The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hi2ura.pon, 2022-06-09 04:13:27

รายงานผลงานวิจัย 2563

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Keywords: รายงานผลงานวิจัย,ANNUAL RESEARCH REPORT

44

Figure 1 Pattern of water requirement of plant cane and rainfall at Jorakhe
Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

Figure 2 Pattern of water requirement of ratoon cane and rainfall at Jorakhe
Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

45

Figure 3 Air temperature and weekly rainfall during 2017/2018 cropping season
at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

Figure 4 Air temperature and weekly rainfall during 2018/2019 cropping season
at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

46

Figure 5 Air temperature and weekly rainfall during 2019/2020 cropping season
at Jorakhe Samphan Subdistrict, U-thong District, Suphan Buri Province

47

รายงานผลงานเร่อื งเตม็ การทดลองทีส่ ้ินสุด

------------------------

1. แผนงานวิจัย 1. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตออ้ ย

2. โครงการวิจัย 4. วจิ ัยการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิตออ้ ยโดยการจัดการนา้ ธาตุอาหาร

และการใช้พันธท์ุ เี่ หมาะสมกับพนื้ ท่ี

กิจกรรม 1. การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตออ้ ยโดยการจัดการน้า ธาตุอาหาร และ

พนั ธุท์ เี่ หมาะสมกับพืน้ ที่ในกลุ่มดนิ ต่างๆ

กจิ กรรมย่อย (ถา้ มี) -

3. ชอื่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.7 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตออ้ ยโดยการจดั การนา้ ธาตุอาหาร

และพันธุ์ท่เี หมาะสมกบั พน้ื ที่ดินรว่ น จังหวดั กาญจนบุรี

ชื่อการทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Increasing Sugarcane Productivity on Loamy Soil in

Kanchanaburi Province through Suitable Water, Nutrient

and Variety Managements

4. คณะผดู้ าเนนิ งาน

หวั หนา้ การทดลอง สมุ าลี โพธทิ์ อง ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรส่ พุ รรณบุรี

ผู้ร่วมงาน กาญจนา พลู เจรญิ ศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่สุพรรณบุรี

นันทวนั มศี รี ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไร่สุพรรณบรุ ี

ศภุ กาญจน์ ลว้ นมณี กองวิจัยพฒั นาปจั จยั การผลติ ทางการเกษตร

อนสุ รณ์ เทียนศิริฤกษ์ กองวิจยั พฒั นาปจั จัยการผลติ ทางการเกษตร

5. บทคัดยอ่

ศึกษาการจัดการน้า ธาตุอาหาร และพันธ์ุที่เหมาะสมกับการปลูกอ้อยในพ้ืนท่ีดินร่วน จังหวัด

กาญจนบุรี เพ่ือเป็นแนวทางการจัดการน้า ธาตุอาหาร และพันธุ์ที่เหมาะสม ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต

อ้อยในพ้ืนท่ีดังกล่าว ในชุดดินลาดหญ้า ระหว่างเดือนมีนาคม 2560–กุมภาพันธุ์ 2563 วางแผนการทดลองแบบ

Split plot จา้ นวน 4 ซ้า ปจั จัยหลักเปน็ วธิ กี ารจัดการน้าและปยุ๋ 3 วธิ ี ได้แก่ 1) อาศยั น้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี

ตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน 21-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยปลูก และ 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O

ต่อไร่ ส้าหรับอ้อยตอ 2) ใหน้ ้าแบบหยดร่วมกบั การใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน 21-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O

ต่อไร่ส้าหรับอ้อยปลูก และ 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ส้าหรับอ้อยตอ และ 3) ให้น้าแบบหยด

ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินอัตรา 31.5-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ส้าหรับอ้อยปลูก และ

40.5-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่สา้ หรับอ้อยตอ ปัจจัยรอง เป็นพันธ์ุอ้อย 3 โคลน/พันธ์ุ ได้แก่ 1) โคลน

KK07-037 2) พันธ์ุ LK92-11 และ 3) พันธ์ุขอนแก่น 3 ท้าการทดลองในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2

ผลการทดลอง พบว่า พันธุอ์ ้อยทม่ี ีศกั ยภาพในการใหผ้ ลผลิตและเหมาะสมกับพ้ืนที่ดินร่วน ในจังหวัดกาญจนบุรี

คือ พันธุ์ขอนแก่น 3 โดยให้ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธ์ุ LK92-11 ซึ่งเป็นพันธุ์ท่ีเกษตรกรนิยมปลูก ในพ้ืนที่ถึง

48

27.73-36.82 เปอร์เซ็นต์ และการปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ในสภาพน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยในอัตรา 21-6-18
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ (อัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน) ในพ้ืนท่ีดังกล่าว เป็นวิธีท่ีให้ผลตอบแทน
คุ้มค่าแก่การลงทุนสูงที่สุด มีอัตราส่วนผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR) เท่ากับ
1.19 โดยได้รับกา้ ไรในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และตอ 2 รวมสูงสุดเท่ากับ 24,453 บาทต่อไร่ หรือก้าไรเฉลี่ยปีละ
8,151 บาทต่อไร่ แต่ทั้งน้ีก่อนปลูกต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนที่ร่วมกับข้อมูลความ
ต้องการน้าของอ้อยปลูกในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกที่เหมาะสม เป็นการลด
ความเส่ียงจากการขาดน้าเนื่องจากฝนทิ้งช่วงและมีการให้น้าเสริมน้อยครั้งท่ีสุดซึ่งเป็นการลดต้นทุนการ
ผลิตไดอ้ กี ด้วย

คาสาคัญ : อ้อย ชดุ ดินลาดหญา้ ความต้องการนา้ อตั ราสว่ นผลตอบแทนสุทธิต่อตน้ ทุน

ABSTRACT
An optimum water and nutrient management, and suitable variety for sugarcane

production on loamy soil was investigated. The aim was to be a guideline of fertilizer
recommendation, water and variety management for sugarcane production on loamy soil.
The experiment was conducted in Lat Ya soil series in Kanchanaburi Province during Mar.
2017-Feb. 2019. Experiment design was split plots with 4 replications. Main plots
comprised of 1) rainfed condition with fertilizer application of 21-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai for
plant cane and 27-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai for ratoon cane 2) drip Irrigation with fertilizer
application of 21-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai for plant cane and 27-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai for
ratoon cane and 3) drip Irrigation with fertilizer application of 31.5-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai
for plant cane and 40.5-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai for ratoon cane. Subplots consisted of 3
sugarcane varieties -KK07-037, Khon Kaen 3 and LK92-11. The results showed that Khon
Kaen 3 variety had the highest yield potential and were most suitable for loamy soils in
Kanchanaburi Province, gave 27.73-36.82% higher yields than LK92-11 variety, which is the
most popular variety in this area. Planting Khon Kaen 3 varieties under rainfed conditions
with fertilizer application of 21-6-18 kg N-P2O5-K2O/rai (recommended rate based on soil
analysis) gave the highest return on investment and showed the highest BCR (Benefit–Cost
Ratio) of 1.19. The maximum profit was 24,453 baht/rai or average 8,151 baht/rai/year.
However, before planting, must be an analyzed local rainfall data together with data on
the water requirement of sugarcane cultivated in each growth stage. To determine the
optimal planting date, is to reduce the risk of water shortage due to drought. Minimal
water supplementation can also reduce production costs.

Key words : sugarcane, Lat Ya soil series, water requirement, BCR

49

6. คานา
อ้อย (Saccharum officinarum Linn.) เป็นพืชไร่เศรษฐกิจท่ีส้าคัญของประเทศไทย เป็นวัตถุดิบ

สา้ หรับการผลติ น้าตาลส่งออก โดยไทยเป็นผู้ส่งออกน้าตาลมากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากบราซิล สร้าง
รายได้ปีละประมาณ 250,000 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 21 ของ GDP ภาคเกษตรหรือสูงถึง
ร้อยละ 48 ของ GDP ภาคอุตสาหกรรมอาหาร มีครัวเรือนเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกับระบบการผลิตอ้อย
427,395 ครัวเรือน หรือคิดเป็นจ้านวนประชากรกว่า 927,447 คน รวมถึงแรงงานอีกเป็นจ้านวนมาก ท้าให้
อตุ สาหกรรมออ้ ยและน้าตาลเป็นอุตสาหกรรมทม่ี บี ทบาทต่อการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก
ในปีการผลิต 2562/63 ไทยมีพื้นท่ีปลูกอ้อย 11.96 ล้านไร่ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.23 ล้านไร่
ภาคกลาง 3.17 ล้านไร่ ภาคเหนือ 2.88 ล้านไร่ และภาคตะวันออก 0.68 ล้านไร่ จังหวัดที่มีการปลูกอ้อย
มากท่ีสุด 5 อันดับของประเทศ ได้แก่ จังหวัดก้าแพงเพชร นครสวรรค์ กาญจนบุรี อุดรธานี และลพบุรี มี
พ้นื ท่ปี ลกู 824,670 811,354 789,440 681,279 679,733 ไร่ ตามล้าดับ (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อย
และน้าตาล, 2563) มีโรงงานน้าตาลต้ังอยู่ 58 โรงงานท่ัวประเทศ และมีความต้องการผลผลิตอ้อยเพิ่มข้ึน
อยา่ งต่อเน่ืองแต่ศักยภาพการผลติ อ้อยในภาพรวมของประเทศค่อนขา้ งต่า้ มีผลผลิตเฉลี่ยเพียง 7.09 ตันต่อไร่
เน่ืองจากพ้ืนที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาศัยน้าฝน ในขณะที่แหล่งน้าชลประทานของประเทศไทยมีเพียง
28.36 ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.64 ของพ้ืนท่ีถือครองทางการเกษตร (กรมชลประทาน, 2553) ซึ่งไม่
เพียงพอแก่ความต้องการ เม่ือเกิดการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศท่ีฝนไม่ตกตามฤดูกาล การกระจายตัว
ของฝนไม่สม้่าเสมอ และภาวะฝนทิ้งช่วงยาวนาน จึงส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต หากมีการ
ขาดน้าในช่วงย่างปล้อง (stem elongation) จะมีผลท้าให้ความยาวล้าลดลงถึง 80 เปอร์เซ็นต์ (Robison,
1963 และ Koehler et al., 1982) นอกจากการขาดแคลนน้าแล้ว ความอุดมสมบูรณ์ของดินและการจัดการ
ธาตุอาหารที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้พันธ์ุที่ไม่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ยังเป็นข้อจ้ากัดที่ส้าคัญอย่างยิ่ง
ในการท้าให้ผลผลติ อ้อยต้่าและไวต้ อไดน้ อ้ ยพนั ธอุ์ ้อยเป็นปัจจยั ทีส่ ้าคัญในการผลิตอ้อยและมีการตอบสนอง
ต่อสภาพแวดล้อมมากถึงร้อยละ 80 โดยอ้อยแต่ละพันธุ์จะตอบสนองต่อน้าและธาตุอาหารรวมทั้งการปรับตัว
ต่อสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน จากการเปรียบเทียบศักยภาพของพันธุ์ท่ีปลูกในชุดดินต่างๆ พบว่า อ้อยพันธุ์
ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ LK92-11 ที่ปลูกในกลุ่มดินทรายชุดดินบ้านไผ่และสัตหีบร้อยละ 3.3 และ
12.0 เมื่อปลูกในกลุ่มดินร่วนชุดดินก้าแพงแสนให้ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 31.2 กลุ่มดินเหนียวชุดดินลพบุรี
ผลผลติ สูงกว่าร้อยละ 18.1 กลุ่มดินตื้นชุดดินกบินทร์บุรี ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 33.4 หากใช้พันธุ์สุพรรณบุรี 80
ปลูกในชุดดินราชบุรี จะให้ผลผลิตสูงกว่าร้อยละ 31.2 (กอบเกียรติ, 2556) เกริก และคณะ (2552) ได้ศึกษา
ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตพืชไร่หลัก 4 ชนิด ในประเทศไทย พบว่า ในอ้อย
ถึงแม้ว่า ค่าเฉล่ียของการเปลี่ยนแปลงผลผลิตทั้งประเทศได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศมีค่าไม่มากนัก และผลผลิตมีแนวโน้มสูงข้ึนเล็กน้อย แต่มีความแปรปรวนค่อนข้างสูง ท้ังความ
แปรปรวนในเชิงพ้ืนท่ีและในเชิงเวลา ชี้ให้เห็นว่า ความหลากหลายของสภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการ
เจริญเตบิ โตและการให้ผลผลิตของอ้อยค่อนข้างสูงจากข้อจ้ากัดของการขาดแคลนน้าการจัดการน้าในพ้ืนที่
ปลูกอ้อยในยุคท่ีมีความแปรปรวนของปริมาณน้าฝน จึงควรเป็นการให้น้าเสริมน้อยคร้ังท่ีสุดและเกิด

50

ประสิทธิภาพสูงสุดที่จะท้าให้อ้อยสามารถเจริญเติบโตเป็นปกติในช่วงท่ีฝนท้ิงช่วงโดยไม่กระทบต่อผลผลิต
ในขณะที่อ้อยแต่ละพันธ์ุมีการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม การให้น้า และธาตุอาหารที่แตกต่างกัน ดังนั้น
แนวทางท่ีจะพัฒนาผลผลิตอ้อยให้สูงและเพ่ิมความสามารถในการไว้ตอได้ ต้องมีการบริหารจัดการน้าให้
เพียงพอกบั ความต้องการของอ้อย และเลือกใช้พันธ์ุให้เหมาะสมกับพื้นท่ี ตลอดจนมีการจัดการธาตุอาหาร
อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงได้ศึกษาการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตอ้อยของจังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงเป็น
แหล่งปลูกอ้อยทีส่ ้าคญั ของภาคกลาง โดยในฤดูการผลิตปี 2562/63 มีพื้นที่ปลูกอ้อยถึง 789,440 ไร่ มากเป็น
ลา้ ดบั 1 ของภาคกลาง และมากเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ เพื่อเป็นแนวทางในการแนะน้าการใช้ปุ๋ย การ
จดั การน้า และการเลือกใช้พันธุ์ให้เหมาะสมกับพื้นทีต่ อ่ ไป

7. วธิ ดี าเนินการ
- อปุ กรณ์
- ทอ่ นพันธุ์อ้อยได้แก่ โคลน KK07-037 พนั ธข์ุ อนแกน่ 3 และพันธุ์ LK92-11
- อุปกรณ์การใหน้ า้ หยด ได้แก่ ทอ่ นา้ หยดพีอี สายนา้ หยด หัวน้าหยด ปม๊ั น้า
- ป๋ยุ เคมเี กรด 46-0-0 18-46-0 0-46-0 0-0-60 และ 15-15-15
- อปุ กรณว์ ัดคุณภาพความหวาน (Hand refractometer)
- Vernier Caliper ส้าหรับใชว้ ัดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางลา้
- ไมว้ ัดความสูง
- ชุดเกบ็ ตัวอย่างดนิ และสว่านเก็บตัวอย่างดิน แบบไม่รบกวนโครงสร้างดิน (undisturbed core
sampler) ชุดตอกสแตนเลสท่ีใช้คู่กับกระบอกสแตนเลสเก็บตัวอย่างดิน ท่อเจาะดินสแตน
เลสยาว 1 เมตร คอ้ นทองแดง
- วธิ กี าร
แผนการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Split plot จา้ นวน 4 ซา้
Main plot คือ การจัดการนา้ และปยุ๋ 3 วธิ ี ได้แก่
1) อาศัยน้าฝน+ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (21-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ส้าหรับ
ออ้ ยปลูก และ 27-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O/ไร่ ส้าหรับออ้ ยตอ)
2) ให้น้าแบบหยด+ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (21-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ส้าหรับ
อ้อยปลกู และ 27-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O/ไร่ ส้าหรับอ้อยตอ)
3) ใหน้ ้าแบบหยด+ใส่ปุ๋ยเคมี N 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน (31.5-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O
ตอ่ ไร่ สา้ หรบั อ้อยปลูก และ 40.5-6-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ส้าหรับอ้อยตอ)

หมายเหตุ : ใช้ค้าแนะน้าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส้าหรับอ้อยปลูกและอ้อยตอท่ีได้จากโครงการวิจัย
ดา้ นดนิ น้า และป๋ยุ อ้อย ซึ่งด้าเนนิ การ ในปี 2554–2558

51

Sub plot คอื พนั ธุ์ออ้ ยจา้ นวน 3 พนั ธุ์ ได้แก่
1) พนั ธุ์ขอนแก่น3
2) พนั ธุ์ LK92-11
3) โคลน KK07-037

วธิ ปี ฏิบัตกิ ารทดลอง
1) คัดเลอื กพ้ืนท่ที ้าการทดลองในแหล่งปลูกอ้อยที่ส้าคัญของจังหวัดกาญจนบุรี ที่เนื้อดินจัดอยู่

ในกลุ่มดนิ รว่ น โดยคัดเลอื กจากชดุ ดนิ ลาดหญ้า
2) วิเคราะห์ลักษณะหน้าตัดดินโดยขุดเจาะหลุมขนาด 1.5 x 1.5 x 1.5 เมตร บันทึกข้อมูลความ

ลึกของหนา้ ตัดดิน ความหนาของช้ันดนิ ความหนาแน่นรวมของดิน เน้ือดิน ค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน
ปริมาณอนิ ทรยี วัตถุ ฟอสฟอรัสท่เี ป็นประโยชน์ โพแทสเซยี ม แคลเซียม และแมกนเี ซยี มที่แลกเปลย่ี นได้

3) รวบรวมข้อมูลภูมิอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ในพ้ืนท่ีท้าการทดลองอย่างน้อย 20 ปี
ย้อนหลังเช่น อุณหภูมิสูงสุด-ต้่าสุด ปริมาณน้าฝน และพิกัดที่ตั้งของสถานีอุตุนิยมวิทยา เพื่อเป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสมร่วมกับข้อมูลปริมาณความต้องการน้าในแต่ละระยะการ
เจรญิ เติบโตของอ้อย

4) สมั ภาษณ์เกษตรกรเก่ียวกับการจดั การดิน น้า ป๋ยุ พันธท์ุ ่ีนยิ มปลูก และการปฏบิ ตั ิในแปลง
ปลูกของเกษตรกร

5) ก่อนปลกู ออ้ ยทดลองมีการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนที่ร่วมกับข้อมูลความต้องการ
น้าของอ้อยปลูกในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกที่เหมาะสม เพื่อให้อ้อยได้รับ
นา้ ฝนตรงตามปรมิ าณความต้องการหรอื มกี ารใหน้ ้าเสริมน้อยคร้ังทส่ี ุด

6) ปลูกอ้อยในแปลงย่อยขนาด 11.7 x 9.0 เมตร ระยะปลูก 1.30 x 0.50 เมตร เว้นระยะ
ระหว่างแปลงย่อย 1.3 เมตร ใส่ปุ๋ยรองพ้ืนก่อนปลูกด้วยปุ๋ยไนโตรเจนครึ่งอัตราท่ีก้าหนด ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต
และปุ๋ยโพแทชเต็มอัตรา ส่วนการใส่ปุ๋ยครั้งท่ี 2 ใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอีกคร่ึงอัตรา เมื่ออ้อยอายุ 3 เดือนหรือ
เมื่อดินมีความชื้นพอเหมาะ หลังจากปลูกอ้อยท้าการฉีดสารเคมีคุมวัชพืชทันที หลังจากน้ันก้าจัดวัชพืช
ด้วยแรงงานคน ขนาดพนื้ ท่ีเกบ็ เกีย่ ว 35.1 ตารางเมตร (3 แถวๆ ยาว 9 เมตร)

7) ก่อนปลูกอ้อยได้น้าข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนที่ทดลองย้อนหลัง 20 ปี มาวิเคราะห์ร่วมกับ
ข้อมูลความต้องการน้าของอ้อยในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพ่ือพิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสมโดย
พิจารณาการให้น้าจากความต้องการน้าของอ้อย (ETc) รายสัปดาห์ร่วมกับปริมาณน้าฝนสะสมรายสัปดาห์
โดยทุกกรรมวิธีมีการให้นา้ เสรมิ ครั้งแรกหลงั ปลูกในปริมาณ 40.5 มิลลิเมตร (หลงั ปลกู ออ้ ยจนกระทั่งอ้อยอายุ
1 เดอื น) เพ่ือช่วยใหอ้ ้อยงอกและตงั้ ตวั ได้ หลังจากนั้นค้านวณการให้น้าโดยพิจารณาจากสมดุลน้า (Water
balnce) ทกุ 7 วนั เพื่อคา้ นวณปรมิ าณน้าท่ีตอ้ งให้กบั พชื ตามสมการ

ETc = Kc x ETo โดยใชค้ ่า Kc ของพนั ธ์ุขอนแกน่ 3 (กอบเกยี รติ และคณะ, 2555)

52

ส่วนค่า ETo คา้ นวณตามวธิ ขี อง Blaney and Criddle (FAO, 1986) โดยที่
ETc : ปรมิ าณความตอ้ งการน้าของพชื (มลิ ลิเมตรต่อวนั )
Kc : สัมประสิทธ์กิ ารใชน้ ้าของพืช (ใช้ค่า Kc ของพันธุ์ขอนแก่น 3 ในการคา้ นวณ)
ETo : ปรมิ าณการใชน้ ้าของพชื อ้างอิง (มลิ ลิเมตรตอ่ วนั )
ETo = p (0.46Tmean+8) โดยที่
p : เปอรเ์ ซน็ ตป์ ระจ้าวันเฉลี่ยของชว่ั โมงกลางวนั ท้ังหมดในระยะ 1 ปี
Tmean : คา่ อุณหภูมปิ ระจา้ เดือนเฉล่ยี (C)
Tmean = (Tmax + Tmin)/2
Tmax : ผลรวมของอุณหภูมสิ ูงสุดระหวา่ งเดอื น/จา้ นวนวันของหน่งึ เดือน
Tmin : ผลรวมของอุณหภูมิต่า้ สุดระหวา่ งเดอื น/จ้านวนวันของหนึ่งเดอื น

การบันทึกขอ้ มูล
1) บนั ทึกเปอร์เซน็ ตค์ วามงอก และข้อมลู การเจรญิ เติบโตของอ้อย ได้แก่ ความสูง เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางล้า

จา้ นวนลา้ ตอ่ กอ เม่อื อ้อยอายุ 6 9 และ 12 เดอื น
2) บันทึกขอ้ มลู ผลผลิตและองคป์ ระกอบผลผลิต ไดแ้ ก่ ความยาวลา้ เส้นผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวน

ปล้องต่อล้า น้าหนักล้าเฉลี่ย จ้านวนล้าต่อกอ จ้านวนกอเก็บเก่ียวต่อไร่ น้าหนักล้าต่อไร่ และความหวาน
(CCS)

3) บนั ทกึ ข้อมลู การระบาดของโรคและแมลง เช่น โรคใบขาว โรคแส้ด้า โรคเห่ียวเน่าแดง หนอนกอ
หนอนเจาะล้าตน้ โดยปฏิบัติตามตารางการบันทึกข้อมูลการระบาดของโรคและแมลงของกรมวิชาการเกษตร
(กรมวชิ าการเกษตร, 2540)

4) บันทกึ ขอ้ มูลสภาพภูมิอากาศตลอดฤดปู ลกู เชน่ ปรมิ าณน้าฝน อณุ หภมู สิ ูงสดุ -ต่า้ สุด
5) บนั ทึกข้อมูลปรมิ าณน้าที่ให้ในแตล่ ะคร้ังและตลอดฤดปู ลูก
6) บันทกึ ตน้ ทนุ ในการปฏบิ ตั ใิ นแปลงปลกู ตง้ั แตก่ ารเตรียมท่อนพันธุ์ การเตรยี มดิน จนกระทั่งเกบ็ เก่ยี ว
7) วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance) เปรียบเทียบผลของการจัดการน้า
และธาตุอาหารรว่ มกับการใชพ้ นั ธุ์ต่อการเพม่ิ ผลผลติ ของอ้อย
วิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ สรุปการใชก้ ารจดั การน้าและธาตุอาหารร่วมกับการใช้
พันธ์ทุ เี่ หมาะสมกับพื้นที่ท่ใี ห้ผลตอบแทนคุ้มคา่ แก่การลงทุนมากท่ีสดุ

- เวลาและสถานที่
ตลุ าคม 2558-กันยายน 2563 ณ ไร่เกษตรกรตา้ บลหลมุ รัง อ้าเภอบ่อพลอย จงั หวัดกาญจนบรุ ี

53

8. ผลการทดลองและวิจารณ์

กอ่ นปลูกออ้ ยทดลองได้นา้ ขอ้ มลู ปรมิ าณน้าฝนในพน้ื ทอี่ ้าเภอบอ่ พลอย จังหวดั กาญจนบุรี มาวเิ คราะห์
ร่วมกับข้อมูลความต้องการน้าของอ้อยปลูกและอ้อยตอในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูก
ที่เหมาะสม เพ่ือให้อ้อยได้รับน้าฝนตรงตามปริมาณความต้องการและมีโอกาสเส่ียงต่อการขาดน้าน้อยที่สุด
หรือมีการให้น้าเสริมน้อยคร้ังที่สุด ซึ่งพบว่า ช่วงวันปลูกที่เหมาะสม คือ ช่วงวันที่ 15 กุมภาพันธ์–30 มีนาคม
จึงปลูกอ้อยในวันที่ 29 มีนาคม 2560 หลังปลูกอ้อยมีการให้น้าหยด 40.5 มิลลิเมตรในทุกกรรมวิธีเพ่ือให้
ออ้ ยงอกและตง้ั ตวั ได้ หลงั ปลูกออ้ ยได้ 1 เดือน จงึ พจิ ารณาการให้นา้ ตามกรรมวิธีที่ก้าหนด โดยการให้น้าแต่
ละครง้ั ในออ้ ยปลูกจะพิจารณาจากปริมาณน้าฝนสะสมใน 7 วัน เทียบกับปริมาณความต้องการน้าของอ้อย
(ETc) สะสม 7 วัน หากปริมาณน้าฝนน้อยกว่าปริมาณความต้องการน้าจะต้องมีการให้น้าเพิ่มตามปริมาณ
ความตอ้ งการของอ้อย ส้าหรับในอ้อยตอการให้น้าจะพิจารณาจากปริมาณน้าฝนสะสมใน 14 วัน เทียบกับ
ปรมิ าณความต้องการน้าของอ้อย (ETc) สะสม 14 วัน ซึ่งหากปริมาณน้าฝนน้อยกว่าปริมาณความต้องการ
นา้ จะตอ้ งมีการให้น้าเพมิ่ ในปรมิ าณคร่ึงหน่ึงของปริมาณความต้องการน้าของอ้อยตอได้ผลการทดลองดังน้ี

คณุ สมบัติของดินในพืน้ ที่ทดลอง
พนื้ ทท่ี ้าการทดลองเปน็ ตัวแทนพื้นทปี่ ลูกออ้ ยในกลมุ่ ดนิ ร่วนในแหล่งปลูกอ้อยท่ีส้าคัญของจังหวัด

กาญจนบุรี ได้แก่ อ้าเภอบ่อพลอย ในชุดดินลาดหญ้า ซ่ึงอยู่ในกลุ่มชุดดินท่ี 56 เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่
กับที่ หรือเคล่ือนย้ายมาในระยะทางใกล้ๆ ของหินทรายและหินควอร์ตไซต์ โดยมีหินดินดานและหินฟิลไลน์
เป็นหินพื้น จากการวิเคราะห์ลักษณะหน้าตัดดิน สามารถแบ่งชั้นหน้าตัดดินออกเป็น 3 ช้ัน โดยที่ระดับ
ความลึก 60 เซนติเมตร ลงไปเจอช้ันดินดานไม่สามารถขุดลงไปได้ ลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย
ตลอดทั้งหน้าตัดดิน มีความหนาแน่นรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง โดยความหนาแน่นรวมของดินบน (0-46
เซนติเมตร) และดินล่าง (46-60 เซนติเมตร) เท่ากับ 1.48 และ 1.57 กรัมต่อเซนติเมตร3 ตามล้าดับ (Table 1)
สมบตั ิทางเคมขี องดินบน พบวา่ ดินเปน็ กรดจัดมีความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) เฉล่ีย 4.3 มีอนิ ทรียวัตถุเฉล่ีย 0.5
เปอร์เซ็นต์ แต่มีการสะสมโพแทสเซียมในปริมาณสูง 59.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และมีฟอสฟอรัสเป็น
ประโยชน์อยู่ในระดับปานกลาง 24.6 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Table 2) ซึ่งถือว่า เป็นดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า
เม่อื พิจารณาการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส้าหรับอ้อยปลูก ในกรรมวิธีท่ีใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน จึงใส่ปุ๋ย
N-P2O5-K2O ในอัตรา 21-6-18 กิโลกรัมต่อไร่ โดยแบ่งใส่ 2 คร้ัง ครั้งแรกรองพ้ืนพร้อมปลูกในอัตรา 10.5-3-12
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ และคร้ังท่ี 2 ใส่เฉพาะปุ๋ย N อัตรา 10.5 กิโลกรัมต่อไร่ เม่ืออ้อยอายุ 2.5 เดือน
สว่ นกรรมวธิ ที ีใ่ สป่ ๋ยุ ไนโตรเจน 1.5 เทา่ ของอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุ๋ย N-P2O5-K2O ในอัตรา 31.5-6-18
กิโลกรัมต่อไร่ โดยแบ่งใส่ 2 ครง้ั ครั้งแรกใส่รองพ้ืนพร้อมปลูกในอัตรา 15.8-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
และคร้ังที่ 2 ใส่เฉพาะปุ๋ย N อัตรา 15.8 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่ออ้อยอายุ 2.5 เดือน โดยในข้ันตอนการเตรียมดิน
มีการไถระเบิดดินดานก่อนปลกู และปรบั ปรุงดนิ โดยใสก่ ากตะกอนหมอ้ กรองอ้อยในอัตรา 1 ตันต่อไร่ และ
ใชป้ ยุ๋ ยเู รยี (46-0-0) เป็นแหลง่ ปุย๋ ไนโตรเจน เพอื่ ยกระดับความเปน็ กรด-ด่างใหส้ งู ขน้ึ

54

การทดลองในอ้อยปลูก (ปี 2560/61)
หลงั จากปลกู ออ้ ยจนกระทั่งเก็บเก่ียว (29 มีนาคม 60–20 มีนาคม 61) อ้อยมีความต้องการน้ารวม

1,901.51 มิลลิเมตร ปริมาณน้าฝนรวมเท่ากับ 1,059.40 มิลลิเมตร มีการให้น้าท้ังหมด 17 คร้ัง รวมปริมาณน้า
ท่ีให้ 570.11 มิลลิเมตร ผลการทดลองในออ้ ยปลกู พบว่า การจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ย ท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิต
ไมแ่ ตกตา่ งกนั ทางสถิติ โดยให้ผลิตอยู่ระหว่าง 14.18-15.17 ตันต่อไร่ ท้ังน้ีเนื่องจากตลอดระยะการเจริญเติบโต
อ้อยมีความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางล้า และการแตกกอใกล้เคียงกันมาก ท้าให้องค์ประกอบผลผลิต ได้แก่
จา้ นวนล้าเก็บเก่ียว ความยาวล้า จ้านวนปล้องต่อล้า และน้าหนักต่อล้า ไม่แตกต่างกัน ผลผลิตจึงไม่แตกต่างกัน
แต่พบว่า อ้อยแต่ละโคลน/พันธ์ุให้ผลผลิตแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยอ้อยโคลน KK07-037
ให้ผลผลิตสูงที่สุดเท่ากับ 19.50 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ พันธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11 ให้ผลผลิตเท่ากับ
18.24 และ 14.28 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 3) ท้ังนี้เน่ืองจากอ้อยโคลน KK07-037 มีองค์ประกอบผลผลิต
ได้แก่ จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่ ความยาวล้า จา้ นวนปลอ้ งตอ่ ลา้ และน้าหนักตอ่ ลา้ สูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11
(Table 4-7) จึงท้าให้มีผลผลิตสูงกว่า เม่ือพิจารณาผลผลิตน้าตาล กลับพบว่า พันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิต
น้าตาลมากที่สุดเท่ากับ 2.94 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 8) ท้ังนี้เนื่องจากมีความหวาน (CCS) สูงท่ีสุดเท่ากับ
16.46 รองลงมาคือ พันธุ์ LK92-11ให้ค่า CCS เท่ากับ 15.30 ในขณะที่โคลน KK07-037 มีความหวาน หรือ
CCS เพยี ง 12.16 (Table 9) เม่ือพิจารณาผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในอ้อยปลูก พบว่า การปลูกอ้อย
พันธ์ุขอนแก่น 3 ในสภาพอาศัยน้าฝนท่ีมีการให้น้าเสริมเพียงช่วงแรกของการปลูก ร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่า
วิเคราะหด์ ินอตั ราปยุ๋ ไนโตรเจนเพียง 1 เท่าของค้าแนะน้า (21-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ) ให้ผลตอบแทน
มากทส่ี ดุ คือ 9,255 บาทต่อไร่ โดยมีอัตราส่วนผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR) เท่ากับ
0.85 (Table 10)

การทดลองในอ้อยตอ 1 (ปี 2561/62)
หลังเกบ็ เกย่ี วออ้ ยปลูกจนกระท่ังเก็บเกย่ี วอ้อยตอ 1 (21 มีนาคม 2561-6 มีนาคม 2562) มีจ้านวน

วันฝนตก 107 วัน ปริมาณนา้ ฝนรวม 694.80 มิลลิเมตร โดยตลอดระยะการเจริญเติบโตอ้อยตอมีความ
ต้องการน้ารวม 2,230.23 และมีการให้น้าเสริม 9 ครั้ง รวมปริมาณน้าที่ให้เท่ากับ 487.08 มิลลิเมตร ผลการ
ทดลองในอ้อยตอ 1 พบว่า กรรมวิธีการจัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ย ให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต
ได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่ และความยาวลา้ แตกตา่ งกันทางสถิตอิ ย่างมนี ัยส้าคญั โดยการให้น้าเสริมร่วมกับการ
ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้ไนโตรเจนอัตรา 1 เท่าของค้าแนะน้า (27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ )
ให้จ้านวนลา้ ต่อไร่และความยาวล้ามากทส่ี ุด โดยมีจ้านวนล้าต่อไร่เฉลีย่ เท่ากับ 12,813 ล้าต่อไร่ (Table 12)
และมีความยาวล้าเท่ากับ 274 เซนติเมตร (Table 13) ในขณะท่ีการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้อัตรา
ไนโตรเจนเท่ากันแต่ปลูกโดยอาศัยน้าฝน มีจ้านวนล้าต่อไร่เฉล่ียเท่ากับ 10,595 ล้าต่อไร่ และมีความยาวล้า
เทา่ กบั 222 เซนติเมตร จึงทา้ ใหก้ ารให้น้าเสรมิ รว่ มกับการใส่ปยุ๋ 27-6-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลิต
อ้อยตอ 1 สูงที่สุดเท่ากับ 15.39 ตันต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างจากวิธีการที่ให้น้าเสริมแต่ใส่ปุ๋ยในอัตรา 40.5-6-18
กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ (N 1.5 เทา่ ของค้าแนะน้า) ท่ีให้ผลผลิตเท่ากับ 13.77 ตันต่อไร่ ส่วนการใช้ปุ๋ย
27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ แต่ปลูกในสภาพน้าฝนให้ผลผลิตเท่ากับ 10.35 ตันต่อไร่ (Table 11)
ส้าหรับด้านพันธ์ุ พบว่า อ้อยแต่ละโคลน/พันธ์ุให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต ได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่
ความยาวล้า เส้นผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวนปล้องต่อล้าและน้าหนักต่อล้าแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัย

55

สา้ คญั ยิ่ง โดยพนั ธ์ุ LK92-11 และโคลน KK07-037 ให้จา้ นวนลา้ ต่อไร่ใกลเ้ คียงกันคอื 12,783 และ 12,540
ลา้ ต่อไร่ ส่วนอ้อยโคลน KK07-037 ให้จ้านวนล้าต่อไร่น้อยที่สุดเท่ากับ 10,066 ล้าต่อไร่ (Table 12) ส้าหรับ
ความยาวล้า พบว่า อ้อยโคลน KK07-037 มีความยาวล้ามากท่ีสุดเท่ากับ 313 เซนติเมตร รองลงมาคือ พันธุ์
ขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีความยาวล้าเท่ากับ 252 และ 198 เซนติเมตร ตามล้าดับ (Table 13) อ้อยพันธ์ุ
ขอนแก่น 3 ให้องค์ประกอบผลผลิตด้านจ้านวนปล้องต่อล้า เส้นผ่านศูนย์กลางล้า และน้าหนักต่อล้ามาก
ท่ีสุด (Table 14-16) แต่ออ้ ยโคลน KK07-037 ให้ผลผลิตมากท่ีสุดเท่ากับ 15.65 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ พันธ์ุ
ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ให้ผลผลิตเท่ากับ 13.41 และ 10.45 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 11) ส้าหรับ
ผลผลิตน้าตาล พบว่า อ้อยแต่ละโคลน/พันธุ์ ให้ผลผลิตน้าตาลไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยให้ผลผลิตน้าตาล
อยู่ระหว่าง 1.94-2.20 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 17) ทั้งน้ีเน่ืองจากอ้อยโคลน KK07-037 ท่ีให้ผลผลิตมากท่ีสุด
แตก่ ลับให้ค่าความหวานต้่าที่สุด (CCS) เท่ากับ 12.60 (Table 18) ในขณะท่ีพันธุ์ LK92-11 ท่ีให้ผลผลิตต้่าสุด
แตก่ ลบั ใหค้ ่าความหวานสงู ใกลเ้ คยี งกับพันธุ์ของแก่น 3 ที่มีผลผลิตค่อนข้างสูง จึงท้าให้อ้อยท้ัง 3 โคลน/พันธุ์
มผี ลผลิตน้าตาลไมแ่ ตกตา่ งกัน จากการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การจัดการน้าในอ้อยตอ
โดยอาศัยน้าฝนร่วมกับการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้ไนโตรเจนเพียง 1 เท่าของอัตราแนะน้า (27-6-18
กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ) ในออ้ ยพนั ธุข์ อนแก่น 3 ให้ผลตอบแทนค้มุ คา่ ต่อการลงทุนสูงที่สุด มีอัตราส่วน
ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ต้นทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR) เท่ากบั 0.98 (Table 19)

การทดลองในอ้อยตอ 2 (ปี 2562/63)
ตลอดระยะการเจริญเติบโตของอ้อยตอ 2 จนกระทั่งเก็บเก่ียวอ้อยที่อายุประมาณ 11 เดือน (7

มีนาคม-19 กุมภาพันธ์ุ 2563) อ้อยมีความต้องการน้ารวม 2,149.18 มิลลิเมตร มีการให้น้าเสริม 11 คร้ัง
รวมปริมาณนา้ ท่ีให้เท่ากับ 529.96 มิลลิเมตร และพบว่า หลังวันท่ี 24 กันยายน 2562 ฝนทิ้งช่วงนาน
จนกระทง่ั เก็บเกี่ยวออ้ ยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 รวมเวลาถึง 5 เดือน โดยตลอดระยะการเจริญเติบโตมี
จ้านวนวันฝนตก 81 วัน ปริมาณน้าฝนรวมเพียง 428.80 มิลลิเมตร ผลการทดลองในอ้อยตอ 2 พบว่า การ
จัดการน้าร่วมกับการใส่ปุ๋ยท้ัง 3 วิธี ให้ผลผลิต จ้านวนล้าต่อไร่ ความยาวล้า จ้านวนปล้องต่อล้า และ
ผลผลติ นา้ ตาล แตกต่างกนั ทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยกรรมวิธีการให้น้าเสริมแบบหยดร่วมกับการใส่ปุ๋ย
ตามคา่ วเิ คราะหด์ ินโดยใช้ปยุ๋ ไนโตรเจนในอัตรา 1 เท่าของค้าแนะน้า (27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ )
ให้ผลผลิตมากท่ีสุดเท่ากับ 14.29 ตันต่อไร่ และมีองค์ประกอบผลผลิตในด้านจ้านวนล้าต่อไร่ ความยาวล้า
และจา้ นวนปล้องต่อล้ามากท่ีสุด (Table 21-24) ในขณะท่ีการใส่ปุ๋ยในอัตราเดียวกัน แต่มีการจัดการน้าโดย
อาศัยน้าฝนให้ผลผลิตเพียง 9.76 ตันต่อไร่ (Table 20) และมีองค์ประกอบผลผลิตในด้านจ้านวนล้าต่อไร่
ความยาว และจ้านวนปลอ้ งตอ่ ลา้ ต้่าที่สุด สว่ นด้านพันธุ์ พบว่า อ้อยแต่ละโคลน/พันธุ์ ให้ผลผลิตและองค์ประกอบ
ผลผลิตแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยส้าคัญยิง่ ทางสถติ ิ ให้ผลการทดลองไปในทศิ ทางเดยี วกันกบั อ้อยตอ 1 คือ อ้อยโคลน
KK07-037 ให้จา้ นวนล้ามากที่สดุ เทา่ กับ 16,494 ล้าต่อไร่ รองลงมาคอื พันธุ์ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีจ้านวน
ลา้ ต่อไร่เทา่ กับ 15,478 และ 13,460 ล้าต่อไร่ (Table 21) ส้าหรับความยาวล้า พบว่า อ้อยโคลน KK07-037
มคี วามยาวล้ามากท่ีสดุ เทา่ กับ 268 เซนติเมตร รองลงมาคอื พนั ธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีความยาวล้า
เท่ากับ 206 และ 157 เซนติเมตร (Table 22) และพบว่า พันธุ์ขอนแก่น 3 ให้องค์ประกอบผลผลิตด้าน
เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางลา้ จ้านวนปล้องต่อล้า และน้าหนักต่อล้ามากท่ีสุด (Table 23-25) ส่วนโคลน KK07-037

56

ให้ผลผลิตมากที่สุดเท่ากับ 15.07 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ พันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ที่ให้ผลผลิตเท่ากับ
12.30 และ 8.99 ตนั ต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 20) ส้าหรับผลผลิตน้าตาล พบว่า อ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิต
น้าตาลมากท่ีสุดเท่ากับ 1.99 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 26) เนื่องจากมีผลผลิตค่อนข้างสูงและมีค่าความหวาน
(CCS) สูงที่สุดเท่ากับ 16.29 (Table 27) ในขณะท่ีพันธุ์ LK92-11 มีค่าความหวาน (CCS) เท่ากับ 15.77
แต่มีผลผลติ เพียง 8.99 ตนั ต่อไร่ จึงท้าให้มีผลผลิตน้าตาลต้่าท่ีสุดเท่ากับ 1.41 ตันซีซีเอสต่อไร่ เม่ือวิเคราะห์
ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การจัดการน้าในอ้อยตอ 2 โดยอาศัยน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยตามค่า
วิเคราะห์ดินโดยใส่ไนโตรเจนเพียง 1 เท่าของอัตราแนะน้า (27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) ในอ้อยโคลน
KK07-037 ให้รายไดส้ ุทธิหรือกา้ ไรมากทส่ี ุดเทา่ กับ 5,731 บาทตอ่ ไร่ มีอัตราสว่ นผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุน
(Benefit–Cost Ratio: BCR) เท่ากับ 1.06 (Table 28)

เม่ือพจิ ารณาผลตอบแทนด้านเศรษฐศาสตร์เฉล่ียทั้งในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า
การปลูกอ้อยพันธ์ุขอนแก่น 3 ในสภาพน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราไนโตรเจนเพียง 1 เท่าของอัตราแนะน้า
(21-6-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ในอ้อยปลูก และ 27-6-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ในอ้อยตอ)
เป็นกรรมวิธีที่ได้รับผลตอบแทนสูงที่สุด โดยมีรายได้สุทธิ 3 ปี รวม 24,453 บาทต่อไร่ มีอัตราส่วนผลตอบแทน
สุทธิต่อต้นทุน (Benefit–Cost Ratio: BCR) เท่ากับ 1.19 (Table 29) แต่ทั้งนี้ก่อนปลูกอ้อยต้องน้าข้อมูล
ปริมาณน้าฝน อุณหภูมิต่้าสุดและสูงสุดในพ้ืนท่ีมาวิเคราะห์ร่วมกับความต้องการน้าในแต่ละระยะการ
เจริญเติบโตเพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกและวันเก็บเก่ียวที่เหมาะสม เพ่ือลดความเส่ียงและผลกระทบต่อการ
ขาดน้าเนือ่ งจากฝนท้ิงชว่ ง หรือมีการใหน้ า้ เสริมนอ้ ยครง้ั ที่สดุ เพ่อื ลดตน้ ทุนการผลติ

9. สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
พันธุ์อ้อยที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตและเหมาะสมกับพ้ืนท่ีดินร่วน ในจังหวัดกาญจนบุรี คือ

พันธ์ุขอนแกน่ 3 โดยให้ผลผลติ สูงกว่าพนั ธุ์ LK92-11 ซ่ึงเป็นพันธ์ุที่เกษตรกรนิยมปลูกในพ้ืนท่ีถึง 27.73-36.82
เปอร์เซ็นต์ และการปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ในสภาพน้าฝนร่วมกับการใส่ปุ๋ยในอัตรา 21-6-18 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ (อตั ราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน) ในพ้ืนที่ดังกล่าว เป็นวิธีที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การ
ลงทุนโดยได้รับก้าไรรวมในอ้อยตอ 1 และตอ 2 รวมสูงสุดเท่ากับ 24,453 บาทต่อไร่ หรือก้าไรเฉลี่ยปีละ
8,151 บาทตอ่ ไร่ แต่ทั้งนก้ี อ่ นปลูกต้องมกี ารวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้าฝนในพ้ืนท่ีร่วมกับข้อมูลความต้องการน้า
ของอ้อยปลูกในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อพิจารณาช่วงวันปลูกท่ีเหมาะสม เป็นการลดความเส่ียงจากการ
ขาดนา้ เนอื่ งจากฝนทิ้งช่วงและมีการให้น้าเสริมน้อยคร้งั ท่ีสดุ ซงึ่ เปน็ การลดตน้ ทนุ การผลิตได้อีกด้วย

10. การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์
ได้ค้าแนะน้าการใช้พันธ์ุอ้อยท่ีมีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงในพื้นท่ีดินร่วน จังหวัดกาญจนบุรี

ตลอดจนการจัดการน้าและธาตุอาหารที่เหมาะสมคุ้มค่าแก่การลงทุน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถน้าไปขยายผล
ให้กับเกษตรกร และโรงงานน้าตาลในพื้นที่เพื่อเป็นแนวทางในการยกระดับผลผลิตอ้อยและเพิ่มความสามารถ
ในการไวต้ อของพ้นื ท่ีปลูกออ้ ยท่เี ปน็ ดินร่วนของจงั หวัดกาญจนบุรีต่อไป

57

11. คาขอบคณุ (ถา้ ม)ี
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณโรงงานน้าตาลนวิ กรุงไทย อ้าเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ท่ีเอ้ือเฟ้ือสถานที่

ในการจดั ประชุมช้แี จงโครงการและคดั เลือกพน้ื ที่ในการทดลอง และขอขอบคุณนายอิทธิพัทธ์ รัตนสุวรรณาชัย
ที่สนับสนุนพื้นที่ทดลอง ในต้าบลหลุมรัง อ้าเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ท้าให้งานวิจัยน้ีส้าเร็จลุล่วง
ไปดว้ ยดี

12. เอกสารอา้ งอิง
กรมชลประทาน. 2563. รายงานสรุปโครงการจัดท้าแผนพัฒนาการชลประทานระดับลุ่มน้าอย่างเป็นระบบ
(กรอบนา้ 60 ล้านไร)่ . 45 หนา้ .
กรมวิชาการเกษตร. 2540. คู่มอื การบนั ทกึ ขอ้ มลู พืชไร่. กรุงเทพฯ : ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
เกริก ปนั้ เหนง่ เพช็ ร วนิ ัย ศรวตั สมชาย บญุ ประดับ สกุ จิ รตั นศรีวงษ์ สหัสชัย คงทน สมปอง นิลพันธ์
ชิษณุชา บุดดาบุญ ก่ิงแก้ว คุณเขต อิสระ พุทธสิมมา ปรีชา กาเพ็ชร แคทลิยา เอกอุ่น และ
วิภารัตน์ ด้าริเข้มตระกูล. 2552. ผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อการผลิต ข้าว อ้อย มันส้าปะหลัง
และขา้ วโพดของประเทศไทย. รายงานวิจยั ฉบบั สมบรูณ์ สา้ นักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย.
กอบเกยี รติ ไพศาลเจริญ. 2556. การเพิ่มผลผลิตอ้อยโรงงานเชิงบูรณาการเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน. กรมวชิ าการเกษตร. 74 หนา้ .
ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและนา้ ตาล. 2560. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต 2562/63.
78 หน้า.
Koehler , G.G., P.H. Moore, C.A. Jones, A. Dela Cruz and A. Maretzki. 1982. Response of
drip-irrigation sugarcane to drought stress. Agron. J. 74 : 906-911.
Robison, F.E. 1963. Soil moisture tension sugarcane stalk elongation and irrigation interval
control.Agron. J. 55: 481-484.

13. ภาคผนวก

Table 1 Soil profile characteristics of Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi

District, Kanchanaburi Province.

Soil Depth Texture BD (1:5) Ksat AWC FC PWP
(cm) (g/cm3) (cm/h) (mm) (mm) (mm)

0-24 Sandy loam 1.35 51.65 16.42 25.83 9.42

24-46 Sandy loam 1.61 11.48 20.55 31.85 11.31

46-60 Sandy loam 1.57 15.76 21.73 31.03 9.30

BD = bulk density K-Sat = saturated soil hydraulic conductivity FC = field capacity PWP = permanent wilting point

58

Table 2 Chemical properties before planting of Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province.

Soil Depth pH EC (1:5) OM Avail. P Exch. K

(cm) (1:1) (ds/cm) (%) (mg/kg) (mg/kg)

0-24 4.5 0.23 0.62 36 67

24-46 4.1 0.24 0.54 13 52

46-60 4.0 0.22 0.12 4 50

Table 3 Millable cane yield of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 17.93 20.55 20.01 19.50 a

LK92-11 12.88 15.71 14.26 14.28 b

KK3 16.70 18.17 19.86 18.24 a

Average 15.84 18.14 18.04

CV (a) = 25.38% CV (b) = 9.92% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 4 Number of stalk per rai at harvest of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum

Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 14,088 14,626 14,198 14,304 a

LK92-11 12,022 12,363 12,275 12,220 b

KK3 13,055 12,220 13,242 12,839 b

Average 13,055 13,070 12,238

CV (a) = 16.28% CV (b) = 5.97% F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

59

Table 5 Stalk length at harvest of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 321 336 355 337 a

LK92-11 233 287 239 253 c

KK3 274 290 301 288 b

Average 276 304 298

CV (a) = 10.64% CV (b) = 12.89% F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 6 Number of stalk internode/stalk of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at

Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018

cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 28 32 31 30 a

LK92-11 26 27 26 26 b

KK3 28 33 33 31 a

Average 27 31 30

CV (a) = 8.97% CV (b) = 7.85% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 7 Stalk weight of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict, Bo

Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 1.62 1.77 1.82 1.74 a

LK92-11 1.33 1.62 1.45 1.57 b

KK3 1.69 1.89 1.87 1.81 a

Average 1.54 1.76 1.72

CV (a) =14.27%, CV (b) = 8.68%, F-test : A= ns, B = **, A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

60

Table 8 Sugar yield of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict, Bo

Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 2.24 2.69 2.21 2.38 b

LK92-11 1.87 2.48 2.18 2.18 b

KK3 2.57 3.03 3.22 2.94 a

Average 2.22 2.73 2.54

CV (a) = 27.83%, CV (b) = 17.80%, F-test : A = ns, B = **, A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 9 CCS of plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi

District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water and management Average

Cultivars/Clone 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 12.45 12.95 11.08 12.16 b

LK92-11 14.74 15.87 15.29 15.30 a

KK3 16.11 16.68 16.58 16.46 a

Average 14.18 15.17 14.32

CV (a) = 14.63% CV (b) = 11.76% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

61

Table 10 Economic return analysis for plant cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2017/2018 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Parameters 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)
KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

1. Gross cost 4,150 4,150 4,150 4,150 4,150 4,150 4,150 4,150 4,150

- Land preparation 700 700 700 700 700 700 700 700 700

- Planting 600 600 600 600 600 600 600 600 600

- Cane seed 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250

- Weeding 600 600 600 600 600 600 600 600 600

2. Cost of fertilization 1,604 1,604 1,604 1,604 1,604 1,604 1,946 1,946 1,946

- Fertilizer 1,404 1,404 1,404 1,404 1,404 1,404 1,746 1,746 1,746

- Labour 200 200 200 200 200 200 200 200 200

3. Cost of irrigation 65 65 65 1,556 1,556 1,556 1,556 1,556 1,556

- Water, labour 65 65 65 456 456 456 456 456 456

- Irrigation system 0 0 0 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100

4. cost of harvest 5,379 3,864 5,010 6,165 4,713 5,451 6,003 4,278 5,958

and transport

5. Total cost 11,198 9,683 10,829 13,475 12,023 12,761 13,655 11,930 13,610

(1+2+3+4)

(Baht/rai)

6. Yield (t/rai) 17.93 12.88 16.70 20.55 15.71 18.17 20.01 14.26 19.86

7. CCS 12.45 14.74 16.11 12.95 15.87 16.68 11.08 15.29 16.58

8. Income (Baht/rai) 18,098 14,558 20,084 21,285 18,694 22,398 18,750 16,532 24,377

9. Benefirt (Baht/rai) 6,900 4,875 9,255 7,810 6,671 9,637 5,095 4,602 10,767

10. BCR) 0.62 0.50 0.85 0.58 0.55 0.76 0.37 0.39 0.79

*** Sugarcane Price in 2017/2018 = 880 Baht/Ton

Table 11 Millable cane yield of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 12.40 18.22 16.33 15.65 a

LK92-11 8.38 13.03 9.93 10.45 c

KK3 10.28 14.93 15.03 13.41 b

Average 10.35 b 15.39 a 13.77 a

CV (a) = 23.77% CV (b) = 18.04% F-test : A = * B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

62

Table 12 Number of stalk per rai at harvest of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil

Series at Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during

2018/2019 cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar

management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 11,351 13,755 12,513 12,540 a

LK92-11 10,872 14,040 13,436 12,783 a

KK3 9,561 10,643 9,994 10,066 b

Average 10,595 b 12,813 b 11,981 ab

CV (a) = 12.13% CV (b) = 10.74% F-test : A = * B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 13 Stalk length at harvest of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum

Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 263 340 336 313 a

LK92-11 186 214 194 198 c

KK3 216 269 272 252 b

Average 222 b 274 a 267 a

CV (a) = 15.68% CV (b) = 10.66% F-test : A = * B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 14 Stalk diameter at harvest of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum

Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 2.28 2.44 2.29 2.34 b

LK92-11 2.39 2.36 2.38 2.38 b

KK3 2.66 2.69 2.62 2.66 a

Average 2.44 2.50 2.43

CV (a) = 6.31 CV(b) = 6.26 F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

63

Table 15 Number of stalk internode of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at

Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019

cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 28 32 31 30 a

LK92-11 26 27 26 26 b

KK3 28 33 33 31 a

Average 27 31 30

CV (a) = 8.97% CV (b) = 7.85% F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 16 Stalk weight of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management

(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 1.42 1.61 1.56 1.53 b

LK92-11 0.94 1.16 1.02 1.04 c

KK3 1.39 1.90 1.88 1.72 a

Average 1.25 1.56 1.48

CV (a) =18.78% CV (b) = 12.90% F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 17 Sugar yield of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 1.67 2.09 2.06 1.94

LK92-11 3.08 2.03 1.48 2.20

KK3 1.64 2.36 2.36 2.12

Average 2.13 2.16 1.97

CV (a) = 46.58% CV (b) = 57.96% F-test : A = ns B = ns A x B = ns

64

Table 18 CCS of the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict,

Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 13.56 11.60 12.62 12.60 b

LK92-11 15.60 15.52 15.01 15.38 a

KK3 16.21 15.82 15.70 15.91 a

Average 15.12 14.32 14.44

CV (a) = 7.31% CV (b) = 6.32% F-test : A = ns B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 19 Economic returns for the 1st ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2018/2019 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Parameters 21-6-18 (Rainfed) 21-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)
KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

1. Gross cost 5,626 4,420 4,990 8,862 7,305 7,875 8,732 6,812 8,342

(Baht/rai)

- Soil preparation - -- - -- - --

- Planting by - -- - -- - --

machine

- Cane seed - -- - -- - --

- Weeding 200 200 200 200 200 200 200 200 200

- Fertilizer and 1,706 1,706 1,706 1,706 1,706 1,706 2,143 2,143 2,143

labor

- Supplement 0 00 390 390 390 390 390 390

Water and labor

- Drip irrigation 0 0 0 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100

system

2. Harvest logistics 3,720 2,514 3,084 5,466 3,909 4,479 4,899 2,979 4,509

3. Cane yield (t/rai) 12.40 8.38 10.28 18.22 13.03 14.93 16.33 9.93 15.03

4. % CCS 13.56 15.60 16.21 11.60 15.52 15.82 12.62 15.01 15.70

5. Income (Baht/rai) 10,534 7,837 9,877 13,978 12,142 14,100 13,228 9,040 14,119

6. Net income 4,908 3,417 4,887 5,116 4,837 6,225 4,496 2,228 5,777

(Baht/rai)

7. BCR 0.87 0.77 0.98 0.58 0.66 0.79 0.51 0.33 0.69

*** Sugarcane Price in 2018/2019 = 700 Baht/Ton

65

Table 20 Millable cane yield of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: t/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average

Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 12.23 17.50 15.48 15.07 a

LK92-11 7.33 11.33 8.30 8.99 c

KK3 9.73 14.03 13.15 12.30 b

Average 9.76 b 14.29 a 12.31 ab

CV (a) = 23.78 % CV (b) = 18.49 % F-test : A = * B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 21 Number of stalk per rai at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series
at Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020
cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 16,494 a
KK07-037 15,478 a
LK92-11 14,552 17,511 17,419 13,460 b
KK3
13,680 17,967 14,786
Average
12,301 14,159 13,920

13,511 b 16,546 a 15,375 a

CV (a) = 12.60 % CV (b) = 11.13 % F-test : A = * B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 22 Stalk length at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum
Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 268 a
KK07-037 157 c
LK92-11 244 292 267 206 b
KK3
147 173 150
Average
175 245 218

189 b 237 a 212 ab

CV (a) = 13.76 % CV (b) = 9.60 % F-test : A = * B = ** A x B = ns

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

66

Table 23 Stalk diameter at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at
Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020
cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar management.
(unit: cm)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 2.40 b
KK07-037 2.51 b
LK92-11 2.47 2.41 2.32 2.67 a
KK3
2.53 2.55 2.44
Average
2.66 2.65 2.70

2.66 2.54 2.49

CV(a) = 3.07 % CV(b) = 5.85 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 24 Number of stalk internode of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at

Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020

cropping season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 24 a
KK07-037 21 b
LK92-11 23 b 25 a 25 a 24 a
KK3
20 c 23 b 21 bc
Average
21 c 25 a 26 a

21 b 24 a 24 a

CV (a) = 7.41 % CV (b) = 5.28 % F-test : A = ** B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 25 Stalk weight at harvest of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum
Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping
season under different means of fertilizer, water and cultivar management.
(unit: kg/stalk)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 1.13 b
KK07-037 0.79 c
LK92-11 1.07 1.23 1.08 1.25 a
KK3
0.71 0.87 0.80
Average
1.01 1.36 1.38

0.93 1.15 1.09

CV (a) = 21.39 % CV (b) = 13.41 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

67

Table 26 Sugar yield of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict,

Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping season under

different means of fertilizer, water and cultivar management.

(unit: tonCCS/rai)

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)

KK07-037 1.65 2.03 1.97 1.88 a
LK92-11
KK3 1.19 1.76 1.27 1.41 b

Average 1.60 2.25 2.14 1.99 a

1.48 b 2.01 a 1.79 ab

CV (a) =23.08 %, CV (b) = 20.64 % F-test : A = *, B = **, AxB= ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

Table 27 CCS of the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang Subdistrict,

Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping season under
different means of fertilizer, water and cultivar management.

Sugarcane Fertilizer and water management Average
Cultivars/Clone
27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation) 12.73 b
KK07-037 15.77 a
LK92-11 13.60 11.89 12.69 16.29 a
KK3
16.35 15.49 15.47
Average
16.46 16.04 16.38

15.47 14.47 14.85

CV (a) = 6.90 % CV (b) = 6.77 % F-test : A = ns B = ** A x B = ns
Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

68

Table 28 Economic returns for the 2nd ratoon cane grown on Lad Ya Soil Series at Lum Rang

Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during 2019/2020 cropping

season under different means of fertilizer, water and cultivar management.

Parameters 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 40.5-6-18 (Irrigation)
KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3

1. Gross cost 5,423 3,953 4,673 10,804 8,953 9,763 10,540 8,386 9,841

(Baht/rai)

- Soil preparation - -- - -- - --

- Planting by - -- - -- - --

machine

- Cane seed - -- - -- - --

- Weeding 150 150 150 200 200 200 200 200 200

- Fertilizer and 1,604 1,604 1,604 1,604 1,604 1,604 1,946 1,946 1,946

labor

- Supplement 0 0 0 2,650 2,650 2,650 2,650 2,650 2,650

Water and labor

- Drip irrigation 0 0 0 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100 1,100

system

2. Harvest logistics 3,669 2,199 2,919 5,250 3,399 4,209 4,644 2,490 3,945

3. Cane yield (t/rai) 12.23 7.33 9.73 17.5 11.33 14.03 15.48 8.3 13.15

4. % CCS 13.60 16.35 16.46 11.89 15.49 16.04 12.69 15.47 16.38

5. Income (Baht/rai) 11,154 7,592 10,126 14,613 11,297 14,336 13,484 8,268 13,638

6. Net income 5,731 3,639 5,453 3,809 2,344 4,573 2,944 -118 3,797

(Baht/rai)

7. BCR (Net return/ 1.06 0.92 1.17 0.35 0.26 0.47 0.28 -0.01 0.39

Gross cost)

*** Sugarcane Price in 2019/2020 = 750 Baht/Ton

69

Table 29 Economic return analysis for plant cane, the 1st and 2nd ratoon grown on Lad Ya Soil

Series at Lum Rang Subdistrict, Bo Phloi District, Kanchanaburi Province during

2017/2018-2019/2020 cropping season under different means of fertilizer, water

and cultivar managemen.

Parameters 27-6-18 (Rainfed) 27-6-18 (Irrigation) 31.5-6-18 (Irrigation)

1. Gross cost KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3 KK07-037 LK92-11 KK3
- Land preparation
- Planting 22,247 18,056 20,492 33,141 28,281 30,399 32,927 27,128 31,793
- Cane seed 700 700 700 700 700 700 700 700 700
- Weeding 600 600 600 600 600 600 600 600 600
- Fertilizer and
labor 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250
- Supplement 950 950 950 1000 1000 1000 1000 1000 1000
Water and labor 4,914 4,914 4,914 6,035 6,035 6,035
- Irrigation system 4,914 4,914 4,914

2. Harvest logistics 65 65 65 3,496 3,496 3,496 3,496 3,496 3,496
3. Yield (t/rai)
4. CCS 0 0 0 3,300 3,300 3,300 3,300 3,300 3,300
5. Income (Baht/rai) 12,768 8,577 11,013 16,881 12,021 14,139 15,546 9,747 14,412
6. Benefirt (Baht/rai) 38.24 37.67 42.05 42.05 42.72 46.53 39.18 38.6 45.43
7. BCR 13.20 15.56 16.26 12.15 15.63 16.18 12.13 15.26 16.22
35,423 39,040 44,945 36,881 44,400 49,560 34,333 39,452 48,473
13,176 20,984 24,453 3,740 16,119 19,161 1,406 12,324 16,680
1.16 0.45
0.59 1.19 0.11 0.57 0.63 0.04 0.52

70

รายงานผลงานเรอ่ื งเต็มการทดลองทสี่ ้ินสุด

-------------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วจิ ยั และพัฒนาการปรบั ปรุงพันธุอ์ ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้าตาล
2. โครงการวจิ ัย 2. วิจยั การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุอ้อยสา้ หรับเขตดินร่วน ร่วนเหนยี ว และดนิ เหนียว

สภาพน้าฝน

กจิ กรรม 1. การปรับปรงุ พันธุอ์ ้อยในดินรว่ น ร่วนเหนียว และดนิ เหนยี ว สภาพน้าฝน

กจิ กรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ชื่อการทดลอง (ภาษาไทย) 1.12 การเปรียบเทียบในไรเ่ กษตรกรเพอื่ เพิ่มคณุ ภาพและผลผลิตพันธุ์อ้อย

ชุดปี 2553 เขตน้าฝน : ออ้ ยปลกู ตอ 1 ตอ 2

ช่อื การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Farm Trial of Sugar Cane for Yield and Quality in Rainfed
Area Series 2010 : Plant Cane 1st Ratoon and 2nd Ratoon

4. คณะผูด้ าเนนิ งาน

หวั หน้าการทดลอง อัจฉราภรณ์ วงศ์สขุ ศรี ศนู ยว์ ิจัยพืชไร่สุพรรณบรุ ี

ผู้รว่ มงาน นฐั ภัทร์ ค้าหล้า ศนู ย์วิจยั พืชไร่นครสวรรค์

อุดมศักดิ์ ดวนมสี ุข ศูนย์วิจยั พชื ไร่สุพรรณบรุ ี

เสมอนาถ บวั แจม่ ศนู ยว์ ิจยั พืชไร่สพุ รรณบุรี

ณชิ นันท์ พิเชยี รสดใส ศูนยว์ ิจัยพชื ไร่สพุ รรณบุรี

5. บทคัดย่อ

การเปรียบเทยี บในไรเ่ กษตรกรเพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตพันธอุ์ ้อยชดุ ปี 2553 เขตน้าฝน : อ้อยปลูก

ตอ 1 ตอ 2 ด้าเนินการทดลองทแ่ี ปลงเกษตรกร จ้านวน 6 แปลง ได้แก่ อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

จ้านวน 2 แปลง อา้ เภอบา้ นไร่ จังหวัดอุทัยธานี จ้านวน 1 แปลง อ้าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี

จ้านวน 1 แปลง และอา้ เภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์ จ้านวน 2 แปลงระหว่างเดือนตุลาคม 2559–กันยายน 2563

โดยคัดเลือกพันธุ์อ้อยท่ีได้จากแปลงเปรียบเทียบมาตรฐานจ้านวน 4 โคลน ปลูกเปรียบเทียบกับพันธ์ุ

เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้า ผลการทดลอง พบว่า ผลผลิต

น้าหนักเฉลี่ยของท้ัง 6 สถานท่ี ในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัย

ส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-015R มีผลผลิตน้าหนักเฉลี่ยสูงที่สุด 11.57 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ โคลนอ้อย

UT10-009R ที่มีผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 10.54 ตันต่อไร่ ซ่ึงไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3

ที่ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ีย 10.10 ตันต่อไร่ ส้าหรับค่าซีซีเอสเฉลี่ย พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัย

ส้าคัญยิ่ง โดยพันธุ์เปรียบเทียบ ขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉล่ียสูงท่ีสุดคือ 13.73 และ 13.47

ตามลา้ ดับ รองลงมาคอื โคลนอ้อย UT10-009R มีค่าซีซีเอสเฉลี่ย 12.79 และผลผลิตน้าตาลเฉลี่ย พบว่า มีความ

แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีผลผลิตน้าตาลเฉลี่ย

สงู สดุ 1.39 และ 1.30 ตนั ซซี ีเอสต่อไร่ ตามลา้ ดับ ส่วนโคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-009R มีผลผลติ น้าตาล

เฉล่ยี ไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 คือ 1.27 และ 1.26 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ จึงคัดเลือก

71

โคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-009R เพอ่ื แนะน้าและเป็นทางเลือกส้าหรับเกษตรกรท่ีปลูกพันธุ์ LK92-11
ต่อไป

คาสาคัญ : อ้อย พนั ธ์ุ การเปรียบเทยี บในไร่เกษตรกร

ABSTRACT
Farm trial of sugar cane for yield and quality in rainfed area series 2010 : Plant cane,

1st ratoon and 2nd ratoon was conducted at 6 locations in Suphan Buri Province (2 fields:
Dan Chang District ), Uthai thani Province (1 field: Ban Rai District ), Kanchanaburi (1 field:
Dan Makham Tia District ) and Nakon Sawan (2 fields: Takhli District) during October 2016-
September 2020. There were 4 sugarcane clones selected from Standard Trial, LK92-11
and Khon Kaen 3 were used as check varieties. The experimental design was RCB for 4
replications. The result showed that the average cane yield at 6 locations (Plant cane, 1st
ratoon and 2nd ratoon) were significantly different. UT10-015R gave the highest cane yield
(11.57 tons/rai), followed by UT10-009R (10.54 tons/rai) but was not significantly different
with Khon Kaen3 (10.10 tons/rai). CCS were significantly different too. Khon Kaen3 gave the
highest CCS (13.73) followed by LK92-11(13.47) and UT10-009R (12.79) respectively. Future
more, average sugar yield were also significantly different. Khon Kaen3 gave the highest
sugar yield at 1.39 followed by LK92-11 (1.30 tons CCS/rai). However, sugar yield from
UT10-009R and UT10-015R were not significantly different with check variety (LK92-11)
which gave sugar yield at 1.26 and 1.27 tons CCS/rai respectively. Therefore, UT10-015R
and UT10-009R were selected to be recommend as alternative varieties for farmers who
grow LK92-11.

Key words : Sugarcane, Varieties, Farm Trial

6. คานา
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีส้าคัญของประเทศไทย ซ่ึงประเทศไทยผลิตอ้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก และ

เปน็ ผู้ส่งออกน้าตาลอันดับท่ี 2 ของโลกรองจากประเทศบราซลิ ทา้ รายได้เขา้ ประเทศปีละกว่า 100,000 ล้านบาท
ซ่ึงเป็นวัตถุดิบส้าหรับอุตสาหกรรมน้าตาลในการผลิตดน้าตาล ส้าหรับอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทราย
มบี ทบาทส้าคัญในการจา้ งงาน การกระจายรายได้ ในปจั จุบันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกน้าตาลเป็นอันดับต้นๆ
ของโลก และคิดเป็นมูลค่าหลายแสนล้านบาท เกษตรกรสามารถขายอ้อยมีรายได้ปีละกว่าแสนล้านบาท
และจากการท่อี อ้ ยเป็นพืชปลูกงา่ ย ท้ารายไดใ้ หเ้ กษตรกรสูง มีสมาคมชาวไร่อ้อยเป็นผู้ดูแลเกษตรกร และมี
โรงงานนา้ ตาลในประเทศไทย 57 โรงงาน จึงท้าให้เกษตรกรปลูกอ้อยกันอย่างกว้างขวาง ในปีการผลิต 2562/2563
ประเทศไทยมีพ้นื ท่เี พาะปลกู อ้อย 11.96 ล้านไร่ โดยมีพื้นที่ปลูกอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.23 ล้านไร่
ภาคกลาง 3.17 ล้านไร่ ภาคเหนือ 2.88 ล้านไร่ และภาคตะวันออกมี 6.78 แสนไร่ (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อย

72

และน้าตาลทราย, 2563) เกษตรกรสามารถผลติ ออ้ ยส่งโรงงานน้าตาลได้ 74.89 ล้านตัน มีความหวานเฉลี่ย
12.68 ซีซีเอส ประสิทธิภาพการผลิตน้าตาลเฉลี่ย 110.75 กิโลกรัมน้าตาลต่อตันอ้อย (ส้านักงานคณะกรรมการ
อ้อยและน้าตาลทราย, 2564) ท้าให้สภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศมีความแตกต่างกัน ส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อการผลิตภาคการเกษตรโดยสภาพแวดล้อมนี้เป็นตัวแปรส้าคัญที่ก้าหนดผลผลิตอ้อยแต่ละพื้นท่ี
พนั ธ์ุอ้อยแต่ละพนั ธ์ุมีการตอบสนองตอ่ สภาพแวดลอ้ มท่แี ตกตา่ งกนั จึงท้าให้ผลผลิตอ้อยแตกต่างกัน โดยพันธ์ุอ้อย
แต่ละพันธเุ์ กษตรกรจะสามารถใชป้ ลูกไดป้ ระมาณ 6-10 ปี เพราะจะมีการสะสมโรคและแมลงศัตรูอ้อยในพ้ืนที่
มมี ากขึ้น ประกอบกบั การแนะนา้ พนั ธอ์ุ ้อยสู่เกษตรกรมีน้อย การเพ่ิมผลผลิตของอ้อยสามารถท้าได้โดยการ
ปรับปรุงพันธุ์ให้ได้อ้อยท่ีมีผลผลิตสูงและคุณภาพความหวานสูงทดแทนอ้อยพันธ์ุเก่าที่เร่ิมเสื่อมลง การ
ยกระดบั ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพื่อเพิ่มรายได้ของเกษตรกรและลดต้นทุนการผลิต การผลิตพืชให้ได้ผลผลิตสูงและมี
คุณภาพที่ดีขึ้นอยู่กับปัจจัยการผลิตท่ีส้าคัญคือ พันธ์ุพืช สภาพแวดล้อม การเขตกรรม การดูแลรักษา และ
การบริหารจัดการ เป็นต้น โดยพันธ์ุพืชเป็นปัจจัยหลักที่เกี่ยวโยงโดยตรงต่อคุณภาพและปริมาณผลผลิต
โดยเฉพาะอย่างย่งิ พืน้ ท่ีปลกู ทีอ่ ยใู่ นเขตน้าฝนซึ่งมแี หล่งนา้ อย่อู ย่างจา้ กัด การใช้พันธุ์ท่ีถูกต้องและเหมาะสม
จึงมคี วามสา้ คัญ นอกจากนี้การใช้พันธุ์ซ้าๆ ในหลายพ้ืนที่อาจท้าให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง จึงจ้าเป็นต้องมี
การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุและคดั เลือกพนั ธุอ์ อ้ ยพนั ธ์ุตา่ งๆ ทส่ี ามารถเจรญิ เตบิ โตไดใ้ นแตล่ ะสภาพแวดล้อม งานวิจัย
และพัฒนาพันธ์ุอ้อยให้เหมาะสมในแต่ละสภาพพ้ืนที่ จึงมีความจ้าเป็นต้องท้าอย่างต่อเน่ือง ท้ังนี้เน่ืองจาก
ในแต่ละสภาพแวดล้อมต้องการพนั ธอุ์ ้อยท่มี ลี กั ษณะแตกต่างกัน ศนู ยว์ ิจยั พืชไร่สุพรรณบุรีเป็นหน่วยงานหน่ึง
ทไ่ี ดด้ า้ เนินงานโครงการปรบั ปรุงพันธุ์อ้อย จนได้สายพันธุ์ใหม่ๆ ซึ่งจ้าเป็นต้องมีการประเมินคุณค่าของพันธ์ุ
โดยใช้การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร เพื่อให้ทราบถึงคุณค่าของพันธุ์ต่างๆ ที่น้าไปปลูกในสภาพแวดล้อม
หลายแบบ โดยเฉพาะการปลูกอ้อยในเขตน้าฝน เพื่อน้าผลท่ีได้มาใช้ในการตัดสินใจในการคัดเลือกพันธุ์ท่ีดี
ตอ่ ไป

7. วิธดี าเนนิ การ
- อุปกรณ์
- โคลนออ้ ยชุดปี 2553 จา้ นวน 4 โคลน และพันธุเ์ ปรยี บเทียบขอนแก่น 3 และ LK92-11
- ปุ๋ยเคมเี กรด 15-15-15
- สารปอ้ งกันกา้ จดั วัชพชื อะทราซีน อามที รนิ
- หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิเคราะหค์ ่าซีซีเอส
- วธิ กี าร
ปี 2560 ท้าการปลูกอ้อย ขนาดแปลง 40 x 75 ตารางเมตร ขนาดแปลงทดลองยอ่ ย 9 x 8 ตารางเมตร
พนื้ ทเี่ กบ็ เกยี่ ว 6 x 8 ตารางเมตร ระยะระหวา่ งแถว 1.50 เมตร แถวยาว 8 เมตร พนั ธลุ์ ะ 6 แถว ปลูกแบบ
วางล้าคู่ ตัดลา้ ละ 3 ท่อน แลว้ กลบด้วยดินบางๆ ใสป่ ๋ยุ 2 ครง้ั ๆ ละ 50 กโิ ลกรัมต่อไร่ พรอ้ มปลูก และ
เมื่ออ้อยอายุ 2.5 เดอื น ใชส้ ารปอ้ งกันและก้าจัดศตั รูพืชตามคา้ แนะนา้ ของกรมวิชาการเกษตร
ในอ้อยตอ 1 และตอ 2 หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตให้น้าทันที เมื่ออ้อยอายุได้ 2.5 เดือน ใส่ปุ๋ยเคมี
เกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ท้าการก้าจัดวัชพืชเมื่ออ้อยงอกได้ประมาณ 2.5 เดือน พ่นสาร
ควบคมุ ก้าจัดวชั พืชตามค้าแนะน้าของกรมวิชาการเกษตร

73

- เวลาและสถานท่ี
ด้าเนินการทดลองระหว่างเดือน ตุลาคม 2559–กันยายน 2563 ณ แปลงเกษตรกร จ้านวน 6 แปลง

(อา้ เภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี จา้ นวน 2 แปลง อา้ เภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี จ้านวน 1 แปลง
อ้าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี จ้านวน 1 แปลง และอ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวน
2 แปลง)

8. ผลการทดลองและวิจารณ์
การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรเพื่อเพ่ิมคุณภาพและผลผลติ พันธุ์อ้อยชุดปี2553 เขตน้าฝน : อ้อยปลูก

ตอ 1 ตอ 2 ด้าเนินการทดลองระหวา่ งเดือนตุลาคม 2559–กนั ยายน 2563 โดยมโี คลนอ้อยชุดปี 2553 จ้านวน
4 โคลน ได้แก่ UT10-009R UT10-015R UT10-057R และ UT10-113R พันธเุ์ ปรียบเทียบได้แก่ LK92-11
และขอนแกน่ 3 ณ แปลงเกษตรกร จ้านวน 6 แปลง อ้าเภอดา่ นช้าง จังหวดั สุพรรณบรุ ี จา้ นวน 2 แปลง
อ้าเภอบา้ นไร่ จังหวดั อุทัยธานี จา้ นวน 1 แปลง อ้าเภอดา่ นมะขามเตี้ย จังหวดั กาญจนบุรี จา้ นวน 1 แปลง
และอา้ เภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์ จ้านวน 2 แปลง ผลการทดลอง พบว่า

ออ้ ยปลกู
แปลงไรเ่ กษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงที่ 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน

พบว่า ผลผลิตน้าหนักและผลผลติ น้าตาลไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถติ ิ โดยผลผลิตน้าหนกั มีค่าอย่รู ะหว่าง 7.80- 11.79
ตันต่อไร่ และพบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนักสูงที่สุด 12.48 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ
โคลนอ้อย UT10-113R และ UT10-015R ให้ผลผลิตน้าหนัก 11.79 และ 11.56 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส
พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุดคือ
18.54 รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-009R และ UT10-015R ให้ค่าซีซีเอส 17.37 และ 16.17 ตามล้าดับ
ผลผลิตน้าตาลมีค่าอยู่ระหว่าง 1.32-1.88 ตันซีซีเอสต่อไร่ โดยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิต
นา้ ตาลสูงสุดเช่นกันคือ 2.31 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-015R ให้ผลผลิตน้าตาล 1.88
ตันซีซีเอส ตอ่ ไร่ (Table 1)

ส้าหรบั ความยาวลา้ พบวา่ มีความแตกตา่ งทางสถติ อิ ยา่ งมนี ยั ส้าคญั โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้า
อยู่ระหว่าง 194-272 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าและเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด
272 เซนติเมตร และ 3.00 เซนติเมตร ตามลา้ ดับ ขณะท่ีพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3
มีความยาวล้า 213 และ 238 เซนติเมตร ตามล้าดับ และมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าเท่ากันคือ 3.00 เซนติเมตร
และไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบท้ัง 2 พันธ์ุส้าหรับจ้านวนล้าต่อไร่ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง
8,750-11,513 ล้าตอ่ ไร่ (Table 1)

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงที่ 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า มคี วามแตกตา่ งกนั ทางสถิติอยา่ งมนี ยั ส้าคญั ยิ่งท้งั ผลผลติ น้าหนกั ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้าตาล โดยผลผลิต
น้าหนัก พบว่า โคลนอ้อย UT10-009R และพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตผลิตน้าหนักสูงท่ีสุด
ไมแ่ ตกต่างกนั คือ 19.66 และ 19.19 ตนั ตอ่ ไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ค่า
ซซี เี อสสูงสุด 14.20 ซงึ ไม่แตกตา่ งกับพันธุเ์ ปรยี บเทียบ LK92-11 และโคลนอ้อย UT10-015R ที่ให้ค่าซีซีเอส

74

14.03 และ 13.00 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงสุด 2.73
ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-009R ให้ผลผลิตน้าตาล 2.20 และ 2.03
ตันซซี เี อสตอ่ ไร่ ตามล้าดบั (Table 2)

สา้ หรับความยาวลา้ และเส้นผ่านศนู ย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 307-348 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-113R มีความยาวล้าและ
เส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 334 เซนติเมตร และ 3.11 เซนติเมตร ตามล้าดับ ขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบ
LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 277 และ 341 เซนติเมตร ตามล้าดับ และมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า
2.62 และ 2.74 เซนติเมตร ตามลา้ ดบั จ้านวนล้าตอ่ ไร่ มคี วามแตกต่างกันทางสถติ ิอย่างมีนัยส้าคัญ มีค่าอยู่
ระหว่าง 8,134-13,351 ล้าต่อไร่ (Table 2)

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน พบว่า ผลผลิต
น้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสา้ คัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-057R ให้ผลผลิตน้าหนักสูงสุด
14.34 ตนั ตอ่ ไร่ รองลงมาคือ พนั ธ์เุ ปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ UT10-015R ให้ผลผลิตน้าหนัก 12.92 และ
11.45 ตนั ตอ่ ไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอสและผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง พบว่า
พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ค่าสูงสุด 16.41 และ 2.12 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ ส้าหรับค่าซีซีเอส
รองลงมาคอื พันธเุ์ ปรยี บเทียบ LK92-11 และโคลนอ้อย UT10-113R ให้ค่าซีซีเอส 15.56 และ 13.88 ตามล้าดับ
ผลผลติ นา้ ตาลรองลงมาคอื UT10-057R มีผลผลิตน้าตาล 1.64 ตนั ซซี เี อสตอ่ ไร่ (Table 3)

สา้ หรับความยาวล้าและเสน้ ผา่ นศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 195-308 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R และ UT10-113R
มคี วามยาวลา้ และเส้นผา่ นศูนย์กลางล้าสงู ทสี่ ุด 308 เซนติเมตร และ 3.01 เซนติเมตร ตามล้าดับ ส่วนพันธ์ุ
เปรียบเทยี บ LK92-11 และขอนแกน่ 3 มคี วามยาวลา้ 195 และ 248 เซนติเมตร ตามล้าดับ และมีเส้นผ่าน
ศูนยก์ ลางลา้ 2.50 และ 2.68 เซนตเิ มตร ตามลา้ ดบั จ้านวนล้าตอ่ ไร่ มคี วามแตกตา่ งกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ
มีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 7,783-11,150 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 3)

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเต้ีย จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบวา่ ผลผลติ น้าหนักไม่แตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าหนักอยู่ระหว่าง 15.36-19.04 ตันต่อไร่
พนั ธ์ุเปรยี บเทียบ LK92-11 และขอนแกน่ 3 ใหผ้ ลผลิตนา้ หนกั 14.10 และ 14.28 ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส
พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุด
14.85 รองลงมาคือ พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และโคลนอ้อย UT10-009R ให้ค่าซีซีเอส 14.81 และ 12.61
ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 1.79-2.06
ตันซีซีเอสต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล 2.09 และ 2.12 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามล้าดับ (Table 4)

75

สา้ หรับความยาวล้า พบว่า มีความแตกตา่ งทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้า
อยู่ระหว่าง 272-330 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-113R มีความยาวล้าและเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงท่ีสุด
330 เซนตเิ มตร และ 3.08 เซนตเิ มตร ตามลา้ ดับ ส่วนพนั ธเ์ุ ปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า
273 และ 304 เซนติเมตร ตามล้าดับ และมีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.89 และ 2.96 เซนติเมตร ตามล้าดับ
จา้ นวนลา้ ตอ่ ไร่ ไม่แตกต่างกนั ทางสถติ ิ อยรู่ ะหวา่ ง 8,517-12,383 ล้าต่อไร่ (Table 4)

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงที่ 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสา้ คัญ โดยโคลนอ้อย UT10-057R ให้ผลผลิต
น้าหนักสงู สดุ 16.12 ตนั ตอ่ ไร่ รองลงมาคือ UT10-015R และพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าหนัก
12.94 และ 12.68 ตันต่อไร่ ตามลา้ ดับ ค่าซีซีเอสและผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัย
ส้าคัญย่ิง พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ค่าสูงสุด 14.32 และ 1.79 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ
ส้าหรับค่าซีซีเอส รองลงมาคือ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และโคลนอ้อย UT10-009R ให้ค่าซีซีเอส 14.14
และ 13.26 ตามล้าดบั ผลผลิตน้าตาลรองลงมาคือ พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และ UT10-057R มีผลผลิต
น้าตาลเท่ากันคือ 1.64 ตันซซี เี อสตอ่ ไร่ (Table 5)

สา้ หรบั ความยาวลา้ และเสน้ ผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนออ้ ยมคี วามยาวล้าอยู่ระหว่าง 244-303 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าสูงที่สุด
303 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 237 และ 262 เซนติเมตร
ตามล้าดับ โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงท่ีสุด 2.85 เซนติเมตร พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11
และขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.60 และ 2.76 เซนติเมตร ตามล้าดับ จ้านวนล้าต่อไร่ มีความ
แตกต่างกันทางสถิตอิ ย่างมีนยั ส้าคญั ย่ิง มีค่าอยูร่ ะหวา่ ง 10,667-15,683 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 5)

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงท่ี 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนักและผลผลิตน้าตาลไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าหนักอยู่ระหว่าง
12.73-16.23 ตันต่อไร่ พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้าหนัก 15.44 และ 14.87
ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ส่วนผลผลิตน้าตาลโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 1.58-1.97 ตันซีซีเอสต่อไร่
พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้าตาล 2.89 และ 2.03 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ
ค่าซีซีเอสมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3
ให้ค่าสูงสุด 14.74 และ 13.70 ตามล้าดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-113R และ UT10-009R ให้ค่าซีซีเอส
12.53 และ 12.23 ตามล้าดับ (Table 6)

ส้าหรบั ความยาวล้าและเส้นผา่ นศนู ย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 265-327 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าสูงท่ีสุด
327 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 265 และ 286 เซนติเมตร
ตามล้าดับ โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 2.83 เซนติเมตร พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11
และขอนแก่น 3 มเี ส้นผา่ นศูนย์กลางล้า 2.52 และ 2.47 เซนติเมตร ตามล้าดับ จ้านวนล้าต่อไร่ มีความแตกต่างกัน
ทางสถติ อิ ย่างมีนัยส้าคญั ยิ่ง มีคา่ อยรู่ ะหว่าง 10,900-16,084 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 6)

76

อ้อยตอ 1
แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน

ผลผลิตน้าหนัก พบว่า ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าหนักอยู่ระหว่าง 6.45-7.86
ตันต่อไร่ พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก 7.21 และ 6.27
ตนั ตอ่ ไร่ ตามลา้ ดบั ค่าซซี ีเอส พบว่า มคี วามแตกตา่ งกนั ทางสถติ ิอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-009R
ใหค้ า่ ซซี เี อสสูงทีส่ ุด 14.92 ซงึ่ ไมแ่ ตกต่างกับพันธ์เุ ปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก
14.39 และ 15.15 ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า ไม่ความแตกตา่ งทางสถิติเช่นเดียวกับผลผลิต
นา้ หนัก โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 0.88-0.98 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ พันธุ์เปรียบเทียบ
LK92-11 และขอนแกน่ 3 ใหผ้ ลผลิตน้าตาล 1.04 และ 0.96 ตันซีซเี อสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดบั (Table 7)

สา้ หรับความยาวล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-015R
มีความยาวล้าสูงท่ีสุด 237 เซนติเมตร ขณะที่พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 170
และ 193 เซนติเมตร ตามล้าดับ และเส้นผ่านศูนย์กลางลา้ ไม่แตกต่างทางสถิติ โดยโคลนอ้อยมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 2.35-2.79 เซนติเมตร พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3
มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.62 และ 2.67 เซนติเมตร ตามล้าดับ จ้านวนล้าต่อไร่ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมี
จา้ นวนลา้ ตอ่ ไร่ อยู่ระหวา่ ง 7,949-11,577 ล้าต่อไร่ (Table 7)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเน่ืองจึงท้าให้อ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัด
สุพรรณบรุ ี (แปลงที่ 1) มีผลผลิตน้าหนกั และผลผลติ น้าตาลต้่า

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบวา่ ผลผลติ น้าหนกั ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยผลผลิต
น้าหนัก พบว่า โคลนออ้ ย UT10-015R UT10-009R และพนั ธเ์ุ ปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนักสูงที่สุด
ไม่แตกต่างกนั คือ 15.42 14.92 และ 13.20 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11
และขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุด 12.83 และ 12.09 ตามล้าดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-009R ให้ค่า
ซีซีเอส 11.09 ผลผลิตน้าตาล พบว่า โคลนอ้อย UT10-009R พันธุ์เปรียบเทียบ ขอนแก่น 3 LK92-11 และ
UT10-015R ให้ผลผลติ น้าตาลสูงสุดไม่แตกต่างกันคือ 1.65 1.60 1.54 และ 1.51 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ
(Table 8)

ส้าหรบั ความยาวลา้ และเสน้ ผ่านศนู ย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 257-302 เซนติเมตร พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3
มีความยาวลา้ 228 เซนติเมตร และ 284 เซนติเมตร ตามล้าดับ เส้นผ่านศูนย์กลางล้ามีค่าอยู่ระหว่าง 2.41-2.79
เซนติเมตร พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าเท่ากันคือ 2.68 เซนติเมตร
จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่ มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติอย่างมนี ัยสา้ คัญ มีค่าอยูร่ ะหวา่ ง 7,650-13,800 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 8)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนื่องจึงท้าให้อ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี (แปลงที่ 2) มผี ลผลิตนา้ หนกั และผลผลติ นา้ ตาลต่า้

77

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอบา้ นไร่ จังหวัดอุทยั ธานี ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน พบว่า ผลผลิต
น้าหนักไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าหนักอยู่ระหว่าง 3.27-4.62 ตันต่อไร่ พันธุ์
เปรียบเทียบ LK92-11 และพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก 3.74 และ 4.35 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ ค่าซีซีเอสมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ
LK92-11 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุด 15.46 และ 14.87 ตามลา้ ดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-113R และ
UT10-009R ให้ค่าซีซีเอส 15.11 และ 14.42 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 0.50-0.62 ตันซีซีเอสต่อไร่ พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และ
พนั ธุ์เปรียบเทยี บขอนแกน่ 3 ให้ผลผลิตนา้ ตาล 0.56 และ 0.67 ตนั ซซี เี อสตอ่ ไร่ ตามล้าดับ (Table 9)

สา้ หรบั ความยาวล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-015R
มีความยาวล้าสูงที่สุด 215 เซนติเมตร ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 119
และ 136 เซนติเมตร ตามล้าดับ เส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
โคลนออ้ ย UT10-113R มีเสน้ ผ่านศนู ย์กลางล้าสงู ที่สุด 2.79 เซนติเมตร ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธ์ุเปรียบเทียบ
ขอนแก่น 3 ท่ีมเี ส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.76 เซนติเมตร จ้านวนล้าต่อไร่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง
6,483-9,367 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 9)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนื่องจึงท้าให้อ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอบ้านไร่ จังหวัด
อุทยั ธานี มผี ลผลิตน้าหนักและผลผลติ น้าตาลต่้า

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-113R ให้ผลผลิต
นา้ หนักสูงสดุ 12.50 ตันตอ่ ไร่ ขณะที่พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก 8.55 และ
9.71 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย
UT10-009R และพนั ธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 มีค่าซีซีเอสสูงที่สุดและไม่แตกต่างกันทางสถิติคือ 13.64 และ
13.52 ตามล้าดับ รองลงมาคือ UT10-113R ท่ีมีค่าซีซีเอส 12.78 ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3
ท่ีมีค่าซีซีเอส 13.15 ผลผลิตน้าตาล พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย
UT10-113R ให้ผลผลิตสูงท่ีสุด 1.60 ตันซีซีเอสต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิต
นา้ ตาล 1.16 และ 1.28 ตนั ซซี ีเอสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดบั (Table 10)

ส้าหรบั ความยาวลา้ พบวา่ มคี วามแตกต่างทางสถติ ิอย่างมีนยั สา้ คัญยิ่ง โดยโคลนอ้อยมีความยาว
ล้าอยู่ระหว่าง 208-269 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-113R มีความยาวล้าสูงท่ีสุด 269 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์
เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวลา้ 175 และ 211 เซนติเมตร ตามล้าดับ เส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้าสูงท่ีสุด 2.89 เซนติเมตร จ้านวนล้าต่อไร่ มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง อยู่ระหว่าง
8,217-14,533 ล้าต่อไร่ (Table 10)

เนื่องจากเกิดสภาวะแล้งต่อเน่ืองจึงท้าให้อ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเต้ีย
จงั หวัดกาญจนบรุ ี มผี ลผลติ นา้ หนักและผลผลิตน้าตาลตา่้

78

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงที่ 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-015R ให้ผลผลิต
น้าหนักสูงสุด 11.18 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ UT10-009R ให้ผลผลิตน้าหนัก 10.40 ตันต่อไร่ ขณะท่ีพันธ์ุ
เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก 9.79 และ 8.08 ตันต่อไร่ ตามลา้ ดับ ค่าซีซีเอส
มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ค่าสูงสุด 11.98 รองลงมาคือ
โคลนอ้อย UT10-113R ให้ค่าซีซีเอส 10.03 ผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
พบวา่ พันธเ์ุ ปรียบเทียบ LK92-11 ให้ค่าสูงสุดท่ี 1.15 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-015R
ใหผ้ ลผลิตน้าตาล 1.05 ตนั ซซี ีเอสตอ่ ไร่ (Table 11)

ส้าหรับความยาวล้าและเส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
โดยโคลนออ้ ยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 182-242 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าสูงที่สุด
242 เซนตเิ มตร สว่ นพันธเุ์ ปรยี บเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้าเท่ากันคือ 182 เซนติเมตร
เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางล้า พบว่า โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 3.09 เซนติเมตร พันธุ์
เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.74 และ 2.96 เซนติเมตร ตามล้าดับ
จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง มีค่าอยรู่ ะหว่าง 9,000-14,017 ลา้ ต่อไร่ (Table 11)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนื่องจึงท้าให้อ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัด
นครสวรรค์ (แปลงท่ี 1) มผี ลผลติ นา้ หนกั และผลผลติ น้าตาลต่้า

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงที่ 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนกั และผลผลิตน้าตาลมคี วามแตกต่างทางสถติ ิอย่างมนี ัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-015R
ให้ผลผลิตน้าหนักสูงที่สุด 13.02 ตันต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้าหนัก
9.91 และ 11.53 ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดบั ค่าซีซีเอสมคี วามแตกต่างทางสถิติอยา่ งมีนัยส้าคัญยิ่ง พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบ
LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอสสูงที่สุด 12.52 และ 12.22 ตามล้าดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย
UT10-113R ให้ค่าซีซีเอส 10.71 ส่วนผลผลิตน้าตาล พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยพนั ธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ UT10-009R ให้ผลผลิตน้าตาลสูงที่สุด 1.41 และ 1.30 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามล้าดบั รองลงมาคอื พันธุ์เปรยี บเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาล 1.24 ตันซีซีเอสต่อไร่ และโคลนอ้อย
UT10-015R และ UT10-113R ใหผ้ ลผลติ น้าตาลเท่ากันคอื 1.18 ตนั ซซี ีเอสตอ่ ไร่ (Table 12)

ส้าหรับความยาวล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-057R
และ UT10-015R มคี วามยาวลา้ สงู ที่สดุ 275 และ 272 เซนติเมตร ตามล้าดับ ขณะท่ีพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11
และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 203 และ 229 เซนติเมตร ตามล้าดับ เส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความ
แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 3.00 เซนติเมตร
รองลงมาคือ พันธเุ์ ปรียบเทยี บขอนแก่น 3 และ UT10-057R ทม่ี เี ส้นผา่ นศนู ย์กลางล้าเท่ากันคือ 2.90 เซนติเมตร
จา้ นวนลา้ ตอ่ ไร่ มคี วามแตกตา่ งทางสถติ อิ ยา่ งมีนัยส้าคัญยิ่ง มีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 8,383-14,700 ล้าต่อไร่ (Table 12)

เนอ่ื งจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนอื่ งจึงท้าใหอ้ ้อยตอ 1 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
(แปลงท่ี 2) มผี ลผลติ น้าหนกั และผลผลิตน้าตาลต้่า

79

ออ้ ยตอ 2
แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน

ผลผลติ นา้ หนัก พบว่า มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยโคลนอ้อย UT10-009R ให้ผลผลิต
น้าหนกั สูงทส่ี ดุ 4.52 ตนั ต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ท่ีให้ผลผลิตน้าหนัก 4.33 ตัน
ต่อไร่ ค่าซีซีเอส พบว่า ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ค่าซีซีเอสอยู่ระหว่าง 9.07-13.85 พันธุ์
เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอส 10.28 และ 14.58 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า
ไม่มีความแตกต่างทางสถิติเช่นกัน โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าตาลอยู่ระหว่าง 0.33-0.60 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามลา้ ดับ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล 0.42 และ 0.65 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามล้าดับ (Table 13)

สา้ หรับความยาวลา้ พบวา่ มคี วามแตกตา่ งทางสถิติอยา่ งมนี ัยสา้ คัญ โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้า
อยูร่ ะหว่าง 126-173 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าสูงท่ีสุด 173 เซนติเมตร ขณะที่พันธ์ุ
เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 115 และ 148 เซนติเมตร ตามล้าดับ และเส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โคลนอ้อย UT10-057R ให้เส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูง
ทส่ี ุด 2.71 เซนตเิ มตร ไมแ่ ตกต่างกบั พนั ธเ์ุ ปรยี บเทียบขอนแกน่ 3 ทมี่ ีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.80 เซนติเมตร
ตามล้าดับ จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ มีค่าอยู่ระหว่าง 5,769-9,820 ล้าต่อไร่
(Table 13)

เนื่องจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนื่องจึงท้าให้อ้อยตอ 2 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี (แปลงท่ี 1) มผี ลผลิตน้าหนกั และผลผลิตน้าตาลตา้่

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบวา่ มคี วามแตกต่างกนั ทางสถติ ิอย่างมนี ัยสา้ คญั ยง่ิ ทง้ั ผลผลิตนา้ หนกั คา่ ซีซีเอสและผลผลิตน้าตาล โดยผลผลิต
น้าหนัก พบวา่ โคลนอ้อยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 UT10-015R และ UT10-009R ให้ผลผลิตน้าหนักสูง
ที่สุดไม่แตกต่างกันคือ 15.49 15.39 และ 14.83 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอส พบว่า พันธ์ุเปรียบเทียบ
ขอนแก่น 3 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุด 15.33 รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-009R ให้ค่าซีซีเอส 14.70 ผลผลิต
น้าตาล พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงสุด 2.37 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ
โคลนอ้อย UT10-009R และพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาล 2.11 และ 1.85 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามล้าดับ (Table 14)

สา้ หรับความยาวล้าและเสน้ ผา่ นศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 262-295 เซนติเมตร พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 มีความยาวล้า
และเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางล้าสูงทส่ี ุด 306 เซนติเมตร และ 2.98 เซนติเมตร ตามล้าดับ ความยาวล้า รองลงมา
คือ UT10-009R มีความยาวล้า 295 เซนติเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางล้า รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-113R
มเี สน้ ผา่ นศูนย์กลางลา้ 2.95 เซนตเิ มตร จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง มีค่า
อยรู่ ะหว่าง 8,584-15,033 ล้าตอ่ ไร่ (Table 14)

80

แปลงไรเ่ กษตรกร อา้ เภอบ้านไร่ จังหวดั อทุ ัยธานี ผลการวิเคราะหค์ วามแปรปรวน พบว่า ผลผลิต
น้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าหนักสูงสุด
2.31 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ UT10-009R และ UT10-015R ให้ผลผลิตน้าหนัก 2.18 และ 1.91 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ ค่าซีซีเอสมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ
LK92-11 ใหค้ ่าซีซีเอสสูงสุด 15.29 และ 14.86 ตามล้าดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-113R
ให้ค่าซีซีเอส 14.46 และ 13.13 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ พบว่า
พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 มีผลผลิตน้าตาลสูงที่สุด 0.34 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ โคลนอ้อย UT10-009R
และ UT10-015R มีผลผลติ น้าตาล 0.28 และ 0.27 ตันซซี เี อสตอ่ ไร่ (Table 15)

ส้าหรับความยาวล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-015R
มีความยาวล้าสูงท่ีสุด 166 เซนติเมตร ขณะท่ีพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 86
และ 92 เซนติเมตร ตามล้าดับ เส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 2.69 เซนติเมตร ซ่ึงไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ
ขอนแก่น 3 ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.55 เซนติเมตร จ้านวนล้าต่อไร่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัย
สา้ คัญ มคี า่ อยรู่ ะหว่าง 3,067-9,017 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 15)

เนื่องจากเกิดสภาวะแล้งต่อเน่ืองจึงท้าให้อ้อยตอ 2 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
มผี ลผลิตนา้ หนักและผลผลิตน้าตาลตา่้

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-009R ให้ผลผลิต
นา้ หนักสูงสุด 5.84 ตันต่อไร่ ขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนัก 2.82 และ
5.19 ตันตอ่ ไร่ ตามล้าดบั คา่ ซีซเี อส พบว่า มคี วามแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยโคลนอ้อย UT10-009R
และ UT10-015R มีค่าซีซีเอส 12.72 และ 12.23 ซ่ึงไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3
ท่ีให้ค่าซีซีเอส 12.02 และ 11.79 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาล พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมี
นัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-009R ให้ผลผลิตสูงท่ีสุด 0.77 ตันซีซีเอสต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11
และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล 0.35 และ 0.63 ตันซซี เี อสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดับ (Table 16)

ส้าหรับความยาวล้า พบว่า มคี วามแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อยมีความยาวล้า
อยู่ระหว่าง 140-207 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-057R มีความยาวล้าสูงที่สุด 207 เซนติเมตร ส่วนพันธ์ุ
เปรยี บเทยี บ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 116 และ 157 เซนติเมตร ตามลา้ ดบั เส้นผ่านศูนย์กลางล้า
พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงท่ีสุด
2.91 เซนตเิ มตร จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่ ไมแ่ ตกตา่ งกันทางสถิติ อยรู่ ะหวา่ ง 5,750-8,633 ลา้ ตอ่ ไร่ (Table 16)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเน่ืองจึงท้าให้อ้อยตอ 2 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเต้ีย
จังหวัด จดั กาญจนบรุ ี มผี ลผลติ น้าหนกั และผลผลิตน้าตาลต้า่

81

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงท่ี 1) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตนา้ หนักมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสา้ คัญ โดยโคลนอ้อย UT10-015R ให้ผลผลิต
น้าหนักสงู สดุ 10.67 ตนั ตอ่ ไร่ รองลงมาคือ UT10-009R และพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าหนัก
9.10 และ 8.88 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ค่าซีซีเอสมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง พบว่า โคลนอ้อย
UT10-009R ให้ค่าสูงสุด 12.59 รองลงมาคือ พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 และโคลนอ้อย UT10-015R ให้ค่า
ซีซีเอส 12.37 และ 12.35 ตามล้าดับ ผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยโคลนอ้อย
UT10-015R ใหผ้ ลผลิตนา้ ตาลสงู ท่ีสดุ 1.31 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ UT10-009R และพันธ์ุเปรียบเทียบ
LK92-11 มผี ลผลิตนา้ ตาล 1.15 และ 1.01 ตันซซี เี อสตอ่ ไร่ (Table 17)

ส้าหรับความยาวล้าและเส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
โดยโคลนอ้อยมคี วามยาวล้าอยู่ระหว่าง 174-230 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-015R มีความยาวล้าสูงที่สุด
230 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 155 และ 206 เซนติเมตร
ตามลา้ ดับ เส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงที่สุด 3.56 เซนติเมตร
พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.79 และ 3.10 เซนติเมตร ตามล้าดับ
จ้านวนล้าต่อไร่ มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง มีค่าอยู่ระหว่าง 4,109-10,600 ล้าต่อไร่
(Table 17)

เนื่องจากเกิดสภาวะแล้งต่อเน่ืองจึงท้าให้อ้อยตอ 2 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัด
นครสวรรค์ (แปลงที่ 1) มีผลผลติ นา้ หนกั และผลผลิตนา้ ตาลตา้่

แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงที่ 2) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
พบว่า ผลผลิตน้าหนัก ค่าซีซีเอสและผลผลิตน้าตาลมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย
UT10-015R ให้ผลผลติ น้าหนักสูงที่สุด 13.86 ตันต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีผลผลิต
น้าหนกั 10.08 และ 6.58 ตนั ตอ่ ไร่ ตามล้าดบั คา่ ซีซีเอสมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง พบว่า
โคลนอ้อย UT10-113R ให้ค่าซีซีเอสสูงท่ีสุด 11.52 ขณะท่ีพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ค่า
ซซี ีเอส 10.46 และ 8.44 ตามลา้ ดับ สว่ นผลผลติ น้าตาล พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โคลนอ้อย UT10-113R และ UT10-015R ให้ผลผลิตนา้ ตาลสูงท่ีสุด 1.43 และ 1.42 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามลา้ ดับ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตนา้ ตาล 1.06 และ 0.57 ตันซีซีเอสต่อไร่
ตามล้าดับ (Table 18)

สา้ หรับความยาวล้าและเส้นผ่านศูนย์กลางล้า พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยโคลนออ้ ยมีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 196-229 เซนติเมตร โคลนอ้อย UT10-015R มีความยาวล้าสูงที่สุด
229 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีความยาวล้า 175 และ 199 เซนติเมตร
ตามล้าดับ พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงท่ีสุด 3.33 เซนติเมตร รองลงมาคือ
โคลนอ้อย UT10-113R มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 3.20 เซนติเมตร จ้านวนล้าต่อไร่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
อยา่ งมีนัยส้าคัญยิ่ง มคี า่ อย่รู ะหว่าง 5,383-11,650 ล้าตอ่ ไร่ (Table 18)

เน่ืองจากเกิดสภาวะแล้งต่อเนื่องจึงท้าให้อ้อยตอ 2 แปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัด
นครสวรรค์ (แปลงท่ี 2) มีผลผลิตนา้ หนกั และผลผลติ นา้ ตาลต่้า

82

การวเิ คราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าหนักกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1
และอ้อยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 1) พบว่า ไม่มีความ
แตกต่างทางสถิติ โดยโคลนอ้อยให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 6.26-7.78 ตันต่อไร่ พันธุ์เปรียบเทียบ
LK92-11 และขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 6.79 และ 7.69 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ จากการวิเคราะห์
ความแปรปรวนรวมระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความ
แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ยสูงสุด 16.09
รองลงมาคือ UT10-009R และUT10-015R มคี ่าซีซเี อสเท่ากับ 15.21 และ 14.35 ตามล้าดับ และจากการ
วิเคราะหค์ วามแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าตาลกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2
พบวา่ มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล
เฉลี่ยสูงสุด 1.31 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ UT10-015R และ LK92-11 มีค่าซีซีเอส 1.14 และ 1.02
ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดบั (Table 19)

การวเิ คราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าหนักกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1
และอ้อยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอดา่ นชา้ ง จังหวัดสุพรรณบุรี (แปลงท่ี 2) พบว่า มีความแตกต่าง
ทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-009R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ียสูงท่ีสุด 16.47 ตันต่อไร่
รองลงมาคือ พนั ธุ์เปรยี บเทียบขอนแก่น 3 และ UT10-015R มีผลผลิตน้าหนักเฉล่ีย 15.96 และ 15.92 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1
และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3
และ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉล่ียสูงสุด 13.87 และ13.63 ตามล้าดับ รองลงมาคือ UT10-009R และ UT10-015R
มีค่าซซี เี อสเท่ากบั 12.76 และ 11.46 ตามลา้ ดับ และจากการวเิ คราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิต
น้าตาลกบั ฤดูกาลปลกู ของอ้อยปลกู ออ้ ยตอ 1 และออ้ ยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตนา้ ตาลเฉล่ียสูงสุด 2.23 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ
UT10-009R UT10-015R และ LK92-11 มีค่าซีซีเอส 1.93 1.83 และ 1.80 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ
(Table 20)

การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าหนักกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1
และออ้ ยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัย
ส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-057R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ียสูงท่ีสุด 6.67 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ พันธ์ุ
เปรียบเทียบขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 6.20 ตันต่อไร่ จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม
ระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติ
อย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยอ้อยพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ยสูงสุด 15.72 และ
15.10 ตามล้าดับ รองลงมาคือ UT10-113R มีค่าซีซีเอสเท่ากับ 14.04 และจากการวิเคราะห์ความแปรปรวน
รวมระหว่างผลผลิตน้าตาลกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่าง
ทางสถติ ิอยา่ งมีนยั สา้ คญั ย่ิง โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาลเฉล่ียสูงสุด 1.00 ตันซีซีเอส
ต่อไร่ รองลงมาคอื UT10-057R และ LK92-11 มีคา่ ซซี เี อสเทา่ กันคือ 0.80 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ (Table 21)

83

การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าหนักกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1
และออ้ ยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี พบว่า มีความแตกต่างทาง
สถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-113R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ยสูงที่สุด 11.42 ตันต่อไร่
รองลงมาคือ UT10-057R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 10.96 ตันต่อไร่ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3
และ LK92-11 มีผลผลิตนา้ หนกั เฉล่ยี 8.49 และ 9.73 ตนั ต่อไร่ ตามล้าดับ จากการวิเคราะห์ความแปรปรวน
รวมระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติ
อยา่ งมีนัยส้าคัญย่ิง โดยออ้ ยพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉล่ียสูงสุด 13.45 และ
13.26 ตามลา้ ดับ รองลงมาคือ UT10-009R และ UT10-015R มีค่าซีซีเอสเท่ากับ 12.99 และ 12.06
ตามล้าดับ และจากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าตาลกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก
อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-113R
ให้ผลผลติ น้าตาลเฉลยี่ สูงสดุ 1.38 ตันซซี ีเอส ต่อไร่ รองลงมาคือ พันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ UT10-009R
ใหผ้ ลผลิตนา้ ตาลเฉล่ยี 1.34 และ 1.30 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดบั (Table 22)

การวเิ คราะห์ความแปรปรวนระหวา่ งผลผลติ นา้ หนักกบั ฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และ
อ้อยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงที่ 1) พบว่า มีความแตกต่างทาง
สถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยโคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-009R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ียสูงท่ีสุด 11.60
และ 10.68 ตันต่อไร่ ซง่ึ ไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 ที่ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 10.45 ตันต่อไร่
จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2
พบวา่ มีความแตกต่างทางสถิตอิ ย่างมนี ยั ส้าคญั ยง่ิ โดยออ้ ยพนั ธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และขอนแก่น 3 มีค่า
ซีซีเอสเฉล่ียสูงสุด 12.50 และ 12.00 ตามล้าดับ รองลงมาคือ UT10-009R และ UT10-015R มีค่าซีซีเอส
เท่ากับ 11.32 และ 11.23 ตามล้าดับ และจากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าตาลกับ
ฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง
โดยโคลนอ้อย UT10-009R UT10-015R และพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาลเฉลี่ยสูงสุด
ไม่แตกต่างกนั คอื 1.27 1.26 และ 1.27 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ รองลงมาคือ พันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3
ให้ผลผลติ น้าตาลเฉลยี่ 1.16 ตนั ซซี เี อส ต่อไร่ ตามลา้ ดับ (Table 23)

การวิเคราะห์ความแปรปรวนระหวา่ งผลผลิตน้าหนกั กับฤดกู าลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และ
อ้อยตอ 2 จากแปลงไร่เกษตรกร อ้าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (แปลงท่ี 2) พบว่า มีความแตกต่างทาง
สถิติอยา่ งมนี ยั สา้ คัญย่งิ โดยโคลนอ้อย UT10-015R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ียสูงที่สุด 14.11 ตันต่อไร่ รองลงมา
คือ โคลนอ้อย UT10-009R ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 12.97 ตันต่อไร่ ขณะที่พันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 และ
ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าหนักเฉล่ีย 11.81 และ 10.99 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ จากการวิเคราะห์ความแปรปรวน
รวมระหว่างค่าซีซีเอสกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทาง
สถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยอ้อยพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ยสูงสุด 12.57 รองลงมาคือ
โคลนอ้อย UT10-113R และพันธุ์เปรียบเทียบขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ย 11.59 และ 11.45 ตามล้าดับ
และจากการวเิ คราะห์ความแปรปรวนรวมระหว่างผลผลิตน้าตาลกับฤดูกาลปลูกของอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และ

84

อ้อยตอ 2 พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสา้ คัญยิ่ง โดยพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ให้ผลผลิต
น้าตาลเฉลี่ยสูงสุด 1.73 ตันซีซีเอสต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างกับโคลนอ้อย UT10-015R และ UT10-009R ที่
ให้ผลผลิตน้าตาลเฉลย่ี 1.48 และ 1.46 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ ตามล้าดับ (Table 24)

จากการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนรวมของทั้ง 6 สถานท่ี การวิเคราะหค์ วามแปรปรวนรวมผลผลิต
น้าหนักเฉลยี่ สถานท่ปี ลูกและฤดูกาลปลูก (ออ้ ยปลกู ออ้ ยตอ 1 และอ้อยตอ 2) พบว่า มีความแตกต่างทาง
สถติ ิอยา่ งมีนยั ส้าคัญย่ิง โดยโคลนอ้อย UT10-015R มีผลผลิตน้าหนักเฉลี่ยสูงที่สุด 11.57 ตันต่อไร่ รองลงมา
คือ โคลนอ้อย UT10-009R ที่มีผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 10.54 ตันต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธุ์
เปรียบเทียบขอนแกน่ 3 ท่ีใหผ้ ลผลิตน้าหนักเฉล่ยี 10.10 ตนั ตอ่ ไร่ (Table 25)

จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมค่าซีซีเอสเฉล่ีย สถานที่ปลูกและฤดูกาลปลูก (อ้อยปลูก
อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2 ) พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง โดยพันธุ์เปรียบเทียบ
ขอนแก่น 3 และ LK92-11 มีค่าซีซีเอสเฉล่ียสูงท่ีสุดคือ 13.73 และ 13.47 ตามล้าดับ รองลงมาคือ โคลนอ้อย
UT10-009R มคี า่ ซซี เี อสเฉล่ีย 12.79 (Table 25)

จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมผลผลิตน้าตาลเฉลี่ย สถานที่ปลูกและฤดูกาลปลูก (อ้อยปลูก
อ้อยตอ 1 และอ้อยตอ 2) พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง โดยพันธ์ุเปรียบเทียบ
ขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้าตาลเฉลี่ยสูงสุด 1.39 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือ พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11
UT10-015R และ UT10-009R มีผลผลิตน้าตาลเฉลี่ย 1.30 1.27 และ 1.26 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามล้าดับ
(Table 25)

85

Table 1 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Dan Chang, Suphan Buri (1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
17.37 ab
1 UT10-009R 194 c (cm.) (/rai) 7.80 16.17 b 1.32
2 UT10-015R 263 ab 2.25 b 10,949 11.56 13.51 c 1.88
3 UT10-057R 272 a 10.60 13.87 c 1.42
4 UT10-113R 250 ab 2.75 a 11,513 11.79 16.00 b 1.66
5 LK92-11 213 bc 9.69 18.54 a 1.59
6 KK3 238 abc 3.00 a 8,795 12.48 2.31

3.00 a 8,750

3.00 a 10,257

3.00 a 10,180

F-test * ** ns ns ** ns

CV (%) 17.76 9.84 17.76 35.52 7.89 36.87

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5% probability

by DMRT.

Table 2 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Dan Chang, Suphan Buri (2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
10.25 b
1 UT10-009R 348 a (cm.) (/rai) 19.66 a 13.00 a 2.03 b
2 UT10-015R 307 b 2.32 d 12,449 ab 16.94 b 11.34 b 2.20 b
3 UT10-057R 347 a 12.80 d 11.09 b 1.46 c
4 UT10-113R 334 a 2.13 e 13,351 a 16.46 bc 14.03 a 1.83 bc
5 LK92-11 277 c 14.33 cd 14.20 a 2.02 b
6 KK3 341 a 2.66 bc 8,134 c 19.19 a 2.73 a

3.11 a 8,883 bc

2.62 c 11,034 bc

2.74 b 11,717 abc

F-test ** ** * ** ** **

CV (%) 3.87 2.91 21.79 9.02 6.23 12.72

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5% probability

by DMRT.

86

Table 3 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Banrai, Uthaithani.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter (ton/rai) 12.71 bc (tonCCS/rai)
number
1 UT10-009R 195 d (cm.) (/rai) 7.29 c 0.96 c

2.47 c 9,200 abc

2 UT10-015R 277 b 2.61 bc 7,783 c 11.45 ab 12.48 bc 1.42 b

3 UT10-057R 308 a 2.66 bc 8,616 bc 14.34 a 11.40 c 1.64 b

4 UT10-113R 243 c 3.01 a 8,833 bc 10.92 b 13.88 b 1.51 b

5 LK92-11 195 d 2.50 bc 11,150 a 10.31 b 15.56 a 1.50 b

6 KK3 248 c 2.68 b 10,633 ab 12.92 ab 16.41 a 2.12 a

F-test ** ** * ** ** **

CV (%) 5.79 4.40 13.36 16.68 7.55 17.74

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 4 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Dan Ma Kham Tia, Kanchanaburi.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
12.61 b
1 UT10-009R 272 d (cm.) (/rai) 14.44 11.98 b 1.81
2 UT10-015R 291cd 2.56 d 12,383 15.36 9.40 c 1.84
3 UT10-057R 324 ab 19.04 11.83 b 1.79
4 UT10-113R 330 a 2.64 cd 10,683 17.39 14.81 a 2.06
5 LK92-11 273 d 14.10 14.85 a 2.09
6 KK3 304 bc 2.77 bc 10,284 14.28 2.12

3.08 a 10,200

2.89 ab 10,283

2.96 ab 8,517

F-test ** * ns ns ** ns

CV (%) 4.41 4.46 14.10 16.94 6.21 15.80

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

87

Table 5 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Takhli, Nakhon Sawan(1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-009R 269 b (cm.) (/rai) 12.53 b 13.26 b 1.58 ab
2 UT10-015R 259 bc 2.25 c 15,550 a 12.94 b 11.93 c 1.42 b
3 UT10-057R 303 a 16.12 a 10.66 d 1.64 ab
4 UT10-113R 244 cd 1.89 d 13,167 bc 10.28 b 12.58 bc 1.42 c
5 LK92-11 237 d 12.68 b 14.14 a 1.64 ab
6 KK3 262 bc 2.38 bc 15,683 a 12.22 b 14.32 a 1.79 a

2.85 a 11,500 cd

2.60 ab 14,233 ab

2.76 a 10,667 d

F-test ** ** ** * ** **

CV (%) 5.15 7.11 10.88 16.44 4.01 10.63

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 6 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: Plant cane
at Takhli, Nakhon Sawan(2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-009R 313 ab (cm.) (/rai) 16.23 12.23 bc 1.97
2.30 b 16,084 a 15.44 11.25 cd 1.82
2 UT10-015R 304 abc 15.80 11.01 d 1.73
1.96 c 14,634 ab 12.73 12.53 b 1.58
3 UT10-057R 327 a 15.44 14.74 a 2.89
2.44 b 15,267 ab 14.87 13.70 a 2.03
4 UT10-113R 276 cd
2.83 a 11,000 c
5 LK92-11 265 d
2.52 b 13,183 bc
6 KK3 286 bcd
2.47 b 10,900 c

F-test ** ** ** ns ** ns

CV (%) 7.71 7.13 12.27 15.54 5.91 17.18

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

88

Table 7 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 1st ratoon
at Dan Chang, Suphan Buri (1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
14.92 a
1 UT10-009R 195 c (cm.) (/rai) 6.45 13.03 b 0.96
2 UT10-015R 237 a 2.36 9,744 7.69 11.25 c 0.97
3 UT10-057R 233 ab 7.86 12.75 b 0.88
4 UT10-113R 211 bc 2.35 9,539 7.61 14.39 a 0.98
5 LK92-11 170 d 7.21 15.15 a 1.04
6 KK3 193 cd 2.53 7,949 6.27 0.96

2.79 9,128

2.62 11,577

2.67 9,180

F-test ** ns ns ns ** ns

CV (%) 7.84 8.33 18.42 25.77 5.37 25.85

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability

by DMRT.

Table 8 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010 : 1st ratoon
at Dan Chang, Suphan Buri (2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-009R 273 bc (cm.) (/rai) 14.92 a 11.09 bc 1.65 a
2 UT10-015R 302 a 2.45 c 13,800 a 15.42 a 9.80 c 1.51 ab
3 UT10-057R 294 ab 9.67 c 7.60 d 0.72 c
4 UT10-113R 257 c 2.41 c 13,367 abc 12.30 b 10.25 c 1.25 b
5 LK92-11 228 d 11.96 bc 12.83 a 1.54 a
6 KK3 284 ab 2.66 b 7,650 c 13.20 ab 12.09 ab 1.60 a

2.79 a 9,734 bc

2.68 b 12,784 ab

2.68 b 10,367 abc

F-test ** ** * ** ** **

CV (%) 5.56 2.69 23.07 11.92 8.31 12.76

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability

by DMRT.

89

Table 9 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 1st ratoon
at Banrai, Uthaithani.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

(cm.) (/rai)

1 UT10-009R 167 b 2.44 b 8,084 4.27 14.42 ab 0.62

2 UT10-015R 215 a 2.58 b 6,483 4.34 14.04 b 0.61

3 UT10-057R 176 b 2.48 b 7,400 4.62 12.71 c 0.59

4 UT10-113R 129 c 2.79 a 9,367 3.27 15.11 ab 0.50

5 LK92-11 119 c 2.27 c 8,350 3.74 14.87 ab 0.56

6 KK3 136 c 2.76 a 8,017 4.35 15.46 a 0.67

F-test ** ** ns ns ** ns

CV (%) 9.86 4.10 34.34 23.56 5.36 25.95

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 10 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 1st ratoon
at Dan Ma Kham Tia, Kanchanaburi.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

(cm.) (/rai)

1 UT10-009R 208 b 2.28 c 14,533 a 9.73 b 13.64 a 1.33 b

2 UT10-015R 259 a 2.61 b 9,317 b 7.97 b 11.97 bc 0.95 c

3 UT10-057R 261 a 2.65 b 8,217 b 8.61 b 11.07 c 0.95 c

4 UT10-113R 269 a 2.89 a 10,450 b 12.50 a 12.78 ab 1.60 a

5 LK92-11 175 c 2.66 b 10,417 b 8.55 b 13.52 a 1.16 bc

6 KK3 211 b 2.84 a 9,483 b 9.71 b 13.15 ab 1.28 b

F-test ** ** ** ** ** **

CV (%) 4.99 3.58 15.21 13.04 6.59 14.00

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

90

Table 11 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 1st ratoon
at Takhli, Nakhon Sawan(1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm.) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
8.12 cd
1 UT10-009R 204 bc (cm.) (/rai) 10.40 a 9.41 bc 0.84 bc
2 UT10-015R 241 a 2.54 c 14,017 a 11.18 a 7.23 d 1.05 ab
3 UT10-057R 242 a 8.66 bc 10.03 b 0.63 c
4 UT10-113R 206 b 2.54 c 11,683 b 7.87 c 11.98 a 0.79 c
5 LK92-11 182c 9.79 ab 9.31 bc 1.15 a
6 KK3 182 c 2.69 bc 9,000 c 8.08 c 0.75 c

3.09 a 9,033 c

2.74 b 13,400 a

2.96 a 10,617 b

F-test ** ** ** ** ** **
CV (%) 7.05 4.38 8.85 11.95 10.10 17.24

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 12 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 1st ratoon
at Takhli, Nakhon Sawan(2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
11.45 b
1 UT10-009R 225 bc (cm) (/rai) 11.28 b 9.09 bc 1.30 ab
2 UT10-015R 272 a 2.6 c 14,700 a 13.02 a 8.06 c 1.18 bc
3 UT10-057R 275 a 10.03 c 10.71 ab 0.80 d
4 UT10-113R 235 b 2.6 bc 11,967 b 11.03 b 12.52 a 1.18 bc
5 LK92-11 203 c 9.91 c 12.22 a 1.24 ab
6 KK3 229 bc 2.9 ab 8,383 c 11.53 b 1.41 a

3.0 a 10,983 b

2.6 bc 11,833 b

2.9 ab 8,983 c

F-test ** * ** ** ** **
10.74 9.05 11.80 12.43
CV (%) 8.41 7.24

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability

by DMRT.

91

Table 13 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Dan Chang, Suphan Buri (1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

(cm) (/rai)

1 UT10-009R 154 ab 2.39 c 9,820 a 4.52 a 13.34 0.60

2 UT10-015R 160 ab 2.44 bc 8,821 ab 4.09 ab 13.85 0.58

3 UT10-057R 173 a 2.71 a 5,769 c 4.09 ab 9.07 0.45

4 UT10-113R 126 bc 2.66 ab 6,641 bc 2.58 b 12.58 0.33

5 LK92-11 115 c 2.49 bc 6,925 abc 3.48 ab 10.28 0.42

6 KK3 148 abc 2.80 a 8,846 ab 4.33 a 14.58 0.65

F-test * ** * * ns ns
CV (%) 16.50 5.40 19.80 28.60 27.40 39.30

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 14 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Dan Chang, Suphan Buri (2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
14.70 ab
1 UT10-009R 295 ab (cm) (/rai) 14.83 a 11.59 d 2.11 b
2.65 cd 14,117 ab 15.39 a 9.30 e 1.78 c
2 UT10-015R 271 abc 10.88 c 12.87 c 1.09 e
2.51 d 15,033 a 11.71 bc 14.03 b 1.51 d
3 UT10-057R 281 ab 13.03 b 15.33 a 1.85 c
2.77 bc 8,584 d 15.49 a 2.37 a
4 UT10-113R 262 bc
2.95 ab 10,350 c
5 LK92-11 234 c
2.72 c 14,113 ab
6 KK3 306 a
2.98 a 12,767 b

F-test ** ** ** ** ** **
CV (%) 8.50 4.60 7.90 6.80 3.80 7.00

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

92

Table 15 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Banrai, Uthaithani.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-009R 115 b (cm) (/rai) 2.18 ab 12.55 c 0.28 ab
2 UT10-015R 166 a 2.35 b 6,534 b 1.91 abc 14.46 ab 0.27 ab
3 UT10-057R 121 b 1.34 bc 12.03 c 0.16 b
4 UT10-113R 94 c 2.40 b 3,767 c 1.27 c 13.13 bc 0.17 b
5 LK92-11 86 c 2.31 a 14.86 a 0.34 a
6 KK3 92 c 2.35 b 3,067 c 1.32 bc 15.29 a 0.20 b

2.69 a 4,367 c

2.36 b 9,017 a

2.55 a 3,150 c

F-test ** ** ** * ** *
CV (%) 7.90 4.00 23.90 31.60 6.80 32.3

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 16 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Dan Ma Kham Tia,Kanchanaburi.

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-009R 140 cd (cm) (/rai) 5.84 a 12.72 a 0.77 a
2 UT10-015R 180 ab 2.47 b 8,633 4.66 ab 12.23 a 0.57 ab
3 UT10-057R 207 a 5.23 ab 10.00 b 0.56 ab
4 UT10-113R 177 ab 2.49 b 6,133 4.37 ab 11.03 ab 0.49 b
5 LK92-11 116 d 2.82 b 12.02 a 0.35 b
6 KK3 157 bc 2.58 b 5,750 5.19 ab 11.79 a 0.63 ab

F-test ** 2.91 a 7,800 ** * **
CV (%) 13.10 32.40 8.88 29.70
2.50 b 7,300

2.96 a 7,450

** ns

3.60 26.80

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

93

Table 17 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Takhli, Nakhon Sawan (1).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
12.59 a
1 UT10-009R 178 ab (cm) (/rai) 9.10 a 12.35 a 1.15 ab
2 UT10-015R 230 a 2.58 b 9,984 a 10.67 a 11.40 b 1.31 a
3 UT10-057R 174 ab 8.33 b 10.50 c 0.95 b
4 UT10-113R 212 ab 2.81 b 9,067 a 7.79 b 11.39 b 0.82 b
5 LK92-11 155 b 8.88 a 12.37 a 1.01 ab
6 KK3 206 ab 2.65 b 4,109 b 7.74 b 0.96 b

3.56 a 9,450 a

2.79 b 10,600 a

3.10 b 8,400 a

F-test ** ** ** * ** *
CV (%) 19.90 5.50 20.50 35.70 16.30 57.30

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

Table 18 Height, stalk diameter, stalk number, yield, CCS and sugar yield from from Farm
Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010: 2nd ratoon
at Takhli, Nakhon Sawan (2).

No. Clone/ Height Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
Variety (cm) diameter number (ton/rai) (tonCCS/rai)
10.04 ab
1 UT10-009R 207ab (cm) (/rai) 11.39 ab 10.29 ab 1.12 b
2 UT10-015R 229 a 2.66 b 11,650 a 13.86 a 4.69 c 1.42 a
3 UT10-057R 196 ab 5.96 c 11.52 a 0.30 c
4 UT10-113R 209 ab 2.71 b 10,533 ab 12.22 ab 10.46 ab 1.43 a
5 LK92-11 175 b 10.08 b 8.44 b 1.06 ab
6 KK3 199 ab 2.81 b 5,383 c 6.58 c 0.57 c

3.20 a 9,183 b

2.81 b 10,534 ab

3.33 a 6,233 c

F-test ** ** ** ** ** **
22.40 19.70 31.20
CV (%) 13.70 4.20 15.70

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.


Click to View FlipBook Version