136 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 137
ทักษะกระบวนการทาง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
1. การใช้จำานวน (การคำานวณ 1. การแก้ปัญหาสถานการณ์ 1. ความมีเหตุผล และ
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง) ที่เกี่ยวกับความร้อน) ความรอบคอบ
2. การส่อสารสารสนเทศและ (การอภิปรายร่วมกัน)
ื
ู
การรู้เท่าทันสื่อ 2. ความอยากร้อยากเห็น
(การอภิปรายร่วมกัน) (การมีส่วนร่วมใน
การอภิปรายและสรุป)
ผลการเรียนรู้
2. อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติและคำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายแบบจำาลองของแก๊สอุดมคติ
2. อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติและคำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ทักษะกระบวนการทาง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
1. การใช้จำานวน (การคำานวณ 1. การแก้ปัญหา (สถานการณ ์ 1. ความมีเหตุผล
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง) ที่เกี่ยวกับกฎข้อที่หนึ่ง และความรอบคอบ
ของอุณหพลศาสตร์) (การอภิปรายร่วมกัน)
ื
2. การส่อสารสารสนเทศและ 2. ความอยากรู้อยากเห็น
การรู้เท่าทันสื่อ (การมีส่วนร่วมใน
(การอภิปรายร่วมกัน) การอภิปรายและสรุป)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
136 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 137
ผลการเรียนรู้
3. อธิบายแบบจาลองของแก๊สอุดมคต ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุล
ำ
ิ
ของแก๊ส รวมทั้งคำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลแก๊ส และ
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สกับอุณหภูมิ และคำานวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ิ
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊สกับอุณหภูม และ
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ทักษะกระบวนการทาง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
1. การใช้จำานวน (การคำานวณ 1. การแก้ปัญหา (สถานการณ ์ 1. ความมีเหตุผล
ี
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง) ท่เก่ยวกับทฤษฎีจลน์ของ และความรอบคอบ
ี
แก๊ส) (การอภิปรายร่วมกัน)
2. การส่อสารสารสนเทศและ 2. ความอยากรู้อยากเห็น
ื
การรู้เท่าทันสื่อ (การมีส่วนร่วมใน
(การอภิปรายร่วมกัน) การอภิปรายและสรุป)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
138 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 139
ผลการเรียนรู้
ำ
ำ
ี
4. อธิบาย และคานวณงานท่ทาโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ ์
ั
ี
ี
ำ
ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ และงาน รวมท้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เก่ยวข้องและ
นำาความรู้เรื่องพลังงานภายในระบบไปอธิบายหลักการทำางานของเครื่องใช้ในชีวิตประจำาวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายและคำานวณพลังงานภายในระบบ
2. อธิบายและคำานวณงานที่ทำาโดยแก๊ส
ี
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ กับงานท่ทาโดยแก๊ส และ
ำ
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. อธิบายการนำาความรู้เรื่องพลังงานภายในระบบไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
ทักษะกระบวนการทาง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
1. การใช้จำานวน (การคำานวณ 1. การแก้ปัญหา (สถานการณ ์ 1. ความมีเหตุผล
ี
ึ
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง) ท่เก่ยวกับกฎข้อท่หน่งของ และความรอบคอบ
ี
ี
อุณหพลศาสตร์) (การอภิปรายร่วมกัน)
2. การส่อสารสารสนเทศและ 2. ความอยากรู้อยากเห็น
ื
การรู้เท่าทันสื่อ (การมีส่วนร่วมใน
(การอภิปรายร่วมกัน) การอภิปรายและสรุป)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
138 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 139
ผังมโนทัศน์ ความร้อนและแก๊ส
ความร อนและแก ส
อุณหภูมิ
แก
สอุดมคติ
เกี่ยวข องกับ เกี่ยวข องกับ นําไปสู เกี่ยวข องกับ
การเปลี่ยน การเปลี่ยน กฎของบอยล แบบจําลอง
อุณหภูมิ สถานะ กฎของชาร ล แก
สอุดมคติ
กฎของเกย -ลูสแซก
นําไปคํานวณ นําไปคํานวณ นําไปสู
ความจุความร อนและ ความร อนแฝง ทฤษฎีจลน
ของแก
ส
ความร อนจําเพาะ กฎของ
แก
สอุดมคติ
เกี่ยวข องกับ การชนและ
การถ ายโอนความร อน โมเมนตัม
กฎการอนุรักษ พลังงาน นําไปสู
ความสัมพันธ ระหว าง
เกี่ยวข องกับ ความดันและอัตราเร็ว
สมดุลความร อน โมเลกุลของแก
ส
นําไปสู
งาน ความสัมพันธ ระหว าง
พลังงานจลน เฉลี่ยของ
นําไปสู นําไปสู แก
สกับอุณหภูมิ
งานที่ทําโดยแก
ส พลังงานภายในระบบ
นําไปสู
นําไปสู ความสัมพันธ ระหว าง
อัตราเร็วอาร เอ็มเอส
กฎข อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร กับอุณหภูมิ
นําไปสู
คํานวณ อธิบาย
ปริมาณต าง ๆ ที่เกี่ยวข อง การประยุกต ของอุณหพลศาสตร
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
140 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 141
สรุปแนวความคิดสำาคัญ
่
่
้
็
ึ
ี
อุณหพลศาสตร์ (thermodynamics) เปนการศกษากระบวนการเปลยนแปลงระหวางความรอน
และพลังงานกล ระดับความร้อนของวัตถุสามารถระบุได้ด้วยอุณหภูม (temperature) อุปกรณ์ท ี ่
ิ
์
ใช้วัดอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร (thermometer) หน่วยวัดอุณหภูมิที่ใช้ทั่วไปคือ องศาเซลเซียส
(degree Celsius, C) แต่การศึกษาในวิชาอุณหพลศาสตร์ใช้อุณหภูมิในหน่วย เคลวิน (Kelvin, K)
ซึ่งบางครั้งเรียกว่า อุณหภูมิสัมบูรณ์ (absolute temperature)
่
ื
ี
ี
ื
ุ
่
ี
ู
ื
้
ั
้
่
ึ
่
เมอสสารไดรบหรอคายความรอน สสารอาจมอณหภมิเปลยนไปหรออาจเปลยนจากสถานะหนง
ึ
ี
ี
ี
ไปอีกสถานะหน่งโดยอุณหภูมิไม่เปล่ยนแปลง กรณีท่สสารมีอุณหภูมิเปล่ยนไป อัตราส่วนระหว่างความร้อน
ี
ี
ท่ให้แก่สสารต่ออุณหภูมิท่เพ่มข้น เรียกว่า ความจุความร้อน (heat capacity, C) ส่วนความจุความร้อนต่อ
ิ
ึ
หนึ่งหน่วยมวลจะขึ้นกับสารแต่ละชนิด เรียกว่า ความร้อนจำาเพาะ (specific heat, c) ความร้อนที่ทำาให้
สสารเปลี่ยนอุณหภูมิคำานวณได้จากสมการ Q = mcΔT กรณีที่สสารเปลี่ยนสถานะหนึ่งไปอีกสถานะหนึ่ง
ึ
่
่
ี
โดยอุณหภูมิไมเปล่ยนแปลง ความร้อนท่ใช้ในการเปลยนสถานะของสารหน่งหน่วยมวล เรียกว่า
ี
ี
ความร้อนแฝง (latent heat, L) ความร้อนที่ทำาให้สสารเปลี่ยนสถานะคำานวณได้จากสมการ Q = mL
ความร้อนสามารถถ่ายโอนหรือส่งผ่านจากวัตถุท่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปส่อีกวัตถุหน่งท่มีอุณหภูม ิ
ึ
ู
ี
ี
ต่ำากว่าได้ การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ นำาความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนดังกล่าวจะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน เมื่อไม่มีการถ่ายโอนความร้อนให้กับ
ู
ี
้
ี
่
ั
ั
ั
้
ึ
ี
ึ
ี
่
ั
ิ
้
้
ิ
สงแวดลอมภายนอก ปรมาณความรอนทวตถุหนงสญเสยจะเท่ากบปริมาณความรอนท่อกวตถุหน่งไดรบ
่
เขียนแทนได้ด้วยสมการ Q = Q การท่วัตถุมีการถ่ายโอนความร้อนจนไม่มีการถ่ายโอนความร้อน
ี
ลด
เพิ่ม
เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากัน เรียกว่า วัตถุทั้งสองอยู่ในสมดุลความร้อน (thermal equilibrium)
สารในสถานะแก๊สประกอบด้วยโมเลกุลฟ้งกระจายเต็มภาชนะบรรจ เพ่อให้การอธิบายพฤติกรรมของ
ื
ุ
ุ
แก๊สได้ง่ายขึ้น จึงมีการสร้างแบบจำาลองแก๊สอุดมคติ (ideal gas) ขึ้นมา โดยกำาหนดให้แก๊สอุดมคติเป็น
๊
ี
ุ
ี
ุ
่
แกสท่โมเลกุลมขนาดเล็กมาก ไมมีแรงยดเหนยวระหว่างกัน มีการเคล่อนท่แบบสม และมีการชนแบบยืดหย่น
่
ี
ื
ี
ึ
่
ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊สอุดมคติมีความสัมพันธ์เป็นไปตามกฎของแก๊สอุดมคติ
(ideal gas law) เขียนแทนได้ด้วยสมการ PV = nRT = Nk T
B
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (kinetic theory of gases) เป็นการอธิบายพฤติกรรมแก๊สในระดับโมเลกุล
เพื่อนำาไปสู่การอธิบายธรรมชาติของแก๊สที่เกิดขึ้นจากโมเลกุลของแก๊สทั้งหมดที่อยู่ในระบบ เช่น อุณหภูมิ
ของแก๊ส ปริมาตรของแก๊ส และความดันของแก๊ส โดยที่ความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอัตราเร็วอาร์เอ็มเอส
1 Nm
2
ี
ของโมเลกุลของแก๊สเป็นไปตามสมการ v ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉล่ยของ
3 V rms
โมเลกุลของแก๊สกับอุณหภูมิเป็นไปตามสมการ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉล่ย
ี
ของโมเลกุลของแก๊ส ความดันกับปริมาตรของแก๊สเป็นไปตามสมการ = และความสัมพันธ์
=
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
=
140 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 141
3kT
ระหว่างอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสกับอุณหภูมิของโมเลกุลของแก๊สเป็นไปตามสมการ v rms m
B
พลังงานทั้งหมดของโมเลกุลของแก๊สที่บรรจุอยู่ในระบบ เรียกว่า พลังงานภายในระบบ (internal
energy of a system) ซึ่งจะหมายถึง พลังงานภายใน (internal energy) ของแก๊ส แทนด้วยสัญลักษณ์ U
3 3
สาหรับแก๊สอุดมคติสามารถหาพลังงานภายในระบบได้จากสมการ U Nk T nRT พลังงาน
ำ
2 B 2
ึ
ึ
ภายในระบบมีความสัมพันธ์กับความร้อนและงานซ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน เรียกว่า กฎข้อทหน่ง
ี
่
ของอุณหพลศาสตร์ (first law of thermodynamics) เขียนแทนด้วยสมการ Q = ΔU + W
ี
ี
ตามกฎข้อท่หน่งของอุณหพลศาสตร์ทาให้ทราบว่า ความร้อน (heat, Q) เป็นเพียงพลังงานท่ถ่ายโอน
ึ
ำ
ในรูปงานและพลังงานภายในระบบเท่านั้น ความรู้เรื่องพลังงานภายในระบบสามารถนำาไปประยุกต์ด้านต่าง ๆ
เช่น การทำางานของเครื่องยนต์ความร้อน ตู้เย็น และเครื่องปรับอากาศ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
142 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 143
เวลาที่ใช้
บทนี้ควรใช้เวลาสอนประมาณ 24 ชั่วโมง
16.1 ความร้อน 4 ชั่วโมง
16.2 แก๊สอุดมคติ 5 ชั่วโมง
16.3 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 8 ชั่วโมง
16.4 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์และการประยุกต์ 7 ชั่วโมง
ความรู้ก่อนเรียน
แรงดล โมเมนตัม งาน พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูนำาเข้าสู่บทที่ 16 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อตอบคำาถามว่า ความร้อนคืออะไร ตัวอย่าง
้
ำ
้
ี
ำ
ี
้
ความร้อนท่พบในชีวิตประจาวันมีอะไรบาง มนุษย์ใชประโยชน์จากความรอนในการดารงชวิตอยางไรบ้าง
่
และอาจใช้รูปนาบทนาอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่า ต้เย็นมีประโยชน์อย่างไร และ
ำ
ำ
ำ
ู
ี
เก่ยวข้องกับความร้อนอย่างไร โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และไม่คาดหวัง
คำาตอบที่ถูกต้อง
ครูชี้แจงนักเรียนว่า ในบทที่ 16 นี้ นักเรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับ อุณหพลศาสตร์ (thermodynamics)
ู
ี
ึ
ซ่งเป็นการศึกษาเก่ยวกับกระบวนการเปล่ยนแปลงระหว่างความร้อนและพลังงานกลของระบบท่อย่ใน
ี
ี
สถานะแก๊ส ของแข็ง และของเหลว โดยเน้นการอธิบายความร้อนจากพฤติกรรมของแก๊ส
ครูชี้แจงคำาถามสำาคัญที่นักเรียนต้องตอบได้หลังจากการเรียนรู้บทที่ 16 และหัวข้อที่นักเรียนจะได้
เรียนรู้ในบทเรียนนี้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
142 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 143
16.1 ความร้อน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกระดับความร้อนของวัตถุด้วยอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสและเคลวิน
2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ยนอุณหภูมิกับความจุความร้อน ความร้อนจาเพาะ และ
ำ
ี
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ำ
ี
ี
3. อธิบายการเปล่ยนสถานะของสสารท่เก่ยวข้องกับความร้อนแฝง และคานวณปริมาณต่าง ๆ
ี
ที่เกี่ยวข้อง
4. อธิบายการถ่ายโอนความร้อน สมดุลความร้อน และคำานวณปริมาตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูนำาเข้าสู่หัวข้อ 16.1 โดยอาจใช้คำาถามดังตัวอย่างต่อไปนี้
- ในการเปรียบเทียบว่าวัตถุใดร้อนมากกว่ากัน จะสามารถบอกได้อย่างไร
- เมื่อให้ความร้อนกับสาร สารจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
- ความร้อนมีผลต่อสถานะของสารอย่างไร
- ความร้อนถ่ายโอนได้หรือไม่ อย่างไร
ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
ี
ี
่
ครูช้แจงว่า ในหัวข้อท 16.1 นักเรียนจะได้ศึกษาเก่ยวกับการบอกระดับความร้อน ผลของความร้อน
ี
ที่มีต่อระดับความร้อนของสารและการเปลี่ยนสถานะของสาร และการถ่ายโอนความร้อน
16.1.1 อุณหภูมิ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
1. หน่วยของอุณหภูมิในระบบ SI คือ องศา- 1. หน่วยของอุณหภูมิในระบบ SI คือ เคลวิน
เซลเซียส
ี
2. อุณหภูมิท่เปล่ยนไปในหน่วยเคลวินเท่ากับ 2. อุณหภูมิท่เปล่ยนไปในหน่วยเคลวินเท่ากับ
ี
ี
ี
ี
ี
ี
ี
อุณหภูมิท่เปล่ยนไปในหน่วยองศาเซลเซียส อุณหภูมิท่เปล่ยนไปในหน่วยองศาเซลเซียส
บวกด้วย 273
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
144 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 145
สิ่งที่ครูต้องเตรียมล่วงหน้า
้
ำ
ถ้าจะมีการให้นักเรียนสังเกตการรับร้ความร้อนด้วยประสาทสัมผัส ให้เตรียมภาชนะบรรจุนา
ู
จำานวน 3 ใบ ที่บรรจุน้ำาเย็น น้ำาอุ่น และน้ำาร้อน ตามลำาดับ
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 1 ของหัวข้อ 16.1 ตามหนังสือเรียน
ครูนำาเข้าสู่หัวข้อที่ 16.1.1 โดยใช้รูป 16.1 ในหนังสือเรียน หรืออาจจัดกิจกรรมสาธิตโดยให้นักเรียน
สังเกตการรับรู้ความร้อนด้วยประสาทสัมผัสจากการใช้มือจุ่มลงในภาชนะบรรจุน้ำาเย็น น้ำาอุ่น และน้ำาร้อน
ั
ำ
ู
ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน จากน้น ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันโดยตอบคาถามว่า การรับร้ความร้อน
ของสิ่งต่าง ๆ จากประสาทสัมผัสมีข้อจำากัดอย่างไร จนสรุปได้ว่า ประสาทสัมผัสของมนุษย์ไม่สามารถบอก
ระดับความร้อนของส่งต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยา นักวิทยาศาสตร์จึงจาเป็นต้องค้นหาวิธีการวัดระดับความร้อน
ิ
ำ
ำ
และหามาตรฐานในการบอกระดับความร้อนขึ้น จึงเป็นที่มาของการบอกระดับความร้อนด้วยอุณหภูมิของ
้
ี
่
ำ
ี
วัตถุน้น วัตถุท่มีอุณหภูมิสูงแสดงว่ามีระดับความร้อนมาก และวัตถุท่มีอุณหภูมิตาแสดงว่ามีระดับความรอน
ั
น้อย
ี
์
ำ
ครูให้นักเรียนศึกษาเก่ยวกับเทอร์มอมิเตอร และการกาหนดสเกลอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร ์
ในหน่วยองศาเซลเซียส และเคลวิน ในหนังสือเรียน และอภิปรายร่วมกันจนสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิในหน่วยเคลวินและอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสเป็นดังสมการท (16.1) โดยอุณหภูมิท ี ่
ี
่
ี
่
ี
ี
่
่
ิ
่
่
่
ี
ั
เปลยนแปลงไปในหนวยเคลวนเทากบอณหภมทเปลยนแปลงไปในหนวยองศาเซลเซยส ตามรายละเอยด
ิ
ี
ุ
ู
ในหนังสือเรียน
ครูใช้รูป 16.3 นานักเรียนอภิปรายเก่ยวกับเทอร์มอมิเตอร์ชนิดต่าง ๆ โดยอาจให้นักเรียนสืบค้น
ี
ำ
เพิ่มเติมในเรื่องของวิธีใช้งาน จุดเด่นและข้อจำากัดในการใช้งานของเทอร์มอมิเตอร์แต่ละชนิด ซึ่งควรสรุป
ได้ว่า เทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิมีหลายรูปแบบตามลักษณะของการใช้งาน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
144 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 145
ความรู้เพิ่มเติมสำาหรับครู
เทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิมีหลายรูปแบบตามลักษณะของการใช้งาน ดังนี้
- เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสำาหรับวัดอุณหภูมิทั่วไป
เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสาหรับวัดอุณหภูมิท่วไปนิยมใช ้
ำ
ั
เทอร์มอมิเตอร์ที่มีของเหลว เช่น ปรอทหรือแอลกอฮอล์ บรรจุใน
หลอดแก้วปิด ดังรูป 16.1 เทอร์มอมิเตอร์รูปแบบนี้วัดอุณหภูมิโดย
อาศัยการหดและขยายตัวของของเหลวเมื่อได้รับความร้อน สามารถ
ใช้วัดอุณหภูมิของสารที่มีสภาพเป็นกรดหรือด่างได้ดี แต่ข้อจำากัด
ของเทอร์มอมิเตอร์นี้คือ ตัวเทอร์มอมิเตอร์ทำาจากแก้วทำาให้แตกหัก
ได้ง่าย ถ้าต้องการวัดอุณหภูมิที่สูงมาก ๆ ควรเลือกใช้เทอร์มอมิเตอร์
ที่มีปรอทเป็นของเหลวบรรจุในหลอดแก้ว เนื่องจากแอลกอฮอล์เป็น
ของเหลวที่มีจุดเดือดค่อนข้างต่ำา เมื่อใช้วัดอุณหภูมิสูงอาจระเหย
กลายเป็นไอทำาให้เทอร์มอมิเตอร์เสียหายได้
รูป 16.1 เทอร์มอมิเตอร์แบบ
ขีดสเกลสำาหรับวัดอุณหภูมิทั่วไป
- เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสำาหรับวัดอุณหภูมิสูงสุดและต่ำาสุด
เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสำาหรับวัดอุณหภูมิสูงสุดและต่ำาสุดมีชื่อเรียกว่า Six's thermo-
meter ประกอบด้วยหลอดแก้วรูปตัวยูซึ่งมีปรอทบรรจุอยู่ภายใน เหนือปรอทแต่ละด้านจะมีแท่ง
บันทึกอุณหภูมิที่ทำาจากโลหะ เหนือปรอทด้านอุณหภูมิต่ำาสุดที่อยู่ทางด้านซ้ายจะบรรจุแอลกอฮอล์
จนเต็ม ส่วนเหนือปรอทด้านอุณหภูมิสูงสุดที่อยู่ทางด้านขวาจะบรรจุแอลกอฮอล์บางส่วนทำาให้มี
ส่วนที่เป็นสุญญากาศอยู่ด้วย บริเวณด้านหลังหลอดแก้วรูปตัวยูจะมีแถบแม่เหล็ก ดังรูป 16.2
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
146 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 147
แอลกอฮอล
ญ ส ศ า ก า ญ
ก ็ ล ห เ ม แ บ ถ แ
ิ ม ภ ห ณ อ ก ึ ท น ั บ ง ท แ
น
ใ
ปรอทบรรจุ ห ว ั ต ป ร ว ก แ ด อ ล
รูป 16.2 ส่วนประกอบของเทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสำาหรับวัดอุณหภูมิสูงสุดและต่ำาสุด
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น แอลกอฮอล์ด้านซ้ายจะขยายตัว ทำาให้ปรอทดันแท่งบันทึกอุณหภูมิทาง
ด้านขวาสูงขึ้นและอยู่ในตำาแหน่งสูงที่สุดเมื่ออุณหภูมิสูงสุด เมื่ออุณหภูมิลดลง แอลกอฮอล์ด้านซ้าย
จะหดตัว ทำาให้ปรอทไปดันแท่งบันทึกอุณหภูมิทางด้านซ้ายสูงขึ้นและอยู่ในตำาแหน่งสูงที่สุดเมื่ออุณหภูมิ
ต่ำาสุด แถบแม่เหล็กที่บริเวณด้านหลังจะดูดแท่งบันทึกอุณหภูมิไว้ให้อยู่ในตำาแหน่งอุณหภูมิต่ำาสุดและ
สูงสุดที่บันทึกได้ เมื่อปรอทเคลื่อนต่ำาลงแท่งบันทึกอุณหภูมิจึงไม่ตกลงมา ถ้าต้องการวัดอุณหภูมิ
ใหม่อีกครั้ง จะต้องกดปุ่มให้แถบแม่เหล็กเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งบันทึกอุณหภูมิเพื่อให้แท่งบันทึก
ู
ื
ั
อุณหภูมิเล่อนกลับลงมาอย่ระดับเดียวกับปรอทอีกคร้ง จะสังเกตได้ว่า การวัดอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร ์
ชนิดนี้ไม่ได้อาศัยการหดและขยายตัวของปรอท
ำ
่
การอ่านอุณหภูมิสูงสุดและตาสุดให ้
ี
ี
อ่านท่ปลายล่างของแท่งบันทึกอุณหภูมิท่อย ู ่ อุณหภูมิสูงสุด
ในแถบสเกล ด้านหนึ่งจะแสดงอุณหภูมิต่ำาสุด
และอีกด้านหนึ่งจะแสดงอุณหภูมิสูงสุด เทอร์มอ-
มิเตอร์น้เหมาะกับใช้ในการศึกษาสภาพ
ี
อากาศ (weather) เพื่อบันทึกอุณหภูมิต่ำาสุด
อุณหภูมิตํ่าสุด
และสูงสุดในแต่ละวัน
ปุ มเริ่มต
น
รูป 16.3 แท่งบันทึกอุณหภูมิและปุ่มเริ่มต้น
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
146 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 147
- เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลและแบบดิจิทัลสำาหรับวัดไข้
เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลและแบบดิจิทัลสำาหรับวัดไข้ ดังรูป 16.4 นิยมใช้วัดอุณหภูมิ
ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ช่องปาก รักแร้ และทวารหนัก เทอร์มอมิเตอร์วัดไข้จะถูกออกแบบ
ให้สามารถคงค่าอุณหภูมิที่ต้องการวัดไว้ได้แม้อยู่ภายนอกสิ่งที่ต้องการวัด โดยอาจใส่แท่งบันทึก
อุณหภูมิเข้าไปข้างในตัวเทอร์มอมิเตอร์เหนือปรอท เมื่อปรอทได้รับความร้อนและขยายตัวก็จะดัน
แท่งนี้ขึ้นการอ่านอุณหภูมิจึงอ่านค่าจากตำาแหน่งที่แท่งบันทึกอุณหภูมิอยู่ หรือในบางชนิดจะมี
ขดแก้วที่กันไม่ให้ปรอทไหลย้อนกลับเมื่อหดตัว ดังรูป 16.5 เมื่อต้องการใช้งานอีกครั้งจึงจำาเป็นต้อง
สะบัดเทอร์มอมิเตอร์แรง ๆ เพื่อให้แท่งบันทึกอุณหภูมิหรือปรอทกลับสู่จุดเริ่มต้นอีกครั้ง สำาหรับ
เทอร์มอมิเตอร์วัดไข้แบบดิจิทัลจะมีวงจรไฟฟ้าช่วยบันทึกอุณหภูมิให้สามารถอ่านค่าอุณหภูมิได ้
แม้นำาออกมาจากสิ่งที่วัดอุณหภูมิ
ขดแก ว
ก. เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลสำาหรับวัดไข้
บริเวณที่ปรอทไม ไหล
ย อนกลับ
ข. เทอร์มอมิเตอร์แบบดิจิทัลสำาหรับวัดไข้
รูป 16.4 เทอร์มอมิเตอร์สำาหรับวัดไข้
รูป 16.5 ขดแก้วสำาหรับกันไม่ให้ปรอทไหล
ย้อนกลับเมื่อหดตัว
- เทอร์มอมิเตอร์แบบแถบสำาหรับวัดไข้้
เทอร์มอมิเตอร์แบบแถบสำาหรับวัดไข้ ดังรูป 16.6 อาศัยการทำางานของผลึกเหลวที่ไวต่อ
ความร้อน (heat-sensitive [thermochromic] liquid crystals) ที่เปลี่ยนสีตามอุณหภูมิ วิธีการ
วัดอุณหภูมิทำาได้โดยทาบแถบเทอร์มอมิเตอร์ลงบนหน้าผากแล้วกดเบา ๆ ประมาณ 15 วินาที
แถบสีจะค่อย ๆ ปรากฏตามระดับความร้อนของสิ่งที่ต้องการวัดจนกระทั่งไม่เปลี่ยนแปลง แถบสี
สุดท้ายที่ปรากฎจะเป็นค่าอุณหภูมิที่ต้องการวัด ดังรูป 16.7 อย่างไรก็ตาม การวัดอุณหภูมิแบบนี้มี
ความคลาดเคลื่อนสูงมาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
148 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 149
ปรากฎแถบสี ไม ปรากฎแถบส ี
รูป 16.6 เทอร์มอมิเตอร์แบบแถบ รูป 16.7 การปรากฏแถบสีของ
สำาหรับวัดไข้ ผลึกเหลวที่ไวต่อความร้อน
- เทอร์มอมิเตอร์แบบอินฟราเรด
ี
วัดอุณหภูมิจากการแผ่รังสีของวัตถุท่ม ี
ำ
ความร้อนเช่นเดียวกับการแผ่รังสีของวัตถุดา
(black body radiation) เหมาะสำาหรับการวัดอุณหภูมิ
สิ่งของโดยไม่จำาเป็นต้องสัมผัสกับสิ่งของนั้น ๆ เช่น
สิ่งของที่บอบบาง แตกหักง่าย หรือ เป็นอันตรายหาก
ต้องเข้าใกล้ ดังรูป 16.8
รูป 16.8 เทอร์มอมิเตอร์แบบอินฟราเรด
่
้
ิ
์
ำ
- เทอรมอมเตอร์แบบขีดสเกลโดยใชขดลวดโลหะประกบสาหรับวดอุณหภูมิทวไป
ั
ั
และสำาหรับวัดอุณหภูมิภายในวัตถุ
เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลโดยใช้ขดลวดโลหะประกบสำาหรับวัดอุณหภูมิทั่วไป ดังรูป 16.9
ภายในบรรจุขดลวดทำาจากโลหะ 2 ชนิดประกบกันที่เรียกว่า bimetallic coil ดังรูป 16.10
วัดอุณหภูมิโดยอาศัยความแตกต่างของการหดและขยายตัวของโลหะ 2 ชนิดเมื่อได้รับความร้อน
นิยมใช้ในการวัดอุณหภูมิสิ่งของที่มีพื้นที่จำากัด เช่น ภายในตู้เย็น ภายในเตาอบ เป็นต้น นอกจากนี้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
148 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 149
ยังมีการออกแบบให้มีแท่งโลหะสำาหรับสอดเข้าไปวัดอุณหภูมิภายในวัตถุที่ต้องการวัด ดังรูป 16.11
เช่น การวัดอุณหภูมิของเนื้อย่าง การวัดอุณหภูมิของดิน เป็นต้น แต่เนื่องจากส่วนที่ใช้วัดอุณหภูมิ
ของเทอร์มอมิเตอร์แบบนี้เป็นแท่งโลหะ จึงอาจไม่เหมาะกับการวัดอุณหภูมิของสิ่งที่มีสภาพเป็น
กรดและด่างสูง
ขดลวด
รูป 16.9 เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลโดยใช้ขดลวด รูป 16.10 ขดลวดทำาจากโลหะ 2 ชนิดประกบ
โลหะประกบสำาหรับวัดอุณหภูมิทั่วไป
รูป 16.11 เทอร์มอมิเตอร์แบบขีดสเกลโดยใช้ขดลวดโลหะประกบสำาหรับวัดอุณหภูมิภายในวัตถุ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
150 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 151
16.1.2 ความจุความร้อนและความร้อนจำาเพาะ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ี
1. วัตถุต่างชนิดกันท่มีมวลเท่ากันและอุณหภูม ิ 1. วัตถุต่างชนิดกันท่มีมวลเท่ากันและอุณหภูม ิ
ี
เท่ากัน เมื่อได้รับความร้อนปริมาณเท่ากัน เท่ากัน เม่อได้รับความร้อนปริมาณเท่ากัน
ื
ึ
ึ
จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่ากัน จะมีอุณหภูมิเพ่มข้นแตกต่างกันข้นกับ
ิ
สมบัติของสารแต่ละชนิด
2. สารชนิดเดียวกันแต่มีมวลต่างกัน จะมีความจ ุ 2. สารชนิดเดียวกันแต่มีมวลต่างกัน จะมีความจ ุ
ำ
ความร้อนและความร้อนจำาเพาะต่างกัน ความร้อนต่างกันแต่มีความร้อนจาเพาะ
เท่ากัน
สิ่งที่ครูต้องเตรียมล่วงหน้า
ถ้าจะมีการให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิระหว่างทรายและน้ำา ให้เตรียมภาชนะ 2 ใบ
้
่
ุ
้
ำ
ำ
ี
ั
ุ
บรรจุทรายและนาท่มีมวลเท่ากันและมีอุณหภูมิเทากับอณหภูมิหอง และเทอร์มอมิเตอร์สาหรบวัดอณหภูม ิ
จำานวน 2 อัน
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 2 ของหัวข้อ 16.1
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.1.2 โดยยกสถานการณ์วัตถุท่ได้รับความร้อนแล้วมีอุณหภูมิเพ่มข้น เช่น การ
ิ
่
ี
ี
ู
ำ
ึ
ื
ั
ั
ั
เผาโลหะต่างชนิดกนท่มมวลเท่ากน หรืออาจจดกิจกรรมสาธตเพ่อสงเกตการเปล่ยนแปลงอณหภมิของ
ิ
ู
ี
ี
ุ
ั
ี
ำ
ำ
ี
ื
ทรายและนาท่มีมวลเท่ากันเม่อนาไปวางกลางแดดในเวลาเท่ากัน จากน้น ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน
้
ั
ิ
ำ
โดยตอบคาถามว่า เม่อวัตถุต่างชนิดกันมีมวลเท่ากันและมีอุณหภูมิเร่มต้นเท่ากันได้รับความร้อนในปริมาณ
ื
เท่ากัน วัตถุนี้จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
ื
ำ
ั
อย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า เม่อให ้
ี
ิ
ความร้อนกับวัตถุจะทาให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงข้น โดยวตถุต่างชนิดกันแม้จะมีมวลเท่ากันและมีอุณหภูมิเร่มต้น
ำ
ึ
ั
เท่ากันอาจจะมีอุณหภูมิเปล่ยนแปลงไปไม่เท่ากัน การเปล่ยนแปลงอุณหภูมิของวัตถุเม่อได้รับความร้อนจึง
ี
ี
ื
ขึ้นอยู่กับชนิดของสาร
ครูให้นักเรียนศึกษาเก่ยวกับความจุความร้อนและความร้อนจาเพาะตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ี
ำ
ี
ึ
ี
จนสรุปได้ว่า ความจุความร้อน คือ อัตราส่วนระหว่างความร้อนท่ให้กับวัตถุต่ออุณหภูมิท่เพ่มข้นตาม
ิ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
150 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 151
ี
ั
ำ
ี
ึ
สมการ (16.2) ในหนังสือเรียน ซ่งคือ ความร้อนท่ทาให้วัตถุน้นๆ มีอุณหภูมิเปล่ยนไปในหน่งหน่วย
ึ
ำ
องศาเซลเซียส ส่วนความร้อนจาเพาะ คือ ความจุความร้อนต่อหน่งหน่วยมวล ตามสมการ (16.3) ใน
ึ
ำ
ี
ึ
หนังสือเรียน ความร้อนจาเพาะมีค่าข้นกับสารแต่ละชนิด โดยท่วัตถุชนิดเดียวกันแต่มีมวลต่างกันจะม ี
ความร้อนจาเพาะเท่ากันเสมอ แต่อาจมีความจุความร้อนไม่เท่ากัน กล่าวคือ วัตถุท่มีมวลมากจะมีความจ ุ
ี
ำ
้
ี
ุ
ั
ี
ุ
ี
ี
ำ
ุ
่
ความรอนมาก สวนวตถท่มมวลนอยจะมความจความรอนน้อย และความรอนท่ทาให้สสารเปลยนอณหภูม ิ
้
ี
้
้
่
จะขึ้นอยู่กับชนิดของสาร มวล และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ตามสมการ (16.4) ในหนังสือเรียน จากนั้น ครูให้
นักเรียนศึกษาความร้อนจำาเพาะของสารบางชนิดตามตารางที่ 16.1 ในหนังสือเรียน
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.1 และ 16.2 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
16.1.3 ความร้อนแฝง
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ี
1. เม่อให้ความร้อนกบสาร จะทาให้สารน้นม ี 1. เม่อให้ความร้อนกับสารในขณะท่สารเปล่ยน
ั
ำ
ื
ั
ื
ี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเสมอ สถานะ อุณหภูมิของสารนั้นจะคงตัว
ำ
ี
ำ
ี
2. สำาหรับสารใด ๆ ความร้อนที่ทำาให้สารเปลี่ยน 2. สาหรับสารใด ๆ ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยน
่
ั
สถานะจากของแขงเปนของเหลวมคาเทากบ สถานะจากของแข็งเป็นของเหลวมีค่าเท่ากับ
่
็
็
ี
ี
ี
ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยนสถานะจากของ ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยนสถานะจากของ
ี
ำ
ี
ำ
เหลวเป็นแก๊ส เหลวเป็นแก๊ส
ี
ำ
ี
ี
3. สาหรับสารใดๆ ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยน 3. สาหรับสารใดๆ ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยน
ำ
ี
ำ
ำ
สถานะจากของแข็งเป็นของเหลว มีค่าไม่เท่ากับ สถานะจากของแข็งเป็นของเหลว มีค่าเท่ากับ
ี
ำ
ี
ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยนสถานะจากของ ความร้อนท่ทาให้สารเปล่ยนสถานะจากของ
ี
ำ
ี
เหลวเป็นของแข็ง เหลวเป็นของแข็ง
สิ่งที่ครูต้องเตรียมล่วงหน้า
้
ถ้าจะมีการให้นักเรียนสังเกตอุณหภูมิขณะท่นาแข็งกาลังหลอมเหลวและนากาลังเดือดให้เตรียม
ำ
ำ
ำ
ี
้
ำ
ำ
ำ
ึ
ภาชนะ 2 ใบ โดยใบหน่งบรรจนาแข็งและอีกใบหน่งบรรจนา ตะเกยงแอลกอฮอลหรือเตาสาหรับให ้
ุ
้
ำ
ุ
์
ี
้
ึ
ความร้อน จำานวน 1 อัน เทอร์มอมิเตอร์และขาจับเทอร์มอมิเตอร์ จำานวน 2 ชุด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
152 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 153
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 3 ของหัวข้อ 16.1 ตามหนังสือเรียน
ครูนำาเข้าสู่หัวข้อที่ 16.1.3 โดยใช้รูป 16.4 ในหนังสือเรียน หรืออาจจัดกิจกรรมสาธิตโดยให้นักเรียน
สังเกตอุณหภูมิของน้ำาแข็งในขณะที่กำาลังหลอมเหลว และอุณหภูมิของน้ำาในขณะที่กำาลังเดือด จากนั้น ให้
ำ
้
ื
ำ
ี
ำ
ำ
นักเรียนอภิปรายร่วมกันโดยตอบคาถามว่า เม่อให้ความร้อนกับนาแข็งท่กาลังหลอมเหลว อุณหภูมิของนาแข็ง
้
่
ี
ี
ำ
้
ำ
ื
้
ี
มีการเปล่ยนแปลงหรือไม อย่างไร และเม่อให้ความร้อนกับนาท่กาลังเดือด อุณหภูมิของนามีการเปล่ยนแปลง
ำ
หรือไม่ อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า เม่อให้ความร้อนในขณะท่สารกาลังเปล่ยนสถานะ
ื
ำ
ี
ี
อุณหภูมิของสารจะมีค่าคงตัว และความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารมวล 1 หน่วย โดยอุณหภูมิ
ไม่เปลี่ยน เรียกว่า ความร้อนแฝง ความร้อนดังกล่าวหาได้จากสมการ (16.5) ในหนังสือเรียน
ครูให้นักเรียนศึกษาความร้อนแฝงของสารบางชนิดแสดงในตารางที่ 16.2 ในหนังสือเรียน และนำา
ึ
ี
นักเรียนอภิปรายเก่ยวกับสารบางชนิดท่มีการเปล่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊สซ่งเรียกว่าการระเหิด เช่น
ี
ี
น้ำาแข็งแห้ง และการบูร ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.3 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
ความรู้เพิ่มเติมสำาหรับครู
จุดเดือดของของเหลวมีค่าขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ เช่น น้ำาจะมีจุดเดือดที่อุณหภูมิ
100 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ซึ่งอยู่ในระดับน้ำาทะเล แต่ถ้าความดันต่ำากว่า
1 บรรยากาศ เช่น บนยอดเขาสูง น้ำาจะเดือดที่อุณหภูมิต่ำากว่า 100 องศาเซลเซียส ถ้า
ความดันมากกว่า 1 บรรยากาศเช่น ในหม้ออัดความดัน น้ำาจะเดือดที่อุณหภูมิสูงกว่า 100
องศาเซลเซียส จึงนิยมนำาหม้อชนิดนี้มาใช้สำาหรับฆ่าเชื้อ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
152 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 153
16.1.4 การถ่ายโอนความร้อนและสมดุลความร้อน
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ึ
ำ
1. การถ่ายโอนความร้อนเกิดข้นได้โดย 1. การถ่ายโอนเกิดข้นได้โดยการนาความร้อน
ึ
นาความรอน การพาความร้อน และการแผ ่ การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน
ำ
้
รังสีความร้อน ซ่งไม่สามารถเกิดข้นพร้อม ซึ่งสามารถเกิดขึ้นพร้อมกันได้
ึ
ึ
กันได้
2. ความร้อนจะถ่ายโอนจากบริเวณท่ม ี 2. ความร้อนจะถ่ายโอนจากบริเวณท่ม ี
ี
ี
ี
่
ความร้อนมากไปยังบริเวณท่มีความร้อนน้อย อุณหภูมิสูงไปยังบริเวณท่มีอุณหภูมิตา
ี
ำ
และหยุดถ่ายโอนเม่อความร้อนของท้งสอง และหยุดถ่ายโอนเมื่ออุณหภูมิของท้งสอง
ื
ั
ั
บริเวณเท่ากัน บริเวณเท่ากัน
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 4 ของหัวข้อ 16.1 ตามหนังสือเรียน
ู
ี
่
ำ
ื
ำ
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.1.4 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า การถ่ายโอนความร้อน
ั
สามารถเกิดข้นได้อย่างไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า
ึ
การถายโอนความรอนม 3 แบบ คอ การนาความรอน การพาความรอน และการแผรงสความรอน
้
้
้
ื
ี
ั
ำ
่
่
้
ี
ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ครูใช้รูป 16.7 ในหนังสือเรียน นานักเรียนอภิปรายเก่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนจากเปลวไฟท่ต้มนา
ี
ี
ำ
ำ
้
สู่มือ จนสรุปได้ว่า การถ่ายโอนความร้อนสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งจากการนำาความร้อน การพาความร้อน และ
การแผ่รังสีความร้อน วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีพร้อมกัน ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ื
ื
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า การถ่ายโอนความร้อนเกิดข้นเม่อใด
ำ
ึ
ี
และเก่ยวข้องกับอุณหภูมิอย่างไร โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ำ
ำ
ี
ี
ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง แล้วนานักเรียนอภิปรายเก่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนและสมดุลความร้อน
ื
ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนจนสรุปได้ว่า การถ่ายโอนความร้อนเกิดข้นเม่อสองบริเวณมีอุณหภูม ิ
ึ
ั
ึ
แตกต่างกัน และการถ่ายโอนความร้อนจะเกิดข้นจนกระท่งท้งสองบริเวณมีอุณหภูมิเท่ากัน การถ่ายโอน
ั
ความร้อนดังกล่าวจะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน คานวณได้จากสมการ (16.6) ในหนังสือเรียน
ำ
ั
ื
ู
ิ
ี
จากน้น ครูให้ความร้เพ่มเติมว่า การท่วัตถุมีการถ่ายโอนความร้อนจนไม่มีการถ่ายโอนความร้อนเม่อม ี
อุณหภูมิเท่ากัน เรียกว่า วัตถุทั้งสองอยู่ในสมดุลความร้อน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
154 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 155
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.4 และ 16.5 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
ครูให้นักเรียนตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.1 และทาแบบฝึกหัด 16.1 โดยครูอาจมีการ
ำ
ำ
เฉลยคำาตอบและอภิปรายคำาตอบร่วมกัน
แนวการวัดและประเมินผล
1. ความรู้เกี่ยวกับความร้อน จากการตอบคำาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.1 และการทำาแบบฝึกหัด
16.1
2. ทักษะการแก้ปัญหาและการใช้จำานวนจากการคำานวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความร้อน
3. จิตวิทยาศาสตร์/เจตคติด้านความมีเหตุผล และความรอบคอบ จากการอภิปรายร่วมกัน และจาก
การทำาแบบฝึกหัด 16.1
แนวคาตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.1
ำ
ำ
1. เหตุใดอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปในหน่วยเคลวินจึงมีค่าเท่ากับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปในหน่วยองศาเซลเซียส
ื
แนวคำาตอบ เน่องจากช่วงสเกลอุณหภูมิในหน่วยเคลวินมีค่าเท่ากับช่วงสเกลอุณหภูมิในหน่วย
องศาเซลเซียส
2. ความจุความร้อนและความร้อนจำาเพาะเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
แนวคำาตอบ ไม่เหมือนกัน โดยที่ ความจุความร้อน คือ อัตราส่วนระหว่างความร้อนที่ให้แก่วัตถุ
ึ
ึ
ิ
ี
ต่ออุณหภูมิท่เพ่มข้น ซ่งมีค่าไม่คงตัว ส่วนความร้อนจาเพาะ คือ ความจุความร้อนต่อหน่งหน่วยมวล
ำ
ึ
และจะมีค่าคงตัวขึ้นกับสารแต่ละชนิด
3. ในขณะที่ประกอบอาหารภายในห้องครัวโดยใช้ความร้อนจากเปลวไฟ เพราะเหตุใด คนที่อยู่ภายใน
ครัวจึงรู้สึกว่าได้รับความร้อนจากเปลวไฟนั้น
ี
ู
แนวคำาตอบ คนท่อย่ภายในครัวได้รับความร้อนจากเปลวไฟเน่องจากมีการพาความร้อนโดย
ื
โมเลกุลอากาศ และการแผ่รังสีความร้อน
4. การถ่ายโอนความร้อนเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงานหรือไม่ อย่างไร
แนวคำาตอบ การถ่ายโอนความร้อนเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวคือ ถ้าไม่มีการ
ึ
้
ี
ี
ิ
ถ่ายโอนความร้อนให้กับส่งแวดล้อมภายนอก ความร้อนท่วัตถุหน่งให (ความร้อนท่ลดลง) จะเท่ากับ
ความร้อนที่อีกวัตถุหนึ่งได้รับ (ความร้อนที่เพิ่มขึ้น)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
154 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 155
้
้
ำ
ี
ี
ำ
ี
5. ถ้าใส่ตะปูท่เผาจนร้อนลงในแก้วท่มีนาพอสมควร อุณหภูมิของนาและตะปูจะเปล่ยนแปลง
อย่างไร เมื่อปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานาน อุณหภูมิของน้ำาและตะปูจะเป็นอย่างไร
ึ
ื
ี
ิ
้
ำ
้
ี
ำ
แนวคำาตอบ เม่อใส่ตะปูท่เผาจนร้อนลงในแก้วท่มีนาพอสมควร อุณหภูมิของนาจะเพ่มข้นและ
อุณหภูมิของตะปูจะลดลง เมื่อปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานาน อุณหภูมิของน้ำาและตะปูจะเท่ากัน
เฉลยแบบฝึกหัด 16.1
1. จงเปลี่ยนอุณหภูมิต่อไปนี้
ก. 30 C, −10 C, 110 C และ 12.15 C เป็นอุณหภูมิในหน่วยเคลวิน
ข. 30 K, 250 K, 330 K และ 373.15 K เป็นอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
วิธีทำา ก. จากความสัมพันธ์ T = t + 273.15
เมื่อ t = 30 C จะได้ T = (30 + 273.15)K = 303.15 K
เมื่อ t = −10 C จะได้ T = (−10 + 273.15)K = 263.15 K
เมื่อ t = 100 C จะได้้ T = (110 + 273.15)K = 383.15 K
เมื่อ t = 12.15 C จะได้้ T = (12.15 + 273.15)K = 285.30 K
ข. จากความสัมพันธ์ t = T − 273.15
เมื่อ T = 30 K จะได้ t = (30 − 273.15) C = −3243.15 C
เมื่อ T = 250 K จะได้ t = (250 − 273.15) C = −23.15 C
เมื่อ T = 330 K จะได้้ t = (330 − 273.15) C = −56.85 C
้้
เมื่อ T = 373.15 K จะได t = (373.15 − 273.15) C = 100.00 C
ตอบ ก. 303 K, 263 K, 383 K และ 285.30 K
ข. –243 C, –23 C, –57 C และ 100.00 C
2. โลหะชนิดหน่งมวล 2.0 กิโลกรัม ได้รับความร้อน 2500 จูล ทาให้อุณหภูมิเปล่ยนจาก 25
ี
ำ
ึ
องศาเซลเซียส เป็น 45 องศาเซลเซียส จงหาความจุความร้อนและความร้อนจำาเพาะของวัตถุนี้
วิธีทำา จาก C = Q
T
แทนค่า C = 2500 J
(4525) C
= 125 J/ C
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
156 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 157
ดังนั้น C = 125 J/K
จาก c = C
m
แทนค่า c = 125 J/K
2.0 kg
ดังนั้น C = 62.5 J/kg K
ำ
ตอบ วัตถุน้มีความจุความร้อนเท่ากับ 125 จูลต่อเคลวิน และมีความร้อนจาเพาะเท่ากับ 62.5
ี
จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
ำ
้
ำ
ี
3. จงหาความร้อนท่ทาให้นาแข็งมวล 2 กิโลกรัม อุณหภูม 0 องศาเซลเซียส หลอมเหลวเป็นนา
ำ
้
ิ
ิ
้
ำ
ี
อุณหภูม 0 องศาเซลเซียส ท่ความดัน 1 บรรยากาศ กาหนดให ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว
5
ของน้ำาแข็ง (L) เท่ากับ 3.33 × 10 จูลต่อกิโลกรัม
f
วิธีทำา น้ำาแข็งเปลี่ยนสถานะ (หลอมเหลว) เป็นน้ำาโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยน ความร้อนที่ใช้ในการ
เปลี่ยนสถานะ (หลอมเหลว) เป็นความร้อนแฝง
จาก Q = mL f
5
แทนค่า Q = (2 kg)(3.33 × 10 J/kg)
= 666 000 J
ดังนั้น Q = 666 kJ
ตอบ ปริมาณความร้อนที่ใช้ในการหลอมเหลวน้ำาแข็งมวล 2 กิโลกรัม เท่ากับ 666 กิโลจูล
ำ
4. การทาให้นามวล 0.5 กิโลกรัม 0 องศาเซลเซียส เป็นไอนา 100 องศาเซลเซียส ต้องใช ้
ำ
้
ำ
้
ความร้อนเท่าใด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ กำาหนดให้ความร้อนจำาเพาะของน้ำา (c water ) เท่ากับ
ำ
้
4186 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน และความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของนา (L ) เท่ากับ
v
5
22.56 × 10 จูลต่อกิโลกรัม
วิธีทำา หาความร้อนที่ทำาให้น้ำา 0 C เป็นน้ำา 100 C
จาก Q = mc ΔT
1 water
แทนค่า Q = (0.5 kg)(4186 J/kg K)(100 K)
1
= 209 300 J
= 209.3 kJ
หาความร้อนในการเปลี่ยนสถานะจากน้ำา100 C เป็นไอน้ำาอุณหภูมิ 100 C ทั้งหมด
จาก Q = mL
2 v
5
แทนค่า Q = (0.5 kg)(22.56 × 10 J/kg)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
156 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 157
= 1 128 000 J
= 1128 kJ
ดังนั้น ความร้อนที่ใช้ทั้งหมด = Q + Q
1 2
= 209.3 kJ + 1128 kJ
= 1337.3 kJ
ตอบ ต้องใช้ความร้อนเท่ากับ 1337.3 กิโลจูล
5. นำาก้อนโลหะมวล 300 กรัม ที่มีอุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ใส่ลงในน้ำาแข็งที่มีมวล 300 กรัม
ู
ิ
ึ
ี
้
ำ
ุ
ี
อุณหภูม 0 องศาเซลเซียส ซ่งอย่ในภาชนะท่ถูกห้มรอบด้วยฉนวนความร้อน ในท่สุดนาแข็ง
หลอมเหลวหมดกลายเป็นน้ำาที่มีอุณหภูมิ 5.0 องศาเซลเซียส จงหา
ก. ความร้อนที่ออกจากก้อนโลหะ
ข. ความร้อนจำาเพาะของโลหะที่ได้จากการทดลองนี้
้
่
ี
ุ
วิธีทำา ท่สมดลความร้อน พบวา ความรอนทถายโอนจากกอนโลหะเทากบความรอนทนาแขงไดรบ
่
้
่
่
ี
ั
ำ
้
่
ั
้
็
ี
้
้
้
ี
ำ
ก. เม่อพิจารณา ความร้อนท่นาแข็งได้รับ เท่ากับ Q ซ่งทาให้นาแข็งเปล่ยนสถานะและ
ึ
ี
ำ
ำ
ื
1
มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
จาก Q = mL + mcΔT
-3 3 3
ในที่นี้ m = 300 × 10 kg, L = 333 × 10 J/kg, c = 4.186 × 10 J/kg K
และ ΔT = 5 C − 0 C = 5 C หรือ 5 K
-3 3
่
แทนคา Q = (300 × 10 kg)(333 × 10 J/kg)
1
-3 3
+ (300 × 10 kg)(4.186 × 10 J/kg K)(5 K)
= 99 900 J + 6279 J
ดงนน Q = 106 179 J
ั
้
ั
1
ข. พิจารณา ความร้อนที่ถ่ายโอนจากก้อนโลหะ เท่ากับ Q 2
จาก Q = mcΔT
ในที่นี้ m = 300 × 10 kg, ΔT = 400 C − 5 C = 395 C หรือ 395 K
-3
-3
แทนคา Q = (300 × 10 kg) c (395 K)
่
2
เนื่องจาก Q = Q จะได้
2
1
-3
106 179 J = (300 × 10 kg) c (395 K)
c = 896 J/kg K
ตอบ ก. ความร้อนออกจากก้อนโลหะเท่ากับ 106 กิโลจูล
ข. ความร้อนจำาเพาะของโลหะเท่ากับ 896 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
158 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 159
16.2 แก๊สอุดมคติ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายแบบจำาลองของแก๊สอุดมคติ
2. อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติและคำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สิ่งที่ครูต้องเตรียมล่วงหน้า
ี
ถ้าจะให้นักเรียนสังเกตรูปร่างของแก๊สท่เปล่ยนตามรูปทรงของภาชนะท่บรรจุให้เตรียมลูกโป่ง
ี
ี
ทรงกลม 1 ลูก ถุงมือยาง 1 อัน และท่อกลวง จำานวน 1 อัน
แนวการจัดการเรียนรู้
ำ
ู
ำ
ครูนาเข้าส่หัวข้อ 16.2 โดยใช้รูป 16.8 ในหนังสือเรียน หรือจัดกิจกรรมสาธิตโดยนาถุงมือยางมาต่อ
ี
ั
กับท่อกลวงท่ปลายข้างหน่ง จากน้นเป่าลมเข้าไปในลูกโป่งทรงกลมแล้วนามาต่อเข้ากับท่อกลวงท่ปลาย
ำ
ี
ึ
ึ
ำ
ื
ื
อีกข้างหน่ง ดังรูป 16.12 ก. แล้วให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า ถ้าใช้มือบีบลูกโป่งทรงกลมเพ่อ
ื
ี
ี
ั
ู
ให้แก๊สท้งหมดท่อย่ในลูกโป่งทรงกลมเคล่อนท่เข้าไปในถุงมือยาง แก๊สดังกล่าวจะมีปริมาตรและรูปทรง
ำ
่
ี
ี
เปล่ยนไปหรือไม อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง
ี
ื
ั
จากน้น ครูนานักเรียนอภิปรายจนสรุปได้ว่า เม่อปล่อยให้แก๊สท่อย่ในลูกโป่งทรงกลมเคล่อนท่เข้าไปยัง
ื
ำ
ี
ู
ถุงมือยาง ดังรูป 16.12 ข. แก๊สจะมีปริมาตรและรูปทรงเปล่ยนแปลงไปจากทรงกลมเหมือนลูกโป่งเป็น
ี
รูปมือเหมือนถุงมือยาง นั่นคือ แก๊สมีรูปทรงและปริมาตรเปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะที่บรรจุ
ก.ปริมาตรและรูปทรงของแก๊สเมื่ออยู่ในลูกโป่งทรงกลม ข. ปริมาตรและรูปทรงของแก๊สเมื่ออยู่ในถุงมือยาง
รูป 16.12 ปริมาตรและรูปทรงของแก๊สเมื่อภาชนะที่บรรจุเปลี่ยนแปลงไป
์
ั
ั
ู
ั
่
ครถามนกเรยนวา ปรมาตร ความดน อณหภมของแกสมความสมพนธกนหรอไม อยางไร ครเปด
่
ู
ื
ิ
ั
ิ
ุ
ั
ิ
่
ี
ู
ี
๊
โอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูช้แจงว่า ในหัวข้อท ี ่
ั
ี
ี
ำ
ี
16.2 นักเรียนจะได้ศึกษาเก่ยวกับแบบจาลองแก๊สอุคมคต และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน
ิ
ำ
อุณหภูมิของแก๊ส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
158 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 159
16.2.1 แบบจำาลองแก๊สอุดมคติ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
-
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 5 ของหัวข้อ 16.2 ตามหนังสือเรียน
ครูนำาเข้าสู่หัวข้อที่ 16.2.1 โดยใช้รูป 16.9 ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับพฤติกรรมของแก๊ส
ในธรรมชาติว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างจากพฤติกรรมของแก๊สในอุดมคติอย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียน
ั
ี
่
้
ิ
แสดงความคิดเห็นอย่างอสระ ไม่คาดหวังคาตอบทถูกตอง จากน้น ครูให้นักเรียนศึกษาสมบัติของแก๊ส
ำ
ำ
ในอุดมคติในหนังสือเรียน และให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า แบบจาลองของแก๊สอุดมคต ิ
ื
ถูกสร้างข้นเพ่อให้การอธิบายพฤติกรรมของแก๊สได้ง่ายข้น โดยแก๊สอุดมคติเป็นแก๊สท่โมเลกุลมีขนาดเล็กมาก
ี
ึ
ึ
ี
ุ
ุ
ื
ี
ไม่มีแรงยึดเหน่ยวระหว่างกัน มีการเคล่อนท่แบบส่ม และมีการชนแบบยืดหย่น ตามรายละเอียดใน
หนังสือเรียน
16.2.2 กฎของแก๊สอุดมคติ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
1. ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊ส 1. ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊สม ี
ไม่มีความสัมพันธ์กัน ในทุกสถานการณ์ ความสัมพันธ์กันตามกฎของแก๊สอุดมคต ิ
เมื่ออยู่ในระบบปิด
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 6 ของหัวข้อ 16.2 ตามหนังสือเรียน
ู
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.2.2 โดยทบทวนความร้เก่ยวกับกฎของบอลย กฎของชาร์ล และกฎของเกย์-
ี
ู
ำ
่
์
ี
ลูสแซก ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน จากน้น ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันโดยตอบคาถามว่า ถ้านา
ำ
ำ
ั
ั
ื
กฎของแก๊สท้งสามมารวมกันเพ่อหาความสัมพันธ์จะได้สมการเป็นอย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดง
ั
ำ
ำ
ี
ความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูนานักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า
ำ
้
ิ
กฎของแก๊สสามารถนามารวมกันได ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนจนได้กฎของแก๊สอุดมคต ดังสมการ
(16.7) และ (16.8)
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.6 16.7 และ 16.8 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
ครูให้นักเรียนตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.2 และทาแบบฝึกหัด 16.2 โดยครูอาจมีการเฉลย
ำ
ำ
คำาตอบและอภิปรายคำาตอบร่วมกัน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
160 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 161
แนวการวัดและประเมินผล
ี
ำ
ิ
ำ
ู
1. ความร้เก่ยวกับแก๊สอุดมคต จากการตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.2 และการทาแบบฝึกหัด
16.2
2. ทักษะการแก้ปัญหาและการใช้จำานวนจากการคำานวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแก๊สอุดมคติ
3. จิตวิทยาศาสตร์/เจตคติด้านความมีเหตุผล และความรอบคอบ จากการอภิปรายร่วมกัน และจาก
การทำาแบบฝึกหัด 16.2
แนวคาตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.2
ำ
ำ
1. แก๊สสามารถถูกบีบอัดให้มีปริมาตรลดลงจากเดิมได้มาก เพราะเหตุใด
แนวคำาตอบ เพราะโมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันทำาให้มีที่ว่างระหว่างโมเลกุลมาก
2. แก๊สอุดมคติมีสมบัติอย่างไร
ี
แนวคำาตอบ แก๊สอุดมคติเป็นแก๊สท่โมเลกุลมีขนาดเล็กมาก ไม่มีแรงยึดเหน่ยวระหว่างโมเลกุล
ี
มีการเคลื่อนที่แบบสุ่มและมีการชนแบบยืดหยุ่น
3. ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สอุดมคติในภาชนะปิดมีความสัมพันธ์กันหรือไม ่
อย่างไร
แนวคำาตอบ ความดัน P ปริมาตร V และ อุณหภูมิ T ของแก๊สอุดมคติ มีความสัมพันธ์เป็นไป
ตามกฎของแก๊สอุดมคติ คือ PV = nRT หรือ PV = Nk T
B
4. พิจารณากระบอกสูบ 2 กระบอก กระบอกสูบแรกมีปริมาตรเป็นสองเท่าของกระบอกสูบที่สอง
ั
กระบอกสูบท้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน และบรรจุด้วยแก๊สชนิดเดียวกัน จะหาความดันของแก๊ส
ภายในกระบอกสูบทั้งสองได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคำาตอบ ไม่สามารถหาความดันของแก๊สภายในกระบอกสูบได้ เพราะไม่ทราบจำานวนโมล
๊
ื
หรือจานวนโมเลกุลของแกสภายในกระบอกสูบ เน่องจากกฎของแก๊สอุดมคต (PV = nRT หรอ
ื
ำ
ิ
PV = Nk T) แม้ทราบค่าปริมาตร (V) และอุณหภูมิ (T) จากโจทย์ แต่ยังไม่เพียงพอสำาหรับ
B
ั
ื
ำ
่
๊
ั
การหาความดนของแกสภายในกระบอกสูบ (P ) เนองจากยงไม่ทราบคาจานวนโมล (n) หรอ
่
ื
จำานวนโมเลกุล (N) ของแก๊สภายในกระบอกสูบ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
160 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 161
เฉลยแบบฝึกหัด 16.2
์
1. ยางรถยนต์มีความดันอากาศภายในยางรถยนต 200 กิโลพาสคัล และมีอุณหภูมิ 283 เคลวิน
ี
ื
ิ
ึ
้
หลังจากรถเคล่อนท่ไปได 100 กิโลเมตร อุณหภูมิของอากาศในยางรถยนต์เพ่มข้นเป็น 313 เคลวิน
จงหาความดันของอากาศในยางรถยนต์ตอนหลังนี้ กำาหนดให้ปริมาตรยางคงตัว
PV PV
วิธีทำา จาก 1 1 = 2 2
T 1 T 2
11
จะได้ P 2 = PV T 2 2
TV
1
5
แทนค่า P 2 = (2.0010Pa)(V) (313 K)
(V)
(283K)
ดังนั้น P = 2.21 × 10 Pa
5
2
ตอบ ความดันอากาศภายในยางรถยนต์ตอนหลังเท่ากับ 221 กิโลพาสคัล
5
2. พิจารณาภาชนะท่มีปริมาตรคงตัว บรรจุแก๊สอาร์กอนมีความดัน 3.00 × 10 พาสคัล ท่อุณหภูม ิ
ี
ี
300 เคลวิน เม่อเพ่มอุณหภูมิของภาชนะเป็น 400 เคลวิน หลังจากน้นแก๊สร่วไหลออกจาก
ั
ั
ิ
ื
ภาชนะคิดเป็นร้อยละ 20 ของปริมาณแก๊สเริ่มต้น จงหา
ก. ความดันของแก๊สอาร์กอนภายในภาชนะก่อนแก๊สรั่ว ขณะที่มีอุณหภูมิ 400 เคลวิน
ข. ความดันของแก๊สอาร์กอนภายในภาชนะหลังแก๊สรั่ว ขณะที่มีอุณหภูมิ 400 เคลวิน
วิธีทำา ก. จากกฎของแก๊สอุดมคติ PV = nRT
PV PV
จะได้ 11 = 22
nT nT
11
22
P P
ก่อนรั่ว V และ n คงตัว จะได้ 1 = 2
T 1 T 2
5
3.00 10 Pa P
แทนค่า = 2
300 K 400 K
5
ดังนั้น P = 4.00 × 10 Pa
2
P P
ข. หลังรั่ว V และ T คงตัว จะได้ 2 = 3
n 2 n 3
5
4.00 10 Pa P
แทนค่า = 3
n 2 (0.80)n 2
ดังนั้น P = 3.20 × 10 Pa
5
3
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
162 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 163
5
ตอบ ก. ความดันของแก๊สอาร์กอนภายในภาชนะก่อนแก๊สรั่ว เท่ากับ 4.00 × 10 พาสคัล
5
ข. ความดันของแก๊สอาร์กอนภายในภาชนะหลังแก๊สรั่ว เท่ากับ 3.20 × 10 พาสคัล
16.3 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
จุดประสงค์การเรียนรู้
ำ
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลแก๊ส และคานวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
์
ิ
2. อธบายความสัมพนธระหวางพลงงานจลนเฉล่ยของแก๊สกับอณหภม และคานวณปรมาณตาง ๆ
ิ
ุ
ั
ิ
ู
ำ
่
ี
์
ั
่
ที่เกี่ยวข้อง
ิ
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊สกับอุณหภูม และ
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สิ่งที่ครูต้องเตรียมล่วงหน้า
ื
ี
จะมีการให้นักเรียนสังเกตการเปล่ยนแปลงความดันของแก๊สเม่อได้รับความร้อน ให้เตรียมภาชนะ
บรรจุน้ำาสบู่หรือน้ำายาล้างจาน 1 ใบ ภาชนะบรรจุน้ำาร้อน 1 ใบ ขวดแก้ว 1 ใบ
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูนาเข้าส่หัวข้อ 16.3 โดยใช้รูป 16.10 ในหนังสือเรียน หรือจัดกิจกรรมสาธิตโดยให้นักเรียน
ำ
ู
ู
ุ
้
ำ
้
ำ
สังเกตการเปล่ยนแปลงความดันของแก๊สเม่อได้รับความร้อน โดยจ่มขวดแก้วลงในนาสบ่หรือนายาล้างจาน
ี
ื
ุ
ื
ให้เกิดฟิล์มบางท่ปากขวดแก้ว จากน้นนาขวดแก้วไปจ่มนาร้อน แล้วให้นักเรียนสังเกตว่า เหตุใดเม่อแก๊ส
ี
้
ั
ำ
ำ
ได้รับความร้อนจึงมีความดันเพิ่มสูงขึ้นจนทำาให้ฟิล์มบางนูนขึ้นจากปากขวด จะสามารถอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นนี ้
ได้ด้วยพฤติกรรมของแก๊สในระดับโมเลกุลอย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
ี
ี
ครูช้แจงว่า ในหัวข้อท 16.3 นักเรียนจะได้ศึกษาเก่ยวกับทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ซ่งเป็นการศึกษา
ึ
ี
่
พฤติกรรมของแก๊สในระดับโมเลกุล เพื่ออธิบายสมบัติบางประการของแก๊ส ได้แก่ ความดัน ปริมาตร และ
อุณหภูมิ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
162 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 163
16.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ี
ิ
ุ
๊
1. เมอแกสในภาชนะปิดมอณหภูมสงข้น จะ 1. เมื่อแก๊สในภาชนะปิดมีอุณหภูมิสูงขึ้น จะ
ื
่
ึ
ู
ื
ำ
ำ
ทาให้แก๊สเคล่อนท่ด้วยอัตราเร็วเพ่มข้น ทาให้แก๊สเคล่อนท่ด้วยอัตราเร็วเพ่มข้น
ี
ี
ิ
ื
ึ
ิ
ึ
ื
ำ
ู
ี
โมเลกุลของแก๊สจะอย่ห่างกัน ความดันของ จานวนโมเลกุลของแก๊สท่ชนต่อพ้นท ่ ี
แก๊สจึงลดลง จะเพิ่มขึ้น ความดันของแก๊สจึงเพิ่มขึ้น
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 7 ของหัวข้อ 16.3 ตามหนังสือเรียน
ู
ี
่
ำ
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.3.1 โดยยกสถานการณ์การเป่าลมเข้าลูกโป่ง แล้วให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน
ุ
ำ
ู
่
ู
ิ
ำ
โดยตอบคาถามวา ทาไมลกโปงจงพองออก การเพ่มจานวนโมเลกลของอากาศในลกโปงทาใหลกโปง
่
ึ
ำ
่
่
ู
ำ
้
พองออกได้อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง
ี
ำ
ื
ั
ิ
จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจนสรุปได้ว่า เม่อเป่าลมเข้าลูกโป่งเป็นการเพ่มจำานวนโมเลกุลของ
อากาศ ทาให้จานวนโมเลกุลของอากาศชนกับผนังของลูกโป่งท่เวลาขณะหน่งมากข้น ความดันภายในลูกโป่ง
ึ
ี
ำ
ึ
ำ
จึงสูงกว่าความดันภายนอกลูกโป่ง ประกอบกับลูกโป่งมีความยืดหยุ่นสูง ลูกโป่งจึงพองตัว จากนั้น ครูชี้ให้
ำ
้
่
่
เห็นวา การพจารณาพฤติกรรมของแกสในระดับโมเลกลดังตัวอย่างข้างต้นชวยทาให้เขาใจสมบัตของแกส
๊
ิ
ุ
ิ
๊
มากยิ่งขึ้น
ครูชี้แจงว่า ในหัวข้อนี้ นักเรียนจะได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราเร็วโมเลกุลของ
แก๊ส โดยเริ่มต้นจากแก๊สอุดมคติเพียงโมเลกุลเดียวที่บรรจุในภาชนะทรงลูกบาศก์ จากนั้น ครูใช้รูป 16.10
16.11 16.12 และ 16.13 นำานักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับความดันของแก๊สโดยพิจารณาโมเลกุลของแก๊สท ี่
ี
ุ
ี
เคลื่อนท่ชนผนังแบบยืดหย่น จนได้ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราเร็วกาลังสองเฉล่ยของโมเลกุล
ำ
ของแก๊สตามสมการ (16.10) และ (16.11) และความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอัตราเร็วอาร์เอ็มเอส
ของโมเลกุลของแก๊ส ตามสมการ (16.12) ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ครูใช้รูป 16.15 นานักเรียนอภิปรายเก่ยวกับการอธิบายพฤติกรรมของแก๊สตามกฎของบอยล์โดย
ี
ำ
ใช้มุมมองทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
164 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 165
ความรู้เพิ่มเติมสำาหรับครู
อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส (v ) เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สอีกแบบหนึ่งที่มาจากการ
rms
พิจารณาการเคลื่อนที่ของแก๊สในแนว x y และ z ทำาให้ต่างจากค่าเฉลี่ยทั่วไป โดยอัตราเร็ว
อาร์เอ็มเอส (v ) อาจจะไม่เท่ากับอัตราเร็วเฉลี่ย (v) ก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่แก๊สมีโมเลกุล 5
rms
ตัว เคลื่อนที่ในทิศทางต่าง ๆ กัน มีอัตราเร็ว 300 350 400 450 และ 500 เมตรต่อวินาที เมื่อหา
อัตราเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสจะได้
v = 1 (300 m/s+350m/s 400 m/s 450 m/s500 m/s)
5
= 400 m/s
2
300 m/s+ 350m/s 2 400 m/s 2 450 m/s 2 500 m/s 2
v rms = 5
= 406.2 m/s
ดังนั้น ในกรณีนี้ อัตราเร็วเฉลี่ย (v) ไม่เท่ากับ อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส (v )
rms
16.3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สกับอุณหภูมิ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ี
ิ
ู
ิ
่
่
ี
ิ
ื
ึ
้
ั
ึ
่
๊
1. เมอแกสมีอณหภมเพมขน พลงงานจลน์เฉลย 1. เม่อแก๊สมีอุณหภูมิเพ่มข้น พลังงานจลน์เฉล่ย
ื
ุ
ึ
ของแก๊สยังคงเดิมเสมอ ของแก๊สจะเพ่มข้น โดยมีความสัมพันธตาม
ิ
์
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ึ
ี
้
ู
่
ั
์
ั
ี
่
ู
2. พลงงานจลนเฉลยของแกสขนอยกบมวล 2. พลังงานจลน์เฉล่ยของแก๊สข้นอย่กับอุณหภูม ิ
ึ
๊
ั
รวมทั้งหมดของแก๊ส ของแก๊สแต่ไม่ข้นกับมวลรวมท้งหมดของ
ึ
แก๊ส
3. ท่อุณหภูมิหน่ง แก๊สอะตอมเด่ยวท่มีมวล 3. ท่อุณหภูมิหน่ง แก๊สอะตอมเด่ยวทุกชนิด
ึ
ี
ี
ี
ี
ึ
ี
์
ี
ึ
ั
่
่
๊
มาก จะมพลงงานจลนเฉลยมากกวาแกส จะมีพลังงานจลน์เฉล่ยเท่ากัน ไม่ข้นกับ
ี
ี
อะตอมเดี่ยวที่มีมวลน้อย มวลของแก๊ส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
164 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 165
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 8 ของหัวข้อ 16.3 ตามหนังสือเรียน
ี
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.3.2 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า ถ้าอุณหภูมิของ
่
ำ
ู
ื
ำ
แก๊สเพิ่มขึ้น พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะเป็นอย่างไร และความสัมพันธ์ตามสมการ (16.12) จะสามารถ
หาความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉล่ยของแก๊สกับอุณหภูมิได้อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดง
ี
ั
ความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจนได ้
ำ
ี
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์เฉล่ยของแก๊สกับอุณหภูมิตามสมการ (16.14) ตามรายละเอียด
ี
ในหนังสือเรียน
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.9 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
16.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊สกับอุณหภูมิ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ื
ึ
ึ
ิ
ิ
ื
1. เม่อแก๊สมีอุณหภูมิเพ่มข้น อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส 1. เม่อแก๊สมีอุณหภูมิเพ่มข้น อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส
ึ
ิ
ของโมเลกุลของแก๊สยังคงเดิมเสมอ ของโมเลกุลของแก๊สจะเพ่มข้น โดยม ี
ความสัมพันธ์กันตามทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 9 ของหัวข้อ 16.3 ตามหนังสือเรียน
ำ
ื
ู
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.3.3 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า จากความสัมพันธ ์
ำ
ี
่
ระหว่างพลังงานจลน์กับอุณหภูมิตามสมการ (16.14) จะสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วอาร์เอ็มเอส
ิ
็
ู
ิ
ั
ี
ของโมเลกลของแกสกบอณหภมไดอยางไร ครเปดโอกาสใหนกเรยนแสดงความคดเหนอยางอสระ
้
ู
ิ
้
ุ
๊
ั
ุ
่
่
ิ
ำ
ั
ี
่
ั
ู
ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครและนกเรียนอภิปรายรวมกันจนได้ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว
อาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊สกับอุณหภูมิตามสมการ (16.15) ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.10 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
ำ
ครูใช้รูป 16.16 นานักเรียนอภิปรายเก่ยวกับการใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สเพ่ออธิบายการหดตัวของ
ี
ื
ลูกโป่งเมื่อแช่ในน้ำาเย็น และการขยายตัวของลูกโป่งเมื่อแช่ในน้ำาร้อน ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
166 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 167
แนวการวัดและประเมินผล
1. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีจลน์ของแก๊ส จากการตอบคำาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.3 และการทำา
แบบฝึกหัด 16.3
2. ทักษะการแก้ปัญหาและการใช้จำานวนจากการคำานวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีจลน์
ของแก๊ส
3. จิตวิทยาศาสตร์/เจตคติด้านความมีเหตุผล และความรอบคอบ จากการการอภิปรายร่วมกัน และ
จากการทำาแบบฝึกหัด 16.3
แนวคาตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.3
ำ
ำ
1. การเพิ่มและลดอุณหภูมิของแก๊สในภาชนะปิดปริมาตรคงตัว มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความดัน
ของแก๊สหรือไม่ เพราะเหตุใด
ิ
ี
แนวคำาตอบ มีผลการเปล่ยนแปลงความดันของแก๊ส เพราะการเพ่มอุณหภูมิของแก๊สทาให ้
ำ
้
ี
ิ
ั
ุ
ึ
ี
ื
์
ื
ั
โมเลกลของแก๊สมพลงงานจลนเพ่มข้นและเคล่อนท่ดวยอัตราเร็วมากข้น เม่อชนกบผนังภาชนะ
ึ
จึงเกิดแรงกระทำาต่อผนังมากขึ้น ทำาให้มีความดันสูงขึ้น ในขณะที่การลดอุณหภูมิของแก๊สทำาให้
โมเลกุลของแก๊สมีพลังงานจลน์ลดลงและเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วลดลง เมื่อชนกับผนังภาชนะจึง
มีความถี่ในการชนผนังภาชนะลดลงและเกิดแรงกระทำาต่อผนังลดลง ทำาให้มีความดันลดลง
ื
2. เม่ออุณหภูมิของแก๊สเฉ่อยมีค่าเป็น 0 เคลวิน โมเลกุลแก๊สเฉ่อยมีการเคล่อนท่หรือไม เพราะเหตุใด
่
ื
ื
ื
ี
แนวคำาตอบ โมเลกุลไม่มีการเคลื่อนที่ เพราะเมื่ออุณหภูมิของแก๊สเฉื่อย T มีค่าเป็น 0 เคลวิน
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลซึ่งเป็นไปตามสมการ มีค่าเป็นศูนย์
่
ี
ี
ำ
ื
3. เม่อนากล่อง 2 ใบ ท่มีปริมาตร และความดันภายในกล่องเท่ากัน กล่องใบท 1 บรรจุแก๊ส
ไนโตรเจนจำานวน 1.0 โมล กล่องใบที่ 2 บรรจุแก๊สออกซิเจนจำานวน 1.0 โมล เท่ากัน
ก. อุณหภูมิของแก๊สในกล่องแต่ละใบมีค่าเท่ากันหรือไม่
ข. อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส (v ) ของโมเลกุลของแก๊สในกล่องแต่ละใบแตกต่างกันหรือไม่
rms
แนวคำาตอบ
ก. อุณหภูมิของแก๊สในกล่องแต่ละใบมีค่าเท่ากัน เน่องจากแก๊สในกล่องแต่ละใบมีความดัน P
ื
ปริมาตร V และจานวนโมล n ของแก๊สเท่ากัน เม่อพิจารณาตามกฎของแก๊สอุดมคต ิ
ื
ำ
(PV = nRT) อุณหภูมิของแก๊สในกล่องทั้งสองจึงเท่ากับ T เหมือนกัน
ข. อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส(v ) ของแก๊สออกซิเจนในกล่องที่ 1 น้อยกว่าแก๊สไนโตรเจนในกล่องที่ 2
rms
ั
ี
เน่องจาก พลังงานจลน์เฉล่ยของแก๊สท้งสองมีค่าตามสมการ โดยอุณภูม ิ
ื
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
166 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 167
ั
ของแก๊สท้งสองเท่ากันพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจึงเท่ากันด้วย แต่แก๊สออกซิเจนมีมวล
ั
มากกว่าแก๊สไนโตรเจน ดังน้นอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของแก๊สออกซิเจนจึงน้อยกว่าแก๊สไนโตรเจน
เฉลยแบบฝึกหัด 16.3
1. แก๊สฮีเลียมจำานวน 1.00 โมล บรรจุในลูกโป่ง ซึ่งมีอุณหภูมิ 400 เคลวิน จงหา
ก. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สฮีเลียม
ข. พลังงานจลน์รวมของโมเลกุลทั้งหมดของแก๊สฮีเลียม
วิธีทำา ก. พลังงานจลน์เฉลี่ย ( ) ของแก๊สฮีเลียม ซึ่งเป็นแก๊สอะตอมเดี่ยว มีค่าตามสมการ
-23
แทนค่า (1.38 × 10 J/K)(400 K)
-21
ดังนั้น = 8.28 × 10 J
ข. พลังงานจลน์รวมของโมเลกุลทั้งหมด (E ) สามารถหาได้จาก
k
E = N
k
่
แต N = nN เมื่อ n คือ จำานวนโมล และ N คือ ค่าคงตัวอโวกาโดร
A A
นั่นคือ E = nN
k A
23
-1
-21
่
แทนคา = (1.00 mol)(6.02 × 10 mol )(8.28 × 10 J)
= 4984 J
ดังนั้น E = 4.98 kJ
k
-21
ตอบ ก. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สฮีเลียม เท่ากับ 8.28 × 10 จูล
ข. พลังงานจลน์รวมของโมเลกุลทั้งหมดของแก๊สฮีเลียม เท่ากับ 4.98 กิโลจูล
2. ภาชนะใบหน่ง มีอุณหภูมิคงตัว บรรจุแก๊สผสมระหว่างนีออนกับอาร์กอน ซ่งมวลอะตอมของ
ึ
ึ
อาร์กอนมีค่าเป็นสองเท่าของนีออน ถ้าอัตราเร็วอาร์เอ็มเอส (v ) ของแก๊สนีออนมีค่า 300 เมตร
rms
ต่อวินาที จงหาอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของอาร์กอน
วิธีทำา อัตราเร็วอาร์เอ็มเอส v กับอุณหภูมิ T ของแก๊ส มีความสัมพันธ์ตามสมการ
rms
3kT
v = B
rms
m
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
168 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 169
ให ้ v rms Ne และ v rms Ar เป็นอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของแก๊สนีออนและอาร์กอนตามลำาดับ
m และ m เป็นมวลอะตอมของแก๊สนีออนและอาร์กอน ตามลำาดับ โดย m = m Ne
Ne
Ar
Ar
โจทย์กำาหนดให้อุณหภูมิของแก๊สทั้งสองมีค่าเท่ากัน นั่นคือ T = T = T จะได้
Ar
Ne
3kT (1)
v rms Ne = m B
Ne 3kT
v rms Ne = 3kT m B
และ v rms Ar = m B Ne (2)
B
v rms = Ar 3kT
(2) v rms Ar Ar Ne m Ar
นำา จะได้ =
v
(1) v rms Ne rms Ar = m Ar Ne
v rms v m m
แทนค่า Ar rms = Ne Ne Ar
v
300 m/s Ar = 2m Ne m Ne
rms
= 1502 m/s
ดังนั้น v 300 m/s 2m Ne
rms
Ar
v
ตอบ อัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของอาร์กอนเท่ากับ = 1502 m/s
เมตรต่อวินาที หรือ 212 เมตรต่อวินาที
rms
Ar
16.4 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายและคำานวณพลังงานภายในระบบ
2. อธิบายและคำานวณงานที่ทำาโดยแก๊ส
ำ
ี
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ กับงานท่ทาโดยแก๊ส และ
คำานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. อธิบายการนำาความรู้เรื่องพลังงานภายในระบบไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูนำาเข้าสู่หัวข้อ 16.4 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อตอบคำาถามว่า ปัจจัยใดบ้างที่ทำาให้แก๊ส
ำ
เกิดการเปล่ยนแปลงปริมาตร และการเปล่ยนแปลงปริมาตรของแก๊สสามารถนามาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ี
ี
ประจาได้อย่างไร ครูอาจยกตัวอย่างการใช้กระบอกสูบเติมลมลูกโป่งหรือลูกบอลแล้วให้นักเรียนอภิปราย
ำ
ำ
ร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า แก๊สมีการทางานหรือไม และอุณหภูมิของแก๊สในกระบอกสูบมีการเปล่ยนแปลง
่
ำ
ี
ื
อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
ี
่
ี
ครูช้แจงว่า ในหัวข้อท 16.4 นักเรียนจะได้ศึกษาเก่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานภายในระบบ
ี
งาน และความร้อน ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
168 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 169
16.4.1 พลังงานภายในระบบ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
1. พลังงานภายในของแก๊สหรือพลังงานภายใน 1. พลังงานภายในของแก๊สหรือพลังงานภายใน
ระบบข้นอย่กับอุณหภูมิของแก๊ส แต่ไม่ข้น ระบบข้นอย่กับอุณหภูมิของแก๊สและ
ึ
ึ
ู
ู
ึ
ู
ำ
อย่กับจานวนโมเลกุลของแก๊สท่มีในระบบ จำานวนโมเลกุลของแก๊สที่มีในระบบ
ี
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 10 ของหัวข้อ 16.4 ตามหนังสือเรียน
ำ
ื
ำ
ี
ู
่
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.4.1 โดยอาจยกสถานการณ์ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า
ถ้ามีภาชนะ 2 ใบ บรรจุแก๊สชนิดเดียวกันและมีอุณหภูมิเท่ากัน พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊สเท่ากัน
หรือไม่ และพลังงานทั้งหมดของโมเลกุลที่บรรจุในภาชนะแต่ละใบเท่ากันหรือไม่ อย่างไร ซึ่งควรสรุปได้ว่า
ั
ี
ื
พลังงานจลน์เฉล่ยของโมเลกุลแก๊สในภาชนะท้งสองใบเท่ากัน เน่องจากอุณหภูมิเท่ากัน แต่พลังงานจลน ์
ึ
ู
ำ
ื
ั
ท้งหมดในภาชนะอาจไม่เท่ากันข้นอย่กับจานวนโมเลกุล จากน้นครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบ
ั
ี
ำ
ู
คาถามว่า พลังงานท้งหมดของโมเลกุลแก๊สท่บรรจุอย่ในระบบสามารถหาได้อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียน
ั
แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
ั
ี
ำ
ี
เก่ยวกับพลังงานภายในระบบ ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน จนได้สมการ (16.16) (16.17) และ (16.18)
16.4.2 งานที่ทำาโดยแก๊ส
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ี
ื
ี
1. งานท่ทาโดยแก๊สภายในลูกสูบเป็นบวก 1. เม่อลูกสูบเคล่อนท่ออก งานท่ทาโดย
ำ
ื
ี
ำ
ื
เสมอ ไม่ว่าจะในกรณีที่ลูกสูบเคลื่อนที่เข้า แก๊สภายในลูกสูบเป็นบวก แต่เม่อลูกสูบ
หรือเคลื่อนที่ออก เคล่อนท่เข้า งานท่ทาโดยแก๊สภายใน
ี
ื
ำ
ี
ลูกสูบเป็นลบ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
170 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 171
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 11 ของหัวข้อ 16.4 ตามหนังสือเรียน
่
ำ
ี
ำ
ู
ื
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.4.2 โดยใช้รูป 16.17 ในหนังสือเรียน นาให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อ
ี
ื
ี
ำ
ตอบคาถามว่า ถ้าให้ความร้อนแก่แก๊สท่บรรจุในกระบอกสูบท่ลูกสูบสามารถเคล่อนท่ได้คล่อง จะเกิดการ
ี
ิ
ี
ึ
เปล่ยนแปลงอย่างไร ซ่งควรสรุปได้ว่า แก๊สะขยายตัวมีปริมาตรเพ่มข้นและดันลูกสูบให้เคล่อนท่ข้น จากน้น
ึ
ี
ื
ั
ึ
ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า เม่อแก๊สขยายตัวจนมีปริมาตรเพ่มข้น แก๊สมีการทางาน
ึ
ำ
ำ
ื
ิ
ื
ี
ำ
ำ
ู
หรือไม ร้ได้อย่างไร และถ้าแก๊สมีการทางาน จะสามารถหางานท่ทาโดยแก๊สได้อย่างไร ครูเปิดโอกาสให ้
่
ี
ั
นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคาตอบท่ถูกต้อง จากน้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
ำ
เกี่ยวกับงานที่ทำาโดยแก๊สจนได้สมการ (16.19) ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ยวกับความแตกต่างระหว่างงานท่ทาโดยแก๊สและงานท่ทาต่อ
ี
ี
ี
ำ
ำ
ื
ั
ู
้
ึ
ั
่
ู
๊
ี
ิ
ื
แกสตามรายละเอียดในหนงสอเรยน โดยใชรป 16.18 ในหนงสอเรียนประกอบการอภปราย ซงครอาจ
ทบทวนเรื่องงานที่เป็นบวกและงานที่เป็นลบ โดยให้นักเรียนสังเกตทิศทางของแรงและการกระจัด ซึ่งควร
สรุปได้ว่า งานเป็นบวกเมื่อแรงและการกระจัดมีทิศทางเดียวกัน ส่วนงานเป็นลบเมื่อแรงและการกระจัดมี
ทิศทางตรงข้ามกัน
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.11 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
16.4.3 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
-
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 12 ของหัวข้อ 16.4 ตามหนังสือเรียน
ี
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.4.3 โดยอาจยกสถานการณ์ให้นักเรียนอภิปรายเก่ยวกับความสัมพันธ ์
ู
ำ
่
ี
ำ
ี
ระหว่างพลังงานภายในระบบและงานท่ทาโดยแก๊ส เช่น ถ้ามีภาชนะ 2 ใบ ท่บรรจุแก๊สชนิดเดียวกัน
ี
ิ
ึ
ี
ึ
ำ
มีจานวนโมลเท่ากัน และมีอุณหภูมิเร่มต้นเท่ากัน โดยภาชนะใบหน่งลูกสูบสามารถเคลื่อนท่ข้นและลงได ้
ั
ึ
อย่างอิสระ ส่วนภาชนะอีกใบหน่งลูกสูบไม่สามารถเคล่อนท่ได ถ้าให้ความร้อนกับภาชนะท้งสองเท่ากัน
ื
ี
้
่
ึ
ี
ดังรูป 16.13 จะเกิดการเปล่ยนแปลงเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม อย่างไร และอุณหภูมิท่เพ่มข้นในภาชนะ
ี
ิ
่
ื
ำ
แต่ละใบเท่ากันหรือไม อย่างไร จากน้นครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า ความร้อนม ี
ั
ี
ความสัมพันธ์กับพลังงานภายในระบบและงานท่ทาโดยแก๊สอย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดง
ำ
ความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
170 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 171
ก. ให้ความร้อนกับแก๊สในภาชนะที่ลูกสูบ ข. ให้ความร้อนกับแก๊สในภาชนะที่ลูกสูบไม่
สามารถเคลื่อนที่ขึ้นและลงได้อย่างอิสระ สามารถเคลื่อนที่ขึ้นและลงได้อย่างอิสระ
รูป 16.13 การให้ความร้อนกับแก๊สในภาชนะที่แตกต่างกัน
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานภายในระบบ ความร้อน
ี
ี
ำ
ี
ึ
และงานท่ทาโดยแก๊ส ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน จนได้สมการ (16.20) ซ่งเรียกความสัมพันธ์น้ว่า
ี
ึ
ี
์
ู
ำ
กฎข้อท่หน่งของอุณหพลศาสตร จากน้น ครูอาจให้นักเรียนนาความร้เก่ยวกับกฎข้อท่หน่งของ
ั
ี
ึ
อุณหพลศาสตร์ไปอธิบายสถานการณ์ในการให้ความร้อนกับแก๊สในภาชนะท่แตกต่างกันดังรูป 16.13
ี
จนสรุปได้ว่า ถ้าให้ความร้อนกับภาชนะทั้งสองเท่ากัน จะมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน คือ ภาชนะใบแรก
ี
ึ
ี
ี
ท่ลูกสูบสามารถเคล่อนท่ข้นและลงได้อย่างอิสระ ความร้อนท่ให้กับแก๊สส่วนหน่งจะเปล่ยนเป็นงานท่ทา
ำ
ื
ี
ึ
ี
ำ
ี
ื
ำ
โดยแก๊สทาให้ลูกสูบเคล่อนท่ข้น และความร้อนส่วนท่เหลือจะถูกเปลี่ยนไปเป็นพลังงานภายในระบบทาให ้
ี
ึ
แก๊สมีอุณหภูมิสูงขึ้น ส่วนภาชนะใบที่สองที่ลูกสูบไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ความร้อนทั้งหมดที่ให้กับแก๊สจะ
ถูกเปลี่ยนไปเป็นพลังงานภายในระบบทำาให้แก๊สมีอุณหภูมิสูงขึ้น ดังนั้น อุณหภูมิของแก๊สในภาชนะที่สอง
จะสูงกว่าอุณหภูมิของแก๊สในภาชนะที่หนึ่ง ดังรูป 16.4
ก. การเปลี่ยนแปลงของแก๊สในภาชนะที่ลูกสูบ ข. การเปลี่ยนแปลงของแก๊สในภาชนะที่ลูกสูบ
สามารถเคลื่อนที่ขึ้นและลงได้อย่างอิสระ ไม่สามารถเคลื่อนที่ขึ้นและลงได้อย่างอิสระ
รูป 16.14 การเปลี่ยนแปลงของแก๊สในภาชนะที่แตกต่างกัน หลังจากได้รับความร้อนในปริมาณที่เท่ากัน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
172 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 173
ี
ู
็
่
ี
ั
้
่
ำ
้
ู
้
่
ครใหความรเสริมวา จากสมการ (16.20) ทาใหทราบวา ความร้อนเปนเพยงพลงงานทถายโอนใน
่
รูปงานและพลังงานภายในระบบเท่านั้น จากนั้น ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเครื่องหมายของ
ความร้อน พลังงานภายในระบบ และงานที่ทำาโดยแก๊ส ตามกฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ โดยใช้ตาราง 16.3
ในหนังสือเรียนประกอบการอภิปราย
ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง 16.12 และ 16.13 โดยครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
16.4.4 การประยุกต์ของอุณหพลศาสตร์
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
ความเข้าใจคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
ื
1. เคร่องยนต์เบนซินและเคร่องยนต์ดีเซลแม ้ 1. เคร่องยนต์เบนซินและเคร่องยนต์ดีเซลม ี
ื
ื
ื
ื
ื
จะใช้เช้อเพลิงแตกต่างกัน แต่มีกลไกการ การใช้เช้อเพลิงแตกต่างกัน และมีกลไก
ี
ื
จุดระเบิดที่เหมือนกัน การจุดระเบิดท่แตกต่างกัน โดยเคร่องยนต ์
เบนซินใช้หัวเทียนในการจุดระเบิด ส่วน
ื
ื
เคร่องยนต์ดีเซลใช้ระบบฉีดเช้อเพลิงใน
การจุดระเบิด
้
ู
ื
ำ
2. สารทาความเยนในตเยนและเครองปรบ 2. สารทาความเย็นในต้เย็นและเคร่องปรับ
็
ู
็
ื
ำ
่
ั
ู
ี
ำ
ี
ำ
อากาศทาหน้าท่ให้ความเย็นภายในต้เย็น อากาศทาหน้าท่ถ่ายโอนความร้อนจากภายใน
และภายในห้อง ตู้เย็นหรือภายในห้องให้ออกสู่ภายนอก
แนวการจัดการเรียนรู้
ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 13 ของหัวข้อ 16.4 ตามหนังสือเรียน
ู
ื
ำ
ี
ี
่
ำ
ครูนาเข้าส่หัวข้อท 16.4.4 โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อตอบคาถามว่า ความร้เก่ยวกับ
ู
ึ
ื
กฎข้อทหน่งของอุณหพลศาสตร์สามารถนามาประยุกต์ใชงานการออกแบบและสรางเคร่องยนต์ความร้อน
้
ี
่
้
ำ
ต้เย็น และเคร่องปรับอากาศได้อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ู
ื
ไม่คาดหวังคำาตอบที่ถูกต้อง
ื
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ยวกับเคร่องยนต์ความร้อนซ่งแบ่งออกเป็นเคร่องยนต ์
ึ
ี
ื
สันดาปภายนอกและเคร่องยนต์สันดาปภายในตามรายละเอียดในหนังสือเรียน โดยใช้รูป 16.20 ใน
ื
ื
ี
ำ
หนังสือเรียนประกอบการอภิปรายเก่ยวกับการทางานของเคร่องยนต์สันดาปภายนอก และใช้รูป 16.21
ในหนังสือเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
172 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 173
ประกอบการอภิปรายเกี่ยวกับการทำางานของเครื่องยนต์สันดาปภายใน
ู
ื
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ยวกับต้เย็นและเคร่องปรับอากาศตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
ี
ี
โดยใช้รูป 16.23 ในหนังสือเรียน ประกอบการอภิปรายเก่ยวกับการทางานของตู้เย็น และใช้รูป 16.24
ำ
ในหนังสือเรียน ประกอบการอภิปรายเกี่ยวกับการทำางานของเครื่องปรับอากาศ
ความรู้เพิ่มเติมสำาหรับครู
หน่วยของความร้อน นอกจากความร้อนมีหน่วยจูลแล้วยังมีหน่วยอื่นอีก เช่น แคลอรี (calrorie,
cal) และหน่วยความร้อนบริติช หรือ บีทียู (British thermal unit: Btu) ซึ่งมีความหมายดังนี้
1 แคลอรี คือ ความร้อนที่ทำาให้น้ำามวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ โดยที่ 1 cal = 4.186 J
1 บีทียู คือ ความร้อนที่ทำาให้น้ำามวล 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ โดยที่ 1 Btu = 252 cal = 1055 J
การบอกขนาดเครื่องปรับอากาศนิยมบอกเป็น บีทียู (BTU) ต่อชั่วโมง หรือ ตัน เพื่อแสดงว่า
อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถถ่ายโอนความร้อนออกไปได้เท่าใดในเวลา 1 ชั่วโมง เช่น เครื่องปรับอากาศ
ขนาด 12 000 บีทียู (ขนาด 1 ตัน) หมายถึง ในเวลา 1 ชั่วโมง เครื่องปรับอากาศเครื่องนี้สามารถถ่าย
โอนความร้อนออกสู่ภายนอกได้ 12 000 บีทียู หรือ 12 000 Btu × 1055 J/Btu = 12.66 × 10 J
6
การใช้ตู้เย็นให้ประหยัดไฟฟ้า มีดังนี้
1. เลือกใช้ตู้เย็นขนาดเหมาะสมและได้รับฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
ิ
ู
ี
ู
2. ปิดประตูต้เย็นให้สนิท และ หลีกเล่ยงการเปิดประตูต้เย็นบ่อยๆ หรือเปิดค้างท้งไว้เป็น
เวลานาน
3. ไม่นำาของร้อนเข้าไปในตู้เย็นทันที ควรปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นก่อนนำาเข้าไปไว้ในตู้เย็น
4. ไม่ปล่อยให้มีน้ำาแข็งเกาะหนาบริเวณช่องแช่แข็ง และไม่ใส่ของในตู้เย็นแน่นจนเกินไป
ควรเหลือที่ว่างพอให้อากาศในตู้เย็นเคลื่อนจากด้านบนลงสูงด้านล่างได้
5. ควรต้งต้เย็นในบริเวณท่อากาศถ่ายเทได้สะดวกโดยด้านหลังและข้างต้เย็น
ู
ี
ั
ู
ควรห่างผนัง หรือสิ่งของต่างๆ ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร และควรตั้งตู้เย็นให้ห่างจาก
แหล่งกำาเนิดความร้อนอื่น ๆ
6. ตรวจเช็คให้ยางขอบประตูให้สามารถปิดได้สนิทเสมอ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
174 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 175
การใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดไฟฟ้า มีดังนี้
1. ติดตั้งขนาดเครื่องปรับอากาศให้เพียงพอกับการทำาความเย็นในห้อง โดยขนาดไม่เล็ก
หรือใหญ่เกินไป และควรเลือกเครื่องปรับอากาศที่ได้รับฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
2. ติดตั้งตำาแหน่งเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสม ไม่มีสิ่งกีดขวางทางลม และให้ลมจาก
เครื่องปรับอากาศพัดมายังพื้นที่ใช้สอย
3. ห้องควรปิดมิดชิด ไม่มีอากาศจากภายนอกรั่วไหลเข้ามาในห้อง หากมีการใช้งาน
พัดลมดูดอากาศควรใช้งานเท่าที่จำาเป็นในช่วงสั้น ๆ
4. ปรับอุณหภูมิไม่ต่ำากว่า 25 องศาเซลเซียส เมื่ออากาศในห้องเย็นแล้ว ปรับเพิ่มอุณหภูมิ
และเปิดพัดลมร่วมด้วย
5. ป้องกันแสงแดดและความร้อนเข้ามาในห้อง ผนังและหน้าต่างที่เป็นกระจกควรมีม่าน
ทึบแสง
6. กรณีนอนหลับในเวลากลางคืน เมื่อภายในห้องมีอุณหภูมิที่ต้องการแล้ว ควรตั้งอุณหภูมิ
ประมาณ 27 หรือ 28 องศาเซลเซียส แล้วเปิดพัดลมร่วมด้วย
7. หลีกเลี่ยงใช้อุปกรณ์ให้ความร้อนในห้อง เช่น เตาหุงต้ม เตารีด
8. ควรถอดแผ่นกรองฝุ่นที่คอยล์เย็นมาทำาความสะอาดเดือนละครั้ง
9. ควรให้ช่างเคร่องปรับอากาศมาตรวจเช็คและทาความสะอาดเคร่องปรับอากาศอย่าง
ื
ื
ำ
น้อยปีละ 2 ครั้ง
แนวการวัดและประเมินผล
์
ำ
์
ี
ึ
ี
1. ความร้เก่ยวกับกฎข้อท่หน่งของอุณหพลศาสตรและการประยุกต จากการตอบคาถามตรวจสอบ
ู
ความเข้าใจ 16.4 และการทำาแบบฝึกหัด 16.4
ี
ี
ี
ึ
ำ
2. ทักษะการแก้ปัญหาและการใช้จานวนจากการคานวณปริมาณต่างๆ ท่เก่ยวข้องกับกฎข้อท่หน่ง
ำ
ของอุณหพลศาสตร์และการประยุกต์
3. จิตวิทยาศาสตร์/เจตคติด้านความมีเหตุผล และความรอบคอบ จากการอภิปรายร่วมกัน และ
จากการทำาแบบฝึกหัด 16.4
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
174 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 175
แนวคาตอบคาถามตรวจสอบความเข้าใจ 16.4
ำ
ำ
ี
1. ในระหว่างแช่เย็นขวดแก้วท่บรรจุแก๊สฮีเลียมซ่งปิดสนิท จงบอกการเปล่ยนแปลงของความร้อน
ี
ึ
พลังงานภายในระบบ และงาน (ให้ประมาณว่าปริมาตรของขวดแก้วคงตัว)
แนวคำาตอบ ความร้อนลดลง พลังงานภายในระบบลดลง และงานเป็นศูนย์
2. การบีบอัดแก๊สและการขยายตัวของแก๊สอย่างรวดเร็วโดยไม่มีการถ่ายโอนความร้อน มีผลต่อ
พลังงานภายในระบบและอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สหรือไม่ อย่างไร
ำ
ิ
แนวคำาตอบ การบีบอัดแก๊สทาให้พลังงานภายในระบบและอุณหภูมิของระบบเพ่มข้น ส่วนการ
ึ
ขยายตัวของแก๊สทำาให้พลังงานภายในระบบและอุณหภูมิของระบบลดลง
ี
3. การถ่ายโอนความร้อนจากบริเวณท่มีอุณหภูมิตากว่าไปยังบริเวณท่มีอุณหภูมิสูงกว่าสามารถทา
่
ี
ำ
ำ
ได้หรือไม่ อย่างไร
่
ำ
ำ
ี
้
ำ
แนวคำาตอบ สามารถทาได โดยการใช้สารทาความเย็นรับความร้อนจากบริเวณท่มีอุณหภูมิตา
ไปถ่ายโอนความร้อนไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ผ่านการทำางานของเครื่องยนต์ความร้อน เช่น
ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ
เฉลยแบบฝึกหัด 16.4
1. แก๊สจำานวนหนึ่งในกระบอกสูบมีปริมาตร V ทำาให้มีปริมาตร V โดยความดันคงที่ P จงหางาน
1 2
ที่ทำาโดยแก๊สและงานที่ทำาต่อแก๊ส
วิธีทำา หางานที่ทำาโดยแก๊ส จาก W = PΔV
แทนค่า จะได้ W = P(V − V )
2 1
ี
ี
งานท่ทาต่อแก๊สมีเคร่องหมายตรงข้ามกับงานท่ทาต่อแก๊ส เท่ากับ −P(V − V ) หรือ
ื
ำ
ำ
2 1
P(V − V )
1 2
ตอบ งานที่ทำาโดยแก๊สเท่ากับ P(V − V ) และ งานที่ทำาต่อแก๊ส เท่ากับ P(V − V )
2 1 1 2
4
2. จงหางานในการอัดแก๊สอาร์กอน 1 กิโลโมล จากปริมาตร 2.24 × 10 ลูกบาศก์เดซิเมตร ท ี ่
5 4
0 องศาเซลเซียส ความดัน 1.01 × 10 นิวตันต่อตารางเมตร ให้มีปริมาตรเป็น 1.40 × 10
ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ความดันเดียวกัน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
176 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 177
วิธีทำา หางานในการอัดแก๊สที่ความดันคงตัว ได้จาก
งานที่ทำาโดยแก๊ส ΔW = PΔV
5 2 4 -3 3 4 -3 3
แทนค่า ΔW = (1.01 × 10 N/m )(1.40 × 10 × 10 m − 2.24 × 10 × 10 m )
5 2 1 3
= (1.01 × 10 N/m )(−0.84 × 10 m )
5
= −8.484 × 10 J
เนื่องจากงานที่อัดแก๊สจะมีเครื่องหมายตรงข้ามกับงานที่ทำาโดยแก๊ส
5
ดังนั้น งานในการอัดแก๊ส เท่ากับ +8.484 × 10 J
5
ตอบ งานในการอัดแก๊สที่ความดันคงตัวเท่ากับ 8.48 × 10 จูล
ี
่
ี
้
ี
้
ี
3. จากขอ 2 พลังงานภายในของแก๊สของแก๊สอาร์กอนท่เปล่ยนไป และความร้อนทแก๊สนคาย
ออกมาเป็นเท่าใด
วิธีทำา หาอุณหภูมิของแก๊สภายหลังจากการอัดแก๊ส
จาก PV = nRT
หรอ = PV
T
ื
nR
2
3
3
5
แทนค่า T = (1.0110N/m )(1.40 10 4 10 m)
3
(1 10 mol)(8.31 J/mol K)
= 170 K
หาพลังงานภายในของแก๊สที่เปลี่ยนไป
จาก ΔU = nRΔT
3
แทนค่า ΔU = (1 × 10 mol)(8.31 J/mol K)(170 K − 273 K)
ดังนั้น ΔU = −1.284 × 10 J
6
หาความร้อนที่แก๊สนี้คายออกมา
จาก Q = ΔU + ΔW
6 5
แทนค่า Q = −1.284 × 10 J + (−8.484 × 10 J)
= −2.1324 × 10 J
6
6
ตอบ พลังงานภายในของแก๊สอาร์กอนที่ลดลงเท่ากับ 1.28 × 10 จูล และความร้อนที่แก๊สนี้
6
คายออกมาเท่ากับ 2.13 × 10 จูล
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
176 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 177
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 16
คำาถาม
1. จงอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างสเกลเซลเซียสและสเกลเคลวิน
ำ
แนวคาตอบ สเกลเซลเซียสและสเกลเคลวินมีความเหมือนกันคือใช้จุดเยือกแข็งและจุดเดือด
็
ำ
้
ของนาเปนจุดอ้างอิงเหมือนกน และแบ่งช่วงอุณหภูมิระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของนา
ำ
้
ั
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ เป็น 100 ส่วนเท่า ๆ กันเหมือนกัน ความแตกต่างคือ อุณหภูมิที่ใช้
ในการกำาหนดจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน้ำาแตกต่างกัน โดยสำาหรับสเกลเซลเซียสจุดเยือกแข็ง
ำ
ำ
้
้
ำ
ของนาเป็น 0 องศาเซลเซียส และจุดเดือดของนาเป็น 100 องศาเซลเซียส แต่สาหรับเคลวิน
จุดเยือกแข็งของน้ำาเป็น 273.15 เคลวิน และจุดเดือดของน้ำาเป็น 373.15 เคลวิน
2. สารชนิดหนึ่งมีความร้อนจำาเพาะ 1000 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน มีความหมายอย่างไร
แนวคำาตอบ ในการทำาให้สารนั้นที่มีมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 เคลวิน หรือ 1 องศา-
เซลเซียส ต้องให้ความร้อน 1000 จูล
3. แท่งเหล็กมวล 1 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม มีความจุความร้อนและความร้อนจาเพาะเท่ากัน
ำ
หรือต่างกัน อย่างไร
็
ุ
แนวคาตอบ แท่งเหลกมวล 2 กโลกรัม มีความจความร้อนมากกว่าแทงเหลกมวล 1 กิโลกรัม
ิ
็
่
ำ
ึ
ิ
เพราะการให้ความร้อนกับแท่งเหล็กท้งสองมีอุณหภูมิเพ่มข้น 1 องศาเซลเซียสเท่ากัน แท่งเหล็ก
ั
ี
ท่มีมวลมากต้องใช้ความร้อนมากกว่า แต่ความร้อนจาเพาะของแท่งเหล็กท้งสองมีค่าเท่ากัน
ั
ำ
ึ
ำ
เพราะความร้อนจาเพาะเป็นความจุความร้อนต่อมวลหน่งหน่วย โดยสารหน่งจะม ี
ึ
ค่าความร้อนจำาเพาะคงตัว โดยเหล็กมีความร้อนจำาเพาะเท่ากับ 450 จูล/กิโลกรัม เคลวิน
ื
ี
ั
้
ำ
4. บริเวณชายหาดท้งบริเวณท่เป็นพ้นทรายและนาทะเลได้รับปริมาณแสงอาทิตย์เท่ากัน แต่ทราย
กลับมีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำาทะเล เป็นเพราะเหตุใด
แนวคำาตอบ เนื่องจากทรายมีความร้อนจำาเพาะ 800 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน ซึ่งหมายความว่า
้
ำ
การทาให้ทรายมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพ่ม 1 เคลวิน ต้องใช้ความร้อน 800 จูล แต่นาม ี
ำ
ิ
ความร้อนจำาเพาะ 4180 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน ซึ่งหมายความว่า การทำาให้น้ำามวล 1 กิโลกรัม
มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 เคลวิน ต้องใช้ความร้อน 4180 จูล ดังนั้น เมื่อสารทั้งสองได้รับความร้อน
เท่า ๆ กัน ทรายจะมีอุณหภูมิสูงกว่า
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
178 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 179
ำ
้
ำ
5. นากับเอทิลแอลกอฮอล์มีความร้อนจาเพาะเท่ากับ 4186 และ 2400 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
ี
ึ
ั
ำ
ิ
ตามลาดับ ถ้าต้องการให้ความร้อนกับสารท้งสองท่มีมวลเท่ากันให้มีอุณหภูมิเพ่มข้นเท่ากัน
สารใดต้องการความร้อนมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
์
ำ
ำ
ำ
แนวคาตอบ เน่องจากนามีความร้อนจาเพาะมากกว่าเอทิลแอลกอฮอล ดังน้น ถ้าต้องการให ้
้
ื
ั
ึ
ึ
ิ
สารท้งสองซ่งมีมวลเท่ากัน มีอุณหภูมิเพ่มข้นเท่ากัน ต้องให้ความร้อนแก่นามากกว่า
ั
้
ำ
เอทิลแอลกอฮอล์ นั่นคือ น้ำาต้องการความร้อนมากกว่าเอทิลแอลกอฮอล์
6
้
ำ
6. นามีความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ 2.256 × 10 จูลต่อกิโลกรัม หมายความว่าอย่างไร
้
ำ
ำ
้
ำ
ิ
ำ
ี
แนวคาตอบ ในการทาให้นามวล 1 กิโลกรัม ท่อุณหภูม 100 องศาเซลเซียส กลายเป็นไอนา
6
ทั้งหมดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ต้องใช้ความร้อนทั้งสิ้น 2.256 × 10 จูล
7. ถ้าต้องการทำาให้น้ำาแข็งมวล 1 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส หลอมเหลวเป็นน้ำาหมดที่
อุณหภูมิเดิม ต้องใช้ความร้อนเท่าใด
ำ
ี
้
แนวคาตอบ นาแข็งมวล 1 กิโลกรัม ท่อุณหภูม 0 องศาเซลเซียส หลอมเหลวเป็นนาหมดท่อุณหภูม ิ
ิ
ำ
ี
ำ
้
ำ
้
ำ
ึ
เดิม เป็นการเปล่ยนสถานะจากนาแข็งเป็นนา ต้องใช้ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวซ่ง
้
ี
เท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ดังนั้น สำาหรับน้ำาแข็งมวล 1 กิโลกรัม ต้องใช้ความร้อนเท่ากับ
333 กิโลจูล
ี
ำ
้
8. ในการทาให้นา 100 องศาเซลเซียส มวล 1 กิโลกรัม กลายเป็นไอหมดท่อุณหภูมิเดิม ต้องใช ้
ำ
ความร้อนเท่าใด
แนวคำาตอบ น้ำาเดือดมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็นไอหมดที่อุณหภูมิเดิม
ี
เป็นการเปล่ยนสถานะจากนาเป็นไอ ต้องใช้ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ
้
ำ
ั
ำ
2256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ดังน้น สาหรับนาเดือดมวล 1 กิโลกรัม ต้องใช้พลังงานความร้อนเท่ากับ
้
ำ
2256 กิโลจูล
9. นาท่ความดัน 1 บรรยากาศมีจุดควบแน่นอย่ท่อุณหภูมิเท่าใด และมีความร้อนแฝงของการควบแน่น
ี
ี
ู
ำ
้
เป็นเท่าใด
ื
ู
แนวคาตอบ เน่องจากการควบแน่นอย่ท่อุณหภูมิเดียวกับการกลายเป็นไอ และความร้อนแฝง
ำ
ี
ั
ของการควบแน่นมีค่าเท่ากับความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ดังน้น นาท่ความดัน
ี
้
ำ
1 บรรยากาศ มีจุดควบแน่นที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส และมีความร้อนแฝงของ
การควบแน่นเท่ากับ 2256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
178 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 179
้
ี
ำ
ำ
ำ
ี
้
ำ
ี
10. ในปริมาณของนาท่เท่ากัน ระหว่างนาท่แข็งตัวเป็นนาแข็งกับไอนาท่ควบแน่นเป็นหยดนา
้
้
้
ำ
กระบวนการใดมีการคายความร้อนมากกว่ากัน
ำ
ื
แนวคาตอบ เน่องจากความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับความร้อนแฝงของ
การควบแน่น (เท่ากับ 2256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม) และความร้อนแฝงของการแข็งตัวเท่ากับ
้
ั
ำ
ำ
้
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของนา (เท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม) ดังน้น ไอนาท ี ่
ควบแน่นเป็นหยดน้ำาจะมีการคายความร้อนมากกว่าน้ำาที่แข็งตัวเป็นน้ำาแข็ง
11. ก่อนฝนตก เหตุใดเราจึงรู้สึกว่าอากาศรอบตัวเราร้อนกว่าปกติ
ำ
้
ื
แนวคาตอบ ก่อนฝนตก ไอนาจะควบแน่นโดยคายความร้อนออกมาเพ่อเปล่ยนสถานะจาก
ำ
ี
ไอน้ำาเป็นหยดน้ำาจึงทำาให้เรารู้สึกว่าอากาศรอบตัวเราร้อนกว่าปกติ
ี
ั
ำ
้
ั
ิ
้
ำ
12. ถ้านานาแข็งใส่แก้วต้งไว้ในห้อง นาแข็งจะเปล่ยนแปลงอย่างไร และถ้าต้งท้งไว้เป็นเวลาพอ
ำ
้
็
สมควร อุณหภมิของนาแขงในตอนแรกและหลงจากหลอมเหลวหมดแลว จะเปล่ยนแปลงอย่างไร
ั
ำ
ี
ู
้
แนวคาตอบ เม่อนานาแข็งใส่แก้ววางต้งไว้ในห้อง นาแข็งจะรับความร้อนจากส่งแวดล้อม เช่น
ั
ำ
้
ิ
้
ำ
ำ
ื
ำ
อากาศและแก้ว ทำาให้น้ำาแข็งหลอมเหลว และขณะที่หลอมเหลวนั้น อุณหภูมิของน้ำาแข็งและ
ั
้
ั
ำ
ี
นาจะคงตัวเท่ากับอุณหภูมิท่จุดหลอมเหลว จนกระท่งนาแข็งหลอมเหลวหมดท้งก้อน หลังจาก
้
ำ
นั้นเมื่อตั้งทิ้งไว้ต่อไปอีก น้ำาที่อยู่ในแก้วจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนเท่ากับอุณหภูมิห้อง
ี
ึ
13. กราฟแสดงการเปล่ยนสถานะของสารชนิดหน่ง อุณหภูมิ (°C)
80
เป็นดังรูป F
ก. กราฟช่วง AB BC CD DE และ EF 60 D E
สารอยู่ในสถานะใด 40
ข. จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงในกราฟช่วง CD 20
ค. จุดเดือดของสารมีค่าเท่าใด 0 B C
A
ง. จุดหลอมเหลวของสารมีค่าเท่าใด -20 เวลา (นาที)
0 4 8 12 16 20 24
แนวคำาตอบ รูป ประกอบคำาถามข้อ 13
ี
ี
ก. สารชนิดน้มีการเปล่ยนสถานะในช่วง BC และ DE เพราะท้งสองช่วงมีอุณหภูมิคงตัว โดยท ี ่
ั
- กราฟช่วง AB สารอยู่ในสถานะของแข็ง
- กราฟช่วง BC สารอยู่ในสถานะของแข็งและของเหลว
- กราฟช่วง CD สารอยู่ในสถานะของเหลว
- กราฟช่วง DE สารอยู่ในสถานะของเหลวและแก๊ส
- กราฟช่วง EF สารอยู่ในสถานะแก๊ส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
180 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 181
ข. กราฟช่วง CD สารได้รับความร้อนมีอัตราการเปลี่ยนอุณหภูมิสูงกว่าช่วงอื่น
ค. จุดเดือดของสารเท่ากับ 50 องศาเซลเซียส
ง. จุดหลอมเหลวของสารเท่ากับ -10 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิ (°C)
ึ
ี
ี
14. กราฟการเย็นตัวของสารชนิดหน่งท่กาลังเปล่ยน
ำ
65 A
สถานะจากของเหลวเป็นของแข็งเป็นดังรูป
ก. กราฟช่วง AB BC และ CD สารมีสถานะใด 60
ข. จุดหลอมเหลวของสารมีค่าเท่าใด
55
ค. ความร้อนแฝงที่ใช้ในกราฟช่วง BC B C
มีชื่อเรียกว่าอะไร 50 D
45 เวลา (นาที)
0 2 4 6 8 10
แนวคำาตอบ รูป ประกอบคำาถามข้อ 14
ก. กราฟช่วง AB BC และ CD สารมีสถานะของเหลว ของเหลวปนของแข็ง และของแข็ง
ตามลำาดับ
ข. จุดหลอมเหลวของสารเท่ากับ 55 องศาเซลเซียส
ค. ความร้อนแฝงที่ใช้ในกราฟช่วง BC เรียกว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว
15. สาร x มีสมบัติดังตาราง
จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความร อนแฝงของ ความร อนแฝงของ
( C) ( C) การหลอมเหลว (J/kg) การกลายเป นไอ (J/kg)
°
°
-114 79 1.04 x 10 5 8.54 x 10 5
ก. ที่อุณหภูมิห้อง (25 ˚C) สาร x มีสถานะใด
ข. ที่จุดเดือดของน้ำา สาร x จะมีสถานะใด
ค. ถ้าสาร x มีมวล 1 กิโลกรัม ความร้อนที่ทำาให้สาร x ที่อุณหภูมิ 79 องศาเซลเซียส
เปลี่ยนสถานะหมด โดยที่อุณหภูมิไม่เปลี่ยนมีค่าเท่าใด
แนวคำาตอบ
ก. เนื่องจากสาร x มีจุดหลอมเหลวที่ -114 ˚C และจุดเดือดที่ 79˚C ดังนั้นที่อุณหภูมิห้อง
ำ
่
ึ
(ซ่งมีอุณหภูมิอุณหภูมิสูงกว่า -114 ˚C และมีอุณหภูมิตากว่า 79 ˚C) สาร x มีสถานะของเหลว
ข. เนื่องจากสาร x มีจุดเดือดที่ 79˚C ซึ่งน้อยกว่าที่จุดเดือดของน้ำา (100 ˚C) ดังนั้น สาร x
มีสถานะแก๊ส
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
180 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 181
5
ค. ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของสาร x จากตาราง คือ 8.54 × 10 จูลต่อกิโลกรัม
5
ดังนั้น สาร x มวล 1 กิโลกรัม ต้องใช้ความร้อนเท่ากับ 8.54 × 10 จูล
16. เหตุใดผ้าห่มหรือเสื้อผ้าที่ทำาด้วยเส้นใยหนา ๆ ช่วยทำาให้ร่างกายอบอุ่นในฤดูหนาว
ำ
ำ
ึ
ื
ู
แนวคาตอบ ระหว่างเส้นใยของผ้าห่มหรือเส้อผ้ามีอากาศซ่งนาความร้อนได้ไม่ดีแทรกอย่มาก
ำ
ื
ี
ื
้
และเน่องจากเส้นใยลดความสามารถในการเคล่อนท่ของโมเลกุลของอากาศ ทาใหความสามารถ
ในการพาความร้อนของอากาศลดลงจึงมีการถ่ายโอนความร้อนจากร่างกายส่ภายนอกผ้าห่ม
ู
ื
ื
หรือเส้อผ้าได้น้อย ทาให้อุณหภูมิภายในผ้าห่มหรือเส้อผ้าคงตัว (37 องศาเซลเซียส) หรือ
ำ
แตกต่างจากอุณหภูมิของร่างกายน้อยมาก ผ้าห่มหรือเสื้อผ้าที่ทำาด้วยเส้นใยหนา ๆ จึงช่วยให้
ร่างกายอบอุ่นในฤดูหนาว
17. เมื่ออัดแก๊สให้มีปริมาตรลดลง ความดันของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด
ื
แนวคาตอบ เพราะเม่อลดปริมาตรลง ทาให้โมเลกุลของแก๊สมีความถ่ในการชนผนังภาชนะ
ี
ำ
ำ
เพิ่มขึ้น จึงทำาให้มีความดันเพิ่มขึ้น
18. เมื่อแก๊สชนิดหนึ่งมีอุณหภูมิสูงขึ้น อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊สจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ู
ั
้
ึ
้
๊
ู
็
ึ
ุ
ิ
๊
ี
่
ำ
ื
ุ
ู
แนวคาตอบ เมอแกสมอณหภมสงขน อตราเรวของโมเลกลของแกสจะสงขนตามสมการ
3kT
หรือ v rms m
B
19. แก๊สต่างชนิดกัน ถ้ามีอุณหภูมิเท่ากัน พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเท่ากันหรือไม่
แนวคำาตอบ พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลจะเท่ากัน เพราะว่า พลังานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุล
แก๊สจะขึ้นกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สเพียงอย่างเดียว ตามสมการ
้
ู
ุ
๊
20. ถาความดันและปรมาตรของแกสเปล่ยนไปโดยจานวนโมเลกลและอณหภมิคงตว พลังงาน
ิ
ำ
ั
ุ
ี
ภายในของระบบจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
๊
แนวคาตอบ จากสมการ สามารถสรปไดวา พลงงานภายในของแกส (U)
่
ำ
ุ
้
ั
ุ
ิ
ำ
ำ
แปรผันตรงกับจานวนโมเลกลและอุณหภูมสัมบูรณ์ของแก๊ส ถ้าจานวนโมเลกลของแก๊สและ
ุ
อุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊สคงตัว พลังงานภายในของระบบก็จะมีค่าคงตัว ดังน้น พลังงานภายใน
ั
ของระบบจึงไม่เปลี่ยนแปลง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 183
ั
้
่
ื
21. เมออดแก๊สในภาชนะใหมีปริมาตรลดลง ถ้าไมมีการถ่ายโอนความร้อนเข้าหรือออกจากระบบ
่
พลังงานภายในระบบจะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
แนวคาตอบ การอัดแก๊สในภาชนะให้มีปริมาตรน้อยลง งานท่ทาโดยแก๊สมีค่าเป็นลบ (W เป็นลบ)
ี
ำ
ำ
ื
และเน่องจากไม่มีการถ่ายโอนความร้อนเข้าหรือออกจากระบบ (Q เท่ากับศูนย์) จาก
กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ Q = ΔU + W จะได้ 0 = ΔU − W นั่นคือ ΔU = W ดังนั้น
พลังงานภายในของระบบจะเพิ่มขึ้น (ΔU เป็นบวก)
22. จงใช้สมการ Q = ΔU + W อธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบในกรณีต่อไปนี้
ก. แก๊สในกระป๋องสเปรย์ ขณะถูกเผาไฟ
ข. ไอน้ำาในห้องอบไอน้ำาความดันสูง ขณะที่ได้รับหรือคายความร้อน
ค. ไอน้ำาในหม้อต้มน้ำาของเครื่องจักรไอน้ำา ขณะเครื่องจักรกำาลังทำางาน
แนวคำาตอบ
๋
ก. ขณะกระปองสเปรย์ถกเผาไฟจะมการถายโอนความรอนไปยงแกสในกระป๋อง นนคอ
๊
้
่
ู
ั
ี
่
ั
ื
Q เป็นบวก โดยที่กระป๋องไม่ขยายตัว นั่นคือ W = 0 ดังนั้น จะได้ว่า Q = ΔU กล่าวคือ
ิ
ิ
ึ
ึ
ึ
ึ
แก๊สในกระป๋องมีพลังงานภายในเพ่มข้น ซ่งก็คือมีอุณหภูมิเพ่มข้น โดยอุณหภูมิเพ่มข้นน ้ ี
ิ
ึ
จะมีผลให้ความดันของแก๊สภายในกระป๋องเพ่มข้น ซ่งเป็นไปตามความสัมพันธ P α T
ึ
์
ิ
ในที่สุดจะมีผลทำาให้กระป๋องระเบิดได้
ำ
้
้
่
ข. ขณะทหองอบไอนาได้รบหรอคายความรอน แสดงวา มการเปลยนแปลง Q โดยทีไอนา
ื
ี
้
่
ี
่
่
ี
้
ำ
ั
ถูกกักในห้องอบซึ่งมีปริมาตรคงตัว นั่นคือ W = 0 ดังนั้น Q = ΔU จะได้ว่า พลังงานของ
ไอน้ำา ΔU จะเปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงของ Q หรือกล่าวได้ว่า พลังงานของไอน้ำา
ื
ำ
้
ำ
ื
้
ึ
ิ
ภายในห้องอบไอนาเพ่มข้นเม่อได้รับความร้อน และพลังงานของไอนาลดลงเม่อมีการถ่ายโอน
ความร้อนออกจากห้องอบไอน้ำา
ื
ำ
ี
ค. ในห้องต้มนาของเครื่องจักรไอนามีการส่งไอนาไปดันลูกสูบให้เคล่อนท น่นคือ มีงานท่ทา
ำ
ั
้
่
ี
้
ำ
ำ
้
้
ำ
้
ี
้
้
โดยแกสเกดขน ในกรณน เมอใหความรอนไปยังห้องตมนา พลงงานภายในของไอนาจะ
ี
ำ
ึ
้
้
้
ั
ิ
๊
่
ื
ื
ำ
ำ
ึ
ำ
้
เพ่มข้นตามสมการ Q = ΔU และเม่อนาพลังงานภายในของไอนาไปทาให้เกิดงานใน
ิ
การดันลูกสูบให้เคลื่อนที่ ช่วงนี้ ΔQ = 0 ดังนั้น W = −ΔU นั่นคือ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่จะ
ทำาให้พลังงานภายในของไอน้ำาลดลง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 183
ปัญหา
1. จงเปลี่ยนอุณหภูมิต่อไปนี้
ก. 27 ˚C, –155 ˚C, 115 ˚C และ –78.50 ˚C เป็นอุณหภูมิในหน่วยเคลวิน
ข. 450 K, 89 K, 172 K และ 4.20 K เป็นอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
วิธีทำา ก. จากความสัมพันธ์ T = t + 273.15
เมื่อ t = 27 ˚C จะได้ T = (27+273.15) K = 300.15 K
เมื่อ t = −115 ˚C จะได้ T = (−155+273.15) K = 118.15 K
เมื่อ t = 115 ˚C จะได้ T = (115+273.15) K = 388.15 K
เมื่อ t = −78.50 ˚C จะได้ T = (−78.50+273.15) K = 194.65 K
ข. จากความสัมพันธ์ t = T − 273.15
เมื่อ T = 450 K จะได้ t = (450 – 273.15) ˚C = 176.85 ˚C
เมื่อ T = 89 K จะได้ t = (89 – 273.15) ˚C = –184.15 ˚C
เมื่อ T = 172 K จะได้ t = (172 – 273.15) ˚C = –101.15 ˚C
เมื่อ T = 4.20 K จะได้ t = (4.20 – 273.15) ˚C = –268.95 ˚C
ตอบ ก. 300 K, 118 K, 388 K และ 194.65 K
ข. 177 ˚C, –184 ˚C, –101 ˚C และ –268.95 ˚C
2. เมื่อให้ความร้อนกับตะกั่ว 1500 จูล พบว่า อุณหภูมิของตะกั่วสูงขึ้น 12 องศาเซลเซียส ความจุ
ความร้อนของตะกั่วก้อนนี้เป็นเท่าใด
วิธีทำา จากโจทย์ Q = 1500 J และ ΔT = 12˚C หรือ 12 K
จากสมการ Q = CΔT
แทนค่า 1500 J = C (12 K)
ดังนั้น C = 125 J/K
ตอบ ความจุความร้อนของตะกั่วเท่ากับ 125 จูลต่อเคลวิน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
184 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 185
6
3. สระน้ำาแห่งหนึ่งมีน้ำา 1.00 × 10 กิโลกรัม ในตอนกลางวันได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ทำาให้
อุณหภูมิเฉลี่ยของน้ำาในสระสูงขึ้น 2 องศาเซลเซียส น้ำาในสระได้รับความร้อนเท่าใด
6
วิธีทำา จากโจทย์ m = 1.00 × 10 kg, c = 4186 J/kg K และ ΔT = 2 ˚C หรือ 2 K
จากสมการ Q = mcΔT
6
สำาหรับน้ำาจะได้ Q = (1.00 × 10 kg)(4186 J/kg K)(2 K)
= 8.37 × 10 J
9
9
ตอบ น้ำาในสระได้รับความร้อนเท่ากับ 8.37 × 10 จูล
ึ
ำ
้
ิ
ี
ึ
4. จงหาความร้อนท่ทาให้นา ทรายและทองแดง ซ่งมีมวลอย่างละ 4.00 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพ่มข้น
ำ
เท่ากัน คือ 10 องศาเซลเซียส
วิธีทำา จากโจทย์ m = m ทราย = m ทองแดง = 4.00 kg
น้ำา
ΔT = ΔT ทราย = ΔT ทองแดง = 10 ˚C หรือ 10 K
น้ำา
c = 4186 J/kg K, c ทราย = 800 J/kg K และ c ทองแดง = 390 J/kg K
น้ำา
จากสมการ Q = mcΔT
สำาหรับน้ำาจะได้ Q = (4.00 kg)(4186 J/kg K)(10 K)
น้ำา
5
= 1.67 × 10 J
สำาหรับทรายจะได้ Q ทราย = (4.00 kg)(800 J/kg K)(10 K)
5
= 0.32 × 10 J
สำาหรับทองแดงจะได้ Q ทองแดง = (4.00 kg)(390 J/kg K)(10 K)
5
= 0.156 × 10 J
5 5
ตอบ ต้องให้ความร้อนกับน้ำา ทราย และทองแดง เท่ากับ 1.67 × 10 จูล, 0.32 × 10 จูล และ
5
0.156 × 10 จูล ตามลำาดับ
4
5. เมื่อให้ความร้อนจำานวน 10 จูล กับโลหะชนิดหนึ่งที่มีมวล 2 กิโลกรัม พบว่าอุณหภูมิของโลหะ
เพิ่มขึ้น 10 องศาเซลเซียส จงหาความร้อนจำาเพาะของโลหะนี้
4
วิธีทำา จากโจทย์ Q = 10 J, m = 2 kg และ ΔT = 10 ˚C หรือ 10 K
จากสมการ Q = mcΔT
4
แทนค่า 10 J = (2 kg)(c)(10 K)
จะได้ c = 500 J/kg K
ตอบ ความร้อนจำาเพาะของโลหะเท่ากับ 500 จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
184 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส ฟิสิกส์ เล่ม 5 ฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 16 | ความร้อนและแก๊ส 185
6. ความร้อนปริมาณหนึ่งทำาให้อะลูมิเนียมมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 60 องศาเซลเซียส ความร้อน
ปริมาณนี้ จะทำาให้ทองแดงมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่าใด
วิธีทำา เนื่องจากความร้อนที่ให้กับอะลูมิเนียมและทองแดงมีปริมาณเท่ากัน ดังนั้น
จะได้
แทนค่า
= 138.5 K หรือ 138.5 ˚C
ตอบ ทองแดงมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 138.5 องศาเซลเซียส
7. ในการทำาให้น้ำาแข็งมวล 2.0 กิโลกรัม อุณหภูมิ –5 องศาเซลเซียส เป็นไอน้ำาเดือดหมดที่ 100
องศาเซลเซียส ต้องใช้ความร้อนทั้งหมดเท่าใด
วิธีทำา การเปลี่ยนสถานะของน้ำาแข็ง 2.0 kg อุณหภูมิ –5 ˚C เป็นไอน้ำาเดือดหมดที่ 100 ˚C
มีขั้นตอนดังนี้
น้ำแข็ง
ใช�ความร�อน Q = mc T 1
1
1
น้ำแข็ง
ใช�ความร�อนแฝง Q = mL 2
2
น้ำ
ใช�ความร�อน Q = mc T 3
3
3
น้ำ
ใช�ความร�อนแฝง Q = mL 4
4
ไอน้ำเดือด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี