต่ไดม้ าก อกี ทง้ั มพี ลานุภาพอย่างยง่ิ ผมและ
นกั ศึกษาทเ่ี รยี นดว้ ยกนั ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมา ไดค้ น้ พบวธิ กี ารทก่ี ลา่ วมาน้รี ่วมกนั
วา่ สามารถนำ� ไปใชแ้ ปลงประสบการณท์ ไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรูห้ ลกั การและแนวคดิ ของ
ทฤษฎที างเศรษฐศาสตรท์ แ่ี สนยุ่งยากสลบั ซบั ซอ้ น ใหอ้ ยู่ในรูปแบบการเรยี นการ
สอนอย่างงา่ ย เนน้ การประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ป็นประโยชนก์ บั การดำ� เนินชวี ติ ประจำ� วนั

นกั ศึกษาทเ่ี รยี นวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ตามแบบฉบบั การเรยี น–การสอน
ปกตทิ วั่ ไป ตอ้ งใชเ้วลาอย่างมากสำ� หรบั ทำ� ความเขา้ ใจหลกั การ แนวคดิ และทฤษฎี
ต่างๆ ทางเศรษฐศาสตรใ์ นขน้ั ลงลกึ ลงไปในรายละเอยี ด ในทำ� นองเดยี วกนั กบั การ
ตอ้ งเรยี นรูร้ ายละเอยี ดของการใชป้ ระโยคในรูปอดตี สมบูรณกาลและไวยากรณ์
ต่างๆ สำ� หรบั วชิ าภาษาองั กฤษดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ แต่ทางตรงกนั ขา้ ม แนวคดิ ทาง
เศรษฐศาสตรท์ ค่ี ุณจะพบในหนงั สอื เลม่ น้ี มเี น้ือหาในรูปตวั อย่างต่างๆ ทไ่ี ดม้ า

8 สนกุ คดิ ในชวี ิตประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

จากประสบการณท์ ค่ี นุ้ เคยกนั ดี สามารถช่วยอธบิ ายขยายความเขา้ ใจของแนวคดิ
นนั้ ไดด้ ี ซง่ึ การเรยี นวชิ าเศรษฐศาสตรก์ เ็ หมอื นกบั เรยี นการพดู ภาษาใหม่ คอื ตอ้ ง
เร่มิ ตน้ อย่างค่อยเป็นค่อยไป และประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ นนั้ บ่อยๆ ในสถานการณ์
ต่างๆ ถา้ คุณเหน็ วา่ วธิ กี ารเรยี นรูเ้ ศรษฐศาสตรใ์ นหนงั สอื เลม่ น้ีงา่ ยกวา่ วธิ ปี กตทิ ่ี
ใชใ้ นการเรยี นการสอนทวั่ ไปตามมหาวทิ ยาลยั กข็ อใหช้ ่วยนกึ ถงึ และขอบคณุ ครู
สอนภาษาเนปาลใหแ้ ก่ผมดว้ ยนะครบั

หนงั สอื เล่มน้ีเป็นผลผลติ ร่วมกนั ของบุคคลต่างๆ ท่มี จี ิตใจงามหลาย
ท่าน บคุ คลกลมุ่ แรกทช่ี ่วยอ่าน วจิ ารณต์ น้ ฉบบั และนำ� ไปสู่การปรบั ปรุงแกไ้ ข
ใหด้ ขี ้นึ แมผ้ มจะขอบคุณอกี ก่คี รง้ั มากมายสกั เพยี งไหน ก็คงไมเ่ พยี งพอ ดงั
รายนามต่างๆ ดงั น้ี ฮาล เบยี รแ์ มน, ครสิ แฟรงก,์ เฮยเ์ ดน แฟรงก,์ ซารน์ าเกช
กาเวยี รเ์ นน,ิ ทอม กโิ ลวชิ , บอ็ บ ลบิ บ้,ี เอลเลน แมกคอลลสิ เตอร,์ ฟิล มลิ เลอร,์
ไมเคลิ โอ’เฮเร, เดนนสิ เรแกน, และแอนดี รูนา รวมทง้ั บคุ คลอน่ื ๆ ทช่ี ่วยเหลอื
กรณีศึกษาในตน้ ฉบบั หลายเร่อื ง ทำ� ใหห้ นงั สอื มคี วามสมบูรณย์ ง่ิ ข้นึ ซง่ึ สองท่าน
ในนน้ั คอื จอรจ์ เอเกอรล์ อฟ ทเ่ี ป็นอดตี อาจารย์ และ รชิ ารด์ เทเลอร์ เพอ่ื นร่วม
งานของผม อย่างไรกต็ าม บคุ คลทผ่ี มเป็นหน้ีทางภมู ปิ ญั ญามากทส่ี ุด คอื โทมสั
เชลลงิ ซง่ึ ผมยอมรบั นบั ถอื วา่ เป็นนกั ธรรมชาตวิ ทิ ยาสายพนั ธุเ์ ศรษฐศาสตร์ หรอื
นกั ธรรมชาตเิ ศรษฐกจิ (Economic Naturalist) ทย่ี ง่ิ ใหญ่ทส่ี ุดทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ใน
ปจั จบุ นั ซง่ึ บคุ คลน้ีคอื คนทผ่ี มตงั้ ใจอทุ ศิ หนงั สอื เลม่ น้ใี ห ้

ผมตอ้ งขอขอบคณุ แอนดรวิ ไวเล และ วลิ เลยี ม ฟรูจต์ เพราะถา้ ทง้ั สองทา่ น
น้ไี มใ่ หค้ วามช่วยเหลอื แลว้ หนงั สอื เลม่ น้อี าจไมอ่ ยู่ในมอื ของคณุ ได้ผมขอขอบคณุ
ไพยชั นายยาร,์ เอลซิ าเบท เซวารด์ , มาเรยี ครสิ ตนิ า คาเวกนาโร และ แมตทวิ
ไลจต์ นั ในการช่วยเหลอื งานวจิ ยั และ ครโี ซนา ชมดิ ต์ สำ� หรบั การตรวจตน้ ฉบบั

ผมยนิ ดมี ากทม่ี โี อกาสร่วมงานกบั มคิ สตเี วนส์ ทช่ี ่วยวาดรูปประกอบ
ต่างๆ ในหนงั สอื เลม่ น้ี ซง่ึ ทำ� ไดด้ มี าก และกข็ อขอบคณุ ไว ้ ณ ทน่ี ้ี สำ� หรบั หลาย
ปีทผ่ี ่านมาทผ่ี มสอนหนงั สอื ก็ไดพ้ ยายามใชร้ ูปภาพทว่ี าดข้นึ อย่างงา่ ยๆ เพอ่ื สอ่ื

กิตติกรรมประกาศ 9

ความหมายของตวั อย่างทใ่ี ชส้ อนในชนั้ เรยี น แมบ้ อ่ ยครง้ั ทร่ี ูปประกอบไมไ่ ดม้ สี าระ
อะไรเก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรท์ ต่ี อ้ งการสอ่ื นกั แต่ผมกย็ งั ยุ
ใหน้ กั ศึกษาของผมทกุ คนวาดรูปคร่าวๆ เพอ่ื สอ่ื แนวคดิ ทเ่ี ขาตอ้ งการนำ� เสนอแนบ
มากบั บทความทเ่ี ขยี นส่งดว้ ย

ผมขอขอบคณุ เป็นพเิ ศษต่อ John S. Knight Institute for Writing
in the Disciplines ทใ่ี ส่ช่อื ผมเขา้ ไวใ้ นโปรแกรมการเขยี นงานในสาขาวชิ าของ
มหาวทิ ยาลยั คอรเ์ นลล์ เมอ่ื ช่วงตน้ ทศวรรษท่ี 1980 ดว้ ย ซง่ึ ถา้ ผมไมไ่ ดเ้ขา้ ร่วม
ในโปรแกรมดงั กล่าว ผมก็คงไม่มโี อกาสไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ขยี นงานวชิ าการ
เก่ยี วกบั นกั ธรรมชาตวิ ทิ ยาสายพนั ธุเ์ ศรษฐศาสตร์ อนั เป็นทม่ี าของการจดั ทำ� เป็น
หนงั สอื เลม่ น้ี

สง่ิ สำ� คญั สูงสุดเหนอื อน่ื ใดคอื ขอขอบคุณลูกศิษยท์ กุ คนทเ่ี ขยี นบทความ
และรายงานมาส่ง อนั เป็นมลู เหตดุ ลใจใหผ้ มจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ น้ีข้นึ ซง่ึ แต่ละเร่อื ง
ทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื ก ผมกจ็ ะบอกช่อื นกั ศึกษาทกุ คนกำ� กบั ไวด้ ว้ ยวงเลบ็ นอกจาก
น้ี หวั ขอ้ คำ� ถามหรอื ปญั หาทางเศรษฐศาสตรอ์ น่ื ๆ ทม่ี คี ำ� ตอบอธบิ ายไวใ้ นหนงั สอื
เล่มน้ี ผมก็ไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจากบทความและตำ� ราส่วนใหญ่ท่เี ขยี นโดย
นกั เศรษฐศาสตรห์ ลายท่าน ซง่ึ ชอ่ื ของผูแ้ ต่งทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกป็ รากฏอยู่ในวงเลบ็ เช่น
เดยี วกนั สว่ นคำ� ถามหรอื ปญั หาทไ่ี มม่ กี ารระบชุ อ่ื ผูเ้ขยี นนน้ั สว่ นมากเป็นงานเขยี น
เดมิ ของผมเอง หรอื ไมก่ เ็ ขยี นข้นึ ใหมจ่ ากตวั อย่างทใ่ี ชส้ อนในชน้ั เรยี น

อย่างไรกต็ าม ยงั มบี ทความอยู่ 3 เร่อื งทเ่ี ขยี นข้นึ โดยนกั ศึกษา ซง่ึ จนบดั น้ี
ผมยงั ไมส่ ามารถระบชุ อ่ื ผูแ้ ต่งได้ผมจงึ ขออนุญาตบอกชอ่ื เร่อื งไว ้ณ ทน่ี ้ดี ว้ ย หวงั
ว่าผูท้ เ่ี ขยี นบทความจะแจง้ กลบั มาเพอ่ื ใหเ้ ครดติ ไวใ้ นการพมิ พห์ นงั สอื ครง้ั ต่อๆ
ไป และบทความทก่ี ลา่ วถงึ ทง้ั สามเร่อื งมดี งั น้ี (1) เพราะเหตใุ ดผูผ้ ลติ จงึ ผลติ นม
จำ� หน่ายในรูปกลอ่ งบรรจุทรงสเี่ หลยี่ มหนา้ ตดั ขวางมมุ ฉาก แต่จำ� หน่ายนำ�้ อดั ลม
ในกระป๋องบรรจุรูปทรงกระบอก (2) เพราะเหตใุ ดบารห์ ลายแห่งจงึ คิดเงนิ ค่านำ�้
ดืม่ จากลูกคา้ แต่ใหล้ ูกคา้ กนิ ถวั่ ลสิ งควั่ ฟรี และ (3) เพราะเหตใุ ด บริษทั ใหเ้ช่า

10 สนกุ คิดในชวี ิตประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

รถยนตจ์ งึ ไมเ่ รียกเกบ็ ค่าธรรมเนียมหรือค่าปรบั กรณียกเลกิ การจองโดยไมแ่ จง้
ลว่ งหนา้ ในขณะทบี่ ริษทั สายการบนิ และโรงแรมหลายแห่งเรียกเกบ็ ค่าธรรมเนียม
หรือค่าปรบั กรณียกเลกิ การจองเป็นเงนิ จำ� นวนมาก

กติ ตกิ รรมประกาศ 11



• สารบัญ •

บทนำ� 15..................................................................................................................................................
บทท่ี 1 กล่องนมทรงสเ่ี หลีย่ มกับกระป๋องน�ำ้ อดั ลมทรงกระบอก :
เศรษฐศาสตรก์ ารออกแบบผลติ ภณั ฑ์................................................33
บทที่ 2 ถว่ั ลสิ งฟรีกบั แบตเตอรโ่ี ทรศัพทม์ ือถือราคาแพง :
อปุ สงคแ์ ละอปุ ทานเชงิ ปฏบิ ัติการ............................................................55
บทที่ 3 ท�ำไมคนท�ำงานทมี่ คี วามสามารถพอๆ กนั จงึ ได้รับเงนิ เดอื น
ที่แตกตา่ งกัน และยงั มีเรอ่ื งลล้ี ับอน่ื ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ในโลก
การทำ� งาน 85...............................................................................................................
บทที่ 4 ท�ำไมผูบ้ ริโภคบางคนจึงซื้อสนิ ค้าและบริการในราคาแพงกวา่
คนอน่ื : เศรษฐศาสตร์วา่ ดว้ ยการลดราคา.................................107
บทท่ี 5 รองเท้าส้นสูงและชดุ นกั เรียน : ความแตกต่างระหวา่ ง
ประโยชนส์ ว่ นตัวและประโยชนส์ ่วนรวม...........................................139
บทท่ี 6 เรือ่ งเลา่ เกย่ี วกบั ความเปน็ เจ้าของ......................................................... 157
บทท่ี 7 สุนขั ตัวใหญ่ท่สี ุดจะเปน็ ผูช้ นะ :
การถอดรหสั สญั ญาณตลาด....................................................................183
บทท่ี 8 นักธรรมชาตเิ ศรษฐกิจบนท้องถนน................................................203
บทที่ 9 มากอ่ นไดก้ ่อน : จติ วทิ ยากับเศรษฐศาสตร์..............................223

สารบญั 13

บทที่ 10 การเรยี กรอ้ งหาความรกั และเงินตรา :
ตลาดไม่เปน็ ทางการสำ� หรับความสมั พันธส์ ว่ นตัว.................247
บทท่ี 11 สองเรอ่ื งเดมิ .......................................................................................................265
ความคดิ สดุ ทา้ ยกอ่ นอ�ำลา................................................................................................271

14 สนุกคดิ ในชวี ิตประจ�ำวันแบบเศรษฐศาสตร์

• บทนำ� •

ทำ�ไมในประเทศพฒั นาแลว้ อย่างสหรฐั ฯ จงึ มธี นาคารพาณิชยห์ ลายแห่งให้
บรกิ ารเบกิ ถอนเงนิ สดจากเคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ต่ี ง้ั อยู่บนรมิ ฟตุ ปาท
หรอื ทางสญั จรทผ่ี ูข้ บั ขร่ี ถสามารถตรงไปยงั เคร่อื งเพอ่ื ใชบ้ รกิ ารโดยไมต่ อ้ งลงจาก
รถ ซง่ึ เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ใิ ชแ้ ป้นกดมลี กั ษณะเป็นจดุ นูน เป็นอกั ษรเบรลล์
สำ� หรบั คนตาบอดใหใ้ ชบ้ รกิ ารไดด้ ว้ ย

มผี ูต้ งั้ ขอ้ สงั เกตจากความสงสยั วา่ มคี วามจำ� เป็นอย่างไรจงึ ตอ้ งใชแ้ ป้นกด
เป็นอกั ษรเบรลล์เพราะคนตาดีเท่านนั้ ทสี่ ามารถขบั รถยนตเ์ ขา้ มาใชบ้ ริการได้ผูต้ งั้
ขอ้ สงั เกตน้คี อื บลิ ล์ โจ อดตี ลูกศิษยค์ นหน่งึ ของผม เขาไดต้ งั้ คำ� ถาม และพยายาม
ศึกษาจนไดค้ ำ� ตอบว่า อตุ สาหกรรมผูผ้ ลติ เคร่ืองถอนเงนิ อตั โนมตั ไิ ดพ้ จิ ารณา
และคำ� นึงถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ จะมผี ูใ้ ชบ้ รกิ ารจำ� นวนหน่ึงทเ่ี ป็นคนตาบอดก็ใชว้ ธิ ี
เดนิ เขา้ มาเบกิ ถอนเงนิ จากเคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ิ ซง่ึ คนตาบอดกเ็ ป็นลูกคา้ กลมุ่
หน่งึ ทธ่ี นาคารตอ้ งใหบ้ รกิ ารอยู่แลว้ ดงั นน้ั จงึ เป็นการสะดวกและประหยดั กวา่ ใน
ดา้ นการผลติ และตดิ ตงั้ เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ใิ หเ้ป็นแบบเดยี วกนั ในทกุ สถานท่ี

แมว้ า่ การใหบ้ รกิ ารลูกคา้ ทง้ั สองกลมุ่ สามารถทำ� แยกกนั ได้โดยผลติ เครอ่ื ง
ถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ม่ี ปี ่มุ กดสองแบบสำ� หรบั คนตาบอดและคนสายตาปกติ แต่กจ็ ะ
มตี น้ ทนุ ค่าใชจ้ ่ายเพม่ิ ข้นึ เกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การสตอ็ กสนิ คา้ และค่าตดิ ตง้ั เฉพาะ
แต่ละจดุ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารกลมุ่ ลูกคา้ ทแ่ี ตกต่างกนั ถา้ หากป่มุ กดทม่ี อี กั ษรเบรลลก์ ่อ
ใหเ้กดิ ปญั หาหรอื ความรำ� คาญทางสายตาแก่ผูใ้ ชบ้ รกิ ารทม่ี สี ายตาปกติ มนั อาจ
เป็นเหตผุ ลเพยี งพอเพอ่ื พจิ ารณาในการผลติ และแยกการตดิ ตงั้ เคร่ืองถอนเงนิ
อตั โนมตั ใิ หเ้หมาะกบั ลูกคา้ แต่ละกลมุ่ แต่ขอ้ เทจ็ จรงิ พบวา่ เครอ่ื งถอนเงนิ อตั โนมตั ิ

บทนำ� 15

ทม่ี อี กั ษรเบรลลด์ งั กลา่ วกม็ ไิ ดก้ ่อปญั หาใดๆ แก่ผูใ้ ชบ้ รกิ ารทม่ี สี ายตาปกติ ดงั นน้ั
จงึ ไมม่ คี วามจำ� เป็นใดๆ ทต่ี อ้ งปรบั ปรุงการผลติ และบรกิ ารใหม่

การตงั้ คำ� ถามและการคน้ หาคำ� ตอบทอ่ี ธบิ ายขา้ งตน้ เป็นรายงานหน่ึงใน
สองเร่อื งสำ� หรบั วชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ทผ่ี มสอนอยู่ในมหาวทิ ยาลยั ซง่ึ รายงาน
เร่อื งเคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ่ี บลิ ล์ โจ ทำ� ส่งในการเรยี นการสอนน้ี ผมกไ็ ดม้ อบ
หมายงานใหน้ กั ศึกษาทกุ คนตง้ั คำ� ถามหรอื คน้ หาปญั หาทพ่ี บในชวี ติ ประจำ� วนั และ
หาเหตผุ ลงา่ ยๆ ธรรมดาๆ เก่ยี วกบั แนวคดิ ทฤษฎที างเศรษฐศาสตรท์ ส่ี ามารถใช้
อธบิ ายคำ� ตอบของปญั หานนั้ ซง่ึ ผมไดต้ ง้ั ชอ่ื งานทม่ี อบหมายใหน้ กั ศึกษาทำ� วา่ “นกั
ธรรมชาตเิ ศรษฐกจิ หรือ Economic Naturalist” เพราะงานน้เี ก่ยี วกบั การฝึกหดั
ใหน้ กั ศึกษารูจ้ กั ใชส้ ญั ชาตญาณทางธรรมชาตเิ พอ่ื ตอบปญั หาดา้ นเศรษฐศาสตร์
โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาเรยี นรูก้ ารประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ และทฤษฎี
ทางเศรษฐศาสตรใ์ นการตง้ั คำ� ถามและตอบคำ� ถามทต่ี วั เองสนใจ เก่ยี วกบั แบบ
กระสวนของพฤตกิ รรมมนุษย์ หรอื เหตกุ ารณท์ พ่ี บหรอื สงั เกตเหน็ ในชวี ติ จรงิ

SSเครื่องถอนเงินด่วนทีม่ ีป่ มุ กดบรรจอุ กั ษรเบรลล์ส�ำหรบั คนตาบอด

วาดโดย : มิค สตีเวนส์

16 สนกุ คิดในชวี ิตประจำ� วันแบบเศรษฐศาสตร์

ผมกำ� หนดเงอ่ื นไขในการเขยี นรายงานคือ ตอ้ งเป็นรายงานขนาดสนั้ ไม่
เกนิ 500 คำ� (ซง่ึ พบวา่ รายงานดๆี หลายฉบบั สน้ั กวา่ ทก่ี ำ� หนดมาก) แลว้ กใ็ หใ้ ช้
ภาษาเขยี นงา่ ยๆ ไมเ่ ตม็ ไปดว้ ยศพั ทแ์ สงหรอื ถอ้ ยคำ� ทางเทคนิควชิ าการทย่ี ากแก่
การทำ� ความเขา้ ใจ โดยเฉพาะกบั ผูท้ ไ่ี มม่ พี ้นื ฐานทางเศรษฐศาสตรม์ าก่อน ยง่ิ ใช้
กราฟหรอื ใชส้ มการทางคณิตศาสตรห์ รอื พชี คณิตทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นกไ็ มต่ อ้ งมเี ขา้ มา

ในทำ� นองคลา้ ยคลงึ กนั กบั บลิ ล์ โจ ทม่ี กี ารตงั้ คำ� ถามเร่อื งป่มุ กดทเ่ี ป็น
อกั ษรเบรลลส์ ำ� หรบั เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ิ ผมก็พบวา่ การตงั้ คำ� ถามทด่ี ที ส่ี ุด
มกั จะเป็นหวั ขอ้ ทก่ี ่อใหเ้กดิ ความฉงนงงงวยทางความคดิ ดงั ตวั อย่างรายงานของ
เจนนีเฟอร์ ดลั สก้ี ทท่ี ำ� ส่งเมอ่ื ปี 1997 ซง่ึ เป็นรายงานทผ่ี มช่นื ชอบและจดจำ� มาก
เป็นพเิ ศษ เธอไดต้ ง้ั คำ� ถามไวอ้ ย่างน่าสนใจวา่ ทำ� ไมเจา้ สาวทงั้ หลายจงึ ยอมลงทนุ
เสยี เงนิ จำ� นวนมากซ้อื ชดุ เจา้ สาวทใี่ สเ่ พยี งหนเดียวในวนั แต่งงาน และแทบจะไมม่ ี
โอกาสไดใ้ ชอ้ กี เลยในวนั ขา้ งหนา้ ในขณะทเี่ จา้ บา่ วกลบั นิยมเช่าสูทแต่งงานราคาถกู
ทงั้ ทคี่ วรลงทนุ ซ้อื เป็นเจา้ ของเองได้ เพราะอาจมโี อกาสไดใ้ ชอ้ กี ครงั้ ต่อไป

นกั ศึกษาคนน้ีไดใ้ หเ้หตผุ ลวา่ เพราะเจา้ สาวส่วนใหญ่ตอ้ งการเลอื กใส่ชดุ
ในวนั แต่งงานทด่ี ูเหมาะ ดูดี และตรงกบั รสนิยมทางแฟชนั่ ของตวั เองมากทส่ี ุด
ซง่ึ หอ้ งเส้อื ทจ่ี ะใหบ้ รกิ ารเช่าชดุ ได้ ก็ตอ้ งจดั เตรียมชดุ เจา้ สาวไวห้ ลากหลายทง้ั
รูปแบบและขนาด โดยการสตอ็ กสนิ คา้ ไวอ้ าจถงึ 40 – 50 แบบต่อขนาดเพอ่ื ให ้
ลูกคา้ ไดเ้ลอื ก เพราะการดำ� เนนิ ธุรกจิ ลกั ษณะน้เี ป็นการลงทนุ สูง หากนำ� มาเปรยี บ
เทยี บกบั โอกาสการใหเ้ ช่าท่มี ไี ม่บ่อยครงั้ นกั ในรอบปี จงึ เป็นสาเหตใุ หห้ อ้ งเส้อื
สว่ นใหญ่ตอ้ งตงั้ ราคาเช่าชดุ แต่งงานทส่ี ูงมาก เพอ่ื ใหค้ มุ้ กบั ตน้ ทนุ การสตอ็ กสนิ คา้
เกบ็ ไว ้ดว้ ยเหตผุ ลน้ี จงึ มกั พบวา่ เจา้ สาวสว่ นใหญ่ชอบทจ่ี ะลงทนุ สงั่ ตดั ชดุ แต่งงาน
เป็นของตวั เองมากกวา่ เช่าชดุ เพราะกลายเป็นวา่ มคี ่าใชจ้ ่ายโดยเปรยี บเทยี บทน่ี อ้ ย
กวา่ ในทางตรงกนั ขา้ ม เจา้ บา่ วจะนิยมการเช่าสูทซง่ึ ประหยดั กวา่ การซ้อื เอง และ
ค่าเช่าสูทก็มรี าคาถกู เพราะสูททเ่ี จา้ บา่ วใส่ในวนั แต่งงานมรี ูปแบบเป็นมาตรฐาน
เพยี งสองสามแบบใหเ้ลอื กเท่านน้ั ทำ� ใหห้ อ้ งเส้อื ไมต่ อ้ งเตรยี มเกบ็ สตอ็ กหลายๆ
แบบสำ� หรบั แต่ละขนาด เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั โอกาสการใหเ้ ช่าซง่ึ มคี วามถส่ี ูงใน
รอบปี ทำ� ใหร้ า้ นเช่าสูทสามารถกำ� หนดราคาเช่าทต่ี ำ�่ กวา่ ราคาซ้อื ขายค่อนขา้ งมาก

บทนำ� 17

ในหนงั สอื เลม่ น้ไี ดร้ วบรวมเรอ่ื งราวของบคุ คลทใ่ี ชค้ วามพยายามใชแ้ นวคดิ
และเหตผุ ลทางเศรษฐศาสตร์ (ดงั ยกตวั อย่างกรณีของ บลิ ล์ โจ และ เจนนเิ ฟอร์
ดลั สก้ี) พวกเขามคี วามสุขในการช่วยอธิบายความล้ลี บั สำ� หรบั พฤติกรรมการ
ตดั สนิ ใจของมนุษย์ เรามกั ไดย้ นิ ผูค้ นจำ� นวนมากโดยเฉพาะนกั ศึกษาบ่นกนั ว่า
เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวชิ าทย่ี ากแก่การเขา้ ใจ ตวั เน้ือหากไ็ มม่ คี วามเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด
ในตวั ตามขอ้ เทจ็ จริงแลว้ หากนกั ศึกษามคี วามเขา้ ใจอย่างถ่องแทจ้ ะทราบว่า
เศรษฐศาสตรเ์ ป็นศาสตรท์ ม่ี แี นวคดิ หลกั ทง่ี า่ ยและเตม็ ไปดว้ ยการใชส้ ามญั สำ� นกึ
ธรรมดาๆ ซง่ึ นกั ศกึ ษาจะสามารถเขา้ ใจสารตั ถะของวชิ าน้ไี ดด้ ขี ้นึ หากไดเ้หน็ ตวั อยา่ ง
การประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ ทฤษฎกี บั ปญั หาการตดั สนิ ใจทพ่ี บในโลกแหง่ ความเป็นจรงิ

SSผมอยากแนะน�ำคณุ ใหร้ ู้จกั กบั คณุ มาร์ตี ทอร์นเดกเกอร์
เขาเป็นนกั เศรษฐศาสตร์ แต่เขาก็เป็นคนทีม่ ีนิสยั ดีมาก

วาดโดย : เอด็ อาร์โน @1974, นิตยสาร The New Yorker

18 สนุกคิดในชวี ิตประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์

อย่างไรกด็ ี โชคไมด่ ที ก่ี ารเรยี นการสอนวชิ าเศรษฐศาสตรใ์ นมหาวทิ ยาลยั
ปจั จบุ นั มกั ไมเ่ นน้ การนำ� ปญั หาและพฤตกิ รรมการตดั สนิ ใจทพ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจำ�
วนั ของมนุษยม์ าเป็นตวั อย่างในการประยุกตใ์ ชก้ บั ทฤษฎเี พอ่ื อธบิ าย หลงั จากทผ่ี ม
สอนหนงั สอื ทม่ี หาวทิ ยาลยั คอรเ์ นลลไ์ ดไ้ มน่ าน กไ็ ดร้ บั ภาพการต์ ูนจากเพอ่ื นทอ่ี ยู่
ต่างรฐั ส่งมาให้การต์ ูนน้สี ะทอ้ นความจรงิ บางอย่างทต่ี รงกบั ประสบการณข์ องผม
นนั่ คอื ในงานเล้ยี งหลายแห่งทผ่ี มไปร่วมงาน มกั จะถกู ตง้ั คำ� ถามจากคู่สนทนา
วา่ “ผมทำ� มาหาเล้ยี งชพี อะไร” และเมอ่ื ผูถ้ ามรูว้ า่ ผมมอี าชพี เป็นนกั เศรษฐศาสตร์
สง่ิ ทผ่ี มสงั เกตเหน็ ก็คอื ความผดิ หวงั ของคู่สนทนา ทำ� ใหผ้ มตอ้ งเร่มิ ตง้ั คำ� ถาม
วา่ ทำ� ไมจงึ เป็นเช่นนน้ั สง่ิ ทส่ี งั เกตเหน็ อกี ประการคอื ผูร้ ่วมสนทนาหลายคนต่าง
เคยเรยี นวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ แลว้ แต่ไมค่ ่อยมคี วามประทบั ใจกบั วธิ กี าร
สอนของอาจารย์ เพราะมแี ต่การใชก้ ราฟและสมการทางคณิตศาสตรเ์ ตม็ ไปหมด
เพอ่ื อธบิ ายทฤษฎี

ปจั จบุ นั จำ� นวนนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรที ศ่ี ึกษาหลกั สูตรเศรษฐศาสตรม์ ี
ค่อนขา้ งนอ้ ยเมอ่ื เทยี บกบั การเรยี นการสอนหลกั สูตรอน่ื ๆ ยง่ิ การศึกษาต่อในระดบั
ปรญิ ญาเอกดว้ ยแลว้ ยง่ิ มจี ำ� นวนเป็นสดั สว่ นทน่ี อ้ ยมาก และจำ� นวนคนไมม่ ากเหลา่
น้ีเองทต่ี อ้ งเรยี นวชิ าเศรษฐศาสตรท์ เ่ี ตม็ ไปดว้ ยกราฟและสมการทางคณิตศาสตร์

แต่กลบั ปรากฏวา่ ส่วนใหญ่ของจำ� นวนคนไมม่ ากเหลา่ น้ีก็ไมไ่ ดร้ บั ความ
รูอ้ ะไรมากนกั จากการเรยี นวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ ลย เพราะผลการทดสอบความรู ้
พ้นื ฐานกบั กลมุ่ นกั ศึกษาหลงั จากเรยี นวชิ าน้ีแลว้ 6 เดอื น พบวา่ ไมไ่ ดม้ คี วามรูด้ ี
ไปกวา่ กลมุ่ ทไ่ี มเ่ คยเรยี นวชิ าน้มี าก่อนอย่างมนี ยั สำ� คญั ประการใด ซง่ึ ความจรงิ ท่ี
คน้ พบน้เี ป็นทม่ี าของคำ� ถามทน่ี ่าอายของวงการศกึ ษาดา้ นเศรษฐศาสตรค์ อื มเี หตผุ ล
อะไรทมี่ หาวทิ ยาลยั ควรเรียกเกบ็ ค่าหน่วยกติ ค่อนขา้ งสูงกบั นกั ศึกษาทีล่ งทะเบยี น
เรียนวชิ าทไี่ มไ่ ดก้ ่อใหเ้กดิ ประโยชนห์ รือมลู ค่าเพมิ่ (ความรู)้ แก่เขาแต่ประการใด

บทนำ� 19

ผูท้ เ่ี คยเรยี นวชิ าเศรษฐศาสตรอ์ ย่างนอ้ ยน่าจะตอ้ งเคยไดย้ นิ คำ� วา่ ค่าเสยี
โอกาส (Opportunity Cost) หมายถงึ มลู ค่าหรอื รายไดจ้ ากทางเลอื กหรอื กจิ กรรม
ทค่ี ุณยอมสละโอกาสไปหรอื ไมท่ ำ� เมอ่ื เลอื กตดั สนิ ใจไปทำ� อกี กจิ กรรมหน่ึงแทน
อย่างไรกด็ ี แมแ้ ต่ความหมายพ้นื ฐานของแนวคดิ สำ� คญั น้ี กย็ งั มนี กั ศึกษาจำ� นวน
มากทไ่ี มส่ ามารถเขา้ ใจไดอ้ ย่างถอ่ งแท ้

ตวั อย่างต่อไปน้จี ะช่วยเพม่ิ ความเขา้ ใจในแนวคดิ ของค่าเสยี โอกาสไดด้ ขี ้นึ
สมมตวิ า่ บงั เอญิ คณุ โชคดไี ดร้ บั ตวั๋ ชมคอนเสริ ต์ ฟรคี นื น้ี แสดงโดย อรี กิ แคลป็ ตนั
แต่มเี งอ่ื นไขคอื คณุ ไมส่ ามารถขายตวั๋ ต่อใหค้ นอน่ื ได้สมมตติ ่ออกี วา่ ในคนื เดยี วกนั
กม็ กี ารแสดงคอนเสริ ต์ ของ บอ็ บ ดแี ลน ซง่ึ เป็นอกี ทางเลอื กหน่ึงทค่ี ุณอยากจะไป
เพราะคณุ เองกช็ น่ื ชอบเขา นอกนน้ั กไ็ มม่ กี จิ กรรมอน่ื ใดอกี แลว้ ทใ่ี หค้ ณุ เลอื กทำ� ได้
อกี สำ� หรบั คนื น้ี การแสดงคอนเสริ ต์ ของ บอ็ บ ดแี ลน เกบ็ ค่าดู 40 ปอนด์ ทงั้ ๆ
ทโ่ี ดยปกตจิ ะเก็บสูงถงึ 50 ปอนด์ และคุณก็เตม็ ใจยอมจ่ายสำ� หรบั ราคาน้ีดว้ ย
(แต่ถา้ ราคาสูงกวา่ น้ีคุณจะไมไ่ ปดู แมจ้ ะไมม่ อี ะไรทำ� ในคนื นนั้ กต็ าม) ส่วนค่าใช้
จ่ายอน่ื ๆ ทอ่ี าจเก่ยี วขอ้ งสำ� หรบั การไปดูคอนเสริ ต์ ไมม่ ี คำ� ถามมวี า่ คณุ จะมคี ่า
เสยี โอกาสเท่าไร หากตดั สนิ ใจไปชมการแสดงคอนเสริ ต์ ของ อรี ิก แคลป็ ตนั คนื น้ี

ค่าเสยี โอกาสท่เี ก่ียวขอ้ งในกรณีน้ีคือ มูลค่าเพม่ิ ท่จี ะไดร้ บั จากการชม
คอนเสริ ต์ บอ็ บ ดแี ลน ทค่ี ุณยอมสละไป โดยเลอื กทจ่ี ะไปชม อรี กิ แคลป็ ตนั
แทน มลู ค่าเพม่ิ ทค่ี ณุ เตม็ ใจจะจ่ายสำ� หรบั การไปชม บอ็ บ ดแี ลน (หรอื ในอกี ความ
หมายหน่ึงคอื มลู ค่าความพงึ พอใจทง้ั หมดทจ่ี ะไดร้ บั ) มคี ่าเท่ากบั 50 ปอนด์ และ
เมอ่ื หกั ค่าตวั๋ ทต่ี อ้ งจ่ายจรงิ (ถา้ ไปชม) เท่ากบั 40 ปอนด์ แปลวา่ คณุ จะยอมสละ
มลู ค่าเพม่ิ สุทธไิ ปเท่ากบั 10 ปอนด์ ดงั นน้ั การทค่ี ุณตดั สนิ ใจไปชมคอนเสริ ต์ ของ
อรี กิ แคลป็ ตนั แทน แปลวา่ จะตอ้ งก่อมลู ค่าความพงึ พอใจใหแ้ ก่คุณอย่างนอ้ ย
เท่ากบั 10 ปอนดข์ ้นึ ไป มเิ ช่นนนั้ คุณกจ็ ะไมไ่ ปชม หรอื กลา่ วอกี ทางหน่งึ คอื การ
ชมคอนเสริ ต์ ของ อรี กิ แคลป็ ตนั มคี ่าเสยี โอกาสเท่ากบั 10 ปอนด์

ค่าเสยี โอกาสนบั เป็นหน่งึ ในสองหรอื สามแนวคดิ พ้นื ฐานทม่ี คี วามสำ� คญั มาก
ในการศึกษาวชิ าหลกั เศรษฐศาสตรท์ ม่ี กี ารเรยี นการสอนในมหาวทิ ยาลยั แต่ยงั มี

20 สนกุ คิดในชวี ติ ประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

นกั ศึกษาจำ� นวนมากทไ่ี มเ่ ขา้ ใจแนวคดิ น้อี ย่างแทจ้ รงิ ดงั ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายไปแลว้ ซง่ึ จะ
ช้ใี หเ้หน็ ถงึ ปญั หาอกี ครง้ั หน่งึ โดยนำ� ผลการศึกษาของนกั เศรษฐศาสตรส์ องท่าน
คอื พอล เฟอรเ์ รโน และ ลอร่า เทยเ์ ลอร์ มาช่วยยนื ยนั นกั เศรษฐศาสตรท์ ง้ั สอง
ไดน้ ำ� ปญั หากรณี แคลป็ ตนั /ดแี ลน ทอ่ี ธบิ ายขา้ งตน้ มาทดลองตงั้ เป็นคำ� ถามให ้
นกั ศึกษาตอบเพอ่ื ทดสอบความเขา้ ใจ โดยใหเ้ลอื กคำ� ตอบจาก 4 ทางเลอื ก ดงั น้ี

ก. 0 ปอนด์
ข. 10 ปอนด์
ค. 40 ปอนด์
ง. 50 ปอนด์
เราทราบแลว้ วา่ คำ� ตอบทถ่ี กู ตอ้ ง คอื ขอ้ ข. 10 ปอนด์ แต่ผลการศึกษาของ
พอล เฟอรเ์ รโน และ ลอร่า เทยเ์ ลอร์ พบวา่ ผูต้ อบคำ� ถามเป็นนกั ศึกษาทงั้ หมด
270 คน ทเ่ี คยเรยี นวชิ าหลกั เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ แลว้ มเี พยี ง 7.4 เปอรเ์ ซน็ ต์
เทา่ นน้ั ทต่ี อบถกู ตอ้ ง เน่อื งจากคำ� ตอบทใ่ี หเ้ลอื กมเี พยี ง 4 ขอ้ แมใ้ หน้ กั ศึกษาเลอื ก
ตอบแบบเดาสุ่มในทางสถติ กิ ย็ งั มโี อกาสตอบถกู ถงึ 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ แต่น่ตี อบถกู
เพยี ง 7.4 เปอรเ์ ซน็ ต์ แสดงวา่ นกั ศึกษามคี วามรูด้ า้ นน้ีนอ้ ยมาก
พอล เฟอรเ์ รโน และ ลอร่า เทยเ์ ลอร์ ยงั ไดท้ ดลองนำ� คำ� ถามน้ีใหน้ กั ศึกษา
ทไ่ี มเ่ คยเรยี นวชิ าหลกั เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ จำ� นวน 88 คนเป็นผูต้ อบ ผลปรากฏ
วา่ 17.2 เปอรเ์ ซน็ ตต์ อบไดถ้ กู ตอ้ ง ซง่ึ เป็นสดั ส่วนสูงถงึ สองเท่าของนกั ศึกษาท่ี
เคยเรยี นวชิ าหลกั เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ มาแลว้ แต่กย็ งั นอ้ ยกวา่ สดั สว่ นคำ� ตอบท่ี
ถกู ตอ้ งจากการเดาสุ่มทางสถติ เิ ท่ากบั 25 เปอรเ์ ซน็ ตอ์ ยู่ดี
เพราะเหตใุ ดนกั ศึกษาทเี่ รียนวชิ าเศรษฐศาสตรจ์ งึ ตอบถกู นอ้ ยกวา่ สาเหตุ
หลกั น่าจะเกดิ จากการตอ้ งเรยี นหลกั การและแนวคดิ ของทฤษฎเี ศรษฐศาสตรร์ ่วม
รอ้ ยหวั ขอ้ ซง่ึ ค่าเสยี โอกาสเป็นเพยี งหน่งึ ในแนวคดิ ทฤษฎจี ำ� นวนมากมายเหลา่ นน้ั
จงึ เป็นผลใหส้ มองของนกั ศึกษาเกดิ ความสบั สนคลมุ เครอื และไมเ่ ขา้ ใจอยา่ งชดั เจน
จนตอ้ งปลอ่ ยผ่านๆ ไป โดยไมไ่ ดเ้ขา้ ใจจรงิ ๆ ยง่ิ ถา้ พวกเขาไมเ่ คยทำ� การบา้ นหรอื

บทนำ� 21

ไมม่ โี อกาสนำ� มาประยุกตใ์ ชบ้ อ่ ยๆ กบั ปญั หาในชวี ติ ประจำ� วนั กจ็ ะไมส่ ามารถเขา้ ใจ
อย่างถอ่ งแทก้ บั การทำ� งานของแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้

ความเป็นไปไดอ้ กี ประการทท่ี ำ� ใหน้ กั ศึกษาเศรษฐศาสตรข์ าดความเขา้ ใจ
ในหลกั การและแนวคิดของทฤษฎคี ่าเสยี โอกาส อาจเกิดจากตวั ผูส้ อนเองทย่ี งั
ไมม่ คี วามเขา้ ใจอย่างถอ่ งแทเ้ช่นกนั เพราะผลจากการศึกษาของ พอล เฟอรเ์ รโน
และ ลอร่า เทยเ์ ลอร์ น้ี ไดท้ ดลองนำ� คำ� ถามเดยี วกนั ใหผ้ ูส้ อนวชิ าเศรษฐศาสตร์
199 คนตอบดว้ ย ผลกค็ อื มผี ูส้ อนทต่ี อบเก่ยี วกบั ทฤษฎคี ่าเสยี โอกาสไดถ้ กู ตอ้ ง
วา่ 10 ปอนด์ คดิ เป็น 21.6 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขณะเดยี วกนั คำ� ตอบทเ่ี หลอื คอื 0 ปอนด์
มตี อบ 25.1 เปอรเ์ ซน็ ต์ คำ� ตอบ 40 ปอนด์ มี 25.6 เปอรเ์ ซน็ ต์ และคำ� ตอบ 50
ปอนด์ มี 27.6 เปอรเ์ ซน็ ต์

พอล เฟอรเ์ รโน และ ลอร่า เทยเ์ ลอร์ ยงั ไดท้ ดลองศึกษาทบทวนและ
ตรวจสอบตำ� ราทฤษฎเี ศรษฐศาสตรช์ นั้ นำ� หลายเลม่ พบว่าตำ� ราส่วนใหญ่ยงั ไม่
ไดใ้ หค้ วามสนใจและอทุ ศิ เวลามากพอเพอ่ื อธบิ ายแนวคดิ และความหมายของค่า
เสยี โอกาสในเชงิ ลกึ อย่างละเอยี ด เพอ่ื ช่วยใหน้ กั ศึกษาสามารถเรยี นรู ้ มคี วาม
เขา้ ใจ และสามารถตอบคำ� ถามกรณีชมคอนเสริ ต์ แคลป็ ตนั /ดแี ลน ได้ ซง่ึ ตำ� รา
ส่วนใหญ่อธิบายและแสดงตวั อย่างแนวคิดทฤษฎไี วเ้ พยี งผวิ เผนิ และความ
ลกึ ซ้งึ ในสาระกม็ ไี มเ่ กนิ ระดบั เบ้อื งตน้ เท่านนั้ แลว้ ทห่ี นกั หนาสาหสั ยง่ิ กวา่ นนั้ พบ
วา่ แมแ้ ต่ในดชั นีทา้ ยเลม่ ของตำ� ราเศรษฐศาสตรช์ นั้ นำ� ระดบั บณั ฑติ ศึกษาหลายๆ
เลม่ กย็ งั ไมป่ รากฏคำ� วา่ “ค่าเสยี โอกาส” ถกู อา้ งถงึ ไวใ้ หส้ บื คน้ ได้

อย่างไรก็ดี แนวคิดค่าเสยี โอกาสสามารถใชอ้ ธิบายแบบกระสวนของ
พฤตกิ รรมของมนุษยท์ พ่ี บเหน็ ไดอ้ ย่างน่าสนใจหลายเร่อื ง ตวั อย่างทจ่ี ะหยบิ ยกมา
กลา่ วถงึ ในทน่ี ้ี เป็นเรอ่ื งทก่ี ลา่ วถงึ กนั เยอะเกย่ี วกบั วฒั นธรรมทเ่ี หน็ ความแตกต่างกนั
อย่างมาก ระหวา่ งประชาชนทอ่ี าศยั อยู่ในเมอื งใหญ่ (เช่น ลอนดอน) กบั ประชาชน
ทอ่ี าศยั อยู่ในเมอื งเลก็ กวา่ พบวา่ ผูค้ นของเมอื งแพดดงิ ตนั ในกรงุ ลอนดอนมกั จะมี
นิสยั หยาบกระดา้ งและใจรอ้ นกวา่ ผูค้ นทอ่ี าศยั ในเมอื งเพรสตนั ซง่ึ เป็นเมอื งเลก็ ๆ
ทอ่ี ยู่ทางแถบตอนเหนือขององั กฤษ ซง่ึ ผูค้ นมกั เป็นมติ รและสุภาพอ่อนโยนกวา่

22 สนุกคิดในชวี ิตประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

ปญั หาท่พี บส่วนใหญ่คือ ถา้ คุณหลงอยู่ในเมอื งเพรสตนั แลว้ ตอ้ งการ
สอบถามเสน้ ทางจากคนในทอ้ งถน่ิ ผูค้ นเหลา่ นนั้ จะหยุด และใหก้ ารช่วยเหลอื คณุ
ทนั ที ในขณะทเ่ี หตกุ ารณท์ ำ� นองเดยี วกนั น้เี กดิ ข้นึ ทเ่ี มอื งแพดดงิ ตนั ผูค้ นทค่ี ณุ ถาม
อาจไมแ่ มก้ ระทงั่ หนั มามองหนา้ คณุ ดว้ ยซำ�้ ซง่ึ พฤตกิ รรมตอบสนองทแ่ี ตกต่างกนั
เช่นน้อี ธบิ ายไดว้ า่ เป็นเพราะผูค้ นทอ่ี าศยั ในลอนดอนสว่ นใหญ่เป็นผูท้ ไ่ี ดร้ บั อตั รา
ค่าจา้ งแรงงานค่อนขา้ งสูง รวมทง้ั มกี ิจกรรมหลายอย่างท่จี ะตอ้ งทำ� ในรอบวนั
ดงั นน้ั เขาจงึ มคี ่าเสยี โอกาสของเวลาค่อนขา้ งสูง จงึ ไมค่ ่อยอยากเสยี เวลาสนทนา
ตอบคำ� ถามกบั ใคร จะเหน็ ไดว้ า่ ชาวลอนดอนสว่ นใหญ่ทม่ี พี ฤตกิ รรมเหลา่ น้จี ะเป็น
คนตดั สนิ ใจรวดเรว็ แต่ขาดความอดทน

ผมจงใจตงั้ ชอ่ื งานทม่ี อบหมายใหน้ กั ศึกษาเขยี นรายงานวา่ “นกั ธรรมชาติ
เศรษฐกจิ (Economic Naturalist)” เพราะไดร้ บั แรงจูงใจส่วนหน่ึงจากการเหน็
การตงั้ คำ� ถามท่กี ำ� หนดใหน้ กั ศึกษาตอบสำ� หรบั การเรียนวชิ าชีววทิ ยาเบ้อื งตน้
เก่ียวกบั ทฤษฎวี วิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวติ และถา้ คุณเรียนรูแ้ ละเขา้ ใจทฤษฎดี งั
กลา่ วแค่เพยี งเลก็ นอ้ ย ก็จะช่วยใหเ้ขา้ ใจสง่ิ ต่างๆ ทอ่ี าจนึกไมถ่ งึ มาก่อนทเี ดยี ว
ทฤษฎนี ้จี ะช่วยจำ� แนกโครงสรา้ งและแบบกระสวนของสง่ิ มชี วี ติ ในโลก ทำ� ใหง้ า่ ย
ต่อการจดจำ� และระลกึ ถงึ

ขอยกตวั อย่างคำ� ถามทม่ี กี ารถามมากในวชิ าชวี วทิ ยา เช่น เหตใุ ดสตั วส์ ว่ น
ใหญ่ทมี่ กี ระดูกสนั หลงั เพศผู ้จงึ มขี นาดใหญ่กวา่ สตั วเ์ พศเมยี อย่างแมวนำ�้ เพศผู ้
อาจมขี นาดความยาวของลำ� ตวั ถงึ 6 เมตร (20 ฟตุ ) และหนกั ถงึ 2,700 กโิ ลกรมั
ขณะทเ่ี พศเมยี มนี ำ�้ หนกั เพยี ง 360 – 550 กโิ ลกรมั เท่านนั้

นอกจากน้ี พฤติกรรมท่แี ตกต่างกนั ของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั อนั เน่ือง
มาจากเพศทพ่ี บอกี ประการหน่ึงคอื สตั วเ์ พศผูม้ กั มคี ู่สบื พนั ธุไ์ ดม้ ากกวา่ หน่ึงตวั
(ทฤษฎขี อง ชารล์ ส์ ดารว์ นิ เรยี กวา่ Sexual Dimorphism) จงึ มกั เหน็ การต่อสู ้
ระหวา่ งเพศผูเ้พอ่ื แย่งชงิ เพศเมยี ในสตั วจ์ ำ� พวกมกี ระดูกสนั หลงั หลายชนดิ ตามท่ี
ไดเ้หน็ ในรายการสารคดที างทวี ี อย่างการต่อสูข้ องแมวนำ�้ เพศผูบ้ นชายหาดจะนาน
หลายชวั่ โมงในแต่ละครงั้ จนต่างฝ่ายต่างหมดเรย่ี วแรง และตวั ทแ่ี พต้ อ้ งลา่ ถอยไป

บทนำ� 23

แน่นอนวา่ แมวนำ�้ เพศผูท้ ช่ี นะ สามารถครอบครองและสบื พนั ธุก์ บั แมวนำ�้
เพศเมยี ไดห้ ลายรอ้ ยตวั สำ� หรบั กฎธรรมชาตทิ ท่ี ฤษฎขี อง ชารล์ ส์ ดารว์ นิ อธบิ ายไว ้
คอื เพศผูต้ อ้ งมลี กั ษณะทางกายภาพทใ่ี หญ่กวา่ เพศเมยี จงึ จะสามารถครอบครอง
และดูแลเพศเมยี ได้ จงึ ทำ� ใหย้ นี ดา้ นขนาดความใหญ่ของเพศผูจ้ ะมกี ารถา่ ยทอด
ทางพนั ธุกรรมสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน และรุ่นต่อๆ ไป กรณีทแ่ี มวนำ�้ เพศผูต้ วั เลก็ และ
เป็นผูแ้ พ ้ จะไมม่ โี อกาสสบื พนั ธุก์ บั เพศเมยี เพอ่ื ขยายพนั ธุน์ นั่ เอง

SSแมวน้�ำเพศผูจ้ ะมีขนาดทางกายภาพใหญ่โตกว่าแมวน้�ำเพศเมียมาก

ภาพโดย : สเตน รัสเซลล์

ในทำ� นองเดยี วกนั นกยูงเพศเมยี จะชอบเลอื กอยู่เป็นคู่กบั นกยูงเพศผูท้ ม่ี ี
ขนาดแพนหางใหญ่และยาวกวา่ แพนหางเลก็ ผลการศึกษาพบวา่ ขนาดของแพน
หางเป็นเคร่อื งช้หี รอื บง่ บอกถงึ การมสี ุขภาพดขี องนกยูง ดงั นน้ั นกยูงเพศผูท้ ม่ี ี
แพนหางเลก็ และสน้ั จะมสี ุขภาพอ่อนแอหรอื มโี รค ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถรกั ษาขนาด
ของแพนหางทย่ี าวไวไ้ ด้

24 สนกุ คดิ ในชวี ิตประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

ลกั ษณะทางกายภาพ เช่น ความใหญ่ของตวั สตั ว์ ซง่ึ เป็นลกั ษณะเด่นของ
สตั วเ์ พศผูท้ ง้ั นกยูงและแมวนำ�้ แต่จะเป็นประโยชนเ์ ฉพาะกบั สตั วแ์ ต่ละตวั เทา่ นน้ั
มไิ ดเ้ป็นประโยชนต์ ่อสตั วช์ นดิ นน้ั ทง้ั กลมุ่ ตวั อย่างเช่น แมวนำ�้ เพศผูท้ ม่ี นี ำ�้ หนกั
ตวั มากถงึ 2,700 กโิ ลกรมั จะอยุ้ อา้ ยเทอะทะจนไมส่ ามารถเคลอ่ื นยา้ ยตวั เองได้
คลอ่ งตวั จงึ มกั ไมค่ ่อยรอดพน้ จากการจู่โจมของสตั วท์ เ่ี ป็นศตั รู เช่น ปลาฉลาม
ดงั นน้ั หากแมวนำ�้ เพศผูส้ ามารถลดนำ�้ หนกั ลงไดส้ กั คร่งึ หน่ึงกจ็ ะช่วยเพม่ิ โอกาส
การอยู่รอด และเป็นผลใหส้ ตั วท์ ง้ั กลมุ่ มอี ตั ราการอยู่รอดทด่ี ขี ้นึ ดว้ ย ทง้ั น้ขี นาดตวั
ทเ่ี ลก็ ลงคร่งึ หน่งึ จะไมก่ ระทบต่อพฤตกิ รรมการแย่งชงิ คู่ระหวา่ งเพศผูแ้ ต่อย่างใด

ในทำ� นองเดยี วกนั หากความยาวของแพนหางนกยูงเพศผูส้ ามารถลดลง
ไดอ้ กี คร่งึ หน่ึง ก็จะไมม่ ผี ลกระทบใดๆ ต่อการเลอื กคู่เช่นกนั เพราะนกยูงเพศ
เมยี กย็ งั คงเลอื กนกยูงเพศผูต้ วั เดยี วกนั อยู่นนั่ เอง (แมม้ แี พนหางเลก็ ลง แต่กย็ งั
คงยาวสวยกวา่ ตวั ทม่ี สี ุขภาพไมด่ )ี แต่ประโยชนโ์ ดยรวมจะเกดิ ข้นึ กบั นกยูงทง้ั ฝูง
ในดา้ นความอยู่รอดจากศตั รู

SSปรากฏการณ์ทีไ่ ดร้ บั การยกเวน้ –นกอลั บาทรอส เป็นสตั ว์ทีม่ ีคู่ครอง
เพียงคู่เดียว มนั จะเลือกคู่ทีม่ ีขนาดเท่ากนั ทง้ั เพศผูแ้ ละเพศเมีย

ภาพโดย : เดวดิ เลไวน์

บทนำ� 25

อย่างไรก็ดี ดุลยภาพของธรรมชาตจิ ะเป็นตวั จดั ความสมดุลของขนาดท่ี
เหมาะสมกบั ความอยู่รอดของสตั วใ์ นทส่ี ุด หมายความวา่ ววิ ฒั นาการความเตบิ โต
ทางกายภาพมไิ ดด้ ำ� เนินไปเร่อื ยๆ โดยไม่มจี ดุ ส้นิ สุด เพราะจนถงึ ณ จดุ หน่ึง
นำ�้ หนกั ทม่ี ากเกินไปของแมวนำ�้ หรือแพนหางทใ่ี หญ่และยาวเกินไปของนกยูง
จะส่งผลเสยี มากกวา่ ผลดที ไ่ี ดจ้ ากโอกาสการเขา้ ถงึ สตั วเ์ พศเมยี เพอ่ื การสบื พนั ธุ์
ทำ� ใหเ้ กิดการปรบั สมดุล จนส่งผลสุดทา้ ยต่อขนาดของสตั วเ์ พศผูท้ เ่ี หมาะสมท่ี
เหน็ อยู่ในปจั จบุ นั

คำ� อธบิ ายทฤษฎคี วามแตกต่างดา้ นขนาดของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั อนั เน่อื ง
มาจากเพศของนกั ชวี วทิ ยาดูมเี หตผุ ลน่าเชอ่ื ถอื เพราะหากพจิ ารณาสตั วป์ ระเภทท่ี
ครองคู่เดยี วตลอดชวี ติ (Monogamous Species) จะไมพ่ บลกั ษณะทแ่ี ตกต่าง
กนั ระหวา่ งเพศผูก้ บั เพศเมยี นนั่ คอื จะไมเ่ หน็ พฤตกิ รรมการสบื พนั ธุข์ องสตั วเ์ พศ
ผูแ้ บบเป็นเจา้ ฮาเร็มดงั เช่นแมวนำ�้ ปรากฏการณข์ อ้ น้ีจงึ ไมเ่ ป็นไปตามคำ� ทำ� นาย
ของทฤษฎี หรอื กลา่ วอกี นยั หน่งึ วา่ เป็นขอ้ ยกเวน้ ทางทฤษฎี ยกตวั อย่างเช่น นก
อลั บาทรอส (Albartoss) ซง่ึ จดั อยู่ในกลมุ่ สตั วท์ ค่ี ู่ครองเพยี งคู่เดยี ว ทฤษฎที ำ� นาย
วา่ เพศผูแ้ ละเพศเมยี จะมขี นาดไมแ่ ตกต่างกนั ในโลกแห่งความเป็นจรงิ กเ็ ป็นจรงิ
ตามคำ� ทำ� นายนน้ั

การฝึกหดั เรยี นรูก้ ารใชแ้ นวคดิ ของวชิ าชวี วทิ ยาเพอ่ื อธบิ ายความแตกต่าง
ดา้ นขนาดของสตั วอ์ นั เน่อื งมาจากเพศ จากวธิ เี ชงิ พรรณนาเร่อื งราวแนวคดิ อย่าง
งา่ ยๆ เพอ่ื สนบั สนุนสง่ิ ทส่ี งั เกตเหน็ ในโลกแห่งความเป็นจรงิ ถอื วา่ เป็นวธิ งี า่ ยๆ
ทช่ี ่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจ สามารถประยุกตใ์ ชห้ ลกั การและแนวคิดทางชวี วทิ ยา
ไดด้ กี ว่าการใชแ้ นวคิดทฤษฎอี นั สลบั ซบั ซอ้ นซง่ึ ยากต่อการเขา้ ใจและประยุกต์
ใช้ การช่วยใหน้ กั ศึกษาสามารถบรรยายขอ้ เทจ็ จรงิ และปญั หาทพ่ี บในธรรมชาติ
และเขา้ ใจวา่ ควรใชเ้ หตผุ ลแนวคดิ ใดทางชวี ศาสตรใ์ นการอธบิ ายวา่ เพราะเหตใุ ด
จงึ เป็นเช่นนน้ั ก็จะเป็นประโยชนม์ ากกวา่ การสอนใหน้ กั ศึกษาจดจำ� วา่ สตั วช์ นิด
ใดถกู จำ� แนกอยู่ในกลมุ่ ชน้ั หรอื อาณาจกั รของสตั วใ์ ด ในทำ� นองเดยี วกนั วธิ กี าร
เรยี นรูแ้ ละประยุกตใ์ ชห้ ลกั การและแนวคิดของทฤษฎเี ศรษฐศาสตรด์ ว้ ยวธิ ีเชงิ

26 สนกุ คดิ ในชวี ติ ประจำ� วันแบบเศรษฐศาสตร์

พรรณนาเร่อื งราว โดยไมต่ อ้ งใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณ หรอื ไมใ่ ชแ้ บบ
จำ� ลองแนวคดิ อนั สลบั ซบั ซอ้ น กจ็ ะใหผ้ ลดตี ่อความเขา้ ใจของนกั ศึกษาเช่นกนั

อย่างไรก็ตาม การเรียนการสอนวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ท่เี ป็นอยู่ใน
ปจั จบุ นั ยงั มกี ารใชว้ ธิ เี ชงิ พรรณนาเร่อื งราวนอ้ ยมาก (รวมถงึ ตวั ผมเองดว้ ยในยุค
แรกๆ ทเ่ี รม่ิ สอนวชิ าน้)ี สว่ นใหญ่ยงั คงสอนดว้ ยแบบจำ� ลองสมการทางคณิตศาสตร์
และการวเิ คราะหก์ ราฟเพอ่ื อธบิ ายแนวคดิ ของทฤษฎี แมว้ า่ คณิตศาสตรจ์ ะมคี วาม
เกย่ี วพนั และช่วยพฒั นาเทคนคิ ทางเศรษฐศาสตรใ์ หก้ า้ วหนา้ ยง่ิ ข้นึ ในหลายทศวรรษ
ทผ่ี ่านมา แต่วธิ กี ารสอนเศรษฐศาสตรโ์ ดยใชค้ ณิตศาสตรเ์ ป็นเคร่อื งมอื ทผ่ี ูส้ อน
ปฏบิ ตั กิ นั มายาวนานนน้ั ไดร้ บั การพสิ ูจนแ์ ลว้ วา่ ไมไ่ ดเ้ป็นวธิ กี ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
เพยี งพอในการเพม่ิ ความเขา้ ใจใหก้ บั นกั ศึกษาชน้ั ปีตน้ ๆ ทเ่ี ร่มิ เรยี นวชิ าน้ี ยกเวน้
นกั ศึกษาดา้ นวศิ วกรรมศาสตรห์ รอื นกั ศึกษาทม่ี พี ้นื ฐานดดี า้ นคณิตศาสตรอ์ ยู่แลว้
เทา่ นนั้ ทไ่ี มม่ ปี ญั หา สว่ นนกั ศึกษาสาขาอน่ื ๆ ทเ่ี รยี นวชิ าเศรษฐศาสตรโ์ ดยเนน้ การ
ใชส้ มการคณิตศาสตรแ์ ละกราฟ พบวา่ นอ้ ยมากทจ่ี ะเขา้ ใจหลกั การและความหมาย
ของแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรอ์ ย่างแทจ้ รงิ

ดว้ ยเหตนุ ้ีนกั ศึกษาก็ไมส่ ามารถเป็นอย่างทผ่ี ูส้ อนตอ้ งการใหเ้ป็น นนั่ คอื
การรูจ้ กั คิดอย่างนกั เศรษฐศาสตร์ (Thinking Like an Economist) คอื คดิ
ความสมั พนั ธข์ องแนวคิดทางเศรษฐศาสตรบ์ นพ้นื ฐานของกราฟและสมการได้
ซง่ึ นกั ศึกษาส่วนใหญ่ใชเ้ วลาและความพยายามอย่างมากกบั การทำ� ความเขา้ ใจ
สมการทเ่ี ป็นตวั แทนความสมั พนั ธข์ องแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ จนกระทงั่ ลมื
หลกั การ เหตผุ ล และองคค์ วามรูท้ บ่ี งั เกดิ ข้นึ เองได้ ซง่ึ อยู่เบ้อื งหลงั แนวคดิ ของ
ทฤษฎเี ศรษฐศาสตร์

สมองของมนุษยเ์ ป็นอวยั วะทม่ี คี วามยดื หยนุ่ และมศี กั ยภาพสูงมาก สำ� หรบั
เกบ็ รวมรวมและจดจำ� ขอ้ มลู นานาชนดิ ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย แต่กระนน้ั กม็ ขี อ้ มลู
บางลกั ษณะทส่ี มองสามารถเขา้ ใจงา่ ยและจดจำ� ไดด้ เี ป็นพเิ ศษ แต่กบั ขอ้ มลู ดา้ น
สมการทางคณิตศาสตรแ์ ละกราฟก็เป็นตวั อย่างของขอ้ มลู ทย่ี ากต่อการทำ� ความ
เขา้ ใจของนกั ศึกษา ตรงกนั ขา้ มกบั ขอ้ มลู ประเภทเร่อื งเลา่ หรอื นยิ าย ซง่ึ จะงา่ ยต่อ
การเขา้ ใจและการจดจำ� ของสมองมากกวา่

บทนำ� 27

ผมไดต้ ระหนกั ถงึ ความจรงิ อยา่ งหน่งึ ทไ่ี ดก้ ลา่ วไปแลว้ ในช่วงทไ่ี ดเ้ขา้ ร่วม
โครงการ Writing Across the Disciplines Programme (การเขยี นรายงานไขว ้
สาขา) ของมหาวทิ ยาลยั เมอ่ื ยส่ี บิ กวา่ ปีทผ่ี ่านมา โดยแนวคดิ ของโครงการดงั กลา่ ว
มที ม่ี าจากผลงานวจิ ยั ของนกั การศึกษาสองท่าน คอื วอลเตอร์ ดอยล์ และ แคที
คารเ์ ตอร์ ซง่ึ คน้ พบวา่ วธิ กี ารเรยี นรูท้ ด่ี ที ส่ี ุดของมนุษยค์ อื การเขยี นเลา่ เร่อื งราว
เก่ยี วกบั สง่ิ นน้ั ๆ โดยเฉพาะเร่อื งของตวั เอง เพราะจะมปี ระสบการณท์ เ่ี ป็นขอ้ มลู
สามารถผูกเร่อื งเป็นเคา้ โครง และหาคำ� อธบิ ายเป็นเหตผุ ลไดด้ กี ว่า นอกจากน้ี
นกั จิตวทิ ยาอย่าง เจอโรม บรูเนอร์ ตงั้ ขอ้ สงั เกตว่า เด็กมกั มคี วามสามารถ
เปลย่ี นแปลงประสบการณแ์ ลว้ นำ� มาผูกเป็นเร่อื งราว และเลา่ เร่อื งไดด้ ี โดยเฉพาะ
ตอนพยายามหาเหตผุ ลเพอ่ื สนบั สนุนความตอ้ งการของตวั เอง กจ็ ะถนดั ใชว้ ธิ บี อก
เลา่ เป็นเร่อื งราว แต่เดก็ ๆ เหลา่ น้ีจะไมส่ ามารถจดจำ� ไดด้ เี ลย หากไมจ่ บั ใจความ
สำ� คญั โดยผูกเป็นเร่อื งราว

โดยสรุปแลว้ สมองของมนุษยม์ คี วามสามารถในการดูดซบั ขอ้ มลู ความรู ้
ในรูปการบอกเลา่ หรอื สรา้ งข้นึ เป็นเร่อื งราวไดม้ ากกวา่ และจดุ แขง็ น้ีเองเป็นทม่ี า
ของรูปแบบการเขยี นรายงานขนาดสน้ั โดยเลา่ เป็นเร่อื งราวทผ่ี มไดม้ อบหมายให ้
นกั ศึกษาทำ� สง่ ในวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ โดยผมกำ� หนดใหน้ กั ศึกษาตง้ั ชอ่ื เรอ่ื ง
ในรูปคำ� ถาม และตอ้ งเป็นคำ� ถามทน่ี ่าสนใจทส่ี ุดทพ่ี วกเขาสามารถกระทำ� ไดด้ ว้ ย
ซง่ึ ผมพบวา่ มปี ระโยชน์ 3 ประการ ดงั น้ี

(1) เป็นแบบฝึกหดั การเรยี นทด่ี ที ส่ี ุดทางหน่ึงใหแ้ ก่นกั ศึกษา เพราะกวา่ ท่ี
เขาจะเลอื กคำ� ถามทค่ี ดิ วา่ ดแี ละน่าสนใจทส่ี ุดได้จะตอ้ งผ่านการคดิ พนิ จิ พจิ ารณา
อย่างถถ่ี ว้ น จากประเดน็ สารตั ถะของเศรษฐศาสตร์ (2) นกั ศึกษาทเ่ี ลอื กคำ� ถามท่ี
ตวั เองสนใจไดแ้ ลว้ จะมคี วามสุขสนุกเพลดิ เพลนิ กบั งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย และ
ส่วนใหญ่ยอมอทุ ศิ เวลาใหก้ บั งานมากกวา่ และ (3) นกั ศึกษาทส่ี ามารถตงั้ คำ� ถาม
ได้ มกั จะบอกต่อใหเ้พอ่ื นๆ ไดร้ ูแ้ นวความคดิ และทม่ี าทไ่ี ปของคำ� ถาม อนั เป็น
ประโยชนท์ างเทคนิควธิ แี ก่เพอ่ื นๆ เพอ่ื คดิ หาคำ� ถามต่อไป หากวา่ นกั ศึกษายงั ไม่
สามารถจบั ประเดน็ หรอื แนวคดิ ของการตง้ั คำ� ถามได้ กย็ ากในการเขา้ ใจหลกั การ

28 สนุกคดิ ในชวี ิตประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์

และแนวคดิ ของปญั หาทางเศรษฐศาสตรไ์ ดอ้ ย่างแทจ้ รงิ แต่ถา้ สามารถทำ� ได้องค์
ความรูน้ น้ั กจ็ ะอยู่ตดิ ตวั พวกเขาตลอดไป

หลกั การประเมนิ ผลได–้ ผลเสยี (Cost–Benefififififit Principle)

มคี ำ� กลา่ ววา่ หลกั การประเมนิ ผลได–้ ผลเสยี คอื ทม่ี าหรอื ผูใ้ หก้ ำ� เนดิ แนวคดิ ต่างๆ
ทางเศรษฐศาสตร์ คุณจะตดั สนิ ใจดำ� เนนิ กจิ กรรมใดกต็ าม กต็ ่อเมอ่ื มรี ายไดห้ รอื
ผลประโยชนท์ จ่ี ะเกดิ เพม่ิ ข้นึ และตอ้ งมากกวา่ ตน้ ทนุ เพม่ิ ของการดำ� เนนิ กจิ กรรม
นน้ั แมฟ้ งั ดูเขา้ ใจงา่ ย แต่กไ็ มง่ า่ ยในทางปฏบิ ตั เิ สมอไป

ตวั อย่างท่ี 1 สมมตวิ า่ คณุ ตงั้ ใจจะไปซือ้ นาฬิกาปลกุ เรือนละ 10 ปอนด์
จากร้านในมหาวิทยาลยั ท่ีคณุ ท�ำงานอยู่ แตม่ ีเพื่อนมาบอกคณุ วา่ ท่ีร้าน
เทสโก้กลางเมือง ตงั้ ราคาขายเพียงเรือนละ 5 ปอนด์เทา่ นนั้ ค�ำถามคือ
คณุ ควรตดั สินใจไปซื้อทีร่ ้านเทสโก้ โดยจ่าย 5 ปอนด์ หรือไปซื้อทีร่ ้านใน
มหาวิทยาลยั โดยจ่าย 10 ปอนด์ ซ่ึงร้านทงั้ สองแห่งก็มีบริการประกนั
การซ่อมเหมือนๆ กนั
แน่นอนวา่ แมไ้ มม่ คี ำ� ตอบทถ่ี กู หรอื ผดิ เสมอไป เพราะข้นึ อยูก่ บั แต่ละบคุ คล
ซง่ึ จะมคี วามแตกต่างกนั อยู่แลว้ โดยอาจนำ� ปจั จยั อน่ื ๆ มาประกอบการพจิ ารณา
เพอ่ื ตดั สนิ ใจดว้ ย แต่ถา้ คณุ สอบถามผูค้ นส่วนใหญ่ พวกเขาจะตอบคุณวา่ จะไป
ซ้อื จากรา้ นเทสโกม้ ากกวา่
ต่อไปลองพจิ ารณาคำ� ถามน้ี
ตัวอย่างท่ี 2 คณุ ตงั้ ใจจะไปซือ้ เครื่องแล็ปทอปราคาเครื่องละ 1,205
ปอนด์ จากร้านในมหาวิทยาลยั ที่คณุ ท�ำงานอยู่ แล้วก็ทราบว่าที่ร้าน
เทสโก้ในเมือง ตงั้ ราคาขายเครื่องรุ่นเดียวกนั ในราคา 1,200 ปอนด์ โดย
ทงั้ สองแหง่ ให้บริการหลงั การขายเหมือนกนั ค�ำถามคือ คณุ ควรซื้อเครื่อง
แล็ปทอปจากร้านใดดี

บทนำ� 29

คราวน้ีผูค้ นส่วนใหญ่อาจตอบคุณว่า เลอื กไปซ้อื ท่รี า้ นในมหาวทิ ยาลยั
มากกวา่ (แมจ้ ะแพงกวา่ 5 ปอนด)์ ซง่ึ กไ็ มใ่ ช่คำ� ตอบทผ่ี ดิ แต่อย่างไร แต่ถา้ คุณ
ใชห้ ลกั รายได–้ ตน้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรม์ าพจิ ารณา จะพบวา่ คำ� ตอบ ตอ้ ง เหมอื น
กนั ทง้ั สองกรณี เพราะบคุ คลทม่ี เี หตผุ ล (Rational Person) ตอ้ งตดั สนิ ใจเลอื ก
ไปซ้อื ทร่ี า้ นเทสโกใ้ นเมอื งเท่านน้ั เพราะช่วยประหยดั ได้ 5 ปอนดเ์ ท่ากนั (หรอื ก็
คอื ส่วนของรายไดห้ รอื ผลประโยชนเ์ พม่ิ นนั่ เอง) ในกรณีน้ี มคี ่าใชจ้ ่ายเพม่ิ จาก
การเดนิ ทางเขา้ เมอื งทเ่ี ท่ากนั ดงั นนั้ เมอ่ื มที งั้ รายไดเ้พม่ิ และค่าใชจ้ ่ายเพม่ิ เท่ากนั
ทงั้ สองกรณี คำ� ตอบกต็ อ้ งเหมอื นกนั ดว้ ย

คนส่วนใหญ่อาจคิดว่า ผลประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการประหยดั มถี ึง 50
เปอรเ์ ซน็ ตจ์ ากการซ้อื นาฬกิ าปลกุ ในเมอื ง มมี ากกวา่ การประหยดั เพยี ง 5 ปอนด์
จากราคา 1,205 ปอนดใ์ นการซ้อื เคร่อื งแลป็ ทอ็ ป ซง่ึ ถอื เป็นการใชห้ ลกั ตรรกะท่ี
ไมถ่ กู ตอ้ งนกั ในกรณีน้ี

ดว้ ยเหตุน้ี การใชห้ ลกั รายได–้ ตน้ ทุนเป็นเกณฑพ์ จิ ารณาประเมนิ ผลดี
ผลเสยี ของกิจกรรมจึงเป็นประโยชนต์ ่อการตดั สนิ ใจเพ่อื เป็นแนวทางในการ
เลอื กตง้ั คำ� ถามท่นี ่าสนใจและคน้ หาคำ� ตอบเพ่อื บอกเล่าเร่ืองราวต่อไปไดเ้ ป็น
อย่างดี คุณอาจลองตง้ั คำ� ถามบนพ้นื ฐานการประเมนิ ผลดผี ลเสยี ในลกั ษณะของ
ตวั อย่างน้กี บั เพอ่ื นฝูงดูกไ็ ด้และดูวา่ เพอ่ื นคณุ จะตอบสนองอย่างไร ซง่ึ การสนทนา
แลกเปลย่ี นกนั จะช่วยเพม่ิ ความเขา้ ใจสำ� หรบั หลกั การแนวคดิ รายได–้ ตน้ ทนุ ให ้
มคี วามลกึ ซ้งึ มากข้นึ อกี

หลงั จากผมไดบ้ รรยายกรณีนาฬกิ าปลกุ และเคร่อื งแลป็ ทอ็ ปใหน้ กั ศึกษา
ฟงั แลว้ ผมกใ็ หแ้ บบฝึกหดั เพอ่ื ใหฝ้ ึกฝนการใชแ้ นวคดิ โดยตง้ั คำ� ถามใหต้ อบดงั น้ี

ตวั อย่างท่ี 3 สมมตวิ า่ นกั ศกึ ษาต้องเดนิ ทางไปกรุงโตเกียว ประเทศญ่ีป่ นุ
และกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส แล้วมีคปู องสว่ นลดคา่ ตว๋ั เครื่องบนิ อยหู่ นงึ่
ใบ ซงึ่ สามารถใช้ได้กบั การเดินทางไปประเทศใดประเทศหนง่ึ นีเ้ท่านนั้
โดยจะได้รับสว่ นลดเป็นมลู คา่ 40 ปอนด์สำ� หรับการซือ้ ตว๋ั ในราคา 100

30 สนุกคิดในชวี ติ ประจำ� วันแบบเศรษฐศาสตร์

ปอนด์ไปกรุงปารีส หรือรับสว่ นลด 50 ปอนด์กบั การซือ้ ตวั๋ ราคา 1,000
ปอนด์ ไปโตเกียว ค�ำถามคือ นกั ศึกษาควรจะใช้คูปองส่วนลดกบั การ
เดินทางรายการใด
คำ� ตอบทไ่ี ดร้ บั สำ� หรบั กรณีน้ี แน่นอนวา่ นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่ตอ้ งเลอื กใชค้ ูปอง
ส่วนลดสำ� หรบั ไปโตเกยี ว เพราะส่วนลดมมี ลู ค่าตวั เงนิ สูงกวา่ (50 ปอนด)์ แมท้ กุ
คนอาจตอบไดถ้ กู ตอ้ ง แต่ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เราไมค่ วรตง้ั ถามคำ� ถามลกั ษณะน้ี
ถา้ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ตอ้ งการใหน้ กั ศึกษาเรยี นรูแ้ ละเขา้ ใจแก่นของแนวคดิ ทฤษฎี
ก็ยง่ิ ตอ้ งตงั้ คำ� ถามหลากหลายรูปแบบ และกระทำ� ซำ�้ ใหบ้ อ่ ยครงั้ เพอ่ื ใหพ้ วกเขา
ฝึกฝนการตอบจนเกดิ ความเคยชนิ และบงั เกดิ ความเขา้ ใจจรงิ ๆ
ตวั อยา่ งคำ� ถามทผ่ี มคดั เลอื กมารวมไวใ้ นหนงั สอื เลม่ น้ี ไมเ่ พยี งแค่ความน่า
สนใจของคำ� ถามเท่านน้ั แต่เป็นเพราะทกุ เร่อื งเก่ยี วพนั กบั แนวคดิ พ้นื ฐานและการ
ประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ พ้นื ฐานทางเศรษฐศาสตรด์ ว้ ย ซง่ึ ผมตง้ั ความหวงั ไวว้ า่ หนงั สอื
เลม่ น้ีจะช่วยใหน้ กั ศึกษาและผูอ้ ่านทวั่ ไปสามารถเขา้ ใจแนวคดิ ของเศรษฐศาสตร์
ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งใชค้ วามพยายามมากนกั และไดร้ บั ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ จาก
การอ่าน อกี ทง้ั เขา้ ใจแนวคดิ จากวธิ กี ารนำ� เสนอน้ีได้
ผมอธบิ ายใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจวา่ ไมค่ วรคดิ วา่ คำ� ตอบและคำ� ถามของพวก
เขาในรายงานจะเป็นคำ� ตอบสุดทา้ ย แต่ควรถอื เป็นเพยี งสมมตฐิ านของคำ� ตอบ
เบ้อื งตน้ ซง่ึ ตอ้ งสามารถปรบั แต่งและศึกษาทดสอบต่อไปได้ ในช่วงแรกทผ่ี มนำ�
เร่อื งราวของ บลิ ล์ โจ เก่ยี วกบั เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ม่ี ปี ่มุ กดเป็นอกั ษรเบรลล์
มารวมไวใ้ นตำ� ราวชิ าหลกั เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ทผ่ี มเขยี นรว่ มกบั เบน เบอรเ์ นนเก้
ซง่ึ ไดร้ บั คำ� ตชิ มจากผูอ้ ่านหลายท่านทางอเี มล แลว้ มที ่านหน่ึงแสดงความเหน็ โต้
แยง้ ว่า เหตผุ ลทแ่ี ทจ้ รงิ ของผูผ้ ลติ ทต่ี อ้ งสรา้ งป่มุ กดเป็นอกั ษรเบรลลบ์ นเคร่อื ง
ถอนเงนิ อตั โนมตั ิ เพราะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนดของกฎหมายวา่ ดว้ ยผูไ้ รค้ วาม
สามารถ (Disabilities Legislation) ซง่ึ มนั ไมไ่ ดม้ อี ะไรเกย่ี วกบั หลกั เศรษฐศาสตร!์
แน่นอนวา่ ขอ้ กำ� หนดดงั กลา่ วทำ� ใหธ้ นาคารตอ้ งสงั่ ผลติ และตดิ ตงั้ เคร่อื งถอนเงนิ

บทนำ� 31

ทม่ี ปี ่มุ กดอกั ษรเบรลลแ์ ทบทกุ ท่ี ไมเ่ วน้ แมแ้ ต่จดุ ทผ่ี ูเ้บกิ เงนิ สามารถขบั รถเขา้ ไป
ทำ� ธุรกรรมได้ ซง่ึ ก่อประโยชนใ์ นบางกรณี แมไ้ มค่ ่อยพบบอ่ ยครง้ั นกั กรณีทค่ี น
ตาบอดจะนงั่ รถแทก็ ซเ่ี ขา้ ไปถอนเงนิ กบั เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ิ และไมต่ อ้ งการ
ใหค้ นขบั รูห้ มายเลข PIN จากบตั ร ATM

ผมไดต้ อบกลบั อเี มลฉบบั น้ีไปยงั ผูว้ จิ ารณว์ า่ ผมบอกกบั นกั ศึกษาเสมอ
ว่า คำ� อธิบายสำ� หรบั คำ� ตอบไม่จำ� เป็นตอ้ งถูกทง้ั หมดเสมอไป ขอใหล้ องนึกถงึ
ขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ ถา้ การผลติ และตดิ ตงั้ เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ม่ี ปี ่มุ กดเป็นอกั ษร
เบรลลต์ อ้ งมกี ารลงทนุ ค่าใชจ้ ่ายเพม่ิ อย่างมนี ยั สำ� คญั จรงิ ๆ แลว้ จะมธี นาคารไหน
ยอมปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายน้หี รอื แน่นอนวา่ ไมม่ ี และกพ็ บความจรงิ ดว้ ยวา่ การเพม่ิ
ป่มุ กดอกั ษรเบรลลไ์ มไ่ ดเ้พม่ิ ค่าลงทนุ มากมายแต่อย่างใด แต่กลบั เพม่ิ โอกาสให ้
คนตาบอดไดใ้ ชป้ ระโยชนด์ ว้ ย แมเ้กดิ ไมบ่ อ่ ยครงั้ นกั ก็ตาม และอาจเป็นเพราะ
เหตผุ ลน้ีเอง จงึ ทำ� ใหม้ กี ารตรากฎหมายทก่ี ำ� หนดเงอ่ื นไขใหม้ ปี ่มุ กดเป็นอกั ษร
เบรลล์ ตามทก่ี ลา่ วไปแลว้ กบั การอธบิ ายปญั หาน้ีของ บลิ ล์ โจ ทำ� ใหน้ ำ�้ หนกั ของ
เหตผุ ลดกี วา่ ขอ้ โตแ้ ยง้ ของนกั วจิ ารณจ์ ากอเี มลทอ่ี า้ งถงึ

ดงั นน้ั จงึ ขอใหค้ ุณไดอ้ ่านคำ� ถามและคำ� ตอบของปญั หาในหนงั สอื เลม่ น้ี
ดว้ ยใจทเ่ี ปิดกวา้ งโดยใชว้ จิ ารณญาณ ซง่ึ หลายท่านอาจมคี วามรูค้ วามสามารถ
ในการปรบั ปรุงคำ� ตอบใหด้ ขี ้นึ ตวั อย่างเช่น ผมไดพ้ บเจา้ ของหอ้ งเส้อื เจา้ สาวคน
หน่ึง เธอบอกกบั ผมว่า อกี เหตผุ ลหน่ึงทเ่ี จา้ สาวเลอื กใชว้ ธิ ตี ดั ชดุ ใส่เอง เพราะ
ชดุ ทใ่ี หเ้ช่าส่วนมากมกั มขี นาดไมพ่ อดกี บั ตวั ของแต่ละคน ทำ� ใหต้ อ้ งมกี ารแกไ้ ข
และการตดั แกไ้ ขชดุ ซำ�้ กนั บ่อยครงั้ ก็ไม่สามารถกระทำ� ไดส้ ำ� หรบั ชดุ ทใ่ี หเ้ ช่า คำ�
อธบิ ายเพม่ิ เตมิ น้นี บั วา่ มเี หตผุ ลดี แต่กย็ งั ไมส่ ามารถลดนำ�้ หนกั ความสำ� คญั ของ
แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรท์ ค่ี ุณเจนนเิ ฟอร์ ดลั สก้ี อธบิ ายและใหเ้หตผุ ลไวไ้ ด้ ดงั
ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายไปแลว้

32 สนุกคดิ ในชวี ติ ประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์

1

กล่องนมทรงส่ีเหล่ยี มกับ
กระปอ๋ งน้ำ� อัดลมทรงกระบอก

เศรษฐศาสตรก์ ารออกแบบผลติ ภัณฑ์

ท�ำ ไมแต่ละผลติ ภณั ฑจ์ งึ มกี ารออกแบบใหม้ รี ูปแบบเฉพาะของมนั เอง ผู ้
ทส่ี ามารถใหค้ �ำตอบไดด้ ี ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจและรูจ้ กั ประยุกตใ์ ชห้ ลกั การ
แนวคดิ เก่ยี วกบั การเปรยี บเทยี บรายไดแ้ ละตน้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรม์ าประกอบ
การพจิ ารณา อย่างกรณีเครอ่ื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ป่ี ่มุ กดเป็นอกั ษรเบรลลส์ �ำหรบั คน
ตาบอด ดงั อธบิ ายในบททผ่ี ่านมา น่ีเป็นตวั อย่างหน่ึงของการออกแบบผลติ ภณั ฑ์
ทเ่ี ป็นผลมาจากการใชแ้ นวคดิ รายไดแ้ ละตน้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรม์ าพจิ ารณา การ
ทผ่ี ูผ้ ลติ ออกแบบเคร่อื งถอนเงนิ ทม่ี ปี ่มุ กดเป็นอกั ษรเบรลล์ และใชแ้ บบเดยี วกนั
ตดิ ตงั้ ไปทวั่ ประเทศนนั้ เป็นเพราะผูผ้ ลติ ไดป้ ระเมนิ แลว้ วา่ หากผลติ เคร่อื งถอน
เงนิ มรี ูปแบบป่มุ กดต่างกนั แยกกนั เป็นสองแบบ จะท�ำใหม้ ตี น้ ทนุ ทางธุรกจิ โดย
รวมสูงข้นึ ซง่ึ สูงกวา่ รายไดห้ รอื ผลประโยชนเ์ พม่ิ เชงิ เศรษฐกจิ ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

โดยทวั่ ไป ผูผ้ ลติ จะไม่เพม่ิ ลูกเล่นหรือออปชนั่ ในการใชง้ านผลติ ภณั ฑ์
ถา้ ความพงึ พอใจเพม่ิ เมอ่ื วดั ในรูปตวั เงนิ ทล่ี ูกคา้ ยอมจ่ายมากข้นึ ไมค่ ุม้ กบั ตน้ ทนุ
ทต่ี อ้ งจ่ายเพม่ิ ในการผลติ ในเกอื บทกุ กรณี ฉะนน้ั การออกแบบผลติ ภณั ฑใ์ หม้ ี
ออปชนั่ สนิ คา้ ทผ่ี ูบ้ รโิ ภคช่นื ชอบ (ซง่ึ เป็นการเพม่ิ ตน้ ทนุ และเพม่ิ ราคาสนิ คา้ ) ตอ้ ง
ถกู ประเมนิ เปรยี บเทยี บกบั ทางเลอื กความจ�ำเป็นทผ่ี ูค้ า้ ตอ้ งรกั ษาระดบั ของราคา
ขายใหส้ ามารถแขง่ ขนั กนั กบั สนิ คา้ ของคู่แขง่ ไดด้ ว้ ย

บทที่ 1 กล่องนมทรงสี่เหลีย่ มกบั กระป๋องน�ำ้ อดั ลมทรงกระบอก 33

ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของการปรบั เปลย่ี นรูปแบบผลติ ภณั ฑก์ บั ราคา มกี รณีท่ี
เหน็ ไดช้ ดั อย่างเช่น ววิ ฒั นาการของรถยนต์ ผมเองซ้อื รถยนตค์ นั แรกเมอ่ื ปี 1961
ตอนยงั เป็นนกั ศึกษาระดบั มหาวทิ ยาลยั ผมสะดดุ กบั ขอ้ ความโฆษณา มนั โนม้ นา้ ว
ใจใหผ้ มซ้อื รถยนตใ์ นครง้ั นนั้ ซง่ึ โฆษณาไวด้ งั น้ี “รถปอนเตยี ก ชฟิ เทน สองประตู
8 วาลว์ รุ่นปี 1955 เกยี รก์ ระปุก พรอ้ มวทิ ยแุ ละเครือ่ งทำ� ความรอ้ น ขายราคา
375 ดอลลาร์ ต่อรองได”้ ซง่ึ รถยนตแ์ บบมาตรฐานทข่ี ายในทอ้ งตลาดปจั จบุ นั น้กี ็
มเี คร่อื งท�ำความรอ้ นแลว้ ทกุ คนั ในขณะทเ่ี มอ่ื ปี 1955 นน้ั ไมไ่ ดม้ เี คร่อื งท�ำความ
รอ้ นตดิ ตงั้ ในรถทกุ คนั ถา้ เป็นออปชนั่ ตอ้ งจ่ายเพม่ิ แลว้ รถยนตส์ ่วนใหญ่ทว่ี ง่ิ อยู่
ตามทอ้ งถนนในฟลอรดิ าตอนนน้ั กย็ งั ไมม่ เี คร่อื งท�ำความรอ้ น ถา้ รถยนตค์ นั ใดมี
กถ็ อื เป็นโชค แมม้ โี อกาสไดใ้ ชแ้ ค่ในช่วงฤดูหนาวเพยี งปีละไมก่ ่วี นั กต็ าม อย่างไรก็
ดี เน่อื งจากประชากรส่วนใหญ่ในยุคนนั้ ยงั มรี ายไดไ้ มส่ ูงมาก จงึ มกั เลอื กรถยนต์
ทไ่ี ม่มเี คร่ืองท�ำความรอ้ นเพอ่ื จะไดซ้ ้อื ในราคาทถ่ี ูกลงเป็นการประหยดั อกี ดว้ ย
ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว ผูผ้ ลติ รถยนตร์ ายใดทเ่ี สนอขายรถภายใตช้ ่อื การคา้ ของตนท่ี
มแี ต่รุ่นทต่ี ดิ ตงั้ เคร่อื งท�ำความรอ้ นเป็นทางเลอื กเดยี วเท่านนั้ จะมคี วามเสย่ี งทาง
ธุรกจิ สูง และอาจสูญเสยี ธุรกจิ ทงั้ หมดใหก้ บั คู่แขง่ ทไ่ี มม่ อี อปชนั่ เคร่อื งท�ำความ
รอ้ นซง่ึ มรี าคาขายถกู กวา่

เมอ่ื ประชาชนเร่มิ มรี ะดบั รายไดท้ ส่ี ูงข้นึ และมกี �ำลงั ซ้อื มากข้นึ แน่นอน
วา่ ความอดทนต่อความหนาวเยน็ ของอากาศเพอ่ื แลกกบั การประหยดั เงนิ จะเร่มิ
ลดลง และเร่มิ หนั มาซ้อื รถยนตร์ ุ่นทต่ี ดิ ตง้ั เคร่อื งท�ำความรอ้ นใชก้ นั มากข้นึ จน
ในทส่ี ุด เมอ่ื อปุ สงคค์ วามตอ้ งการรถยนตร์ ุ่นไมม่ เี คร่อื งท�ำความรอ้ นลดลงมาก
จนถงึ ระดบั วกิ ฤตหิ น่งึ ส่งผลใหผ้ ูข้ ายไมต่ อ้ งน�ำรถทไ่ี มต่ ดิ เคร่อื งท�ำความรอ้ นไป
แสดงในศูนยจ์ �ำหน่ายรถของตนอกี ต่อไป เมอ่ื เวลานน้ั มาถงึ กจ็ ะมแี ต่การจ�ำหน่าย
รถยนตท์ ม่ี กี ารตดิ ตง้ั เครอ่ื งท�ำความรอ้ นเป็นร่นุ มาตรฐาน ถา้ เป็นรถร่นุ ทไ่ี มม่ เี ครอ่ื ง
ท�ำความรอ้ นกจ็ ะกลายเป็นรุ่นทล่ี ูกคา้ ตอ้ งสงั่ จองเป็นพเิ ศษ ซง่ึ มรี าคาแพงกว่า และ
แน่นอนวา่ คงไมม่ ผี ูซ้ ้อื รายใดยอมจ่ายใหก้ บั รถทไ่ี มม่ อี อปชนั่ เคร่อื งท�ำความรอ้ นใน
ราคาทแ่ี พงกวา่ แลว้ รถรุ่นทไ่ี มม่ เี คร่อื งท�ำความรอ้ นกจ็ ะหมดไปจากตลาดรถยนต์
โดยอตั โนมตั ใิ นทส่ี ุด

34 สนกุ คิดในชวี ิตประจ�ำวันแบบเศรษฐศาสตร์

รถปอนเตยี ก ชฟิ เทน ทน่ี ยิ มกนั ในปี 1955 มี 2 รุ่นคอื รุ่น 6 วาลว์ และ
8 วาลว์ ซง่ึ ขอ้ ดขี องรถรุ่น 8 วาลว์ คอื จะมอี ตั ราเร่งแรงกวา่ แต่ขอ้ เสยี คอื นอกจาก
ราคารถจะแพงกวา่ แลว้ ยงั มคี ่าใชจ้ ่ายดา้ นนำ�้ มนั เช้อื เพลงิ มากกวา่ แมว้ า่ ในขณะ
นนั้ ราคาจะไมส่ ูงมากกต็ าม

ต่อมาในช่วงทศวรรษท่ี 1970 เมอ่ื สหรฐั ฯ มกี ฎหา้ มการน�ำเขา้ นำ�้ มนั จาก
ประเทศในกลมุ่ ตะวนั ออกกลาง ส่งผลใหน้ ำ�้ มนั ทเ่ี คยขายในราคา 38 เซนตต์ ่อ
แกลลอนในช่วงกลางปี 1973 ขยบั สูงข้นึ เป็น 52 เซนตต์ ่อแกลลอนในช่วงปลาย
ปีนน้ั จงึ เกดิ ปญั หาวกิ ฤตริ าคานำ�้ มนั เกดิ ข้นึ อกี ครง้ั เมอ่ื ปี 1979 ซง่ึ ดนั ราคาข้นึ ไป
จนสูงถงึ แกลลอนละ 1.19 ดอลลารใ์ นปี 1980 ภายใตส้ ภาวะนำ�้ มนั มรี าคาแพง
ดงั กลา่ ว สง่ ผลใหผ้ ูบ้ รโิ ภคปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมโดยเลกิ ใชร้ ถยนตท์ ม่ี กี �ำลงั สูงซง่ึ
กนิ นำ�้ มนั มาก เพราะผลทไ่ี ด้(อตั ราเร่งสูง) ไมค่ มุ้ กบั ตน้ ทนุ (ค่านำ�้ มนั ) วกิ ฤตริ าคา
นำ�้ มนั ส่งผลใหร้ ถรุ่น 8 วาลว์ เร่มิ หายไปจากทอ้ งตลาด แต่ยงั คงมรี ถรุ่น 6 วาลว์
ใชก้ นั อยู่ ในขณะทร่ี ถยนตป์ ระเภทสส่ี ูบในช่วงก่อนทศวรรษท่ี 1970 ไมค่ ่อยมกี าร
ผลติ จ�ำหน่ายในตลาดรถมากนกั กลบั เร่มิ ไดร้ บั ความนิยมมากข้นึ จนตตี ้นื ข้นึ มา

ในช่วงตน้ ทศวรรษท่ี 1980 ราคาขายปลกี นำ�้ มนั ในทอ้ งตลาดค่อนขา้ งมี
เสถยี รภาพ แลว้ กเ็ ร่มิ มแี นวโนม้ ลดลงเมอ่ื เทยี บกบั ราคาสนิ คา้ โภคภณั ฑอ์ น่ื ๆ ช่วง
ปี 1999 ราคาขายปลกี นำ�้ มนั อยู่ท่ี 1.40 ดอลลารต์ ่อแกลลอน แต่ถา้ วดั ในรูปตวั
เงนิ จรงิ ปรากฏวา่ ตำ�่ กวา่ ราคาขายปลกี ทจ่ี �ำหน่ายในช่วงกลางปี 1973 ซง่ึ เท่ากบั 38
เซนตต์ ่อแกลลอน (หมายความวา่ เงนิ จ�ำนวน 1.40 ดอลลาร์ ในปี 1999 สามารถ
ซ้อื สนิ คา้ และบรกิ ารในปรมิ าณทน่ี อ้ ยกวา่ เงนิ จ�ำนวน 38 เซนตไ์ ดท้ ส่ี ามารถซ้อื ได้
ในปี 1973) ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ไมต่ อ้ งแปลกใจวา่ ท�ำไมรถยนตท์ ม่ี เี ครอ่ื งยนตข์ นาดใหญ่
เร่มิ กลบั มาไดร้ บั ความนยิ มอกี ครง้ั หน่งึ กเ็ พราะผูใ้ ชร้ ถยนตไ์ ดต้ อบสนองต่อราคา
นำ�้ มนั (ในรูปตวั เงนิ จรงิ ) ทถ่ี กู ลงนนั่ เอง

อย่างไรก็ตาม เมอ่ื ราคานำ�้ มนั เช้อื เพลงิ มแี นวโนม้ ปรบั ตวั สูงข้นึ อกี ครงั้ ใน
ช่วงไม่ก่ีปีทผ่ี ่านมา เราก็เร่ิมเหน็ การกลบั มาของแนวโนม้ การเลกิ ใชร้ ถยนตท์ ม่ี ี

บทที่ 1 กล่องนมทรงสี่เหลี่ยมกบั กระป๋องน้ำ� อัดลมทรงกระบอก 35

ก�ำลงั สูบสูงเหมอื นทเ่ี คยเกดิ ในช่วงทศวรรษท่ี 1970 ส�ำหรบั ในปี 2005 ราคานำ�้ มนั
ไดเ้พม่ิ สูงข้นึ ถงึ แกลลอนละ 3 ดอลลาร์ ส่งผลให ้ บรษิ ทั ฟอรด์ มอเตอร์ จ�ำกดั
ยุตกิ ารผลติ รถยนตป์ ระเภท SUV (Sports Utility Vehicle) หรอื รถสปอรต์
อเนกประสงค์ ทม่ี เี คร่อื งขนาดใหญ่รุ่น 3,400 กโิ ลกรมั (7,500 ปอนด)์ กนิ นำ�้ มนั
10 ไมลต์ ่อแกลลอน ซง่ึ ปจั จบุ นั รถยนตป์ ระเภทลูกผสมไฮบรดิ แบบประหยดั นำ�้ มนั
ไดร้ บั ความนิยมจากผูบ้ รโิ ภค โดยมกี ารสงั่ จองกนั มาก จนกระทงั่ ราคาสงั่ จองสูง
กวา่ ราคาประกาศขายของบรษิ ทั ผูผ้ ลติ หลายรายในสหรฐั ฯ

จากทอ่ี ธบิ ายไปแลว้ เหน็ ไดว้ า่ การออกแบบยนตรกรรมของรถยนตร์ ่นุ ต่างๆ
ไดร้ บั อทิ ธิพลจากหลกั การประเมนิ ผลได–้ ผลเสยี ทเ่ี กิดข้นึ ภายใตส้ ถานการณ์ท่ี
เหมาะสม ณ ขณะนน้ั กลา่ วไวว้ า่ กจิ กรรมใดกต็ าม ถา้ ผลดีทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั มี
มากกวา่ หรืออย่างนอ้ ยเท่ากบั ผลเสยี ทจี่ ะเกดิ ข้นึ กค็ วรสนบั สนุนใหด้ ำ� เนินการได้
หรอื กลา่ วในอกี ทางหน่งึ คอื การออกแบบเพม่ิ ออปชนั่ การใชง้ านใหก้ บั ผลติ ภณั ฑท์ ่ี
ไมค่ วรด�ำเนินการกค็ อื ถา้ รายได้ (วดั โดยใชม้ ลู ค่าตวั เงนิ ทผ่ี ูบ้ รโิ ภคเตม็ ใจจะจ่าย
เพม่ิ ให)้ ไมม่ ากกวา่ หรอื เท่ากบั รายจ่ายเป็นอย่างนอ้ ย (วดั โดยใชม้ ลู ค่าตวั เงนิ ท่ี
ผูผ้ ลติ ตอ้ งเสยี เพม่ิ ใหก้ บั การผลติ ออปชนั่ นนั้ )

การใชห้ ลกั การประเมนิ รายไดแ้ ละตน้ ทนุ เหน็ ไดช้ ดั ในท�ำนองเดยี วกนั กบั
กรณีพฒั นาการของเกยี รร์ ถยนต์ อย่างรถปอนเตยี ก ชฟิ เทน รุ่นปี 1955 ทผ่ี มเคย
ขบั กม็ เี กยี รเ์ ดนิ หนา้ เพยี งสามเกยี ร์ ซง่ึ ถอื วา่ ปกตนิ ะครบั ในสมยั นน้ั แต่รถยนต์
คนั ทข่ี บั ปจั จบุ นั มเี กยี รเ์ ดนิ หนา้ มากถงึ หกเกยี ร์ ค�ำถามทต่ี ามมาคอื เพราะเหตใุ ด
ผูผ้ ลติ รถยนตใ์ นปี 1955 จงึ ไมผ่ ลติ รถยนตห์ กเกยี ร์ ทงั้ ๆ ทีส่ ามารถทำ� ไดใ้ นยคุ นนั้

ค�ำตอบกรณีน้ีเป็นไปในท�ำนองเดยี วกนั คอื ผูผ้ ลติ ตอ้ งประเมนิ ค่าใชจ้ ่าย
ส�ำหรบั การผลติ ทเ่ี พม่ิ ข้นึ เปรยี บเทยี บกบั ความเตม็ ใจทจ่ี ะจ่ายของผูบ้ รโิ ภคใหก้ บั
จ�ำนวนเกยี รข์ องรถทม่ี เี พม่ิ ข้นึ ซง่ึ การเพม่ิ เกยี รเ์ ดนิ หนา้ แต่ละเกยี รต์ อ้ งมคี ่าใชจ้ ่าย
เพม่ิ ข้นึ อกี ในดา้ นการผลติ กลอ่ งเกยี ร์ ยง่ิ จ�ำนวนเกยี รเ์ พม่ิ มากเท่าไร ยง่ิ ตอ้ งมคี ่า
ใชจ้ ่ายเพม่ิ ข้นึ มากเท่านน้ั และส่งผลใหร้ าคาขายรถยนตท์ ง้ั คนั เพม่ิ ข้นึ อกี ดงั นน้ั

36 สนุกคดิ ในชวี ติ ประจ�ำวันแบบเศรษฐศาสตร์

ขอ้ ทต่ี อ้ งพจิ ารณาควบคู่กนั คอื ผูบ้ รโิ ภคเตม็ ใจยอมจ่ายเพม่ิ หรอื ไม่ และสามารถ
จ่ายไดเ้ท่าไร เน่อื งจากการเพม่ิ จ�ำนวนเกยี รเ์ ดนิ หนา้ เป็นประโยชนใ์ นการช่วยเพม่ิ
ความเรว็ รถ แลว้ ขณะเดยี วกนั กจ็ ะช่วยประหยดั นำ�้ มนั ไดด้ ว้ ย ประเดน็ จงึ ข้นึ อยู่
กบั วา่ ผูบ้ รโิ ภคยนิ ดจี ่ายเพม่ิ เท่าไรใหก้ บั ประโยชนท์ เ่ี พม่ิ ข้นึ ดงั กลา่ ว

เน่ืองจากในช่วงปีท่ผี ่านมา สหรฐั ฯ มคี วามเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และสงั คม ประชาชนมรี ายไดเ้ฉลย่ี เพม่ิ ข้นึ อย่างต่อเน่ือง และสูงกวา่ ระดบั รายได้
เฉลย่ี เมอ่ื ปี 1955 มาก ในปจั จบุ นั ประชาชนยอมจ่ายเพม่ิ ดว้ ยความเตม็ ใจเพอ่ื ซ้อื
รถทม่ี อี ตั ราเร่งเพม่ิ ข้นึ ฉะนนั้ รถทม่ี หี ลายเกยี รก์ ไ็ ดร้ บั ความนิยมมากข้นึ เพราะ
ผูบ้ รโิ ภคสามารถประหยดั ค่านำ�้ มนั ได้ซง่ึ ในปจั จบุ นั ราคานำ�้ มนั กม็ แี นวโนม้ สูงข้นึ
ปจั จยั เหลา่ น้ีกร็ วมเป็นสาเหตเุ พอ่ื อธบิ ายถงึ การเสอ่ื มความนิยมในการใชร้ ถยนต์
ทม่ี เี พยี งสามเกยี ร์

ตวั อย่างกรณีศึกษาต่างๆ ทอ่ี ธบิ ายในบทน้ี จะแสดงไดอ้ ย่างชดั เจนต่อไป
วา่ หลกั การประเมนิ รายไดแ้ ละตน้ ทนุ อนั เป็นแนวคดิ พ้นื ฐานเพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ
ความคมุ้ ส�ำหรบั ประโยชนใ์ นการออกแบบหรอื ปรบั ปรุงเพม่ิ เตมิ แบบใหก้ บั รถยนต์
จะประยุกตใ์ ชใ้ นการประเมนิ ความคุม้ ทนุ ของการออกแบบ ปรบั ปรุงผลติ ภณั ฑ์
และบรกิ ารอน่ื ๆ ดว้ ย สามตวั อย่างแรกจะแสดงใหเ้หน็ ว่า การปรบั ปรุงรูปแบบ
ผลติ ภณั ฑจ์ ะไมม่ กี ารด�ำเนินการในเชงิ พาณิชย์ ถา้ โอกาสในการใชป้ ระโยชนจ์ าก
สง่ิ ทป่ี รบั ปรุงเพม่ิ เตมิ นนั้ มไี มบ่ อ่ ยครงั้
ทำ� ไมต้เู ยน็ จงึ มีหลอดไฟให้แสงสว่างในส่วนท่เี ป็ นต้แู ช่เยน็
แต่ไม่มีในส่วนท่เี ป็ นต้แู ช่แขง็ (กรณีศกึ ษาของ คาริม อับดุลลาห์)
หวั ใจหลกั ของการคน้ หาค�ำตอบส�ำหรบั ปญั หาน้ี อยู่ท่กี ารประเมนิ รายไดแ้ ละ
ตน้ ทนุ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง หรอื ประเมนิ ความคมุ้ ทนุ จะเหน็ ไดว้ ่าตูเ้ ยน็ ทวั่ ไปจะมตี ูแ้ ช่แบง่
ออกเป็นสองส่วนคอื ตูแ้ ช่เยน็ และตูแ้ ช่แขง็ ส�ำหรบั ตน้ ทนุ ค่าใชจ้ ่ายในการตดิ ตงั้
หลอดไฟใหแ้ สงสว่างอตั โนมตั กิ ็เท่ากนั ทงั้ สองส่วน และค่าใชจ้ ่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งใน

บทที่ 1 กล่องนมทรงสีเ่ หลี่ยมกบั กระป๋องน้ำ� อัดลมทรงกระบอก 37

กรณีน้ี นกั เศรษฐศาสตรเ์ รยี กวา่ ตน้ ทนุ คงที่ หมายความวา่ ตน้ ทนุ จะไมผ่ นั แปร
ตามจ�ำนวนครงั้ ทค่ี ุณเปิดตูเ้ ยน็ กลา่ วคอื ไมว่ า่ คุณจะเปิดประตูตูเ้ ยน็ ใหห้ ลอดไฟ
สวา่ งกค่ี รง้ั กต็ าม ค่าลงทนุ ตดิ ตงั้ หลอดไฟทต่ี อ้ งเสยี ไปกย็ งั เป็นจ�ำนวนเงนิ คงทเ่ี พยี ง
ครง้ั เดยี วส�ำหรบั ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการมแี สงไฟ แน่นอนวา่ มนั ช่วยใหม้ องเหน็
สง่ิ ของทแ่ี ช่อยู่ในตูแ้ ช่ทงั้ สองส่วนไดช้ ดั เจน แต่ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากแสงสวา่ ง
ในสว่ นของตูแ้ ช่เยน็ จะมมี ากกวา่ สว่ นของตูแ้ ช่แขง็ เน่อื งจากการเปิดประตูตูแ้ ช่เยน็
มคี วามถท่ี บ่ี อ่ ยครง้ั กวา่ ดงั นน้ั การลงทนุ ตดิ ตงั้ หลอดไฟใหแ้ สงสวา่ งในส่วนของ
ตูแ้ ช่เยน็ จงึ มคี วามคุม้ ทนุ มากกวา่ ตดิ หลอดไฟในตูแ้ ช่แขง็ และเป็นผลใหผ้ ูผ้ ลติ
ตูเ้ ยน็ ตดิ ตง้ั หลอดไฟเฉพาะตูแ้ ช่เยน็ แต่ไมต่ ดิ หลอดไฟในตูแ้ ช่แขง็

แน่นอนวา่ ผูบ้ รโิ ภคจะเหน็ ประโยชนข์ องการมแี สงไฟในตูแ้ ช่แขง็ แตกต่าง
กนั และอาจมหี ลายคนเตม็ ใจทจ่ี ะจ่ายใหก้ บั การมแี สงไฟในตูแ้ ช่แขง็ อย่างไรกด็ ี
ความเตม็ ใจจะจ่ายดงั กลา่ วกข็ ้นึ อยู่กบั ระดบั รายไดด้ ว้ ย นนั่ คอื บางคนเตม็ ใจจ่าย
นอ้ ยหากมรี ายไดน้ อ้ ย และบางคนเตม็ ใจจ่ายมากข้นึ เมอ่ื มรี ายไดเ้พม่ิ ข้นึ ดงั นน้ั
หลกั แห่งความคุม้ ทนุ ทางเศรษฐศาสตรส์ ามารถพยากรณไ์ ดว้ า่ ผูบ้ รโิ ภคในกลมุ่
ทม่ี รี ะดบั รายไดส้ ูงจะใหน้ ำ�้ หนกั หรอื ประเมนิ มลู ค่าความสะดวกจากการมแี สงไฟ
เมอ่ื เปิดตูแ้ ช่แขง็ ซง่ึ คดิ เป็นตวั เงนิ แลว้ มากกวา่ มลู ค่าของเงนิ ทต่ี อ้ งจ่ายเพม่ิ ใหก้ บั
การซ้อื ตูเ้ยน็ ร่นุ ทม่ี สี ง่ิ อ�ำนวยความสะดวกดงั กลา่ ว และดว้ ยเหตผุ ลน้ี เราจงึ พบเหน็
ตูเ้ ยน็ ในชอ่ื รุ่น Sub–Zero PRO 48 ทม่ี กี ารตดิ ตง้ั หลอดไฟใหค้ วามสวา่ งทงั้ ใน
ส่วนตูแ้ ช่แขง็ และล้นิ ชกั ท�ำนำ�้ แขง็ ซง่ึ จ�ำหน่ายในราคาสูงถงึ 12,000 ปอนด์ และ
น่ีคอื ตวั อย่างของขอ้ ยกเวน้ ทใ่ี ชพ้ สิ ูจนท์ ฤษฎไี ดเ้ช่นกนั
ทำ� ไมเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แลป็ ทอป สามารถน�ำไปใช้ได้กบั ระบบไฟของ
ทกุ ประเทศ ขณะท่เี คร่ืองใช้ไฟฟ้ าประเภทอ่ืนๆ ไม่สามารถน�ำไปใช้ได้
(กรณีศกึ ษาของ มนิ โซ บ)ี
ในสหรฐั ฯ ใชร้ ะบบไฟ 110 โวลต์ ขณะทใ่ี นเครอื สหราชอาณาจกั รใชร้ ะบบไฟ
240 โวลต์ แต่เคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพาแบบมาตรฐานทกุ เคร่อื งทผ่ี ลติ ออก

38 สนุกคดิ ในชวี ิตประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์

มาจ�ำหน่ายนนั้ จะมกี ารตดิ ตง้ั อปุ กรณแ์ ปลงไฟ จงึ สามารถใชไ้ ดก้ บั ระบบไฟทกุ
ประเทศทวั่ โลกได้ ในทางตรงกนั ขา้ ม เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าบางชนิด เช่น ตูเ้ ยน็ และ
โทรทศั นจ์ ะใชไ้ ดก้ บั ระบบไฟทโ่ี รงงานตงั้ ใจผลติ ใหใ้ ชไ้ ดเ้ ท่านน้ั ดงั นน้ั การน�ำตู้
เยน็ ทผ่ี ลติ จากสหรฐั ฯ ไปใชใ้ นเครอื สหราชอาณาจกั ร ผูใ้ ชต้ อ้ งซ้อื หวั ปลกั ๊ แปลง
ไฟ เพอ่ื แปลงไฟจาก 240 โวลตเ์ ป็น 110 โวลต์ ในท�ำนองเดยี วกนั การน�ำเคร่อื ง
รบั โทรทศั นท์ ผ่ี ลติ ในเครอื สหราชอาณาจกั รไปใชใ้ นสหรฐั ฯ กต็ อ้ งซ้อื หวั ปลกั ๊ แปลง
ไฟ เพอ่ื แปลงระบบไฟจาก 110 โวลตเ์ ป็น 240 โวลต์ ค�ำถามจงึ เกดิ ข้นึ วา่ เหตใุ ด
จงึ ไมผ่ ลติ เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าทกุ ชนิด ใหม้ รี ะบบไฟทีส่ ามารถใชไ้ ดก้ บั ทกุ ระบบไฟใน
ประเทศต่างๆ ดงั เช่นเครือ่ งแลป็ ทอป

ส�ำหรบั ระบบไฟ 240 โวลตม์ คี ่าลงทนุ ในการผลติ นอ้ ยกวา่ แต่มอี นั ตราย
กวา่ เลก็ นอ้ ย เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั การใชร้ ะบบไฟ 110 โวลต์ ซง่ึ หลายๆ ประเทศ
ไดพ้ จิ ารณาขอ้ ด–ี ขอ้ เสยี น้กี ่อนการตดั สนิ ใจวา่ ควรเลอื กใชร้ ะบบใด ขอ้ ส�ำคญั คอื
เมอ่ื ไดต้ ดั สนิ ใจเลอื กระบบใดแลว้ กต็ าม สง่ิ ทต่ี ามมาคอื ขอ้ ผูกมดั ดา้ นการลงทนุ
กบั ระบบทไ่ี ดเ้ลอื ก จงึ เป็นการยากทจ่ี ะเหน็ ทกุ ประเทศมรี ะบบไฟมาตรฐานเดยี วกนั
และดว้ ยสาเหตนุ ้ีเอง ผูท้ เ่ี ดนิ ทางไปต่างประเทศตอ้ งน�ำอปุ กรณแ์ ปลงไฟตดิ ตวั ไป
ดว้ ย จงึ จะมนั่ ใจวา่ จะไมม่ ปี ญั หาจากระบบไฟทแ่ี ตกต่างกนั ระหวา่ งประเทศ

การเพม่ิ อปุ กรณแ์ ปลงไฟลงไปในเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้ากเ็ ป็นแนวทางหน่ึงในการ
แกป้ ญั หา แต่การด�ำเนินการดงั กลา่ วจะเป็นการเพม่ิ ตน้ ทนุ และยงั เป็นการเพม่ิ
ราคาจ�ำหน่ายผลติ ภณั ฑอ์ กี จากขอ้ เทจ็ จรงิ ทพ่ี บคอื เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าบางชนิด เช่น
ตูเ้ยน็ เคร่อื งซกั ผา้ โทรทศั น์ ฯลฯ ทผ่ี ลติ ในประเทศใดกต็ าม กจ็ ะเหน็ ใชก้ นั อยู่แต่
ในประเทศนน้ั ๆ เป็นส่วนใหญ่ นานๆ ครงั้ จงึ จะมกี ารน�ำตดิ ตวั ขา้ มประเทศ โดย
เฉพาะกรณีทอ่ี พยพยา้ ยมาอกี ประเทศหน่ึง ซง่ึ ก็เป็นเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้นึ ไม่บ่อย
จงึ ไมม่ คี วามจ�ำเป็นตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายเพม่ิ เพอ่ื ตดิ ตงั้ อปุ กรณแ์ ปลงไฟในตวั สนิ คา้
เหลา่ นนั้ เพราะไมม่ โี อกาสหรอื มโี อกาสนอ้ ยทจ่ี ะไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากการปรบั ปรุง
อปุ กรณเ์ หลา่ น้ี

บทที่ 1 กลอ่ งนมทรงสี่เหลีย่ มกบั กระป๋องนำ้� อัดลมทรงกระบอก 39

ในทางตรงกนั ขา้ ม เคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ลป็ ทอปกเ็ ป็นขอ้ ยกเวน้ ดว้ ย โดย
เฉพาะในยุคแรกๆ ของการผลติ ทผ่ี ูใ้ ชเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ลป็ ทอปยงั มจี �ำนวน
ไมม่ าก ส�ำหรบั การเดนิ ทางเพอ่ื ท�ำธุรกจิ ทงั้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ นกั
ธุรกจิ ทต่ี อ้ งเดนิ ทางบอ่ ย และจ�ำเป็นตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏบิ ตั งิ านบอ่ ยครงั้
การน�ำอปุ กรณแ์ ปลงไฟตดิ ตวั ไปดว้ ยเพอ่ื ใชใ้ นสายการบนิ ระหว่างประเทศหรอื ใน
ประเทศต่างๆ ทเ่ี ดนิ ทางไปถอื เป็นภาระและไมส่ ะดวก ดว้ ยเหตนุ ้ีเอง ท�ำใหผ้ ูผ้ ลติ
เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ลป็ ทอปตอ้ งปรบั ปรงุ พฒั นาผลติ ภณั ฑ ์ โดยน�ำอปุ กรณแ์ ปลงไฟ
รวมไวใ้ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ลป็ ทอปมาตง้ั แต่ยุคเรม่ิ ตน้ ของการผลติ สนิ คา้ ชนดิ น้ี
ฉะนนั้ เคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ลป็ ทอปจงึ สามารถใชไ้ ดก้ บั ระบบไฟในหลายประเทศ

ทำ� ไมร้านค้าสะดวกซือ้ ท่เี ปิ ดบริการ 24 ช่ัวโมง ยงั ต้องตดิ ตงั้ ประตทู ่มี ี
ระบบลอ็ ค (กรณีศกึ ษาของเลียนนา เบค และ อีโบนี จอห์นสัน)
รา้ นคา้ สะดวกซ้อื ทผ่ี มใชบ้ รกิ ารเป็นประจ�ำเปิดบรกิ ารตลอด 24 ชวั่ โมงแลว้ ก็ 365
วนั และไมเ่ คยลอ็ คประตูทางเขา้ รา้ น แต่ท�ำไมจงึ ยงั ตอ้ งตดิ ตง้ั ประตูทม่ี รี ะบบลอ็ ค
ไวด้ ว้ ย

แน่นอนวา่ โอกาสทท่ี �ำใหต้ อ้ งลอ็ คประตูเพอ่ื ปิดรา้ นชวั่ คราวกม็ คี วามเป็น
ไปไดใ้ นกรณีเกดิ เหตไุ มค่ าดฝนั อย่างปจั จบุ นั ทนั ด่วน เช่น นำ�้ ท่วมในช่วงฤดูรอ้ น
ขององั กฤษเมอ่ื ปี 2007 ซง่ึ ประชาชนหลายเมอื งตอ้ งรบี อพยพเร่งด่วนชนิดไมท่ นั
ตงั้ เน้อื ตง้ั ตวั กรณีเช่นน้คี งจนิ ตนาการไดว้ า่ หากรา้ นคา้ ใดทไ่ี มไ่ ดล้ อ็ คประตูรา้ น
หรอื ไมม่ คี นเฝ้ ารา้ น จะสุ่มเสย่ี งต่อการถกู ลกั ขโมยสนิ คา้ อย่างแน่นอน อย่างไร
กต็ าม โอกาสการเกดิ อทุ กภยั ดงั กลา่ วมคี ่อนขา้ งนอ้ ยมาก จงึ ไมน่ ่าจะใช่สาเหตใุ ห ้
รา้ นคา้ ลงทนุ ตดิ ตงั้ ประตูระบบลอ็ ค

ค�ำตอบของค�ำถามน้ีอธบิ ายไดว้ า่ เน่ืองจากบานประตูไดผ้ ลติ จากโรงงาน
เพอ่ื ขายใหก้ บั ผูต้ อ้ งการใชท้ วั่ ไปทงั้ ในครวั เรอื นและบรษิ ทั หา้ งรา้ นทไ่ี มไ่ ดเ้ปิดบรกิ าร
24 ชวั่ โมง ซง่ึ ธุรกจิ เหลา่ น้ีตอ้ งการบานประตูทป่ี ิดลอ็ คได้ เมอ่ื เป็นเช่นน้ี การผลติ
เพอ่ื จ�ำหน่ายใหก้ บั ลูกคา้ ส่วนใหญ่จงึ ตอ้ งเป็นประตูลอ็ คได้ อกี ทงั้ ยงั สามารถลด

40 สนุกคดิ ในชวี ติ ประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

ตน้ ทนุ การผลติ และภาระการบรหิ ารจดั การสตอ็ ก โรงงานจงึ ผลติ บานประตูจ�ำนวน
มากในรูปแบบเดยี วกนั คอื ประตูทม่ี รี ะบบลอ็ ค ซง่ึ กรณีน้ีมเี หตผุ ลคลา้ ยคลงึ กบั
กรณีการผลติ และตดิ ตง้ั เคร่อื งถอนเงนิ อตั โนมตั ทิ ม่ี ปี ่มุ กดเป็นอกั ษรเบรลลส์ �ำหรบั
ใหบ้ รกิ ารคนตาบอดดว้ ย ดงั ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายไวแ้ ลว้

สำ� หรบั กรณีตวั อย่างต่อไป ดงั ทจ่ี ะอธบิ ายอกี สองกรณี พบวา่ รายละเอยี ด
ของรูปแบบผลติ ภณั ฑจ์ ะถกู ก�ำหนดโดยกฎทางเรขาคณิต

ทำ� ไมผู้ผลิตและจำ� หน่ายนมสดใช้บรรจุภณั ฑ์เป็ นกล่องทรงส่ีเหล่ียม
ขณะท่นี ำ�้ อดั ลมใช้บรรจภุ ณั ฑ์เป็ นขวดแก้วหรือกระป๋ องรูปทรงกระบอก
บรรจภุ ณั ฑท์ งั้ หมดหรอื เกอื บทงั้ หมดของนำ�้ อดั ลมจะมรี ูปทรงเป็นขวดหรอื กระป๋อง
ทรงกระบอกเสมอ ไมว่ า่ จะใชว้ สั ดแุ กว้ หรอื โลหะอะลูมเิ นยี ม ในขณะทบ่ี รรจภุ ณั ฑ์
ส�ำหรบั นมสดจะใชว้ สั ดุท่เี ป็นกล่องกระดาษหรือพลาสติกท่มี รี ูปทรงเป็นกล่อง
ส่เี หลย่ี มมหี นา้ ตดั ขวางมมุ ฉาก โดยทวั่ ไปกล่องบรรจุภณั ฑท์ รงส่เี หลย่ี มจะใช้
ประโยชนจ์ ากพ้นื ทว่ี า่ งภายในไดด้ กี วา่ ทรงกระบอก จงึ มปี ระโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ สูง
กวา่ หรอื มตี น้ ทนุ เฉลย่ี ต่อหน่วยบรรจภุ ณั ฑต์ ำ�่ กวา่ เมอ่ื เป็นเช่นน้ี จงึ เป็นทม่ี าของ
ค�ำถามทว่ี า่ ทำ� ไมผูผ้ ลติ นำ�้ อดั ลมยงั คงยดึ การใชบ้ รรจภุ ณั ฑท์ รงกระบอกอยู่ ทำ� ไม
ไมเ่ ปลยี่ นไปใชก้ ลอ่ งบรรจภุ ณั ฑท์ รงสเี่ หลยี่ มแทน ซง่ึ มตี น้ ทนุ ต่อหน่วยบรรจตุ ำ�่ กวา่

บรรจภุ ณั ฑข์ องนำ�้ อดั ลมทรงกระบอกทต่ี อ้ งท�ำจากอะลูมเิ นยี มนน้ั เพราะมนั
สามารถทนทานต่อแรงดนั ทเ่ี กดิ จากกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นนำ�้ อดั ลมไดด้ ี สว่ น
เหตผุ ลทท่ี �ำเป็นทรงกระบอก กเ็ น่อื งจากผูช้ น่ื ชอบนำ�้ อดั ลมมกั จะดม่ื โดยตรงจาก
ขวดบรรจภุ ณั ฑ์ ซง่ึ เป็นการเหมาะสมกวา่ ทจ่ี ะท�ำบรรจภุ ณั ฑท์ รงกระบอกเพอ่ื ความ
สะดวกสบายในการถอื ดว้ ยมอื ในท�ำนองทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั ส�ำหรบั บรรจภุ ณั ฑข์ อง
นำ�้ อดั ลมทท่ี �ำจากแกว้ กต็ อ้ งท�ำเป็นทรงกระบอกเช่นกนั เพอ่ื ความสะดวกในการถอื ก็
เป็นอกี เหตผุ ลหน่งึ ดว้ ย แมว้ า่ การทนทานต่อแรงกดดนั ของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์
จะดอ้ ยกวา่ การใชแ้ กว้ ในรูปทรงสเ่ี หลย่ี มกต็ าม

บทท่ี 1 กล่องนมทรงสีเ่ หลี่ยมกบั กระป๋องนำ้� อัดลมทรงกระบอก 41

ส่วนกรณีบรรจภุ ณั ฑส์ �ำหรบั นมสด ประเด็นความสะดวกในการถอื จบั
ภาชนะบรรจดุ ว้ ยมอื ไม่ใช่เร่อื งส�ำคญั ทต่ี อ้ งพจิ ารณา เพราะผูบ้ รโิ ภคทวั่ ไปจะไม่
ด่มื โดยตรงจากภาชนะบรรจแุ ต่จะเทใส่แกว้ ด่มื ดงั นนั้ การใชบ้ รรจภุ ณั ฑท์ รง
กระบอกบรรจนุ มจะท�ำใหเ้สยี พ้นื ทใ่ี นการบรรจไุ ปเปลา่ ๆ เมอ่ื เทยี บกบั การใชเ้ ป็น
กลอ่ งสเ่ี หลย่ี มหนา้ ตดั ขวางมมุ ฉาก จงึ เป็นเหตผุ ลว่าท�ำไมผูผ้ ลติ จงึ ตอ้ งจ�ำหน่าย
นมสดในกลอ่ งทรงสเ่ี หลย่ี ม

สูญเสยี พ้นื ท่ี
ชนั้ วางสนิ คา้ ไปโดย

เปลา่ ประโยชน์

SSถา้ กล่องภาชนะบรรจนุ มเป็นทรงกระบอก
จะท�ำใหเ้ ราตอ้ งมีตูเ้ ย็นทีม่ ีขนาดใหญ่มากข้ึน

แมผ้ ูบ้ ริโภคส่วนใหญ่จะหนั มานิยมด่ืมนมสดโดยตรงจากบรรจุภณั ฑ์
แต่การใชห้ ลกั การประเมนิ ผลดีและผลเสียของรูปแบบบรรจุภณั ฑย์ งั คงให ้
ค�ำตอบเช่นเดยี วกนั วา่ ผูผ้ ลติ ไมค่ วรผลติ นมจ�ำหน่ายในบรรจภุ ณั ฑท์ รงกระบอก
เพราะเมอ่ื น�ำสนิ คา้ ไปจดั เรยี งบนชน้ั วาง จะพบว่ากลอ่ งทรงสเ่ี หลย่ี มสามารถใช้
ประโยชนจ์ ากพ้นื ทช่ี น้ั วางสนิ คา้ ไดด้ กี วา่ ทรงกระบอก เพราะนนั่ คอื ความสามารถ
ในการวางจ�ำนวนช้นิ หรือปริมาตรรวมของสนิ คา้ ไดม้ ากกว่า (กล่าวคือ ส�ำหรบั
การวางเรียงสนิ คา้ กล่องบรรจุภณั ฑท์ รงส่เี หลย่ี มก่อใหเ้ กิดพ้นื ท่วี ่างนอ้ ยกว่า
ทรงกระบอก) ในกรณีทน่ี �ำผลติ ภณั ฑม์ าเปรยี บเทยี บกนั ระหวา่ งนมกบั นำ�้ อดั ลม จะ
พบวา่ ถา้ มพี ้นื ทว่ี า่ งเกดิ ข้นึ ค่าเสยี โอกาสของพ้นื ทว่ี า่ งบนชน้ั วางจากการวางผลติ ภณั ฑ์

42 สนกุ คิดในชวี ิตประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

นมจะมนี อ้ ยกวา่ นำ�้ อดั ลม ดว้ ยเหตผุ ลน้จี งึ สรุปไดว้ า่ ควรท�ำบรรจภุ ณั ฑข์ องนมให้
เป็นทรงสเ่ี หลย่ี มมากกวา่ ทรงกระบอก เพราะท�ำใหม้ พี ้นื ทว่ี า่ งนอ้ ยกวา่ นอกจาก
น้ี ในซูเปอรม์ ารเ์ กต็ ทวั่ ไปจะสงั เกตเหน็ วา่ มกี ารวางจ�ำหน่ายนำ�้ อดั ลมกระป๋องบน
ชน้ั วางในพ้นื ทโ่ี ลง่ ของรา้ น ในขณะทว่ี างจ�ำหน่ายนมไวใ้ นตูแ้ ช่เยน็ ซง่ึ ตอ้ งมคี ่า
ใชจ้ ่ายทงั้ ดา้ นการลงทนุ ซ้อื ตูเ้ ยน็ และค่าด�ำเนนิ การพเิ ศษต่างๆ เช่น ค่าไฟ เป็นตน้
การวางสนิ คา้ ในตูแ้ ช่เยน็ เหลา่ น้ีจงึ มคี ่าใชจ้ ่ายเพม่ิ มากกวา่ ส�ำหรบั ประโยชนท์ ไ่ี ด้
รบั เพม่ิ จากบรรจภุ ณั ฑข์ องนมกลอ่ งทรงสเ่ี หลย่ี มก็สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากพ้นื ท่ี
วางสนิ คา้ ได้ ดงั ทก่ี ลา่ วไปแลว้

SSกระป๋ องน�้ำอดั ลมแบบมาตรฐาน จะใชอ้ ะลูมิเนียมนอ้ ยลง
ถา้ ลดความสูงลง แต่ขยายความกวา้ งใหม้ ากขึ้น

วาดโดย : มิค สตีเวนส์

ทำ� ไมจงึ ผลติ กระป๋ องน�ำ้ อัดลมอะลูมเิ นียมท่แี พงเกนิ ความจำ� เป็ น
(กรณีศกึ ษาของ ชาร์ลส์ เรดดงิ้ )
หนา้ ทข่ี องกระป๋องอะลูมเิ นยี มคอื บรรจนุ ำ�้ อดั ลมส�ำหรบั ดม่ื แกก้ ระหาย ซง่ึ กระป๋อง
อะลูมเิ นียมขนาดมาตรฐานทวั่ ไปบรรจไุ ด้ 12 ออนซ์ (หรอื 355 มลิ ลลิ ติ ร) ท่ี

บทท่ี 1 กลอ่ งนมทรงสี่เหลี่ยมกบั กระป๋องนำ้� อดั ลมทรงกระบอก 43

วางจ�ำหน่ายทวั่ โลกมรี ูปแบบเป็นทรงกระบอกสูง 12 เซนติเมตร และความ
กวา้ งของเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 6.5 เซนติเมตร ถา้ มกี ารดดั แปลงรูปทรงน้ีเป็น
กระป๋องทรงเต้ีย โดยลดความสูงและขยายความกวา้ ง ก็จะช่วยลดปริมาณ
อะลูมเิ นียมทใ่ี ชใ้ นการผลติ กระป๋องลงไดเ้ยอะ ตวั อย่างเช่น ถา้ ความสูงของทรง
กระบอกเป็น 7.8 เซนตเิ มตร และขยายความกวา้ งเป็น 7.6 เซนตเิ มตร กระป๋องน้ี
ยงั จะมขี นาดความจขุ องเหลวเท่ากบั กระป๋องขนาดมาตรฐานแบบ 12 ออนซอ์ ย่าง
เดมิ แต่จะลดการใชเ้น้อื อะลูมเิ นยี มลงถงึ 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ ท�ำใหม้ ปี ระเดน็ ขอ้ สงสยั
ทต่ี ามมาคอื ทงั้ ๆ ทกี่ ระป๋องทรงเต้ยี มตี น้ ทนุ การผลติ ตำ�่ กวา่ แต่ทำ� ไมจงึ ไมม่ กี าร
ผลติ ใชท้ วั่ ไปในเชงิ พาณิชย์ ซง่ึ นำ�้ อดั ลมกระป๋องทจี่ ำ� หน่ายในปจั จุบนั ยงั คงบรรจุ
ในกระป๋องทรงกระบอกความสูงเท่าเดิม ทำ� ไมจงึ เป็นเช่นน้ี

ค�ำตอบหน่ึงทเ่ี ป็นไปไดค้ อื ผูบ้ รโิ ภคถกู หลอกจากภาพลวงตาจากการมอง
วตั ถทุ รงสูงแนวตงั้ (Vertical Illusion) ท�ำใหเ้ขา้ ใจผดิ คดิ วา่ กระป๋องทรงสูง (แบบ
สูง 12 เซนตเิ มตร) มขี นาดความจมุ ากข้นึ ซง่ึ ปญั หาน้ีนกั จติ วทิ ยาเขา้ ใจดี ขอให ้
คุณลองพจิ ารณารูปกราฟแท่งทจ่ี ะแสดงหนา้ ถดั ไป แลว้ ลองตอบวา่ กราฟแท่งอนั
ไหนยาวกวา่ กนั แน่นอนวา่ เมอ่ื ดูดว้ ยตา ส่วนใหญ่จะตอบกราฟแท่งแนวตง้ั ยาว
กวา่ แนวนอน แต่ถา้ ลองวดั ดว้ ยไมบ้ รรทดั จะพบวา่ แทท้ จ่ี รงิ แลว้ กราฟแทง่ ทง้ั สอง
มคี วามยาวเท่ากนั

ดว้ ยความเขา้ ใจผดิ ๆ คดิ วา่ กระป๋องทรงเต้ยี จนุ ำ�้ อดั ลมไดน้ อ้ ยกวา่ จงึ เป็น
สาเหตใุ หผ้ ูบ้ รโิ ภคไมอ่ ยากซ้อื นำ�้ อดั ลมทเ่ี ป็นกระป๋องทรงเต้ยี ถา้ ความเชอ่ื ทผ่ี ดิ น้ี
เป็นสาเหตจุ รงิ ๆ ท�ำไมผูผ้ ลติ รายใหมจ่ งึ ยอมท้งิ โอกาสการสรา้ งรายไดเ้พม่ิ ไปงา่ ยๆ
โดยไมท่ �ำอะไรเลยละ่ กลา่ วอกี นยั หน่ึงคอื ถา้ ภาพลวงตาจากการมองวตั ถทุ รงสูง
เป็นสาเหตเุ ดยี วทท่ี �ำใหผ้ ูบ้ รโิ ภคไมเ่ ลอื กซ้อื นำ�้ อดั ลมจากกระป๋องทรงเต้ยี กน็ ่าจะ
มผี ูผ้ ลติ รายอน่ื ๆ ทเ่ี ป็นคู่แขง่ กลา้ ผลติ นำ�้ อดั ลมขายในกระป๋องทรงเต้ยี แลว้ มกี าร
เขยี นระบไุ วใ้ หช้ ดั เจนวา่ มปี รมิ าณบรรจเุ ทา่ กนั กบั กระป๋องทรงสูงขนาดปกตทิ เ่ี คย
จ�ำหน่าย แลว้ เสนอขายในราคาถกู กวา่ ได้(เพราะมตี น้ ทนุ การผลติ กระป๋องทถ่ี กู กวา่
30 เปอรเ์ ซน็ ต)์ และน่ีจะเป็นโอกาสทางธุรกจิ ของบรษิ ทั คู่แขง่ รายใหมไ่ ดอ้ กี ดว้ ย

44 สนกุ คิดในชวี ิตประจ�ำวันแบบเศรษฐศาสตร์

ส�ำหรบั ความเป็นไปไดใ้ นการท�ำก�ำไรทอ่ี าจเกดิ ข้นึ อกี ทางหน่ึงคอื การข้นึ
ราคาขาย แมผ้ ูบ้ รโิ ภคจะรูว้ า่ กระป๋องทงั้ สองขนาดมปี รมิ าณบรรจทุ เ่ี ท่ากนั แต่ส�ำหรบั
ผูช้ น่ื ชอบดม่ื นำ�้ อดั ลมจากกระป๋องทรงสูงกอ็ าจเตม็ ใจจ่ายเพม่ิ อกี เลก็ นอ้ ยได้ดงั ท่ี
ผูบ้ ริโภคยอมจ่ายเพม่ิ จากกรณีศึกษาการยอมจ่ายค่าหอ้ งท่เี หน็ ววิ ดใี นโรงแรม
เช่นกนั

SSภาพลวงตาจากการมองวตั ถทุ รงสงู แนวตงั้ : จะเหน็ วา่ แมร้ ูปแทง่ แนวตงั้ ฉากเมือ่ ดดู ว้ ย
ตาเปล่าเหมือนจะยาวกว่ารูปแท่งแนวนอน แต่โดยขอ้ เท็จจริงแลว้ มีความยาวเท่ากนั

การออกแบบผลติ ภณั ฑจ์ ะมผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผูบ้ รโิ ภค
ผลติ ภณั ฑน์ นั้ รูปแบบผลติ ภณั ฑท์ แ่ี ตกต่างกนั กจ็ ะสง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการบรโิ ภค
ทแ่ี ตกต่างกนั ดว้ ย ตวั อย่างเช่น ผูข้ บั รถทไ่ี มอ่ ยากโดนใบสงั่ จากการขบั รถเรว็ เกนิ
ก�ำหนด อาจเตม็ ใจซ้อื รถทม่ี กี ารตดิ ตง้ั อปุ กรณส์ ่งสญั ญาณเตอื นใหร้ ูท้ กุ ครงั้ ทข่ี บั
รถเกนิ ระดบั ความเรว็ ทก่ี �ำหนด แมจ้ ะมรี าคาแพงข้นึ ตวั อย่างทจ่ี ะอธบิ ายต่อไปน้ี
สะทอ้ นใหเ้หน็ ถงึ การตดั สนิ ใจเชงิ กลยทุ ธข์ องผูผ้ ลติ เกย่ี วกบั การออกแบบผลติ ภณั ฑ์
วา่ จะส่งผลกระทบต่อผูบ้ รโิ ภคอย่างไร

บทที่ 1 กลอ่ งนมทรงสี่เหลีย่ มกบั กระป๋องนำ�้ อัดลมทรงกระบอก 45

ทำ� ไมช่องเตมิ น�ำ้ มันของรถบางคันอย่ทู างด้านคนขับ ในขณะท่บี างคัน
อย่ทู างด้านผู้โดยสาร (กรณีศกึ ษาของ แพตตี้ ย)ู
หน่ึงในประสบการณย์ อดแย่ทไ่ี ดจ้ ากการขบั รถเช่าก็คือ ตอนทค่ี ุณตอ้ งน�ำรถไป
เตมิ นำ�้ มนั ทส่ี ถานบี รกิ ารนำ�้ มนั และพบวา่ ไดเ้ขา้ จอดผดิ ต�ำแหน่ง โดยหวั จ่ายนำ�้ มนั
ของสถานีบรกิ ารนำ�้ มนั ไมไ่ ดอ้ ยู่ดา้ นเดยี วกบั ช่องเตมิ นำ�้ มนั รถ (แต่ถา้ เป็นรถของ
คุณเองก็จะไมเ่ ป็นปญั หา เพราะคุณรูว้ ่าช่องเตมิ นำ�้ มนั ของรถคุณอยู่ดา้ นใดของ
ตวั รถ จงึ สามารถน�ำรถเขา้ จอดถกู ต�ำแหน่งได)้ ปญั หาน้แี กไ้ ขไดไ้ มย่ าก เพยี งแต่
รฐั มขี อ้ ก�ำหนดใหโ้ รงงานผลติ รถยนตต์ อ้ งออกแบบและตดิ ตง้ั ช่องเตมิ นำ�้ มนั ให ้
อยู่ดา้ นเดยี วกนั เท่านนั้ ค�ำถามคอื ทงั้ ๆ ทรี่ ูว้ า่ แกไ้ ขได้ แต่ทำ� ไมจงึ ไมม่ กี ารแกไ้ ข

SSคิวเติมน�้ำมนั ในสถานีบริการน�้ำมนั จะยาวมากขึ้น
หากถงั เติมน้�ำมนั ของรถยนต์ถูกออกแบบใหอ้ ยู่เฉพาะดา้ นฝ่ังคนขบั

วาดโดย : มิค สตีเวนส์

46 สนกุ คิดในชวี ติ ประจ�ำวนั แบบเศรษฐศาสตร์

ในประเทศทก่ี �ำหนดใหข้ บั รถขบั ชดิ ขวาอย่างในสหรฐั ฯ ระบบจราจรเช่นน้ี
การเล้ยี วขวาจะงา่ ยกวา่ การเล้ยี วซา้ ย และเมอ่ื ไรกต็ ามทผ่ี ูข้ บั ขต่ี อ้ งการเตมิ นำ�้ มนั
ส่วนใหญ่จะเลอื กเขา้ สถานีบรกิ ารนำ�้ มนั ทต่ี งั้ อยู่ดา้ นขวาของถนนมากกวา่ เพราะ
สะดวกกวา่ นนั่ เอง สมมตวิ า่ ถงั นำ�้ มนั รถถกู ออกแบบใหอ้ ยู่ดา้ นเดยี วกบั คนขบั (ใน
สหรฐั ฯ ดา้ นคนขบั อยู่ทางดา้ นซา้ ยของตวั รถ และขบั รถชดิ ขวา ตรงกนั ขา้ มกบั ไทย
เรา) กรณีเช่นน้ี คนขบั ชอบขบั รถเล้ยี วขวาเขา้ ไปในสถานบี รกิ ารนำ�้ มนั และจอดรถ
รอเตมิ นำ�้ มนั ทางดา้ นขวาของหวั ปมั ๊ จ่ายเสมอเพอ่ื ความสะดวก เพราะหวั จ่ายของ
ปมั ๊ นำ�้ มนั จะอยู่ใกลก้ บั ถงั เตมิ นำ�้ มนั ของรถทอ่ี ยู่ทางดา้ นซา้ ย ซง่ึ ภายใตข้ อ้ สมมติ
น้ี จงึ เป็นไปไดท้ เ่ี ราจะเหน็ ดา้ นขวาของปมั ๊ จ่ายในสถานีบรกิ ารจะมแี ต่รถรอเตมิ
นำ�้ มนั เต็มทกุ จดุ ในขณะทช่ี ่องปมั ๊ จ่ายทางดา้ นซา้ ยส่วนใหญ่จะทว่ี ่างไม่มรี ถเขา้
ใชบ้ รกิ าร

ดว้ ยเหตนุ ้ี การออกแบบตดิ ตง้ั ถงั เตมิ นำ�้ มนั ในรถจงึ มแี ตกต่างกนั ไป โดย
รถบางคนั บางรุ่นจะใหช้ ่องเตมิ นำ�้ มนั อยู่ดา้ นคนขบั ขณะทบ่ี างคนั ใหอ้ ยู่ดา้ นทน่ี งั่
ผูโ้ ดยสาร วธิ กี ารน้ีจะช่วยเพม่ิ ทางเลอื กใหร้ ถสามารถเขา้ ถงึ หวั จ่ายนำ�้ มนั ทอ่ี ยู่ทาง
ดา้ นซา้ ยของสถานีบรกิ ารนำ�้ มนั ได้ เป็นการช่วยลดความหนาแน่นของการรอควิ
เตมิ นำ�้ มนั ซง่ึ ประโยชนใ์ หญ่หลวงทไ่ี ดร้ บั น้ีมมี ากกวา่ ขอ้ เสยี เพยี งเลก็ นอ้ ย และ
มเี กดิ ข้นึ บางครง้ั บางคราวเท่านน้ั ดงั เช่นกรณีน�ำรถเช่าเขา้ เตมิ นำ�้ มนั ผดิ ดา้ นของ
หวั ปมั ๊ จ่ายทก่ี ลา่ วในขา้ งตน้ เป็นตน้ และน่เี ป็นค�ำตอบวา่ ท�ำไมช่องเตมิ นำ�้ มนั ของรถ
บางคนั จงึ ออกแบบใหอ้ ยู่ดา้ นฝงั่ คนขบั ในขณะทบ่ี างคนั อยู่ดา้ นฝงั่ ทน่ี งั่ ผูโ้ ดยสาร

ในบางกรณีการออกแบบผลติ ภณั ฑจ์ ะไมไ่ ดพ้ จิ ารณาเพยี งแค่เหตผุ ลดา้ น
ลกั ษณะหรอื รูปแบบการใชป้ ระโยชน์ แต่ยงั มจี ากขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี ่า สนิ คา้ นน้ั มจี ดุ
มงุ่ หมายเพอ่ื ตอ้ งการสอ่ื ขอ้ มลู ข่าวสารอะไรใหผ้ ูใ้ ชไ้ ดร้ บั รู ้ และสองตวั อย่างทจ่ี ะ
แสดงต่อไปน้ีจะเหน็ ไดว้ ่าขอ้ มลู ข่าวสารบางประเภทจะง่ายต่อการซมึ ซบั และมี
ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ ตำ�่ กวา่ ขอ้ มลู ขา่ วสารในประเภทอน่ื ๆ

บทท่ี 1 กล่องนมทรงสีเ่ หลี่ยมกบั กระป๋องน้�ำอัดลมทรงกระบอก 47

เพราะเหตุใด รถแทก็ ซ่สี ่วนใหญ่ท่วี ่งิ บริการในรัฐนิวยอร์กจงึ มีสีเหลือง
ในขณะท่ใี นเมืองเล็กอ่ืนๆ กลับมีหลากสี
(กรณีศกึ ษาของ แอนดริ เชอร์โนวานอฟ)
หากคุณมโี อกาสส่องกลอ้ งมองจากชนั้ สูงสุดบนตกึ เอมไพรส์ เตต ลงมายงั ถนน
เลขท่ี 34 ของเมอื งแมนฮตั ตนั รฐั นวิ ยอรก์ คณุ อาจตงั้ ขอ้ สงั เกตว่า ประมาณ 70
เปอรเ์ ซน็ ตข์ องจ�ำนวนรถยนตท์ ว่ี ง่ิ บนถนนเสน้ น้ีจะมสี เี หลอื งสดใส ส่วนหน่งึ เป็น
รถโลตสั หรอื รถลมั โบรก์ นิ ่ีสเี หลอื งทเ่ี หน็ วง่ิ เป็นครง้ั คราวจ�ำนวนไม่มาก ซง่ึ รถ
สเี หลอื งทว่ี ง่ิ ขวกั ไขว่ส่วนใหญ่จะเป็นรถแทก็ ซ่ี และจะเป็นรถเกง๋ ซาลูน (รถเกง๋
ขนาดกลางสป่ี ระตู) ของฟอรด์ ส่วนเมอื งเลก็ อน่ื ๆ มกั ไมค่ ่อยพบแทก็ ซส่ี เี หลอื งท่ี
เป็นรถเกง๋ ซาลูน แต่มกั เป็นรถเกง๋ อเนกประสงค์ (MPVs หรอื Multi–Purpose
Vehicles) และมหี ลากสี จงึ มผี ูต้ ง้ั ขอ้ สงสยั วา่ ท�ำไมจงึ เป็นเช่นนน้ั

แมเ้ ราสามารถเรียกใชบ้ ริการรถแท็กซ่ีทางโทรศพั ทไ์ ดอ้ ย่างสะดวกท่ี
แมนฮตั ตนั แต่การโบกเรยี กกนั ขา้ งถนนกเ็ ป็นเร่อื งปกตทิ ม่ี กี ารกระท�ำกนั มากกวา่
ดว้ ยเหตนุ ้จี งึ เป็นเหตผุ ลงา่ ยๆ ทร่ี ถแทก็ ซต่ี อ้ งมสี รี ถทท่ี �ำใหม้ องเหน็ ไดง้ า่ ยทส่ี ุดเท่า
ทจ่ี ะเป็นไปได้ และสนี นั้ กค็ อื สเี หลอื ง ซง่ึ การใชส้ เี หลอื งกบั รถแทก็ ซ่ี สอดคลอ้ ง
กบั งานวจิ ยั ทช่ี ้ใี หเ้หน็ วา่ สเี หลอื งเป็นสที ม่ี คี วามสวา่ งสดใส ท�ำใหส้ ามารถมองเหน็ ได้
ดที ส่ี ุด (แต่เดมิ มามคี วามเช่อื วา่ สแี ดงมองเหน็ ไดช้ ดั ทส่ี ุด ท�ำใหม้ กี ารทาสอี ปุ กรณ์
หรอื จดุ ตง้ั ท่อนำ�้ เพอ่ื ดบั ไฟตามรมิ ฟตุ ปาทดว้ ยสแี ดง อย่างไรก็ดี ปจั จบุ นั สถานี
ดบั เพลงิ ส่วนใหญ่ในสหรฐั ฯ เปลย่ี นมาใชส้ เี หลอื งแทนสแี ดงกบั อปุ กรณ์ดบั ไฟ
ดงั กลา่ ว)

ส่วนเหตผุ ลทร่ี ถแทก็ ซส่ี เี หลอื งในนิวยอรก์ ส่วนใหญ่เป็นรถเกง๋ ซาลูนนน้ั
อธบิ ายไดว้ า่ ส่วนมากจะมผี ูโ้ ดยสารเพยี งคนเดยี วทเ่ี รยี กใชบ้ รกิ าร นอกจากนนั้
ยงั พบวา่ หากใชร้ ถทม่ี ที น่ี งั่ ผูโ้ ดยสารจ�ำนวนเกนิ กวา่ 4 ทเ่ี มอ่ื ไร คนขบั รถแทก็ ซ่ี
จะไมค่ ่อยไดก้ �ำไรจากการประกอบอาชพี จงึ เป็นเหตใุ หค้ นขบั รถแทก็ ซน่ี ยิ มซ้อื รถ
แบบซาลูน ซง่ึ เป็นเกง๋ ขนาดกลางมที น่ี งั่ ไมเ่ กนิ 4 ทม่ี าท�ำเป็นรถแทก็ ซ่ี นอกจากจะ
ตรงกบั รูปแบบความตอ้ งการของผูเ้รยี กใชบ้ รกิ ารแลว้ ยงั ซ้อื ไดใ้ นราคาทถ่ี กู กว่า
รถเกง๋ อเนกประสงคด์ ว้ ย

48 สนุกคิดในชวี ิตประจำ� วนั แบบเศรษฐศาสตร์


Click to View FlipBook Version