The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hi2ura.pon, 2022-06-09 04:13:27

รายงานผลงานวิจัย 2563

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Keywords: รายงานผลงานวิจัย,ANNUAL RESEARCH REPORT

137

Clones/ Female X Male Height Diameter No. of Cane Yield Sugar Yield
No. Varieties (cm) (cm) internode CCS (ton/rai)
(tonCCS/rai)
87 UT16-141 UT4 X E-haew 281 2.8 25 13.14 13.62
88 UT16-143 UT4 X E-haew 225 2.8 24 13.57 11.57 1.79
89 UT16-144 UT4 X E-haew 205 3.0 25 15.16 8.93 1.57
90 UT16-145 85-2-352 X K84-200 170 2.1 18 13.35 9.57 1.35
91 UT16-147 85-2-352 X K84-200 130 2.8 16 10.66 8.21 1.28
92 UT16-149 483A 6/16 X K2000-35 200 2.6 25 12.31 8.64 0.87
93 UT16-150 UT4 X E-haew 230 3.1 25 13.66 12.81 1.06
94 UT16-151 UT4 X E-haew 230 2.6 17 14.99 12.99 1.75
95 UT16-153 LK92-11 X 85-2-352 230 2.1 23 15.03 10.06 1.95
96 UT16-156 CO997 X 16A 010 255 2.5 23 13.03 12.64 1.51
97 UT16-164 UT4 X E-haew 177 2.8 18 13.07 12.85 1.65
98 UT16-165 16B 21/2 X UT16 190 2.4 16 13.43 7.57 1.68
99 UT16-166 RT2007-091 X UT16 167 2.3 20 14.68 11.37 1.02
100 UT16-170 KPS94-13 X UT4 185 2.8 20 10.53 14.39 1.67
101 UT16-173 RT2001-1800 X RT2004-014 210 2.3 20 13.13 10.77 1.52
102 UT16-176 85-2-352 X K84-200 200 3.2 18 12.79 11.31 1.41
103 UT16-177 85-2-352 X K84-200 290 3.0 21 11.53 11.20 1.45
104 UT16-178 UT10-623 X UT4 198 2.6 18 9.02 7.40 1.29
105 UT16-181 RT2007-027 X E-haew 180 2.5 17 15.90 7.42 0.67
106 UT16-183 UT10-623 X UT4 200 2.6 26 11.92 7.04 1.18
107 UT16-185 UT10-623 X UT4 210 2.4 13 14.81 13.87 0.84
108 UT16-187 85-2-352 X K84-200 290 2.9 25 11.92 13.48 2.05
109 UT16-188 85-2-352 X K84-200 210 2.5 19 13.07 14.70 1.61
110 UT16-190 UT1 X Q85 175 2.7 21 11.69 5.82 1.92
111 UT16-191 UT8 X K2000-35 253 2.6 25 11.62 12.29 0.68
112 UT16-193 UT1 X 483A002 225 2.7 25 10.52 10.60 1.43
113 UT16-195 85-2-352 X Suphanburi 50 200 2.3 19 14.42 14.28 1.12
114 UT16-196 85-2-352 X K84-200 205 2.7 20 13.58 11.75 2.06
115 UT16-199 UT1 X 483A002 170 2.6 22 14.26 9.11 1.60
116 UT16-200 UNKHOWN X Self 220 3.1 19 13.29 15.67 1.30
117 UT16-201 UNKHOWN X Self 223 2.9 20 13.78 11.11 2.08
118 UT16-206 K99-72 X UT16 200 2.5 23 12.39 11.39 1.53
119 UT16-209 CO997 X UT5 200 2.7 23 12.73 12.89 1.41
120 UT16-212 UNKHOWN X Self 184 2.6 19 11.68 10.88 1.64
121 UT16-213 156A 013 X 483A002 120 2.8 16 8.24 2.77 1.27
122 UT16-214 CO997 X UT5 197 2.7 23 14.51 10.34 0.23
123 UT16-216 CO775 X RT2007-091 168 2.7 15 9.92 8.13 1.50
124 UT16-233 85-2-352 X UT8 170 3.0 17 15.32 7.68 0.81
125 UT16-236 85-2-352 X UT8 165 2.5 22 12.91 7.07 1.18
126 UT16-237 85-2-352 X UT8 91 3.3 17 12.17 3.12 0.91
127 UT16-238 85-2-352 X UT8 230 2.9 22 12.07 16.43 0.38
128 UT15 UT3 X Self 170 2.9 19 12.82 8.79 1.98
129 UT17 84-2-647 X UT4 164 2.8 19 12.24 8.04 1.13
130 KK3 85-2-353 X K84-201 165 2.9 19 12.90 8.52 1.01
1.10

138

9. สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การคดั เลือกอ้อยครง้ั ท่ี 2 อ้อยชุดปี 2559 จากโคลนอ้อยจ้านวน 128 โคลน สามารถคัดเลอื กโคลน

อ้อยท่ีมผี ลผลิตและความหวานสงู และมลี ักษณะทางการเกษตรท่ีดี ไมม่ ีการเขา้ ท้าลายของโรคและแมลง ซ่ึง
สามารถคัดโคลนอ้อยจ้านวน 34 โคลน เพ่ือน้าไปปลูกในข้ันตอนการประเมนิ ผลผลิตการเปรียบเทียบเบ้ืองต้นมี
ดงั นี้ UT16-002 UT16-024 UT16-034 UT16-042 UT16-052 UT16-053 UT16-060 UT16-063
UT16-066 UT16-068 UT16-076 UT16-080 UT16-081 UT16-083 UT16-089 UT16-091
UT16-099 UT16-104 UT16-114 UT16-116 UT16-122 UT16-133 UT16-138 UT16-139
UT16-143 UT16-145 UT16-149 UT16-151 UT16-166 UT16-183 UT16-185 UT16-195
UT16-212 และ UT16-233 ตามล้าดบั

10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
สามารถคัดเลือกอ้อยที่มีผลผลิตและความหวานสูง และมีลักษณะทางการเกษตรท่ีดี ต้านทานโรค

และแมลงท่ีส้าคัญของอ้อย เพื่อใช้ในการปลูกทดสอบในการประเมินผลผลิตและคุณภาพในขั้นตอนการ
เปรียบเทียบเบอ้ื งต้นพนั ธุ์อ้อยต่อไป

11. คาขอบคุณ (ถ้าม)ี
-

12. เอกสารอา้ งอิง
พีระศกั ด์ิ ศรีนเิ วศน์ อดุ ม พลู เกษ พรทิพย์ วสิ ารตั น์ และประเสริฐ ฉัตรวชิระวงษ.์ 2534. รายงานผลการ
วิเคราะห์ข้อมูล: โครงการวิเคราะห์การปรับตัวของพันธุ์อ้อยท่ีส้าคัญในประเทศไทย. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร.์ 220 หน้า.
ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2563. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต
2562/2563. ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย 2563. กระทรวงอตุ สาหกรรม. 78 หนา้ .
ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2564. รายงานการผลิตน้าตาลทรายของโรงงานน้าตาลทั่ว
ประเทศ ประจ้าปีการผลิต 2562/2563. ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2564.
กระทรวงอตุ สาหกรรม. 3 หน้า. สืบคน้ จาก : http://www.ocsb.go.th. 8 กมุ ภาพันธ์ 2564.

13. ภาคผนวก
-

139

รายงานผลงานเร่ืองเต็มการทดลองทสี่ น้ิ สุด

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วิจัยและพัฒนาการปรบั ปรงุ พันธ์ุอ้อยเพ่อื อุตสาหกรรมน้าตาล

2. โครงการวิจัย 3. วจิ ัยการปรับปรงุ พนั ธุ์อ้อยสา้ หรบั สภาพชลประทานและมีนา้ เสริม

กจิ กรรม 1. การปรับปรุงพันธ์ุอ้อย

กจิ กรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ชือ่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.22 การเปรยี บเทยี บเบ้ืองตน้ โคลนออ้ ยชดุ ปี 2558

ช่ือการทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Preliminary Trial : Sugarcane Varieties Series 2015

4. คณะผ้ดู าเนนิ งาน

หวั หน้าการทดลอง ปิยธิดา อนิ ทร์สขุ ศูนย์วิจัยพชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

ผรู้ ว่ มงาน อุดมศักด์ิ ดวนมีสุข ศนู ยว์ ิจยั พชื ไร่สพุ รรณบุรี

กาญจนา หนแู กว้ ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบุรี

ศรณั ยร์ ัตน์ สวุ รรณพงษ์ ศนู ยว์ จิ ัยพืชไรส่ ุพรรณบรุ ี

5. บทคดั ยอ่

การเปรียบเทียบเบื้องต้นโคลนอ้อยชุดปี 2558 มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกโคลนอ้อยท่ีให้ผลผลิต

ความหวานสูง และมีลักษณะทางการเกษตรดี วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block

จา้ นวน 2 ซ้า ปลูกอ้อยด้วยท่อนพันธุ์ 2 ตาต่อท่อน 2 ท่อนต่อหลุม ปลูกอ้อยโคลนละ 4 แถว แถวยาว 6 เมตร

ระยะระหว่างแถว 1.5 เมตร ระยะระหว่างหลมุ 50 เซนติเมตร มีอ้อยทดสอบชุดปี 2558 จ้านวน 30 โคลน

และพนั ธเุ์ ปรยี บเทยี บ 2 พนั ธุ์ ไดแ้ ก่ LK92-11 และขอนแก่น 3 ด้าเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ในเดือน

มีนาคม 2561–มีนาคม 2563 จากการประเมินเบื้องต้นโคลนอ้อยทั้ง 30 โคลน โดยพิจารณาด้านผลผลิต

น้าตาล ผลผลิตน้าหนัก ค่าซีซีเอส และประเมินความต้านทานต่อโรคเห่ียวเน่าแดง พบว่า มีอ้อยโคลนดีเด่น

จ้านวน 8 โคลน ได้แก่ โคลน UT15-034 UT15-060 UT15-079 UT15-130 UT15-147 UT15-267 UT15-303

และ UT15-337 ให้ผลผลติ นา้ ตาลสงู กวา่ พนั ธุเ์ ปรยี บเทยี บทั้ง 2 พันธุ์ มีลักษณะทางการเกษตรดี และต้านทาน

โรคเห่ียวเน่าแดงระดับปานกลางขึ้นไป จึงคัดเลือกโคลนดีเด่นเหล่านี้ไว้ปลูกในขั้นตอนการเปรียบเทียบ

มาตรฐานต่อไป

คาสาคญั : อ้อย เปรยี บเทียบเบือ้ งตน้ ผลผลิต

140

ABSTRACT
Preliminary Trial : series 2015 was conducted during 2018-2020 at Suphan Buri

FCRC. The objective was to select elite clones which give high yield, high CCS and good
performance. The experimental design was RCB with 2 replications. The treatments were
30 clones with 2 check varieties, LK92-11 and Khon Kaen 3. The results showed that elite
clones are UT15-034, UT15-060, UT15-079, UT15-130, UT15-147, UT15-267, UT15-303 and
UT15-337 which gave higher sugar yield than check varieties in plant cane and ratoon cane.
They are moderately resistant to red rot wilt disease and these elite clones will be
planted in standard trial further.

Key words : Sugarcane, Preliminary trial, Yield

6. คานา
ออ้ ยเป็นพืชที่สามารถใชป้ ระโยชน์ได้ทุกส่วน เช่น ผลพลอยได้จากอ้อยสามารถน้าไปเป็นวัตถุดิบ

ในการผลิตเอทานอล กากอ้อยน้าไปเป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและผลิตเป็นเยื่อกระดาษได้อีกด้วย
ท้ังน้ีโรงงานน้าตาลพร้อมที่จะพัฒนาและขยายก้าลังการผลิตเพ่ือรองรับผลผลิตอ้อยท่ีเพ่ิมข้ึน เป็นการสร้าง
ความเชื่อม่ันว่า อ้อยจะมีตลาดรองรับ สร้างความม่ันคงให้กับชาวไร่อ้อยได้ ในปีการผลิตอ้อย 2562/63 พื้นท่ี
ปลูกอ้อยทั้งประเทศอยู่ที่ 11.9 ล้านไร่ ซ่ึงลดลงจากปี 2561/62 ร้อยละ 2.26 และมีปริมาณอ้อยเข้าหีบ
74.89 ล้านตัน ซึ่งลดลงจากปีการผลิตอ้อย 2561/62 มีปริมาณอ้อยเข้าหีบ 128.53 ล้านตันหรือคิดเป็น
รอ้ ยละ 41.73 เน่ืองจากปญั หาภัยแล้งรุนแรงในช่วงปลูกอ้อย ท้าให้อ้อยมีคุณภาพต้่า ผลผลิตต่อพ้ืนที่ลดลง
ท้าให้มีผลผลิตอ้อยเฉล่ียท้ังประเทศเพียง 7.09 ตันต่อไร่ ประกอบกับราคาอ้อยตกต้่าต่อเนื่อง เกษตรกรจึง
หันไปปลกู พชื อน่ื ทดแทน (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย, 2563) แสดงให้เห็นว่า การผลิต
อ้อยให้ได้ผลผลิตและคุณภาพสูงน้ันมีความจ้าเป็นอย่างมาก ดังนั้น การปรับปรุงพันธุ์อ้อยท่ีให้ผลผลิตอ้อย
และคุณภาพสูง (ความหวาน) จึงเป็นทางหน่ึงท่ีช่วยให้เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น สนับสนุนอุตสาหกรรมอ้อยและ
น้าตาลทรายในประเทศให้แข่งขันกับประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลกได้ โดยการปรับปรุงพันธุ์อ้อยจะต้อง
เน้นให้ได้พนั ธทุ์ ใ่ี หผ้ ลผลิตสงู และความหวานสูง ตา้ นทานต่อโรคและแมลง มีลักษณะทางการเกษตรท่ีดี เช่น
ไว้ตอได้หลายคร้ัง ไม่ออกดอก และสามารถปรับตัวได้ดีในทุกสภาพแวดล้อม เพ่ือให้มีอ้อยพันธ์ุดีส่งเสริม
ชาวไร่อ้อยไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง

การเปรยี บเทียบเบ้อื งตน้ นี้เปน็ ขนั้ ตอนแรกในการประเมินผลผลิตและลักษณะต่างๆ ของโคลนอ้อย
ดีเด่น โดยมีการวางแผนการทดลองและมีการเปรยี บเทียบกับพนั ธมุ์ าตรฐานที่เกษตรกรนิยมปลูกท่ีมีผลผลิต
และความหวานสูง ในการเปรียบเทียบเบ้ืองต้นน้ี ค่าความหวาน (CCS) เป็นค่าที่สามารถวัดในแถวเด่ียวได้
โดยไม่มีการอคติ (bias) แต่ในทางตรงข้าม ถ้าวัดผลผลิตท่ีแถวเดี่ยวจะมีการอคติ (bias) เกิดขึ้นจากการ
แข่งขันระหว่างแถวด้วย (Fengduo, H. 2007) ดังนั้น การเปรียบเทียบเบ้ืองต้นนี้เป็นขั้นตอนที่มีความส้าคัญ
ข้นั ตอนหนง่ึ เนื่องจากท้าให้การคัดเลือกโคลนออ้ ยดีเดน่ นัน้ มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขึ้น

141

7. วิธีดาเนินการ

- อุปกรณ์
- อ้อยทดสอบ 30 โคลน และพันธ์ุเปรยี บเทยี บขอนแกน่ 3 และ LK92-11

- ปุ๋ยเคมเี กรด 15-15-15 (N-P2O5-K2O)
- สารเคมีป้องกันและกา้ จัดวชั พืช

- Hand refractometer

- หอ้ งปฏิบัติการวิเคราะหค์ า่ CCS

- วัสดอุ ุปกรณ์อื่นๆ ทีจ่ ้าเป็นสา้ หรับการปลกู และเก็บเกีย่ ว เช่น สายวัดระยะ เชือกฟาง หลักแปลง

ไม้วดั ความสูง เวอรเ์ นยี เป็นต้น

- วิธกี าร
วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block จา้ นวน 2 ซ้า กรรมวธิ ปี ระกอบดว้ ย

โคลนออ้ ย 30 โคลน ไดแ้ ก่

1. UT15-034 16. UT15-147
2. UT15-045 17. UT15-148
3. UT15-055 18. UT15-162
4. UT15-060 19. UT15-176
5. UT15-071 20. UT15-189
6. UT15-079 21. UT15-216
7. UT15-080 22. UT15-222
8. UT15-088 23. UT15-263
9. UT15-094 24. UT15-267
10. UT15-096 25. UT15-279
11. UT15-100 26. UT15-286
12. UT15-114 27. UT15-297
13. UT15-130 28. UT15-299
14. UT15-139 29. UT15-303
15. UT15-146 30. UT15-337

และพนั ธเุ์ ปรยี บเทียบ 2 พันธุ์ คอื ขอนแกน่ 3 และ LK92-11

142

ขนาดแปลง 36 x 89 เมตร
ขนาดแปลงทดลองย่อย 6 x 6 เมตร
พน้ื ท่ีเก็บเก่ียว 18 เมตร

ปลกู ออ้ ยดว้ ยท่อนพนั ธุ์ 2 ตาต่อท่อน 2 ท่อนต่อหลุม ให้มีระยะระหว่างหลุม 50 เซนติเมตร มีระยะ
ระหว่างแถว 1.5 เมตร ยาวแถวละ 6 เมตร พนั ธุ์ละ 4 แถวต่อซ้า พร้อมใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15 รองพ้ืนอัตรา
50 กิโลกรัมตอ่ ไร่ จากนั้นกลบด้วยดินแล้วให้น้าตามร่องหลังปลูกทันที และให้น้าซ้าหลังให้น้าครั้งแรก 7 วัน
เพอื่ ใหต้ น้ ออ้ ยงอกไดด้ ี และใหน้ ้าทุกๆ 3 สัปดาห์ หรือเมื่อมีฝนตกน้อยกว่า 30 มิลลิเมตร นาน 3 สัปดาห์
พน่ สารควบคมุ กา้ จัดวัชพชื อะทราซีน อามีทริน และไกลโฟเสท หลังการให้น้าครั้งแรก ใส่ปุ๋ยคร้ังท่ี 2 อัตรา
50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เม่ือออ้ ยงอกได้ 2 เดอื น

ในอ้อยตอ 1 เม่อื ออ้ ยงอกได้ประมาณ 2 เดือน ใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ให้น้า
ตามร่องทุก 3 สัปดาห์ หรือเม่ือมีปริมาณฝนตกน้อยกว่า 30 มิลลิเมตร นาน 3 สัปดาห์ เช่นเดียวกับใน
อ้อยปลกู

การบันทึกข้อมลู
- วันปลูก วนั งอก และวันปฏิบัตกิ ารตา่ งๆ
- การเจรญิ เตบิ โต ไดแ้ ก่ การแตกกอ และความสูง
- องคป์ ระกอบผลผลิตได้แก่ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางล้า จา้ นวนปล้องตอ่ ลา้ ความสงู จา้ นวนลา้ ตอ่ ไร่
- คณุ ภาพความหวานได้แก่ คา่ CCS Brix Pol และ Purity
- ลกั ษณะการเกษตร การไว้ตอ การออกดอก ทรงกอ การหกั ล้ม
- การเขา้ ท้าลายของโรคและแมลง

- เวลาและสถานที่
มนี าคม 2561–มีนาคม 2563 ณ ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่สพุ รรณบุรี อา้ เภออทู่ อง จังหวัดสพุ รรณบุรี

8. ผลการทดลองและวิจารณ์

เก็บเกี่ยวอ้อยปลูกวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562 ผลการทดลอง พบว่า ทุกลักษณะมีความแตกต่าง
ทางสถิติ ยกเว้น จ้านวนล้าต่อไร่ ไมม่ คี วามแตกต่างทางสถติ ิ โดยผลผลติ อ้อย พบว่า โคลน UT15-263 ให้ผลผลิต
สูงที่สุด 22.7 ตันต่อไร่ รองลงมาได้แก่ โคลน UT15-147 UT15-267 และ UT15-034 ให้ผลผลิตเท่ากับ
21.3 20.9 และ 19.7 ตันต่อไร่ ตามลา้ ดับ ขณะที่พันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์ LK92-11 ให้ผลผลิต 19.0 และ
12.8 ตนั ตอ่ ไร่ ตามล้าดับ (Table 1)

ค่าซีซีเอส พบว่า โคลน UT15-045 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุดเท่ากับ 14.0 รองลงมาได้แก่ UT15-176
พันธ์ุขอนแกน่ 3 และ UT15-130 ให้ค่าซซี เี อสเทา่ กับ 13.8 13.6 และ 13.4 ตามลา้ ดับ (Table 1)

ผลผลิตน้าตาล พบว่า โคลน UT15-034 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงที่สุดเท่ากับ 2.68 ตันซีซีเอสต่อไร่
รองลงมาได้แก่ พันธุ์ขอนแก่น 3 UT15-303 UT15-267 UT15-130 และ UT15-060 ให้ผลผลิตน้าตาลเท่ากับ
2.58 2.55 2.51 2.48 และ 2.49 ตันซซี เี อสต่อไร่ ตามล้าดับ (Table 1)

143

ความสูง พบว่า โคลน UT15-267 มีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 388 เซนติเมตร รองลงมาได้แก่
UT15-114 และ UT15-147 มคี วามสูงเทา่ กบั 378 และ 375 เซนติเมตร ตามลา้ ดบั (Table 2)

เส้นผ่านศูนย์กลางลา้ พบว่า โคลน UT15-286 มีเส้นผ่านศูนย์กลางลา้ ใหญ่ที่สุดเท่ากับ 3.47
เซนติเมตร รองลงมาได้แก่ UT15-279 UT15-148 และ UT15-263 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าเท่ากับ 3.40
3.34 และ 3.34 เซนตเิ มตร ตามลา้ ดบั (Table 2)

จ้านวนปล้อง พบวา่ โคลน UT15-130 มีจ้านวนปล้องมากที่สุดเท่ากับ 32.5 ปล้อง รองลงมาได้แก่
UT15-303 UT15-114 UT15-094 และ UT15-299 ซ่ึงมีจ้านวนปล้องเท่ากับ 31.7 31.5 31.2 และ 31.0 ปล้อง
ตามลา้ ดบั (Table 2)

เก็บเกย่ี วอ้อยตอ 1 เม่อื วันท่ี 10 มกราคม 2563 ผลการทดลอง พบว่า ค่าซีซีเอส จ้านวนล้าต่อไร่
เสน้ ผา่ นศูนย์กลางลา้ และจ้านวนปล้องมคี วามแตกต่างทางสถิติ โดยพบว่า พันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสมากที่สุด
ไม่ต่างจากโคลน UT15-130 UT15-279 UT15-297 และพันธ์ุ LK92-11 ซ่ึงมีค่าเท่ากับ 14.2 14.0 14.0 และ
14.8 ตามลา้ ดับ (Table 3)

จ้านวนล้าต่อไร่ พบว่า โคลน UT15-055 มีจ้านวนล้าต่อไร่มากท่ีสุดเท่ากับ 12,978 ล้า ไม่แตกต่าง
จากโคลน UT15-060 UT15-337 และพันธุ์ LK92-11 มีจ้านวนล้าต่อไร่เท่ากับ 12,400 12,178 และ 12,622 ล้า
ตามล้าดับ (Table 4)

เส้นผ่านศนู ย์กลางลา้ พบวา่ โคลน UT15-148 และ UT 15-216 มีเสน้ ผ่านศูนย์กลางล้ามากท่ีสุด
เท่ากับ 2.91 และ 2.89 เซนติเมตร ตามล้าดับ ซ่ึงไม่แตกต่างจากโคลน UT15-263 UT15-337 และพันธุ์
ขอนแกน่ 3 ซ่งึ มีเสน้ ผ่านศูนย์กลางลา้ เทา่ กับ 2.82 2.80 และ 2.80 เซนตเิ มตร ตามลา้ ดับ (Table 4)

จ้านวนปลอ้ ง พบวา่ โคลน UT15-222 มจี า้ นวนปล้องมากท่ีสดุ เทา่ กับ 29.1 ปล้อง ซ่ึงไม่แตกต่าง
จากโคลน UT15-094 UT15-148 UT15-216 UT15-299 และ UT15-337 มีจ้านวนปล้องเท่ากับ 26.2
26.3 25.6 26.5 และ 26.0 ปล้อง ตามลา้ ดบั (Table 4)

144

Table 1 Yield (ton/rai), CCS and Sugar Yield (ton CCS/rai) of Preliminary trial series 2015
at Suphan Buri FCRC: plant cane.

No. Clones/Varieties Yield CCS Sugar Yield
(ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT15-034 19.7 a-d 13.6 abc 2.68 a

2 UT15-045 14.2 b-h 14.0 a 1.99 a-f

3 UT15-055 11.5 e-h 13.1 a-e 1.48 c-f

4 UT15-060 19.1 a-f 13.0 a-e 2.49 abc

5 UT15-071 15.8 a-h 12.1 b-i 1.91 a-f

6 UT15-079 17.2 a-h 13.5 abc 2.32 a-d

7 UT15-080 13.6 b-h 11.7 c-i 1.61 b-f

8 UT15-088 11.9 d-h 11.0 f-k 1.31 def

9 UT15-094 17.8 a-f 12.8 a-g 2.27 a-d

10 UT15-096 10.1 gh 9.5 jk 1.02 f

11 UT15-100 17.0 a-h 10.9 h-k 1.82 a-f

12 UT15-114 15.8 a-h 10.5 h-k 1.72 a-f

13 UT15-130 18.5 a-f 13.4 abc 2.48 abc

14 UT15-139 18.8 a-f 12.1 b-i 2.25 a-d

15 UT15-146 12.8 c-h 12.0 b-i 1.54 b-f

16 UT15-147 21.3 ab 11.0 f-k 2.34 a-d

17 UT15-148 15.6 a-h 13.1 a-e 2.04 a-f

18 UT15-162 17.5 a-g 11.1 e-j 1.94 a-f

19 UT15-176 15.3 a-h 13.8 ab 2.10 a-e

20 UT15-189 13.3 c-h 12.3 a-i 1.62 a-f

21 UT15-216 9.2 h 11.3 d-j 1.04 f

22 UT15-222 14.0 b-h 12.5 a-h 1.75 a-f

23 UT15-263 22.7 a 9.1 k 2.09 a-e

24 UT15-267 20.9 abc 12.0 b-i 2.51 abc

25 UT15-279 15.2 b-h 12.8 a-f 1.95 a-f

26 UT15-286 10.9 fgh 10.5 ijk 1.14 ef

27 UT15-297 13.6 b-h 13.2 a-d 1.80 a-f

28 UT15-299 19.6 a-e 10.9 g-k 2.17 a-d

29 UT15-303 19.3 a-e 13.3 a-d 2.55 abc

30 UT15-337 17.7 a-g 13.2 a-d 2.35 a-d

31 KK3 19.0 a-f 13.6 abc 2.58 ab

32 LK92-11 12.8 c-h 13.8 ab 1.78 a-f

Mean 16.0 12.2 1.96

F-test * ** *

CV (%) 21.54 6.86 23.32

*, ** = significant at P = 0.05 and 0.01 , respectively

* Means in the same column followed by the same letters are not significantly different at P = 0.05 by DMRT

145

Table 2 Height (cm), No. of Stalk/rai, Diameter (cm) and No. of internode of Preliminary
trial series 2015 at Suphan Buri FCRC: plant cane.

No. Clones/Varieties Height No. of Diameter No. of
(cm) Stalks/rai (cm) internode

1 UT15-034 318 b-i 13,422 2.81 e-j 26.6 e-i

2 UT15-045 327 a-i 8,356 3.23 a-e 30.9 a-d

3 UT15-055 323 a-i 9,200 2.99 b-i 26.6 e-i

4 UT15-060 320 a-i 12,356 2.64 hij 27.9 b-h

5 UT15-071 361 a-g 8,711 2.91 c-j 29.2 a-g

6 UT15-079 335 a-i 9,467 2.90 c-j 25.3 g-j

7 UT15-080 318 b-i 8,800 2.90 c-j 27.4 b-i

8 UT15-088 300 d-j 10,089 2.75 f-j 25.5 g-j

9 UT15-094 368 a-e 9,111 3.05 a-h 31.2 ab

10 UT15-096 237 j 9,067 2.78 f-j 27.0 d-i

11 UT15-100 338 a-i 9,644 2.88 d-j 27.2 c-i

12 UT15-114 378 ab 9,022 2.72 f-j 31.5 ab

13 UT15-130 313 c-i 11,422 3.28 a-d 32.5 a

14 UT15-139 357 a-g 8,489 3.24 a-e 30.1 a-f

15 UT15-146 305 d-j 10,800 2.75 f-j 27.0 d-i

16 UT15-147 375 abc 12,444 2.57 ij 27.5 b-h

17 UT15-148 331 a-i 7,289 3.34 abc 30.3 a-f

18 UT15-162 336 a-i 9,911 2.53 j 23.3 ij

19 UT15-176 339 a-h 10,356 3.08 a-h 25.9 g-j

20 UT15-189 320 a-i 8,933 2.77 f-j 26.9 e-i

21 UT15-216 235 j 6,578 3.28 a-d 30.5 a-e

22 UT15-222 319 b-i 9,467 2.69 g-j 30.6 a-e

23 UT15-263 356 a-g 9,244 3.34 abc 29.5 a-g

24 UT15-267 388 a 11,156 2.56 ij 29.0 a-g

25 UT15-279 295 g-j 8,089 3.40 ab 24.2 hij

26 UT15-286 292 g-j 6,578 3.47 a 27.1 d-i

27 UT15-297 267 ij 8,978 2.90 c-j 22.0 j

28 UT15-299 366 a-f 14,089 3.15 a-f 31.0 abc

29 UT15-303 370 a-d 10,311 2.84 d-j 31.7 ab

30 UT15-337 296 e-j 12,133 2.79 e-j 26.2 f-i

31 KK3 311 c-i 9,778 3.13 a-g 26.9 e-i

32 LK92-11 267 hij 9,022 3.04 a-h 25.6 g-j

Mean 324 9,760 2.96 27.9

F-test ** ns ** **

CV (%) 9.31 19.76 6.35 6.43

ns, ** = non significant, significant at P = 0.01 , respectively

* Means in the same column followed by the same letters are not significantly different at P = 0.05 by DMRT

146

Table 3 Yield (ton/rai), CCS and Sugar Yield (ton CCS/rai) of Preliminary trial series 2015
at Suphan Buri FCRC: 1 st ratoon cane.

No. Clones/Varieties Yield CCS Sugar Yield
(ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT15-034 8.60 13.6 a-f 1.17

2 UT15-045 6.20 13.8 a-f 0.86

3 UT15-055 7.62 12.1 c-i 0.92

4 UT15-060 9.59 12.6 c-h 1.19

5 UT15-071 9.07 13.7 a-f 1.23

6 UT15-079 7.45 12.0 d-i 0.91

7 UT15-080 7.81 11.7 f--i 0.90

8 UT15-088 4.92 13.1 b-g 0.65

9 UT15-094 11.35 13.0 b-g 1.49

10 UT15-096 9.06 10.7 hi 0.94

11 UT15-100 9.34 12.2 c-i 1.17

12 UT15-114 6.44 11.2 ghi 0.75

13 UT15-130 6.87 14.2 abc 1.02

14 UT15-139 9.79 13.5 b-f 1.32

15 UT15-146 6.98 13.1 b-g 0.92

16 UT15-147 8.62 12.7 b-h 1.10

17 UT15-148 7.24 12.3 c-i 0.89

18 UT15-162 6.97 11.9 d-i 0.83

19 UT15-176 6.06 13.9 a-e 0.85

20 UT15-189 3.93 11.9 e-i 0.47

21 UT15-216 10.97 11.8 f-i 1.29

22 UT15-222 7.51 12.4 c-i 0.94

23 UT15-263 7.65 10.5 i 0.80

24 UT15-267 11.11 13.5 b-f 1.48

25 UT15-279 7.15 14.0 a-d 1.00

26 UT15-286 6.77 12.6 c-h 0.85

27 UT15-297 5.73 14.0 a-d 0.80

28 UT15-299 12.58 13.7 a-e 1.72

29 UT15-303 6.47 13.2 b-g 0.87

30 UT15-337 9.57 13.4 b-f 1.30

31 KK3 8.76 15.6 a 1.37

32 LK92-11 9.20 14.8 ab 1.38

Mean 8.04 12.9 1.04

F-test ns ** ns

CV (%) 37.97 6.64 39.98

ns, ** = non significant, significant at P = 0.01 , respectively

* Means in the same column followed by the same letters are not significantly different at P = 0.05 by DMRT

147

Table 4 Height (cm), No. of Stalk/rai, Diameter (cm) and No. of internode of Preliminary
trial series 2015 at Suphan Buri FCRC: 1st ratoon cane.

No. Clones/Varieties Height No. of Diameter No. of
(cm) Stalks/rai (cm) internode

1 UT15-034 184 10,400 a-h 2.62 b-h 24.5 a-e

2 UT15-045 190 9,111 b-h 2.55 d-i 20.1 ef

3 UT15-055 237 12,978 a 2.39 hij 23.4 b-e

4 UT15-060 224 12,400 abc 2.46 e-j 24.7 a-e

5 UT15-071 243 8,044 e-h 2.36 ij 25.2 a-e

6 UT15-079 196 10,178 a-h 2.57 c-i 21.3 b-f

7 UT15-080 219 9,200 a-h 2.47 e-j 23.1 b-e

8 UT15-088 190 7,511 fgh 2.61 b-h 22.1 b-f

9 UT15-094 263 9,156 b-h 2.72 a-d 26.2 ab

10 UT15-096 195 11,467 a-e 2.58 c-i 24.9 a-e

11 UT15-100 235 9,511 a-h 2.57 c-i 24.2 a-e

12 UT15-114 224 7,511 fgh 2.45 f-j 24.4 a-e

13 UT15-130 182 9,733 a-h 2.71 a-d 24.4 a-e

14 UT15-139 229 6,889 h 2.70 a-e 23.5 a-e

15 UT15-146 207 11,022 a-g 2.37 ij 23.8 a-e

16 UT15-147 238 10,267 a-h 2.52 d-i 24.5 a-e

17 UT15-148 183 7,244 gh 2.91 a 26.3 abc

18 UT15-162 197 10,178 a-h 2.43 g-j 20.9 c-f

19 UT15-176 203 8,667 c-h 2.59 b-i 20.9 c-f

20 UT15-189 164 6,711 h 2.53 d-i 23.2 b-e

21 UT15-216 184 11,244 a-f 2.89 a 25.6 abc

22 UT15-222 219 10,489 a-h 2.50 d-i 29.1 a

23 UT15-263 209 8,800 c-h 2.82 ab 24.5 a-e

24 UT15-267 275 10,889 a-g 2.23 j 24.1 a-e

25 UT15-279 197 9,333 a-h 2.67 b-f 21.2 c-f

26 UT15-286 214 7,911 e-h 2.60 b-i 24.6 a-e

27 UT15-297 165 8,533 d-h 2.65 b-g 17.8 f

28 UT15-299 266 11,422 a-e 2.50 d-i 26.5 ab

29 UT15-303 198 8,178 e-h 2.23 j 24.7 a-e

30 UT15-337 220 12,178 a-d 2.80 abc 26.0 abc

31 KK3 177 9,467 a-h 2.80 abc 20.0 ef

32 LK92-11 186 12,622 ab 2.68 b-f 23.2 b-e

Mean 210 9,664 2.58 23.7

F-test ns ** ** **

CV (%) 15.64 15.97 3.79 8.74

ns, ** = non significant, significant at P = 0.01 , respectively

* Means in the same column followed by the same letters are not significantly different at P = 0.05 by DMRT

148

Table 5 Reaction of sugarcane UT series 2015 inoculated with red rot wilt disease in
December 2019.

No Clones/Varieties No. of red internodes reaction

1. UT15-034 2-3 MS
2. UT15-045 2-3 MS
3. UT15-055 2-3 MS
4. UT15-060 2-3 MS
5. UT15-071 2 MR
6. UT15-079 2 MR
7. UT15-080 2-3 MS
8. UT15-088 2-3 MS
9. UT15-094 2 MR
10. UT15-096 2-3 MS
11. UT15-100 2 MR
12. UT15-114 2 MR
13. UT15-130 2-3 MS
14. UT15-139 2-3 MS
15. UT15-146 2-3 MS
16. UT15-147 2-3 MS
17. UT15-148 2-3 MS
18. UT15-162 2-3 MS
19. UT15-176 2-3 MS
20. UT15-189 3-4 S
21. UT15-216 3-4 S
22. UT15-222 2-3 MS
23. UT15-263 2-3 MS
24. UT15-267 3-4 S
25. UT15-279 2-3 MS
26. UT15-286 2-3 MS
27. UT15-297 2-3 MS
28. UT15-299 3-4 S
29. UT15-303 2-3 MS
30. UT15-337 2-3 MS
31. KK3 2-3 MS
2-3 MS
32. LK92-11

Note: Uraiwan (2020)

149

9. สรุปผลการทดลองและคาแนะนา
จากการเปรียบเทียบเบ้ืองต้นอ้อยชุดปี 2558 พบว่า อ้อยโคลนดีเด่น 8 โคลน ได้แก่ UT15-034

UT15-060 UT15-079 UT15-130 UT15-147 UT15-267 UT15-303 และ UT15-337 ให้ผลผลิตน้าตาล
สงู กวา่ พันธ์ุเปรยี บเทียบทั้ง 2 พันธุ์และมีลักษณะทางการเกษตรดีในอ้อยปลูก และต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดง
ระดับปานกลางขน้ึ ไป จงึ คัดเลอื กโคลนดเี ดน่ เหล่านี้ไว้ปลกู ในขัน้ ตอนการเปรียบเทียบมาตรฐานต่อไป

10. การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์
สามารถคัดเลือกอ้อยท่ีมีผลผลิตและความหวานสูง และมีลักษณะทางการเกษตรท่ีดี เพ่ือใช้ใน

การปลกู ในขั้นตอนการเปรยี บเทียบมาตรฐานต่อไป

11. คาขอบคุณ (ถ้ามี)
-

12. เอกสารอา้ งองิ
กลุ่มเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและ
น้าตาลทราย. รายงานสถานการณก์ ารปลูกอ้อย ปีการผลติ 2562/63. 78 น.
อุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ 2563. เอกสารรายงานความก้าวหน้างานวิจัยอ้อยและข้าวโพด ประจ้าปี 2562
วันที่ 14 – 15 พฤษภาคม 2563. ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทน
พลังงาน. หน้า 99.
Fengduo, Hu. 2007. Improving Selection in Sugarcane Breeding Programs with an Application
in the Burdekin Region, Australia. PhD Thesis, School of land, Crop and Food
Science, University of Queensland.

13. ภาคผนวก
-

150

รายงานผลงานเรอ่ื งเต็มการทดลองทีส่ น้ิ สุด

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วิจยั และพัฒนาการปรับปรุงพันธ์อุ อ้ ยเพ่ืออุตสาหกรรมน้าตาล

2. โครงการวจิ ยั 3. วิจัยการปรบั ปรงุ พนั ธุอ์ ้อยส้าหรับสภาพชลประทานและมีน้าเสรมิ

กิจกรรม 1. การปรบั ปรงุ พนั ธุ์ออ้ ย

กิจกรรมย่อย (ถา้ มี) -

3. ชอื่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.26 ศกึ ษาปฏิกริ ยิ าของโคลนอ้อยดเี ด่นตอ่ โรคแส้ดา้ อ้อยชุดปี 2556

ชอื่ การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Reactions of Sugarcane Series 2013 to Smut Disease

4. คณะผ้ดู าเนนิ งาน

หัวหนา้ การทดลอง สุวัฒน์ พูลพาน ศนู ยว์ ิจัยพชื ไร่สุพรรณบุรี

ผู้รว่ มงาน อดุ มศักด์ิ ดวนมสี ุข ศนู ย์วจิ ัยพืชไรส่ ุพรรณบรุ ี

วัลลภิ า สชุ าโต ศูนยว์ ิจัยพชื ไรส่ ุพรรณบุรี

ปยิ ธิดา อินทร์สุข ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี

ทพิ วรรณ สิทธิสมบัติ ศูนย์วจิ ยั พชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี

นพิษฐา กลัดเงิน ศนู ย์วิจยั พชื ไร่สุพรรณบุรี

5. บทคัดยอ่

ศึกษาความต้านทานในออ้ ยโคลนดีเด่นต่อโรคแส้ด้าบนอ้อยลูกผสมของศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี

ชดุ ปี 2556 จ้านวน 9 โคลน เปรียบเทียบกับพันธุ์ LK92-11 เป็นพันธุ์ต้านทานและมีพันธุ์มาร์กอสเป็นพันธ์ุ

เปรียบเทียบความอ่อนแอต่อโรค ปลูกเชื้อด้วยวิธีแช่ในน้าผสมสปอร์ของเชื้อรา Ustilago scitaminea

สาเหตุโรคแสด้ า้ ปลูกออ้ ยในเดือนมกราคม 2561 ตามแผนการทดลองตรวจเช็คการเกิดโรคทุกเดือนจนอ้อยอายุ

10 เดอื น และสรปุ ปฏิกิริยาของโรค ผลการทดลองในอ้อยปลูกและออ้ ยตอ 1 พบว่า จาก 6 โคลน มีเพียง 2 โคลน

คือ UT13-269 และ UT12-361 ท่ีมีความต้านทานต่อโรคในอ้อยปลูกและต้านทานต่อโรคปานกลางในอ้อยตอ 1

ในขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 มีปฏิกิริยาความต้านทานต่อโรคและ Marcos มีปฏิกิริยาที่ค่อนข้าง

ออ่ นแอต่อโรค

คาสาคัญ : อ้อย โรคแสด้ า้ Ustilago scitaminea

151

ABSTRACT
Study on Disease reaction of sugarcane series 2013 was conducted at Suphan

Buri Field Crops Research Center. Six clones of sugarcane were planted, compared with
LK92-11 which is a resistant variety and Marcos is a susceptible variety. They were dipped in
spore suspension of Ustilago scitaminea whch is a causal agent of sugarcane smut then
incubated overnight before planted in January 2018. Incidences of sugarcane smut were
counted every month until the canes were 10 months old and harvested at 10 months to
evaluate the ratoon reaction. There were only 2 clones, UT13-269 and UT12-361 were
resistant and moderately resistant to the disease. Most of inoculated sugarcane were
susceptible to smut disease. While the comparative varieties LK92-11 reacted resistance
to disease and Marcos reacted susceptible to the disease.

Key words : Sugarcane, Smut disease, Ustilago scitaminea

6. คานา
โรคแส้ด้าของอ้อยเกิดจากเชอื้ รา Ustilago scitaminea Syd. & P. Syd. หรือในชื่อใหม่ Sporisorium

scitamineae (Piepenbring, et al. 2002) เป็นโรคที่พบทั่วไปในทุกแหล่งปลูกอ้อย ลักษณะอาการของ
โรคท่ียอดอ้อยจะเปล่ียนเป็นแส้ยาวสีด้า ท้าให้อ้อยหยุดการเจริญและแตกตาข้างมาก หากอาการรุนแรง
อ้อยจะแคระแกรน แตกกอฝอยและตายในท่สี ดุ ทา้ ให้ผลผลติ ออ้ ยลดลงโดยตรง และยังท้าให้ความสามารถในการ
ไว้ตอลดลง โรคนี้สามารถท้าความเสียหายต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยต้ังแต่ 50-80% ความเสียหาย
ผลผลิตเน่ืองจากโรคน้ีจะผันแปรไปตามระดับความต้านทานโรคของพันธุ์อ้อย ซึ่งจะท้าให้ความรุนแรงของ
โรคแตกต่างกันไป (วันทนีย์ และคณะ, 2530) นอกจากนี้ยังท้าให้คุณภาพของน้าอ้อยลดลง มีรายงานว่า อ้อย
ทเี่ ปน็ โรคแสด้ า้ อยา่ งรุนแรง จะมผี ลทา้ ให้ผลผลติ นา้ ตาลลดลงได้ถึง 3.85 ตันต่อเฮกตาร์ (Glaz et al.,1989)
โรคแสด้ ้าสามารถแพรไ่ ปกบั ทอ่ นพันธุ์อ้อย และเช้ือราสาเหตุยังสามารถปลิวไปตามลมได้ การป้องกันก้าจัด
ได้แก่ การใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ หรือการแช่น้าร้อน 52 องศา นาน 30 นาทีก่อนปลูก (สุนี และคณะ, 2528)
แตว่ ิธกี ารทีไ่ ดผ้ ลดแี ละสะดวกที่สุดคือ การใช้พันธุ์ต้านทานโรค การพัฒนาพันธุ์อ้อยให้มีศักยภาพจึงมีความ
จา้ เปน็ ที่จะตอ้ งตรวจสอบปฏิกิรยิ าของโคลนต่อโรคที่ส้าคญั นีก้ ่อนส่งเสรมิ เปน็ พนั ธุใ์ หเ้ กษตรกรปลกู ต่อไป

7. วธิ ีดาเนนิ การ
- อปุ กรณ์
1. โคลนพันธ์ทุ ี่ต้องการทราบปฏิกริ ิยา ท่ีมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูง โดยมอี อ้ ยพันธ์ุ LK92-11 และ
มาร์กอสเป็นพันธุ์เปรียบเทียบ
2. สปอร์เชือ้ Ustilago scitaminea สาเหตุโรคแส้ดา้
3. ถังแช่สปอร์
4. ปยุ๋ เคมตี ามค้าแนะนา้
5. สารก้าจดั วัชพืช

152

แบบและวธิ กี ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ RCB 3 ซา้ ขนาดแปลงย่อย 6 x 6 ตารางเมตร

- วิธีการ
1. เตรยี มท่อนพนั ธท์ุ ่ีต้องการทราบปฏิกิรยิ า โดยมีพนั ธเ์ุ ปรียบเทียบ LK92-11 เปน็ พันธ์ตุ ้านทาน

และพันธ์ุ Marcos เป็นพันธุอ์ ่อนแอ
2. เตรียมเชือ้ รา U. scitaminea สาเหตโุ รคแสด้ า้ โดยเก็บสปอร์จากตน้ ออ้ ยทีเ่ ปน็ โรค นา้ สปอร์

มาละลายนา้ สะอาดและปรบั ความเข้มขน้ ใหเ้ ท่ากบั 5 x 106

3. ตัดท่อนพันธ์ุอ้อยขนาด 2 ตา พันธุ์ละ 72 ท่อน แชใ่ นถังสารละลายสปอร์ของเช้ือราท่ีเตรียมไว้
นาน 30 นาที จากนัน้ ยกท่อนพันธ์ุออกจากถังแล้วบม่ เช้ือท้ิงไว้ 1 คนื ก่อนปลกู

4. นา้ ออ้ ยไปปลกู พร้อมท้งั ให้น้าตามหลงั ปลกู ดูแลรักษาตามปกติ

5. ประเมินปฏกิ ิริยาทุกๆ 1 เดือน ตามวิธขี อง วันทนีย์ และคณะ (2530) หลังการปลูกอ้อย ตัดอ้อย

ท่อี ายุ 10 เดือน และตดิ ตามการเกิดโรคในอ้อยตอ 1
การบันทกึ ข้อมลู

1. บนั ทกึ การเจริญของอ้อย
2. การเกดิ โรคแสด้ า้ ตามวนั ทนยี ์ และคณะ, 2530

% กอเป็นโรค grade ปฏิกิรยิ า

อ้อยปลูก อ้อยตอ

0-3 6 1 R (ต้านทาน)
4-6 7-12
7-9 13-16 2
10-12 17-20
13-25 21-30 3 MR (ต้านทานปานกลาง)
26-35 31-40
36-50 41-60 4
51-75 61-80
76-100 81-100 5

6 MS (ค่อนข้างอ่อนแอ)

7

8 S (ออ่ นแอ)
9

- เวลาและสถานท่ี
ตลุ าคม 2560-กันยายน 2563 ณ ศูนย์วิจยั พชื ไร่สุพรรณบุรี อา้ เภออู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี

153

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
จากการปลูกอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี 2556 ที่ต้องการทราบปฏิกิริยาในแปลงทดลองเมื่อวันที่ 26

มกราคม 2561 จ้านวน 6 โคลน พบว่า ในอ้อยปลูกมี 2 โคลนคือ UT13-269 และ UT12-361 ที่แสดงปฏิกิริยา
ความต้านทานต่อโรค และอ้อยพันธุ์ต้านทานท่ีใช้เป็นพันธ์ุเปรียบเทียบคือ LK92-11 ก็แสดงปฏิกิริยาความ
ต้านทานต่อโรคเช่นเดียวกัน ส่วนโคลน UT13-011 UT13-161 UT13-181 และ UT13-189 แสดงปฏิกิริยาที่
คอ่ นขา้ งอ่อนแอตอ่ โรคเช่นเดยี วกบั พนั ธุ์ Marcos

ในอ้อยตอ 1 พบว่า โคลน UT13-269 และ UT12-361 แสดงปฏิกิริยาความต้านทานปานกลางต่อโรค
ในขณะที่พันธุ์ LK92-11 ก็แสดงปฏิกิริยาความต้านทานต่อโรคเช่นเดียวกัน ส่วนโคลน UT13-01 UT13-181
และ UT13-189 แสดงปฏิกิริยาท่ีค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคเช่นเดียวกับพันธุ์ Marcos ส่วนโคลน UT13-161
ในอ้อยตอ พบวา่ มกี ารแสดงปฏิกิรยิ าอ่อนแอต่อโรค

หลังจากตัดอ้อยท่ีอายุ 10 เดือนแล้ว เป็นที่น่าสังเกตว่า ในอ้อยที่มีการปลูกเช้ือมักมีปฏิกิริยาที่
คอ่ นข้างอ่อนแอต่อโรคแม้ในอ้อยปลูก อาจเนื่องมาจากการผสมพันธุ์ใช้แต่พันธุ์ในกลุ่มเดิมๆ อาจท้าให้อ้อย
อ่อนแอลง ดังน้นั ควรมกี ารนา้ พนั ธอ์ุ ้อยใหม่ๆ เข้ามาเปน็ ค่ผู สม เพื่อเพ่มิ ความตา้ นทานให้มากข้นึ

9. สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
ในอ้อยปลูกจ้านวน 6 โคลนมีเพียง 2 โคลนคือ UT13-269 และ UT12-361 ที่มีความต้านทานต่อโรค

ในอ้อยปลูกและต้านทานต่อโรคปานกลางในอ้อยตอ 1 โดยอ้อยส่วนใหญ่ที่น้ามาทดสอบจะอ่อนแอต่อโรค
ในปจั จุบนั พบวา่ ออ้ ยลูกผสมสว่ นใหญค่ ่อนข้างออ่ นแอต่อโรคตั้งแต่เป็นอ้อยตอ ดังนั้นในการปรับปรุงพันธ์ุอาจ
ตอ้ งพิจารณาน้าอ้อยพนั ธใ์ุ หมๆ่ หรอื พนั ธุ์ทตี่ ้านทานเข้ามาเปน็ พอ่ -แม่พนั ธุ์

10. การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์
ใชเ้ ปน็ ข้อมลู สา้ หรบั นักปรบั ปรุงพันธเ์ุ พื่อนา้ เสนอในการรบั รองพันธ์ุใหม่ และแนะน้าเกษตรกร

ตอ่ ไป

11. คาขอบคณุ (ถา้ มี)
-

154

12. เอกสารอา้ งอิง
วนั ทนีย์ อู่วาณิชย์ อนุสรณ์ กุศลวงศ์ และนิยม จ้ิวจิ้น. 2530. ปฏิกิริยาของอ้อยพันธ์ุต่างๆ ต่อโรคแส้ด้า
และโรคลา้ ตน้ เน่าแดง. วารสารโรคพืช 7 (1): 55-64.
สุนี ศรสี ิงห์ วนั ทนีย์ อวู่ าณิชย์ อนสุ รณ์ กุศลวงศ์ และสอางค์ ไชยรินทร์. 2528. ผลของวิธีการแช่น้าร้อน
เพือ่ กา้ จัดโรคท่สี ้าคญั กบั พนั ธุ์อ้อยท่นี ิยมปลกู ในประเทศไทย. รายงานผลการวิจัย พ.ศ. 2528 กองโรค
พชื และจุลชวี วิทยา กรมวิชาการเกษตร. หน้า 1473 – 1485.
Glaz, B., Ulloa, M.F. and Parroda, R. 1989. Yield effects of sugarcane smut infection in
Florida. Journal American Society of Sugarcane Technologists 9:71-80.
Piepenbring, M.; Stoll, M. & Oberwinkler, F. (2002). The generic position of Ustilago maydis,
Ustilago scitaminea, and Ustilago esculenta (Ustilaginales), Mycological Progress,
Vol.1, No. 1, pp. 71–80.

13. ภาคผนวก

Table 1 Reaction of sugarcane clones series 2013 (plant cane) to smut disease
planted in January 2018.

No. Clone % disease stool grade Reaction

1 UT13-011 18.7 5 MS
2 UT13-161 42.9 7 MS
3 UT13-181 24.3 5 MS
4 UT13-189 41.4 7 MS
5 UT13-269 0.00 1 R
6 UT12-361 2.81 1 R
7 LK92-11 3.70 1 R
8 Marcos 14.8 5 MS

155

Table 2 Reaction of sugarcane clones series 2013 (ratoon cane) to smut disease in
January 2018.

No. Clone % disease stool grade Reaction
1 UT13-011 26.1 5 MS
2 UT13-161 64.7 8 S
3 UT13-181 52.9 7 MS
4 UT13-189 54.7 7 MS
5 UT13-269 7.1 2 MR
6 UT12-361 9.7 2 MR
7 LK92-11 2.6 1 R

8 Marcos 48.1 7 MS

Table 3 Comparison of sugarcane series 2013 reactions in plant cane and ratoon cane

No. Clone % disease stool grade Reaction

1 UT13-011 Plant cane Ratoon cane Plant cane Ratoon cane Plant cane Ratoon cane
2 UT13-161
3 UT13-181 18.7 26.1 55 MS MS
4 UT13-189 42.9 64.7 78 MS S
5 UT13-269 24.3 52.9 57 MS MS
6 UT12-361 41.4 54.7 77 MS MS
7 LK92-11 0.00 7.1 12 R MR
8 Marcos 2.81 9.7 12 R MR
3.70 2.6 11 RR
14.8 48.1 57 MS MS

156

รายงานผลงานเรอื่ งเต็มการทดลองทสี่ น้ิ สดุ

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วจิ ัยและพฒั นาการปรบั ปรุงพนั ธ์อุ ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้าตาล
2. โครงการวจิ ัย 3. วิจยั การปรบั ปรุงพนั ธุ์อ้อยส้าหรบั ชลประทานและมีน้าเสรมิ
1. การปรบั ปรงุ พันธอ์ุ ้อย
กิจกรรม -
กจิ กรรมย่อย (ถา้ มี) 1.36 ศึกษาปฏกิ ริ ยิ าต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยชดุ ปี 2559
3. ช่ือการทดลอง (ภาษาไทย)
ชอื่ การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Study on Red Rot Wilt Disease Reaction of Sugarcane
Series 2016
4. คณะผูด้ าเนินงาน
หัวหน้าการทดลอง อไุ รวรรณ พงษ์พยัคเลิศ ศูนยว์ ิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
ผรู้ ว่ มงาน
ปยิ ธิดา อนิ ทร์สุข ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบุรี
สวุ ัฒน์ พูลพาน ศนู ย์วิจยั พชื ไร่สพุ รรณบรุ ี
นพิษฐา กลดั เงิน ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่สพุ รรณบรุ ี
ศรัณย์รตั น์ สุวรรณพงษ์ ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่สพุ รรณบรุ ี
อาภาพร หนูแดง ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่สพุ รรณบุรี

5. บทคดั ย่อ
โรคเหี่ยวเน่าแดง (Red rot wilt) เป็นโรคอ้อยท่ีส้าคัญในอ้อย มีสาเหตุมาจากเช้ือรา Colletotrichum

falcatum และในสภาพธรรมชาติมักพบเช้ือ F. moniliforme ร่วมด้วย หากมีการระบาดรุนแรงจะท้าให้
ออ้ ยมีอาการแหง้ ตายทั้งแปลง จึงมคี วามจ้าเป็นต้องทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเห่ียวเน่าแดงในโคลนอ้อยดีเด่น
อย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ความต้านทานน้ันยังคงอยู่ในอ้อยพันธ์ุใหม่ และเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร
การศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยชุดปี 2559 ทา้ การทดสอบปฏิกิริยากับโคลนดีเด่น
จ้านวน 37 โคลน/พันธ์ุ โดยมีพันธุ์ LK92-11 (Resistance check) พันธ์ุอู่ทอง 8 และโคลน UT15-189
(Susceptible check) เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ โดยวิธี plug method ประเมินปฏิกิริยาที่ 45 วันหลังการ
ปลูกเช้ือ พบว่า มีปฏิกิริยาต้านทานปานกลาง (MR) จ้านวน 12 โคลน โดยมีระดับความรุนแรงเฉล่ียอยู่
ระหวา่ ง 1.30-2.00 โคลนที่มีปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอ (MS) มีจ้านวน 19 โคลน มีระดับความรุนแรงเฉลี่ย
อยู่ระหว่าง 2.10-3.00 โคลนท่ีมีปฏิกิริยาอ่อนแอ (S) มีจ้านวน 3 โคลน มีระดับความรุนแรงเฉลี่ยอยู่
ระหวา่ ง 2.10-3.00 สว่ นพันธ์ุเปรยี บเทยี บพบวา่ LK92-11 มีปฏกิ ริ ิยาในระดับ MR พนั ธ์ุอู่ทอง 8 มีปฏิกิริยา
ในระดับ MS และโคลน UT15-189 มีปฏิกิริยาในระดับ S และพบว่า มี 4 โคลน ท่ีมีอาการของโรคจาก
อาการลามของเช้ือในล้าน้อยกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบ LK92-11 ได้แก่ โคลน UT16-104 UT16-034 UT16-099
UT16-116 มีระดับความรุนแรงเท่ากับ 1.30 1.60 1.65 1.65 ตามล้าดับ ขณะที่ LK92-11 มีระดับความ
รนุ แรงเท่ากบั 1.70 ปฏิกิรยิ าต่อโรคเห่ียวเนา่ แดงนีจ้ ะถกู น้าไปใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการคัดเลือกพันธุ์ก่อนท่ี

157

จะเข้าสู่ข้ันตอนการเปรียบเทียบมาตรฐาน (Standard yield trial) ในขั้นตอนการปรับปรุงพันธ์ุ เพ่ือให้ได้
พันธุ์ใหม่ที่มีลักษณะทางการเกษตรที่ดีและต้านทานต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง และนอกจากน้ียังใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการรบั รองพนั ธ์ุ และเปน็ ข้อมูลส้าหรับแนะนา้ ใหก้ บั เกษตรกรต่อไป

คาหลกั : เหีย่ วเน่าแดง, โรคออ้ ย, ออ้ ย, Colletotrichum falcatum, Fusarium moniliforme

ABSTRACT
Red rot wilt disease is caused by Collectotrichum falcatum F.A. Went and

Fusarium moniliforme var.subglutinans. Study on disease reaction of sugarcane series 2017
was conducted at Suphan Buri FCRC in 2020. Thirty four clones of sugarcane were planted,
compared with LK92-11 (resistant check) and Uthong 8 and UT15-189 (susceptible check).
They were inoculated by plug method and rating scores were done at 45 days after
inoculation. The result showed that 12 clones were moderately resistant (MR) i.e. UT16-104
TU16-034 UT16-099 UT16-116 UT16-042 UT16-149 UT16-151 UT16-089 UT16-114 UT16-138
UT16-233 and UT16-139. Especially UT16-104 UT16-034 UT16-099 and UT16-116 have rating
scores less than LK92-11.

Key words: Sugarcane, Red rod wilt, Sugarcane disease, Collectotrichum falcatum and
Fusarium moniliforme

6. คานา
โรคเหีย่ วเน่าแดง (Red rot wilt) เป็นโรคที่มีความส้าคัญในอ้อย ซึ่งเคยสร้างความเสียหายให้กับ

เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยอย่างมาก โดยพบการระบาดรุนแรงเม่ือปี 2534 ในอ้อยพันธ์ุอีเหี่ยวซ่ึงเป็นพันธ์ุท่ีนิยม
ปลกู ในขณะน้ัน คดิ เป็นมลู คา่ ความเสียหายประมาณ 60 ล้านบาท (วันทนีย์ และคณะ 2535) โรคเห่ียวเน่าแดง
พบการระบาดครั้งแรกในปี 2526 (วันทนีย์ และอนุสรณ์, 2529) มีสาเหตุมาจากเชื้อรา Colletotrichum
falcatum F.A. Went และ โดยปกติ C. falcatum ท้าให้อ้อยเกิดอาการเน่าแดงที่ล้าต้น และอาการ
เส้นกลางใบแดง ในสภาพธรรมชาติมักพบเชื้อ F. moniliforme ซ่ึงเป็นสาเหตุของอาการเห่ียวร่วมเข้า
ท้าลายด้วยจึงเรยี กว่า โรคเห่ียวเน่าแดง พบได้ในแหล่งปลูกอ้อยทั่วประเทศ มักพบการระบาดรุนแรงในพ้ืนท่ี
ท่ีมคี วามชื้นสงู สภาพดินทีม่ นี ้าขัง รวมท้ังการปลูกอ้อยพันธเ์ุ ดิมติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน (Sharma and
Tamta, 2015) หากมีการระบาดรุนแรงจะทา้ ให้อ้อยมีอาการแห้งตายทั้งแปลง ส่งผลให้ผลผลิตเสียหาย
30-100 เปอร์เซ็นต์ (ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์, 2560) และส่งผลให้ปริมาณน้าตาลลดลง 31-75 เปอร์เซ็นต์
(Munir et al., 1986) เช้ือราสาเหตุของโรคสามารถแพร่ระบาดได้โดยติดไปกับท่อนพันธุ์ เชื้อสามารถมีชีวิต
อย่ไู ด้ในเศษซากออ้ ยและใบอ้อยที่อยู่ในแปลง สปอร์ของเชื้อจะแพร่กระจายไปกับน้าฝน โดยน้าฝนจะชะล้าง
เช้ือลงดินทา้ ใหเ้ กิดการติดเช้ือกบั ทอ่ นพันธ์ุทปี่ ลูกใหม่ได้ เช้ือรา C. falcatum สามารถคงสภาพความมีชีวิต

158

อยู่ในดินได้นาน 1-2 เดือน และเข้าท้าลายอ้อยได้ทางรอยแผลที่เกิดจากหนอน รอยแผลแตกของล้าต้น
และชอ่ งเปิดธรรมชาตเิ ช้ือรา F. moniliforme เป็นเช้ือราทีอ่ ยใู่ นดนิ สามารถเขา้ ทา้ ลายได้ทางรากและโคนตน้

ปัจจุบันพ้ืนที่การระบาดของโรคเหี่ยวเน่าแดงลดลง เน่ืองจากท่ีผ่านมามีการทดสอบความ
ต้านทานในกระบวนการปรับปรุงพันธุ์อย่างต่อเนื่อง ท้าให้อ้อยพันธุ์ใหม่ๆ ท่ีแนะน้าให้เกษตรกรมีความ
ทนทานตอ่ โรคเห่ยี วเน่าแดงในระดบั หนงึ่ (อปั สร และคณะ, 2535) แต่โรคน้ียังถือว่า เป็นโรคท่ีอันตรายมาก
หากมีการระบาดรุนแรงอย่างเช่นในอดีต เน่ืองจากความต้านทานของอ้อยมีความผันแปร ความต้านทาน
อาจจะลดลงได้ (อัปสร และคณะ, 2537) ดังนั้นจึงมีความจ้าเป็นต้องทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเห่ียวเน่าแดง
ในโคลนอ้อยดีเด่นอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ความต้านทานนั้นยังคงอยู่ในอ้อยพันธุ์ใหม่ๆ และเป็นทางเลือก
ใหก้ ับเกษตรกร

งานทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเห่ียวเน่าแดงในอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี 2559
เพื่อใช้เป็นข้อมลู ประกอบการคัดเลือกในกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ เป็นข้อมูลส้าหรับการรับรองพันธ์ุ และ
เป็นข้อมูลส้าหรับแนะน้าเกษตรกรตอ่ ไป

7. วธิ ดี าเนินการ
- อุปกรณ์
1. โคลนออ้ ยที่มีศกั ยภาพในการให้ผลผลิตสูง และต้องการทราบปฏิกริ ยิ า โดยมีพนั ธ์ุ LK92-11
(Resistance check) และพันธ์อุ ู่ทอง 8 (Susceptible check) เป็นพันธเุ์ ปรยี บเทียบ
2. เชื้อรา Colletotruchum falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตุของโรคเห่ียวเน่าแดง
3. อาหารเลย้ี งเชอื้ รา Potato Dextrose Agar (PDA)
4. cork borer
5. กระโจมพลาสติก
6. กระดาษกาว
7. ปากกาเคมี
8. ทรายสะอาด (ผา่ นการอบฆา่ เช้อื แลว้ )
9. แอลกอฮอลล์ 70 เปอรเ์ ซ็นต์
10. เครื่องมืออุปกรณใ์ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารโรคพชื ส้าหรบั แยกเช้ือบรสิ ทุ ธิ์ เชน่ ตปู้ ลอดเชอ้ื
จานเพาะเล้ียงเชอื้ (Petri dish) ตะเกยี งแอลกอฮอล์ เป็นตน้

159

- วธิ ีการ
การศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยชุดปี 2559 ทา้ การทดสอบปฏิกิริยากับ

โคลนดีเด่นชดุ ปี 2559 จ้านวน 34 โคลน โดยมีพันธุ์ LK92-11 เป็นพันธ์ุเปรียบเทียบต้านทาน (R check)
อู่ทอง 8 และ UT15-189 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบอ่อนแอ (S check) รวมท้ังหมด 37 โคลน/พนั ธ์ุ

1. เตรียมอ้อยที่จะทดสอบปฏิกิริยาอายุประมาณ 10 เดือน โคลน/พันธุ์ละ 20 ล้า ตัดอ้อยท่ีโคน
และตัดใบยอดให้เหลือใบเขียวเล็กน้อย (เหลอื ติดประมาณหางปลา)

2. เตรียมเช้ือรา C. falcatum และ F. moniliforme ให้บริสุทธ์ิ อายุประมาณ 14-21 วัน โดยเล้ียง
ขยายปริมาณบนอาหาร PDA ให้เพยี งพอกับออ้ ยทีจ่ ะทดสอบปฏกิ ิรยิ า

3. เตรียมทรายสะอาดส้าหรับปักช้าอ้อย โดยน้าทรายแช่น้าสะอาดทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นล้างด้วย
น้าสะอาด 3 คร้ัง น้าไปตากให้แห้ง น้าไปค่ัวในกระทะที่ร้อนจนแห้งสนิทเพ่ือฆ่าเชื้อและเก็บไว้ในภาชนะ
ทีม่ ีฝาปิด ก่อนการใช้งานน้าทรายทฆ่ี ่าเช้ือแล้วล้างน้าสะอาด 3 คร้ัง และแช่น้าสะอาดไว้ 1 คืนก่อนวันปลูกเชื้อ
เพ่ือใหท้ รายมีความช้นื น้าไปใสใ่ นบล็อกปนู เกี่ยใหท้ ัว่ ใหท้ รายมคี วามสงู ขนึ้ มาประมาณ 5-6 เซนตเิ มตร

4. ปลูกเชื้อด้วยวิธี plug method โดยท้าความสะอาดปล้องอ้อยท่ีจะปลูกเชื้อ ประมาณปล้องที่ 5
นับจากโคนข้ึนมา เช็ดด้วยแอลกอฮอล 70 เปอร์เซ็นต์ เจาะด้วย cork borer ใส่เชื้อทั้งสองชนิดลง
ไปปิดแผลด้วยกระดาษกาว จากนั้นน้าอ้อยไปปักในกระบะทรายที่เตรียมไว้ และคลุมอ้อยที่ปลูก
เชื้อแล้วด้วยพลาสติกให้มิดชิดทุกด้าน เพื่อทา้ เป็นกระโจมเก็บความช้ืน

5. ใหน้ า้ เชา้ -เยน็ เพือ่ รักษาความชืน้
6. ประเมินปฏิกิริยา โดยผ่าอ้อยตามความยาวล้าหลังการปลูกเชื้อประมาณ 6-8 สัปดาห์ ให้คะแนน
การลามภายในล้าอ้อยตามวิธขี องอปั สร (2535)

บันทกึ การเจรญิ ของออ้ ยและการเกิดโรคตาม อปั สร และคณะ (2535)
อาการทีแ่ สดงภายนอก

ระดบั ที่ 1 หลงั ปลูกเชอื้ 2 เดือน อ้อยยังมอี าการปกติ
ระดบั ท่ี 2 หลงั จากปลกู เชื้อ 2 เดือน ออ้ ยเริ่มแสดงอาการเหลือง
ระดบั ท่ี 3 หลงั จากปลูกเชื้อแล้ว 1 เดือน อ้อยเร่มิ เหลอื ง และยอดแห้งภายใน 2 เดือน
ระดับท่ี 4 หลงั จากปลูกเช้อื แล้ว 1 เดอื น ออ้ ยเหลอื ง และแหง้ ตายภายใน 1 เดอื น
ระดบั ความรุนแรงของโรควดั จากการลามของเชื้อในลา้ อ้อย
ระดับที่ 1 แผลไมข่ ยายเกนิ ปล้องท่ีปลูกเช้ือ
ระดบั ท่ี 2 แผลลามขา้ มไป 2-3 ปล้อง
ระดับที่ 3 แผลลามขา้ มไป 4-5 ปลอ้ ง
ระดบั ท่ี 4 แผลลามเกิน 5 ปลอ้ งถงึ เกือบทงั้ ลา้ แต่ไม่เน่ากลวง
ระดับท่ี 5 เนา่ กลวงท้งั ล้า

160

อาการภายนอก RATING SYSTEM ปฏกิ ริ ยิ า
1 อาการลามของเช้ือในลา R (ตา้ นทาน)
1 MR (ตา้ นทานปานกลาง)
2 1 MS (ค่อนข้างอ่อนแอ)
3 2 S (ออ่ นแอ)
4 2-3 HS (อ่อนแอมาก)
3-4
4-5

- เวลาและสถานท่ี
เร่มิ ตน้ ตุลาคม 2562 สน้ิ สุด กันยายน 2563 (1 ปี)
ดา้ เนินการที่ ศูนยว์ ิจยั พชื ไร่สุพรรณบุรี ต้าบลจรเขส้ ามพัน อ้าเภออทู่ อง จังหวดั สุพรรณบุรี

8. ผลการทดลองและวิจารณ์
การทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงในโคลนอ้อยชุดปี 2559 จ้านวน 34 โคลน โดยมีพันธ์ุ

LK92-11 เปน็ พนั ธุ์เปรยี บเทยี บต้านทาน (R check) อู่ทอง 8 และ UT15-189 เป็นโคลน/พันธ์ุเปรียบเทียบ
ความออ่ นแอ (S check) ไดด้ า้ เนินการทดสอบปฏิกิรยิ าโดยการปลกู เชือ้ ด้วยวิธี plug method และท้าการ
ประเมินผลการทดสอบเม่ือครบก้าหนด 45 วันหลังการปลูกเช้ือ พบว่า มี 12 โคลนท่ีมีปฏิกิริยาต้านทาน
ปานกลาง (MR) ได้แก่ UT16-104 TU16-034 UT16-099 UT16-116 UT16-042 UT16-149 UT16-151
UT16-089 UT16-114 UT16-138 UT16-233 UT16-139 โดยมีระดับความรุนแรงเฉลี่ยอยู่ระหว่าง
1.30-2.00 โคลนที่มีปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอ (MS) มีจ้านวน 19 โคลน ได้แก่ UT16-002 UT16-024
UT16-052 UT16-053 UT16-063 UT16-066 UT16-068 UT16-076 UT16-080 UT16-083 UT16-091
UT16-122 UT16-133 UT16-143 UT16-145 UT16-166 UT16-183 UT16-185 UT16-212 มีระดับ
ความรุนแรงเฉลย่ี อยรู่ ะหว่าง 2.10-3.00 โคลนทีม่ ปี ฏกิ ริ ิยาอ่อนแอ (S) มีจ้านวน 3 โคลน ได้แก่ UT16-060
UT16-081 UT16-195 มีระดับความรุนแรงเฉล่ียอยู่ระหว่าง 2.10-3.00 ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบ พบว่า
LK92-11 มีปฏิกิริยาในระดับต้านทานปานกลาง พันธ์ุอู่ทอง 8 มีปฏิกิริยาในระดับค่อนข้างอ่อนแอ และ
โคลน UT15-189 ทีเ่ พ่ิมเป็นโคลนเปรยี บเทียบมีปฏิกิริยาในระดับอ่อนแอ (Table 1) และพบว่า มี 4 โคลน
ท่มี อี าการของโรคจากอาการลามของเช้อื ในล้าน้อยกว่าพันธุ์ LK92-11 ได้แก่ โคลน UT16-104 UT16-034
UT16-099 UT16-116 มีระดบั ความรนุ แรงเทา่ กับ 1.30 1.60 1.65 1.65 ตามล้าดับ ขณะท่ี LK92-11 มีระดับ
ความรุนแรงเท่ากบั 1.70 (Charts 1)

161

Table 1 Reaction of sugarcane clones series 2016 to red rot wilt disease.

No. Clone/Variety Rating (Internal) Reaction

1 UT16-002 2.65 MS
2 UT16-024 2.33 MS
3 UT16-034 1.60 MR
4 UT16-042 1.79 MR
5 UT16-052 2.80 MS
6 UT16-053 2.42 MS
7 UT16-060 3.11 S
8 UT16-063 2.55 MS
9 UT16-066 2.40 MS
10 UT16-068 2.70 MS
11 UT16-076 2.90 MS
12 UT16-080 2.55 MS
13 UT16-081 3.35 S
14 UT16-083 2.30 MS
15 UT16-089 1.85 MR
16 UT16-091 2.05 MS
17 UT16-099 1.65 MR
18 UT16-104 1.30 MR
19 UT16-114 1.90 MR
20 UT16-116 1.65 MR
21 UT16-122 2.15 MS
22 UT16-133 3.00 MS
23 UT16-138 1.90 MR
24 UT16-139 2.00 MR
25 UT16-143 3.00 MS
26 UT16-145 2.15 MS
27 UT16-149 1.80 MR
28 UT16-151 1.84 MR
29 UT16-166 2.20 MS
30 UT16-183 2.40 MS
31 UT16-185 2.60 MS
32 UT16-195 3.45 S
33 UT16-212 2.55 MS
34 UT16-233 1.95 MR
35 LK92-11 (R check) 1.70 MR
36 UT8 (S check) 2.70 MS
37 UT15-189 (S check) 3.30 S

หมายเหต:ุ R = ต้านทาน MR = ต้านทานปานกลาง MS = ค่อนขา้ งออ่ นแอ
S = ออ่ นแอ HS = ออ่ นแอมาก

162
Charts 1: Rating score (Internal) of sugarcane clones series 2016 to red rot wilt disease.

Figure 1 Reaction of 12 sugarcane clones showed moderately resistant (MR) to red rot wilt
disease.

163

9. สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
ผลการทดลองจากการทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยชุดปี 2559 โคลน

UT16-104 UT16-034 UT16-099 UT16-116 สามารถแนะนา้ เพอ่ื เป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรได้หากมี
การระบาดของโรคเห่ียวเน่าแดง เน่ืองจากมีความต้านทานระดับปานกลางและมีระดับความรุนแรงของ
โรคนอ้ ยกวา่ พันธ์เุ ปรียบเทียบตา้ นทาน LK92-11
10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์

การศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงชุดปี 2559 เป็นการทดสอบปฏิกิริยาในอ้อยที่ผ่านการ
เปรียบเทียบเบื้องต้น (Preliminary Yield Trial : PYT) ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในการปรับปรุงพันธุ์อ้อย
ข้อมูลท่ีได้จากการทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงน้ีจะถูกน้าไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการคัดเลือกพันธ์ุ
ก่อนที่จะเข้าสู่ขั้นตอนการเปรียบเทียบมาตรฐาน (Standard Yield Trial) ในขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์
เพ่อื ใหไ้ ดพ้ ันธ์ใุ หม่ทมี่ ีลกั ษณะทางการเกษตรท่ดี ีและตา้ นทานต่อโรคเหยี่ วเนา่ แดง และนอกจากนี้ยังใช้เป็น
ข้อมูลประกอบการรบั รองพันธุ์ และเปน็ ข้อมูลสา้ หรับแนะน้าให้กบั เกษตรกรต่อไป
11. คาขอบคณุ (ถา้ มี)

ขอขอบคุณ ผอู้ ้านวยการศนู ย์วจิ ัยพืชไร่สุพรรณบุรี บุคลากรของศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรส่ ุพรรณบุรที ุกท่าน
ฝา่ ยไรท่ ่เี ป็นแรงงานและกา้ ลังสา้ คัญทีช่ ่วยให้งานวจิ ยั สา้ เรจ็ ลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี บคุ ลากรห้องคอมพิวเตอร์ที่
ช่วยวเิ คราะห์ขอ้ มูล ธรุ การ การเงนิ และพสั ดทุ ช่ี ่วยอ้านวยความสะดวกในเร่ืองการเบกิ จ่าย
12. เอกสารอา้ งองิ
วนั ทนีย์ อ่วู าณชิ ย์ อัปสร เปลยี่ นสินไชย และสนุ ี ศรีสงิ ห์. 2535. โรคเหีย่ วเน่าแดงระบาดในเขตปลูกอ้อย

ภาคตะวันออกและภาคกลาง. กสิกร 65(1) : 42-44.
วนั ทนยี ์ อู่วานชิ ย์ และ อนสุ รณ์ กุศลวงศ.์ 2529. โรคล้าตน้ เนา่ แดงของอ้อย. 1 กสกิ ร 59(3): 237-239.
ศูนย์วจิ ัยพืชไร่นครสวรรค์. 2560. โรคเหย่ี วเน่าแดง. จดหมายข่าวศูนยว์ ิจัยพชื ไรน่ ครสวรรค์. ศูนย์วจิ ัยพืชไร่

นครสวรรค์ สถาบนั วิจยั พชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร. กรุงเทพฯ.
อัปสร เปลย่ี นสินไชย อดุ ม เลียบวัน วันทนา ต้ังเปรมศรี และวันทนีย์ อู่วาณิชย์. 2535. การทดสอบปฏิกิริยา

ของสายพันธ์ุอ้อยต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง. รายงานผลงานวิจัยประจ้าปี 2535 ศูนย์วิจัยพืชไร่
สพุ รรณบุรี สถาบนั วิจัยพชื ไร่ กรมวชิ าการเกษตร หน้า 9-21.
อปั สร เปล่ยี นสินไชย อุดม เลยี บวนั นพิ นธ์ เอีย่ มสุภาษติ ประชา ถ้าทอง ฐิตกิ านต์ ธนวรรณ. 2537.
การทดสอบปฏกิ ิริยาของอ้อยตอ่ โรคเหย่ี วเนา่ แดง. รายงานผลวิจยั ออ้ ยประจ้าปี 2537. ศูนยว์ ิจัย
พชื ไร่สพุ รรณบุรี สถาบนั วจิ ัยพชื ไร่ กรมวิชาการเกษตร หนา้ 90-105.
Munir, A., A. Roshan, and S.D. Fasihi. 1986. Effect of different infection levels of red rot of
sugarcane on cane weight and juice quality. Journal of Agric Res. 24:129-131.
Sharma, R. and S. Tama. 2015. A review on red rot: The “cancer” of sugarcane. J. Plant
Pathol Microbiol S1:003.
13. ภาคผนวก
-

164

รายงานผลงานเร่อื งเตม็ การทดลองท่สี ิ้นสุด

------------------------

1. แผนงานวิจัย 1. วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลติ อ้อย

2. โครงการวจิ ัย 4. วจิ ัยการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ออ้ ยโดยการจัดการน้า ธาตอุ าหาร

และการใช้พันธท์ุ เี่ หมาะสมกับพ้นื ที่

กิจกรรม 2. ศึกษาความตอ้ งการน้าและธาตุอาหารของอ้อย

กิจกรรมยอ่ ย (ถา้ ม)ี -

3. ชื่อการทดลอง (ภาษาไทย) 2.1 ศึกษาค่าสมั ประสิทธิก์ ารใช้น้าของอ้อยพันธุ์ใหม่ของกรมวิชาการเกษตร

: เขตชลประทาน

ชอ่ื การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Study the Kc Values of Uthong 12 Sugarcane Variety

4. คณะผูด้ าเนนิ งาน

หัวหน้าการทดลอง สุมาลี โพธ์ทิ อง ศูนยว์ ิจยั พืชไรส่ ุพรรณบรุ ี

ผ้รู ว่ มงาน ศภุ กาญจน์ ล้วนมณี กองวจิ ยั พฒั นาปจั จัยการผลติ ทางการเกษตร

ชยันต์ ภักดีไทย ศนู ยว์ ิจัยพชื ไร่ขอนแก่น

กาญจนา พูลเจริญ ศนู ย์วิจัยพืชไรส่ ุพรรณบุรี

นนั ทวัน มีศรี ศูนย์วิจัยพชื ไร่สพุ รรณบุรี

5. บทคัดยอ่

ศกึ ษาค่าสมั ประสิทธ์ิการใช้น้า (Kc) ของอ้อยพันธุ์อู่ทอง 12 ในชุดดินก้าแพงแสน ณ แปลงเกษตรกร

จังหวดั สุพรรณบรุ ี ต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2562 วางแผนทดลองแบบ Randomized

Complete Block จ้านวน 4 ซ้า ประกอบด้วย การให้น้า 5 ระดับ 1) อาศัยน้าฝน 2) ให้น้าเสริม 12.5%

ของความจุความช้ืนท่ีเป็นประโยชน์สูงสุด (AWC) 3) ให้น้าเสริม 25.0% ของ AWC 4) ให้น้าเสริม 37.5% ของ

AWC และ 5) ให้น้าเสริม 50.0% ของ AWC ทุกกรรมวิธีใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตรา 12-3-6 N-P2O5-K2O

กิโลกรัมต่อไร่ พิจารณาการให้น้าตามกรรมวิธี โดยวัดปริมาณความช้ืนดินก่อนการให้น้าทุกครั้ง ท้าการทดลอง

ในออ้ ยปลกู และอ้อยตอ 1 ผลการทดลอง พบวา่ อ้อยปลกู ให้ผลผลิตเฉล่ีย 17.32-19.60 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกัน

ทางสถิติ โดยการใหน้ ้าที่ 37.5% ของ AWC มแี นวโนม้ ให้ผลผลิตสูงสุด 19.60 ตันต่อไร่ และพบว่า อ้อยตอ 1

ให้ผลผลิตเฉลี่ย 18.49-20.95 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยการให้น้าที่ 50% ของ AWC มีแนวโน้ม

ให้ผลผลิตสูงสุด 20.95 ตันต่อไร่ ปีที่ท้าการทดลองทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอการกระจายตัวของฝนไม่ดี

มีปริมาณน้าฝนสะสมมากเกินไปในแต่ละระยะการเจริญเติบโต ท้าให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลความช้ืนและ

ค้านวณปรมิ าณน้าทอี่ ้อยไดร้ บั จงึ ไม่สามารถนา้ ข้อมลู มาค้านวณค่าสมั ประสทิ ธ์กิ ารใชน้ ้าได้

คาสาคัญ : พันธ์อุ ทู่ อง 12 ค่าสัมประสทิ ธิ์การใช้นา้ ความต้องการน้า อ้อยปลกู อ้อยตอ

165

ABSTRACT
The water requirement for plant cane and ratoon cane of Utong 12 sugarcane

variety was conducted on Kamphaeng Saen soil series : Ks at farmers’ fields in Suphan Buri
province during February, 2018 to December, 2019. Experimental design was RCB with 3
replications. Treatments consisted of 1) No water application (rainfed condition as control)
2) Supplemental water by drip irrigation as 12.5% of available water capacity (AWC) level
3) Supplemental water as 25.0% of AWC 4) Supplemental water as 37.5% of AWC and 5)
Supplemental water as 50.0% of AWC. Fertilizer was applied based on recommended rate
of 12-3-6 kg N-P2O5-K2O/rai. The results showed that yield did not differ significantly both
in plant cane and ratoon cane. Though 37.5% AWC Treatment tended to give the highest
yield for plant cane (19.60 t/rai) and 50% AWC Treatment gave the highest yield for
ratoon cane (20.95 t/rai). Because there was too much rainfall in each growth phase. It
was difficult to record soil moisture and calculate crop water uptakes weekly. Therefore,
the data could not be used to calculate the coefficient of water consumption.

Key words : Uthong 12 sugarcane variety, Kc value, water requirement, Plant cane,
Ratoon cane

6. คานา
อ้อยเป็นพืชไร่เศรษฐกิจที่มีความส้าคัญของประเทศไทย นอกจากใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับการผลิต

น้าตาลแล้ว ยังมีศักยภาพในการผลิตเอทานอลทั้งในรูปกากน้าตาลและมวลชีวภาพเพ่ือใช้เป็นพลังงาน
ทดแทนในปีการผลิต 2562/63 ไทยมีพื้นที่ปลูกอ้อย 11.96 ล้านไร่ (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาล,
2563) มีโรงงานน้าตาลตั้งอยู่ 58 โรงงานท่ัวประเทศและมีความต้องการผลผลิตอ้อยเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง
แต่ศักยภาพการผลิตอ้อยในภาพรวมของประเทศค่อนข้างต้่ามีผลผลิตเฉล่ียเพียง 7.09 ตันต่อไร่ เน่ืองจาก
พื้นที่ปลูก 80% อยู่ในเขตอาศัยน้าฝน น้าจึงเป็นปัจจัยส้าคัญในการให้ผลผลิตอ้อย หากพิจารณาศักยภาพ
การผลิตอ้อยจะพบว่า ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยหลักคือ พันธุ์และสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมนั้น
มอี ิทธพิ ลตอ่ การให้ผลผลิตของอ้อยปลูกถึง 74 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าปัจจัยด้านพันธุ์ ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการให้ผลผลิต
เพียง 10 เปอร์เซ็นต์ (กอบเกียรติ, 2556) ส้าหรับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม น้าจะมีความส้าคัญต่อการผลิต
อ้อยมากท่ีสุด อ้อยต้องการน้าเพ่ือการเจริญเติบโตตลอดปีประมาณ 1,200-1,500 มิลลิเมตร การกระจาย
สม้่าเสมอในช่วงอ้อยอายุ 1-8 เดือน แต่พ้ืนท่ีปลูกอ้อยของไทยส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาศัยน้าฝน จึงมีความ
แปรปรวนในเร่ืองผลผลิตสูง เนื่องจากความไม่แน่นอนของปริมาณและการกระจายตัวของน้าฝน อ้อยมัก
ขาดนา้ ในช่วงวกิ ฤติของการเจรญิ เติบโต Robison (1963) และ Koehler et al., (1982) รายงานว่า การขาด
น้าท้าให้อ้อยลดการสร้างใบและยืดปล้อง หากมีการขาดน้าในช่วงย่างปล้อง (stem elongation) จะท้าให้
ความยาวล้าลดลงถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ท้าให้ผลผลิตต่้าและไม่สามารถไว้ตอได้ ดังนั้นแนวทางท่ีจะพัฒนา
ผลผลิตอ้อยให้สูงและเพิ่มความสามารถในการไว้ตอ ดังน้ันการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตอ้อยจ้าเป็นต้องมี
การบรหิ ารจัดการน้าอย่างเหมาะสม ตรงตามความต้องการน้าของอ้อย ซ่ึงแตกต่างกันตามชนิดของพันธุ์ ระยะ

166

การเจริญเติบโต ชนิดดิน และสภาพภูมิอากาศ จึงได้ศึกษาความต้องการน้าของอ้อยพันธ์ุอู่ทอง 12 เพ่ือหาค่า
สัมประสทิ ธิ์การใชน้ ้าของอ้อย

7. วิธีดาเนนิ การ:
- อปุ กรณ์
- ทอ่ นพนั ธอ์ุ อ้ ย พันธ์ุอู่ทอง 12
- อุปกรณ์การใหน้ า้ หยด ไดแ้ ก่ ท่อนา้ หยดพอี ี สายนา้ หยด หัวน้าหยด ปัม๊ นา้
- ปุ๋ยเคมเี กรด 46-0-0 18-46-0 0-46-0 0-0-60 และ 15-15-15
- อปุ กรณว์ ัดคุณภาพความหวาน (Hand refractometer)
- Vernier Caliper ส้าหรับใช้วดั เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางล้า
- ไม้วัดความสงู
- ชุดเก็บตัวอย่างดินและสว่านเก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างดิน (undisturbed core
sampler) ชดุ ตอกสแตนเลสที่ใชค้ กู่ บั กระบอกสแตนเลสเก็บตัวอย่างดิน ท่อเจาะดินสแตนเลสยาว
1 เมตร ค้อนทองแดง
- วิธกี าร
แผนการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block จา้ นวน 4 ซา้ 5 กรรมวิธี
1) อาศยั นา้ ฝน
2) ใหน้ า้ 12.5% ของความจุความชื้นที่เปน็ ประโยชนส์ งู สดุ (AWC)
3) ให้น้า 25.0% ของความจคุ วามชืน้ ท่เี ป็นประโยชนส์ ูงสดุ (AWC)
4) ให้นา้ 37.5% ของความจคุ วามชน้ื ท่เี ปน็ ประโยชนส์ งู สุด (AWC)
5) ให้นา้ 50.0% ของความจคุ วามช้นื ที่เป็นประโยชนส์ ูงสุด (AWC)
หมายเหตุ ค้านวณปริมาณความชื้นดินท่ีระดับความลึก 100 เซนติเมตร ส้าหรับวิธีการให้น้า ใช้ระบบ
น้าหยด เกบ็ ตวั อย่างดินเพ่ือค้านวณความชื้นดินท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืชก่อนให้น้าตามกรรมวิธี
ทุก 7 วัน และมแี ปลงเปรียบเทียบซ่งึ ไม่ปลูกออ้ ยและไม่ให้น้า

วธิ ีปฏบิ ตั ิการทดลอง
1) คัดเลือกพ้ืนที่ท้าการทดลองในชุดดินก้าแพงแสนซ่ึงเป็นตัวแทนพื้นท่ีปลูกอ้อยท่ีส้าคัญของ

จังหวัดกาญจนบรุ ี
2) วิเคราะห์ลักษณะหน้าตัดดิน ได้แก่ ความลึกของหน้าตัดดิน ความหนาของชั้นดิน ความ

หนาแน่นรวมของดิน เน้ือดิน และอัตราการแทรกซึมน้า ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน อินทรียวัตถุ
ฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซยี มท่แี ลกเปลย่ี นได้

3) รวบรวมข้อมูลภูมิอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ในพ้ืนที่ท้าการทดลองอย่างน้อย 20 ปี
ย้อนหลัง เชน่ อุณหภมู ิสูงสุด-ตา้่ สดุ ปริมาณน้าฝน และพิกัดที่ต้งั ของสถานีอตุ นุ ยิ มวทิ ยา

167

4) ปลูกอ้อยให้มีขนาดของแปลงย่อย 11.7 x 9 เมตร ระยะปลูก 1.3 x 0.50 เมตร ในแต่ละ
แปลงย่อยมี 9 แถว แต่ละแถวยาว 9 เมตร ใช้พ้ืนที่เก็บเก่ียว 35.1 ตารางเมตร (3 แถวๆ ยาว 9 เมตร)
ใส่ปยุ๋ รองพน้ื ก่อนปลกู ดว้ ยปยุ๋ ไนโตรเจนครง่ึ อตั ราของกรรมวิธีท่ีก้าหนด สว่ นปุ๋ยฟอสเฟต และปุ๋ยโพแทช
ใส่เต็มอัตราท่ีก้าหนด และใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 เม่ืออ้อยอายุ 3 เดือน ด้วยปุ๋ยไนโตรเจนอีกครึ่งอัตราที่ก้าหนด
ใช้วธิ ีการให้น้าแบบหยด ในกรรมวิธีที่มีการให้น้า เก็บตัวอย่างดิน ภายในระดับความลึก 1 เมตร ตามความ
หนาของชัน้ หน้าดินทุก 7 วนั เพ่ือนา้ มาวเิ คราะห์ความชน้ื ของดนิ กอ่ นการใหน้ ้า

การบันทกึ ขอ้ มูล
1) บันทึกเปอร์เซ็นต์ความงอก และข้อมูลการเจริญเติบโต ได้แก่ ความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางล้า

จา้ นวนล้าต่อกอ เม่อื อ้อยอายุ 6 9 และ 12 เดือน
2) บนั ทกึ ขอ้ มูลผลผลติ และองค์ประกอบผลผลิต ได้แก่ ความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางล้า น้าหนักล้า

เฉล่ยี จ้านวนล้าตอ่ กอจ้านวนกอตอ่ พ้ืนทเี่ ก็บเกย่ี ว น้าหนกั ล้าตอ่ พืน้ ทเ่ี ก็บเกยี่ วและความหวาน (CCS)
3) บนั ทึกข้อมลู สภาพภมู ิอากาศตลอดฤดปู ลูก เช่น ปรมิ าณน้าฝน อณุ หภมู สิ ูงสุด-ต้่าสดุ
4) บนั ทึกข้อมลู ปรมิ าณความชนื้ ในดนิ และปริมาณนา้ ที่ใหใ้ นแต่ละครัง้ ทุกๆ 7 วันตลอดฤดปู ลกู
5) วเิ คราะห์ความแปรปรวนทางสถติ ิ (Analysis of variance) เปรียบเทยี บการใชน้ ้าในปริมาณตา่ งๆ
6) สรปุ ค่าสัมประสิทธกิ์ ารใชน้ า้ ของอ้อยพนั ธ์ุอทู่ อง 12 ในเขตชลประทาน

- เวลาและสถานที่
กุมภาพันธ์ 2561–ธันวาคม 2562 ไรเ่ กษตรกรตา้ บลสระยายโสม อา้ เภออู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบุรี

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
สภาพภูมิอากาศในพ้นื ท่ีแปลงทดลอง
จากการรวบรวมสภาพภูมิอากาศย้อนหลัง 12 ปี (ปี 2548-2560) ในพื้นท่ีทดลอง พบปริมาณน้าฝน
เฉล่ียเท่ากับ 980 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิเฉล่ีย 28 องศาเซลเซียส และพบว่า ตั้งแต่ปลูกอ้อย (20 กุมภาพันธ์
2561) จนกระทั่งเก็บเก่ียวอ้อยปลกู (6 มกราคม 2562) มีฝนตก 118 วัน ปริมาณน้าฝนรวม 878.80 มิลลิเมตร
ส้าหรับในอ้อยตอ 1 ตลอดระยะการเจริญเติบโตจนกระทั่งเก็บเกี่ยว (7 มกราคม-30 ธันวาคม 2562) มีวันฝนตก
82 วัน และมปี รมิ าณนา้ ฝนรวม 661.5 มลิ ลิเมตร

คณุ สมบตั ิของดินในพน้ื ทที่ ดลอง
พ้ืนที่ทดลองเป็นตัวแทนพ้ืนท่ีปลูกอ้อยของสุพรรณบุรีในชุดดินก้าแพงแสน จากการวิเคราะห์

ลักษณะหน้าตัดดิน สามารถแบ่งชนั้ หนา้ ตัดดนิ ออกเป็น 4 ช้ัน เนื้อดินช้ันบน (0-23 เซนติเมตร) และชั้นล่าง
(45-100 เซนติเมตร) เป็นดินเหนียวส่วนที่ความลึก 23-45 เซนติเมตร เน้ือดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินช้ันบนมี
ความหนาแน่นเทา่ กบั 1.16 กรมั ตอ่ เซนติเมตร3 ส่วนที่ระดับความลึก 23-100 เซนติเมตร มีความหนาแน่น
รวมอยู่ระหว่าง 1.60-1.62 กรัมต่อเซนติเมตร3 มีอัตราการซึมผ่านของน้า (Saturated Soil Hydraulic
Conductivity : K-Sat) ในดนิ ช้นั บนเท่ากับ 10 เซนติเมตรต่อช่ัวโมง ซ่ึงสูงกว่าดินชั้นล่างท่ีมีค่าอัตราการซึมผ่าน
ของนา้ อยรู่ ะหว่าง 3.66-5.35 เซนติเมตรตอ่ ชัว่ โมง ส่วนค่าความจุความช้ืนที่เป็นประโยชน์ของพืช (AWC) ของ
ดินชั้นบนมีค่าเท่ากับ 3.61 มิลลิเมตร และ 1.94 -2.12 มิลลิเมตร ในดินช้ันล่าง (Table 1) ผลวิเคราะห์ดิน
ทางเคมี พบว่า ดินมีความเป็นกรด-ด่างเฉล่ีย 6.4 มีค่าอินทรียวัตถุเท่ากับ 1.83 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงถือว่า ค่อนข้างสูง

168

มีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทชเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ตกค้างอยู่ในดินในปริมาณที่สูงมากเท่ากับ
152 และ 204 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล้าดับ (Table 2) ในทุกกรรมวิธีได้ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน
เท่ากบั 12-3-6 N-P2O5-K2O กโิ ลกรัมต่อไร่

ผลผลติ และองคป์ ระกอบผลผลิตในอ้อยปลูก (ปี 2561/2562)
หลังปลูกอ้อยจนกระทั่งอ้อยอายุ 3 เดือน (กุมภาพันธุ์-พฤษภาคม) มีปริมาณน้าฝนมากถึง 333

มิลลิเมตร และในช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ซึ่งอ้อยอายุ 6-8 เดือน มีฝนตกอย่างต่อเน่ืองและตกในปริมาณมาก
(Figures 1) ท้าให้น้าทว่ มขงั แปลง ไมส่ ามารถให้น้าตามกรรมวิธที กี่ ้าหนดได้ จึงท้าให้ผลผลิตและองค์ประกอบ
ผลผลิตของการให้น้าแต่ละกรรมวิธีไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยให้ผลผลิตเฉล่ียอยู่ระหว่าง 17.32-19.60
ตันตอ่ ไร่ มีความยาวล้าอยู่ระหว่าง 301-317 เซนติเมตร และให้จ้านวนล้าต่อไร่เฉล่ียที่ 10,154-10,838 ล้าต่อไร่
แตใ่ ห้คา่ ซีซเี อสแตกตา่ งกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยการให้น้าท่ีระดับ 50% ของ AWC ให้ค่าซีซีเอสต่้า
ท่ีสุด คือ 10.98 แต่ไม่แตกต่างจากการให้น้าที่ระดับ 25% ของ AWC ส่วนด้านผลผลิตน้าตาลไม่พบความ
แตกต่างทางสถติ ิ (Table 3) โดยการใหผ้ ลผลติ (y) มีความสมั พนั ธ์กับระดับการใหน้ ้า (x) ตามสมการ

y = 0.18x2 - 0.66x + 18.344 มีค่า R2 =0.5691 (Figures 3)

ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตในอ้อยตอ 1 (ปี 2562/2563)
การให้น้าในระดับต่างๆ ไม่ท้าให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตแตกต่างกันทางสถิติ เนื่องจาก

ในช่วงอ้อยตออายุ 3-4 เดือน (พฤษภาคม-มิถุนายน) มีปริมาณน้าฝนสะสมมากถึง 325.10 มิลลิเมตร และ
ตกต่อเน่อื งมาในเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ในช่วงท่ีอ้อยอายุ 5-8 เดือน (Figures 2) จึงท้าให้น้าท่วมขังแปลง
ทดลองเป็นเวลานาน และระบายน้าออกจากแปลงได้ยากเนื่องจากแปลงต้ังอยู่ในที่ลุ่ม จึงไม่สามารถให้
น้าตามกรรมวิธีที่ก้าหนดได้ ส่งผลให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของอ้อยตอไม่แตกต่างกันทางสถิติ
โดยมีผลผลิตเฉล่ียอยู่ระหว่าง 18.49-20.95 ตันต่อไร่ มีจ้านวนล้าต่อไร่เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 12,563 -13,213
ล้าต่อไร่ ความยาวล้าเฉลี่ยอยู่ท่ี 297-327 เซนติเมตร มีค่าซีซีเอสเฉลี่ยระหว่าง 11.53-12.30 และผลผลิต
น้าตาลเฉลยี่ อยรู่ ะหว่าง 2.24-2.44 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 4) โดยการให้ผลผลิต (y) มีความสัมพันธ์กับระดับ
การให้น้า (x) ตามสมการ

y = 0.1543x2 - 0.5077x + 19.486 มคี า่ R² = 0.4773 (Figures 4)

คา่ สมั ประสิทธ์ิการใชน้ า้ ของอ้อย
เน่ืองจากในปีที่ทดลองท้ังในอ้อยปลูกและอ้อยตอ มีปริมาณน้าฝนมากในแต่ละระยะการ

เจริญเติบโต ท้าให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลความช้ืนและค้านวณปริมาณน้าที่อ้อยได้รับ จึงไม่สามารถน้าข้อมูล
มาค้านวณค่าสัมประสิทธก์ิ ารใชน้ ้าได้

169

9. สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
เน่ืองจากในปีท่ีท้าการทดลอง การกระจายตัวของฝนไม่ดี มีปริมาณน้าฝนสะสมมากเกินไปในบางช่วง

และแปลงทดลองตั้งอยู่ในที่ลุ่ม ล้อมรอบด้วยแปลงนาข้าวท้าให้ไม่สามารถให้น้าได้ตามกรรมวิธีท่ีก้าหนด
จึงไม่สามารถหาสมการการตอบสนองต่อปริมาณการให้น้าในแต่ละกรรมวิธี เพ่ือน้าไปค้านวณสมการค่า
สัมประสิทธ์กิ ารใชน้ า้ (Kc) ของออ้ ยพันธ์ุอทู่ อง 12 ในแตล่ ะระยะการเจริญเติบโตของอ้อยปลูกและอ้อยตอได้
ดังนั้นการศึกษาด้านปริมาณการใช้น้าของพืชจ้าเป็นต้องคัดเลือกพ้ืนที่ทดลองที่สามารถควบคุมปริมาณน้า
จากปัจจัยภายนอกได้ ซ่ึงการทดลองนี้ในเบ้ืองต้นได้คัดเลือกพ้ืนท่ีแล้ว แต่ภายหลังเกษตรกรโดยรอบได้
ปรับเปลย่ี นจากพ้ืนทปี่ ลกู อ้อยเป็นนาขา้ ว เน่ืองจากราคาอ้อยไม่จูงใจ จึงเกิดปัญหาน้าท่วมขังจากการผันน้า
เข้าแปลงนา ซ่ึงได้แก้ปัญหาโดยขุดคูระบายรอบแปลงทดลองแล้วก็ตาม แต่ไม่สามารถควบคุมปริมาณน้า
จากการปลอ่ ยน้าเข้านาข้าวได้

10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
ถึงแม้การทดลองน้ีจะไม่สามารถค้านวณหาค่าสัมประสิทธ์ิการใช้น้าของอ้อยได้ แต่สามารถน้า

ขอ้ มูลปริมาณนา้ ที่ให้ส้าหรับอ้อยปลูกและอ้อยตอไปพิจารณาการให้น้าส้าหรับผลิตอ้อยในพ้ืนท่ีดินร่วนเหนียว
เพ่ือเป็นแนวทางบริหารจดั การนา้ ในไรอ่ ้อยตอ่ ไป

11. คาขอบคณุ (ถ้ามี)
-

12. เอกสารอ้างอิง
กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2556. การเพิ่มผลผลิตอ้อยโรงงานเชิงบูรณาการเพ่ือรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น. กรมวิชาการเกษตร. 74 หน้า

สา้ นักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาล. 2563. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต 2562/63.
78 หน้า

Koehler , G.G., P.H. Moore, C.A. Jones, A. Dela Cruz and A. Maretzki. 1982. Response of
drip-irrigation sugarcane to drought stress. Agron. J. 74 : 906-911.

Robison, F.E. 1963. Soil moisture tension sugarcane stalk elongation and irrigation interval
control. Agron. J. 55: 481-484.

13. ภาคผนวก

170

Table 1 Soil profile characteristics of Kampaengsaen Soil Series at Sra Yai Som Subdistrict,

U-Thong District, Suphan Buri Province.

Soil Depth Texture BD Ksat AWC FC PWP
(cm) (g/cm3) (cm/h) (mm) (mm) (mm)

0-23 Clay 1.16 10.00 3.61 36.16 32.56

23-45 Clay Loam 1.62 4.81 1.94 40.27 38.33

45-71 Clay 1.60 3.66 2.12 41.82 39.70

71-100 Clay 1.60 5.35 2.10 43.67 41.56

BD = bulk density, K-Sat = saturated soil hydraulic conductivity, FC = field capacity, PWP = permanent wilting point.

Table 2 Chemical properties before planting of Kampaengsaen Soil Series at Sra Yai Som

Subdistrict, U-Thong District, Suphan Buri Province.

Soil Depth pH EC (1:5) OM Avai. P Exch. K

(cm) (1:1) (ds/cm) (%) (mg/kg) (mg/kg)

0-20 6.1 0.32 2.31 199 214
20-40 6.6 0.36 1.35 104 194

เฉล่ีย 6.35 0.34 1.83 151.5 204

Table 3 Yield and yield components of plant cane grown on Kampaengsaen Soil Series at
Sra Yai Som Subdistrict, U-Thong District, Suphan Buri Provinceduring 2018/2019
cropping season under different soil moisture regime.

Treatment Stalk No. Stalk Stalk No. Stalk/ yield CCS Sugar
Length Internode/ diameter weight rai (t/rai) Yield
Rainfed (cm) (kg each) 11.55 a (tonCCS/rai)
12.50 % AWC stalk (cm) 10,507 18.15 11.58 a
25.00 % AWC 312 2.03 10,154 17.32 11.34 ab 2.09
37.50 % AWC 306 37 2.92 1.91 10,450 17.54 11.84 a 2.01
50.00 % AWC 301 36 2.94 1.87 10,838 19.60 10.93 b 1.99
Average 312 36 2.93 1.97 10,804 19.11 11.45 2.32
F-test 317 36 2.94 2.05 10,551 18.34 2.15
CV (%) 38 2.99 ns *
310 1.97 ns 13.56 3.06 2.11
37 2.94 4.47
ns ns ns
6.91 ns ns 9.04 13.00
3.51 3.22

Means followed by the same letter in columns and row are not significantly different at 1% level by DMRT

171

Table 4 Yield and yield components of 1st ratoon cane grown on Kampaengsaen Soil Series

at Sra Yai Som Subdistric, U-Thong District, Suphan Buri Provinceduring 2019/2020

cropping season under different soil moisture regime.

Treatment Stalk Stalk Stalk No. No. Yield Sugar
length No. stalk/ diameter weight stalk/ hill/ (t/rai) CCS yield
(cm) hill (cm) (kg each) rai rai
(tonCCS/rai)

Rainfed 297 5 2.90 1.81 12,871 2,383 18.70 12.30 2.30

12.50 % AWC 313 6 2.88 1.93 12,802 2,292 20.24 11.61 2.35

25.00 % AWC 306 5 2.95 1.87 12,563 2,360 18.49 12.10 2.24

37.50 % AWC 305 6 2.93 1.84 13,213 2,348 19.92 11.53 2.30

50.00 % AWC 327 6 2.93 2.12 12,768 2,337 20.95 11.68 2.44

Average 310 6 2.92 1.91 12,843 2,344 19.67 11.84 2.33

F-test ns ns ns ns ns ns ns ns ns

CV (%) 6.47 11.28 3.3 9.93 6.98 3.74 9.49 4.92 8.26

Figure 1 Monthly rainfall during Feb 2018 – Jan 2019 at Sra Yai Som Subdistrict, U-Thong District,
Suphan Buri Province.

172

Amount of rainfall (mm) 191.2

250
200

150 133.9 127

100

67.1 61.3 51.7

50

15.5 12.1
0
0 1.7 0
0

7Jan. Feb. Mar. Apr. May Jun. Jul. Aug. Sep. Oct. Nov. 29

Dec.

Figure 2 Monthly rainfall during 7 Jan.2019 – 29 Dec. 2019 at Sra Yai Som Subdistrict, U-Thong Distric,

Suphan Buri Province.

Plant cane

25

20 19.60 19.11

18.15 17.32 17.54

yield (ton/rai) 15

y = 0.18x2 - 0.66x + 18.344
10 R² = 0.5691

5

0 12.50 % AWC 25 % AWC 37.50 % AWC 50 % AWC
Rainfed

water supplement

Figure 3 Response cave of plant yield under different soil moisture regime at Sra Yai Som Subdistrict,
U-Thong District, Suphan Buri Province during 2018/2019 cropping.

173

Ratoon cane

25

20 20.24 19.92 20.95

18.70 18.49

yield (ton/rai) 15

y = 0.1543x2 - 0.5077x + 19.486
10 R² = 0.4773

5

0 12.50 % AWC 25.00 % AWC 37.50 % AWC 50.00 % AWC
Rainfed

water supplement

Figure 4 Response cave of plant yield under different soil moisture regime at Sra Yai Som Subdistrict,
U-Thong Distric, Suphan Buri Province during 2019/2020 cropping.

174

รายงานผลงานเรอื่ งเตม็ การทดลองที่สนิ้ สุด

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลติ ออ้ ย

2. โครงการวจิ ยั 4. วิจัยการเพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโดยการจัดการน้า ธาตุอาหาร

และการใชพ้ นั ธ์ุท่เี หมาะสมกบั พนื้ ท่ี

กจิ กรรม 2. ศกึ ษาความตอ้ งการน้าและธาตอุ าหารของออ้ ย

กจิ กรรมย่อย (ถา้ ม)ี -

3. ชอ่ื การทดลอง (ภาษาไทย) 2.3 ผลของการให้น้าต่อประสิทธภิ าพการใชป้ ุย๋ ไนโตรเจนของอ้อย

ช่ือการทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Effect of Irrigation on Nitrogen Use Efficiency of Sugarcane

4. คณะผู้ดาเนินงาน

หัวหน้าการทดลอง สมุ าลี โพธิท์ อง ศูนย์วิจัยพืชไรส่ พุ รรณบรุ ี

ผูร้ ่วมงาน ศภุ กาญจน์ ลว้ นมณี กองวจิ ยั พัฒนาปจั จัยการผลิตทางการเกษตร

วาสนา วันดี ศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่สุพรรณบุรี

นันทวัน มีศรี ศนู ยว์ ิจยั พชื ไร่สพุ รรณบรุ ี

5. บทคดั ย่อ

ศกึ ษาผลของการใหน้ า้ ต่อประสิทธภิ าพการใชป้ ุ๋ยไนโตรเจนของอ้อย โดยท้าการทดลองในดินร่วนเหนียว

ชุดดินก้าแพงแสน ณ ไร่เกษตรกร จังหวัดสุพรรณบุรี ต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2562

วางแผนการทดลองแบบ Split plot จา้ นวน 4 ซา้ ปจั จัยหลกั เป็นการให้น้า 3 วิธี ปลูกอ้อยโดยอาศัยน้าฝน

และให้น้าเสริม 100% และ 50% ของความต้องการน้าของอ้อย ปัจจัยรอง เป็นอัตราปุ๋ยไนโตรเจน 5 ระดับ

ได้แก่ 1) ไม่ใสป่ ยุ๋ N 2) ใส่ปุ๋ย N 0.5 เท่าของอัตราแนะน้า 3) ใส่ปุ๋ย N 1.0 เท่าของอัตราแนะน้า 4) ใส่ปุ๋ย

N 1.5 เทา่ ของอัตราแนะนา้ และ 5) ใสป่ ๋ยุ N 2.0 เท่าของอตั ราแนะนา้ ผลการทดลอง พบว่า การให้น้าและปัจจัย

ของอตั ราปุ๋ยไนโตรเจนไมม่ ีปฏิสมั พนั ธ์ต่อการให้ผลผลติ และองคป์ ระกอบผลผลิต โดยการให้น้าไม่ท้าให้ผลผลิต

แตกตา่ งกันทางสถิติ ใหผ้ ลผลิตเฉล่ีย 17.61-20.29 ตันต่อไร่ อ้อยปลูกมีการตอบสนองต่ออัตราปุ๋ยไนโตรเจน

ให้ผลผลิตเฉล่ีย 18-20.38 ตันต่อไร่ แตกต่างจากวิธีการไม่ใส่ปุ๋ยที่ให้ผลผลิต 16.60 ตันต่อไร่ อย่างมีนัย

สา้ คัญย่ิงทางสถิติ การให้น้าที่ 50% ของปริมาณความต้องการน้าของอ้อยหรือปริมาณการใช้น้า 1,361.4

มิลลิเมตรต่อฤดูปลูก โดยมีการใส่ปุ๋ย N ในอัตรา 6 กิโลกรัมต่อไร่ มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเพ่ือ

สร้างผลผลิตสงู สุด 600 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N และพบว่า อ้อยตอ 1 ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน

โดยให้ผลผลิตเฉล่ีย 12.48-17.05 ตันต่อไร่ แตกต่างจากการไม่ใส่ปุ๋ยท่ีให้ผลผลิต 10.22 ตันต่อไร่อย่างมีนัย

ส้าคญั ยงิ่ ทางสถติ ิ โดยการใหน้ ้าท่ี 50% ของปริมาณความตอ้ งการน้าของออ้ ย (1,067.75 มิลลิเมตร) อ้อยมี

ประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเพ่ือสร้างผลผลิตสูงสุด 584 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N เมื่อใช้ปุ๋ย

ไนโตรเจนในอัตรา 15 กิโลกรัมตอ่ ไร่

คาสาคัญ : ไนโตรเจน ประสิทธภิ าพการใชธ้ าตอุ าหาร ความตอ้ งการน้า อ้อยปลูก อ้อยตอ

175

ABSTRACT
The effect of irrigation on nitrogen use efficiency of sugarcane was studied on

Kamphaeng Saen soil series ; Ks at farmers’ fields in Suphan Buri province during February,
2018 to December, 2019. The experiment design was split plots with 4 replications. The main
plots included three levels of supplementary irrigation; rain-fed condition and water
supplemented at 100% and 50% of sugarcane evapotranspiration. The subplots consisted of
five nitrogen fertilizer rates, 0, 6, 12, 18 and 24 kg N per rai for plant cane and 0, 7.5, 15, 22.5
and 30 kg N per rai for ratoon cane. The results showed no interaction between levels of
supplementary irrigation and rate of fertilizer application on sugarcane yield and yield
components. Application of 6 kg N per rai under water supplementary irrigation at 50% of
evapotranspiration has the highest agronomy nitrogen use efficiency (600 kg Yield/kg N
applied) for and cane and fertilizer rates. For the ratoon cane, N applied at 15 kg N per rai
under water supplementary irrigation at 50% of evapotranspiration gave the highest
agronomy nitrogen use efficiency (584 kg Yield/kg N applied).

Key words : Nitrogen, Nutrien use efficiency (NUE), water requirement, Plant cane,
Ratoon cane

6. คานา
น้าเปน็ ปจั จัยทีส่ ้าคญั ในการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ ออ้ ย แตพ่ นื้ ท่ปี ลูกอ้อยของประทศไทยส่วนใหญ่

อยู่ในเขตอาศัยน้าฝน ซ่ึงมีความไม่แน่นอนท้ังด้านปริมาณและการกระจายตัวของฝน ในขณะท่ีแหล่งน้า
ชลประทานมีเพียง 28.36 ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.64 ของพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตร (กรม
ชลประทาน, 2563) ซึ่งไม่เพียงพอแก่ความต้องการ เมื่อเกิดการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศท่ีฝนไม่ตก
ตามฤดูกาล การกระจายตัวของฝนไม่สม้่าเสมอ และเกิดภาวะฝนท้ิงช่วงยาวนานจึงส่งผลกระทบต่อการ
เจรญิ เติบโตและผลผลติ ซง่ึ หากมีการขาดน้าในช่วงย่างปล้อง (stem elongation) จะมีผลท้าให้ความยาวล้า
ลดลงถึง 80 เปอร์เซ็นต์ (Robison, 1963 และ Koehler et al., 1982) นอกจากการขาดแคลนน้าแล้ว
ความอุดมสมบูรณ์ของดินและการจัดการธาตุอาหารท่ีไม่ถูกต้อง ยังเป็นข้อจ้ากัดท่ีส้าคัญอย่างย่ิงในการท้าให้
ผลผลิตอ้อยต่้าและไว้ตอได้น้อย การใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาการใส่ในอัตราที่เหมาะสม
และสอดคล้องกบั ปรมิ าณความต้องการของพืชเป็นหลักส้าคัญในการผลิตพืช น้ามีความสัมพันธ์กับการดูดใช้
ธาตุอาหารของออ้ ย โดยเฉพาะไนโตรเจนซง่ึ เปน็ ธาตุอาหารหลกั ท่ีมคี วามสา้ คญั มากท่ีสุดในการสร้างผลผลิต
โดยภายใต้สภาพภูมิอากาศแห้งแล้งประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนของอ้อยจะลดลง ดังนั้นในการใช้ปุ๋ย
ไนโตรเจนใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุดจ้าเป็นต้องมกี ารให้น้าอยา่ งเหมาะสม จึงศึกษาผลของการให้น้าในอัตรา
ตา่ งๆ ต่อประสิทธภิ าพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของอ้อย เพอ่ื ศึกษาปริมาณน้าทเี่ หมาะสมต่อประสิทธิภาพการใช้
ปุ๋ยไนโตรเจน

176

7. วธิ ดี าเนนิ การ:
- อุปกรณ์
- ทอ่ นพันธอุ์ ้อย โดยใชอ้ ้อยพนั ธุ์อทู่ อง 12
- อปุ กรณ์น้าหยด ได้แก่ ท่อน้าหยดพีอี สายน้าหยด หัวนา้ หยด ปมั๊ น้า
- ปุ๋ยเคมี ได้แก่ 46-0-0 0-46-0 0-0-60
- อปุ กรณว์ ัดคุณภาพความหวาน ได้แก่ Automatic/hand refractometer
- อปุ กรณ์วัดการเจริญเตบิ โต ได้แก่ Vernier Caliper และไมว้ ัดความสูง
- ชุดเก็บตวั อย่างดนิ แบบไมร่ บกวนดนิ (undisturbed core sampler) และสวา่ นเก็บตวั อย่างดนิ
- วธิ ีการ
แผนการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Split plot จา้ นวน 4 ซา้ อาศัยน้าฝน
Main plot : เป็นกรรมวิธกี ารใหน้ า้ 2 วธิ ี
1) ไมใ่ หน้ า้ (อาศยั น้าฝน)
2) ให้นา้ ตามความตอ้ งการของพืชตลอดระยะการเจรญิ เตบิ โต (100 %)
3) ใหน้ า้ 50 % ของความต้องการของพชื ตลอดระยะการเจรญิ เตบิ โต

Sub plot : เปน็ อัตราปุ๋ยไนโตรเจน 5 ระดบั
1) ไมใ่ สป่ ุย๋ ไนโตรเจน
2) ใสป่ ุ๋ย N 0.5 เท่าของอัตราแนะน้าตามค่าวเิ คราะหด์ นิ
3) ใสป่ ยุ๋ N 1.0 เทา่ ของอตั ราแนะนา้ ตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน
4) ใสป่ ยุ๋ N 1.5 เท่าของอตั ราแนะน้าตามค่าวเิ คราะหด์ ิน
5) ใสป่ ยุ๋ N 2.0 เทา่ ของอัตราแนะนา้ ตามคา่ วิเคราะห์ดิน
หมายเหตุ ทุกกรรมวิธีใส่ปุ๋ยฟอสเฟต และปุ๋ยโพแทชอย่างพอเพียงในอัตราแนะน้าตามค่าวิเคราะห์ดิน

ส้าหรับอ้อยตอเพ่ิมอัตราปุ๋ยฟอสเฟตอีก 50% โดยใช้ค้าแนะน้าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
ส้าหรับอ้อยปลูกและอ้อยตอ ท่ีได้จากโครงการวิจัยด้านดิน น้า และปุ๋ยอ้อย ซึ่งด้าเนินการ
ในปี 2554–2558
วิธปี ฏิบตั กิ ารทดลอง
1) คัดเลอื กพ้นื ท่ที า้ การทดลองทเ่ี ป็นตัวแทนพืน้ ทปี่ ลูกอ้อยท่ีส้าคัญของจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
2) วเิ คราะหล์ ักษณะหนา้ ตดั ดนิ ได้แก่ ความลึกของหนา้ ตัดดิน ความหนาของชน้ั ดิน ความหนาแน่น
รวมของดนิ เนอ้ื ดิน อัตราการแทรกซึมน้า (Infiltration rate) ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ปริมาณ
อินทรยี วตั ถุ ฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์ โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม และแมกนเี ซียมที่แลกเปล่ียนได้
3) รวบรวมข้อมูลภูมิอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ในพื้นท่ีท้าการทดลองอย่างน้อย 20 ปี
ย้อนหลงั เชน่ อณุ หภูมสิ ูงสุด-ต่า้ สุด ปริมาณน้าฝน และพิกัดท่ีตงั้ ของสถานีอุตนุ ยิ มวิทยา

177

4) ปลูกอ้อยให้มีขนาดของแปลงย่อย 11.7 x 9 เมตร ระยะปลูก 1.3 x 0.50 เมตร ในแต่ละ
แปลงยอ่ ยมี 9 แถว แต่ละแถวยาว 9 เมตร ใช้พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว 35.1 ตารางเมตร (3 แถว แถวยาว 9 เมตร)
ใสป่ ุ๋ยรองพน้ื ก่อนปลูกด้วยปุ๋ยไนโตรเจนคร่ึงอัตราของกรรมวิธีท่ีก้าหนด ส่วนปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทช
ใส่เต็มอัตราที่ก้าหนด และใส่ปุ๋ยคร้ังท่ี 2 เม่ืออ้อยอายุ 3 เดือนหรือเมื่อดินมีความช้ืนเหมาะสม ด้วยปุ๋ย
ไนโตรเจนอกี คร่ึงอตั ราท่ีก้าหนด ใช้วิธีการให้น้าแบบหยด ในกรรมวธิ ีทีม่ กี ารใหน้ ้า

5) ค้านวณการให้น้า โดยพิจารณาจากสมดุลของน้า (water balance) ทุก 7 วัน เพ่ือค้านวณ
ปริมาณน้าท่ตี อ้ งให้กบั พชื ตามวิธีของ Smith (1992) และ Doorenbos and Kassam (1979) ตามสมการ

ETc = Kc x ETo
ETc : ปรมิ าณความตอ้ งการนา้ ของพชื (มลิ ลเิ มตรตอ่ วัน)
Kc : สัมประสทิ ธิ์การใช้น้าของพืช ใชค้ า่ Kc ของพันธุ์ขอนแกน่ 3 (กอบเกียรติ และคณะ,

2555)
ETo : ปริมาณการใช้น้าของพืชอ้างอิง (มิลลิเมตรต่อวัน) ค้านวณตามวิธีของ Blaney and

Criddle (FAO, 1986)
6) เก็บตัวอย่างพืชท่ีอายุ 12 เดือน บันทึกข้อมูลน้าหนักสดของล้า ใบสด และใบแห้ง ในพื้นท่ี
เก็บเกี่ยว สุ่มตัวอยา่ งลา้ ใบสด และใบแหง้ เพอ่ื น้ามาวิเคราะห์ธาตอุ าหารพชื วเิ คราะห์การดูดใช้ไนโตรเจน
สู่สว่ นของล้า ใบสด และใบแห้ง และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนของอ้อย (Nitrogen Use
Efficiency : NUE) โดยค้านวณจาก Agronomy Nutrient Use Efficiency (ANUE) ซ่ึงค้านวณจากผลผลิต
ทเี่ พ่ิมข้นึ จากกรรมวธิ ที ไี่ มใ่ ส่ปุ๋ยไนโตรเจนตอ่ ปรมิ าณไนโตรเจนทใ่ี สล่ งไป

การบันทึกขอ้ มูล
1) บันทึกเปอรเ์ ซน็ ตค์ วามงอกและข้อมูลการเจรญิ เตบิ โต ไดแ้ ก่ ความสูง เส้นผ่านศนู ยก์ ลางล้า

จา้ นวนล้าต่อกอ จา้ นวนกอต่อไร่ เมื่ออ้อยอายุ 3 6 9 และ 12 เดอื น
2) บนั ทึกข้อมลู ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลติ ได้แก่ ความสงู เสน้ ผ่านศูนย์กลางล้า นา้ หนักลา้

เฉลยี่ จา้ นวนลา้ ตอ่ กอ จ้านวนกอต่อพน้ื ทีเ่ กบ็ เก่ียว นา้ หนกั ลา้ ตอ่ พ้นื ท่ีเกบ็ เกีย่ วและความหวาน (ซีซีเอส)
3) บันทึกข้อมลู สภาพภูมิอากาศตลอดฤดปู ลูก เช่น ปรมิ าณน้าฝน อุณหภมู ิสงู สดุ -ตา่้ สุด
4) บันทึกข้อมูลปริมาณนา้ ที่ใหใ้ นแตล่ ะครั้งและตลอดฤดูปลูก
5) วเิ คราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance) เปรียบเทยี บผลของการใชน้ า้ และ

ปุย๋ ไนโตรเจนต่อการเพิ่มผลผลิตของออ้ ย

- เวลาและสถานที่
กมุ ภาพนั ธ์ 2561–ธันวาคม 2562 ไร่เกษตรกรตา้ บลสระยายโสม อ้าเภออู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

178

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
สภาพภูมอิ ากาศในพ้ืนที่แปลงทดลอง
ในปที ดลอง 2561/2562 (ออ้ ยปลูก) ออ้ ยมคี วามต้องการนา้ รวม 1,911.88 มิลลิเมตร มีฝนตก 118 วัน
ปริมาณน้าฝนรวม 878.80 มิลลิเมตร โดยในช่วงอ้อยอายุ 1-3 เดือน (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม) และ 7-9 เดือน
มีปริมาณน้าฝนมากจนไม่มีการให้ แต่มีการให้น้าในช่วงอ้อยอายุ 4-6 และ 10 เดือน รวมปริมาณน้าท่ีให้
358.43 มลิ ลิเมตร ในกรรมวิธีทใี่ หน้ ้า100% ของความต้องการ และ 179.25 มิลลิเมตร ในกรรมวิธีให้น้าใน
ปริมาณคร่ึงหนึ่งของความต้องการ (Table 1) ส้าหรับในอ้อยตอ 1 อ้อยมีความต้องการน้ารวม 2,070.92
มลิ ลิเมตร มีวนั ฝนตก 82 วัน ปรมิ าณน้าฝนรวม 661.5 มิลลิเมตร มีการให้ 833.99 มิลลิเมตร ในกรรมวิธีท่ี
ให้น้า 100% ของความต้องการ และ 406.75 มิลลิเมตร ในกรรมวิธีท่ีให้น้าครึ่งหนึ่งของความต้องการน้า
ของออ้ ย (Table 2)

คุณสมบัตขิ องดนิ ในพืน้ ทที่ ดลอง
พืน้ ทที่ ดลองเป็นชุดดนิ ก้าแพงแสน จากการวิเคราะห์ลักษณะหน้าตัดดิน สามารถแบ่งชั้นหน้าตัด

ดนิ ออกเปน็ 4 ชั้น คือ 0-31 31-60 60-89 และ 89-110 เซนติเมตร เนื้อดินเป็นดินเหนียวตลอดทุกช้ันดิน
มีค่าความหนาแน่นรวมอยู่ระหว่าง 1.07-1.62 กรัมต่อเซนติเมตร3 มีอัตราการซึมผ่านของน้า (Saturated Soil
Hydraulic Conductivity : K-Sat) ในดินชั้นบนเท่ากับ 24.40 เซนติเมตรต่อช่ัวโมง ในขณะท่ีดินช้ันล่างมี
อตั ราการซึมผา่ นของน้าอย่รู ะหวา่ ง 3 13-4.78 เซนตเิ มตรตอ่ ชว่ั โมง สว่ นค่าความจุความช้ืนท่ีเป็นประโยชน์
ของพืช (AWC) ของดินช้ันบนมีค่าเท่ากับ 4.35 มิลลิเมตร และ 1.24-2.54 มิลลิเมตร ในดินช้ันล่าง (Table 3)
ดินมีความเป็นกรด-ด่างเฉล่ีย 6.5 มีค่าอินทรียวัตถุเท่ากับ 1.85 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงถือว่า ค่อนข้างสูง มีฟอสฟอรัส
ท่ีเป็นประโยชน์เท่ากับ 40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และมีโพแทชเซียมท่ีแลกเปล่ียนได้ตกค้างอยู่ในดินในปริมาณ
ทส่ี งู มากเทา่ กับ 150 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล้าดับ (Table 4) ดังนั้นจึงพิจารณาการใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีที่
ก้าหนด คอื 1) ไมใ่ สป่ ุ๋ย N (0-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) 2) ใส่ปุ๋ย N 0.5 เท่าของอัตราแนะน้า (6-3-6
กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) 3) ใส่ปุ๋ย N 1 เท่าของอัตราแนะน้า (12-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่)
4) ใส่ปุ๋ย N 1.5 เท่าของอัตราแนะน้า (18-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) และ 5) ใส่ปุ๋ย N 2 เท่าของ
อัตราแนะน้า (24-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) ส้าหรับอ้อยปลูก ส่วนอ้อยตอปรับอัตราปุ๋ย N เป็น 0
7.5 15 22.5 และ 30 กิโลกรมั N ตอ่ ไร่ ตามล้าดบั

ผลของการใหน้ ้าต่อการให้ผลผลิตอ้อย
ผลของการให้น้าต่อการให้ผลผลิตอ้อยปลูกแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยของอัตราปุ๋ยไนโตรเจนและอัตรา

การให้น้าไม่มีปฏิสัมพันธ์กันทางสถิติ (Table 5) การให้น้าในอัตราต่างๆ ไม่ท้าให้ผลผลิตอ้อยแตกต่างกันทาง
สถิติ เฉล่ีย 17.61-20.29 ตันต่อไร่ ให้ผลไปในทิศทางเดียวกับการให้องค์ประกอบผลผลิต จ้านวนล้าต่อไร่
ความยาวล้า ขนาดล้า และน้าหนักต่อล้า ตลอดจนผลผลิตน้าตาล การใส่ปุ๋ยในทุกอัตราให้ผลผลิตอ้อยเฉล่ีย
18.00-20.38 ตนั ต่อไร่ เพ่มิ ขนึ้ จากการไมใ่ ส่ปยุ๋ 8-23% อย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ สอดคล้องกับการให้ผลผลิต
น้าตาลโดยให้ผลผลติ น้าตาลเฉลีย่ 2.03-2.32 ตนั ซซี เี อสต่อไร่ และพบวา่ การใสป่ ยุ๋ N อัตรา 18 และ 24 กิโลกรัม
ต่อไร่ให้ผลผลิตน้าตาลแตกต่างจากการไม่ใส่ปุ๋ยอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ ส่วนการใช้ปุ๋ยในอัตรา 6 และ 12
กิโลกรัมตอ่ ใร่ ให้ผลผลิตน้าตาลไมแ่ ตกตา่ งจากการไม่ใส่ปุ๋ย ในด้านองค์ประกอบผลผลิต ได้แก่ จ้านวนล้าต่อไร่

179

ความยาวล้า ขนาดล้า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้น น้าหนักต่อล้า พบว่า การใส่ปุ๋ยเพียง 6 กิโลกรัม
ต่อไร่ ไม่ท้าใหน้ ้าหนกั ต่อล้าแตกต่างจากการไมใ่ ส่ปุย๋

สา้ หรับผลการทดลองในอ้อยตอ 1 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยของอัตราปุ๋ยไนโตรเจนและอัตราการให้น้า
ไม่มีปฏิสัมพันธ์กันทางสถิติทั้งในด้านผลผลิต องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตน้าตาล การให้น้าในอัตรา
ต่างๆ ไม่ท้าให้ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตแตกต่างกันทางสถิต โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย 12.79-14.76 ตันต่อไร่
(Table 6) ซง่ึ ให้ผลการทดลองไปในทิศทางเดียวกันกับอ้อยปลูก ส่วนปัจจัยของอัตราปุ๋ย พบว่า ให้ผลผลิต
แตกตา่ งกนั ทางสถติ ิอยา่ งมีนยั ส้าคัญยิ่ง โดยการใส่ปุ๋ยให้ผลผลิตอ้อยเพ่ิมข้ึนจากการไม่ใส่ปุ๋ย 22-67% และ
พบวา่ การใสป่ ุ๋ย N อัตรา 15 22.5 และ 30 ให้ผลผลติ ไมแ่ ตกตา่ งกัน แต่แตกต่างจากการใส่ปุ๋ยเพียง 7.5 กิโลกรัม
ต่อไร่ อย่างมนี ัยส้าคญั ยิ่งทางสถิติ การใสป่ ยุ๋ ในทุกอตั ราให้จ้านวนล้าต่อไร่ ขนาดล้า และผลผลิตน้าตาลเพ่ิมขึ้น
จากการไม่ใส่ปุ๋ยและแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญย่ิง ส่วนการใส่ปุ๋ยเพียง 7.5 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่ท้าให้
ความยาวลา้ และนา้ หนักต่อล้าแตกต่างจากการไมใ่ สป่ ุ๋ย

ประสิทธภิ าพการใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนของออ้ ย
อ้อยมีการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนท้ังในอ้อยปลูก (Figure 1-.3) และอ้อยตออย่างเด่นชัด

(Figure 4-7) โดยในอ้อยปลูกตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนสูงสุดที่อัตรา 18 กิโลกรัมต่อไร่ ภายใต้การให้น้าเพียง
50% ของปริมาณความต้องการน้าของอ้อย ทา้ ใหผ้ ลผลิตเพิ่มขน้ึ จากไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 38 เปอร์เซ็นต์ เม่ือ
ประเมินประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอ้อยปลูก โดยประเมินจากประสิทธิภาพการสร้างผลผลิต
(agronomy nutrient use efficiency) พบว่า การให้นา้ ที่ 50% ของปริมาณความต้องการนา้ ของอ้อย
(1,361.4 มิลลิเมตร) โดยมีการใส่ปุ๋ย N ในอัตรา 6 กิโลกรัมต่อไร่ มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเพ่ือ
สร้างผลผลิตสูงสุด 600 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N และเม่ือใส่ปุ๋ยเพ่ิมขึ้นประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย
ไนโตรเจนจะลดลง ส่วนการให้น้าตามปริมาณความต้องการของอ้อย (100% ของความต้องการ) มี
ประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิตน้าตาลต่้าที่สุด และต่้ากว่าการปลูกอ้อยโดยอาศัยน้าฝนที่มี
ปริมาณฝนตลอดระยะการเจริญเติบโต 879.80 มิลลิเมตร (Table 7) ได้สมการการตอบสนองต่อปุ๋ย
ไนโตรเจนในสภาพต่างๆ ดังนี้ ในสภาพน้าฝน y = 0.02322x + 17.58 (R2 = 0.9751) ให้น้าตามความ
ต้องการของอ้อย (100%) ได้สมาการ y = 0.0879x + 16.69 (R2= 0.8115) และให้น้า 50% ของปริมาณ
ความตอ้ งการของออ้ ย ไดส้ มาการ y = -0.0191x2 + 0.6013x + 15.53 (R2=0.0.7635) (Figure 1-3)

สา้ หรับผลการทดลองในอ้อยตอ 1 พบว่า การให้น้าที่ 50% ของปริมาณความต้องการน้าของอ้อย
(1,067.75 มลิ ลิเมตร) อ้อยมีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิตสูงสุด 584 กิโลกรัมผลผลิต
ต่อกิโลกรัม N เม่ือใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนจะลดลง
เม่ือใส่ปุย๋ เพิ่มขนึ้ ซ่งึ สอดคล้องกบั การทดลองในออ้ ยปลกู สว่ นการให้น้าตามความต้องการของอ้อย (100%)
ทใ่ี ชป้ ยุ๋ N ในอตั รา 6 และ 12 กิโลกรมั ต่อไร่ มปี ระสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยเพ่ือสร้างผลผลิตต้่ากว่าการปลูกอ้อย
โดยอาศัยน้าฝนที่มีปริมาณน้าฝนรวม 661 มิลลิเมตร เมื่อใส่ปุ๋ยในอัตราเดียวกัน (Table 8) ได้สมการ
การตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจน ดังน้ี ในสภาพน้าฝน y = -0.005x2 + 0.354x + 11.35 (R2 = 0.6091)
เมื่อให้น้าตามความต้องการของอ้อย (100%) y = -0.0054x2 + 0.3898x + 9.29 (R2 = 0.9967) และให้น้า
50% ของปริมาณความต้องการของออ้ ย y = -0.0143x2 + 0.6583x + 10.02 (R2 = 0.9398) (Figure 4-6)

180

9. สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การใหน้ ้า 50% ของปรมิ าณความตอ้ งการน้าของอ้อยท่ีปลูกในดินร่วนเหนียว และใส่ปุ๋ย N เพียง

6 กิโลกรัมต่อไร่ จะท้าให้มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิตสูงสุดในอ้อยปลูก ส้าหรับใน
อ้อยตอให้เพิ่มอัตราปุ๋ยไนโตรเจนเป็น 15 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 2.5 เท่าจากอ้อยปลูกจึงจะท้าให้เกิด
ประสิทธภิ าพการใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนเพ่ือสรา้ งผลผลิตสงู สดุ

10. การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์
ได้ค้าแนะนา้ การบรหิ ารจดั การน้าท่ีมีอย่อู ย่างจา้ กัด และการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ ในพ้ืนที่ดิน

ร่วนเหนียว ซึ่งสามารถขยายผลให้กับเกษตรกร และโรงงานน้าตาลในพ้ืนที่เพ่ือเป็นแนวทางในการเพิ่ม
ศักยภาพการผลิตออ้ ยโดยการจดั การน้าและธาตุอาหารอย่างเหมาะสม

11. คาขอบคุณ (ถ้ามี)
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณนางพเยาว์ ซุ่นเจา ท่ีสนับสนุนพื้นท่ีทดลอง ในต้าบลสระยายโสม อ้าเภออู่ทอง

จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ท้าให้งานวจิ ัยนส้ี า้ เรจ็ ลลุ ่วง และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์

12. เอกสารอ้างอิง
กรมชลประทาน. 2563. รายงานสรปุ โครงการจัดท้าแผนพัฒนาการชลประทานระดับลุ่มน้าอย่างเป็นระบบ
(กรอบน้า 60 ลา้ นไร่). 45 หนา้
สา้ นักงานคณะกรรมการออ้ ยและนา้ ตาล. 2563. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต 2562/63.
78 หนา้
Koehler , G.G., P.H. Moore, C.A. Jones, A. Dela Cruz and A. Maretzki. 1982. Response of
drip-irrigation sugarcane to drought stress. Agron. J. 74 : 906-911.
Robison, F.E. 1963. Soil moisture tension sugarcane stalk elongation and irrigation interval
control.Agron. J. 55: 481-484.

13. ภาคผนวก

181

Table 1 Weekly rainfall, sugarcane evapotranspiration and amount of water supplement for
plant cane grown during 2018/2019.

Days after Water Weekly ETc Weekly Amount of water
planting supplement (mm.) rainfall
(mm.) supplement (mm.) Remarks
Planting date date 8.56
7 8.38 21.6 100% ETc 50% ETc
14 22 Feb2018 8.15 0.4
21 1 Mar 2018 8.04 10.2 20.93 20.93
28 8 Mar 2018 23.98 1.2
35 15 Mar 2018 29.55 0 0.00
42 22 Mar 2018 29.77 0
49 29 Mar 2018 29.67 0.6 0 0.00
56 5 Apr 2018 29.26 8.6
63 12 Apr 2018 28.98 2.8 0 0.00
70 19 Apr 2018 29.46 37
77 26 Apr 2018 28.47 87.2 0 0.00
84 3 May 2018 28.94 10.8
91 10 May 2018 28.82 89.8 0 0.00 Flood
98 17 May 2018 29.09 14
105 24 May 2018 29.06 48.8 0 0.00 Flood
112 31 May 2018 28.52 0.4
119 7 Jun 2018 28.53 9.2 0 0.00 Flood
126 14 Jun 2018 28.51 17.2
133 21 Jun 2018 28.16 13.6 0 0.00 High soil moisture
140 28 Jun 2018 28.85 2.4
147 5 Jul 2018 28.84 14.8 0 0.00 High soil moisture
154 12 Jul 2018 29.35 10.6
161 19 Jul 2018 28.63 0.2 0 0.00 High soil moisture
168 26 Jul 2018 54.49
175 2 Aug 2018 68.48 3 0 0.00 Flood
182 9 Aug 2018 67.95 8
189 16 Aug 2018 65.94 0.4 0 0.00 High soil moisture
196 23 Aug 2018 67.08 43.4
203 30 Aug 2018 65.49 10.6 0 0.00 High soil moisture
210 6 Sep 2018 67.34 70.6
217 13 Sep 2018 66.91 17.8 0 0.00
224 20 Sep 2018 65.94 54.2
231 27 Sep 2018 19 15.7 7.85
4 Oct 2018 67.00 74.6
238 11 Oct 2018 5.6 20.93 10.47
64.29
245 18 Oct 2018 64.33 2.4 15.70 7.85
252
25 Oct 2018 100.2 18.31 9.16
1 Nov 2018 0.2
28.78 14.39

15.7 7.85

20.93 10.47

28.78 14.39

28.78 14.39

18.31 9.16

49.71 24.86

34.01 17.01

62.79 31.40

0 0.00

52.33 26.17

0 0.00 Enough soil moisture

49.71 24.86

0 0.0 Enough soil moisture

49.71 24.86 Enough soil moisture

0 0.00 Enough soil moisture

0 0.00 Enough soil moisture

0 0.00 Enough soil moisture

182

Days after Water Weekly ETc Weekly Amount of water Remarks
planting supplement (mm.) rainfall supplement (mm.)
(mm.)
259 date 63.86 100% ETc 50% ETc
266 65.14 0
273 8 Nov 2018 66.79 20.8 65.04 32.52
280 15 Nov 2018 63.60 2.2 44.48 22.24
287 22 Nov 2018 65.79 65.04 32.52
294 29 Nov 2018 62.69 0 62.79 31.40
301 6 Dec 2018 45.84 5.8 60.17 30.09
308 13 Dec 2018 43.67 38.4 23.54 11.77
315 20 Dec 2018 41.69 49.71 24.86
27 Dec 2018 1,911.88 0 41.86 20.93
0 40.18 20.09
3 Jan 2019 1.2
962.99 481.56
Total 879.8

Table 2 Weekly rainfall, sugarcane evapotranspiration and amount of water supplement for
the 1st ratoon cane during 2019/2020.

Days after Water Weekly ETc Weekly Amount of water Remarks
planting supplement (mm.) rainfall supplement (mm.)
(mm.) 100% ETc 50% ETc
Harvesting date
date
7 7 Jan 2019
14
21 14 Jan. 19 26.04 0 26.04 13.02
28 21 Jan. 19 25.89 0 0.00 0.00 Flood
35 28 Jan. 19 24.53 0 0.00 0.00 High soil moisture
42 4 Feb. 19 25.71 0 0.00 0.00 High soil moisture
49 11 Feb. 19 27.05 0 0.00 0.00 High soil moisture
56 18 Feb. 19 26.67 1.7 0.00 0.00 High soil moisture
63 25 Feb. 19 20.49 0 19.89 9.95
70 4 Mar. 19 15.59 0 15.59 7.80 High soil moisture
77 11 Mar. 19 15.47 0 15.47 7.74 High soil moisture
84 18 Mar. 19 15.53 0 15.33 7.66 High soil moisture
91 25 Mar. 19 15.72 0 10.92 5.46 Flood
98 1 Apr. 19 15.93 0 15.73 7.87 High soil moisture
105 8 Apr. 19 15.96 1.6 13.96 6.98 High soil moisture
112 15 Apr. 19 16.64 0 16.64 8.32
119 22 Apr. 19 16.73 13.9 3.93 1.96 High soil moisture
126 29 Apr. 19 16.36 0 3.56 1.78
133 6 May. 19 16.87 0 0.00 0.00
13 May. 19 32.10 157.9 0.00 0.00 High soil moisture
20 May. 19 34.58 1.7 0.00 0.00 High soil moisture

183

Days after Water Weekly ETc Weekly Amount of water
planting supplement (mm.) rainfall
(mm.) supplement (mm.) Remarks
140 date 34.28
147 15.75 7 100% ETc 50% ETc
154 27 May. 19 15.88 29.3
161 3 Jun. 19 15.71 8.2 0.00 0.00 High soil moisture
168 10 Jun. 19 26.71 11.7
175 17 Jun. 19 32.89 00
182 23 Jun. 19 32.40 97
189 1 Jul. 19 34.25 12.3 8.08 0.14
196 8 Jul. 19 34.54 12.1
203 15 Jul. 19 33.72 0.11 0
210 22 Jul. 19 32.72 0
217 29 Jul. 19 32.75 50.8 0 0 Flood
224 5 Aug. 19 33.83 4.2
231 12 Aug. 19 33.44 8.2 00
238 19 Aug. 19 33.04 38.9
245 26 Aug. 19 32.98 6.6 0 0 High soil moisture
252 2 Sep. 19 91.70 6.5
259 9 Sep. 19 87.80 2.6 34.25 17.125
266 16 Sep. 19 89.66 7.7
273 23 Sep. 19 88.88 10.7 34.54 17.27
280 30 Sep. 19 91.74 107.1
287 7 Oct. 19 89.97 0 0 Flood
294 14 Oct. 19 87.75 0
301 21 Oct. 19 89.93 3.8 0 0 High soil moisture
308 28 Oct. 19 88.66 43.3
315 4 Nov. 19 86.67 1.8 0 0 High soil moisture
322 11 Nov. 19 84.68 2.8
329 18 Nov. 19 87.76 12.1 00
336 25 Nov. 19 32.51
343 2 Dec. 19 26.27 0 24.64 7.92
350 9 Dec. 19 28.07 0
357 16 Dec. 19 28.02 0 29.24 12.72
364 23 Dec. 19 12.10 0
30 Dec. 19 0 0 0 High soil moisture
6 Jan. 19 2,070.92 0
0 0 0 Flood
รวม 0
0 0 0 High soil moisture

661.50 0 0 High soil moisture

0 0 High soil moisture

00

89.97 44.99

87.75 43.87

89.93 44.96

0 0 Enough soil moisture

86.67 43.34

84.68 42.34

87.36 43.68

19.71 9.85

0 0 Enough soil moisture

0 0 Enough soil moisture

0 0 Enough soil moisture

0 00

833.99 406.75

184

Table 3 Soil physical properties of Kampaensaen Soil Series at Sra Yai Som Subdistrict,
U-Thong District, Suphan Buri Province.

Soil Depth Texture BD (1:5) Ksat AWC FC PWP
(cm) (g/cm3) (cm./h) (mm.) (mm.) (mm.)
Clay
0-31 Clay 1.07 24.40 4.35 32.10 27.75
31-60 Clay 1.62 3.13 2.54 41.00 38.46
60-89 Clay 1.62 4.70 1.24 42.82 41.58
89-110 1.58 4.78 1.89 42.62 40.73

BD = bulk density, K-Sat = saturated soil hydraulic conductivity, FC = field capacity, PWP = permanent wilting point.

Table 4 Soil chemical properties of Kampaensaen Soil Series at Sra Yai Som Subdistrict,
U-Thong District, Suphan Buri Province.

Soil Depth pH EC (1:5) OM Avai. P Exch. K
(cm) (1:1) (ds/cm) (%) (mg/kg.) (mg/kg.)

0-20 6.4 0.19 1.99 35 184
20-40 6.6 0.40 1.70 45 115

เฉลีย่ 6.5 0.30 1.85 10.0 150

Table 5 Yield and yield components of plant cane grown on Kampaensaen Soil Series at Sra
Yai Som Subdistrict, U-Thong District, Suphan Buri Province 2018/2019 cropping
season.

Treatment Stalk Stalk length Stalk Stalk weight Yield CCS Sugar yield
number (cm) diameter (Kg./Stalk) (ton/rai) (%) (tonCCS/rai)
Rainfed (Stalk/rai)
100% ETc 321 (cm) 2.10 20.29 11.33 2.30
50% ETc 11,092 301 1.89 17.61 10.89 1.95
CV (A) % 10,861 317 2.87 2.04 18.65 11.18 2.11
F-test 10,600 25.44 2.89 28.13
0-3-6 ns 2.92 ns 28.13 9.17 31.18
6-3-6 7.32 292 1.79 c ns ns ns
12-3-6 ns 306 7.08 1.95 bc
18-3-6 317 ns 2.05 ab 16.60 b 11.17 1.86 b
24-3-6 10,504 322 2.07 ab 18.00 ab 11.26 2.03 ab
CV (B) % 10,692 328 2.87 2.18 a 18.92 ab 11.07 2.12 ab
F-test 10,872 10.07 2.79 11.69 20.34 a 11.30 2.32 a
AxB 10,962 ns 2.94 ** 20.38 a 10.88 2.25 a
11,226 ns 2.90 ns
2.98 11.69 6.15 17.21
6.71 ** ns **
ns 5.91
ns ns ns ns
ns
ns

Means followed by the same letter in columns are not significantly different at 5% level by DMRT

185

Table 6 Yield and yield components of the 1st ratoon cane grown on Kampaensaen Soil
Series at Sra Yai Som Subdistrict, U-Thong District, Suphan Buri Province 2019/2020
cropping season.

Treatment Stalk Stalk Stalk Stalk Yield CCS Sugar yield
number length diameter weight (ton/rai) (%) (tonCCS/rai)
Rainfed (Stalk/rai) (cm) (Kg./Stalk)
100% ETc 12,887 288 (cm) 1.62 14.61 11.99 1.76
50% ETc 12,767 267 2.71 1.42 12.79 11.82 1.53
CV (A) % 12,669 296 2.68 1.70 14.76 12.10 1.80
F-test 12.74 13.77 2.76 22.23 30.28 9.86 34.11
4.20 ns ns ns
0-3-6 ns ns ns ns 10.22 c 11.68 1.19 c
7.5-3-6
15-3-6 11,479 c 252 c 2.60 b 1.32 b 12.48 b 12.19 1.53 b
22.5-3-6
30-3-6 12,444 b 270 bc 2.73 a 1.50 ab 15.61 a 11.61 1.83 ab

CV (B) % 13,317 a 294 ab 2.75 a 1.66 a 14.92 a 12.22 1.84 ab
F-test
AxB 13,176 ab 296 ab 2.76 a 1.67 a 17.05 a 12.15 2.10 a

13,457 a 306 a 2.74 a 1.76 a 18.35 5.83 22.20
** ns **
8.13 13.85 2.91 19.93 ns ns ns
* ** *
** ns ns ns
ns

Means followed by the same letter in columns are not significantly different at 0.5 and 5% level by DMRT

Table 7 Nitrogen use efficiency (NUE) for plant cane grown during 2018/2019.

Applied N Rainfed (879.8 mm) 100% ETc (1,842.8 mm.) 50% ETc (1,361.4 mm.)
(kg.N/rai)
Yield ANUE Yield ANUE Yield ANUE
0
6 (kg./rai) (kg.Yield/kgNF) (kg./rai) (kg.Yield/kgNF) (kg./rai) (kg.Yield/kgNF)
12
18 17,580 - 16,690 - 15,530 -
24
18,610 172 16,260 -72 19,130 600

20,410 236 17,800 93 18,570 253

21,280 206 18,340 92 21,400 326

23,580 250 18,940 94 18,600 128

ANUE, agronomy nutrient use efficiency = (yield NF- yield N0) / NF applied

186

Table 8 Nitrogen use efficiency (NUE) for the 1st ratoon cane during 2019/2020

Applied Rainfed (661 mm.) 100% ETc (1,494.99 mm.) 50% ETc (1,067.75 mm.)
N(kg.N/rai)
Yield ANUE Yield ANUE Yield ANUE
0
7.5 (kg./rai) (kgYield/kg.NF) (kg./rai) (kgYield/kgNF) (kg./rai) (kgYield/kg.NF)
15
22.5 11,350 - 9,290 - 10,020 -
30
13,460 402 11,190 317 12,480 410

16,490 428 13,310 335 17,030 584

13,470 118 14,660 298 16,630 367

17,990 277 15,490 258 17,660 318

ANUE, agronomy nutrient use efficiency = (yield NF- yield N0) / NF applied

Yield (ton/rai) 25 rainfed

20

y = 0.2322x + 17.58
R² = 0.9751

15

10

5

0
0 6 12 18 24 30

N Application rate (kg./rai)

Figure 1 Response of plant cane yield to nitrogen fertilizer under rainfed condition in Suphan Buri
Province during 2018/2019 cropping season


Click to View FlipBook Version