The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hi2ura.pon, 2022-06-09 04:13:27

รายงานผลงานวิจัย 2563

รายงานผลงานวิจัย 2563
ANNUAL RESEARCH REPORT 2020

Keywords: รายงานผลงานวิจัย,ANNUAL RESEARCH REPORT

94

Table 19 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Dan Chang, Suph

Cane yield (ton/rai)

Clone/Variety Plant 1st 2nd Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane

1 UT10-009R 7.80 6.45 4.52 a 6.26 17.37 ab

2 UT10-015R 11.56 7.69 4.09 ab 7.78 16.17 b

3 UT10-057R 10.60 7.86 4.09 ab 7.52 13.51 c

4 UT10-113R 11.79 7.61 2.58 b 7.33 13.87 c

5 LK92-11 9.69 7.21 3.48 ab 6.79 16.00 b

6 KK3 12.48 6.27 4.33 a 7.69 18.54 a

F-test ns ns * ns **

CV (%) 35.52 25.77 28.60 19.91 7.89

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1

.

4

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010
han Buri (1).

CCS Sugar yield (tonCCS/rai) Aver. 94
1st 2nd Aver. Plant 1st 2nd
cane ratoon ratoon 0.96 bc
ratoon ratoon 1.14 ab
1.32 0.96 0.60 0.92 c
14.92 a 13.34 15.21 ab 1.88 0.97 0.58 0.99 bc
13.03 b 13.85 14.35 ab 1.42 0.88 0.45 1.02 bc
11.25 c 9.07 11.28 c 1.66 0.98 0.33 1.31 a
12.75 b 12.58 13.07 bc 1.59 1.04 0.42
14.39 a 10.28 13.56 bc 2.31 0.96 0.65 **
15.15 a 14.58 16.09 a 22.75
ns ns ns
** ns ** 36.87 25.85 39.30
5.37 27.40 15.18

and 5 % probability by DMRT

95

Table 20 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Dan Chang, Suph

Cane yield (ton/rai)

Clone/Variety Plant 1st 2nd Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane

1 UT10-009R 19.66 a 14.92 a 14.83 a 16.47 a 10.25 b 1

2 UT10-015R 16.94 b 15.42 a 15.39 a 15.92 b 13.00 a

3 UT10-057R 12.80 d 9.67 c 10.88 c 11.12 c 11.34 b

4 UT10-113R 16.46 bc 12.30 b 11.71 bc 13.49 b 11.09 b 1

5 LK92-11 14.33 cd 11.96 bc 13.03 b 13.11 c 14.03 a 1

6 KK3 19.19 a 13.20 ab 15.49 a 15.96 ab 14.20 a 1

F-test ** ** ** ** **

CV (%) 9.02 11.92 6.80 8.81 6.23

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1

5

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010

han Buri (2). Sugar yield (tonCCS/rai)

CCS Plant 1st 2nd Aver.
1st 2nd Aver.
ratoon ratoon cane ratoon ratoon 1.93 b
1.83 b
11.09 bc 14.70 ab 12.76 b 2.03 b 1.65 a 2.11 b 1.09 d
9.80 c 11.59 d 11.46 b 1.53 c
7.60 d 9.30 e 9.41 c 2.20 b 1.51 ab 1.78 c 1.80 b 95
10.25 c 12.87 c 11.40 b 2.23 a
12.83 a 14.03 b 13.63 a 1.46 c 0.72 c 1.09 e
12.09 ab 15.33 a 13.87 a **
1.83 bc 1.25 b 1.51 d 11.24
** ** **
8.31 3.80 6.01 2.02 b 1.54 a 1.85 c

and 5 % probability by DMRT. 2.73 a 1.60 a 2.37 a

** ** **

12.72 12.76 7.00

96

Table 21 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Banrai, Uthaithan

Cane yield (ton/rai)

Clone/Variety Plant 1st 2nd Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane

1 UT10-009R 7.29 c 4.27 2.18 ab 4.58 c 12.71 bc

2 UT10-015R 11.45 ab 4.34 1.91 abc 5.90 abc 12.48 bc

3 UT10-057R 14.34 a 4.62 1.34 bc 6.77 a 11.40 c

4 UT10-113R 10.92 b 3.27 1.27 c 5.15 bc 13.88 b

5 LK92-11 10.31 b 3.74 2.31 a 5.45 abc 15.56 a

6 KK3 12.92 ab 4.35 1.32 bc 6.20 ab 16.41 a

F-test ** ns * ** **

CV (%) 16.68 23.56 31.60 22.11 7.55

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1

6

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010

ni. Sugar yield (tonCCS/rai)

CCS Plant 1st 2nd Aver.
1st 2nd Aver.
ratoon ratoon cane ratoon ratoon 0.62 b
0.77 b
14.42 ab 12.55 c 13.23 c 0.96 c 0.62 0.28 ab 0.80 ab
14.04 b 14.46 ab 13.66 c 0.73 b
12.71 c 12.03 c 12.05 d 1.42 b 0.61 0.27 ab 0.80 ab 96
15.11 ab 13.13 bc 14.04 bc 1.00 a
14.87 ab 14.86 a 15.10 ab 1.64 b 0.59 0.16 b
15.46 a 15.29 a 15.72 a **
1.51 b 0.50 0.17 b 23.60
** ** **
5.36 6.80 6.60 1.50 b 0.56 0.34 a

and 5 % probability by DMRT 2.12 a 0.67 0.20 b

** ns *

17.74 25.95 32.3

97

Table 22 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Dan Ma Kham Ti

Cane yield (ton/rai)
1st 2nd
Clone/Variety Plant Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane

1 UT10-009R 14.44 9.73 b 5.84 a 10.00 bc 12.61 b

2 UT10-015R 15.36 7.97 b 4.66 ab 9.33 bc 11.98 b

3 UT10-057R 19.04 8.61 b 5.23 ab 10.96 ab 9.40 c

4 UT10-113R 17.39 12.50 a 4.37 ab 11.42 a 11.83 b

5 LK92-11 14.10 8.55 b 2.82 b 8.49 c 14.81 a

6 KK3 14.28 9.71 b 5.19 ab 9.73 bc 14.85 a

F-test ns ** ** ** **

CV (%) 16.94 13.04 32.40 18.57 6.21

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 an

7

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010

ia,Kanchanaburi. Sugar yield (tonCCS/rai)
Plant 1st 2nd
CCS Aver.
1st 2nd Aver. cane ratoon ratoon
ratoon ratoon 1.30 ab
1.81 1.33 b 0.77 a 1.12 b
13.64 a 12.72 a 12.99 a 1.10 b
11.97 bc 12.23 a 12.06 a 1.84 0.95 c 0.57 ab 1.38 a
11.07 c 10.00 b 10.16 b 1.20 ab
12.78 ab 11.03 ab 11.88 ab 1.79 0.95 c 0.56 ab 1.34 ab 97
13.52 a 12.02 a 13.45 a
13.15 ab 11.79 a 13.26 a 2.06 1.60 a 0.49 b **
18.24
** * ** 2.09 1.16 bc 0.35 b
6.59 8.88 13.24
2.12 1.28 b 0.63 ab
nd 5 % probability by DMRT.
ns ** **

15.80 14.00 29.70

98

Table 23 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Takhli, Nakhon S

Cane yield (ton/rai)

Clone/Variety Plant 1st 2nd Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane

1 UT10-009R 12.53 b 10.40 a 9.10 a 10.68 ab 13.26 b

2 UT10-015R 12.94 b 11.18 a 10.67 a 11.60 a 11.93 c

3 UT10-057R 16.12 a 8.66 bc 8.33 b 11.04 b 10.66 d

4 UT10-113R 10.28 b 7.87 c 7.79 b 8.65 c 12.58 bc

5 LK92-11 12.68 b 9.79 ab 8.88 a 10.45 ab 14.14 a

6 KK3 12.22 b 8.08 c 7.74 b 9.35 b 14.32 a

F-test * ** * ** **

CV (%) 16.44 11.95 35.70 26.21 4.01

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1

8

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010

Sawan(1). Sugar yield (tonCCS/rai)

CCS Plant 1st 2nd Aver.
1st 2nd Aver.
cane ratoon ratoon 1.27 a
ratoon ratoon 1.26 a
1.58 ab 0.84 bc 1.15 ab 1.07 b
8.12 cd 12.59 a 11.32 ab 1.01 b
9.41 bc 12.35 a 11.23 ab 1.42 b 1.05 ab 1.31 a 1.27 a 98
7.23 d 11.40 b 9.76 c 1.16 ab
c 10.03 b 10.50 c 11.04 b 1.64 ab 0.63 c 0.95 b
11.98 a 11.39 b 12.50 a **
9.31 bc 12.37 a 12.00 a 1.42 c 0.79 c 0.82 b 28.06

** ** ** 1.64 ab 1.15 a 1.01 ab
10.10 16.30 13.96
1.79 a 0.75 c 0.96 b
and 5 % probability by DMRT.
** ** *

10.63 17.24 57.30

99

Table 24 Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from from Fa
st nd
: Plant cane, 1 ratoon and 2 ratoon : at Takhli, Nakhon S

Cane yield (ton/rai)

Clone/Variety Plant 1st 2nd Aver. Plant

cane ratoon ratoon cane rat

1 UT10-009R 16.23 11.28 b 11.39 ab 12.97 ab 12.23 bc 11.4

2 UT10-015R 15.44 13.02 a 13.86 a 14.11 a 11.25 cd 9.

3 UT10-057R 15.80 10.03 c 5.96 c 10.60 c 11.01 d 8.

4 UT10-113R 12.73 11.03 b 12.22 ab 11.99 abc 12.53 b 10.7

5 LK92-11 15.44 9.91 c 10.08 b 11.81 abc 14.74 a 12.5

6 KK3 14.87 11.53 b 6.58 c 10.99 bc 13.70 a 12.2

F-test ns ** ** ** **

CV (%) 15.54 9.05 22.40 16.19 5.91 11

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1

9

arm Trial of Sugar cane for yield and quality in Rainfed Area Series 2010

Sawan(2). Sugar yield (tonCCS/rai)

CCS Plant 1st 2nd Aver.
1st 2nd Aver.
toon ratoon cane ratoon ratoon 1.46 a
1.48 a
45 b 10.04 ab 11.24 ab 1.97 1.30 ab 1.12 b 0.94 c
.09 bc 10.29 ab 10.21 bc 1.40 ab
.06 c 4.69 c 7.92 d 1.82 1.18 bc 1.42 a 1.73 a 99
71 ab 11.52 a 11.59 ab 1.33 ab
52 a 10.46 ab 12.57 a 1.73 0.80 d 0.30 c
22 a 8.44 b 11.45 ab **
1.58 1.18 bc 1.43 a 19.96
** ** **
1.80 19.70 12.16 2.89 1.24 ab 1.06 ab

and 5 % probability by DMRT. 2.03 1.41 a 0.57 c

ns ** **

17.18 12.43 31.20

100

Table 25 Combine Average of Cane Yields, CCS and Sugar yield from Farm Trial of Sugar
cane for yield and qulity in Rainfed Area Series 2010: Plant cane, 1st ratoon and

2nd ratoon: 6 locations.

No. Clone/Variety Cane yield CCS Sugar yield
1 UT10-009R (ton/rai) 12.79 b (tonCCS/rai)

10.54 ab 1.26 b

2 UT10-015R 11.57 a 12.16 bc 1.27 b

3 UT10-057R 9.32 c 10.10 c 0.99 d

4 UT10-113R 10.16 ab 12.17 bc 1.17 c

5 LK92-11 9.90 bc 13.47 a 1.30 ab

6 KK3 10.10 ab 13.73 a 1.39 a

F-test ** ** **

CV (%) 19.91 11.70 22.75

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability
by DMRT.

9. สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ

การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรเพ่ือเพิ่มคุณภาพและผลผลิตพันธุ์อ้อยชุดปี 2553 เขตน้าฝน :
อ้อยปลูก ตอ 1 ตอ 2 พบว่า มีอ้อยโคลนดีเด่นท่ีน่าสนใจคือ UT10-009R และ UT10-015R จึงคัดเลือก
โคลนอ้อยดังกล่าว เพ่อื แนะน้าและเป็นทางเลือกเพือ่ ปลกู ทดแทนส้าหรับเกษตรกรที่ปลูกอ้อยพันธ์ุ LK92-11
ต่อไป

10. การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์
ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการรับรองพนั ธุ์ในอนาคต

11. คาขอบคณุ (ถ้าม)ี
-

12. เอกสารอ้างองิ
ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2563. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อย ปีการผลิต
2562/2563. ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย 2563. กระทรวงอุตสาหกรรม. 78
หนา้ .
ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2564. รายงานการผลิตน้าตาลทรายของโรงงานน้าตาลทั่ว
ประเทศ ประจ้าปีการผลิต 2562/2563. ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. 2564.
กระทรวงอตุ สาหกรรม. 3 หนา้ . สบื ค้นจาก : http://www.ocsb.go.th. 8 กมุ ภาพันธ์ 2564.

13. ภาคผนวก
-

101

รายงานผลงานเรอื่ งเต็มการทดลองทส่ี ิน้ สดุ

------------------------

1. แผนงานวจิ ยั 1. วจิ ัยและพฒั นาออ้ ยส้าหรับธุรกิจน้าอ้อยสดและผลิตภัณฑ์ท้องถนิ่

จากอ้อย

2. โครงการวิจัย 7. วิจยั และพฒั นาพนั ธอ์ุ ้อยคนั้ น้า

กิจกรรม 1. การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุออ้ ยคั้นน้า

กิจกรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ช่อื การทดลอง (ภาษาไทย) 1.13 ปฏิกริ ิยาการเกดิ โรคแสด้ า้ ของพันธอุ์ ้อยคัน้ นา้

ช่ือการทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Reactions of Smut Disease for Juice Cane Series 2010

4. คณะผูด้ าเนินงาน

หัวหนา้ การทดลอง สุวัฒน์ พลู พาน ศนู ย์วิจยั พชื ไร่สพุ รรณบุรี

ผรู้ ่วมงาน อัมราวรรณ ทิพยวัฒน์ ศนู ยว์ ิจัยพืชไรส่ พุ รรณบรุ ี

ทิพวรรณ สทิ ธสิ มบตั ิ ศูนยว์ จิ ยั พืชไรส่ พุ รรณบุรี

นพษิ ฐา กลดั เงนิ ศนู ย์วิจยั พชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

5. บทคัดยอ่

โรคแส้ด้าเป็นโรคท่ีส้าคัญของอ้อย ท้าให้ผลผลิตลดลง การใช้พันธุ์ต้านทานเป็นวิธีท่ีดีในการ

ปอ้ งกนั กา้ จดั ในการปรับปรุงพันธ์ุจึงมีความจ้าเป็นต้องทราบปฏิกิริยาต่อโรค จึงได้ศึกษาความต้านทานต่อ

โรคแส้ด้า ในออ้ ยคนั้ น้าโคลนดเี ดน่ จากศูนยว์ จิ ัยพืชไร่ขอนแก่น จ้านวน 10 โคลน เปรียบเทียบกับพันธ์ุ LK92-11

เป็นพนั ธุ์ต้านทาน และมีพนั ธุ์มารก์ อสเปน็ พนั ธเุ์ ปรียบเทียบความอ่อนแอต่อโรค ปลูกเช้ือด้วยวิธีแช่ในน้าผสม

สปอร์เช้ือรา Ustilago scitaminea สาเหตุโรคแส้ด้า บ่มเชื้อ 1 คืนก่อนปลูกอ้อย ตรวจเช็คการเกิดโรคทุกเดือน

จนอ้อยอายุ 12 เดือนท้ังในอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1 แต่เน่ืองจากท่อนพันธ์ุที่ใช้ส้าหรับการทดลองมีปริมาณ

ไมเ่ พียงพอ สง่ ผลให้ไมส่ ามารถปฏบิ ัติงานตามแผนการทดลองที่ก้าหนดไว้ได้

คาสาคัญ : อ้อย โรคแสด้ า้ Ustilago scitaminea

102

ABSTRACT
Smut disease caused by Ustilago scitaminea is an important disease of sugarcane.

Resistance evaluation is a routine procedure in varietal improvement program. Study on
disease reaction of sugarcane for juice cane at Suphan Buri Field Crops Research Center
was conducted with 10 clones of sugarcane and 2 check varieties, LK92-11 and Marcos.
They were inoculated by dipping in spore suspension of Ustilago scitaminea, causal agent
of sugarcane smut then incubated overnight before planting. The incidences of sugarcane
smut were counted every month until the canes were 12 months old and harvested at 12
months to evaluate the ratoon reaction. But the sugarcane used for the experiment was
insufficient. As a result, the data from this experiment could not be analysed.

Key words : Sugarcane Smut disease Ustilago scitaminea

6. คานา
การจ้าหน่ายน้าอ้อยสดพร้อมด่ืมสามารถพบเห็นได้ท่ัวไป เป็นธุรกิจที่ท้าได้ง่ายไม่ซับซ้อนเพียงมี

ออ้ ยและเครื่องหีบออ้ ยก็สามารถประกอบกิจการได้ เพราะมีอ้อยค้ันน้าพันธุ์ดีที่มีคุณภาพ “สุพรรณบุรี 50”
ที่สามารถปลูกได้ทั่วไปดูแลรักษาง่าย อ้อยค้ันน้าพันธ์ุน้ีมีรสชาติดี กล่ินหอม สีเหลืองอมเขียว และสีไม่คล้า
เม่ือเวลาผ่านไป ท้าให้นา่ รับประทานจงึ เปน็ ท่นี ยิ มของผูบ้ รโิ ภค

โรคแสด้ ้าของออ้ ย เกดิ จากเช้อื รา Ustilago scitaminea Syd. & P. Syd. หรือในชอ่ื ใหม่ Sporisorium
scitamineae (Piepenbring, et al. 2002) เป็นโรคที่พบท่ัวไปในทุกแหล่งปลูกอ้อย ลักษณะอาการของโรค
ท่ยี อดอ้อยจะเปลีย่ นเปน็ แสย้ าวสีด้า ท้าใหอ้ อ้ ยหยดุ การเจรญิ และแตกตาข้างมาก หากอาการรุนแรงอ้อยจะ
แคระแกร็น แตกกอฝอย และตายในที่สุด ท้าให้ผลผลิตอ้อยลดลงโดยตรง และยังท้าให้ความสามารถในการ
ไว้ตอลดลง โรคนี้สามารถท้าความเสียหายต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยตั้งแต่ 50-80% ความเสียหาย
ผลผลิตเนื่องจากโรคน้ีจะผันแปรไปตามระดับความต้านทานโรคของพันธ์ุอ้อย ซ่ึงจะท้าให้ความรุนแรงของ
โรคแตกต่างกันไป (วันทนีย์ และคณะ, 2530) นอกจากน้ียังท้าให้คุณภาพของน้าอ้อยลดลง มีรายงานว่า
อ้อยท่ีเป็นโรคแส้ด้าอย่างรุนแรง จะมีผลทา้ ให้ผลผลิตน้าตาลลดลงได้ถึง 3.85 ตันต่อเฮกตาร์ (Glaz et
al.,1989) โรคแส้ด้าสามารถแพร่ไปกับท่อนพันธุ์อ้อย และเช้ือราสาเหตุยังสามารถปลิวไปตามลมได้ การป้องกัน
ก้าจัดได้แก่ การใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธ์ุ หรือการแช่น้าร้อน 52 องศา นาน 30 นาทีก่อนปลูก (สุนี ศรีสิงห์
และคณะ, 2528) แต่วิธีการที่ได้ผลดีและสะดวกที่สุดคือ การใช้พันธ์ุต้านทานโรค การพัฒนาพันธุ์อ้อยให้มี
ศักยภาพจงึ มคี วามจ้าเปน็ ท่จี ะต้องตรวจสอบปฏิกิริยาของอ้อยโคลนดีเด่นต่อโรคที่ส้าคัญนี้ก่อนส่งเสริมเป็น
พันธ์ใุ หเ้ กษตรกรปลูกต่อไป

103

7. วิธดี าเนินการ
- อุปกรณ์
1. โคลนออ้ ยที่ต้องการทราบปฏิกิริยา ทม่ี ีแนวโน้มใหผ้ ลผลิตสูง โดยมอี ้อยพันธุ์ LK92-11 และ
มาร์กอสเปน็ พันธ์เุ ปรยี บเทียบ
2. สปอร์เชอ้ื Ustilago scitaminea สาเหตโุ รคแสด้ ้า
3. ถังแชส่ ปอร์
4. ปุ๋ยเคมเี กรด 15-15-15
5. สารก้าจดั วัชพืช
แบบและวิธกี ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ RCB จ้านวน 2 ซ้า มี 13 กรรมวิธีคือ โคลนอ้อยท่ีต้องการทราบปฏิกิริยา
จ้านวน 10 โคลน และพันธุ์สุพรรณบุรี 50 โดยมีพันธ์ุเปรียบเทียบ 2 พันธ์ุคือ อู่ทอง 1 (resistant check)
และพันธ์มุ าร์กอส (susceptible check)

- วิธีการ
1. ศึกษาการเกดิ โรคแส้ด้าโดยวิธีการปลูกเชื้อ Ustilago scitaminea กับอ้อยค้ันน้าโคลนพันธ์ุดีเด่น

10 โคลนและพันธ์ุสุพรรณบุรี 50 แล้วเปรียบเทียบความต้านทานโรคกับพันธุ์มาร์กอส ซึ่งเป็นพันธุ์
เปรียบเทียบความออ่ นแอตอ่ โรคแสด้ ้า

2. เตรยี มเชือ้ ราสาเหตุโรคโดยเกบ็ รวบรวมยอดอ้อยท่ีเป็นโรคแส้ดา้ จากแหล่งปลูกต่างๆ น้ามาเคาะ
เอาสปอร์ของเช้ือรา U. scitaminea น้าไปผ่ึงลมให้แห้งแล้วบรรจุขวด เก็บไว้ในโถดูดความช้ืน ส้าหรับ
ใช้ปลกู เชือ้ เพื่อทดสอบปฏิกิริยาของสายพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ด้า เตรียมท่อนพันธุ์อ้อยโดยน้าท่อนพันธุ์ขนาด
2 ตา แช่ในน้าสปอร์ของเช้ือรา U. scitaminea ความเข้มข้น 5×106 สปอร์ต่อมิลลิลิตร นาน 30 นาที
แลว้ บม่ ไว้ 1 คนื ก่อนนา้ ไปปลูก

3. เตรียมดินปลูกอ้อยโดยการไถพรวนและใส่ปูนมาร์ลเพื่อปรับ pH ของดิน ให้ได้ประมาณ 5.5-5.8
แล้วน้าท่อนพันธ์ุอ้อยท่ีบ่มเช้ือไว้มาปลูก ใช้ระยะปลูก 1.3 x 0.5 เมตร หลุมละ 2 ท่อน ในแปลงย่อยขนาด
2.6 × 8.0 เมตร ใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-15-15 อตั รา 50 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วกลบดิน หลังจากน้ัน 1 วัน พ่นสาร
ก้าจัดวัชพืชตามค้าแนะน้าของกรมวิชาการเกษตร และใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่
อีกคร้ัง เมื่ออ้อยอายุ 3 เดือน ตรวจเช็คการเกิดโรคแส้ด้าในอ้อยแต่ละโคลน เดือนละ 1 ครั้ง จนกระท่ัง
เก็บเกยี่ ว

4. ใหน้ ้าถา้ พบวา่ มฝี นทงิ้ ชว่ งเกิน 3 สัปดาห์ และเก็บเก่ียวอ้อยเมื่ออายุ 12 เดือน แล้วตัดแต่งตออ้อย
หลงั ตัดแต่งตอใหน้ ้าแล้วใส่ปุ๋ยเคมีสูตรเกรด 15-15-15 คร้ังท่ี 1 อัตรา 75 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ครั้งที่ 2
อตั ราเดยี วกนั หลังใส่ครง้ั แรก 3 เดือน ก้าจัดวัชพชื และใหน้ ้าตามกรรมวธิ ีท่กี า้ หนดข้างต้น ตรวจเช็คการ
เกิดโรคแสด้ ้าในออ้ ยแต่ละโคลนเดอื นละ 1 คร้ัง จนกระทง่ั เก็บเกย่ี วออ้ ยเมื่ออายุครบ 12 เดอื น

104

การบนั ทกึ ขอ้ มูล
1. บันทึกการเจริญของอ้อย
2. การเกิดโรคแสด้ า้ ตามวนั ทนยี ์ และคณะ, 2530

% กอเปน็ โรค grade ปฏกิ ริ ิยา

ออ้ ยปลกู ออ้ ยตอ

0-3 6 1 R (ต้านทาน)
4-6 7-12
7-9 13-16 2
10-12 17-20
13-25 21-30 3 MR (ตา้ นทานปานกลาง)
26-35 31-40
36-50 41-60 4
51-75 61-80
76-100 81-100 5

6 MS (ค่อนขา้ งอ่อนแอ)

7

8 S (อ่อนแอ)
9

- เวลาและสถานท่ี
ตุลาคม 2560-กนั ยายน 2563 ณ ศูนยว์ จิ ยั พชื ไร่สพุ รรณบุรี อา้ เภออู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
ทอ่ นพันธุ์ท่ีได้รบั มาและขยายพันธุเ์ พิม่ เตมิ เพอ่ื ใชส้ ้าหรับการทดลองมีปริมาณไม่เพียงพอ ส่งผลให้

ไมส่ ามารถปฏิบตั งิ านตามแผนการทดลองทกี่ ้าหนดไว้ได้

9. สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
-

10. การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์
-

11. คาขอบคุณ (ถา้ ม)ี
-

105

12. เอกสารอ้างองิ
วันทนีย์ อวู่ าณิชย์ อนุสรณ์ กุศลวงศ์ และนิยม จิ้วจิ้น. 2530. ปฏิกิริยาของอ้อยพันธ์ุต่างๆ ต่อโรคแส้ด้า
และโรคล้าตน้ เนา่ แดง. วารสารโรคพืช7(1): 55-64.
สุนี ศรีสงิ ห์ วนั ทนยี ์ อูว่ าณิชย์ อนสุ รณ์ กศุ ลวงศ์ และสอางค์ ไชยรนิ ทร์. 2528. ผลของวิธีการแช่น้าร้อน
เพื่อก้าจัดโรคที่ส้าคัญกับพันธุ์อ้อยท่ีนิยมปลูกในประเทศไทย. รายงานผลการวิจัย พ.ศ. 2528
กองโรคพชื และจลุ ชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร. หนา้ 1473 – 1485.
Glaz, B., Ulloa, M.F. and Parroda, R. 1989. Yield effects of sugarcane smut infection in
Florida. Journal American Society of Sugarcane Technologists 9:71-80.
Piepenbring, M.; Stoll, M. & Oberwinkler, F. (2002). The generic position of Ustilagomaydis,
Ustilago scitaminea, and Ustilago esculenta (Ustilaginales), Mycological Progress,
Vol.1, No. 1, pp. 71–80.

13. ภาคผนวก
-

106

รายงานผลงานเร่ืองเต็มการทดลองทส่ี น้ิ สุด

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วจิ ยั และพัฒนาออ้ ยส้าหรบั ธรุ กจิ น้าอ้อยสดและผลิตภณั ฑ์ท้องถิ่น

จากอ้อย

2. โครงการวจิ ัย 7. วจิ ัยและพฒั นาพนั ธุอ์ ้อยค้นั น้า

กิจกรรม 1. การปรับปรุงพนั ธ์ุอ้อยคัน้ น้า

กิจกรรมย่อย (ถา้ มี) -

3. ช่ือการทดลอง (ภาษาไทย) 1.14 ปฏิกิริยาการเกดิ โรคเห่ียวเน่าแดงของพันธุ์อ้อยคัน้ น้า

ช่ือการทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Reactions of Sugarcane Series 2010 for Fresh Juice to

Red Rot Wilt Disease

4. คณะผูด้ าเนินงาน

หวั หนา้ การทดลอง สวุ ฒั น์ พลู พาน ศนู ยว์ ิจยั พืชไรส่ พุ รรณบุรี

ผู้ร่วมงาน อัมราวรรณ ทิพยวฒั น์ ศนู ยว์ ิจัยพืชไรข่ อนแก่น

ทพิ วรรณ สิทธิสมบตั ิ ศูนย์วิจัยพชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี

นพษิ ฐา กลดั เงิน ศนู ย์วจิ ยั พชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

5. บทคดั ย่อ

ศึกษาการเกิดโรคในอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นต่อโรคเห่ียวเน่าแดงอ้อยชุดปี 2559 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่

สุพรรณบุรีตัดอ้อยอายุ 8 เดือน ท้ังล้าโคลนละจา้ นวน 20 ล้ามาท้าการปลูกเชื้อสาเหตุโรคเหี่ยวเน่าแดง

Colletotruchum falcatum และ Fusarium moniliforme จ้านวน 14 โคลน โดยมีพันธุ์ LK92-11

ขอนแก่น 3 เป็นพนั ธ์ุเปรยี บเทียบตา้ นทาน และอทู่ อง 8 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบอ่อนแอ ท้าการปลูกเชื้อในเดือน

ธันวาคม 2562 หลงั จากปลกู เชือ้ ประมาณ 2 เดอื นและเก็บในสภาพท่ีมีความช้ืนสูง พบว่า อ้อยจ้านวน 8 โคลน

แสดงปฏิกิริยาต้านทานปานกลาง คือ KKj16-1-006 KKj16-0001 KKj16-0007 KKj16-3-014 KKj16-4-018

KKj16-4-029 KKj16-1-003 และ KKj16-2-011 โคลนท่ีแสดงปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอ จ้านวน 4 โคลนคือ

KKj16-4-030 KKj16-4-024 KKj16-4-019 และ KKj16-1-005 โคลนที่อ่อนแอจ้านวน 2 โคลนคือ KKj16-5-033

และ KKj16-5-056 ข้อมลู ที่ได้จะได้น้าไปเป็นข้อมูลประกอบการคัดเลือกของขั้นตอนการปรับปรุงพันธ์ุอ้อย

ต่อไป

คาสาคัญ : อ้อย โรคเหี่ยวเนา่ แดง Colletotruchum falcatum Fusarium moniliforme

107

ABSTRACT
Study on Disease reaction of sugarcane series 2016 was conducted at Suphan

Buri Field Crops Research Center in December 2019. The whole stalks of 14 clones of
sugarcane for fresh juice series 2016 were cut at 8 months old. Twenty stalks per entry
were inoculated with Colletotruchum falcatum and Fusarium moniliforme which are
causal agents of sugarcane red rot wilt disease. The inoculated stalks were put in wet
sand and incubated in high relatively humid tents for 2 months and they were
longitudinally spitted to evaluate the reactions to the disease, with LK92-11 KK3 and UT8 as
resistant and susceptible checks respectively. Eight clones KKj16-1-006 KKj16-0001 KKj16-0007
KKj16-3-014 KKj16-4-018 KKj16-4-029 KKj16-1-003 and KKj16-2-011 were moderately resistance
to the disease. Four clones, KKj16-4-030 KKj16-4-024 KKj16-4-019 and KKj16-1-005 were
moderately susceptible. Two clones, KKj16-5-033 and KKj16-5-056 were susceptible. The
information obtained will be used for the selection for sugarcane breeding process.

Key words : Sugarcane Red rot wilt diseases Colletotruchum falcatum Fusarium moniliforme

6. คานา
การจ้าหน่ายน้าอ้อยสดพร้อมด่ืมสามารถพบเห็นได้ทั่วไป เป็นธุรกิจท่ีท้าได้ง่ายไม่ซับซ้อนเพียงมี

ออ้ ยและเครื่องหีบอ้อยก็สามารถประกอบกิจการได้ เพราะมีอ้อยค้ันน้าพันธุ์ดีท่ีมีคุณภาพ “สุพรรณบุรี 50” ท่ี
สามารถปลูกไดท้ ั่วไปดูแลรักษาง่าย อ้อยคั้นน้าพันธุ์นี้มีรสชาติดี กล่ินหอม สีเหลืองอมเขียว และสีไม่คล้าเมื่อ
เวลาผ่านไป ทา้ ให้น่ารบั ประทานจึงเป็นท่นี ิยมของผูบ้ รโิ ภค

โรคเน่าแดง หรือโรคเห่ียวเน่าแดง เป็นโรคที่เกิดจากเช้ือรา Colletotruchum falcatum และ
Fusarium moniliforme พบการระบาดรุนแรงกับอ้อยพันธุ์สุพรรณบุรี 1 และ CB38-22 ในเขตปลูกอ้อย
ภาคตะวันตก ทา้ ให้อ้อยเห่ียวและแห้งตายอย่างรวดเร็วในพ้ืนที่รวมมากกว่า 3,000 ไร่ (วันทนีย์ และคณะ,
2535)

ต่อมาพบว่า ระบาดท่ัวไปในเขตปลูกอ้อยทั้งภาคกลาง ภาคเหนือตอนล่าง และภาคตะวันออก
การระบาดแต่ละครั้งจะท้าความเสียหายให้กับอ้อยท้ังในด้านผลผลิตและคุณภาพ โดยน้าอ้อยจากล้าท่ีเป็น
โรคจะท้าใหค้ ุณภาพของน้าอ้อยเสียไปเน่อื งจากมปี รมิ าณ sucrose ลดลง 50–58% และยังมี purity ลดลง
การใช้สารเคมีในอ้อยที่มีขนาดใหญ่ไม่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และอาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ การป้องกันก้าจัด
โรคท่ีไดผ้ ลดี และสะดวกทส่ี ดุ คือ การใช้พันธ์ุตา้ นทานโรค การพัฒนาพันธ์ุอ้อย พันธุ์ใหม่ๆ ให้มีศักยภาพ จึงมี
ความจ้าเป็นท่ีจะต้องตรวจสอบปฏิกิริยาของสายพันธุ์ต่อโรคท่ีส้าคัญน้ีก่อนส่งเสริมเป็นพันธุ์ให้เกษตรกรได้
ใช้ตอ่ ไป

108

7. วิธีดาเนนิ การ
- อปุ กรณ์
1. อ้อยคัน้ น้าโคลนดีเดน่ ชุดปี 2559

2. ออ้ ยพนั ธุ์สุพรรณบุรี50 ขอนแกน่ 3 LK92-11 และพันธุอ์ ู่ทอง 8 เป็นพันธ์ุเปรยี บเทียบ
3. เชื้อรา Colletotruchum falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตโุ รค
4. cork borer
5. กระโจมพลาสติก
6. อปุ กรณ์การแยกเชอื้ บริสทุ ธ์ิ
- วิธกี าร
ปลูกอ้อยท่ีจะท้าการทดสอบปฏิกิริยาจนอ้อยมีอายุประมาณ 6-8 เดือน ตัดอ้อยที่โคน โดยตัดใบยอด

ใหเ้ หลือใบเขยี วเลก็ น้อย แลว้ ปกั ออ้ ยในกระบะทรายท่ีผ่านการควั่ และลา้ งนา้ เรยี บร้อยแล้ว จากน้ันใช้แผ่น
พลาสตกิ ใสทา้ เปน็ กระโจมคลมุ อ้อยไว้เพ่ือช่วยรักษาความช้ืน เจาะอ้อยด้วย cork borer ขนาด 0.5 เซนติเมตร
บริเวณปล้องที่ 5 จากพื้นดินแล้วใส่วุ้นเปล่าท่ีมีเชื้อ ปิดแผลด้วยแผ่น parafilm เลียนแบบวิธีการปลูกเชื้อ

โดยวิธี wound plug เป็นตัวเปรยี บเทียบการปลกู เช้อื พันธ์ลุ ะ 20 ลา้ โดยมี LK92-11 และขอนแกน่ 3 เป็นพนั ธุ์
resistant check และพันธ์ุอู่ทอง 8 เป็น susceptible check ให้น้าเช้า-เย็นเพื่อรักษาความช้ืน ผ่าอ้อย
เพอื่ ดูอาการลกุ ลามภายในประมาณ 8 สปั ดาห์หลงั ปลูกเชื้อ

การบนั ทึกขอ้ มลู
บันทึกการเจริญของอ้อย และการเกิดโรคตามอัปสร และคณะ, 2535
อาการทีแ่ สดงภายนอก
ระดบั ที่ 1 หลงั ปลกู เชือ้ 2 เดอื น อ้อยยังมีอาการปกติ
ระดบั ท่ี 2 หลงั จากปลูกเชอื้ 2 เดือนอ้อยเริ่มแสดงอาการเหลอื ง
ระดับท่ี 3 หลังจากปลูกเชือ้ แล้ว 1 เดอื นอ้อยเร่ิมเหลอื งและยอดแหง้ ภายใน 2 เดือน
ระดบั ท่ี 4 หลังจากปลูกเช้ือแลว้ 1 เดือน ออ้ ยเหลืองและแห้งตายภายใน 1 เดือน
ระดับความรนุ แรงของโรควดั จากการลามของเช้อื ในลา้ อ้อย
ระดบั ท่ี 1 แผลไมข่ ยายเกินปล้องทป่ี ลกู เชอ้ื
ระดับท่ี 2 แผลลามขา้ มไป 2-3 ปลอ้ ง
ระดับที่ 3 แผลลามข้ามไป 4-5 ปลอ้ ง
ระดับที่ 4 แผลลามเกิน 5 ปลอ้ งถงึ เกือบทงั้ ลา้ แต่ไมเ่ น่ากลวง
ระดบั ท่ี 5 เนา่ กลวงทั้งล้า

109

อาการภายนอก RATING SYSTEM ปฏกิ ิริยา
1 R (ต้านทาน)
1 อาการลามของเชื้อในลา MR (ต้านทานปานกลาง)
2 1 MS (คอ่ นข้างอ่อนแอ)
3 2 S (ออ่ นแอ)
4 2-3 HS (ออ่ นแอมาก)
3-4
4-5

- เวลาและสถานที่
ตุลาคม 2560-กนั ยายน 2563 ณ ศูนย์วจิ ัยพืชไรส่ พุ รรณบุรี อ้าเภออู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

8. ผลการทดลองและวิจารณ์
การปลูกเช้ือในสภาพที่ให้ความชื้นสูง เป็นการพัฒนาวิธีการมากจากวิธี nodal method ตาม

วิธีการของสถาบันวิจัยพันธุ์อ้อยของอินเดีย (Srinivasanand Bhat, 1961; Duttamajumder and Misra,
2004) การใช้สภาพที่มีความสูงในการท้าให้เกิดโรค ท้าให้อาการของโรครุนแรงขึ้นกว่าการปลูกเชื้อด้วย
วิธีการเดิมคือใส่กระถางต้ังไว้ในสภาพธรรมชาติ ซ่ึงมีข้อจ้ากัดที่จะต้องด้าเนินการในช่วงฤดูแล้งท่ีให้
เปอร์เซ็นต์เกิดโรคต้่ากว่าในช่วงฤดูฝน นอกจากนี้แผลภายในจะเหมือนกับสภาพธรรมชาติมาก สีของแผล
จะแดงสดกว่าการปลูกเช้ือวิธีด้ังเดิม อย่างไรก็ตามสภาพที่ชื้นมากท้าให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย
โดยเฉพาะในรอยตัดท่ีโคนท่ีต้องฝังอยู่ในทรายชื้น ท้าให้ไม่สามารถลดจ้านวนต้นที่ใช้ได้ ผลการทดลอง พบว่า
ในอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นชุดปี 2559 จ้านวน 14 สายพันธุ์ พบว่า อ้อยแสดงปฏิกิริยาต้านทานปานกลางคือ
KKj16-1-006 KKj16-0001 KKj16-0007 KKj16-3-014 KKj16-4-018 KKj16-4-029 KKj16-1-003 และ
KKj16-2-011 ในขณะที่พนั ธุเ์ ปรียบเทยี บ ขอนแก่น3 LK92-11 และสพุ รรณบุรี 50 ก็แสดงปฏิกิริยาต้านทาน
ปานกลางเช่นเดียวกัน โคลนที่แสดงปฏิกิริยาค่อนข้างอ่อนแอจ้านวน 4 โคลน คือ KKj16-4-030 KKj16-4-024
KKj16-4-019 และ KKj16-1-005 โคลนท่ีอ่อนแอจา้ นวน 2 โคลนคือ KKj16-5-033 และ KKj16-5-056
เชน่ เดียวกันกับพันธ์ุเปรียบเทียบคือ อ่ทู อง 8 ที่แสดงปฏิกิรยิ าออ่ นแอ

แต่เนื่องจากการคัดเลือกพันธุ์ด้วยวิธีเจาะล้าต้นและให้ความช้ืนสูงท้าให้เกิดโรคอย่างรุนแรง
มากกวา่ การเกิดโรคตามสภาพธรรมชาตใิ นปัจจุบัน ดังนัน้ การน้าพนั ธ์ุน้นี ่าจะแนะน้าตอ่ ได้ เนื่องจากปฏิกิริยา
สว่ นใหญ่คอ่ นข้างตา้ นทานต่อโรคสายพันธุ์ที่คอ่ นขา้ งต้านทานต่อโรค

9. สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การปลูกเช้ือโรคเหี่ยวเน่าแดงด้วยวิธีการตัดล้ามาปลูกในกระบะทรายท่ีช้ืน เป็นวิธีการที่สะดวก

และรวดเร็วและให้ผลเป็นท่ีน่าพอใจเนื่องจากการแสดงอาการใกล้เคียงกับสภาพการเกิดโรคตามธรรมชาติ
แต่จะมคี วามรุนแรงมากกว่าการเกิดโรคตามสภาพธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม การให้ความชื้นมากเกินไปท้าให้
มีการลุกลามของแบคทีเรียตรงรอยตัดที่โคน ท่ีท้าให้เกิดการสับสนได้ อย่างไรก็ตามยังคงสามารถแยก
ลักษณะอาการของการเกิดโรคได้

110

10. การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
กลุ่มท่ีน้าผลงานวิจัยเร่ืองนี้ไปใช้คือ นักปรับปรุงพันธ์ุ เนื่องจากเป็นข้อมูลส้าคัญในการขอรับรอง

พันธตุ์ ่อกรมวชิ าการเกษตร และยังเปน็ ข้อมลู ใหก้ ับเกษตรกรเพ่อื ป้องกนั กา้ จดั โรคในอนาคตต่อไป

11. คาขอบคณุ (ถ้ามี)
-

12. เอกสารอ้างอิง
วนั ทนยี ์ อวู่ าณิชย์ อัปสร เปล่ียนสินไชย และสุนี ศรสี งิ ห์. 2535. โรคเหย่ี วเนา่ แดงระบาดในเขตปลูกอ้อย
ภาคตะวนั ออกและภาคกลาง. กสกิ ร 65(1) : 42-44.
อัปสร เปลีย่ นสินไชย ธนิต โสภโณดร อุดม เลียบวัน และวันทนีย์ อู่วาณิชย์. 2536. ผลของโรคเห่ียวเน่าแดง
ตอ่ อ้อย และการทดสอบปฏิกริ ิยาของสายพันธ์ุอ้อยต่อโรคเห่ียวเน่าแดง. ใน การประชุมอ้อยและ
นา้ ตาลแห่งชาติ ครั้งที่ 1. 14-16 กนั ยายน 2536 กรุงเทพฯ. หนา้ 382-392.
Duttamajumder, S.K. and Misra, S.C. 2004. Towards an ideal method of inoculation for
screening sugarcane genotypes against red rot caused by Colletotrichum falcatum.
Indian Phytopath., 57: 24-29.
Srinivasan, K.V. and Bhat, N.R. 1961. Red rot of sugarcane criteria for grading resistance.
J. Indian Bot. Sci.,11:566-577.

13. ภาคผนวก

111

Table 1 Reaction of sugarcane UT series 2016 inoculated with red rot wilt disease in
December 2019

No Clone External symptoms No. of red internodes reaction

1 KKj16-0001 sugarcane topping stalk 1-4 MR
2 KKj16-0007 1-4 MR
3 KKj16-1-003 green green 1-4 MR
4 KKj16-1-005 2-9 MS
5 KKj16-1-006 green green 1-3 MR
6 KKj16-2-011 1-all MR
7 KKj16-3-014 green green 1-3 MR
8 KKj16-4-018 1-4 MR
9 KKj16-4-019 yellow/wilt red 1-all MS
10 KKj16-4-024 1-all MS
11 KKj16-4-029 green/dry green 1-5 MR
12 KKj16-4-030 2-7 MS
13 KKj16-5-033 wilt/dry red 2-10 S
14 KKj16-5-056 3-9 S
15 SP50 green/wilt green 1-3 MR
16 UT8 2-5 MS
17 LK92-11 green/wilt green 1-4 MR
18 KK3 1-4 MR
green red

yellow/wilt green

green green

green/wilt red

dry red

green/wilt red

green green

green/yellow green

green green

green green

112

รายงานผลงานเร่อื งเตม็ การทดลองท่สี น้ิ สุด

------------------------

1. แผนงานวจิ ยั 1. วจิ ัยและพฒั นาการปรับปรงุ พันธ์ุอ้อยเพือ่ อุตสาหกรรมน้าตาล

2. โครงการวจิ ยั 3. วิจัยการปรบั ปรุงพันธอ์ุ ้อยสา้ หรับสภาพชลประทานและมีน้าเสริม

กิจกรรม 1. การปรบั ปรุงพนั ธุ์อ้อย

กิจกรรมย่อย (ถา้ มี) -

3. ชือ่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.18 การเปรยี บเทยี บในไรเ่ กษตรกรพนั ธ์ุออ้ ยอ้อยชดุ ปี 2553 เพ่ือ

ผลผลติ คณุ ภาพ (อ้อยปลูก)

ชือ่ การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Farmer Yield Trial Series 2010: for Yield and Quality

: Plant Cane

4. คณะผู้ดาเนินงาน

หวั หน้าการทดลอง สวุ ฒั น์ พูลพาน ศูนยว์ จิ ยั พืชไรส่ พุ รรณบุรี

ผ้รู ่วมงาน อดุ มศักด์ิ ดวนมีสขุ ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

อจั ฉราภรณ์ วงศ์สขุ ศรี ศนู ยว์ จิ ยั พืชไร่สพุ รรณบุรี

เสมอนาถ บวั แจ่ม ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบุรี

ทพิ วรรณ สทิ ธิสมบัติ ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี

ณชิ นนั ท์ พิเชยี รสดใส ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรส่ พุ รรณบุรี

5. บทคัดยอ่

เปรียบเทยี บในไรเ่ กษตรกรออ้ ยชดุ ปี 2553 เพ่อื ผลผลิตคุณภาพ ด้าเนินการที่ไร่เกษตรกร จังหวัด

สุพรรณบุรี 3 แปลง จังหวัดกาญจนบุรี 1 แปลง จังหวัดนครปฐม 1 แปลง เก็บข้อมูลอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และ

อ้อยตอ 2 ปลูกอ้อย 5 โคลน และพันธ์ุเปรียบเทียบ 2 พันธ์ุคือ ขอนแก่น 3 และLK92-11 ผลการทดลอง

เมื่อน้าข้อมลู จาก 5 แปลงมาวเิ คราะห์ พบว่า ในอ้อยปลูก UT10-586 ให้ผลผลิตมากท่ีสุด 15.4 9 ตันต่อไร่

มากกวา่ พันธ์ุเปรียบเทยี บขอนแก่น 3 และ LK92-11 ซึ่งให้ผลผลิตเท่ากับ 13.5 และ 12.5 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ

โคลน UT10-623 มีผลผลิตน้าตาลมากท่ีสุด 2.07 ตันซีซีเอสต่อไร่ ในอ้อยตอ 1 โคลน UT10-414 มีผลผลิต

มากสุด 13.8 ตันตอ่ ไร่ โคลน UT10-615 ให้ผลผลิตนา้ ตาลมากทีส่ ุด 1.68 ตนั ซีซีเอสต่อไร่ ออ้ ยตอ 2 ด้านผลผลิต

ไมม่ คี วามแตกต่างทางสถิติ โดยพนั ธุ์ LK92-11 ใหผ้ ลผลติ มากที่สดุ 9.74 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ ขอนแก่น 3

และ UT10-623 ให้ผลผลิต 9.69 และ 9.45 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ด้านซีซีเอสและผลผลิตน้าตาลมีความ

แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ พันธุ์ LK92-11 มีค่าซีซีเอสมากที่สุด 15.1 รองลงมาคือ UT10-623

ด้านผลผลิตน้าตาลพันธุ์ LK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาลมากท่ีสุด 1.46 ตันซีซีเอสต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างกับ

UT10-623 ให้ผลผลิตน้าตาล 1.29 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่

คาสาคัญ : ออ้ ย เปรียบเทียบในไรเ่ กษตรกร อ้อยชดุ ปี 2553

113

ABSTRACT
The farmer yield trial Series 2010: for yield and quality was conducted in 5

locations, 3 farmer fields in Suphan Buri, Kanchanaburi and Nakhon Pathom during 2017-2020.
Data was collected in plant cane , 1st ratoon and 2nd ratoon crops. Five clones were
planed, compared with 2 check varieties, Khon Khan 3 and LK92-11. The results in plant
cane showed that UT10-586 gave the highest cane yield, 15.4 9 tons per rai, which gave
more cane yield than Khon Kaen 3 and LK92-11, 13.5 and 12.5 ton per rai respectively.
UT10-615 had the highest sugar yield 2.07 tonsCCS/rai. In the 1st ratoon, UT10-414 had the
highest yield of 13.8 tons/rai. UT10-615 had the highest sugar yield of 1.68. Tons CCS/rai.
In the 2nd ratoon, LK92-11 gave the highest cane yield 9.74 tons/rai. LK92-11 gave the
highest cane yield, CCS and sugar yield 9.74 tons/rai, 15.1 and 1.46 tonCCS/rai
respectively. But sugar yield was not different with UT10-623 which gave sugar yield 1.29
tonsCCS/rai.

Key words : Sugarcane, yield trial

6. คานา
ออ้ ยเป็นพืชอตุ สาหกรรมที่มคี วามส้าคัญของประเทศไทย ซึ่งผลิตอ้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก และ

เป็นผู้ส่งออกน้าตาลอันดับท่ี 2 ของโลก รองจากประเทศบราซิล ท้ารายได้เข้าประเทศปีละมากกว่า 100,000
ลา้ นบาท ผลผลิตออ้ ยในปี 2562/63 มีปริมาณเข้าหีบท้ังส้ิน 74.89 ล้านตัน ค่าซีซีเอสเฉลี่ย 12.68 ผลผลิต
น้าตาลต่อตันอ้อย 110.75 กิโลกรัมต่อตัน (ส้านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย, 2563) การเพิ่ม
ผลผลิตอ้อยสามารถ ทา้ ได้โดยการปรับปรุงพันธุ์ให้ได้อ้อยท่ีดีทดแทนอ้อยพันธุ์เก่าที่อาจเสื่อมลง โดยพันธุ์
อ้อยที่ดีต้องให้ผลผลิตสูงและความหวานสูง ต้านทานต่อโรคและแมลง มีลักษณะท่ีดีทางการเกษตร เช่น การ
ไว้ตอได้หลายครั้ง ไม่ออกดอก ไม่หักล้มง่าย เป็นต้น และสามารถปรับตัวได้ดีในแหล่งปลูกท่ีส้าคัญในแต่ละ
ภูมิภาค

7. วธิ ีดาเนินการ
- อปุ กรณ์
1. อ้อย 5 โคลน และพนั ธเ์ุ ปรยี บเทยี บ ขอนแก่น 3 และ LK92-11
2. ปุ๋ยเคมเี กรด 15-15-15
3. สารเคมปี ้องกันกา้ จัดศตั รูพืชและวชั พืช
4. ห้องปฏิบตั กิ ารน้าตาล
5. อปุ กรณ์การเกบ็ ขอ้ มลู เชน่ ดินสอ ปากกา สายวัด เป็นต้น

114

แบบและวธิ กี ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ RCB จ้านวน 4 ซา้ อ้อยโคลนของอ้อยชดุ ปี 2553 จ้านวน 5 โคลน และพนั ธุ์

เปรยี บเทียบ ขอนแกน่ 3 และ LK92-11

- วธิ ีการ

ขนาดแปลงทดลองและพนื้ ทีเ่ กบ็ เกย่ี ว

ขนาดแปลง 40 x 75 เมตร

ขนาดแปลงทดลองยอ่ ย 9 x 8 เมตร

พน้ื ท่เี ก็บเกี่ยว 6 x 8 เมตร

ปี 2560 ทา้ การปลกู ออ้ ยระยะระหวา่ งแถว 1.5 เมตร แถวยาว 8 เมตร พนั ธุ์ละ 6 แถว ปลูกแบบ

วางล้าคู่ ตัดล้าละ 3 ท่อน แล้วกลบด้วยดินบางๆ ใส่ปุ๋ย 2 ครั้งๆ ละ 75 กิโลกรัมต่อไร่ พร้อมปลูกและเม่ือ

ออ้ ยอายุ 2.5 เดือน ใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั และก้าจดั ศัตรพู ืชตามคา้ แนะน้าของกรมวชิ าการเกษตร

ในอ้อยตอ 1 และตอ 2 หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตให้น้าทันที เม่ืออ้อยอายุได้ 2.5 เดือน ใส่ปุ๋ยเกรด

15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรมั ต่อไร่ ทา้ การกา้ จัดวชั พชื เมอ่ื ออ้ ยงอกไดป้ ระมาณ 2.5 เดือน

ดา้ เนนิ การทไ่ี ร่เกษตรกร จังหวัดสุพรรณบรุ ี กาญจนบรุ ี และนครปฐม

การบนั ทกึ ขอ้ มลู

- วนั ปฏิบตั ิการตา่ งๆ

- ผลผลติ น้าหนกั

- โรคและแมลง

- ค่าซีซเี อส

- ลกั ษณะการเกษตร

- การไวต้ อ

- เวลาและสถานท่ี

ตุลาคม 2560 - กนั ยายน 2563 ไร่เกษตรกร จังหวดั สุพรรณบรุ ี กาญจนบุรี และนครปฐม

8. ผลการทดลองและวิจารณ์

ด้าเนินการปลูกอ้อยโคลนของอ้อยชุดปี 2553 ในไร่เกษตรกรจ้านวน 5 แปลง เก็บเกี่ยวอ้อยท่ีอายุ
12 เดอื น เก็บข้อมลู การใหผ้ ลผลติ ในออ้ ยปลกู และออ้ ยตอ 1 ขณะน้ีอย่รู ะหว่างการดูแลรักษาและเก็บข้อมูล
การเจรญิ เติบโตของอ้อยตอ 2 ในแปลงเกษตรกร

แปลงทดลอง อ้าเภอด่านชา้ ง จังหวดั สุพรรณบุรี
ในออ้ ยปลูกเก็บเก่ียวที่อ้อยอายุ 12 เดือน พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบให้ความยาวล้า

จ้านวนปลอ้ ง จ้านวนล้า ไม่แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ด้านความยาวล้า โคลน UT10-414 ให้ผลผลิต
มากที่สุดคือ 12.40 ตันต่อไร่ ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้า และค่าซีซีเอส พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญ
ทางสถิติ โดยเส้นผ่านศูนย์กลางล้าโคลน UT10-414 มีค่ามากที่สุด 3.05 เซนติเมตร ใกล้เคียงกับโคลน
UT10-623 และพันธ์ุขอนแก่น 3 ด้านค่าซีซีเอส พันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 15.2 ผลผลิตน้าตาล พบว่า
มคี วามแตกต่างระหวา่ งพนั ธุ์เปรยี บเทียบและโคลนดีเด่น (Table 1)

115

ในออ้ ยตอ 1 พบวา่ อ้อยทกุ โคลนและพันธเุ์ ปรียบเทียบมจี ้านวนปลอ้ ง ผลผลิตและผลผลิตน้าตาล
ไม่มคี วามแตกต่างทางสถติ ิ ด้านความยาวล้าเส้นผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวนล้าต่อไร่ และค่าซีซีเอส พบว่า มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยความยาวล้าโคลน UT10-623 มีค่ามากท่ีสุด 255 เซนติเมตร เส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้าโคลน UT10-414 มีค่ามากท่ีสุด 3.15 เซนติเมตร มากกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ด้าน
จ้านวนลา้ ตอ่ ไร่ UT10-227 มีจ้านวนลา้ ตอ่ ไร่มากท่ีสดุ ซ่ึงใกลเ้ คียงกับขอนแก่น 3 ด้านคา่ ซีซเี อส พันธุ์ขอนแก่น 3
มีคา่ ซีซีเอสสงู สดุ 14.8 (Table 2)

ในอ้อยตอ 2 พบว่า ด้านผลผลิตและผลผลิตนา้ ตาลไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ด้านความยาวลา้
เส้นผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวนปล้อง จ้านวนล้าและซีซีเอส มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โคลน
UT10-227 มีความยาวมากท่ีสดุ คอื 175 เซนตเิ มตร มากกวา่ พนั ธ์เุ ปรยี บเทยี บขอนแก่น 3 และ LK92-11 มี
ความยาวล้า 122 และ 109 เซนติเมตร ตามล้าดับ โคลน UT10-414 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากท่ีสุดคือ
2.90 เซนติเมตร ด้านจ้านวนปล้องตอ่ ลา้ UT10-586 มคี า่ มากท่ีสุดคือ 20 ปล้องต่อล้าแต่ไม่แตกต่างกับโคลน
UT10-414 ด้านจ้านวนล้าต่อไร่ โคลน UT10-227 มีจ้านวนล้ามากที่สุดคือ 13,140 ล้าต่อไร่ รองลงมาคือ
โคลน UT10-615 มจี า้ นวน 11,469 ล้าตอ่ ไร่ ด้านคา่ ซีซีเอส พบว่า พันธุ์ขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 15.0
ดา้ นผลผลติ น้าตาล พบว่า UT10-227 ให้ผลผลิตน้าตาลมากท่ีสุด 0.86 ตันซีซีเอสต่อไร่ (Table 3)

แต่เนื่องจากในปีที่ผ่านมาพื้นท่ีดังกล่าว ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลานาน
ส่งผลกระทบให้อ้อยที่มีสภาพขาดนา้ แคระแกรน็ การเจรญิ เติบโตและการให้ผลผลติ จึงไม่สมบูรณ์เตม็ ที่
แปลงทดลอง โรงงานน้าตาลอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบุรี

ในอ้อยปลูก เก็บเก่ียวท่ีอ้อยอายุ 12 เดือน พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบมีความยาวล้า
จ้านวนปล้อง ผลผลิต และผลผลิตน้าตาลไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้า จ้านวนล้า
และค่าซีซีเอส พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยเส้นผ่านศูนย์กลางล้าโคลน UT10-414
มีค่ามากท่ีสดุ 3.27 เซนตเิ มตร แตกต่างกับพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ด้านค่าซีซีเอส พันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่า
ซีซีเอสสูงสุด 17.4 จ้านวนล้าโคลน UT10-227 และ UT10-615 ให้จ้านวนล้า 18,633 และ 16,267 ล้าต่อไร่
ไมแ่ ตกตา่ งกบั พนั ธ์เุ ปรยี บเทยี บทงั้ สองพันธุ์ (Table 4)

ในอ้อยตอ 1 พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบความยาวล้า เส้นผ่านศูนย์กลางล้า
จ้านวนปล้อง จ้านวนล้า ผลผลิต และผลผลิตน้าตาลไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ด้านค่าซีซีเอส พบว่า มีความ
แตกตา่ งอย่างมนี ัยส้าคัญทางสถติ ิ โคลน UT10-615 มีคา่ ซีซีเอสสงู สดุ 13.7 (Table 5)

ในอ้อยตอ 2 พบว่า ด้านจ้านวนล้า ผลผลิตและซีซีเอสไม่มีความแตกต่างทางสถิติ มีความแตกต่าง
อย่างมีนยั ส้าคัญทางสถติ ใิ นด้านความยาวลา้ เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางลา้ จ้านวนปล้อง จ้านวนล้าและผลผลิตน้าตาล
โดยโคลน UT10-623 มคี วามยาวมากที่สุด คือ 270 เซนติเมตร มากกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบ ขอนแก่น 3 และ
LK92-11 มคี วามยาวล้า 237 และ 212 เซนติเมตร ด้านผลผลิตน้าตาล พบว่า ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล
มากท่ีสุด 2.70 ตนั ซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคอื UT10-615 ใหผ้ ลผลิตน้าตาล 2.27 ตนั ซซี ีเอส ต่อไร่ (Table 6)

116

แปลงทดลอง อ้าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบรุ ี
ในอ้อยปลูก เก็บเก่ียวท่ีอ้อยอายุ 12 เดือน พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธุ์เปรียบเทียบมีความแตกต่าง

อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติในทุกลักษณะ ด้านความยาวล้า โคลน UT10-227 UT10-414 UT10-615 และ
UT10-623 มีความยาวล้ามากกว่าโคลน UT10-586 พันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 อย่างมีนัยส้าคัญย่ิง
ทางสถิติ โคลน UT10-227 มีจ้านวนล้ามากท่ีสุดคือ 13,295 ล้าต่อไร่ โคลน UT10-414 มีผลผลิตมากท่ีสุด
14.8 ตันต่อไร่ ซึ่งไม่แตกต่างกับ UT10-227 UT10-615 และ UT10-623 ส่วนพันธ์ุขอนแก่น 3 และ LK92-11
ได้รับผลกระทบจากสภาวะน้าท่วมขัง ส่งผลให้ได้ผลผลิตต่้าคือ 7.3 และ 4.2 ตันต่อไร่ ตามล้าดับ ด้านค่าซีซีเอส
พนั ธ์ุขอนแกน่ 3 มคี า่ ซซี ีเอสสูงสุด 16.5 ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-615 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 16.2 ผลผลิตน้าตาล
พบว่า โคลน UT10-615 ให้ผลผลิตนา้ ตาลมากทสี่ ดุ 2.17 ตนั ซีซีเอสตอ่ ไร่ (Table 7)

ในอ้อยตอ 1 พบว่า ในทุกลักษณะอ้อยทุกโคลนและพันธุ์เปรียบเทียบมีความแตกต่างอย่างมีนัย
สา้ คัญทางสถิติ ด้านความยาวล้า โคลนดีเด่นทุกโคลนมีความยาวล้ามากกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11
อยา่ งมนี ยั สา้ คัญยงิ่ ทางสถติ ิ โคลน UT10-586 มีจ้านวนปล้องมากที่สุดคือ 30.8 ปล้องต่อล้า โคลน UT10-227
มจี า้ นวนล้ามากที่สุดคือ 14,438 ล้าต่อไร่ ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-623 และพันธุ์ LK92-11 โคลน UT10-414
มผี ลผลิตมากทสี่ ุด 17.6 ตันต่อไร่ ซ่ึงไม่แตกต่างกับโคลน UT10-227 UT10-623 และ UT10-586 ด้านค่าซีซีเอส
พนั ธข์ุ อนแกน่ 3 มคี า่ ซซี เี อสสูงสุด 15.0 ไมแ่ ตกต่างกบั โคลน UT10-615 ผลผลิตน้าตาล พบว่า โคลน UT10-586
ใหผ้ ลผลติ น้าตาลมากทส่ี ดุ 2.13 ตันซซี ีเอสตอ่ ไร่ (Table 8)

ในอ้อยตอ 2 พบว่า ในทุกลักษณะอ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบมีความแตกต่างอย่างมีนัย
ส้าคัญทางสถิติ ด้านความยาวล้า โคลน UT10-623 มีความยาวล้ามากท่ีสุดคือ 305 เซนติเมตร ด้านเส้นผ่าน
ศูนยก์ ลางล้า พนั ธข์ุ อนแกน่ 3 มีเสน้ ผ่านศนู ย์กลางลา้ มากที่สุดคือ 2.95 เซนติเมตร แต่ไม่แตกต่างกับ UT10-414
UT10-586 และ UT10-623 ด้านจ้านวนล้าต่อไร่ โคลน UT10-227 มีจ้านวนล้ามากที่สุดคือ 14,1744 ล้า
ต่อไร่ ด้านผลผลิตโคลน UT10-623 มีผลผลิตมากที่สุดคือ 14.2 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ โคลน UT10-586 มี
ผลผลิต 13.2 ตนั ต่อไร่ ด้านคา่ ซซี เี อส พบวา่ โคลน UT10-615 มคี า่ ซีซีเอสสงู สุด 13.8 เท่ากับ LK92-11 แต่
มากกว่าพันธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอส 13.7 ด้านผลผลิตน้าตาล พบว่า พันธุ์ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล
มากทส่ี ดุ 1.75 ตนั ซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคอื โคลน UT10-615 มีผลผลติ 1.64 ตนั ซซี ีเอสต่อไร่ (Table 9)

แปลงทดลอง อ้าเภอสองพีน่ อ้ ง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ในอ้อยปลูก เก็บเก่ียวที่อ้อยอายุ 12 เดือน พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบมีความแตกต่าง

อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติในทุกลักษณะ ยกเว้น จ้านวนล้าต่อไร่ โคลน UT10-623 มีความยาวล้ามากที่สุด
287 เซนติเมตร ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-414 UT10-586 และ UT10-615 แต่มากกว่าโคลน UT10-227
พันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 อย่างมีนัยส้าคัญย่ิงด้านผลผลิตอ้อยทุกโคลนให้ผลผลิตไม่แตกต่างกับพันธ์ุ
ขอนแก่น 3 แต่มากกว่าพันธ์ุ LK92-11 อย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ ยกเว้น พันธุ์ LK92-11 โดยโคลน
UT10-586 ให้ผลผลิตมากทส่ี ดุ 12.9 ตันต่อไร่ ดา้ นค่าซซี เี อส โคลน UT10-615 มีค่าซีซีเอสสงู สุด 16.5 ไม่แตกต่าง
กบั พันธุ์ขอนแกน่ 3 ผลผลติ น้าตาล พบว่า ออ้ ยทกุ โคลนให้ผลผลติ นา้ ตาลไม่แตกต่างกบั พันธุ์ขอนแก่น 3 แต่
มากกวา่ พนั ธ์ุ LK92-11 อย่างมีนัยสา้ คญั ยิง่ ทางสถิติ โดย UT10-586 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงที่สุด 1.97 ตันซีซีเอส
ต่อไร่ (Table 10)

117

ในอ้อยตอ 1 พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธุ์เปรียบเทียบมีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญย่ิงทางสถิติ
ในด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้าและค่าซีซีเอส โดยโคลน UT10-414 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากที่สุดคือ 3.13
เซนตเิ มตร และพนั ธ์ุขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสมากท่ีสุดคือ 14.4 ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-615 ด้านความยาวล้า
จ้านวนปลอ้ งต่อลา้ จ้านวนล้าต่อไร่ ผลผลิต และผลผลิตน้าตาล ไมม่ คี วามแตกตา่ งทางสถติ ิ (Table 11)

ในอ้อยตอ 2 พบว่า ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ด้านความยาวล้า จ้านวนปล้อง ผลผลิตและ
ผลผลิตน้าตาล ด้านความยาวล้า โคลน UT10-623 มีความยาวล้ามากที่สุดคือ 244 เซนติเมตร ด้านผลผลิต
พันธุ์ LK92-11 มีผลผลิตมากท่ีสุดคือ 12.0 ตันต่อไร่ ด้านผลผลิตน้าตาลพันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้าตาล
มากท่ีสดุ 1.82 ตนั ซซี ีเอสต่อไร่ ด้านเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางลา้ จา้ นวนล้าต่อไร่และซีซีเอสมีความแตกต่างอย่างมีนัย
สา้ คัญยงิ่ ทางสถิติ โคลน UT10-414 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากที่สุดคือ 3.38 เซนติเมตร ด้านจ้านวนล้าต่อไร่
พบว่า พันธ์ุ LK92-11 มีจ้านวนล้ามากที่สุดคือ 14,998 ล้าต่อไร่ รองลงมาคือ พันธ์ุขอนแก่น 3 มีจ้านวน
12,851 ล้าตอ่ ไร่ ด้านคา่ ซซี ีเอส พบว่า พันธุ์ขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 16.3 รองลงมาคือ โคลน UT10-615
มคี า่ ซซี ีเอสคอื 15.4 (Table 12)

แปลงทดลอง ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรนครปฐม
ในอ้อยปลูก เก็บเก่ียวท่ีอ้อยอายุ 12 เดือน พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธ์ุเปรียบเทียบมีความแตกต่าง

อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติในทุกลักษณะ ด้านความยาวล้า โคลน UT10-586 มีความยาวล้ามากที่สุด 240
เซนติเมตร ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-615 UT10-623 และพันธุ์ LK92-11 ด้านผลผลิต อ้อยโคลน UT10-623
ได้ผลผลิตมากที่สุด 14.0 ตันต่อไร่ ด้านค่าซีซีเอส โคลน UT10-615 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 16.1 ไม่แตกต่างกับ
พันธ์ุขอนแก่น 3 ดา้ นผลผลิตนา้ ตาลโคลน UT10-615 ให้ผลผลติ นา้ ตาลสูงที่สดุ 2.13 ตนั ซีซีเอสต่อไร่ ไม่แตกต่าง
กบั พนั ธุ์ขอนแกน่ 3 แต่มากกว่าพันธ์ุ LK92-11 (1.71 ตันซซี เี อสต่อไร่) อยา่ งมีนยั สา้ คญั ยงิ่ ทางสถติ ิ (Table 13)

ในอ้อยตอ 1 พบว่า อ้อยทุกโคลนและพันธุ์เปรียบเทียบมีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ
ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้าและค่าซีซีเอส โดยโคลน UT10-414 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้ามากที่สุด คือ 3.23
เซนติเมตร และโคลน UT10-615 มีค่าซีซีเอสมากที่สุดคือ 15.3 ไม่แตกต่างกับพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11
ดา้ นความยาวล้า จ้านวนปลอ้ งต่อล้า จ้านวนล้าต่อไร่ ผลผลิตและผลผลิตน้าตาล ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ
(Table 14)

ในออ้ ยตอ 2 พบว่า ไมม่ ีความแตกตา่ งกนั ทางสถิติ ด้านจ้านวนปล้อง จ้านวนล้า ผลผลิตและผลผลิต
น้าตาล โคลน UT10-623 ให้ผลผลิตน้าตาลสูงที่สุด 0.69 รองลงมาคือ โคลน UT10-586 มีผลผลิตน้าตาล
0.64 ตนั ซีซเี อสตอ่ ไร่ ดา้ นความยาว เส้นผ่านศูนย์กลางล้าและซีซีเอสมีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ
UT10-623 มีความยาวล้ามากที่สุด คือ 172 เซนติเมตร ด้านเส้นผ่านศูนย์กลางล้าพันธ์ุขอนแก่น 3 มีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้ามากท่ีสุด คือ 2.66 เซนติเมตร รองลงมาคือ โคลน UT10-414 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้า 2.64
เซนติเมตร โคลน UT10-615 มีค่าซีซีเอสมากที่สุด คือ 16.3 ไม่แตกต่างกับพันธ์ุขอนแก่น 3 โคลน (Table 15)
แต่เน่ืองจากในปีที่ผ่านมาพื้นท่ีดังกล่าว ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วงเป็นระยะเวลานานส่งผลกระทบให้
อ้อยทม่ี ีสภาพขาดน้า แคระแกร็น การเจรญิ เติบโตและการให้ผลผลติ จึงไม่สมบรู ณ์

118

เมื่อพิจารณาและน้าข้อมูลจาก 5 แปลง จังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรีและนครปฐม พบว่า ใน
ออ้ ยปลูก ผลผลิตและซีซเี อสมคี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสา้ คัญทางสถิติ UT10-586 ให้ผลผลิตมากที่สุด 15.4
ตันต่อไร่ รองลงมาคือ UT10-615 UT10-414 และ UT10-623 ได้ผลผลิต 13.7 และ 13.6 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ มากกวา่ พนั ธ์ุเปรียบเทยี บขอนแก่น 3 และ LK92-11 ซ่ึงให้ผลผลิตเท่ากับ 13.5 และ12.5 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ ด้านซีซีเอสพันธ์ุ LK92-11 มีค่าซีซีเอสมากท่ีสุดคือ 15.9 รองลงมาคือ โคลน UT10-623 มีค่า
14.9 ด้านผลผลิตน้าตาลไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลน UT10-623 มีผลผลิตน้าตาลมากท่ีสุด
2.07 ตันซีซีเอสต่อไร่ มากกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบขอนแก่น 3 และ LK92-11 ในอ้อยตอ 1 ไม่มีความแตกต่าง
ทางสถิติทางด้านผลผลิตและผลผลิตน้าตาล ด้านผลผลิตโคลน UT10-414 มีผลผลิตมากสุด 13.8 ตันต่อไร่
รองลงมาคือ UT10-623 มีผลผลิต 13.3 ตันต่อไร่ เมื่อค้านวณผลผลิตน้าตาล พบว่า UT10-615 ให้ผลผลิต
น้าตาลมากที่สุด 1.68 ตนั ซีซีเอส ต่อไร่ ซงึ่ มากกว่าพนั ธุ์เปรียบเทียบท้ังสองพันธุ์ ด้านซีซีเอสส พบว่า มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ พันธุ์ขอนแก่น 3 มีค่ามากท่ีสุด 14.5 แต่ไม่แตกต่างกับโคลน UT10-615
ซึ่งมีค่าซีซีเอสเท่ากับ 14.1 ในอ้อยตอ 2 ด้านผลผลิตไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยพันธุ์ LK92-11
ให้ผลผลิตมากที่สุด 9.74 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ ขอนแก่น 3 และ UT10-623 ให้ผลผลิต 9.69 และ 9.45
ตนั ตอ่ ไร่ ตามล้าดบั ด้านซีซีเอสและผลผลิตน้าตาล มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ พันธ์ุ LK92-11
มีค่าซีซีเอสมากท่ีสุด 15.1 รองลงมาคือ UT10-623 ด้านผลผลิตน้าตาลพันธ์ุLK92-11 ให้ผลผลิตน้าตาล
มากที่สุด 1.46 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคอื UT10-623 ให้ผลผลิตนา้ ตาล 1.29 ตันซซี เี อสต่อไร่ (Table 16)

Table 1 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: plant cane at Danchang, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm.) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 233 2.70 c 21.8 9,556 8.42 12.4 bcd 1.04
2 UT10-414 252 3.05 a 25.0 9,222 12.40 10.2 d 1.28
3 UT10-586 263 2.75 c 24.3 10,089 11.40 11.4 cd 1.33
4 UT10-615 232 2.65 c 23.3 9,111 7.74 12.6 a-d 1.00
5 UT10-623 289 3.00 ab 25.0 8,422 11.40 13.8 abc 1.59
6 KK3 228 3.00 ab 23.8 8,667 9.46 15.2 a 1.47
7 LK92-11 230 2.80 bc 24.3 10,089 9.04 14.8 ab 1.33

F-test ns ** ns ns ns ** ns
CV (%) 11.53 5.32 5.89 13.24 24.93 13.16 33.31

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

119

Table 2 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 1st ratoon at Danchang, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 210 b 2.73 b 22.0 9,511 a 7.58 11.6 b 0.88
2 UT10-414 191 b 3.15 a 24.8 8,378 ab 8.16 10.9 b 0.88
3 UT10-586 206 b 2.80 ab 24.3 8,644 ab 9.88 14.7 a 1.46
4 UT10-615 215 b 2.88 ab 24.0 8,311 ab 7.06 13.7 a 0.96
5 UT10-623 255 a 2.95 a 24.8 7,533 b 9.60 13.8 a 1.33
6 KK3 180 b 2.75 b 21.5 9,467 a 7.00 14.8 a 1.04
7 LK92-11 176 b 2.78 ab 22.3 11,578 a 8.16 14.6 a 1.18

F-test ** ** ns ** ns ** ns
CV (%) 12.29 3.86 8.89 11.22 28.67 7.14 32.36

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 3 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 2nd ratoon at Danchang, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm.) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 175 a 2.45 cd 17.3 b 13,140 a 7.19 11.8 cd 0.86
2 UT10-414 126 bc
3 UT10-586 168 a 2.90 a 19.8 a 9,624 abc 5.24 12.0 cd 0.62
4 UT10-615 140 b
5 UT10-623 170 a 2.68 b 20.0 a 8,895 bc 6.23 12.7 bc 0.79
6 KK3 122 bc
7 LK92-11 109 c 2.33 d 17.3 b 11,469 ab 5.94 12.3 c 0.72

F-test ** 2.55 bc 17.8 b 8,454 bc 5.71 11.0 d 0.63
CV (%) 8.92
2.55 bc 17.0 b 7,172 c 2.93 15.0 a 0.44

2.38 cd 17.8 b 10,321 abc 3.47 13.7 b 0.47

** ** * ns ** ns

5.24 6.59 22.55 37.39 5.64 36.93

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

120

Table 4 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: plant cane at U-Thong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
(ton/rai) (tonCCS/rai)
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai)

1 UT10-227 294 2.72 b 26.0 18,633 a 24.1 14.3 cd 3.47
2 UT10-414 291 3.27 a 3.27
3 UT10-586 293 2.93 b 29.5 13,700 b 24.3 13.5 d 3.41
4 UT10-615 325 2.98 b 3.47
5 UT10-623 324 2.98 b 28.8 14,733 ab 22.5 14.8 bc 3.56
6 KK3 301 2.73 b 3.58
7 LK92-11 287 2.73 b 29.8 16,267 a 21.5 16.1 ab 3.09

F-test ns ** 27.5 13,150 b 23.5 15.1 bc ns
CV (%) 10.36 6.48 17.0
27.8 14,283 ab 20.5 17.4 a

26.8 14,417 ab 18.7 16.6 a

ns ** ns **

6.29 9.91 13.28 5.67

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 5 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 1st ratoon at U-Thong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
11.4 cd
1 UT10-227 234 2.75 22.3 14,233 19.6 10.4 d 2.19
231 3.18 23.2 11,933 18.7 12.0 bc 1.94
2 UT10-414 217 2.85 22.8 10,900 14.3 13.7 a 1.72
246 2.85 24.3 14,550 21.1 12.8 ab 2.90
3 UT10-586 236 3.05 21.5 10,550 16.6 13.3 ab 2.15
220 3.03 21.5 12,333 17.7 12.9 ab 2.36
4 UT10-615 211 2.83 22 10,283 18.8 2.45
ns ns ns ns ** ns
5 UT10-623 9.74 6.48 8.23 ns 20.65 6.58 22.97
16.76
6 KK3

7 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

121

Table 6 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 2nd ratoon at U-Thong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 238 bc 2.58 c 23.3 b 13,769 13.7 11.4 1.50 c
252 ab 3.10 a 27.8 a 12,647 17.5
2 UT10-414 232 bc 2.85 b 27.0 a 12,097 14.3 11.5 2.01 bc
262 ab 2.75 bc 26.8 a 14,687 17.2
3 UT10-586 270 a 2.88 ab 26.5 a 11,577 15.9 12.5 1.81 bc
237 bc 2.80 bc 25.8 ab 15,419 18.1
4 UT10-615 212 c 2.70 bc 25.5 ab 12,753 13.0 13.2 2.27 ab
* ns
5 UT10-623 * ** 6.64 ns 19.69 12.0 1.91 bc
8.17 5.58 18.59
6 KK3 14.9 2.70 a

7 LK92-11 12.7 1.65 bc

F-test ns **

CV (%) 11.68 19.52

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 7 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: plant cane at Tha muang, Kanchanaburi.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 284 a 2.80 b 26.8 bcd 13,295 a 12.8 ab 14.3 c 1.82 ab
2 UT10-414 268 a
3 UT10-586 232 b 3.35 a 31.8 a 10,038 bc 14.8 a 12.7 d 1.87 ab
4 UT10-615 293 a
5 UT10-623 302 a 2.80 b 26.3 cd 10,153 bc 9.5 bc 15.2 bc 1.45 bc
6 KK3 218 b
7 LK92-11 177 c 2.83 b 29.5 ab 11,734 ab 13.5 ab 16.2 ab 2.17 a

F-test ** 2.98 a 27.3 bc 9,391 c 14.6 a 14.7 c 2.12 a
CV (%) 9.42
8.98 a 26.5 bcd 8,536 c 7.3 cd 16.5 a 1.21 c

2.63 c 24.0 d 8,286 c 4.2 d 15.2 bc 0.63 d

** ** ** ** ** **

3.2 6.85 13.16 27.34 5.25 22.8

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

122

Table 8 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 1st ratoon at Tha muang, Kanchanaburi.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
10.8 d
1 UT10-227 299 a 2.65 c 27.8 bc 14,438 a 16.4 ab 9.1 e 1.76 bc
288 a 3.28 a 29.0 ab 11,390 abc 17.6 a 13.0 bc 1.61 cd
2 UT10-414 308 a 2.88 ab 30.8 a 10,705 bc 16.3 ab 14.1 ab 2.13 a
291 a 2.70 c 29.3 ab 11,714 ab 13.8 bc 12.2 c 1.92 abc
3 UT10-586 344 a 3.00 a 29.5 ab 12,571 a 17.4 a 15.0 a 2.10 ab
255 b 2.90 a 27.3 bc 9,962 c 12.2 cd 13.3 bc 1.84 abc
4 UT10-615 227 b 2.75 bc 26.3 c 12,343 a 10.5 d ** 1.39 d
6.39
5 UT10-623 ** ** * ** ** **
6.75 3.15 5.84 8.35 13.75 12.19
6 KK3

7 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 9 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 2nd ratoon at Tha muang, Kanchanaburi.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
11.4 bc
1 UT10-227 230 c 2.65 b 27.0 cd 14,174 a 11.3 a 10.8 c 1.26 bc
190 d 2.83 a 29.3 bc 8,773 d 7.78 b 12.3 b 0.85 d
2 UT10-414 262 b 2.90 a 33.3 a 10,867 c 13.2 a 13.8 a 1.62 ab
228 c 2.63 b 27.0 cd 12,964 ab 12.0 a 11.5 bc 1.64 a
3 UT10-586 305 a 2.90 a 30.5 b 11,798 bc 14.2 a 13.7 a 1.62 ab
226 c 2.95 a 28.8 bcd 12,248 abc 12.8 a 13.8 a 1.75 a
4 UT10-615 151 e 2.28 c 26.0 d 11,515 bc 5.68 b 0.79 d
**
5 UT10-623 ** ** ** ** ** 6.94 **
8.86 4.26 6.18 10.75 18.27 17.04
6 KK3

7 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

123

Table 10 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form Farmer
Yield Trial Series 2010: plant cane at Song phi nong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-227 264 b 2.60 b 27.8 b 12,217 11.6 a 14.5 c 1.68 a

2 UT10-414 268 ab 3.37 a 33.5 a 9,017 12.8 a 12.2 d 1.57 a

3 UT10-586 277 ab 2.78 b 30.0 b 9,450 12.9 a 15.3 b 1.97 a

4 UT10-615 272 ab 2.65 b 29.0 b 10,833 11.6 a 16.5 a 1.92 a

5 UT10-623 287 a 2.65 b 28.0 b 9,450 11.9 a 14.1 c 1.68 a

6 KK3 263 b 2.75 b 27.3 b 9,183 10.6 a 16.1 a 1.71 a

7 LK92-11 232 c 2.63 b 27.5 b 9,783 7.4 b 14.3 c 1.06 b

F-test ** ** ** ns * ** **

CV (%) 4.82 5.04 6.4 16.4 17.16 3.14 17.5

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 11 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 1st ratoon at Song phi nong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
11.4 b
1 UT10-227 256 2.65 b 22.8 10,850 11.4 9.37 c 1.30
261 3.13 a 25.8 8,750 14.6 11.9 b 1.37
2 UT10-414 282 2.80 b 26.3 10,617 14.7 13.7 a 1.78
261 2.58 b 24.0 11,067 13.3 11.6 b 1.82
3 UT10-586 298 2.83 b 25.0 9,533 14.1 14.4 a 1.62
247 2.73 b 24.0 9,617 13.6 12.4 b 1.96
4 UT10-615 233 2.55 b 23.0 10,417 10.6 ** 1.32
ns ns ns ns 7.41 ns
5 UT10-623 10.57 ** 10.08 22.8 31.74 34.53
6.53
6 KK3

7 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

124

Table 12 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 2nd ratoon at Song phi nong, Suphan Buri.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
14.2 bc
1 UT10-227 211 2.48 b 27.0 9,416 b 8.49 13.6 cd 1.19
185 3.38 a 28.0 9,964 b 9.53 14.5 bc 1.28
2 UT10-414 217 2.75 b 29.3 11,669 ab 9.95 15.4 ab 1.43
129 2.55 b 28.5 10,365 b 7.33 14.1 cd 1.13
3 UT10-586 244 2.68 b 29.0 9,954 b 9.15 16.3 a 1.29
215 2.80 b 28.5 12,851 ab 11.1 12.9 d 1.82
4 UT10-615 228 2.58 b 29.5 14,998 a 12.0 1.51
ns ns ns ** ns
5 UT10-623 10.17 * 8.27 * 27.26 5.38 22.71
11.45 20.88
6 KK3

7 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 13 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield
form Farmer Yield Trial Series 2010 : plant cane at Nakhon Pathom Agricultural
Research and Development center.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)

1 UT10-414 217 b 3.49 a 21.9 a 7,476 c 13.9 ab 13.3 c 1.84 cd

2 UT10-586 240 a 2.64 c 23.4 a 9,480 a 12.9 b 14.7 b 1.89 bc

3 UT10-615 220 ab 3.16 b 22.4 a 7,531 c 13.2 ab 16.1 a 2.13 a

4 UT10-623 223 ab 3.56 a 15.8 c 8,350 b 14.0 a 13.2 c 1.87 c

5 KK3 219 b 3.17 b 21.5 a 6,809 d 13.2 ab 15.4 ab 2.03 ab

6 LK92-11 228 a 2.61 c 18.5 b 8,673 a 11.8 c 14.5 b 1.71 d

F-test ** ** ** ** ** ** **

CV (%) 2.36 5.62 5.87 2.55 5.09 5.45 5.20

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

125

Table 14 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 1st ratoon at Nakhon Pathom Agricultural Research
and Development center.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
220 3.23 a 7,967 11.9 c
1 UT10-414 213 2.83 bc 25.8 9,134 9.72 13.1 bc 1.16
247 2.68 c 26.0 9,817 10.0 15.3 a 1.31
2 UT10-586 247 2.95 abc 26.3 10,600 9.95 12.9 bc 1.53
188 2.98 ab 22.3 6,217 11.7 14.9 a 1.48
3 UT10-615 240 2.75 bc 22.8 11,067 5.23 14.0 ab 0.79
ns ** 27.8 ns 10.1 1.43
4 UT10-623 13.29 6.13 ns 26.49 ns ** ns
12.07 28.49 5.97 26.58
5 KK3

6 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

Table 15 Stem length, stalk diameter, internode number, yield, CCS and sugar yield form
Farmer Yield Trial Series 2010: 2nd ratoon at Nakhon Pathom Agricultural Research
and Development center.

No. Clone/ Stem length Stalk diameter Internode Stalk number Yield CCS Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) (no./stalk) (/rai) (ton/rai) (tonCCS/rai)
13.9 c
1 UT10-414 118 b 2.64 ab 14.5 5,417 3.95 15.0 b 0.54
121 b 2.52 abc 20.8 5,750 4.10 16.3 a 0.64
2 UT10-586 136 b 2.40 c 18.3 5,800 3.05 14.5 bc 0.50
172a 2.45 bc 18.3 5,467 4.78 16.2 a 0.69
3 UT10-615 118 b 2.66 a 16.5 3,567 2.50 15.5 ab 0.39
138 b 2.40 c 19.5 7,667 3.70 0.58
4 UT10-623 ns ns ns ** ns
* * 16.43 31.72 40.29 4.58 39.71
5 KK3 14.97 5.28

6 LK92-11

F-test

CV (%)

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different at the 1 and 5 % probability by DMRT.

12

Table 16 Combined variance, yield, CCS and sugar yield form Farmer
at 5 locations, Suphan Buri, Kanchanaburi and Nakhon Pathom

No. Clone/ Yield (ton/rai)
Varieties
Plant cane Ratoon 1 Ratoon 2 Plant cane
13.8 c
1 UT10-414 13.7 ab 13.8 8.92 12.7 d
14.6 b
2 UT10-586 15.4 a 13.0 8.84 14.9 b
14.6 b
3 UT10-615 13.7 ab 13.1 9.35 15.9 a

4 UT10-623 13.6 ab 13.3 9.45 **
7.28
5 KK3 13.5 b 11.2 9.69

6 LK92-11 12.5 b 11.6 9.74

F-test ** ns ns

CV (%) 19.55 25.29 25.20

Mean in the same column followed by the same letter are not significantly differ

26

r Yield Trial Series 2010: plant cane 1st ratoon and 2nd ratoon
m during 2017-2020.

CCS Ratoon 2 Sugar yield (tonCCS/rai) 126
Ratoon 1 12.6 c Plant cane Ratoon 1 Ratoon 2
10.3 d 12.6 c
12.9 bc 13.7 b 1.91 1.39 1.07 c
14.1 a 13.8 b 1.98 1.68 1.08 c
12.6 c 12.7 c 2.03 1.82 1.23 bc
14.5 a 15.1 a 2.07 1.68 1.29 ab
13.4 b 1.97 1.60 1.19 bc
** 2.02 1.55 1.46 a
** 7.17
6.51 ns ns **
22.04 27.09 24.11

rent at the 1 and 5 % probability by DMRT.

127

9. สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
จากการเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร อ้อยชุดปี 2553 จา้ นวน 5 โคลน พบว่า อ้อยโคลนดีเด่นที่มี

แนวโนม้ นา่ สนใจ 2 โคลน คอื UT10-615 และ UT10-623 ให้ผลผลิตค่าซีซีเอสและผลผลิตน้าตาลที่ดีไม่แตกต่าง
ใกล้เคียงกับพันธ์ุเปรียบเทียบ ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ข้อมูลในบางแปลงก็ให้ผลที่ดีกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบ
ข้างต้น

10. การนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์
การน้าข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการรับรองพันธุ์เพ่ือให้ได้อ้อยพันธ์ุใหม่ท่ีมีคุณภาพท่ีดีและทางเลือกให้

เกษตรการน้าไปปลกู เพ่ือทดแทนอ้อยพนั ธุเ์ กา่ ท่ีเส่ือมลง

11. คาขอบคณุ (ถา้ มี)
-

12. เอกสารอ้างองิ
ส้านักงานอ้อยและน้าตาลทราย.2563. รายงานการผลิตอ้อยและน้าตาลทรายฉบับปิดหีบ ปีการผลิต
2562/63. สืบค้นจาก : http://www.ocsb.go.th/th/cms/detail.php?ID= 142&System
ModuleKey = production 8 ก.พ.2564

13. ภาคผนวก
-

128

รายงานผลงานเร่ืองเต็มการทดลองท่ีสน้ิ สุด

------------------------

1. แผนงานวิจยั 1. วิจัยและพัฒนาการปรับปรุงพันธ์ุออ้ ยเพอ่ื อตุ สาหกรรมน้าตาล

2. โครงการวิจัย 3. วิจยั การปรบั ปรุงพนั ธุ์อ้อยส้าหรับสภาพชลประทานและมีนา้ เสรมิ

กจิ กรรม 1. การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุอ้อย

กิจกรรมย่อย (ถ้ามี) -

3. ชอื่ การทดลอง (ภาษาไทย) 1.20 การคัดเลือกขน้ั ที่ 2 อ้อยชุดปี 2559

ช่อื การทดลอง (ภาษาอังกฤษ) Sugarcane 2nd Selection Series 2016

4. คณะผู้ดาเนินงาน

หวั หน้าการทดลอง อดุ มศักด์ิ ดวนมีสุข ศนู ย์วิจัยพชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี

ผรู้ ่วมงาน กาญจนา พูลเจริญ ศนู ย์วิจยั พืชไร่สุพรรณบุรี

มานิตย์ สขุ นิมติ ร ศนู ย์วิจัยพชื ไร่สพุ รรณบรุ ี

ชลธิชา แกว้ เรือง ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรส่ ุพรรณบรุ ี

5. บทคดั ย่อ

การคัดเลือกคร้ังท่ี 2 อ้อยชุดปี 2559 เป็นการคัดเลือกอ้อยปลูกด้วยท่อนพันธุ์อ้อยที่ได้จากกล้า

อ้อยในการคัดเลือกครั้งที่ 1 เพ่ือให้ได้อ้อยโคลนท่ีมีจ้านวนล้าต่อกอมากและมีความหวานสูง ปลูกอ้อยด้วย

ท่อนพันธ์ุท่ีมี 3 ตา จ้านวนหนึ่งท่อนต่อหลุม ให้ตากลางของท่อนพันธ์ุอ้อยห่างกัน 50 เซนติเมตร มีระยะ

ระหว่างแถว 1.5 เมตร ยาวแถวละ 10.0 เมตร จ้านวน 1 แถวต่อโคลนตามปริมาณท่อนพันธุ์ที่มีวัตถุประสงค์

เพื่อท้าการคัดเลือกอ้อยโคลนท่ีมีผลผลิตสูง ค่าความหวานสูง และมีลักษณะทางการเกษตรที่ดี ได้แก่

จ้านวนล้าต่อกอสูง ทรงกอตั้งตรง ไม่หักล้ม ไม่ออกดอกและไม่แสดงอาการของโรคและแมลงเข้าท้าลาย

สามารถคัดเลือกโคลนอ้อยได้จ้านวน 128 โคลน จากจ้านวนท้ังหมด 239 โคลน อ้อยปลูกค่าซีซีเอสมีค่าอยู่

ระหว่าง 4.09–15.49 ผลผลิตอ้อยมีค่าอยู่ระหว่าง 5.32–31.08 ตันต่อไร่ ผลผลิตน้าตาลมีค่าอยู่ระหว่าง

0.49-3.69 ตันซีซเี อสต่อไร่ ในอ้อยตอ 1 คา่ ซีซเี อสมคี ่าอยรู่ ะหว่าง 8.24–15.90 ผลผลิตอ้อยมีค่าอยู่ระหว่าง

2.77–17.05 ตันตอ่ ไร่ ผลผลิตน้าตาลมีค่าอยู่ระหว่าง 0.23-2.25 ตันซีซีเอสต่อไร่ ซึ่งสามารถคัดเลือกโคลน

อ้อยจา้ นวน 34 โคลนเพอื่ น้าไปปลกู ในข้ันตอนการประเมินผลผลติ ต่อไป

คาสาคญั : อ้อย พนั ธ์ุ การคัดเลือก

129

ABSTRACT
Sugarcane 2nd selection series 2016 was conducted at Suphan Buri Field Crops

Research Center during 2018-2020. Plot size was single row 10 meter long with a 1.5
meter alley between each plot. The objectives of this experiment was to select high
number of stalks and high sugar content. The criteria used in this selection were high
yield, high sugar content and good agronomic characters of sugarcane clones. The results
found that from 239 clones, data from 128 clones were collected. CCS was between
4.09–15.49 Plant cane yield was between 5.32–31.08 ton/rai, and sugar yield was between
0.49-3.69 tonCCS/rai. First ratoon, CCS was between 8.24–15.90. Cane yield was between
2.77–17.05 ton/rai, and sugar yield between 0.23-2.25 tonCCS/rai. From 2nd selection
series 2016, 34 clones were selected to plant in evaluation breeding program.

Key words : Sugarcane, Varieties, Selection

6. คานา
อ้อยเป็นพืชอุตสาหกรรมที่มีความส้าคัญพืชหน่ึงของประเทศไทย ใช้ผลิตน้าตาลเอทานอลและ

ผลิตภณั ฑอ์ น่ื ๆ ประเทศไทยผลิตอ้อยเป็นอันดับ 4 ของโลก เปน็ ผสู้ ่งออกน้าตาลอันดับสองของโลก รองจาก
บราซิล สร้างรายได้ท้ังจากการจ้าหน่ายภายในประเทศและส่งออกปีละกว่า 200,000 ล้านบาท มีโรงงาน
น้าตาลในประเทศไทย 57 โรงงาน จึงท้าให้เกษตรกรปลูกอ้อยกันอย่างกว้างขวาง ในปีการผลิต 2562/2563
ประเทศไทยมีพ้ืนทเ่ี พาะปลูกอ้อย 11.96 ล้านไร่ โดยมีพ้ืนที่ปลูกอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.23 ล้านไร่
ภาคกลาง 3.17 ล้านไร่ ภาคเหนือ 2.88 ล้านไร่ และภาคตะวันออกมี 6.78 แสนไร่ (ส้านักงานคณะกรรมการ
อ้อยและน้าตาลทราย, 2563) เกษตรกรสามารถผลิตอ้อยส่งโรงงานน้าตาลได้ 74.89 ล้านตัน มีความหวาน
เฉล่ีย 12.68 ซีซีเอส ประสิทธิภาพการผลิตน้าตาลเฉล่ีย 110.75 กิโลกรัมน้าตาลต่อตันอ้อย (ส้านักงาน
คณะกรรมการออ้ ยและน้าตาลทราย, 2564) พันธ์ุอ้อยแต่ละพันธ์ุเกษตรกรสามารถใช้ปลูกได้ประมาณ 6-10 ปี
เพราะโรคและแมลงศัตรูอ้อยมีมาก ประกอบกับการแนะน้าพันธ์ุอ้อยสู่เกษตรกรมีน้อย เกษตรกรจึงปลูก
พันธุ์อ้อยน้ันๆ ในพ้ืนที่อย่างกว้างขวางโอกาสเกิดอันตรายทางพันธุกรรม (genetic vulnerability) จากโรค
และแมลงจึงมีสูง งานวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยให้เหมาะสมในแต่ละแหล่งปลูก จึงมีความจ้าเป็นต้องท้าอย่าง
ต่อเนื่อง ท้ังน้ีเนื่องจากในแต่ละสภาพแวดล้อมต้องการพันธุ์อ้อยที่มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ภาคกลางตอนบน
ต่อเนื่องไปยังพื้นท่ีภาคเหนือมีปัญหาพันธ์ุอ้อยอ่อนแอต่อโรคเห่ียวเน่าแดง ดินในบางท้องท่ีเป็นดินกรดหรือ
ด่างจัด เขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบนมักมีปัญหาที่เกิดจากสภาพแล้งและการระบาดของโรคใบขาว
เหล่าน้ีท้าให้โครงการปรับปรุงพันธ์ุต้องตั้งวัตถุประสงค์ในการพัฒนาพันธุ์อ้อยที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน
ไปตามเขตสภาพแวดล้อม พีระศักดิ์ และคณะ (2534) ได้วิเคราะห์การปรับตัวของพันธุ์อ้อยในประเทศไทย
พบอิทธิพลของสภาพแวดล้อมสูง ส่วนปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์กับสภาพแวดล้อมมีค่าค่อนข้างสูง
แสดงว่า สภาพแวดล้อมเป็นตัวแปรส้าคัญท่ีท้าการก้าหนดระดับผลผลิตอ้อย การตอบสนองของอ้อยแต่ละ
พันธ์ตุ อ่ สภาพแวดล้อมแตกต่างกนั

130

7. วิธดี าเนนิ การ
- อุปกรณ์
- ออ้ ยโคลนที่ได้รบั จากการคดั เลอื กข้นั ท่ี 1 อ้อยชุดปี 2559
- ปุ๋ยเกรด 15-15-15
- Hand refractometer
- สารป้องกันก้าจัดวชั พชื อะทราซนี และอามีทรนิ
- วัสดอุ ปุ กรณ์ทีจ่ ้าเป็นอนื่ ๆ ส้าหรับปลูกและเก็บเก่ยี ว เชน่ สายวดั ระยะ หลักแปลง เชือก
เปน็ ต้น
- วธิ ีการ
ออ้ ยปลูก ปลกู ออ้ ยโคลนละ 1 แถว ยาวแถวละ 10 เมตร ในแต่ละซ้าด้วยท่อนพันธ์ุที่มี 2 ตาท่อนคู่
พร้อมท้ังโรยปุ๋ยเกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นกลบดินให้ปกคลุมท่อนพันธ์ุอ้อย พ่นสารเคมี
ควบคุมก้าจัดวัชพืชอะทราซีน และอามีทริน เม่ืออ้อยงอกได้ประมาณ 3-4 เดือน ใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15
อัตรา 50 กิโลกรมั ต่อไร่ ให้นา้ ตามร่องตามความจ้าเปน็
ในอ้อยตอ 1 ภายหลังเก็บเก่ียวใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ พร้อมท้ังให้น้าทันที
ใส่ป๋ยุ อ้อยตอ เมอื่ อ้อยงอกไดป้ ระมาณ 3-4 เดือน พน่ สารเคมคี วบคุมก้าจัดวชั พืช อะทราซีน และอามที รนิ

การบนั ทึกข้อมลู
- วนั ปฏิบตั กิ ารตา่ งๆ เช่น วันปลกู วนั งอก ใส่ป๋ยุ และให้น้า วันเกบ็ เกยี่ ว ฯลฯ
- เปอร์เซน็ ต์ความงอกหลังปลูกอ้อยได้ 4 สัปดาห์
- จ้านวนลา้ ต่อกอ ความสูงต้น
- ค่าบรกิ ซ์ที่อายุ 9 เดือน
- องคป์ ระกอบผลผลติ (จ้านวนลา้ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางลา้ ความสูง)
- การออกดอก
- การเกิดโรค แมลงที่พบ

- เวลาและสถานที่
ด้าเนนิ การท่ี ณ ศนู ย์วจิ ยั พืชไรส่ พุ รรณบรุ ี อ้าเภออู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

8. ผลการทดลองและวจิ ารณ์
จากโคลนอ้อยจา้ นวน 239 โคลน ปลูกในการคัดเลือกคร้ังท่ี 2 สามารถเก็บข้อมูลการคัดเลือก

อ้อยคร้ังที่ 2 อ้อยชุดปี 2559 ในอ้อยปลูกได้จ้านวน 128 โคลน การคัดเลือกข้ันท่ี 2 อ้อยชุดปี 2559 อ้อยปลูก
เปน็ การคดั เลอื กอ้อยปลกู ด้วยท่อนพันธุ์อ้อยที่ได้จากกล้าอ้อยในการคัดเลือกข้ันท่ี 1 เพื่อให้ได้อ้อยโคลนที่มี
จา้ นวนล้า ตอ่ กอมากและมีความหวานสงู ปลูกท่ศี ูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ปลูกอ้อยด้วยท่อนพันธ์ุท่ีมี 3 ตา
จ้านวน 1 ท่อนต่อหลุม ให้ตากลางของท่อนพันธุ์อ้อยห่างกัน 50 เซนติเมตร มีระยะห่างระหว่างแถว 1.5 เมตร
ยาวแถวละ 10.0 เมตร จ้านวน 1 แถว ท้าการคัดเลือกอ้อยโคลนท่ีมีผลผลิตสูง ค่าความหวานสูง และมีลักษณะ
ทางการเกษตรท่ีดี ได้แก่ จ้านวนล้าต่อกอสูง ทรงกอต้ังตรง ไม่หักล้ม ไม่ออกดอก และไม่แสดงอาการของโรค
และแมลงเข้าท้าลายในออ้ ยปลูก โดยปลูกคัดเลือกข้ันท่ี 2 ได้จ้านวน 239 โคลน พบว่า อ้อยโคลนชุดปี 2559

131

อ้อยปลูก สามารถคัดเลือกได้จ้านวน 128 โคลน โดยมีความสูงอยู่ระหว่าง 200–384 เซนติเมตร โคลน
UT16-091 มีความสูงสูงสุด 384 เซนติเมตร โคลน UT16-112 มีความสูงต่้าสุด 200 เซนติเมตร เส้นผ่าน
ศูนย์กลางล้ามีค่าอยู่ระหว่าง 2.0-3.3 เซนติเมตร โคลน UT16-237 มีเส้นผ่านศูนย์กลางสูงสุด 3.3 เซนติเมตร
โคลน UT16-074 มีเส้นผ่านศูนย์กลางต่้าสุด 2.0 เซนติเมตร จ้านวนปล้องมีค่าอยู่ระหว่าง 17–33 ปล้องต่อล้า
โคลน UT16-201 มีจ้านวนปล้องสูงสุด 33 ปล้องต่อล้า โคลน UT16-129 มีจ้านวนปล้องต่้าสุด 17 ปล้อง
ต่อลา้ ค่าความหวาน ซีซเี อสมคี ่าอย่รู ะหว่าง 4.09–15.49 โคลน UT16-166 มีค่าซีซีเอสสูงสุด 15.49 โคลน
UT16-196 มีค่าซีซีเอสต่้าสุด 4.09 ขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบอู่ทอง 15 อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอส
เท่ากับ 9.36 8.94 และ 11.33 ตามล้าดับ ผลผลิตอ้อยมีค่าอยู่ระหว่าง 5.32–31.08 ตันต่อไร่ โคลน UT16-107
ผลผลิตอ้อยสูงสุด 31.08 ตันต่อไร่ โคลนUT16-237 มีผลผลิตอ้อยต่้าสุด 5.32 ตันต่อไร่ ขณะท่ีพันธ์ุ
เปรียบเทียบอู่ทอง 15 อทู่ อง 17 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตอ้อยเท่ากับ 15.57 16.84 และ 17.53 ตันต่อไร่
ตามล้าดับ เม่ือค้านวณผลผลิตน้าตาลโคลนอ้อยดีเด่นชุดปี 2559 ผลผลิตน้าตาลมีค่าอยู่ระหว่าง 0.49-3.69
ตันซีซีเอสต่อไร่ โคลน UT16-166 มีผลผลิตน้าตาลสูงสุด 3.69 ตันซีซีเอสต่อไร่ โคลน UT16-196 มีผลผลิต
น้าตาลต่้าสุด 0.49 ตันซีซีเอสต่อไร่ ขณะที่พันธ์ุเปรียบเทียบ อู่ทอง 15 อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3 มีผลผลิต
น้าตาลเทา่ กับ 1.45 1.51 และ 1.99 ตนั ซซี ีเอสตอ่ ไร่ ตามลา้ ดับ (Table 1)

การคัดเลือกขั้นท่ี 2 อ้อยชุดปี 2559 อ้อยตอ 1 เป็นการคัดเลือกอ้อยปลูกด้วยท่อนพันธุ์อ้อยที่ได้
จากกล้าอ้อยในการคัดเลือกขั้นที่ 1 เพ่ือให้ได้อ้อยโคลนที่มีจ้านวนล้าต่อกอมากและมีความสูง ปลูกที่
ศูนย์วจิ ยั พชื ไรส่ พุ รรณบรุ ี ปลกู อ้อยดว้ ยทอ่ นพนั ธทุ์ ม่ี ี 3 ตา จา้ นวน 1 ทอ่ นตอ่ หลมุ ให้ตากลางของท่อนพันธุ์
ออ้ ยห่างกนั 50 เซนตเิ มตร มีระยะห่างระหวา่ งแถว 1.5 เมตร ยาวแถวละ 10.0 เมตร จ้านวน 1 แถว ท้าการ
คัดเลือกอ้อยโคลนท่ีมีผลผลิตสูง ค่าความหวานสูง และมีลักษณะทางการเกษตรท่ีดี ได้แก่ จ้านวนล้าต่อกอสูง
ทรงกอตั้งตรง ไม่หักล้ม ไม่ออกดอก และไม่แสดงอาการของโรคและแมลงเข้าท้าลายในอ้อยปลูก โดยปลูก
คัดเลือกข้ันที่ 2 ได้จ้านวน 239 โคลน พบว่า อ้อยโคลนชุดปี 2559 อ้อยตอ 1 สามารถคัดเลือกได้จ้านวน
127 โคลน โดยมีความสูงอยู่ระหว่าง 91-290 เซนติเมตร โคลน UT16-177 และ UT16-187 มีความสูงสูงสุด
เท่ากับ 290 เซนติเมตร โคลน UT16-237 มีความสูงต้่าสุด 91 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางล้ามีค่าอยู่
ระหว่าง 2.1-3.4 เซนติเมตร โคลน UT16-088 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าสูงสุด 3.4 เซนติเมตร โคลน UT16-068
UT16-117 และ UT16-153 มีเส้นผ่านศูนย์กลางล้าต้่าสุด 2.1 เซนติเมตร จ้านวนปล้องมีค่าอยู่ระหว่าง 12–30
ปล้องตอ่ ลา้ โคลน UT16-139 มีจ้านวนปล้องล้าสูงสุด 30 ปล้องต่อล้า โคลน UT16-052 มีจ้านวนปล้องต้่าสุด
12 ปล้องต่อล้า ค่าความหวาน ซีซีเอสมีค่าอยู่ระหว่าง 8.24–15.90 โคลน UT16-181 มีค่าซีซีเอสสูงสุด
15.90 โคลน UT16-213 มีค่าซีซีเอสต่้าสุด 8.24 ขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบ อู่ทอง 15 อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3
มคี า่ ซซี ีเอสเทา่ กับ 12.82 12.24 และ 12.90 ตามล้าดบั ผลผลิตอ้อยมีค่าอยู่ระหว่าง 2.77–17.05 ตันต่อไร่
โคลน UT16-011 มีผลผลิตอ้อยสูงสุด 17.05 ตันต่อไร่ โคลน UT10-213 มีผลผลิตอ้อยต่้าสุด 2.77 ตันต่อไร่
ขณะท่ีพันธ์ุเปรียบเทียบอู่ทอง 15 อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3 มีผลผลิตอ้อยเท่ากับ 8.79 8.04 และ 8.52
ตันต่อไร่ ตามล้าดับ เมื่อค้านวณผลผลิตน้าตาลโคลนอ้อยดีเด่นชุดปี 2559 ผลผลิตน้าตาลมีค่าอยู่ระหว่าง
0.23-2.25 ตันซีซีเอสต่อไร่ โคลน UT16-120 มีผลผลิตน้าตาลสูงสุด 2.25 ตันซีซีเอสต่อไร่ โคลน UT16-213
มีผลผลิตน้าตาลต่้าสุด 0.23 ตันซีซีเอส ต่อไร่ ขณะที่พันธ์ุเปรียบเทียบอู่ทอง 15 อู่ทอง 17 และขอนแก่น 3
ให้ผลผลิตนา้ ตาล 1.13 1.01 และ 1.10 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ ตามล้าดับ (Table 2)

132

Table 1 Characteristics of 128 Clones from Sugarcane 2nd Selection Series 2016: Plant cane

No. Clones/ Female X Male Height Diameter No. of CCS Cane Yield Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) internode (ton/rai) (tonCCS/rai)
UT4 X UT8
1 UT16-002 UT4 X UT8 330 2.7 23 10.17 19.59 1.99
2 UT16-003 RT2007-027 X 431-7/4 273 3.1 25 9.68 10.24 0.99
3 UT16-006 RT2007-027 X 431-7/4 330 2.4 26 7.20 18.72 1.35
4 UT16-007 RT2007-027 X 431-7/4 291 2.6 22 6.45 14.86 0.96
5 UT16-008 RT2007-027 X E-haew 281 2.9 19 9.87 13.87 1.37
6 UT16-010 RT2007-027 X E-haew 260 3.0 18 11.76 13.92 1.64
7 UT16-011 RT2007-027 X E-haew 314 2.8 22 10.05 19.33 1.94
8 UT16-012 RT2007-027 X E-haew 304 3.0 26 8.33 21.03 1.75
9 UT16-013 RT2007-027 X E-haew 292 2.8 22 10.21 12.16 1.24
10 UT16-015 RT2007-027 X E-haew 300 2.7 22 10.16 20.50 2.08
11 UT16-017 RT2007-027 X E-haew 295 2.9 21 10.27 13.63 1.40
12 UT16-019 RT2007-027 X E-haew 310 2.8 29 7.83 19.30 1.51
13 UT16-020 Chainat 1 X E-haew 312 2.7 21 9.34 15.83 1.48
14 UT16-023 Chainat 1 X E-haew 235 3.3 25 8.44 14.69 1.24
15 UT16-024 CO997 X UT5 331 3.2 26 10.72 10.19 1.09
16 UT16-025 RT2007-091 X K94-13 300 2.8 22 11.39 16.68 1.90
17 UT16-030 RT2007-091 X K94-13 250 2.8 24 9.05 19.34 1.75
18 UT16-032 CO997 X Chainat 1 313 3.4 26 14.38 16.43 2.36
19 UT16-034 CO997 X Chainat 1 310 2.7 22 11.27 17.15 1.93
20 UT16-035 UT5 X E-haew 295 2.4 19 8.79 17.61 1.55
21 UT16-036 RT2007-027 X 431-7/4 250 2.7 20 13.07 12.37 1.62
22 UT16-040 CO997 X UT5 300 3.3 26 8.70 16.54 1.44
23 UT16-042 CO997 X UT 5 370 2.9 20 10.92 12.92 1.41
24 UT16-046 RT2007-027 X 431-7/4 255 2.4 23 5.73 19.59 1.12
25 UT16-047 RT2007-027 X 431-7/4 260 2.1 23 4.14 27.88 1.15
26 UT16-050 RT2007-027 X 431-7/4 291 2.4 22 8.91 11.15 0.99
27 UT16-051 RT2007-027 X 431-7/4 272 2.3 25 8.58 16.39 1.41
28 UT16-052 RT2007-027 X 431-7/4 274 2.7 23 11.18 22.90 2.56
29 UT16-053 CO775 X KPS94-13 246 2.7 22 13.35 16.21 2.16
30 UT16-058 UT 5 X RT2001-1800 295 2.4 22 9.91 23.29 2.31
31 UT16-059 431-7/4 X CO775 320 2.6 20 10.32 11.52 1.19
32 UT16-060 RT2007-091 X UT5 300 3.0 22 12.13 17.92 2.17
33 UT16-062 Chainat 1 X E-haew 249 2.7 19 10.19 15.53 1.58
34 UT16-063 Chainat 1 X E-haew 310 2.9 23 10.08 30.32 3.06
35 UT16-064 Chainat 1 X E-haew 268 2.8 22 10.55 18.50 1.95
36 UT16-065 Chainat 1 X E-haew 210 2.4 18 7.94 19.22 1.53
37 UT16-066 CO997 X Chainat 1 347 2.5 23 10.01 13.74 1.38
38 UT16-068 RT2007-091 X UT 5 320 2.5 25 10.77 21.22 2.28
39 UT16-069 RT2007-091 X UT 5 271 2.9 24 9.37 23.91 2.24
40 UT16-070 RT2007-091 X UT 5 323 2.5 22 10.01 16.80 1.68
41 UT16-072 RT2007-091 X UT 5 277 2.4 22 7.44 15.16 1.13
42 UT16-073 RT2007-091 X UT 5 254 3.1 23 12.52 14.56 1.82
43 UT16-074 RT2007-091 X UT 5 291 2.0 20 6.78 21.82 1.48
44 UT16-076 RT2007-091 X UT 84-10 330 3.0 29 13.14 17.49 2.30
45 UT16-077 RT2007-091 X UT 84-10 280 2.5 20 11.35 29.93 3.40
46 UT16-078 331 3.3 22 7.64 16.21 1.24

133

No. Clones/ Female X Male Height Diameter No. of CCS Cane Yield Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) internode (ton/rai) (tonCCS/rai)
85-2-352 X LK92-11
47 UT16-080 85-2-352 X LK92-11 333 2.6 32 13.09 11.51 1.51
48 UT16-081 305 2.4 24 10.21 18.62 1.90
49 UT16-082 UT4 X CP72-2085 290 2.8 26 8.62 11.02 0.95
50 UT16-083 UT4 X CP72-2085 362 3.3 23 12.57 13.37 1.68
51 UT16-084 UT4 X CP72-2085 339 2.9 26 7.37 28.07 2.07
52 UT16-085 85-2-352 X LK92-11 361 2.7 28 7.43 24.73 1.84
53 UT16-087 UT4 X UT8 320 2.7 22 7.55 12.63 0.95
54 UT16-088 UT4 X UT8 320 3.1 24 10.51 15.08 1.58
55 UT16-089 UT4 X UT8 361 2.8 27 11.48 18.82 2.16
56 UT16-091 UT4 X CP72-2085 384 2.6 23 10.86 17.78 1.93
57 UT16-093 85-2-352 X UT8 330 2.5 20 5.72 14.86 0.85
58 UT16-094 85-2-352 X UT8 300 3.4 22 9.01 25.03 2.26
59 UT16-096 85-2-352 X UT8 280 2.6 23 12.97 22.22 2.88
60 UT16-097 85-2-352 X UT8 290 2.5 22 6.95 10.39 0.72
61 UT16-099 KPS94-13 X RT2007-027 370 2.6 26 8.75 30.14 2.64
62 UT16-099 KPS94-13 X RT2007-027 310 2.9 20 11.41 15.64 1.79
63 UT16-102 RT2007-091 X UT5 281 2.0 23 7.90 12.84 1.01
64 UT16-103 156A013 X 16B 21/2 285 2.7 23 7.79 10.79 0.84
65 UT16-104 156A013 X 16B 21/2 343 3.0 25 11.61 17.89 2.08
66 UT16-107 E-haew X ROC1 320 2.8 20 10.40 31.08 3.23
67 UT16-111 RT2007-091 X UT 5 300 3.0 25 6.83 9.63 0.66
68 UT16-112 RT2007-027 X UT84-10 200 3.1 25 11.49 20.85 2.40
69 UT16-113 RT2007-027 X UT84-10 248 2.8 21 8.36 20.91 1.75
70 UT16-114 16A 010 X Chainat 1 285 2.6 27 10.47 15.71 1.64
71 UT16-115 CO997 X Chainat 1 310 2.8 24 8.53 12.34 1.05
72 UT16-116 CO997 X Chainat 1 298 2.7 25 11.08 9.57 1.06
73 UT16-117 M124/59 X RT2007-091 278 2.5 20 9.49 19.11 1.81
74 UT16-120 M124/59 X RT2007-091 253 3.1 25 9.40 18.95 1.78
75 UT16-122 UT4 X K83-74 339 3.0 22 11.31 23.71 2.68
76 UT16-123 RT2007-027 X 431-7/4 270 2.9 29 7.96 21.25 1.69
77 UT16-125 RT2007-027 X 431-7/4 215 2.8 23 13.99 17.20 2.41
78 UT16-126 UT4 X CO1001 370 2.7 20 7.95 25.19 2.00
79 UT16-128 CO775 X ROC1 350 2.5 24 9.77 20.44 2.00
80 UT16-129 UT4 X CO1001 316 2.5 17 9.63 20.25 1.95
81 UT16-130 UT4 X CO1001 302 2.9 26 10.66 28.10 3.00
82 UT16-133 UT4 X CO1001 320 2.5 24 11.25 19.86 2.23
83 UT16-134 CO775 X ROC1 287 2.8 26 8.79 14.22 1.25
84 UT16-135 UT4 X CO1001 380 3.1 28 7.18 10.34 0.74
85 UT16-137 15-13/1 X UT8 258 2.8 22 12.29 16.30 2.00
86 UT16-138 CO775 X Chainat 1 285 3.3 31 11.95 22.47 2.69
87 UT16-139 UT4 X E-haew 350 2.7 25 12.19 25.62 3.12
88 UT16-141 UT4 X E-haew 298 3.2 23 9.90 15.16 1.50
89 UT16-143 UT4 X E-haew 325 2.7 26 11.93 21.10 2.52
90 UT16-144 UT4 X E-haew 283 3.2 24 10.77 20.94 2.26
91 UT16-145 85-2-352 X K84-200 250 2.5 22 12.12 19.31 2.34
92 UT16-147 85-2-352 X K84-200 240 3.1 26 4.53 20.93 0.95
93 UT16-149 483A 6/16 X K2000-35 316 3.0 29 12.11 12.09 1.46
94 UT16-150 UT4 X E-haew 281 2.9 21 11.94 25.57 3.05
95 UT16-151 UT4 X E-haew 345 2.9 25 10.06 7.96 0.80

134

No. Clones/ Female X Male Height Diameter No. of CCS Cane Yield Sugar Yield
Varieties (cm) (cm) internode (ton/rai) (tonCCS/rai)
LK92-11 X 85-2-352
96 UT16-153 CO997 X 16A 010 307 2.5 26 12.67 13.03 1.65
97 UT16-156 330 2.7 25 9.23 25.54 2.36
98 UT16-164 UT4 X E-haew 275 2.7 26 12.42 14.51 1.80
99 UT16-165 16B 21/2 X UT6 287 2.6 28 10.58 16.32 1.73
100 UT16-166 RT2007-091 X UT16 250 2.6 24 15.49 23.81 3.69
101 UT16-170 KPS94-13 X UT4 241 3.1 17 7.96 11.72 0.93
102 UT16-173 RT2001-1800 X RT2004-014 279 3.0 27 9.12 15.74 1.44
103 UT16-176 85-2-352 X K84-200 283 2.8 28 7.00 16.18 1.13
104 UT16-177 85-2-352 X K84-200 275 2.8 24 4.64 19.63 0.91
105 UT16-178 UT10-623 X UT4 310 2.5 23 9.24 17.71 1.64
106 UT16-181 RT2007-027 X E-haew 270 2.5 19 12.70 15.59 1.98
107 UT16-183 UT10-623 X UT4 390 2.9 31 11.17 19.39 2.17
108 UT16-185 UT10-623 X UT4 334 3.0 22 13.69 16.71 2.29
109 UT16-187 85-2-352 X K84-200 345 3.0 27 7.05 13.56 0.96
110 UT16-188 85-2-352 X K84-200 245 2.4 25 9.79 19.79 1.94
111 UT16-190 243 2.4 23 11.69 23.77 2.78
112 UT16-191 UT1 X Q85 306 2.5 23 5.53 28.98 1.60
113 UT16-193 UT8 X K2000-35 265 3.0 24 6.09 9.17 0.56
114 UT16-195 UT1 X 483A002 316 2.6 23 9.98 16.04 1.60
115 UT16-196 85-2-352 X SP50 283 2.5 22 4.09 11.95 0.49
116 UT16-199 85-2-352 X K84-200 300 2.6 20 9.53 17.21 1.64
117 UT16-200 UT1 X 483A002 290 2.7 20 9.91 14.52 1.44
118 UT16-201 UNKHOWN X Self 312 2.8 33 7.39 20.76 1.53
119 UT16-206 UNKHOWN X Self 272 2.5 24 7.65 15.94 1.22
120 UT16-209 K99-72 X UT16 274 2.5 22 9.92 19.59 1.94
121 UT16-212 CO997 X UT5 273 2.9 22 10.27 14.34 1.47
122 UT16-213 UNKHOWN X Self 257 2.6 27 7.56 15.31 1.16
123 UT16-214 156A 013 X 483A002 275 2.6 23 10.91 16.05 1.75
124 UT16-216 CO997 X UT5 326 2.9 21 7.84 18.56 1.46
125 UT16-233 CO775 X RT2007-091 240 3.1 22 11.74 21.11 2.48
126 UT16-236 85-2-352 X UT8 240 2.9 27 10.48 26.67 2.79
127 UT16-237 85-2-352 X UT8 207 3.3 22 10.67 5.32 0.57
128 UT16-238 85-2-352 X UT8 298 2.7 27 7.98 17.78 1.42
129 UT15 85-2-352 X UT8 306 2.7 23 9.36 15.47 1.45
130 UT17 272 3.2 24 8.94 16.84 1.51
131 KK3 UT2 Self 254 2.9 22 11.33 17.53 1.99
84-2-646 X UT3
85-2-352 X K84-200

135

Table 2 Characteristics of 127 Clones from Sugarcane 2nd Selection Series 2016 : First ratoon cane

Clones/ Female X Male Height Diameter No. of Cane Yield Sugar Yield
No. Varieties CCS (ton/rai)
UT4 X UT8 (cm) (cm) internode (tonCCS/rai)
1 UT16-002 UT4 X UT8 11.66 13.44
2 UT16-003 RT2007-027 X 431-7/4 223 2.5 17 12.40 9.11 1.57
3 UT16-006 RT2007-027 X 431-7/4 200 3.1 25 12.37 13.68 1.13
4 UT16-007 RT2007-027 X 431-7/4 210 2.5 18 10.71 11.78 1.69
5 UT16-008 RT2007-027 X E-haew 210 2.7 22 13.39 8.28 1.26
6 UT16-010 RT2007-027 X E-haew 160 3.3 22 14.32 10.24 1.11
7 UT16-011 RT2007-027 X E-haew 160 2.6 18 12.03 17.05 1.47
8 UT16-012 RT2007-027 X E-haew 238 2.7 21 11.55 8.92 2.05
9 UT16-013 RT2007-027 X E-haew 200 3.3 21 13.00 11.88 1.03
10 UT16-015 RT2007-027 X E-haew 192 2.8 19 14.06 13.38 1.54
11 UT16-017 RT2007-027 X E-haew 240 2.8 24 12.15 12.80 1.88
12 UT16-019 RT2007-027 X E-haew 250 2.8 24 13.20 13.49 1.56
13 UT16-020 Chainat 1 X E-haew 200 2.6 23 12.62 8.33 1.78
14 UT16-023 Chainat 1 X E-haew 177 2.9 13 10.93 7.11 1.05
15 UT16-024 CO997 X UT5 173 2.9 20 12.95 4.42 0.78
16 UT16-025 RT2007-091 X K94-13 150 3.1 17 12.86 9.62 0.57
17 UT16-030 RT2007-091 X K94-13 205 2.4 24 12.59 8.02 1.24
18 UT16-032 CO997 X Chainat 1 167 2.6 18 10.73 10.56 1.01
19 UT16-034 CO997 X Chaina t1 177 3.2 21 11.78 15.11 1.13
20 UT16-035 UT5 X E-haew 202 2.2 18 12.06 13.76 1.78
21 UT16-036 RT2007-027 X 431-7/4 230 2.3 18 13.39 4.85 1.66
22 UT16-040 CO997 X UT5 140 3.0 17 10.41 7.89 0.65
23 UT16-042 CO997 X UT5 160 3.0 19 13.44 12.40 0.82
24 UT16-046 RT2007-027 X 431-7/4 240 2.6 20 11.07 8.06 1.67
25 UT16-047 RT2007-027 X 431-7/4 152 2.9 17 11.40 5.70 0.89
26 UT16-050 RT2007-027 X 431-7/4 152 2.6 15 11.48 6.59 0.65
27 UT16-051 RT2007-027 X 431-7/4 165 2.5 15 11.68 7.24 0.76
28 UT16-052 RT2007-027 X 431-7/4 160 2.9 24 12.71 8.66 0.85
29 UT16-053 CO775 X KPS94-13 190 2.5 12 13.82 13.31 1.10
30 UT16-058 UT5 X RT2001-1800 185 2.7 19 13.15 12.48 1.84
31 UT16-059 431-7/4 X CO775 210 3.4 28 14.09 12.87 1.64
32 UT16-060 RT2007-091 X UT5 260 2.6 25 13.76 10.87 1.81
33 UT16-062 Chainat 1 X E-haew 160 2.7 18 12.45 11.33 1.50
34 UT16-063 Chainat 1 X E-haew 200 2.6 23 12.02 8.45 1.41
35 UT16-064 Chainat 1 X E-haew 165 3.0 13 11.30 12.63 1.02
36 UT16-065 Chainat 1 X E-haew 230 3.2 18 12.63 4.85 1.43
37 UT16-066 CO997 X Chainat 1 260 2.8 17 11.35 7.72 0.61
38 UT16-068 RT2007-091 X UT5 203 2.6 17 11.93 10.21 0.88
39 UT16-069 RT2007-091 X UT5 170 2.1 22 12.13 11.20 1.22
40 UT16-070 RT2007-091 X UT5 205 2.9 24 12.44 5.45 1.36
41 UT16-072 RT2007-091 X UT5 154 2.8 19 11.13 12.77 0.68
42 UT16-073 200 2.2 21 13.37 8.87 1.42
205 2.4 23 1.19

136

Clones/ Height Diameter No. of Cane Yield Sugar Yield
No. Varieties Female X Male (cm) (cm) internode CCS (ton/rai) (tonCCS/rai)

43 UT16-074 RT2007-091 X UT5 185 2.7 19 9.71 6.72 0.65
44 UT16-076 RT2007-091 X UT2 223 2.8 24 14.17 14.21 2.01
45 UT16-077 RT2007-091 X UT84-10 190 2.5 23 11.70 8.45 0.99
46 UT16-078 RT2007-091 X UT84-10 173 2.8 18 9.99 7.89 0.79
47 UT16-080 220 2.4 25 15.00 9.73 1.46
48 UT16-081 85-2-352 X LK92-11 174 2.3 18 12.21 8.96 1.09
49 UT16-082 85-2-352 X LK92-11 200 2.6 26 12.42 13.31 1.65
50 UT16-083 195 2.9 18 14.27 11.35 1.62
51 UT16-084 UT4 X CP72-2085 185 3.0 20 9.21 9.39 0.86
52 UT16-085 UT4 X CP72-2085 220 2.5 24 10.01 10.56 1.06
53 UT16-087 UT4 X CP72-2085 215 2.9 22 13.30 12.13 1.61
54 UT16-088 85-2-352 X LK92-11 220 3.4 25 13.21 10.68 1.41
55 UT16-089 UT4 X UT8 190 2.8 19 9.02 6.92 0.62
56 UT16-091 UT4 X UT8 215 2.5 15 10.71 12.46 1.33
57 UT16-093 UT4 X UT8 190 2.5 17 11.35 10.64 1.21
58 UT16-094 UT4 X CP72-2085 223 3.3 22 10.35 7.05 0.73
59 UT16-096 85-2-352 X UT8 206 2.6 22 14.93 9.87 1.47
60 UT16-097 85-2-352 X UT8 150 2.7 18 10.33 7.87 0.81
61 UT16-099 85-2-352 X UT8 230 2.7 20 13.26 13.86 1.84
62 UT16-099 85-2-352 X UT8 195 2.8 18 12.50 9.41 1.18
63 UT16-102 KPS94-13 X RT2007-027 162 2.4 24 11.12 5.23 0.58
64 UT16-103 KPS94-13 X RT2007-027 177 2.8 15 11.76 9.01 1.06
65 UT16-104 RT2007-091 X UT5 180 2.6 20 11.75 6.90 0.81
66 UT16-107 156A013 X 16B 21/2 195 2.8 18 12.96 8.12 1.05
67 UT16-111 156A013 X 16B 21/2 220 2.6 26 12.29 11.76 1.45
68 UT16-112 E-haew X ROC1 150 3.1 17 14.07 9.72 1.37
69 UT16-113 RT2007-091 X UT5 160 2.5 20 12.37 4.08 0.50
70 UT16-115 RT2007-027 X UT84-10 245 2.7 26 14.65 12.67 1.86
71 UT16-116 RT2007-027 X UT84-10 185 2.5 20 14.17 11.15 1.58
72 UT16-117 CO997 X Chainat 1 175 2.1 20 12.57 7.68 0.97
73 UT16-120 CO997 X Chainat 1 200 3.1 23 15.75 14.28 2.25
74 UT16-122 M124/59 X RT2007-091 220 2.7 18 13.29 13.86 1.84
75 UT16-123 M124/59 X RT2007-091 186 2.4 20 12.99 4.92 0.64
76 UT16-125 UT4 X K83-74 138 2.6 21 13.27 6.34 0.84
77 UT16-126 RT2007-027 X 431-7/4 174 3.0 17 10.10 4.64 0.47
78 UT16-128 RT2007-027 X 431-7/4 245 2.6 27 13.70 13.44 1.84
79 UT16-129 UT4 X CO1001 233 2.8 24 12.60 11.50 1.45
80 UT16-130 CO775 X ROC1 190 3.1 24 12.93 7.17 0.93
81 UT16-133 UT4 X CO1001 250 3.1 26 13.09 16.16 2.12
82 UT16-134 UT4 X CO1001 184 2.4 18 13.82 5.89 0.81
83 UT16-135 UT4 X CO1001 244 2.4 19 13.08 14.55 1.90
84 UT16-137 CO775 X ROC1 185 2.9 17 13.68 5.38 0.74
85 UT16-138 UT4 X CO1001 184 3.6 25 12.33 11.65 1.44
86 UT16-139 15-13/1 X UT8 260 2.6 30 14.79 10.15 1.50
CO775 X Chainat 1
UT4 X E-haew


Click to View FlipBook Version