The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hi2ura.pon, 2022-06-09 04:13:27

รายงานผลงานวิจัย 2563

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Keywords: รายงานผลงานวิจัย,ANNUAL RESEARCH REPORT

คำนำ

รายงานผลงานวิจัยประจาปี 2563 ของศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี เป็นผลงานวิจัยฉบับเต็ม
ซึ่งได้รวบรวมผลงานด้านการปรับปรุงพันธ์ุ เทคโนโลยีการผลิตอ้อยและด้านการอารักขาอ้อย สาหรับ
รายงานฉบบั นี้ คาดวา่ จะเปน็ ประโยชน์แก่นกั วชิ าการและผู้สนใจท่ีจะได้นาผลการทดลองไปใช้พัฒนาการ
ผลติ ออ้ ยของประเทศไทยต่อไป

การจัดทารายงานผลงานวิจัยฉบับน้ี สาเร็จเรียบร้อยได้ จากความร่วมมือของคณะทางาน
วิชาการศูนย์ฯ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทุกๆ ท่านของศูนย์ฯ และศูนย์อื่นๆ ศูนย์วิจัยพืชไร่
สพุ รรณบรุ ีขอขอบคุณทุกท่านและเกษตรกรท่ีมีส่วนรว่ มในการดาเนนิ งานครงั้ นี้

คณะทางานวชิ าการ
ศนู ย์วิจยั พืชไร่สุพรรณบุรี

มถิ นุ ายน 2565

รายงานผลงานวิจยั ประจาปี 2563

สารบญั หน้า

รายงานผลงานวจิ ัยประจาปี 2563 1

1. 1.2 การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิตอ้อยโดยการจัดการนา้ ธาตุอาหาร และพันธุ์ 24
ท่เี หมาะสมกับพนื ท่ดี นิ เหนียว-ดนิ รว่ นเหนียว จังหวดั นครราชสมี า
47
2 1.6 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตออ้ ยโดยการจดั การน้า ธาตุอาหาร และพนั ธ์ุ
ทีเ่ หมาะสมกบั พนื ท่ดี นิ รว่ นจังหวัดสพุ รรณบรุ ี 70

3 1.7 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตออ้ ยโดยการจัดการน้า ธาตุอาหาร และพนั ธ์ุ 101
ทเ่ี หมาะสมกับพืนที่ดินรว่ น จังหวดั กาญจนบรุ ี 106
112
4 1.12 การเปรียบเทยี บในไร่เกษตรกรเพื่อเพิ่มคณุ ภาพและผลผลิตพันธอุ์ ้อย
ชุดปี 2553 เขตน้าฝน : ออ้ ยปลกู ตอ 1 ตอ 2 128
139
5 1.13 ปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ โรคแสด้ ้าของพันธ์อุ ้อยคันนา้ 150
6 1.14 ปฏิกิริยาการเกดิ โรคเห่ียวเนา่ แดงของพันธ์ุออ้ ยคันนา้ 156
7 1.18 การเปรียบเทยี บในไร่เกษตรกรพนั ธุ์ออ้ ยอ้อยชุดปี 2553 เพ่ือผลผลิตคุณภาพ 164

(อ้อยปลูก) 174
8 1.20 การคัดเลือกขนั ท่ี 2 อ้อยชุดปี 2559 190
9 1.22 การเปรียบเทยี บเบืองตน้ โคลนอ้อยชุดปี 2558
10 1.26 ศกึ ษาปฏิกริ ยิ าของโคลนอ้อยดีเด่นตอ่ โรคแสด้ ้าอ้อยชดุ ปี 2556
11 1.36 ศึกษาปฏิกริ ิยาตอ่ โรคเห่ียวเน่าแดงของโคลนอ้อยชุดปี 2559
12 2.1 ศึกษาคา่ สมั ประสิทธิก์ ารใชน้ า้ ของอ้อยพนั ธใุ์ หมข่ องกรมวชิ าการเกษตร

: เขตชลประทาน
13 2.3 ผลของการให้น้าต่อประสิทธิภาพการใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนของอ้อย
14 2.3 ศกึ ษาประสิทธิภาพการใชไ้ นโตรเจนของโคลนออ้ ยดีเด่นชุดปี 2554

รายงานผลงานวจิ ัยประจาปี 2563

1

รายงานผลงานเรอ่ื งเต็มการทดลองท่ีสิน้ สุด

------------------------

1. แผนงานวจิ ัย 1. วิจยั และพฒั นาเทคโนโลยกี ารเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ อ้อย

2. โครงการวิจยั 4. วจิ ัยการเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ อ้อยโดยการจัดการน้า ธาตุอาหาร

และการใช้พันธ์ุท่ีเหมาะสมกับพืน้ ท่ี

กจิ กรรม 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการนา้ ธาตุอาหาร และ

พนั ธุท์ เ่ี หมาะสมกับพนื้ ที่ในกลุ่มดินตา่ งๆ

กจิ กรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ชอื่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.2 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจดั การนา้ ธาตุอาหาร

และพนั ธ์ทุ ่ีเหมาะสมกับพนื้ ที่ดินเหนียว-ดินรว่ นเหนยี ว จงั หวัด

นครราชสมี า

ชือ่ การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Increasing Sugarcane Productivity on clay- clay loam Soil

in Nakhon Ratchasima Province through Suitable Water,

Nutrient and Variety Managements

4. คณะผู้ดาเนนิ งาน

หวั หนา้ การทดลอง สุมาลี โพธทิ์ อง ศนู ยว์ ิจัยพืชไรส่ ุพรรณบุรี

ผรู้ ว่ มงาน นันทวนั มีศรี ศนู ย์วจิ ัยพชื ไร่สพุ รรณบรุ ี

อนสุ รณ์ เทียนศิริฤกษ์ กองวจิ ัยพฒั นาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร

ศุภกาญจน์ ลว้ นมณี กองวิจัยพฒั นาปจั จยั การผลติ ทางการเกษตร

5. บทคดั ย่อ

ศึกษาการจัดการน้า ธาตุอาหาร และพันธุ์ท่ีเหมาะสมกับการปลูกอ้อยในพื้นท่ีดินเหนียว-ร่วนเหนียว

จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเป็นแนวทางการจัดการน้า ธาตุอาหาร และพันธ์ุที่เหมาะสมในการเพิ่มประสิทธิภาพ

การผลิตอ้อยในพื้นที่ดังกล่าว ในชุดดินโชคชัย ระหว่างเดือนมีนาคม 2560–กุมภาพันธ์ุ 2563 วางแผนการ

ทดลองแบบ Split plot จ้านวน 4 ซ้า ปัจจัยหลักเป็นวิธีการจัดการน้าและปุ๋ย 3 วิธี ได้แก่ 1) อาศัยน้าฝน

รว่ มกบั การใสป่ ยุ๋ เคมีตามค่าวิเคราะห์ดินอัตรา 15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยปลูก และ

18-3-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ส้าหรบั ออ้ ยตอ 2) ให้น้าแบบหยดร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน

อัตรา 15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่สา้ หรับอ้อยปลูก และ 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่

ส้าหรับอ้อยตอ และ 3) ให้น้าแบบหยดร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินอัตรา 22.5-3-12 กิโลกรัม

N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยปลูก และ 27-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยตอ ปัจจัยรอง

เป็นพันธุ์อ้อย 3 โคลน/พันธุ์ ได้แก่ 1) โคลน KK07-037 2) พันธุ์ LK92-11 และ 3) พันธุ์ขอนแก่น 3 ท้าการ

ทดลองในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 ผลการทดลอง พบว่า พันธ์ุอ้อยที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตและ

เหมาะสมกับพ้ืนท่ีดินเหนียว-ร่วนเหนียว ในจังหวัดนครราชสีมา คือ พันธ์ุขอนแก่น 3 โดยให้ผลผลิตสูงกว่า

2

พันธุ์ LK92-11 ซึ่งเป็นพันธุ์ท่ีเกษตรกรนิยมปลูกในพ้ืนที่ประมาณ 6.64-16.56 เปอร์เซ็นต์ และการปลูกอ้อย
พนั ธ์ุขอนแก่น 3 ในสภาพน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยในอัตรา 15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ในอ้อยปลูก
และ 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยตอ (อัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน) ในพื้นท่ีดังกล่าว
เป็นวิธีท่ีให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุนสูงท่ีสุด มีอัตราส่วนตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost
Ratio: BCR) เท่ากับ 1.17 ได้รับก้าไรในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 รวมสูงสุดเท่ากับ 30,906 บาทต่อไร่
หรอื กา้ ไรเฉลีย่ ปลี ะ 10,302 บาทต่อไร่ แต่ทัง้ น้ีกอ่ นปลกู ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนท่ีร่วมกับ
ขอ้ มลู ความต้องการนา้ ของออ้ ยปลูกในแตล่ ะระยะการเจริญเติบโต เพ่ือพิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสม เป็นการ
ลดความเสีย่ งจากการขาดนา้ เนือ่ งจากฝนท้ิงช่วงและมีการให้น้าเสริมน้อยครั้งท่ีสุดซึ่งเป็นการลดต้นทุนการ
ผลิตไดอ้ กี ด้วย

คาสาคัญ : ออ้ ย ชดุ ดินโชคชัย ความตอ้ งการน้า อัตราสว่ นผลตอบแทนสุทธิต่อตน้ ทนุ

ABSTRACT
An effective water, plant nutrition management and suitable varieties for sugarcane

production in clay-clay loam soil was investigated. The aim was to be a guideline of fertilizer
recommendation, water and variety managements for sugarcane production on clay-clay
loam soil. The experiment was conducted in Chok Chai: Ci soil series in Nakhon Ratchasima
province during Mar. 2017-Feb. 2019. Experiment design was split plots with 4 replications.
Main plots comprised of 1) rainfed condition with fertilizer application of 15-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai
for plant cane and 18-5-12 kg N-P2O5-K2O/rai for ratoon cane 2) drip irrigation with fertilizer
application of 15-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai for plant cane and 18-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai for
ratoon cane and 3) drip irrigation with fertilizer application of 22.5-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai
for plant cane and 27-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai for ratoon cane. Subplots consisted 3 sugarcane
varieties - KK07-037, Khon Kaen 3 and LK92-11. The results showed that Khon Kaen 3 variety
had the highest yield potential and was the most suitable variety for clay-clay loam soil in
Nakhon Ratchasima province, gave 6.64-16.56% higher yields than LK92-11, which is the most
popular variety in this area. Planting Khon Kaen 3 variety under rainfed condition with
fertilizer application of 15-3-12 kg N-P2O5-K2O/rai for plant cane and 18-5-12 kg N-P2O5-K2O/rai
for ratoon cane (recommended rate based on soil analysis) gave the highest return on
investment and showed the highest BCR (Benefit–Cost Ratio) of 1.17. The maximum profit
was 30,906 baht/rai or average 10,302 baht/rai/year. However, before planting, local
rainfall data must be analyzed together with data on the water requirement of sugarcane
cultivation in each growth stage. To determine the optimal planting date, is to reduce the

3

risk of water shortage due to drought. Minimal water supplementation, can also reduce
production costs.

Key words : sugarcane Chok Chai soil series water requirement BCR

6. คานา
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญของประเทศไทย มีพื้นที่ปลูกมากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากบราซิล

และอนิ เดีย (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) ผลผลิตส่วนใหญ่ใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิตน้าตาล
ปจั จบุ ันนับเปน็ สินคา้ ภาคเกษตรที่มีมูลค่าโดยรวมกว่า 2 แสนล้านบาท โดยผลผลิตน้าตาลมากกว่า 2 ใน 3
ได้ส่งออกจนท้าให้ไทยกลายเป็นผู้ส่งออกอันดับ 2 ของโลกรองจากบราซิล ในปีการผลิต 2562/63 ไทยมี
พ้นื ทีป่ ลกู อ้อย 11.96 ล้านไร่ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.23 ล้านไร่ ภาคกลาง 3.17 ล้านไร่ ภาคเหนือ
2.88 ล้านไร่ และภาคตะวันออก 0.68 ล้านไร่ จังหวัดที่มีการปลูกอ้อยมากที่สุด 5 อันดับของประเทศ ได้แก่
จังหวัดก้าแพงเพชร นครสวรรค์ กาญจนบุรี อุดรธานี และลพบุรี มีพื้นที่ปลูก 824,670 811,354 789,440
748,540 และ 681,279 ไร่ ตามล้าดับ (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาล, 2563) มีโรงงานน้าตาล
ต้ังอยู่ 58 โรงงานทั่วประเทศ และมีความต้องการผลผลิตอ้อยเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ถึงแม้ว่า ประเทศไทยจะมี
ศักยภาพในการสง่ ออกน้าตาลจัดอยู่ในอันดับต้นของโลก แต่ศักยภาพการผลิตอ้อยในภาพรวมของประเทศ
ค่อนข้างต่้ามีผลผลิตเฉลี่ยเพียง 7.09 ตันต่อไร่ ในขณะที่ผลผลิตอ้อยเฉล่ียทั่วโลกไม่ต่้ากว่า 11 ตันต่อไร่
(สา้ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) ท้ังนี้เนื่องจากพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาศัยน้าฝน และแหล่งน้า
ชลประทานของประเทศมีเพียง 28.36 ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.64 ของพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตร
(กรมชลประทาน, 2553) ซึง่ ไม่เพียงพอแก่ความต้องการ อีกท้ังได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพ
ภูมิอากาศที่ฝนไม่ตกตามฤดูกาล การกระจายตัวของฝนไม่สม่้าเสมอ และเกิดภาวะฝนท้ิงช่วงยาวนาน จึง
สง่ ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต Robison (1963) และ Koehler et al. (1982) ได้รายงานว่า
หากในช่วงย่างปล้อง (stem elongation) อ้อยมีการขาดน้าจะมีผลท้าให้ความยาวล้าลดลงถึง 80 เปอร์เซ็นต์
ซึ่งสอดคล้องกับ Hsiao (1973) ท่ีพบว่า การขาดน้าจะท้าให้อ้อยลดการสร้างใบและยืดปล้อง และยังส่งผล
กระทบโดยตรงตอ่ การแตกกอ ทา้ ใหผ้ ลผลติ ต้า่ และไม่สามารถไว้ตอได้ (Allison et al., 2007) นอกจากการ
ขาดแคลนน้าแลว้ ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ และการจัดการธาตุอาหารที่ไม่ถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้พันธ์ุ
ท่ีไม่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ยังเป็นข้อจ้ากัดท่ีส้าคัญอย่างย่ิงในการท้าให้ผลผลิตอ้อยต่้าและไว้ตอได้น้อย
ส้าหรับพนั ธุอ์ อ้ ยเปน็ ปัจจัยท่ีส้าคัญในการผลิตอ้อยและมีการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมมากถึงร้อยละ 80
โดยอ้อยแต่ละพันธ์ุจะตอบสนองต่อน้าและธาตุอาหาร รวมทั้งการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
จากการเปรียบเทียบศักยภาพของพันธุ์ท่ีปลูกในชุดดินต่างๆ พบว่า อ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตสูงกว่า
พันธุ์ LK92-11 ท่ีปลูกในกลุ่มดินทรายชุดดินบ้านไผ่และสัตหีบ ร้อยละ 3.3 และ 12.0 เมื่อปลูกในกลุ่มดินร่วน
ชุดดินก้าแพงแสนให้ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 31.2 กลุ่มดินเหนียวชุดดินลพบุรี ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 18.1
กลุ่มดินตื้นชุดดินกบินทร์บุรี ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 33.4 หากใช้พันธ์ุสุพรรณบุรี 80 ปลูกในชุดดินราชบุรี
จะให้ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 31.2 (กอบเกียรติ, 2556) เกริก และคณะ (2552) ได้ศึกษาผลกระทบของการ

4

เปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตพืชไร่หลัก 4 ชนิด ในประเทศไทย พบว่า ในอ้อย ถึงแม้ว่า ค่าเฉล่ีย
ของการเปล่ียนแปลงผลผลิตท้ังประเทศได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมีค่าไม่มากนัก
และผลผลิตมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย แต่มีความแปรปรวนค่อนข้างสูง ท้ังความแปรปรวนในเชิงพื้นท่ี และใน
เชิงเวลา ช้ีให้เห็นได้ว่า ความหลากหลายของสภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต
ของออ้ ยคอ่ นข้างสูง จากข้อจ้ากัดของการขาดแคลนน้า การจัดการน้าในพ้ืนท่ีปลูกอ้อยในยุคท่ีมีความแปรปรวน
ของปริมาณน้าฝน จึงควรเป็นการให้น้าเสริมน้อยครั้งที่สุดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดที่จะท้าให้อ้อย
สามารถเจริญเติบโตเป็นปกติในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงโดยไม่กระทบต่อผลผลิต ในขณะที่อ้อยแต่ละพันธุ์มีการ
ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม การให้น้าและธาตุอาหารที่แตกต่างกัน ดังน้ันแนวทางท่ีจะพัฒนาผลผลิตอ้อย
ให้สูงและเพ่มิ ความสามารถในการไว้ตอได้ ต้องมีการบริหารจัดการน้าให้เพียงพอกับความต้องการของอ้อย
และเลือกใช้พันธ์ุให้เหมาะสมกับพ้ืนที่ ตลอดจนมีการจัดการธาตุอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงได้
ศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยของจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งเป็นแหล่งปลูกอ้อยท่ีส้าคัญของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในฤดูการผลิตปี 2562/63 มีพื้นที่ปลูกอ้อยเท่ากับ 679,737 ไร่มากเป็นอันดับ 6
ของประเทศ และมากเป็นล้าดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดอุดรธานี ท้ังนี้เพื่อเป็น
แนวทางในการแนะน้าการใช้ปยุ๋ การจดั การนา้ และการเลอื กใชพ้ ันธ์ใุ หเ้ หมาะสมกับพน้ื ท่ตี ่อไป

7. วธิ ดี าเนินการ
- อปุ กรณ์
- ท่อนพันธ์อุ อ้ ย ได้แก่ โคลน KK07-037 พันธุข์ อนแกน่ 3 และพนั ธ์ุ LK92-11
- อปุ กรณ์การใหน้ ้าหยด ไดแ้ ก่ ทอ่ นา้ หยดพีอี สายน้าหยด หัวน้าหยด ปั๊มน้า
- ปยุ๋ เคมเี กรด 46-0-0 18-46-0 0-46-0 0-0-60 และ 15-15-15
- อปุ กรณ์วดั คุณภาพความหวาน (Hand refractometer)
- Vernier Caliper สา้ หรบั ใชว้ ัดเสน้ ผ่านศูนย์กลางลา้
- ไม้วดั ความสูง
- ชุดเกบ็ ตัวอย่างดนิ และสว่านเกบ็ ตวั อย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสรา้ งดิน (undisturbed core
sampler) ชุดตอกสแตนเลสที่ใช้คกู่ ับกระบอกสแตนเลสเก็บตัวอยา่ งดนิ ท่อเจาะดนิ สแตนเลส
ยาว 1 เมตร คอ้ นทองแดง
- วิธกี าร
แผนการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Split plot จ้านวน 4 ซา้
Main plot คือ การจัดการนา้ และปยุ๋ 3 วธิ ี ได้แก่
1) อาศัยน้าฝน+ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดิน (15-3-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยปลูก
และ 18-3-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ส้าหรบั ออ้ ยตอ)
2) ให้นา้ แบบหยด+ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับ
ออ้ ยปลกู และ 18-3-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่สา้ หรับออ้ ยตอ)

5

3) ให้น้าแบบหยด+ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (22.5-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
ส้าหรบั ออ้ ยปลกู และ 27-3-12 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่สา้ หรับอ้อยตอ)

หมายเหต:ุ ใช้คา้ แนะนา้ การใช้ปยุ๋ ตามค่าวิเคราะหด์ ินสา้ หรับออ้ ยปลกู และอ้อยตอท่ีได้จากโครงการวิจัยด้าน
ดนิ น้า และปยุ๋ อ้อย ซึ่งด้าเนนิ การ ในปี 2554–2558

Sub plot คือ พันธุ์ออ้ ยจ้านวน 3 พันธ์ุ ได้แก่
1) พนั ธ์ขุ อนแกน่ 3
2) พนั ธ์ุ LK92-11
3) โคลน KK07-037

วิธปี ฏบิ ตั กิ ารทดลอง
1) คัดเลือกพ้ืนท่ีทา้ การทดลองในแหลง่ ปลกู ออ้ ยที่สา้ คัญของจังหวัดนครราชสีมา ท่ีมีเน้ือดินอยู่

ในกลุ่มดนิ เหนยี ว-ดนิ ร่วนเหนยี ว โดยคดั เลอื กจากชดุ ดินโชคชัย
2) วิเคราะหล์ ักษณะหน้าตัดดินโดยขุดเจาะหลุมขนาด 1.5 x 1.5 x 1.5 เมตร บันทึกข้อมูลความลึก

ของหน้าตัดดิน ความหนาของช้ันดิน ความหนาแน่นรวมของดิน เนื้อดิน ค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน
ปริมาณอนิ ทรียวตั ถุ ฟอสฟอรสั ทเี่ ป็นประโยชน์ โพแทสเซยี ม แคลเซียม และแมกนเี ซยี มทีแ่ ลกเปลีย่ นได้

3) รวบรวมข้อมลู ภมู ิอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยาในพ้ืนที่ท้าการทดลองอย่างน้อย 20 ปีย้อนหลัง
เชน่ อณุ หภูมิสงู สุด-ต่้าสุด ปริมาณน้าฝน และพิกัดที่ตง้ั ของสถานีอุตุนิยมวิทยา เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสมร่วมกับข้อมูลปริมาณความต้องการน้าในแต่ละระยะการเจริญเติบโต
ของอ้อย

4) สมั ภาษณ์เกษตรกรเกย่ี วกบั การจดั การดิน น้า ปุย๋ พนั ธุท์ ่ีนิยมปลูก และการปฏิบตั ิในแปลงปลกู
ของเกษตรกร

5) กอ่ นปลูกอ้อยทดลองมีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพื้นท่ีร่วมกับข้อมูลความต้องการ
น้าของอ้อยปลูกในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกที่เหมาะสม เพ่ือให้อ้อยได้รับ
น้าฝนตรงตามปริมาณความต้องการหรอื มกี ารให้น้าเสรมิ น้อยคร้ังทสี่ ดุ

6) ปลกู ออ้ ยในแปลงย่อยขนาด 13 x 7 เมตร ระยะปลูก 1.30 x 0.50 เมตร เว้นระยะระหว่าง
แปลงยอ่ ย 1.30 เมตร ใชท้ ่อนพนั ธุ์ 3 ตาต่อท่อน จ้านวน 2 ท่อนต่อหลุม ใส่ปุ๋ยรองพื้นก่อนปลูกด้วยปุ๋ย
ไนโตรเจนครึ่งอัตราที่ก้าหนด ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเต็มอัตรา ส่วนการใส่ปุ๋ยครั้งท่ี 2 ใช้ปุ๋ย
ไนโตรเจนอีกครึ่งอัตรา เม่ืออ้อยอายุ 3 เดือนหรือเม่ือดินมีความชื้นพอเหมาะ หลังจากปลูกอ้อยท้าการ
ฉดี สารเคมคี มุ วชั พชื ทนั ที หลงั จากนั้นก้าจดั วัชพืชด้วยแรงงานคน ขนาดพ้ืนที่เก็บเกี่ยว 36.4 ตารางเมตร
(4 แถวๆ ยาว 7 เมตร)

6

7) ก่อนปลกู ออ้ ยได้น้าข้อมูลปรมิ าณนา้ ฝนในพื้นท่ที ดลองยอ้ นหลัง 20 ปี มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูล
ความตอ้ งการน้าของอ้อยในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสม โดยพิจารณา
การใหน้ า้ จากความตอ้ งการน้าของอ้อย (ETc) รายสัปดาห์รว่ มกบั ปริมาณน้าฝนสะสมรายสัปดาห์ โดยทุกกรรมวิธี
มกี ารให้นา้ เสริมครงั้ แรกหลงั ปลูกในปรมิ าณ 29.8 มิลลเิ มตร (หลังปลูกอ้อยจนกระทั่งอ้อยอายุ 1 เดือน)
เพื่อช่วยให้อ้อยงอกและต้ังตัวได้ หลังจากนั้นค้านวณการให้น้าโดยพิจารณาจากสมดุลน้า (Water
balance) ทุก 7 วัน เพือ่ คา้ นวณปรมิ าณน้าทต่ี ้องให้กับพชื ตามสมการ

ETc = Kc x ETo โดยใช้คา่ Kc ของพันธุข์ อนแก่น 3 (กอบเกียรติ และคณะ, 2555)
สว่ นค่า ETo ค้านวณตามวธิ ีของ Blaney and Criddle (FAO, 1986) โดยท่ี

ETc : ปริมาณความต้องการน้าของพชื (มิลลเิ มตรต่อวนั )
Kc : สัมประสิทธิ์การใชน้ ้าของพชื (ใช้ค่า Kc ของพันธ์ุขอนแกน่ 3 ในการคา้ นวณ)
ETo : ปรมิ าณการใชน้ ้าของพชื อา้ งอิง (มลิ ลเิ มตรตอ่ วัน)
ETo = p (0.46Tmean+8) โดยที่
p : เปอร์เซน็ ตป์ ระจ้าวนั เฉล่ยี ของชว่ั โมงกลางวันทัง้ หมดในระยะ 1 ปี
Tmean : คา่ อุณหภมู ปิ ระจ้าเดือนเฉลีย่ (C)
Tmean = (Tmax + Tmin)/2
Tmax : ผลรวมของอุณหภูมิสงู สดุ ระหว่างเดอื น/จ้านวนวันของหนึ่งเดอื น
Tmin : ผลรวมของอุณหภมู ิต่้าสดุ ระหวา่ งเดือน/จ้านวนวนั ของหนง่ึ เดอื น
การบนั ทกึ ขอ้ มลู
1) บันทึกเปอร์เซ็นต์ความงอก และข้อมูลการเจริญเติบโตของอ้อย ได้แก่ ความสูง เส้นผ่าน
ศูนยก์ ลางลา้ จา้ นวนล้าตอ่ กอ เมือ่ อ้อยอายุ 6 9 และ 12 เดอื น
2) บันทกึ ขอ้ มลู ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลติ ไดแ้ ก่ ความยาวล้า เสน้ ผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวน
ปล้องต่อล้า น้าหนักล้าเฉล่ีย จ้านวนล้าต่อกอ จ้านวนกอเก็บเกี่ยวต่อไร่ น้าหนักล้าต่อไร่ และความหวาน
(CCS)
3) บนั ทึกข้อมลู การระบาดของโรคและแมลง เช่น โรคใบขาว โรคแส้ด้า โรคเห่ียวเน่าแดง หนอนกอ
หนอนเจาะล้าตน้ โดยปฏิบัติตามตารางการบันทึกข้อมูลการระบาดของโรคและแมลงของกรมวิชาการเกษตร
(กรมวชิ าการเกษตร, 2540)
4) บันทกึ ขอ้ มลู สภาพภูมิอากาศตลอดฤดูปลกู เช่น ปรมิ าณน้าฝน อณุ หภมู สิ ูงสดุ -ตา้่ สุด
5) บันทึกข้อมูลปรมิ าณน้าที่ใหใ้ นแตล่ ะครงั้ และตลอดฤดปู ลูก
6) บันทกึ ต้นทนุ ในการปฏิบตั ใิ นแปลงปลูกต้งั แต่การเตรียมท่อนพนั ธ์ุ การเตรยี มดนิ จนกระท่ัง
เกบ็ เก่ยี ว
7) วเิ คราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance) เปรยี บเทียบผลของการจัดการน้า
และธาตุอาหารร่วมกับการใช้พนั ธต์ุ ่อการเพิ่มผลผลิตของอ้อย
วิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ สรุปการใช้การจัดการน้าและธาตุอาหารร่วมกับการใช้
พันธท์ุ เี่ หมาะสมกบั พ้นื ท่ที ี่ใหผ้ ลตอบแทนคุ้มคา่ แกก่ ารลงทนุ มากทส่ี ุด

7

- เวลาและสถานท่ี
ตลุ าคม 2558-กนั ยายน 2563 ไร่เกษตรกรตา้ บลเฉลยี ง อ้าเภอครบรุ ี จงั หวัดนครราชสีมา

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
ก่อนปลูกอ้อยได้น้าข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนท่ี อ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา มาวิเคราะห์

ร่วมกับข้อมูลความต้องการน้าของอ้อยปลูกและอ้อยตอในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพ่ือพิจารณาช่วงวันปลูก
ทเ่ี หมาะสม พบว่า หากต้องการปลูกอ้อยในพ้ืนท่ีอ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ควรปลูกในช่วงวันที่ 15
กุมภาพันธ์–15 มีนาคม เพ่ือให้แต่ละระยะการเจริญเติบโตของอ้อยปลูกได้รับน้าฝนตรงตามปริมาณความ
ต้องการ และมีโอกาสเสี่ยงต่อการขาดน้าน้อยท่ีสุดหรือมีการให้น้าเสริมน้อยคร้ังที่สุด จากข้อมูลดังกล่าว
จึงปลูกอ้อย ในวันท่ี 8 มีนาคม 2560 หลังปลูกอ้อยมีการให้น้าหยดทันทีในปริมาณ 29.8 มิลลิเมตร โดยเกณฑ์
การให้น้าแต่ละครั้ง ในอ้อยปลูกจะพิจารณาจากปริมาณน้าฝนสะสมใน 7 วัน เทียบกับปริมาณความต้องการน้า
ของอ้อย (ETc) สะสม 7 วนั หากปริมาณน้าฝนนอ้ ยกวา่ ปริมาณความต้องการน้าจะต้องมีการให้น้าเพ่ิมตาม
ปริมาณความต้องการของอ้อย ส้าหรับในอ้อยตอการให้น้าจะพิจารณาจากปริมาณน้าฝนสะสมใน 14 วัน
เทยี บกับปรมิ าณความต้องการน้าของอ้อย (ETc) สะสม 14 วัน ซึ่งหากปริมาณน้าฝนน้อยกว่าปริมาณความ
ต้องการนา้ จะต้องมกี ารให้น้าเพมิ่ ในปรมิ าณคร่ึงหนึ่งของปริมาณความต้องการน้าของอ้อยตอ ได้ผลการทดลอง
ดงั น้ี

คุณสมบตั ขิ องดินในพ้นื ทท่ี ดลอง
พ้ืนที่ท้าการทดลองเป็นตัวแทนพ้ืนที่ปลูกอ้อยในกลุ่มดินเหนียว ในแหล่งปลูกอ้อยที่ส้าคัญของ

จงั หวดั นครราชสีมา ได้แก่ อ้าเภอครบุรี ในชุดดนิ โชคชยั ซึง่ อยู่ในกลมุ่ ชุดดนิ ที่ 29 เกิดจากการสลายตัวผุพัง
อยู่กับที่ หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินภูเขาไฟจ้าพวกหินบะซอลต์ จากการวิเคราะห์
ลกั ษณะหนา้ ตัดดนิ สามารถแบง่ ช้ันหน้าตดั ดินออกเป็น 4 ชั้น ตามความลึกของหน้าตัด ดินบนมีเน้ือดินเป็น
ดินร่วนเหนียวปนทราย ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียวมีความหนาแน่นรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง โดยความ
หนาแน่นรวมของดินบน (0-49 เซนติเมตร) และดินล่าง (49-94 เซนติเมตร) เท่ากับ 1.37 และ 1.36 กรัม
ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล้าดับ (Table 1) ดินค่อนข้างมีความอุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุท่ีระดับความลึก
ของดิน 0-49 เซนติเมตร เท่ากับ 1.21 เปอร์เซ็นต์ มีการสะสมโพแทสเซียมในปริมาณสูง 77.05 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม และมีฟอสฟอรัสเป็นประโยชน์เฉล่ียเท่ากับ 45.10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Table 2) ดินมีความ
เป็นกรด-ด่าง (pH) เฉล่ีย 5.75 ซึ่งเหมาะสมกับการปลูกอ้อย เม่ือพิจารณาการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
ส้าหรับอ้อยปลูก ในกรรมวิธีท่ีใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน จึงใส่ปุ๋ย N-P2O5-K2O ในอัตรา 15-3-12 กิโลกรัมต่อไร่
โดยแบ่งใส่ 2 คร้ัง คร้ังแรกรองพ้ืนพร้อมปลูกในอัตรา 7.5-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ และคร้ังท่ี 2
ใส่เฉพาะปุ๋ย N อัตรา 7.5 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่ออ้อยอายุ 2.5 เดือน ส่วนกรรมวิธีท่ีใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 1.5 เท่าของ
อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย N-P2O5-K2O ในอัตรา 22.5-3-12 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่รองพ้ืนพร้อมปลูก
ในอัตรา 11.25-3-12 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ และคร้งั ที่ 2 ใส่เฉพาะปุ๋ย N อัตรา 11.25 กิโลกรัมต่อไร่
เมื่ออ้อยอายุ 2.5 เดือน โดยใชป้ ุย๋ ยูเรีย (46-0-0) เปน็ แหลง่ ปุ๋ยไนโตรเจน

8

การทดลองในอ้อยปลูก (ปี 2560/61)
ปลูกออ้ ย ในวนั ท่ี 8 มนี าคม 2560 ซึ่งต้งั แต่ปลูก จนกระท่ังอ้อยอายุ 6 เดือน (27 กันยายน 2560)

มีการใหน้ ้าหลังปลูกอ้อยเพยี ง 1 คร้ัง ในปริมาณ 29.8 มิลลิเมตร เน่ืองจากตลอดอายุการเจริญเติบโตมีปริมาณ
นา้ ฝนเพียงพอกับความต้องการของอ้อย และมีการให้น้าอีกเมื่ออ้อยอายุ 7-10 เดือน (25 ตุลาคม-27
ธันวาคม 2560) และหลังจากอ้อยอายุ 10 เดือน จนกระท่ังเก็บเก่ียวไม่มีการให้น้า โดยตลอดระยะการ
เจริญเติบโตของอ้อยปลูกจนกระทั่งเก็บเก่ียว (8 มีนาคม 2560-3 มีนาคม 2561) อ้อยมีปริมาณความ
ต้องการน้ารวม 1,887 มิลลิเมตร มีจ้านวนวันฝนตก 136 วัน ปริมาณน้าฝนรวม 1,239.8 มิลลิเมตร ในกรรมวิธี
ที่มกี ารให้น้าเสรมิ มีการให้น้าทั้งหมด 11 คร้ัง รวมปริมาณน้าท่ีให้เท่ากับ 544 มิลลิเมตร ผลการทดลอง พบว่า
การจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ย ท้ัง 3 วิธี ให้องค์ประกอบผลผลิตได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่ ความยาวล้า เส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้า และน้าหนักต่อล้าไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 4-7) และส่งผลให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทาง
สถิติ การปลกู ออ้ ยโดยอาศัยน้าฝนและใหน้ ้าเสริมเฉพาะช่วงท่ีอ้อยงอกร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน
ในอัตรา 15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเท่ากับ 26.09 ตันต่อไร่ ส่วนการให้น้าหยด
ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตรา 15-3-12 (1.0 N) และ 22.5-3-12 (1.5 N) กิโลกรัม N-P2O5-K2O
ต่อไร่ ใหผ้ ลผลติ เท่ากับ 22.44 และ 24.91 ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดับ และพบว่า อ้อยแต่ละโคลน/พันธ์ุให้ผลผลิต
ไม่แตกต่างกันทางสถิติเช่นกัน โดยอ้อยโคลน KK07-037 พันธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11 ให้ผลผลิตเท่ากับ
25.40 24.85 และ 21.32 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 3) เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตน้าตาล พบว่า พันธุ์
ขอนแกน่ 3 มแี นวโน้มใหผ้ ลผลติ น้าตาลสูงสุด คือ 3.10 ตันซีซีเอสต่อไร่ เน่ืองจากมีความหวานสูง โดยมีค่า
ซีซีเอสเท่ากับ 12.48 ส่วนพันธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037 ให้ผลผลิตน้าตาลใกล้เคียงกันคือ 2.80 และ
2.79 ตันซซี ีเอสตอ่ ไร่ ตามล้าดับ และมคี ่าซซี ีเอสเท่ากับ 11.97 และ 10.51 (Table 9) ในด้านองค์ประกอบ
ผลผลติ พบวา่ ออ้ ยแต่ละโคลน/พนั ธ์ุ ให้องค์ประกอบผลผลิตไม่แตกกันทางสถิติในทุกลักษณะ เม่ือวิเคราะห์
ผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์ พบว่า การปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ในพ้ืนท่ี ดินเหนียว-ร่วนเหนียว
ชุดดินโชคชัย อ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยอาศัยน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตรา
15-3-12 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ใหก้ า้ ไรสงู สุดเทา่ กบั 15,701 บาทต่อไร่ มอี ัตราส่วนตอบแทนสุทธิต่อ
ตน้ ทนุ (Benefit–Cost Ratio: BCR) เทา่ กบั 1.12 ซ่งึ เปน็ กรรมวธิ ที ีค่ ุ้มค่าแก่การลงทุนมากทส่ี ดุ (Table 10)

การทดลองในอ้อยตอ 1 (ปี 2561/62)
หลงั เกบ็ เกี่ยวออ้ ยปลกู จนกระท่งั เก็บเกี่ยวอ้อยตอ 1 (4 มีนาคม 2561-20 กุมภาพันธ์ 2562) มีการ

ใหน้ า้ 6 คร้ัง รวมปรมิ าณน้าท่ีใหเ้ ท่ากบั 335.30 มิลลิเมตร โดยตลอดระยะการเจริญเติบมีจ้านวนวันฝนตก
94 วนั ปริมาณน้าฝนรวม 848.40 มิลลิเมตร ในขณะที่ปริมาณความต้องการน้าของอ้อยรวมเท่ากับ 2,164
มลิ ลเิ มตร ผลการทดลอง พบว่า การจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ยทั้ง 3 วิธี ให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต
ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 18.46-19.46 ตันต่อไร่ (Table 11) ในขณะที่อ้อยแต่ละ
โคลน/พันธ์ุให้องค์ประกอบผลผลิตได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่ ความยาวล้า น้าหนักต่อล้า แตกต่างกันทางสถิติ
อย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยอ้อยพันธุ์ LK92-11 ให้จ้านวนล้าต่อไร่มากที่สุดเท่ากับ 17,535 ล้าต่อไร่ รองลงมา
คือ พันธ์ุขอนแก่น 3 และโคลน KK07-037 ซึ่งให้จ้านวนล้าใกล้เคียงกันคือ 15,667 และ 15,399 ล้าต่อไร่
(Table 12) ตามลา้ ดบั สา้ หรบั ความยาวล้า อ้อยโคลน KK07-037 ให้ความยาวล้าสูงที่สุดเท่ากับ 307 เซนติเมตร
แตกตา่ งจากพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 อย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ ซึ่งมีความยาวล้าเท่ากับ 283 และ

9

277 เซนติเมตร ตามล้าดับ (Table 13) ส่วนน้าหนักต่อล้า พบว่า พันธ์ุขอนแก่น 3 ให้น้าหนักล้ามากที่สุด
เท่ากับ 1.67 กิโลกรัมต่อล้า รองลงมาคือ โคลน KK07-037 และพันธุ์ LK92-11 ให้น้าหนักล้าเท่ากับ 1.56
และ 1.44 กิโลกรัมต่อล้า ตามล้าดับ (Table 14) แต่อ้อยทั้ง 3 โคลน/พันธ์ุ ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทาง
สถิติ ท้ังน้ีเน่ืองจากพันธ์ุ LK92-11 ซ่ึงมีจ้านวนล้าต่อไร่สูงที่สุด แต่ให้ความยาวล้าและน้าหนักต่อล้าต้่าสุด
ในขณะท่ีอ้อยโคลน KK07-037 ถึงแม้จะให้ความยาวล้าสูงที่สุดแต่กลับให้จ้านวนล้าต่อไร่และน้าหนักต่อล้า
ต่้าสุด ส่วนพันธุ์ขอนแก่น 3 มีจ้านวนล้าต่อไร่และความสูงปานกลางแต่ให้น้าหนักต่อล้าสูงที่สุด จึงท้าให้
ผลผลิตไม่แตกต่างจากอ้อยพันธุ์ LK92-11 และอ้อยโคลน KK07-037 โดยอ้อยโคลน KK07-037 พันธุ์
LK92-11 และพันธุ์ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตเฉล่ียเท่ากับ 18.16 18.22 และ 19.97 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ เมื่อ
พิจารณาผลผลิตน้าตาล พบว่า อ้อยโคลน KK07-037 ให้ผลผลิตน้าตาลต่้าที่สุดเท่ากับ 2.02 ตันซีซีเอสต่อไร่
(Table 15) เนื่องจากมีค่าความหวาน (CCS) ต่้าที่สุดเท่ากับ 11.16 (Table 16) ในขณะท่ีพันธ์ุขอนแก่น 3
และ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาลเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 และ 2.43 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ เม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์ พบว่า ในอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้าโดยอาศัยน้าฝน
ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตรา 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลตอบแทนสูง
ท่ีสุด โดยมีรายได้สุทธิเท่ากับ 9,720 บาทต่อไร่ มีอัตราส่วนผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost
Ratio: BCR) เทา่ กบั 1.26 (Table 17)

การทดลองในอ้อยตอ 2 (ปี 2562/63)
การทดลองในอ้อยตอ 2 (ปี 2562/63) ตลอดอายุการเจริญเติบโตของอ้อยตอ 2 จนกระท่ังเก็บเก่ียว

(21 กุมภาพันธ์ 62-13 กมุ ภาพนั ธ์ 2563) อ้อยมคี วามตอ้ งการน้ารวม 2,227.34 มลิ ลิเมตร มีการให้น้าเสริม
ในกรรมวธิ ีที่มกี ารให้นา้ 8 คร้ัง ปรมิ าณน้าที่ให้รวม 385.32 มิลลิเมตร ตลอดระยะการเจริญเติบโตของอ้อยตอ 2
มีจ้านวนวันฝนตกเพียง 53 วัน โดยก่อนเก็บเกี่ยวพบฝนท้ิงช่วงเป็นเวลายาวนานถึง 5 เดือน จึงท้าให้มี
ปรมิ าณนา้ ฝนรวมเพียง 498.60 มิลลิเมตร ซง่ึ ผลการทดลอง พบว่า วิธีการจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ยท้ัง 3
กรรมวิธี ไม่ทา้ ให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตแตกต่างกันทางสถิติในทุกลักษณะ โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย
ระหว่าง 10.88-11.64 ตันต่อไร่ (Table 18) มีจ้านวนล้าต่อไร่เฉล่ียที่ 13,712-14,236 ล้าต่อไร่ ความยาวล้า
เฉล่ีย 186-197 เซนตเิ มตร เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางล้าเฉล่ีย 2.77-2.83 เซนติเมตร และน้าหนักล้าเฉลี่ย 0.96-1.03
กิโลกรัมต่อล้า (Table 19-22) และให้ความหวานและผลผลิตน้าตาลไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยให้ผลผลิต
น้าตาลอยู่ระหว่าง 2.22-2.29 ตันซีซีเอสต่อไร่ มีความหวานเฉลี่ย (CCS) ระหว่าง 10.54-11.38 ด้านพันธุ์ พบว่า
อ้อยแต่ละโคลน/พันธุ์ให้องค์ประกอบผลผลิต ได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่ ความยาวล้า เส้นผ่านศูนย์กลางล้า
และน้าหนักต่อล้าแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยอ้อยพันธุ์ LK92-11 ให้จ้านวนล้าต่อไร่สูงท่ีสุด
เท่ากบั 15,390 ลา้ ตอ่ ไร่ รองลงมาคอื อ้อยโคลน KK07-037 และพนั ธุ์ขอนแก่น 3 ซึ่งให้จ้านวนล้าต่อไร่ใกล้เคียงกัน
คอื 13,690 และ 12,932 ล้าต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 19) ส้าหรับความยาวล้า พบว่า อ้อยโคลน KK07-037
ให้ความยาวล้ามากท่ีสุด (223 เซนติเมตร) แตกต่างจากพนั ธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11 อย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
ทางสถติ ิ ซ่ึงมีความยาวล้าเท่ากับ 180 และ 171 เซนติเมตร ตามล้าดับ (Table 20) ส่วนเส้นผ่านศูนย์กลางล้า
พบว่า พันธ์ุขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าใหญ่ที่สุดเท่ากับ 2.90 เซนติเมตร ส่วนอ้อยโคลน KK07-037
และพันธุ์ LK92-11 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าใกล้เคียงกัน โดยเท่ากับ 2.76 และ 2.72 เซนติเมตร ตามล้าดับ

10

(Table 21) ส้าหรับน้าหนักต่อล้า พบว่า อ้อยโคลน KK07-037 และพันธุ์ขอนแก่น 3 มีน้าหนักต่อล้า
ใกล้เคียงกันเท่ากับ 1.07 และ 1.06 กิโลกรัม ตามลา้ ดับ ในขณะที่พันธ์ุ LK92-11 มีน้าหนักต่อลา้ เพียง
0.85 กิโลกรัม (Table 22) อย่างไรก็ตามอ้อยทั้ง 3 โคลน/พันธ์ุ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ถึงแม้ว่า พันธ์ุ LK92-11
จะมจี า้ นวนลา้ ตอ่ ไร่และจ้านวนกอเก็บเก่ียวสูงท่ีสุดเท่ากับ 2,326 กอต่อไร่ (Table 23) แต่ให้องค์ประกอบ
ผลผลิตในด้านความยาวล้า เส้นผ่านศูนย์กลางล้า และน้าหนักต่อล้าต่้าสุด ในขณะท่ีอ้อยโคลน KK07-037
ถึงแม้จะให้ความยาวล้าสูงท่ีสุดแต่มีจ้านวนล้าต่อไร่ค่อนข้างต่้า เนื่องจากมีจ้านวนกอเก็บเก่ียวต่อไร่น้อยท่ีสุด
และมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าปานกลาง จึงท้าให้ผลผลิตต่อไร่ของอ้อยพันธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037
ไม่แตกต่างจากพนั ธ์ุขอนแกน่ 3 ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าท่ีใหญ่ มีความยาวล้าและน้าหนักต่อล้าค่อนข้างมาก
โดยอ้อยโคลน KK07-037 พันธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11 ให้ผลผลิตเฉล่ียเท่ากับ 11.91 10.98 และ 10.59
ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดับ (Table 18) เม่ือพจิ ารณาผลผลติ นา้ ตาล พบวา่ อ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล
สูงสุดเท่ากับ 1.36 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 24) ทั้งนี้เนื่องจากมีค่าซีซีเอสสูงท่ีสุดเท่ากับ 12.34 (Table 25)
และให้ผลผลิตค่อนข้างสูง ในขณะท่ีพันธ์ุ LK92-11 และอ้อยโคลน KK07-037 มีค่าซีซีเอสเท่ากับ 10.61 และ
9.86 ตามล้าดับ และมีผลผลิตน้าตาลเท่ากับ 1.13 และ 1.18 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 24) เม่ือเปรียบเทียบ
ผลตอบแทนทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ พบว่า ในอ้อยตอ 2 การจัดการน้าโดยอาศัยน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี
ตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตรา 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ในอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ให้ผลตอบแทนสูง
ท่ีสุด โดยมีรายได้สุทธิเท่ากับ 5,485 บาทต่อไร่ มีอัตราส่วนผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost
Ratio: BCR) เท่ากับ 1.16 (Table 26)

เม่ือพิจารณาผลตอบแทนด้านเศรษฐศาสตร์ในภาพรวมท้ัง 3 ปี (อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และ อ้อยตอ 2)
โดยพิจารณาจากผลผลิตอ้อย ต้นทุน รายได้จากการขายผลผลิต และรายได้สุทธิ รวม 3 ปี พบว่า การปลูกอ้อย
พนั ธุ์ขอนแกน่ 3 ในสภาพน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราไนโตรเจนเพียง 1 เท่าของอัตราแนะน้า (15-3-12
กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่) เป็นกรรมวธิ ีท่ไี ด้รบั ผลตอบแทนสูงท่ีสุด โดยมรี ายได้สุทธิ 3 ปี รวม 30,906 บาทต่อไร่
มอี ัตราสว่ นผลตอบแทนสทุ ธิต่อตน้ ทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR) เทา่ กบั 1.17 (Table 27)

9. สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
พันธ์ุอ้อยที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตและเหมาะสมกับพ้ืนที่ดินเหนียว-ร่วนเหนียว ในจังหวัด

นครราชสีมา คอื พันธ์ุขอนแก่น 3 โดยให้ผลผลิตอ้อยปลูกสูงกว่าพันธุ์ LK92-11 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยม
ปลูกในพ้ืนท่ี 16.56 เปอร์เซ็นต์ ในอ้อยตอให้ผลผลิตสูงกว่า 6.64 เปอร์เซ็นต์ โดยการปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3
ในสภาพนา้ ฝนรว่ มกบั การใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ส้าหรับอ้อยปลูก และ 18-3-12
กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ส้าหรับอ้อยตอ (อัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะหด์ นิ ) ในพน้ื ทีด่ ังกล่าว เป็นวิธีท่ีให้
ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR เท่ากับ 1.17) โดยได้รับก้าไรรวมในอ้อยปลูก
อ้อยตอ 1 และตอ 2 รวมสูงสุดเท่ากับ 30,906 บาทต่อไร่ หรือก้าไรเฉลี่ยปีละ 10,302 บาทต่อไร่ แต่ท้ังน้ี
ก่อนปลูกต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพื้นที่ร่วมกับข้อมูลความต้องการน้าของอ้อยปลูกในแต่ละ
ระยะการเจรญิ เติบโต เพือ่ พจิ ารณาช่วงวันปลูกท่เี หมาะสมเป็นการลดความเส่ียงจากการขาดน้า เน่ืองจากฝน
ทิง้ ช่วงและมีการให้น้าเสริมน้อยคร้งั ที่สุดซ่ึงเปน็ การลดต้นทนุ การผลติ ไดอ้ ีกด้วย

11

10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
ได้ค้าแนะน้าการใช้พันธุ์อ้อยท่ีมีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงในพื้นท่ีดินเหนียว-ร่วนเหนียว

จังหวัดนครราชสีมา ตลอดจนการจัดการน้าและธาตุอาหารท่ีเหมาะสม คุ้มค่าแก่การลงทุน ซ่ึงข้อมูล
ดังกล่าวสามารถน้าไปขยายผลให้กับเกษตรกรและโรงงานน้าตาลในพ้ืนท่ี เพื่อเป็นแนวทางในการยกระดับ
ผลผลิตอ้อย และเพิ่มความสามารถในการไว้ตอของพ้ืนท่ีปลูกอ้อยท่ีเป็นดินเหนียว-ร่วนเหนียวของจังหวัด
นครราชสีมาต่อไป

11. คาขอบคณุ (ถา้ มี)
คณะผวู้ จิ ยั ขอขอบคณุ โรงงานนา้ ตาลครบุรี อ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ท่ีเอ้ือเฟ้ือสถานท่ีในการ

จัดประชุมช้ีแจงโครงการและคัดเลือกพ้ืนท่ีในการทดลอง และขอขอบคุณนายบุญเลี้ยง รากกระโทก ที่สนับสนุน
พ้ืนทสี่ า้ หรับการทดลองในต้าบลเฉลียง อ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ทา้ ใหง้ านวิจยั นี้สา้ เรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี

12. เอกสารอ้างอิง
กรมชลประทาน. 2563 . รายงานสรุปโครงการจัดทา้ แผนพฒั นาการชลประทานระดับลุ่มน้าอย่างเป็นระบบ
(กรอบนา้ 60 ล้านไร)่ . 45 หนา้
กรมวชิ าการเกษตร. 2540. คู่มอื การบนั ทึกขอ้ มูลพชื ไร.่ กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
เกรกิ ปนั้ เหนง่ เพช็ ร วนิ ยั ศรวัต สมชาย บญุ ประดับ สกุ จิ รตั นศรวี งษ์ สหสั ชัย คงทน สมปอง นลิ พันธ์
ชิษณุชา บุดดาบุญ ก่ิงแก้ว คุณเขต อิสระ พุทธสิมมา ปรีชา กาเพ็ชร แคทลิยา เอกอุ่น และ
วิภารัตน์ ด้าริเข้มตระกูล. 2552. ผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อการผลิต ข้าว อ้อย มันส้าปะหลัง
และข้าวโพดของประเทศไทย. รายงานวจิ ัยฉบับสมบรูณ์ ส้านกั งานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ัย.
กอบเกยี รติ ไพศาลเจรญิ . 2556. การเพ่ิมผลผลิตอ้อยโรงงานเชิงบูรณาการเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน. กรมวชิ าการเกษตร. 74 หน้า
ส้านักงานคณะกรรมการออ้ ยและน้าตาล. 2563. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต 2562/63.
78 หนา้
ส้านกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563 . สถิตกิ ารเกษตร ปี 2562 . 194 หนา้
Koehler , G.G., P.H. Moore, C.A. Jones, A. Dela Cruz and A. Maretzki. 1982. Response of
drip-irrigation sugarcane to drought stress. Agron. J. 74 : 906-911.
Robison, F.E. 1963. Soil moisture tension sugarcane stalk elongation and irrigation interval
control.Agron. J. 55: 481-484.

13. ภาคผนวก

12

Table 1 Physical properties of Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District,

Nakhon Ratchasima Province.

Soil Depth Sand Silt Clay Texture BD Ksat AWC FC PWP
(cm) (%) (%) (%) g/cm3 cm/h (mm) (mm) (mm)

0-23 53.79 19.57 26.64 Sandy clay loam 1.37 15.88 15.47 39.69 24.22
33.79
23-49 41.65 11.57 46.78 Clay 1.37 2.40 5.38 39.17 36.24
49-94 33.72 7.97 58.71 Clay 1.36 8.42 4.92 41.16
31.36
94-150 37.97 13.78 54.86 Clay 1.38 5.19 4.89 42.87
PWP =
BD = bulk density K-Sat = saturated soil hydraulic conductivity FC = field capacity
permanent wilting point.

Table 2 Chemical properties of Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District,

Nakhon Ratchasima Province.

Soil Depth pH1:1 EC1:1 (soil : OM Avail. P Exch. K
water) (%) (mg/kg) (mg/kg)
(cm) (soil : water)

ds/cm

0-23 6.40 0.01 1.65 73.50 58.20

23-49 5.10 0.02 0.77 16.70 95.90

49-94 5.30 0.01 0.72 2.48 38.90

94-150 5.40 0.01 0.76 0.98 37.70

Table 3 Millable cane yield of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict,

Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping season

under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 27.94 23.56 24.70 25.40

LK92-11 21.78 20.85 26.91 21.32

Khon Kaen3 28.54 22.90 23.12 24.85

Average 26.09 22.44 24.91

CV (a) = 21.20% CV (b) = 13.90% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

13

Table 4 Number of stalk per rai at harvest of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow

Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 16,484 16,341 14,977 15,934

LK92-11 15,780 15,055 17,758 16,198

Khon Kaen3 17,704 15,000 14,857 15,854

Average 16,656 15,465 15,864

CV (a) = 14.72% CV (b) = 12.45% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Table 5 Stalk length at harvest of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management (unit: cm)
Cultivars/Clone
15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation) Average
KK07-037
LK92-11 307 317 295 306
Khon Kaen3 302
314 307 285 294
Average
279 321 284
CV (a) = 6.30 %
300 315 288

CV (b) = 6.98 % F-test : A = * B = ns A x B = ns

Table 6 Stalk diameter at harvest of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow

Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 2.44 2.39 2.43 3.06

LK92-11 2.56 2.42 2.50 3.02

Khon Kaen3 2.98 2.51 2.44 2.94

Average 2.66 2.44 2.43

CV (a) = 15.64% CV (b) = 16.34% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

14

Table 7 Stalk weight of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri

District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 under different means of

fertilizer, water and cultivars management.

(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 1.82 1.80 1.71 1.78

LK92-11 1.75 1.74 1.92 1.80

Khon Kaen3 1.68 2.00 1.77 1.81

Average 1.75 1.84 1.80

CV (a) = 14.72% CV (b) = 12.45% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Table 8 Sugar yield of plant cane grown on grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict,

Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping season

under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 3.00 2.67 2.72 2.80

LK92-11 2.50 2.33 3.56 2.80

Khon Kaen3 3.70 2.63 2.97 3.10

Average 3.07 2.54 3.08

CV (a) = 25.86% CV (b) = 24.56% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Table 9 CCS of plant cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District,

Nakhon Ratchasima Province during 2017/18 cropping season under different means

of fertilizer, water and cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 15-3-12 (Rainfed) 15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation)

KK07-037 10.74 11.28 11.01 10.51

LK92-11 11.48 11.29 13.13 11.97

Khon Kaen3 13.03 11.66 12.75 12.48

Average 11.75 11.41 12.30

CV (a) = 15.29% CV (b) = 20.61% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

15

Table 10 Economic return analysis for plant cane grown on Chok Chai
Province during 2017/18 cropping season under different mean

Parameters 15-3-12 (Rainfed) KK3 K

1. Gross cost (Baht/rai) KK07-037 LK92-11 13,980
- Soil preparation 700
- Planting by machine 13,800 11,952 600
- Cane seed 700 700
- Weeding 600 600 2,250
- Fertilizer and labor 600
- Supplement Water and labor 2,250 2,250
- Drip irrigation system 600 600 1,244
23.84
2. Harvest logistics 1,244 1,244
3. Cane yield (t/rai) 23.84 23.84 0
4.% CCS 8,562
5. Income (Baht/rai) 00 28.54
6. Net return (Baht/rai) 8,382 6,534 13.03
7. BCR (Net return/Gross cost) 27.94 21.78 29,681
10.74 11.48 15,701
25,679 20,868 1.12
11,879 8,916
0.86 0.75

** Sugarcane Price in 2017/2018 = 880 Baht/rai**

5

soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima
ns of fertilizer, water and cultivars management.

15-3-12 (Irrigation) 22.5-3-12 (Irrigation) 15

KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

13,973 13,160 13,775 14,551 15,214 14,077
700 700 700 700 700 700
600 600 600 600 600 600

2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250
600 600 600 600 600 600

1,244 1,244 1,244 1,480 1,480 1,480
411.36 411.36 411.36 411.36 411.36 411.36
1,100 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100
7,068 6,255 6,870 7,410 8,073 6,936
23.56 20.85 22.9
11.28 11.29 11.66 24.7 26.91 23.12
22,325 19,768 22,159 11.01 13.13 12.75
8,352 6,608 8,384 23,053 28,128 23,703
8,502 12,914 9,626
0.60 0.50 0.61 0.58 0.85 0.68

16

Table 11 Millable cane yield of the 1st ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2018/2019 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 18.87 17.74 17.87 18.16
LK92-11
Khon Kaen3 18.30 17.35 19.00 18.22

Average 21.08 20.30 18.54 19.97

CV (a) = 18.64 % 19.42 18.46 18.47

CV (b) = 11.37 % F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Table 12 Number of millable stalk per harvest area (rai) of the 1st ratoon cane grown on

Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province

during 2018/19 cropping season under different means of fertilizer, water and cultivars

management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 15,934 15,088 15,176 15,399 b

LK92-11 17,484 16,626 18,495 17,535 a

Khon Kaen3 16,330 15,780 14,890 15,667 b

Average 16,582 15,832 16,187

CV (a) = 13.57 % CV (b) = 7.23% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 13 Stalk length at harvest of the 1st ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2018/2019 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 304 311 308 307 a

LK92-11 276 268 288 277 b

Khon Kaen3 273 292 284 283 b

Average 284 290 293

CV (a) = 10.04% CV (b) = 7.28% F-test : A = ns B =** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

17

Table 14 Stalk weight at harvest of the 1stratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2018/2019 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 1.51 1.63 1.54 1.56 b

LK92-11 1.46 1.36 1.49 1.44 c

Khon Kaen3 1.64 1.71 1.65 1.67 a

Average 1.54 1.57 1.56

CV (a) = 5.39 % CV (b) = 7.83% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 15 Sugar yield of the 1st ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict,
KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2018/2019 cropping season
under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 2.20 1.89 1.98 2.02 b

LK92-11 2.63 2.33 2.31 2.42 a

Khon Kaen3 2.83 2.75 2.36 2.65 a

Average 2.55 2.32 2.22

CV (a) = 19.64 % CV (b) = 12.56 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 16 CCS of the 1st ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict,

KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2018/2019cropping season

under different means of fertilizer, water and cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 11.71 10.67 11.09 11.16 b

LK92-11 14.41 13.41 13.44 13.75 a

Khon Kaen3 13.41 13.57 12.79 13.26 a

Average 13.18 12.55 12.44

CV (a) = 11.90 % CV (b) = 7.77 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

18

Table 17 Economic return analysis for the 1st ratoon cane grown on Ch
Ratchasima Province during 2018/2019 cropping season under

Parameters 18-3-12 (Rainfed) KK07-
10
1. Gross cost (Baht/rai) KK07-037 LK92-11 KK3
- Soil preparation 1
- Planting by machine 7,056 6,885 7,719 3
- Cane seed --- 1
- Weeding --- 5
- Fertilizer and labor --- 1
- Supplement Water and labor 1
- Drip irrigation system 200 200 200 13
1,046 1,046 1,046 2
2. Harvest logistics
3. Cane yield (t/rai) 149 149 149
4.% CCS 000
5. Income (Baht/rai)
6. Net return (Baht/rai) 5,661 5,490 6,320
7. BCR (Net return/Gross cost) 18.87 18.30 21.08
11.71 14.41 13.41
13,795 13,948 17,439
6,739 7,063 9,720
0.96 1.03 1.26

** Sugarcane Price in 2018/2019 = 700 Baht/rai**

8

hok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon
r different means of fertilizer, water and cultivars management.

18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation) 18

-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

0,388 10,271 11,156 10,624 10,963 10,825
--- ---
--- ---
--- ---

200 200 200 200 200 200
1,046 1,046 1,046 1,243 1,243 1,243
3,820 3,820 3,820 3,820 3,820
1,100 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100
5,322 5,205 6,090 5,361 5,700 5,562
17.74 17.35 20.30 17.87 19.00 18.54
10.67 13.41 13.57 11.09 13.44 12.79
3,372 13,085 15,625 13,267 15,798 15,119
2,984 2,814 4,469 2,643 4,835 4,294
0.29 0.27 0.40 0.25 0.44 0.40

19

Table 18 Millable cane yield of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 11.89 11.82 12.03 11.91
LK92-11
Khon Kaen3 11.29 10.12 10.35 10.59

Average 11.73 10.70 10.51 10.98

CV (a) = 21.27% 11.64 10.88 10.96

CV (b) = 12.09% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Table 19 Number of millable stalk per harvest area (rai) of the 2nd ratoon cane grown on

Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province

during 2019/20 cropping season under different means of fertilizer, water and

cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 13,155 13,727 14,188 13,690 b

LK92-11 15,485 14,650 16,034 15,390 a

Khon Kaen3 13,551 12,759 12,485 12,932 b

Average 14,064 13,712 14,236

CV (a) = 10.98% CV (b) = 10.63 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Mean follow by the same letter in columns and row are not significant different at 1% level by DMRT

Table 20 Stalk length at harvest of the 2nd ratoon canegrown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020
cropping season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 232 216 221 223 a

LK92-11 179 165 170 171 c

Khon Kaen3 181 176 184 180 b

Average 197 186 192

CV (a) = 11.09 % CV (b) = 4.10 % F-test : A = ns B =** A x B = ns

Mean follow by the same letter in columns and row are not significant different at 1% level by DMRT

20

Table 21 Stalk diameter at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 2.76 2.78 2.73 2.76 b

LK92-11 2.69 2.72 2.76 2.72 b

Khon Kaen3 2.85 2.86 2.99 2.90 a

Average 2.77 2.79 2.83

CV (a) = 4.39% CV (b) = 4.09% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 22 Stalk weight at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow
Subdistrict, KhonBuri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivars management

(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 1.14 1.03 1.04 1.07 a

LK92-11 0.90 0.81 0.83 0.85 b

Khon Kaen3 1.05 1.04 1.08 1.06 a

Average 1.03 0.96 0.98

CV (a) = 16.92% CV (b) = 8.46 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 23 Number of hill harvesting at of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at
Chalieow Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020
cropping season under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: hill/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 2,110 2,077 2,264 2,150 b

LK92-11 2,341 2,297 2,341 2,326 a

Khon Kaen3 2,297 2,286 2,253 2,279 a

Average 2,249 2,220 2,286

CV (a) = 10.83% CV (b) = 5.03% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

21

Table 24 Sugar yield of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict,
Khon Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020 cropping season
under different means of fertilizer, water and cultivars management.

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 1,291 1,127 1,117 1,178 b

LK92-11 1,193 1,147 1,045 1,128 b

Khon Kaen3 1,496 1,296 1,300 1,364 a

Average 1,327 1,190 1,154

CV (a) = 35.65% CV (b) = 15.34% F-test : A = ns B = * A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 25 CCS of the 2nd ratoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon

Buri District, Nakhon Ratchasima Province during 2019/2020 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivars management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 18-3-12 (Rainfed) 18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

KK07-037 10.78 9.58 9.23 9.86 b

LK92-11 10.58 11.20 10.06 10.61 b

Khon Kaen3 12.79 11.91 12.33 12.34 a

Average 11.38 10.90 10.54

CV (a) = 14.13% CV (b) = 8.29% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

22

Table 26 Economic return analysis for the 2nd ratoon cane grown on C
Ratchasima Province during 2019/2020 cropping season unde

Parameters 18-3-12 (Rainfed) KK3 KK0
KK07-037 LK92-11
4,730
1. Gross cost (Baht/rai) 4,778 4,598 -
-
- Soil preparation -- -

- Planting by machine -- 100
1,046
- Cane seed --
65
- Weeding 100 100 0
3,519
- Fertilizer and labor 1,046 1,046 11.73
12.79
- Supplement Water and labor 65 65 10,215
5,485
- Drip irrigation system 00 1.16

2. Harvest logistics 3,567 3,387

3. Cane yield (t/rai) 11.89 11.29

4.% CCS 10.78 10.58

5. Income (Baht/rai) 9,335 8,778

6. Net return (Baht/rai) 4,557 4,180

7. BCR (Net return/Gross cost) 0.95 0.91

** Sugarcane Price in 2018/2019 = 750 Baht/rai**

2

Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri District, Nakhon
er different means of fertilizer, water and cultivars management.

18-3-12 (Irrigation) 27-3-12 (Irrigation)

07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

7,799 7,289 7,463 8,059 7,555 7,603
---
--- ---
---
---
150 150 150
--- 1,243 1,243 1,243 22
1,957 1,957 1,957
150 150 150 1,100 1,100 1,100
3,609 3,105 3,153
1,046 1,046 1,046 12.03 10.35 10.51
9.23 10.06 12.33
1,957 1,957 1,957 8,652 7,795 8,968

1,100 1,100 1,100 593 240 1,365
0.07 0.03 0.18
3,546 3,036 3,210

11.82 10.12 10.7

9.58 11.2 11.91

8,643 8,228 8,895

844 939 1,432

0.11 0.13 0.19

23

Table 27 Economic return analysis for plant cane, the 1st and 2nd ra
District, Nakhon Ratchasima Province during 2017/18-2019/20
management.

Parameters Fertilizer recommendation K
(N-P2O5-K2O) ; Rainfed
1. Gross cost (Baht/rai)
- Soil preparation KK07-037 LK92-11 KK3
- Planting by machine
- Cane seed 25,634 23,435 26,429
- Weeding 700 700 700
- Fertilizer and labor 600 600 600
- Supplement Water and labor
- Drip irrigation system 2,250 2,250 2,250
900 900 900
2. Harvest logistics
3. Cane yield (t/rai) 3,336 3,336 3,336
4. % CCS 237.84 237.84 237.84
5. Income (Baht/rai)
6. Net return (Baht/rai) 000
7. BCR (Net return/ Gross cost) 17,610 15,411 18,401

58.7 51.37 61.35
11.08 12.16 13.08
48,809 43,594 57,335
23,175 20,159 30,906
0.90 0.86 1.17

3

atoon cane grown on Chok Chai soil at Chalieow Subdistrict, Khon Buri
0 cropping season under different means of fertilizer, water and cultivars

Fertilizer recommendation Fertilizer recommendation
(1.5N-P2O5-K2O) ; (Irrigation)
(N-P2O5-K2O) ; (Irrigation) KK07-037 LK92-11 KK3
KK07-037 LK92-11 KK3
33,234 33,732 32,505
32,160 30,720 32,394 700 700 700
600 600 600
700 700 700
2,250 2,250 2,250
600 600 600 950 950 950

2,250 2,250 2,250 3,966 3,966 3,966 23
6,188.36 6,188.36 6,188.36
950 950 950
3,300 3,300 3,300
3,336 3,336 3,336 16,380 16,878 15,651

6,188.36 6,188.36 6,188.36 54.6 56.26 52.17
10.44 12.21 12.62
3,300 3,300 3,300 44,972 51,721 47,790
11,738 17,989 15,285
15,936 14,496 16,170 0.35 0.53 0.47

53.12 48.32 53.9

10.51 11.97 12.38

44,340 41,081 46,679

12,180 10,361 14,285

0.38 0.34 0.44

24

รายงานผลงานเรอื่ งเตม็ การทดลองทีส่ ิ้นสดุ

------------------------

1. แผนงานวจิ ัย 1. วจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยกี ารเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลติ อ้อย

2. โครงการวิจัย 4. วิจัยการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลติ อ้อยโดยการจดั การน้า ธาตุอาหาร

และการใช้พันธทุ์ ี่เหมาะสมกับพืน้ ท่ี

กจิ กรรม 1. การเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตออ้ ยโดยการจดั การน้า ธาตุอาหาร

และพนั ธทุ์ เี่ หมาะสมกบั พน้ื ทใ่ี นกลมุ่ ดินตา่ งๆ

กิจกรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ชื่อการทดลอง (ภาษาไทย) 1.6 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจดั การน้า ธาตุอาหาร

และพันธุท์ ่ีเหมาะสมกับพนื้ ท่ีดนิ รว่ นจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ชอ่ื การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Managements of Water, Crop Nutrients and Suitable

Varieties for Sugarcane Production in Loamy Soil in

Suphan Buri

4. คณะผู้ดาเนินงาน

หัวหน้าการทดลอง วาสนา วันดี ศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่สุพรรณบรุ ี

ผ้รู ว่ มงาน สมบรู ณ์ วนั ดี ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรส่ ุพรรณบุรี

ชยั วฒั น์ กะการดี ศูนย์วจิ ัยพชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

กนกวรรณ ฟักอ่อน ศนู ย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบรุ ี

สจุ ติ รา พิกลุ ทอง ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรส่ ุพรรณบุรี

5. บทคัดย่อ

การศึกษาการจัดการน้า ธาตุอาหารพืช และพันธ์ุท่ีเหมาะสมต่อการผลิตอ้อยในพ้ืนที่ดินร่วน

จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อหาแนวทางท่ีสามารถใช้เป็นค้าแนะน้าการจัดการน้า ธาตุอาหารพืช และพันธ์ุท่ี

เหมาะสมต่อการผลิตอ้อยในพื้นท่ีดินร่วนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยด้าเนินการทดลองอ้อยปลูกและอ้อยตอ

ในชุดดินก้าแพงแสน จังหวัดสุพรรณบุรี วางแผนการทดลองแบบ split plot in RCBD จ้านวน 4 ซ้า ปัจจัยหลัก

(main plot) ได้แก่ การจัดการน้าร่วมกับปุ๋ย 3 วิธี คือ 1) ไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมี

อัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าฝน+15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) 2) ให้น้าหยดเสริมร่วมกับ

ใส่ปุ๋ยเคมีอัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าหยด+15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) และ 3) ให้น้าหยด

เสริมร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน 1.5 เท่าของอัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าหยด+22.5-3-6 กิโลกรัม

N-P2O5-K2O ต่อไร่) (ส้าหรบั อ้อยตอ ใสป่ ุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดินของอ้อยตอ) ปัจจัยรอง

(sub plot) ได้แก่ พันธ์ุอ้อย 3 โคลน/พันธ์ุ คือ 1) โคลน KK07-037 2) พันธ์ุขอนแก่น 3 และ 3) พันธ์ุ LK92-11

โดยหลังจากอ้อยอายุ 1 เดือน จะมีการจัดการน้าร่วมกับปุ๋ยตามกรรมวิธี และหยุดให้น้าเสริมเมื่ออ้อยอายุ

11 เดือน เก็บเกี่ยวอ้อยเมื่ออายุ 12 เดือนก่อนปลูกอ้อย มีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนร่วมกับความ

25

ต้องการน้าของอ้อย เพ่ือก้าหนดช่วงเวลาปลูกอ้อยท่ีเหมาะสม เพื่อให้แต่ละระยะการเจริญเติบโตของอ้อย
ได้รับปริมาณน้าฝนตรงตามความต้องการน้าของอ้อยและมีโอกาสเสี่ยงต่อการขาดน้าหรือจ้าเป็นต้องให้น้า
เสริมน้อยคร้ังท่สี ุด

ผลการทดลองในอ้อยปลูก พบวา่ การจดั การน้ารว่ มกับป๋ยุ ท้ัง 3 วิธี มีผลท้าให้ผลผลิตอ้อยแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 และ 22.5-3-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉล่ีย 21.30 และ 21.07 ตันต่อไร่ ตามลา้ ดับ ซึ่งสูงกว่าการไม่ให้น้าเสริม
(อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (17.61 ตันต่อไร่) ส่วนเส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้า พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้าร่วมกับใส่ปุ๋ยท้ัง 3 วิธี
ในพนั ธุ์ท้ัง 3 พันธุ์ มเี ส้นผ่านศูนยก์ ลางล้าแตกต่างกนั อย่างมีนยั ส้าคัญทางสถิติ โดยพันธ์ุ LK92-11 ท่ีมีการให้
นา้ หยดเสรมิ ร่วมกับใส่ปุ๋ยอัตราต่างๆ ให้เส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับ
การใสป่ ยุ๋ อตั รา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ขณะที่พันธุ์ขอนแก่น 3 และโคลน KK07-037 ที่มีการ
ให้น้าหยดเสรมิ รว่ มกบั ใสป่ ุ๋ยอัตราตา่ งๆ จะให้เส้นผ่านศูนย์กลางล้าน้อยกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน)
รว่ มกบั การใส่ปุย๋ อตั รา 15-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่

ผลการทดลองในอ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า การจัดการน้าร่วมกับปุ๋ยท้ัง 3 วิธี มีผลท้าให้
ผลผลิตอ้อยแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 27-3-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 14.44 และ 11.77 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกับการให้น้าหยดเสริมร่วมกับ
ใสป่ ๋ยุ เคมีอตั รา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (13.61 และ 11.28 ตันต่อไร่) แต่สูงกว่าการไม่ให้น้าเสริม
(อาศยั นา้ ฝน) รว่ มกบั การใสป่ ุ๋ยอัตรา 18-3-6 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ (11.08 และ 8.70 ตันต่อไร่) สอดคล้อง
กับจา้ นวนลา้ และผลผลิตน้าตาล โดยการให้นา้ หยดเสรมิ รว่ มกับใส่ปุ๋ยอตั ราแนะน้าตามคา่ วิเคราะหด์ ินทัง้ 2 อัตรา
ใหจ้ า้ นวนล้าและผลผลติ น้าตาลมากกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่

เม่ือวิเคราะห์ความคุ้มค่าต่อการลงทุนส้าหรับอ้อยปลูก ตอ 1 และตอ 2 (BCR รวม 3 ปี) พบว่า
การผลติ อ้อยในชดุ ดินก้าแพงแสน ตา้ บลจรเขส้ ามพนั อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า
แก่การลงทุนสูงสุดเม่ือปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 โดยไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่า
วิเคราะห์ดิน รองลงมาคือ ปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 โดยมีการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 1.5
เทา่ ของอัตราตามค่าวเิ คราะห์ดนิ และใสป่ ุ๋ยตามคา่ วิเคราะห์ดิน ตามล้าดับ

คาสาคญั : การผลติ ออ้ ย การจดั การนา้ ธาตุอาหาร พันธ์ุอ้อย

26

ABSTRACT
Study on water management, crop nutrients and suitable varieties for sugarcane

production was conducted in loamy soils, Kamphaeng Saen soil series in Suphan Buri for
effectively recommendations. The experimental design was split plot with 4 replications.
The treatments composed of 2 factors. Main plots were 3 water and crop nutrient
managements i.e. 1) no supplementary water and recommended fertilizer rates based on
soil analysis (rainfall+15-3-6 Kg N-P2O5-K2O per rai). 2) supplementary water and recommended
fertilizer rates based on soil analysis (drip water+15-3-6 Kg N-P2O5-K2O per rai) and 3)
supplementary water and 1.5 of recommended fertilizer rates based on soil analysis (drip
water+22.5-3-6 Kg N-P2O5-K2O per rai). Sub plots were 3 sugarcane clones/varieties i.e.
KK07-037, Khon Kaen 3 and LK92-11 varieties. After 1 month planting, water and crop
nutrient managements were applied as treatments and stop 1 month before harvesting.
Rainfall and crop water requirement were analyzed before planting for optimum planting
period prediction.

For plant cane, there was no interaction between main plot and sub plot. The
results found that 3 water and crop nutrient managements had differed significantly in yields.
Supplementary water and recommended fertilizer rates and 1.5 of recommended fertilizer
rates based on soil analysis gave yields higher than no supplementary water and
recommended fertilizer rate based on soil analysis. For the diameter, there was an
interaction between main plot and sub plot. 3 water and crop nutrient managements in 3
clones/varieties had differed significantly in diameter. LK92-11 variety gave highest
diameters clone KK07-037 when applied supplementary water and recommended fertilizer
rates based on soil analysis.

For 1st and 2nd ratoon cane, there was no interaction between main plot and sub
plot. The results found that 3 water and crop nutrient managements had differed significantly
in yields, stalk numbers and sugar yield. Supplementary water and 1.5 of recommended
fertilizer rates based on soil analysis and recommended fertilizer rates gave yields, stalk
numbers and sugar yield higher than no supplementary water and recommended fertilizer
rate based on soil analysis.

27

The cost of production for plant and ratoon sugarcane (BCR for 3 years) was
analyzed. It was found that sugarcane production in Kamphaeng Saen soil series provides
the best return on investment when planting Khon Kaen 3 variety with no supplementary
water and recommended fertilizer rate based on soil analysis, followed by planting Khon
Kaen 3 variety with supplementary water and 1.5 of recommended fertilizer rates and
recommended fertilizer rates based on soil analysis, respectively.

Key words: sugarcane production, water management, crop nutrients, varieties

6. คานา
อ้อยเปน็ พชื อตุ สาหกรรมท่มี ีความส้าคัญของประเทศไทย ซึ่งมีการผลิตอ้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก

และส่งออกนา้ ตาลเป็นอันดับท่ี 2 ของโลก รองจากประเทศบราซิล ทา้ รายได้เข้าประเทศปีละมากกว่า
100,000 ล้านบาท ผลผลิตอ้อยในปีการผลิต 2561/62 มีปริมาณอ้อยเข้าหีบท้ังส้ิน 130.97 ล้านตัน ค่าซีซีเอส
เฉล่ีย 12.64 ผลผลิตน้าตาลต่อตันอ้อย 111.33 กิโลกรัมต่อตัน (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย,
2562) พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในเขตอาศัยน้าฝน ซึ่งมีเพียงบางส่วนที่มีแหล่งน้าจาก
บ่อบาดาลหรอื แหล่งน้าธรรมชาตเิ สรมิ ยามทีฝ่ นท้งิ ชว่ งเพอื่ ไมใ่ หอ้ อ้ ยขาดน้า ซงึ่ ผลผลิตก็จะสูงกว่าแหล่งปลูก
ที่อยใู่ นเขตอาศัยนา้ ฝน ซึง่ ได้ผลผลิตอ้อยเฉลย่ี 8-10 ตันตอ่ ไร่ขึน้ กบั ลกั ษณะของดนิ และความช้ืนที่มีอยู่ การ
เลือกใช้พันธ์ุอ้อยท่ีเหมาะสมร่วมกับการพัฒนาเทคโนโลยีอื่นๆ จะช่วยยกระดับผลผลิตอ้อยเฉลี่ยให้สูงเป็น
12-15 ตันต่อไร่ได้ข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมในแต่ละปี คือ ถ้าปีใดมีปริมาณน้าฝนและการกระจายตัวดีก็จะ
ท้าให้ผลผลิตเพ่ิม พันธ์ุอ้อยที่ดีต้องให้ผลผลิตและความหวานสูง ต้านทานต่อโรคและแมลง มีลักษณะทาง
การเกษตรท่ีดี และปรับตัวได้ดี ในแหล่งปลูกอ้อยท่ีส้าคัญในแต่ละภูมิภาค และในปัจจุบัน พบว่า การผลิตอ้อย
ยังประสบปัญหาจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เช่น
วกิ ฤตจากความแห้งแล้งฝนไม่ตกตามฤดูกาล การกระจายตัวของฝนไม่สม้่าเสมอ เกิดภาวะฝนทิ้งช่วงยาวนาน
เป็นต้น ซ่ึงน้าเป็นปัจจัยที่มีความส้าคัญย่ิงในการเพ่ิมผลผลิตและคุณภาพของอ้อย ความต้องการน้าของอ้อย
ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการคายระเหยน้า (evapotranspiration) ได้แก่ แสง อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์
ลม จ้านวนและขนาดของปากใบ พ้ืนท่ีใบ (Allen et al., 1998) Doorenbos and Kassem (1979) รายงานว่า
ช่วงเวลาของแต่ละระยะการเจริญเติบโตของพืชไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวพืชเพียงอย่างเดียว ยังขึ้นอยู่กับสภาพ
ภูมิอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความชื้นดิน ที่เป็นปัจจัยส้าคัญอีกด้วย ส้าหรับความต้องการธาตุอาหารของอ้อยน้ัน
นอกจากแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละพันธุ์แล้ว ยังเกี่ยวกับชนิดดิน สมบัติทางเคมี และกายภาพของดิน จากการศึกษา
ของกอบเกียรติ และคณะ (2553) รายงานว่า อ้อยปลูกโคลน 94-2-200 (หรือพันธ์ุขอนแก่น 3) ท่ีปลูกใน
ดินร่วนปนทราย ชุดดินสตึก ให้ผลผลิตสูงสุดเฉล่ีย 14.5 ตันต่อไร่ เม่ือใช้ปุ๋ยเคมี 18 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่
แตห่ ากปลูกในดนิ ทรายรว่ น ชุดดินจอมพระให้ผลผลติ สูงสุดเฉลี่ย 11.1 ตันต่อไร่ เมื่อใช้ปุ๋ยเคมี 12 กิโลกรัม
ไนโตรเจนต่อไร่ ศุภกาญจน์ และคณะ (2555) พบว่า อ้อยปลูกพันธ์ุขอนแก่น 3 ที่ปลูกในดินทรายชุดดินบ้านไผ่
จังหวัดขอนแก่น ให้ผลผลิตเฉลี่ย 14.2 ตันต่อไร่ มีประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจน 915 กิโลกรัมผลผลิตต่อ

28

ไนโตรเจน 1 กิโลกรัม สูงกว่าพันธ์ุ LK92-11 ซึ่งให้ผลผลิตเฉล่ีย 12.6 ตันต่อไร่ และมีประสิทธิภาพการใช้
ไนโตรเจน 882 กิโลกรมั ผลผลติ ต่อไนโตรเจน 1 กิโลกรัม สอดคล้องกับรายงานของวัลลีย์ และคณะ (2555)
พบว่า อ้อยปลูกพันธ์ขุ อนแก่น 3 ทีป่ ลกู ในดนิ ทราย ชุดดินสตั หบี จังหวัดระยอง ให้ผลผลิตเฉลี่ย 14.1 ตันต่อไร่
มีประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจน 934 กิโลกรัมผลผลิตต่อไนโตรเจน 1 กิโลกรัม สูงกว่าพันธุ์ LK92-11 ซึ่ง
ให้ผลผลิตเฉลี่ย 12.1 ตันต่อไร่ และมปี ระสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจน 634 กิโลกรมั ผลผลิตตอ่ ไนโตรเจน 1 กิโลกรัม
การด้าเนินการวิจัยและพัฒนาด้านดิน น้า และปุ๋ยอ้อยท่ีผ่านมา ยังไม่สามารถปรับใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ีได้กับ
ทุกแหล่งปลูกอ้อยท่ัวประเทศ เพราะพื้นที่ปลูกอ้อยแต่ละแหล่ง มีความหลากหลายทั้งสภาพภูมิอากาศ
(ปริมาณน้าฝน อุณหภูมิ) พันธ์ุอ้อย และชนิดดิน (เนื้อดิน ความเป็นกรดด่าง และปริมาณธาตุอาหาร) ดังน้ัน
การแก้ปัญหาการผลิตออ้ ยในแต่ละแหลง่ ปลกู จงึ ควรดา้ เนินงานวิจยั เพ่ือศึกษาการจัดการน้า ธาตุอาหารพืช
และพนั ธ์ุอ้อย ส้าหรับน้าไปใช้ในการให้ค้าแนะน้าการผลิตอ้อยที่มีการจัดการน้า ธาตุอาหารพืช และพันธ์ุที่
เหมาะสมในแต่ละแหลง่ ปลกู

7. วธิ ดี าเนนิ การ
- อุปกรณ์
1. ออ้ ยโคลน KK07-037 พนั ธข์ุ อนแก่น 3 และ LK92-11
2. ปยุ๋ เคมเี กรด 46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60
3. สารก้าจดั วชั พืช
4. อุปกรณ์การปลกู ดแู ลรักษา และเก็บเกี่ยว
5. อปุ กรณ์ในการให้นา้ หยด เชน่ ท่อนา้ สายน้า ป๊ัมน้า เปน็ ต้น
6. อุปกรณ์และสารเคมสี า้ หรับวิเคราะหต์ ัวอยา่ งดนิ
7. หอ้ งปฏบิ ตั ิการวเิ คราะห์คา่ ซซี เี อส
- วิธกี าร
ด้าเนินการปลกู อ้อยในดนิ ร่วน ชุดดินก้าแพงแสน จังหวัดสุพรรณบุรี พิกัดแปลง UTM 47P 0590927E
1577695N เรม่ิ ทา้ การวจิ ัยเดือนกุมภาพนั ธ์ 2560-กมุ ภาพันธ์ 2563 วางแผนการทดลองแบบ Split plot
in RCBD จ้านวน 4 ซ้า ปัจจัยหลัก (Main plot) ได้แก่ การจัดการน้าร่วมกับปุ๋ย 3 วิธี คือ 1) ไม่ให้น้าเสริม
(อาศัยน้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าฝน+15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่)
2) ให้นา้ หยดเสรมิ รว่ มกบั ใสป่ ุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าหยด+15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่)
และ 3) ให้น้าหยดเสริมร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน 1.5 เท่าของอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (น้าหยด+
22.5-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) (ส้าหรับอ้อยตอ ใส่ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน
ของออ้ ยตอ) ปจั จยั รอง (Sub plot) ได้แก่ พันธ์ุอ้อย 3 โคลน/พนั ธ์ุ คอื 1) โคลน KK07-037 2) พันธ์ุขอนแก่น 3
และ 3) พันธุ์ LK92-11 ขนาดแปลงย่อย 11.7 x 9.0 เมตร ระยะปลูก 1.3 x 0.5 เมตร เว้นระยะระหว่าง
แปลงย่อย 1.3 เมตร การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยเคมีรองพ้ืนพร้อมปลูก (0.5N-P-K) และเมื่ออ้อยอายุ 3-4 เดือน ใส่ปุ๋ย
ครั้งที่ 2 โดยใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (0.5N) แบบโรยข้างแถวปลูก ห่างจากแถวอ้อยประมาณ 10-15 เซนติเมตร พื้นท่ี
เกบ็ เก่ยี วแตล่ ะแปลงยอ่ ย 3.9 x 9 เมตร (35.1 ตารางเมตร)

29

เก็บตัวอย่างดนิ ทรี่ ะดบั ความลึก 0-20 และ 20-50 เซนติเมตร น้ามาวิเคราะห์สมบัติทางเคมี ได้แก่
พีเอช (pH) วัดโดย pH meter ใช้อัตราส่วน ดิน:น้า เท่ากับ 1:1 (Peech, 1965) อินทรียวัตถุ วิเคราะห์ด้วย
วิธีการของ Walkley and Black (1934) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช โดยสกัดดินด้วยน้ายาสกัด Bray II
(Bray and Kurtz, 1945) และวัดการเกิดสีตามวิธี molybdenum blue โดยใช้ spectrophotometer
โพแทสเซียมทแี่ ลกเปลยี่ นได้ โดยสกัดดินด้วย 1N Ammonium Acetate, pH 7 (Schollenberger and
Simon, 1945) และวดั ดว้ ยเครื่อง flame photometer

คา้ นวณการให้น้า โดยพิจารณาจากสมดุลของน้า (water balance) ทุก 7 วัน เพื่อค้านวณปริมาณน้า
ที่ต้องให้กับพืชตามสมการ ETc = Kc x ETo โดยใช้ค่า Kc ของพันธ์ุขอนแก่น 3 (กอบเกียรติ และคณะ,
2555) ส่วนคา่ ETo คา้ นวณตามวิธีของ Blaney and Criddle (FAO, 1986)

บนั ทกึ ข้อมูลการเจรญิ เติบโตของออ้ ย ไดแ้ ก่ ความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางล้า ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ
ตลอดฤดูปลูก เช่น ปริมาณน้าฝน อุณหภูมสิ งู สุด-ตา่้ สุด ข้อมลู ท่ีอายเุ กบ็ เก่ียว ได้แก่ ผลผลิตน้าหนัก ความสูง
จ้านวนลา้ ต่อไร่ เสน้ ผ่านศนู ย์กลางล้า ค่าซซี เี อส วิเคราะหค์ วามแปรปรวนทางสถิติ (analysis of variance)
แล้วเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ข้อมูล
ต้นทุนในการปฏิบัติในแปลงปลูกตั้งแต่การเตรียมท่อนพันธ์ุ การเตรียมดิน จนกระท่ังเก็บเกี่ยว เปรียบเทียบ
ผลตอบแทนทางผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ โดยใช้อัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุน (Benefit-Cost
Ratio, BCR)
- เวลาและสถานที่

กมุ ภาพันธ์ 2559-กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ แปลงเกษตรกร อ้าเภออู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

8. ผลการทดลองและวิจารณ์
จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลปริมาณน้าฝนย้อนหลัง 10 ปีในพื้นที่ อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมกับ

ข้อมลู ความต้องการน้าของอ้อยปลูกและอ้อยตอในแต่ละระยะการเจริญเติบโต พบว่า ช่วงเวลาปลูกอ้อยในพ้ืนที่
อา้ เภออ่ทู อง จังหวัดสพุ รรณบุรี ควรปลกู ในช่วงวนั ท่ี 7 มกราคม -7 กุมภาพนั ธ์ เพ่อื ใหแ้ ตล่ ะระยะการเจริญเติบโต
ของอ้อยปลูกและอ้อยตอได้รับปริมาณน้าฝนตรงตามความต้องการน้าของอ้อย และมีโอกาสเสี่ยงต่อการ
ขาดน้าน้อยทส่ี ุด หรือจา้ เป็นต้องให้น้าเสริมน้อยคร้ังทสี่ ดุ (Figure 1 and 2)

ดินในพื้นท่ีทดลองเป็นชุดดินก้าแพงแสน เน้ือดินเป็นดินร่วน ผลวิเคราะห์ธาตุอาหารในดินบนที่
ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีพีเอช 6.30 มีอินทรียวัตถุ 1.36 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์
ต่อพืช 92 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โพแทสเซียมที่แลกเปล่ียนได้ 160 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในดินล่างที่ระดับ
ความลึก 20-50 เซนตเิ มตร มีพีเอช 6.35 มีอินทรียวัตถุ 1.20 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช
80 มลิ ลิกรมั ตอ่ กโิ ลกรัม โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 140 มลิ ลิกรัมตอ่ กโิ ลกรมั (Table 1)

ผลการทดลองในออ้ ยปลูก พบว่า จ้านวนล้าต่อไร่ ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot
การจดั การนา้ และป๋ยุ ท้งั 3 วธิ ี ใหจ้ า้ นวนลา้ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ทางสถิติ ซ่ึงให้จ้านวนล้าอยู่ระหว่าง 11,533-12,118
ล้าต่อไร่ เช่นเดียวกับพันธุ์ท้ัง 3 พันธ์ุ ที่ให้จ้านวนล้าไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งให้จ้านวนล้าอยู่ระหว่าง
11,677-12,004 ล้าต่อไร่ (Table 2) ความสูง ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการ

30

น้าและปุ๋ยทั้ง 3 วิธี ให้ความสูงไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซ่ึงมีความสูงอยู่ระหว่าง 307-333 เซนติเมตร ส่วนพันธ์ุ
ท้ัง 3 พันธุ์ ให้ความสูงแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ โดยโคลน KK07-037 มีความสูงมากสุด 341
เซนติเมตร แตกต่างกบั พนั ธข์ุ อนแก่น 3 ซึ่งความสูง 314 เซนติเมตร และพันธ์ุ LK92-11 ซึ่งมีความสูง 307
เซนติเมตร (Table 3) เส้นผ่านศูนย์กลางล้า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้า
ร่วมกบั ปุ๋ยทัง้ 3 วิธี ในพันธุ์ทั้ง 3 พันธ์ุ มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยพันธุ์
LK92-11 ท่ีมีการให้น้าหยดเสรมิ ร่วมกบั การใส่ปุ๋ยอัตราต่างๆ มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากกว่าการไม่ให้น้าเสริม
(อาศัยน้าฝน) ร่วมกบั การใสป่ ุ๋ยอตั รา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ขณะที่พันธ์ุขอนแก่น 3 และโคลน
KK07-037 ท่ีมีการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตราต่างๆ จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าน้อยกว่าการไม่ให้
นา้ เสริม (อาศัยนา้ ฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (Table 4) ผลผลิต
น้าหนักล้า ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิต
น้าหนักล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6
และ 22.5-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตน้าหนักล้าเฉล่ีย 21.30 และ 21.07 ตันต่อไร่ สูงกว่า
การไมใ่ ห้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (17.61 ตันต่อไร่)
ส่วนพันธุ์ท้ัง 3 พันธุ์ ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซ่ึงให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 18.90-20.55 ตันต่อไร่
(Table 5) ค่าซซี เี อส ไม่มปี ฏสิ มั พันธร์ ะหว่าง main plot และ sub plot การจัดการนา้ และปุย๋ ทั้ง 3 วธิ ี ให้คา่
ซีซีเอสไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งมีค่าซีซีเอสอยู่ระหว่าง 13.64-14.53 ส่วนพันธ์ุท้ัง 3 พันธ์ุ ให้ค่าซีซีเอส
แตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ โดยพันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 16.02 ไม่แตกต่างกับพันธุ์
LK92-11 ซึ่งมีค่าซีซีเอส 15.09 แต่สูงกว่าโคลน KK07-037 ซ่ึงมีค่าซีซีเอส 11.14 (Table 6) ผลผลิตน้าตาลให้ผล
ไปในทางเดียวกับค่าซีซีเอสคือ ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปุ๋ย
ท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิตน้าตาลไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 2.68-2.98 ตันซีซีเอส
ต่อไร่ ส่วนพันธ์ุท้ัง 3 พันธ์ุ ให้ผลผลิตน้าตาลแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ โดยพันธุ์ขอนแก่น 3
ให้ผลผลิตน้าตาลสูงสุด 3.30 ตันซีซีเอสต่อไร่ ไม่แตกต่างกับพันธุ์ LK92-11 ซ่ึงให้ผลผลิตน้าตาล 3.10 ตันซีซีเอส
ตอ่ ไร่ แตส่ งู กวา่ โคลน KK07-037 ซ่ึงใหผ้ ลผลิตน้าตาล 2.11 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 7) เมื่อวิเคราะห์ความ
คุ้มค่าต่อการลงทุนส้าหรับอ้อยปลูก (BCR) พบว่า การผลิตอ้อยปลูกในชุดดินก้าแพงแสน ต้าบลจรเข้สามพัน
อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน เมื่อปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 และพันธ์ุ
LK92-11 โดยไมใ่ ห้นา้ เสริม (อาศยั น้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (อัตราตามค่า
วเิ คราะห์ดิน) โดยให้ค่า BCR 1.11 และ 1.04 ตามล้าดับ เม่ือมีการวิเคราะห์ช่วงปลูกที่เหมาะสมที่อ้อยปลูก
จะได้รบั ปรมิ าณน้าฝนตรงตามความต้องการน้าของออ้ ยและเส่ียงต่อการขาดน้าน้อยที่สุด ส่วนกรรมวิธีอื่นๆ
ให้คา่ BCR ต่้ากวา่ 1.0 (Table 8)

ผลการทดลองในอ้อยตอ 1 พบว่า จ้านวนล้าต่อไร่ ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot
การจัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้จ้านวนล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริม
รว่ มกับการใสป่ ๋ยุ ท้งั 2 อัตราให้จ้านวนล้า 11,992 และ 11,806 ล้าต่อไร่ มากกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัย
น้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ พันธุ์ท้ัง 3 พันธ์ุ ให้จ้านวนล้าแตกต่างกัน

31

อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยพันธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037 ให้จ้านวนล้า 11,939 และ 11,932 ล้าต่อไร่
มากกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 (10,617 ล้าต่อไร่) (Table 9) ความสูง ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ
sub plot การจัดการนา้ และปุ๋ยท้งั 3 วิธีใหค้ วามสงู ไมแ่ ตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งมีความสูงอยู่ระหว่าง 248-274
เซนติเมตร ส่วนพันธ์ทุ งั้ 3 พันธุ์ให้ความสูงแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยโคลน KK07-037 มีความสูง
มากสุด 317 เซนติเมตร มากกว่าพันธ์ุขอนแก่น 3 ซ่ึงความสูง 255 เซนติเมตร และพันธุ์ LK92-11 ซึ่งมี
ความสูง 222 เซนติเมตร (Table 10) เส้นผ่านศูนย์กลางล้า ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot
การจัดการนา้ ร่วมกบั ปุ๋ยทง้ั 3 วิธี มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซ่ึงมีค่าอยู่ระหว่าง 2.84-2.89
เซนติเมตร ส่วนพันธ์ุท้ัง 3 พันธ์ุ ให้เส้นผ่านศูนย์กลางล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยพันธุ์
ขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าใหญ่สุด 3.04 เซนติเมตร รองลงมาคือ พันธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037
มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.86 และ 2.70 เซนติเมตร ตามล้าดับ (Table 11) ผลผลิตน้าหนักล้า ไม่มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิตน้าหนักล้าแตกต่างกันอย่าง
มีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
ให้ผลผลติ น้าหนกั ล้าเฉลี่ย 14.44 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกับอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (13.61
ตันต่อไร่) แต่สูงกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O
ต่อไร่ (11.08 ตันต่อไร่) ส่วนพันธุ์ท้ัง 3 พันธุ์ ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง
11.95-14.28 ตนั ตอ่ ไร่ (Table 12) ค่าซีซีเอส ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการ
น้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ค่าซีซีเอสไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซ่ึงมีค่าอยู่ระหว่าง 14.68-14.75 ส่วนพันธ์ุท้ัง 3 พันธุ์
ให้ค่าซีซีเอสแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยพันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 16.55 มากกว่า
พันธ์ุ LK92-11 ซ่ึงมีค่าซีซีเอส 15.16 และโคลน KK07-037 ซ่ึงมีค่าซีซีเอส 12.43 (Table 13) ผลผลิตน้าตาล
ไม่มปี ฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ ง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิตน้าตาลแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยท้ัง 2 อัตรา ให้ผลผลิตน้าตาล 2.09
และ 1.99 ตันซีซีเอสต่อไร่ สูงกว่าการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O/ไร่ (1.62 ตนั ซซี เี อสตอ่ ไร)่ ส่วนพันธ์ุทัง้ 3 พนั ธุ์ ให้ผลผลิตน้าตาลแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทาง
สถิติ โดยพันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงสุด 2.13 ตันซีซีเอสต่อไร่มากกว่าพันธ์ุ LK92-11 ซึ่งให้ผลผลิต
น้าตาล 1.81 ตนั ซซี เี อสต่อไร่ และโคลน KK07-037 ซึ่งให้ผลผลิตน้าตาล 1.77 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 14)
เมอื่ วเิ คราะห์ความคุ้มค่าต่อการลงทุนส้าหรับอ้อยตอ 1 (BCR) พบว่า การผลิตอ้อยตอในชุดดินก้าแพงแสน
ต้าบลจรเข้สามพัน อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน เมื่อปลูกอ้อยพันธ์ุ
ขอนแกน่ 3 โดยมีการใหน้ ้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (อัตราตาม
ค่าวิเคราะห์ดิน) และใส่ปุ๋ยอัตรา 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ โดยให้ค่า BCR เท่ากับ 1.19 และ 1.06
ตามล้าดับ เม่ือมีการวิเคราะห์ช่วงปลูกที่เหมาะสมท่ีอ้อยตอจะได้รับปริมาณน้าฝนตรงตามความต้องการน้า
(Table 15)

32

ผลการทดลองในออ้ ยตอ 2 พบวา่ จา้ นวนลา้ ต่อไร่ ไมม่ ปี ฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่าง main plot และ sub plot
การจัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้จ้านวนล้าแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยการให้นา้ หยดเสริม
ร่วมกบั การใสป่ ุ๋ยท้ัง 2 อตั รา ใหจ้ า้ นวนล้า 11,305 และ 11,167 ล้าตอ่ ไร่ มากกว่าการไม่ใหน้ ้าเสริม (อาศัย
นา้ ฝน) พนั ธ์ุทั้ง 3 พันธุ์ ใหจ้ า้ นวนลา้ แตกต่างกันอย่างมีนยั ส้าคญั ทางสถิติ โดยพันธ์ุ LK92-11 และโคลน
KK07-037 ให้จา้ นวนล้า 11,427 และ 11,151 ล้าต่อไร่ มากกว่าพนั ธขุ์ อนแก่น 3 (9,630 ล้าต่อไร่) (Table 16)
ความสงู ไมม่ ีปฏสิ ัมพันธ์ระหว่าง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปุย๋ ทั้ง 3 วธิ ี ใหค้ วามสูงไม่
แตกตา่ งกันทางสถิติ ซง่ึ มคี วามสงู อยู่ระหวา่ ง 215-240 เซนติเมตร สว่ นพนั ธุท์ ั้ง 3 พนั ธ์ุ ใหค้ วามสงู แตกตา่ งกนั
อย่างมีนยั สา้ คญั ทางสถิติ โดยโคลน KK07-037 มีความสูงมากสุด 255 เซนติเมตร มากกว่าพันธุข์ อนแกน่ 3
ซ่งึ มคี วามสงู 214 เซนตเิ มตร และพันธ์ุ LK92-11 ซึง่ มคี วามสูง 218 เซนตเิ มตร (Table 17) เสน้ ผา่ น
ศนู ย์กลางล้า ไม่มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ ง main plot และ sub plot การจัดการน้ารว่ มกบั ปุ๋ยทัง้ 3 วิธี มเี ส้นผ่าน
ศนู ยก์ ลางล้าไม่แตกต่างกันทางสถติ ิ ซ่ึงมีคา่ อยู่ระหว่าง 2.82-2.95 เซนตเิ มตร สว่ นพันธ์ทุ ้ัง 3 พนั ธุ์ ให้เส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้าแตกต่างกนั อย่างมีนัยส้าคญั ทางสถิติ โดยพันธ์ุขอนแก่น 3 มีเสน้ ผ่านศูนย์กลางลา้ ใหญส่ ุด 3.01
เซนติเมตร รองลงมาคือ พันธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037 มีเสน้ ผ่านศนู ย์กลางล้า 2.84 และ 2.74
เซนติเมตร ตามล้าดบั (Table 18) ผลผลิตน้าหนักลา้ ไมม่ ีปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ ง main plot และ sub plot การ
จัดการน้าและปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิตน้าหนักล้าแตกต่างกันอย่างมนี ัยสา้ คญั ทางสถติ ิ โดยการใหน้ ้าหยดเสรมิ
ร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 27-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ให้ผลผลิตน้าหนักล้าเฉล่ยี 11.77 ตันต่อไร่
ไมแ่ ตกตา่ งกับอตั รา 18-3-6 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ (11.28 ตันตอ่ ไร่) แตส่ งู กวา่ การไมใ่ หน้ ้าเสริม (อาศัย
นา้ ฝน) ร่วมกบั การใส่ปุย๋ อัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (8.70 ตนั ต่อไร่) ส่วนพันธุท์ ั้ง 3 พนั ธุ์
ใหผ้ ลผลติ น้าหนักล้าแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั ส้าคัญทางสถิติ โดยโคลน KK07-037 ให้ผลผลติ น้าหนักลา้ มากสุด
11.54 ตันต่อไร่ ไมแ่ ตกต่างกบั พันธ์ุ LK92-11 ซ่งึ ให้ผลผลิตน้าหนกั ลา้ 10.53 ตนั ต่อไร่ แต่มากกวา่ พนั ธุ์
ขอนแกน่ 3 ซึ่งใหผ้ ลผลิตน้าหนักล้า 9.68 ตันต่อไร่ (Table 19) ค่าซซี ีเอส ไมม่ ปี ฏสิ มั พันธ์ระหว่าง main plot
และ sub plot การจัดการนา้ และปุย๋ ทง้ั 3 วธิ ี ให้คา่ ซซี เี อสไม่แตกตา่ งกันทางสถิติ ซง่ึ มีค่าอยู่ระหว่าง 14.79-15.04
สว่ นพันธุท์ ง้ั 3 พันธุ์ ให้ค่าซซี ีเอสแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถติ ิ โดยพันธ์ุขอนแกน่ 3 มคี ่าซีซีเอสสูงสดุ
16.72 มากกวา่ พนั ธ์ุ LK92-11 ซง่ึ มีค่าซีซเี อส 15.49 และโคลน KK07-037 ซึ่งมคี ่าซีซเี อส 12.56 (Table 20)
ผลผลิตน้าตาล ไม่มีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง main plot และ sub plot การจัดการน้าและปยุ๋ ทง้ั 3 วิธี ใหผ้ ลผลติ
น้าตาลแตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สา้ คัญทางสถิติ โดยการใหน้ า้ หยดเสริมรว่ มกบั การใสป่ ๋ยุ ทัง้ 2 อัตรา ใหผ้ ลผลิต
น้าตาล 1.64 และ 1.72 ตันซีซเี อสต่อไร่ สูงกว่าการไม่ใหน้ า้ เสรมิ (อาศัยน้าฝน) รว่ มกับการใส่ปุ๋ยอัตรา 18-3-6
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (1.31 ตันซีซีเอสต่อไร่) ส่วนพันธทุ์ ัง้ 3 พันธุ์ ให้ผลผลติ น้าตาลไมแ่ ตกต่างกันทาง
สถติ ิ ซึ่งมคี ่าอยรู่ ะหว่าง 1.45-1.63 ตันซซี ีเอสตอ่ ไร่ (Table 21) เมื่อวิเคราะห์ความค้มุ ค่าต่อการลงทุนส้าหรับ
อ้อยตอ 2 (BCR) พบวา่ การผลิตอ้อยตอ 2 ในชุดดนิ ก้าแพงแสน ตา้ บลจรเข้สามพนั อ้าเภออู่ทอง จังหวดั
สุพรรณบรุ ี ให้ผลตอบแทนคุ้มคา่ แกก่ ารลงทุน เม่ือปลูกอ้อยพนั ธ์ุขอนแกน่ 3 และพันธุ์ LK92-11 โดยการ
ไมใ่ หน้ ้าเสริม (อาศยั น้าฝน) ร่วมกับการใส่ป๋ยุ ตามคา่ วิเคราะหด์ นิ โดยให้คา่ BCR 1.29 และ 1.05 ตามล้าดบั
สว่ นกรรมวิธอี ่นื ๆ ให้ค่า BCR ตา่้ กว่า 1.0 (Table 22)

33

เม่ือวิเคราะห์ความคุ้มค่าต่อการลงทุนส้าหรับอ้อยปลูก ตอ 1 และตอ 2 (BCR รวม 3 ปี) พบว่า
การผลติ อ้อยในชดุ ดนิ ก้าแพงแสน ต้าบลจรเขส้ ามพนั อา้ เภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า
แก่การลงทุนสูงสุดเมื่อปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 โดยการไม่ให้น้าเสริม (อาศัยน้าฝน) ร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่า
วเิ คราะหด์ ิน โดยให้ค่า BCR เท่ากับ 2.14 รองลงมาคือ ปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 โดยมีการให้น้าหยดเสริม
รว่ มกบั การใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจน 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดินและใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยให้ค่า BCR เท่ากับ
1.53 และ 1.49 ตามล้าดบั (Table 23)

Table 1 Soil chemical properties before planting of Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province.

Soil depth pH EC Organic matter Avaiable P Exchangable K
(cm) 1:1 (soil:water) 1:5 (soil:water) (%) (mg/kg) (mg/kg)

(dS/m)

0-20 6.30 0.01 1.36 92 160

20-50 6.35 0.02 1.20 80 140

Table 2 Number of stalk per harvest area (rai) of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil

Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

during 2017/2018 cropping season as affected by different means of water,

fertilizer and cultivar management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 11,818 12,148 11,647 11,871

LK92-11 11,328 13,003 11,681 12,004

Khon Kaen 3 11,453 11,203 12,376 11,677

Average 11,533 12,118 11,901

CV (a) 13.76% CV (b) 9.65% F-test: A = ns B = ns A x B = ns

34

Table 3 Height at harvest (12 months) of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil Series

at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2017/2018 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit; cm)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 323 339 361 341 a

LK92-11 297 312 313 307 b

Khon Kaen 3 299 320 324 314 b

Average 307 323 333

CV (a) 9.35% CV (b) 7.79% F-test: A = ns B = * A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

Table 4 Stalk diameter at harvest (12 months) of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil

Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

during 2017/2018 cropping season as affected by different means of water,

fertilizer and cultivar management.

(unit; cm)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 2.85 abc 2.78 abc 2.65 c 2.77

LK92-11 2.75 abc 2.95 a 2.95 a 2.80

Khon Kaen 3 2.90 ab 2.70 bc 2.70 bc 2.83

Average 2.77 2.88 2.76

CV (a) 4.33% CV (b) 5.39% F-test: A = ns B = ns A x B = *

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

35

Table 5 Millable cane yield of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2017/2018

cropping season as affected by different means of water, fertilizer and cultivar

management.

(unit; t/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 16.13 20.15 20.43 18.90

LK92-11 17.62 22.61 21.42 20.55

Khon Kaen 3 19.10 21.15 21.37 20.54

Average 17.61 b 21.30 a 21.07 a

CV (a) 10.62% CV (b) 8.90% F-test: A = ** B = ns A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 6 CCS of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe Samphan

Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2017/2018 cropping season

as affected by different means of water, fertilizer and cultivar management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average

cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 11.83 11.52 10.07 11.14 b

LK92-11 15.97 13.57 15.73 15.09 a

Khon Kaen 3 15.78 15.83 16.44 16.02 a

Average 14.53 13.64 14.08

CV (a) 13.12% CV (b) 11.90% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 7 Sugar yield of plant cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2017/2018

cropping season as affected by different means of water, fertilizer and cultivar

management.

(unit: tCCS/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 15-3-6 (rainfed) 15-3-6 (Irrigate) 22.5-3-6 (Irrigate)

KK07-037 2.18 2.09 2.06 2.11 b

LK92-11 2.82 3.10 3.38 3.10 a

Khon Kaen 3 3.05 3.35 3.51 3.30 a

Average 2.68 2.85 2.98

CV (a) 12.69% CV (b) 10.79% F-test: A = ns B = * A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

36

Table 8 Economic return analysis for plant cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at

Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2017/2018 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

Main plot Sub plot Yield Total cost Income Benefit BCR
(ton/rai) (bath/rai) (bath/rai) (bath/rai) (%)

15-3-6 KK07-037, Sub 1 16.13 9,857 15,753 5,896 0.60

(rainfed), M1 LK92-11, Sub 2 17.62 10,304 21,060 10,756 1.04

Khon Kaen 3, Sub 3 19.10 10,748 22,637 11,889 1.11

15-3-6 KK07-037 20.15 14,890 19,349 4,459 0.30

(irrigated), M2 LK92-11 22.62 15,631 24,169 8,538 0.55

Khon Kaen 3 21.15 15,190 25,122 9,932 0.65

22.5-3-6 KK07-037 20.43 15,166 18,054 2,888 0.19

(irrigated), M3 LK92-11 21.42 15,463 25,330 9,867 0.64

Khon Kaen 3 21.37 15,448 26,072 10,624 0.69

Table 9 Number of stalk per harvest area (rai) of the 1st ratoon cane grown on

Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District,

Suphan Buri Province during 2018/2019 cropping season as affected by different

means of water, fertilizer and cultivar management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone
18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 11,271 11,966 12,558 11,932 a

LK92-11 10,644 12,992 12,183 11,939 a

Khon Kaen 3 10,154 11,020 10,678 10,617 b

Average 10,690 b 11,992 a 11,806 a

CV (a) 7.46% CV (b) 7.85% F-test: A = * B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% and 5% level by DMRT

37

Table 10 Height at harvest of the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at

Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit; cm.)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone
18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 300 325 327 317 a

LK92-11 196 238 231 222 c

Khon Kaen 3 247 260 258 255 b

Average 248 274 272

CV (a) 6.66% CV (b) 5.16% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 11 Stalk diameter at harvest of the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series

at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit; cm.)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 2.74 2.70 2.66 2.70 c

LK92-11 2.89 2.86 2.82 2.86 b

Khon Kaen 3 3.05 3.03 3.05 3.04 a

Average 2.89 2.86 2.84

CV (a) 4.21% CV (b) 5.47% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 12 Millable cane yield of the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at

Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit; t/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 11.48 14.23 17.13 14,28

LK92-11 10.59 12.33 12.93 11,95

Khon Kaen 3 11.16 14.25 13.25 12,89

Average 11.08 b 13.61 ab 14.44 a

CV (a) 16.84% CV (b) 17.65% F-test: A = * B = ns A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

38

Table 13 CCS of the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe Samphan

Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2018/2019 cropping season

as affected by different means of water, fertilizer and cultivar management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 12.49 12.25 12.56 12.43 c

LK92-11 14.99 15.49 14.99 15.16 b

Khon Kaen 3 16.77 16.38 16.45 16.55 a

Average 14.75 14.71 14.68

CV (a) 5.61% CV (b) 5.08% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 14 Sugar yield of the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2018/2019

cropping season as affected by different means of water, fertilizer and cultivar

management.

(unit: tCCS/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 1.41 1.75 2.15 1.77 b

LK92-11 1.57 1.91 1.95 1.81 b

Khon Kaen 3 1.88 2.33 2.19 2.13 a

Average 1.62 b 1.99 a 2.09 a

CV (a) 16.49% CV (b) 15.09% F-test: A = * B = * A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

Table 15 Economic return analysis for the 1st ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil

Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

during 2018/2019 cropping season as affected by different means of water,

fertilizer and cultivar management.

Main plot Sub plot Yield Total cost Income Benefit BCR
(ton/rai) (bath/rai) (bath/rai) (bath/rai) (%)

15-3-6 KK07-037 11.48 8,203 9,545 1,342 0.35

(rainfed) LK92-11 10.59 7,936 10,203 2,267 0.63

Khon Kaen 3 16.77 8,107 11,801 3,694 0.98

15-3-6 KK07-037 14.23 9,173 11,652 2,478 0.53

(irrigated) LK92-11 12.33 8,603 12,205 3,602 0.87

Khon Kaen 3 16.38 9,179 14,775 5,596 1.19

22.5-3-6 KK07-037 17.13 10,158 14,306 4,148 0.73

(irrigated) LK92-11 12.93 8,898 12,458 3,559 0.80

Khon Kaen 3 16.45 8,994 13,787 4,793 1.06

39

Table 16 Number of stalk per harvest area (rai) of the 2nd ratoon cane grown on

Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District,

Suphan Buri Province during 2018/2019 cropping season as affected by different

means of water, fertilizer and cultivar management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average

cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 10,035 11,240 12,178 11,151 a

LK92-11 9,956 12,721 11,605 11,427 a

Khon Kaen 3 9,215 9,956 9,719 9,630 b

Average 9,735 b 11,305 a 11,167 a

CV (a) 8.06% CV (b) 7.56% F-test: A = * B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% and 5% level by DMRT

Table 17 Height at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at

Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit: cm)

Sugarcane Water and fertilizer management Average

cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 225 264 276 255 a

LK92-11 211 219 223 218 b

Khon Kaen 3 210 212 220 214 b

Average 215 232 240

CV (a) 12.43% CV (b) 11.89% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 18 Stalk diameter at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil

Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

during 2018/2019 cropping season as affected by different means of water,

fertilizer and cultivar management.

(unit; cm)

Sugarcane Water and fertilizer management Average

cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 2.88 2.72 2.62 2.74 b

LK92-11 2.91 2.76 2.84 2.84 b

Khon Kaen 3 3.07 2.96 2.99 3.01 a

Average 2.95 2.81 2.82

CV (a) 3.93% CV (b) 4.75% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

40

Table 19 Millable cane yield of the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series

at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit; t/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average

cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 9,236 11,904 13,489 11,543 a

LK92-11 8,026 12,222 11,339 10,529 ab

Khon Kaen 3 8,850 9,714 10,482 9,682 b

Average 8,704 b 11,280 a 11,770 a

CV (a) 11.58% CV (b) 10.86% F-test: A = * B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% and 5% level by DMRT

Table 20 CCS of the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2018/2019

cropping season as affected by different means of water, fertilizer and cultivar

management.

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 12.71 12.48 12.50 12.56 c

LK92-11 15.47 15.96 15.03 15.49 b

Khon Kaen 3 16.96 16.36 16.84 16.72 a

Average 15.04 14.93 14.79

CV (a) 3.43% CV (b) 4.85% F-test: A = ns B = ** A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 1% level by DMRT

Table 21 Sugar yield of the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil Series at

Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during

2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer and

cultivar management.

(unit: tCCS/rai)

Sugarcane Water and fertilizer management Average
cultivars/clone 18-3-6 (rainfed) 18-3-6 (Irrigate) 27-3-6 (Irrigate)

KK07-037 1.18 1.48 1.69 1.45

LK92-11 1.24 1.95 1.71 1.63

Khon Kaen 3 1.51 1.51 1.76 1.59

Average 1.31 b 1.64 a 1.72 a

CV (a) 12.75% CV (b) 11.07% F-test: A = * B = ns A x B = ns

Means follow by the same letter in columns and rows are not significant different at 5% level by DMRT

41

Table 22 Economic return analysis for the 2nd ratoon cane grown on Kamphaengsaen Soil

Series at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

during 2018/2019 cropping season as affected by different means of water, fertilizer

and cultivar management.

Main plot Sub plot Yield Total cost Income Benefit BCR
(ton/rai) (bath/rai) (bath/rai) (bath/rai) (%)

18-3-6 KK07-037 9.24 4,234 7,520 3,285 0.78

(rainfed) LK92-11 8.03 3,871 7,940 4,069 1.05

Khon Kaen 3 8.85 4,117 9,447 5,330 1.29

18-3-6 KK07-037 11.90 8,859 9,888 1,029 0.12

(irrigated) LK92-11 12.22 8,955 12,399 3,444 0.38

Khon Kaen 3 9.71 8,202 10,058 1,855 0.23

27-3-6 KK07-037 13.49 9,559 11,224 1,664 0.17

(irrigated) LK92-11 11.34 8,914 10,950 2,035 0.23

Khon Kaen 3 10.48 8,657 11,123 2,466 0.28

Table 23 Economic return analysis for 3 years on Kamphaengsaen Soil Series at Jorakhe

Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province during 2018/2019

cropping season as affected by different means of water, fertilizer and cultivar

management.

Main plot Sub plot Yield Total cost Income Benefit BCR
(ton/rai) (bath/rai) (bath/rai) (bath/rai) (%)

15-3-6 (18-3-6) KK07-037 36.85 12,517 29,417 16,899 1.35

(rainfed) LK92-11 36.24 12,334 35,854 23,519 1.91

Khon Kaen 3 44.72 14,878 46,652 31,774 2.14

15-3-6 (18-3-6) KK07-037 46.28 19,173 37,479 18,305 0.95

(irrigated) LK92-11 47.17 19,440 45,497 26,057 1.34

Khon Kaen 3 47.24 19,461 48,508 29,046 1.49

22.5-3-6 (27-3-6) KK07-037 51.05 20,827 40,344 19,517 0.94

(irrigated) LK92-11 45.69 19,219 44,648 25,429 1.32

Khon Kaen 3 48.30 20,002 50,591 30,588 1.53

Means in ( ) are ratoon fertilizer recommendations

42

9. สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
1. ในอ้อยปลูก การจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตราต่างๆ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญ

ทางสถิติ ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้าและผลผลิตน้าหนักล้า ในอ้อยตอ การจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ยอัตรา
ตา่ งๆ มคี วามแตกต่างกันอย่างมนี ัยส้าคญั ทางสถติ ิ ดา้ นจา้ นวนล้า ผลผลติ นา้ หนกั ล้า และผลผลิตน้าตาล

2. การผลิตอ้อยปลูกในชุดดินก้าแพงแสน ต้าบลจรเข้สามพัน อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ให้ผลตอบแทนค้มุ ค่าแก่การลงทนุ เม่ือปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์ LK92-11 โดยไม่ให้น้าเสริม (อาศัย
น้าฝน) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอัตรา 15-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน) เม่ือมีการวิเคราะห์
ช่วงปลูกทเ่ี หมาะสมทอ่ี อ้ ยปลูกจะไดร้ ับปรมิ าณนา้ ฝนตรงตามความตอ้ งการน้าของอ้อยและเส่ียงต่อการขาด
นา้ นอ้ ยท่ีสุด

3. การผลิตอ้อยตอในชุดดินก้าแพงแสน ต้าบลจรเข้สามพัน อ้าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ให้ผลตอบแทนค้มุ ค่าแกก่ ารลงทนุ เมื่อปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 โดยมีการให้น้าหยดเสริมร่วมกับการใส่ปุ๋ย
อัตรา 18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน) และใส่ปุ๋ยอัตรา 27-3-6 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ เม่ือมีการวเิ คราะห์ช่วงปลูกที่เหมาะสมที่อ้อยตอจะได้รับปริมาณน้าฝนตรงตามความต้องการ
นา้ ของออ้ ย และเสย่ี งต่อการขาดนา้ นอ้ ยท่ีสดุ

10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์
1. ถา่ ยทอดความรแู้ กน่ กั วชิ าการ เจา้ หน้าทโ่ี รงงาน และเกษตรกร เพื่อน้าความรู้ไปเพ่ิมศักยภาพ

การผลิตออ้ ยท้าให้มผี ลผลติ เพิ่มข้นึ รายไดเ้ พิม่ ขึน้ ตน้ ทุนการผลติ ลดลง
2. ได้แนวทางในการจัดการธาตุอาหาร น้าและพันธ์ุทเ่ี หมาะสม เพ่ือเพิ่มผลผลติ ลดต้นทนุ การผลติ

11. คาขอบคณุ (ถ้าม)ี
-

12. เอกสารอา้ งอิง

กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ทักษิณา ศันสยะวิชัย ศรีสุดา ทิพยรักษ์ วีระพล พลรักดี และเกษม ชูสอน.
2553. การเพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยไนโตรเจนเพื่อเพิ่มผลผลิตอ้อยอย่างเหมาะสมในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ: ออ้ ยปลูก จังหวัดขอนแก่น. รายงานผลงานวิจยั ฉบบั เต็ม กรมวิชาการเกษตร.

กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ทักษิณา ศันสยะวิชัย ศุภกาญจน์ ล้วนมณี ศรีสุดา ทิพยรักษ์ เกษม ชูสอน
จนิ ดารตั น์ ชนื่ ร่งุ และชยนั ต์ ภักดีไทย. 2555. ความต้องการน้าและค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้าของอ้อย
พันธ์ุขอนแกน่ 3. น. 103-113. ใน แก่นเกษตร ปีท่ี 40 ฉบับ พเิ ศษ 3.

วัลลีย์ อมรพล พินิจ กัลยาศิลปิน ศุภกาญจน์ ล้วนมณี ศรีสุดา ทิพยรักษ์ และกอบเกียรติ ไพศาลเจริญ.
2555. การจัดการธาตอุ าหารพชื ที่เหมาะสมเพ่ือการผลิตอ้อยในภาคตะวันออก. น. 141-148. ใน
แกน่ เกษตร ปที ่ี 40 ฉบับ พิเศษ 3.

ศุภกาญจน์ ล้วนมณี กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ชยันต์ ภักดีไทย ศรีสุดา ทิพยรักษ์ และวัลลีย์ อมรพล.
2555. การจัดการธาตอุ าหารพชื ทเ่ี หมาะสมเพ่ือการผลิตอ้อยในภาคตะวันออก. น. 141-148. ใน
แก่นเกษตร ปที ่ี40 ฉบับพิเศษ 3.

43

สา้ นกั งานคณะกรรมการออ้ ยและน้าตาลทราย. 2562. รายงานการผลิตอ้อยและน้าตาลทรายของโรงงาน

น้าตาลทั่วประเทศ ประจ้าปีการผลิต 2561/2562. ส้านักงานอ้อยและน้าตาลทราย 2562.

กระทรวงอุตสาหกรรม 3 หนา้ . แหล่งข้อมูล: http//www.sugarzone.in.th 15 พฤษภาคม 2562.

Allen, R.G., L.S. Pereira, D. Raes and M. Smith. 1998. Crop evapotranspiration-Guidelines
for computing crop water requirements. FAO Irrigation and drainage paper 56.
Food and Agriculture Organization of the United Nations, Rome, 15 p.

Bray, R.H., and L. T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of
phosphorus in soils. Soil Sci. 59: 39-45.

Doorenbos, J. and A.H. Kassem. 1979. Yield Response to Water, FAO Irrigation and
Drainage Paper No. 33, FAO, Rome.

FAO. 1986. Irrigation Water Management Training Manual No. 3: Irrigation water needs.
FAO, Rome.

Peech, M. 1965. Hydrogen Ion Activity. pp. 914-926. In C. A. Black, D. D. Evan, L. E. Ensminger,
and F. E. Clark (eds.). Method of Soil Analysis. American Society of Agronomy.
Madison. Wisconsin. USA.

Schollenberger, C.J., and R. H. Simon. 1945. Determination of exchange capacity and
exchangeable bases in soil-ammonium acetate method. Soil Sci. 59: 13-24.

Walkley, A., I. A. Black. 1934. An examination of Degtjareff method of determining soil organic
matter and a proposed modification of the chromic acid titration method.
Soil Sci. 37: 29-37.

13. ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version