The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 2 พัฒนาการองค์กรปกครองท้องถิ่นจากอดีต-ปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 03:45:56

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 2

เล่มที่ 2 พัฒนาการองค์กรปกครองท้องถิ่นจากอดีต-ปัจจุบัน

4

1.2 การขยายตัวของเมืองพัทยา: ข้อจากัดสุขาภิบาลนาเกลือ
ในการบรหิ ารจัดการทอ้ งถ่ิน

ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม มนี โยบายสถาปนาการ
ปกครองท้องถ่นิ ในเขตนอกเมือง โดยตรา พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ. 2495
และได้ยกเลิก พ.ร.บ. จัดการสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการปกครองท้องถิ่นให้ขยายตัวออกไปท่ัว
ประเทศ หวังให้ประชาชนในท้องถิ่นมีโอกาสสร้างความเจริญให้แก่
ท้องถ่ินของตน (ตระกูล มีชัย, 2556) ในปี พ.ศ 2499 รัฐบาลจอมพล
ป. พิบูลสงคราม ได้จัดต้ังสุขาภิบาลนาเกลือเป็นหน่วยการปกครอง
ท้องถ่ินให้บริหารจัดการสาธารณะแก่ประชาชนในท้องถ่ิน โดยขณะนั้น
หมู่บ้านชาวประมงพัทยายังอยู่นอกเขตสุขาภิบาล จนกระท่ังในปี
พ.ศ. 2507 จึงได้มีการขยายเขตสุขาภิบาลจากตาบลนาเกลือไปจนถึง
เขตพัทยาใต้

ในฐานะเมืองท่องเท่ียว พัทยาเติบโตอย่างรวดเร็ว ท้ังในเชิง
ขอบเขตของเมือง อัตราการเพ่ิมของประชากร การอพยพเคลื่อนย้าย
จานวนแรงงาน จานวนนกั ท่องเท่ียว การเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม
ของเมืองพัทยาได้ส่งผลกระทบต่อปัญหาสาธารณะ ชุมชน การจัดการ
ด้านสาธารณูปโภค การจัดการด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ฯลฯ โดยปัญหา
สาธารณะที่เกิดข้ึนในชุมชน ได้กลายเป็นข้อจากัดของสุขาภิบาล
นาเกลือในการบริหารจัดการปัญหาต่างๆ ทั้งยังซับซ้อนมากกว่าชุมชน
ท่ัวไป อานาจหน้าท่ีท่ีมีอยู่ของสุขาภิบาลไม่ครอบคลุม ไม่สอดรับความ

146 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

5

กับสถานการณ์ในพัทยา ท้ังด้านงบประมาณ และ บุคลากรของ
สุขาภิบาล รวมไปถึงอานาจการบรหิ ารของสขุ าภิบาลที่อยภู่ ายใตอ้ านาจ
ขา้ ราชการประจา (โอฬาร ถิ่นบางเตียว, 2560)

จากปัญหาดงั กลา่ ว ทาให้รฐั บาลพลเอก เกรียงศกั ด์ิ ชมะนนั ทน์
ออก พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2521 เม่ือวันท่ี 29 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2521 จัดการปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษแบบมีผู้จัดการเมือง
และกาหนดให้ “เมอื งพัทยา” มีฐานะเทยี บเทา่ เทศบาลนคร2

2. เมอื งพัทยาในฐานะหนว่ ยการปกครองทอ้ งถน่ิ รูปแบบพเิ ศษ

อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น รู ป แ บ บ พิ เ ศ ษ ที่ จั ด ต้ั ง ขึ้ น ต า ม
พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2521 มีลักษณะคล้ายกับรูปแบบการปกครอง
ของเทศบาลรูปแบบสภาและผจู้ ดั การ (Council and Manager Form)
หรือ ผู้จัดการเทศบาล (City Manager) ที่ต้องการให้ผู้บริหารเป็นผู้มี
ความรู้ความสามารถ แยกการบริหารออกจากการเมือง โดยกาหนดให้
ผู้ บริ ห าร เมืองพัทยามาจ ากการ ว่าจ้างเพื่อให้ ได้ ผู้จัดการเมือง ที่เป็น
มืออาชีพ (Professional) มีความรู้ความสามารถในการบริหารเมือง
พัทยา โดยตระหนักว่าเมืองพัทยาเป็นท้องถ่ินพิเศษท่ีมีความซับซ้อน
เป็นเมืองการท่องเที่ยว อยู่ใกล้เขตอุตสาหกรรมและเขตท่าเรือน้าลึก

22 ดดรู ูรายาลยะลเะอยีเอดียในดสในานักสว�ำิชนาักาวริชสากนากั รงาสน�ำเนลขักางธากิ นารเลสภขาาผธแู้ ิกทานรรสาภษฎาผรู้แ(2ท5น59ร)ากษาฎรปรฏ(ิร2ปู 559)
ปกกาครรปอฏงทิรูปอ้ งปถกนิ่ ครปู รแอบงบทพ้อเิ งศถษ่ิน: กราูปรแปบฏริบปู พเมิเศอื งษพ:ัทกยาารเอปกฏสิรารูปวเิชมาือกงาพรอัทิเลยก็ าทรเออนกิกสสา์ รสวานิชกัาการ
วอิชิเาลกก็ าทรสราอนนกั กิ งาสน์ สเล�ำขนาธักกิ วาิชราสกภาผรู้แสท�ำนรกั างษาฎนรเ.ลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร.

14743 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปล่ียนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

6

เป็นเมืองท่ีมีความเจริญและมีลักษณะพิเศษแตกต่างจากท้องถิ่นอื่น
(วุฒิสาร ตนั ไชย, 2555)

รูปแบบ “ผู้จัดการเมือง”มีต้นแบบจากประเทศสหรัฐฯ และ
นามาประยุกต์ใช้ในเมืองพัทยา (ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2548, 44-45)
รูปแบบนี้เกิดข้ึนในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นช่วงท่ีมีการปฏิรูป
โครงสร้างการปกครองท้องถ่ินขนานใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเพ่ือแก้ปัญหา
การทุจรติ คอรัปชน่ั ในองค์กรปกครองท้องถน่ิ ท่ีอย่ภู ายใตก้ ารบริหารของ
นักการเมืองแบบเล่นพรรคเล่นพวก ทั้งน้ีเพื่อให้ได้ผู้บริหารมืออาชีพ
มาบริหารท้องถ่ินแทนที่นักการเมืองท่ีไร้ความรู้ความสามารถ รูปแบบ
ผู้จัดการเมืองได้รับอิทธิพลแนวคิดมาจากการบริหารภาคธุรกิจที่มีหลัก
คิดสาคัญ คือ การแยกการคิดเชิงนโยบาย (Policy Making) ออกจาก
การบริหาร (Administration) โดยเป้าประสงค์หลักคือต้องทาให้เมือง
หรอื ทอ้ งถ่ินสามารถไดร้ ับการบริหารจดั การอย่างดีที่สดุ มีประสิทธิภาพ
สูงสุด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่ิน ภายใต้การบริหารของนัก
บริหารมืออาชีพท่ีเรียกว่า “ผู้จัดการเมือง” (Thomas R. Dye, 1997,
877-278) กระบวนการสรรหาผู้บริหารหรือผู้จัดการเมืองนั้น มาจาก
การคัดสรรจากผู้มีคุณสมบัติในการบริหารเมืองตามกฎหมายกาหนด
และคณุ สมบตั ิสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของเมืองหรือท้องถ่นิ ผจู้ ัดการ
เมืองจะมีสัญญาผูกมัดกับเมืองหรือท้องถ่ินว่าจะต้องบริหารเมืองให้
เป็นไปตามสัญญาเงื่อนไขท่ีตกลงกับสภาท้องถิ่นในฐานะตัวแทนของ
ประชาชนในทอ้ งถิน่ (Wilson and Dilulio, 1995, 715-716)

148 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

7

รูปแบบผู้จัดการเมืองเป็นที่นิยมใช้ในหลายท้องถิ่นของสหรัฐฯ
เริ่มในปี ค.ศ. 1914 เมืองสตอนตัน รัฐเวอร์จิเนีย (Staunton, Virginia)
ของสหรฐั ฯ ต่อมาในปี ค.ศ. 1918 ได้มีเมอื งต่างๆ นารปู แบบดังกล่าวไป
ใช้อีกว่า 100 เมือง และมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในสหรัฐฯ ในช่วง
ค.ศ. 1930 – 1994 กว่า 3,000 เมือง และมีการใช้กว่า 100 เมือง
ในแคนาดา (อลงกรณ์ อรรคแสง, 2560, 126-127 )

2.1 โครงสร้างการบริการหารเมืองพัทยาภายใต้รูปแบบ
ผู้จัดการเมือง

เมืองพัทยาในการปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ มีฐานะเป็น
นิติบุคคล มีทรัพย์สินและบุคลากรเป็นของตนเอง ได้แบ่งโครงสร้างการ
บริหารงานภายในเมืองพัทยาเป็น 2 ส่วน คือ สภาเมืองพัทยาและ
ปลัดเมืองพัทยา กลา่ วคอื

(1) สภาเมืองพัทยา ทาหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มีสมาชิก
17 คน ประกอบด้วย สมาชิกท่ีมาจากการเลือกต้ังของประชาชน 9 คน
และผ้ทู รงคุณวุฒิท่ีมาจากการแต่งต้ังโดยรมว.กระทรวงมหาดไทย 8 คน
สมาชกิ ท้ังสองประเภทอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี หลงั จากการเลือกต้ัง
สภาเมืองพัทยาจะเลือกสมาชิกคนหนึ่งข้ึนมาเป็นนายกเมืองพัทยาและ
เป็นประธานสภาเมืองพัทยาในเวลาเดียวกัน โดยมีวาระคราวละ 2 ปี
แต่อาจไดร้ ับเลือกใหมไ่ ด้

14943 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

8

(2) ปลัดเมืองพัทยา ทาหน้าที่จากการว่าจ้างของสภาเมืองพัทยา
คราวละ 4 ปี

2.2 ปญั หาการจัดการปกครองเมืองพัทยาภายใต้รูปผจู้ ัดการเมอื ง

ตลอดระยะเวลา 20 ปี (2521-2540) การบริหารงานเมือง
พัทยาประสบปัญหาความยุ่งยากท้ังทางด้านการเมืองและการบริหาร
ค่อนข้างมาก แม้กระทรวงมหาดไทยได้มีการศึกษาวิจัยเพ่ือปรับปรุง
แก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ (ธนศกั ดิ์ สายจาปา, 2563) แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหา
ของเมืองพัทยาได้ ปัญหาการจัดการปกครองเมืองพัทยาภายใต้รูปแบบ
สภา – ผู้จัดการเมือง สรุปได้ดังนี้ (สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย,
2547 และ สุททิน ชยั ผดงุ 2539)

1. ปัญหาโครงสร้างการบริหารรูปแบบผู้จัดการเมืองพัทยาที่
พ ย า ย า ม แ ย ก ฝ่ า ย ก า ร เ มื อ ง อ อ ก จ า ก ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ใ น ท า ง ห ลั ก ก า ร
แต่ในทางปฏิบัติกลับเกิดความขัดแย้งทางการบริหารระหว่างฝ่าย
การเมือง (สภา) กับฝ่ายบริหาร (ปลัดเมืองพัทยา) กล่าวคือ ตาแหน่ง
นายกเมืองพัทยา คือ ประธานสภาอันเป็นตาแหน่งทางฝ่ายการเมือง
(สภา) มิใช่ฝ่ายบริหารเป็นผู้มีฐานะเป็นผู้มีอานาจสูงในฝ่ายการเมือง
ในขณะที่ปลัดเมืองพัทยาเป็นฝ่ายบริหารตามกฎหมาย พ.ร.บ. เมือง
พัทยา พ.ศ. 2521 แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่ามีการช่วงชิงระหว่าง 2 ฝ่าย

2. ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถมา
ดารงตาแหน่งปลัดเมืองพัทยา ไม่สามารถหาบุคลากรที่ความรู้

150 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

9

ความสามารถมาดารงตาแหน่งปลดั เมืองไดเ้ นื่องจากความขัดแย้งในการ
บริหารระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายบริหาร ปัญหาการแทรกแซงของ
ฝ่ายการเมือง (ฝ่ายสภา) ปัญหาอานาจหน้าที่ของปลัดเมืองที่ไม่ชัดเจน
เป็นต้น ตลอดระยะเวลาต้ังแต่การจัดตั้งเมืองพัทยาในปี พ.ศ. 2521
จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2542 มีการเปลี่ยนแปลงปลัดเมืองพัทยามากกว่า
10 คน อายกุ ารปฏิบัตงิ านเฉล่ยี เพยี งคนละปเี ศษเทา่ นน้ั

3. โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบผู้จัดการเมืองไม่
สอดคล้องกับภารกิจของเมืองท่องเท่ียว ไม่เหมาะสมกับขนาดพ้ืนท่ีของ
เมืองพัทยาท่ีมีขนาดใหญ่เกินกว่าท่ีการบริหารในรูปแบบผู้จัดการเมือง
จะสามารถดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง มีลักษณะการ
บริหารไม่แตกต่างจาก “เทศบาลนคร” เพราะการปกครองท้องถ่ินรูป
ผู้จัดการเมืองเหมาะสมกับการบริหารในพ้ืนที่ท่ีมีขนาดเล็กหรือขนาด
ปานกลาง มีการกาหนดอานาจหน้าท่ีชัดเจน มีงบประมาณท่ีเพียงพอ
ผู้บริหารมีอิสระในการบริหารจัดการเมือง มีความยึดหยุ่นสอดคล้องกับ
สถานการณ์ของเมือง การเมืองมีเสถียรภาพ ฯลฯ (วสันต์ เหลืองประภัสร์,
2563)

4. ปัญหาการเมืองของการควบคุมและแทรกแซงจากกระทรวง
มหาดไทยผ่านสมาชิกสภาเมืองผู้ทรงคุณวุฒิส่วนใหญ่สมาชิกสภาเมือง
พัทยาท่ีได้รับการแต่งตั้ง คือ ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ในจังหวดั หรือ ข้าราชการ
จากสว่ นกลาง สง่ ผลใหส้ ภาเมอื งพทั ยาไม่สามารถทางานได้อยา่ งเต็มที่

15143 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

10

5. ปัญหาการจัดความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลางกับ
ท้องถ่ินของเมืองพัทยา ท่ีถูกควบคุมจากราชการส่วนกลางอย่างเข้มข้น
ผ่านกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและวิธีการปฏิบัติทางราชการ ท่ีไม่
สอดคล้องกับการบริหารเมืองท่องเที่ยว โดยระบบผู้จัดการเมืองพัทยา
ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามระเบยี บแบบแผนตามกฎหมาย และข้อบงั คบั ตา่ ง ๆ ของ
ราชการมากเกินไปในฐานะผู้จัดการเมืองพัทยาไม่มีอานาจอิสระในการ
บริหารงานในองคก์ รอยา่ งเต็มที่

นอกจากที่กล่าวข้างต้นยังพบปัญหาในด้านอ่ืน ๆ ได้แก่ ปัญหา
รายได้ไม่เพียงพอ ปัญหาการบริหารงานบุคคลขาดประสิทธิภาพและ
ถูกจากัดโดยระบบราชการ ปัญหาการมีส่วนร่วมในทางการเมืองของ
ประชาชน ปัญหาความซา้ ซอ้ นของหนว่ ยงานราชการในพ้ืนที่เมอื งพัทยา
ปัญหาการขาดการประสานงานและบูรณาการกับหน่วยงานอื่นในเขต
เมอื งพัทยาท่ียังเป็นไปในลักษณะต่างฝ่ายต่างทางาน ไมป่ ระสานงานกัน
ไม่ร่วมมือกัน ปัญหาเหล่านี้ทาให้การบริหารงานของเมืองพัทยาไม่
สามารถทาหน้าที่ท่ีมีอยตู่ ามกฎหมายให้เกดิ ผลดมี ีประสทิ ธิภาพเต็มท่ีได้
รวมท้ังการก้าวไม่พ้นจากระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินแบบ
รวมศนู ย์ (สเุ ทพ เชาวลติ , 2536)

152 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

11

3. การเปลี่ยนผ่านเชิงโครงสร้างจากรูปแบบผู้จัดการเมืองสู่การ
เลอื กตั้งนายกเมืองพทั ยาโดยตรง

หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2540 ซ่ึงเป็นรัฐธรรมนญู
ที่ให้ความสาคัญกับการกระจายอานาจไปสู่ท้องถ่ินอย่างกว้างขวาง
โดยมาตรา 285 ได้กล่าวถึงเรื่องของการจัดโครงสร้างภายในองค์กร
ปกครองปกครองท้องถ่ินไทยท่ีต้องประกอบด้วยสภาที่มาจากการ
เลือกตั้งของประชาชน และให้มีฝ่ายบริหารมีท่ีมาจากมติของสภา
ท้องถ่ินหรือมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน สาระสาคัญของ
มาตรา 285 น้ีส่งผลให้ พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2521 ขัดแย้งกับ
รฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2540

สาระสาคัญของ พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2542 คือ เปลี่ยนแปลง
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร ง า น เ มื อ ง พั ท ย า จ า ก รู ป แ บ บ ผู้ จั ด ก า ร เ มื อ ง ท่ี
ผู้บริหารมาจากการว่าจ้าง มาเป็นรูปแบบการเลือกต้ังผู้บริหารนายก
เมืองพัทยาโดยตรง โครงสร้างการบรหิ ารงานภายในเมืองพัทยารูปแบบ
ใหม่ได้กาหนดให้สภาเมืองพัทยา ประกอบด้วยสมาชิกท่ีมาจากการ
เลือกต้ังโดยประชาชนผมู้ ีสิทธเิ ลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา จานวน 24 คน
อยู่ในวาระคราวละ 4 ปี และ นายกเมืองพัทยา มาจากการเลือกต้ัง
โดยตรงของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา วาระการดารง
ตาแหน่งคราวละ 4 ปี การเลือกต้ังนายกเมืองพัทยาและสมาชิกสภา
เมืองพัทยาโดยตรงทาให้สถานะเมืองพิเศษของเมืองพัทยาตาม พ.ร.บ.

15343 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

12

เมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มีโครงสร้างการปกครองท้องถ่ินเหมือนกับ
หน่วยการปกครองทอ้ งถ่ินรูปแบบอืน่ ๆ ในประเทศไทย

3.1 ปัญหาอานาจหน้าท่ีเมืองพัทยาในฐานะองค์กรปกครอง
ทอ้ งถิ่นรูปแบบพเิ ศษ

ภายหลังจากเมืองพัทยาได้เปลีย่ นโครงสร้างมาเป็นการเลือกตั้ง
นายกเมืองพัทยาโดยตรง พบว่ายังมีปัญหาในการบริหารจัดการเมือง
พัทยาอยู่หลายประการ ดังนี้

ธีติ ป.สุวรรณศาสตร์ และ ศิริวรรณ ฤกษ์วิสาข์ (2557) ปัญหา
ประเดน็ ข้อกฎหมายที่เก่ียวข้องกับอานาจหน้าทใี่ นสว่ นของสว่ นราชการ
อ่ืน มีลักษณะทับซ้อนไม่มีความชัดเจนในอานาจหน้าท่ี เช่น การดูแล
พื้นท่ีชายฝ่ังทะเล รวมถึงสิ่งปลูกสร้างริมทะเลยังเป็นอานาจหน้าท่ีของ
กรมเจ้าทา่ เป็นต้น

ประเด็นปัญหาอานาจหน้าท่ีของเมืองพัทยาตามข้อกฎหมาย
ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการถ่ายโอนภารกิจยังไม่แล้วเสร็จนับตั้งแต่
พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2564 เนื่องจากราชการส่วนกลางและ
ส่วนภูมิภาคที่เป็นต้นสังกัดของส่วนราชการท่ีอยู่ในเขตเมืองพัทยาไม่มี
ความจริงใจในการถ่ายโอนภารกิจไปสู่ อปท. ตามเงื่อนไขข้อกฎหมาย
ว่าด้วยการถ่ายโอนภารกิจฯ มีการประวิงเวลาด้วยการสร้างเง่ือนไข
เพ่อื ไม่ถา่ ยโอนภารกิจไปสู่ อปท. จงึ ทาให้เมอื งพทั ยาไม่มอี านาจสมบูรณ์
ในการดูแลพ้นื ทมี่ ีความเปน็ เมืองทอ่ งเท่ยี ว

154 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

13

ขณะเดียวกันยังพบว่าปัญหาของเมืองพัทยาในบางกรณีเกิดขึ้น
จากวิสัยทัศน์นโยบายของผู้บริหารเมืองพัทยาในการบริหารเมืองพัทยา
แม้มีอานาจหน้าท่ีตามกฎหมายในการบริหารจัดการ แต่ขาดการให้
ความสาคัญตอ่ ปัญหาอยา่ งจรงิ จงั ปล่อยใหเ้ ปน็ งานตามหน้าทข่ี องระบบ
กลไกราชการและข้าราชการที่รับผิดชอบ ซ่ึงกระบวนการแก้ปัญหาของ
ระบบราชการล่าช้าเกินไปไม่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
ผู้ประกอบการ รวมถึงนักท่องเที่ยวในเมืองพัทยา จนมีการวิพากษ์วิจารณ์
กันในทางสาธารณะกันอย่างกว้างขวางถึงปัญหาหาการบริหารเมืองพัทยา
เช่น ปัญหาระบบโครงสร้างพื้นฐานเมืองพัทยา ปัญหาระบบจราจร
ปัญหาขยะล้นเมือง ปัญหาการจัดการส่ิงแวดล้อม ปัญหาน้าท่วมขัง
ในพ้ืนที่เมืองพัทยา ปัญหาระบบสาธารณูปโภคและส่ิงอานวยความ
สะดวกทเี่ ป็นอุปสรรคทีก่ ระทบต่อชีวิตประชาชนในเมอื งพทั ยา ฯลฯ

3.2 ปญั หาโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยา
ปัญหาโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยาในปัจจุบันที่
กฎหมาย พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2542 ได้กาหนดให้มีการเลือกต้ัง
ผู้บริหารและสมาชิกสภาเมืองพัทยาโดยตรง ทาให้ผู้บริหารต้อง
ให้ความสาคัญกับประชาชนในฐานคะแนนสนับสนุนตนเอง เพ่ือให้
ผ้บู ริหารทอ้ งถนิ่ ยดึ โยงกบั ประชาชนให้ความสาคัญกับความต้องการของ
ประชาชนในทอ้ งถนิ่

15543 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปล่ียนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

14

แต่ในบางกรณีเรากลับพบว่าการตัดสินใจของผู้บริหารที่
ต้องการเอาใจประชาชนในฐานะฐานคะแนนเสียงบางครั้งก็กระทบกับ
การบริหารในภาพรวมของเมืองพัทยาทาให้การแก้ไขปัญหาสาธารณะ
ไม่ประสบความสาเร็จ บริหารจัดการเมืองพัทยาในหลายกรณีที่มีผลดี
ในภาพรวมของเมืองพัทยากลับไม่สามารถดาเนินการได้เพราะผู้บริหาร
เกรงจะเสยี คะแนนเสยี งสนับสนนุ ในการเลือกตั้งคร้ังต่อไป

นอกจากนี้ยังพบว่าโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยาใน
ปัจจบุ นั ทีก่ าหนดผู้บริหารมาจากเลือกตัง้ ของประชาชนในเมืองพัทยาแม้
จะเป็นไปตามหลักการครรลองของระบอบประชาธิปไตย แต่ในความ
จ ริ ง ก ลั บ พ บ ว่ า มี ผู้ ส มั ค ร รั บ เ ลื อ ก ตั้ ง เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ส ม า ชิ ก ส ภ า
มีลักษณะกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มชนชั้นนาท้องถิ่นหรือนักเลือกต้ังท้องถ่ิน
ซง่ึ โดยส่วนใหญ่ก็อยู่ภายใต้เครือข่ายอานาจการเมืองท้องถ่ินของตระกูล
การเมืองประจาจังหวัด ประชาชนในเมืองพัทยาไม่มีตัวเลือกมากนักใน
การตัดสินใจเลือกผู้บริหารท่ีมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับการ
บริหารเมืองพัทยาอย่างแท้จริงเพราะโครงสร้างการบริหารจัดการเมือง
พัทยาในปัจจุบันทาให้การได้มาของผู้บริหารเมืองพัทยาเป็นเกม
การเมืองมากกวา่ การเปน็ กลไกในการแสวงหาผบู้ รหิ ารมืออาชีพท่จี ะเข้า
มาบรหิ ารเมอื งพทั ยา

การเลือกต้ังผู้บริหารเมืองพัทยาจึงอยู่ในวงจากัดแบบบังคับ
เลือก คือ ไม่เลือกคนใดก็ต้องเลือกคนหน่ึงทั้ง ๆ ที่ 2 ฝ่ายอาจจะไม่ใช่
คนทีเ่ หมาะสม แตท่ ง้ั 2 ฝา่ ย เป็นกลุ่มชนชน้ั นาทอ้ งทม่ี ีฐานคะแนนเสียง

156 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

15

สนับสนุน ลักษณะการเมืองท้องถิ่นในพัทยาที่อยู่ภายใต้โครงข่าย หรือ
เครือข่ายอานาจท้องถ่ินของขั้วการเมืองในจังหวัด เป็นประเด็นและ
เง่ือนไขสาคัญท่ีทาให้คนที่มีความรูค้ วามสามารถไม่สามารถเสนอตัวเขา้
มาทางานเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อเป็นทางเลือกในการบริหารเมืองพัทยา
เพราะถ้าไม่มีเครือข่ายการเมืองในพัทยาสนับสนุนโอกาสท่ีจะชนะ
การเลือกต้งั เปน็ ไปไดน้ อ้ ยมากหรือแทบไม่มีเลย

นอกจากน้ียังพบว่าโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยา
รูปแบบใหม่มีปัญหาการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างฝ่ายบริหารและ
ฝ่ายสภา (นิติบัญญัติ) ซึ่งโดยหลักการเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภา
โดยตรงเพื่อต้องการให้เกิดการแบ่งแยกอานาจกันอย่างชัดเจนระหว่าง
ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติยึดหลักการตรวจสอบซึ่งกันและกัน
เพ่ือให้ระบบการบริหารท้องถ่ินมีประสิทธิภาพ แต่ในความเป็นจริงของ
เมืองพัทยากลับพบว่าการถ่วงดุลระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายสภานิติ
บัญญัติเป็นเพียงแค่พิธีกรรม เพราะฝ่ายบริหารและฝ่ายสภาต่างเป็น
เครอื ขา่ ยขั้วการเมืองเดียวกันท้งั ส้ิน การตดิ ตามตรวจสอบถ่วงดลุ จึงเป็น
แค่นิยายลวงโลกเอาไว้ตบตานิสิตนักศึกษาที่ศึกษาด้านการปกครอง
ท้องถ่ิน หรือ เอาไว้บรรยายสรุปให้นักท่องเที่ยวท่ีอ้างว่ามาศึกษาดูงาน
เมืองพัทยาเพ่ือให้สามารถนาไปเป็นหลักฐานทาโครงการเบิกจ่ายตาม
ระเบยี บราชการได้

ปัญหาโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยายังได้สะท้อน
ให้เห็นปัญหาในเชิงหลักการของการเลือกตัง้ ผู้บรหิ ารโดยตรงที่ต้งั อยู่บน

15743 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

16

ฐานคิดแบบเสรีนิยม เช่ือว่าปัจเจกชนสามารถเลือกผู้นาได้ด้วยตนเอง
อย่างมีเหตุผล เป็นอิสระปลอดการครอบงาจากอานาจของนักการเมือง
หรือกลุ่มอานาจ ประชาชนจะมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับสูง
สามารถติดตามตรวจสอบการบริหารของผู้บริหาร การถอดถอนผู้นา
ถ้าพบว่าผู้นาบริหารไม่โปร่งใส รวมไปถึงประชาชนสามารถผลักดัน
นโยบายในระดับท้องถนิ่ ได้อยา่ งแขง็ ขนั

แต่ในความเป็นจริงจากเมืองพัทยาเรากลับพบว่าการตัดสินใจ
ของประชาชนไม่ได้ปลอดจากการครอบงาทางการเมืองของกลุ่ม
การเมืองท้องถ่ิน ประชาชนตัดสินใจบนเง่ือนไขและเหตุผลความม่ันคง
ทางการเมืองเฉพาะหน้าของตนเองและครอบครัว หรือ ตัดสินใจบน
ความสัมพันธ์เชิงอานาจท่ีตนประเมินแล้วถ้าเลือกใครแล้วคนน้ันจะ
สามารถช่วยเหลือตนเองและครอบครัวได้ในยามเดือดร้อน มากกว่าท่ี
จะตดั สนิ ใจเลอื กคนไปทางานสาธารณะในตาแหนง่ ผู้บรหิ ารเมืองพัทยา

พบว่าโครงสร้างการบริหารจัดการเมืองพัทยารูปแบบใหม่ที่
เลือกต้ังผู้บริหารและสมาชิกสภาเมืองโดยตรงไม่สามารถกระตุ้นความ
สนใจและสร้างความรู้ทางการเมืองในระดับท้องถ่ินให้การเข้าไปมีส่วน
ร่วมทางการเมืองไม่มีความต่อเนื่อง พบว่าหลังจากการเลือกต้ังไปแล้ว
ประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางการเมือง ไม่สามารถติดตามตรวจสอบการ
ทางานของผู้บริหารได้รวมไปถึงการแสดงจุดยืนต่าง ๆ ต่อปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ในเมืองพัทยา ประชาชนตกเป็นเคร่ืองมือในการอ้างความชอบธรรม
ของผ้บู รหิ าร

158 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

17

ในส่วนภาคประชาชนแม้จะเติบโตขึ้นบ้างในทศวรรษท่ีผา่ นมา
เช่น กลุ่ม Pattaya Watchdog ซึ่งเป็นกลุ่มชนชั้นกลางใหม่ในพัทยาที่
ความพยายามเข้ามามีบทบาทติดตามตรวจสอบการทางานผู้บริหาร
เมืองพัทยาผ่านช่องทางการส่ือสารออนไลน์ Facebook แต่ก็ยังมี
ข้อจากดั ในหลายประการในการเคล่อื นไหวของประชาสงั คม

3.3 ปัญหาการบูรณาการและการประสานงานกับส่วนราชการ
หรือภาคส่วนอืน่ ๆ ในเขตเมืองพัทยา

ส ภ า พ ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น รู ป แ บ บ พิ เ ศ ษ ห รื อ
รูปแบบผู้บริหารเข้มแข็งของเมืองพัทยาที่อยู่ภายใต้โครงสร้างระบบ
ราชการที่เต็มไปด้วยปัญหาข้อจากัดทางกฎระเบียบราชการ ทาให้
ไม่สามารถบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและการประสานงานกับ
ส่วนราชการอื่น ๆ ในเขตเมืองพัทยาหรือภาคส่วนอื่น ๆ ในเขตเมืองพัทยา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ปัญหาสาธารณะในเมืองพัทยาทวีความ
รุนแรง ขยายวงกว้างมากข้ึนสร้างความเดือดร้อนให้ประชาชน
กลายเปน็ ปมปญั หาสาคัญทสี่ ง่ ผลตอ่ การบริหารจดั การเมืองพัทยา

การบริหารจัดการเมืองพัทยาจาเป็นต้องสร้างการบูรณาการ
และการประสานงานกับส่วนราชการหรือภาคส่วนอื่น ๆ ในเขตเมือง
พัทยาอย่างกว้างขวางในการร่วมกันแก้ปัญหาสาธารณะท่ีเกิดขึ้น
โดยต้องพิจารณาในหลายระดับท้ังในแง่อานาจหน้าท่ีและโครงสร้าง
การปกครองเมืองของเมืองพัทยาในระยะยาว การแกไ้ ขปญั หาทีต่ ้องเอา
ปัญหาสาธารณะในเขตเมืองพัทยาเป็นตัวตั้งและต้องให้อานาจในการ

15943 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

18

แก้ไขปัญหาแก่เมืองพัทยาให้ชัดเจนในการทาหน้าที่บูรณาการและ
การประสานงานกับส่วนราชการในพื้นที่ ในการทาแผนพัฒนาเมืองพัทยา
ต้องให้เมืองพัทยามีอานาจในการบูรณาการและการประสานงานกับ
ส่วนราชการหรือภาคส่วนอื่น ๆ ในเขตเมืองพัทยาในการร่วมกันแก้ไข
ปัญหา หรือในระยะยาวจะต้องมีการปฏิรูปส่วนราชการในเขตเมือง
พัทยาโดยจะต้องถ่ายโอนภารกิจท้ังหมด หรือ เปลี่ยนสังกัดจากส่วน
ราชการอ่ืนให้มาสังกัดเมืองพัทยาทั้งหมด เพ่ือให้เมืองพัทยามีอานาจ
สมบูรณ์ในการจัดการปัญหาสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
สว่ นราชการอืน่ ในเขตเมืองพทั ยา

3.4 ปญั หาการคลังและงบประมาณของเมอื งพัทยา

เมืองพัทยาคร้ังที่เคยมีฐานะเป็น อปท. รูปแบบพิเศษแต่ในแง่
โครงสร้างรายได้และระบบการจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาล พบว่า
เมืองพัทยาไม่ได้มีความพิเศษหรือแตกต่างจาก อปท. รูปแบบอ่ืน
แต่อยา่ งใด

แม้ว่าโดยหลักการเมืองพัทยาสามารถขอรับการจัดสรร
งบประมาณจากรัฐบาลได้ แต่ในหลายกรณีงบประมาณท่ีจัดสรรจาก
รัฐบาลไม่ตรงกับความต้องการของเมืองพัทยา ทาให้เมืองพัทยา
มีงบประมาณไม่เพียงพอในการบริหารงานตามภารกิจและขอบเขต
อานาจหน้าท่ีของเมืองพัทยา ทาให้เมืองพัทยาจาเป็นต้องพึ่งพา
การจดั สรรงบประมาณจากส่วนกลางมาใชใ้ นการพัฒนา

160 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

19

นอกจากนีร้ ายได้และงบประมาณท่ีไมเ่ พียงพอของเมืองพัทยา
ยังไม่สมดุลกับค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนในการบริหารจัดการ อาจส่งผล
กระทบตอ่ เสถียรภาพทางการเงินการคลังของเมืองพัทยาได้ เพราะแม้
จะสามารถของบประมาณสนับสนุนเฉพาะกิจได้ แต่ก็จาเป็นต้องขอ
อนุมัติโดยผ่านการพิจารณาของรัฐสภา ซ่ึงก็มักจะได้รับการจัดสรรมา
ไมเ่ พียงพอความความต้องการ

3.5 ปัญหาการเมืองท้องถ่ินและการขยายตัวของธุรกิจ
การเมอื งในเมอื งพทั ยา

ความขดั แย้งทางการเมืองในพื้นท่ีการเมืองระดับชาติหลงั 2549
ทาให้พื้นท่ีทางการเมืองไทยขยายจากระดับชาติไปสู่พ้ืนที่การเมืองใน
ระดับท้องถิ่นมากขึ้น (ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์ และ โอฬาร ถ่ินบางเตยี ว,
2550) กลุ่มธรุ กิจการเมืองท้องถน่ิ หรือกลุ่มนักเลือกต้ังประจาจังหวัดที่มี
ฐานคะแนนเสียงในจังหวัด ได้ปรับกลยุทธ์ทางการเมืองไปสู่สนาม
การเมืองท้องถิ่นมากข้ึน เนื่องจากเห็นโอกาสในการแสวงหากาไรใน
ทางเศรษฐกิจการเมืองจาก อปท. ท่ีให้ความสาคัญกับการกระจายอานาจ
อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะการกระจายงบประมาณนับต้ังแต่ทศวรรษ
ท่ี 2540 เป็นต้นมา เป็นผลให้สนามการเมืองท้องถิ่นและการเลือกตั้ง
ท้องถิ่น เกิดความตื่นตัวอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนซ่ึงเป็นผลพวงจาก
กระบวนการกระจายอานาจไปสูท่ ้องถิน่ ในทุก ๆ มิติ (ณฐั กร วทิ ิตานนท,์
2553)

16143 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปล่ียนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

20

หลังการเปล่ียนโครงสร้างตาม พ.ร.บ. เมืองพัทยา พ.ศ. 2542
ท่ีกาหนดให้นายกเมืองพัทยา และสมาชิกสภาเมืองพัทยามาจากการ
เลือกตั้งโดยตรงของประชาชน นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขยายตัวของ
ระบบธุรกิจการเมืองและปัญหาแย่งชิงอานาจท่ีกระจุกตัวอยู่ในกลุ่ม
การเมืองท้องถิ่น โดยกลุ่มการเมืองท้องถ่ินมีทั้งกลุ่มการเมืองในเมือง
พัทยาและกลุ่มการเมืองหลักของจังหวัดชลบุรี ต่างฝ่ายต่างมีความ
พยายามท่ีจะเข้ามามีอานาจในเมืองพัทยา โดยมีเป้าหมายท่ีจะอาศัย
ทรัพยากรของเมืองพัทยาในการสร้างฐานอานาจทางเศรษฐกิจการเมือง
ของกล่มุ ตนเองและวางเครือขา่ ยอานาจของกลุ่มตนเองในระยะยาว

กลุ่มการเมืองท้องถ่ินที่ทรงอิทธิพลสูงสุด คือ เครือข่ายอานาจ
ของตระกูลการเมอื งหลักในจังหวัดชลบุรี ซง่ึ เปน็ การเมืองภายใตอ้ ิทธิพล
ทางการเมืองของตระกูลการเมืองหลักยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ จนสามารถ
สถาปนาอานาจการเมืองแบบรวมศูนย์อานาจไว้ในขั้วอานาจเดียว
(โอฬาร ถ่ินบางเตียว, 2563, หน้า 49-80) เครือข่ายอานาจของกลุ่ม
การเมืองหลักในเมืองพัทยามีอยู่ทุกระดับและทุกภาคส่วนทั้งฝ่าย
การเมืองทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น ข้าราชการ ภาคธุรกิจเอกชน
และภาคประชาชน มีฐานคะแนนจัดต้ังท่ีแน่นอนจนสามารถผลักดันให้
คนในกลุ่มเปน็ นายกเมืองพัทยาได้สาเรจ็ ต้ังแต่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
– 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 และ จนถงึ ปัจจุบนั

162 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

21

3.6 ปัญหาอื่น ๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อการบรหิ ารเมืองพัทยา
หากพิจารณาจากพื้นที่จะพบว่าการพัฒนาด้านโครงสร้างของ
พ้ืนท่ีเมืองพัทยาน้ัน ไม่ว่าจะเป็นการจราจร ขนส่ง ระบบไฟฟ้า ประปา
โทรคมนาคม ฯลฯ เต็มขีดศักยภาพแล้ว และยังพบสิ่งที่เป็นปัญหาอัน
ส่งผลกระทบต่อเมืองท่องเที่ยวด้วย เช่น ปัญหาส่ิงแวดล้อม ขยะล้นเมือง
น้าเน่าเสีย อากาศเป็นพิษ การกัดเซาะชายฝั่ง ปัญหาแรงงานต่างด้าว
ปัญหาความเป็นระเบียบเรียบร้อย ปัญหาด้านภาพลักษณ์ของการเป็น
แหล่งท่องเที่ยวกลางคืน เป็นพื้นที่ของการมั่วสุม แหล่งอบายมุข
กลุ่มมาเฟียต่างชาติ กลุ่มอาชญากรข้ามชาติ การเป็นพื้นท่ีฟอกเงิน
การคา้ มนษุ ย์ ฯลฯ เหล่าน้ีคอื ปัญหาทแ่ี ฝงฝังอยู่ภายใต้พน้ื ทีเ่ มืองพัทยา
แหล่งท่องเท่ียวระดับโลก ที่รอคอยการแก้ไขปัญหาจากผู้บริหารอย่างจริงจงั

4. ความท้าทายในอนาคตของเมืองพทั ยา

4.1 พัทยาในภาวะโลก-ท้องถิน่ ภวิ ตั น์ (Glocalization)
เมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเท่ียวที่มีความซับซ้อน มีความเป็น
ท้องถ่ิน (local) และมีความเป็นโลกาภิวัตน์ (globalization) ในเวลา
เดียวกันผสมรวมกันเป็นโลก-ท้องถิ่นภวิ ัตน์ (Glocalization)3 ในขณะที่

3 Glocalization เกดิ ขนึ้ ในทศวรรษ 1990 เพอื่ ทา้ ทายการขยายตวั ของโลกาภวิ ตั น์
3ไปGlยocังaสli่วzaนtiตon่างเกๆิดข้ึขนใอนงทโศลวกรรกษร1ะ9บ90วนเพก่ือาทร้าทนา้ีเยกกิดารขข้ึนยาใยนตบัวขรอิเวงโณลกตา่าภงิวัตๆน์ ขไปอยงังโสล่วนกตน่าง้ันๆกข็มอีกงโาลรก
กเกระิดบขวนอกงาอรนีก้ีเกกิดรขะ้ึนแในสบหริเนวณึ่งคต่าืองๆกขาอรงเโปลกน็ นทั้นอ้ก็มงีกถาิ่นรเกิด(lขoอcงอaีกlกizระaแtสioหนn่ึง)คอื ขกึน้ารใเนปน็ เวท้อลงาถเ่ินด(ียloวcกalันizaแtลioะn)
ขผึ้นสในมเผวลสาาเดนียกวกนั ันแเกละดิ ผเสปมน็ ผสการนะกบันวเกนิดกเปา็นรกGระlบoวcนaกlาiรzaGtloiocanliz(gatlioonb(aglloizbaaltizioatnion++loloccaalliizzaatitoino)nจ)ึง
หวเจศัฒมึงานรหยธษมถรรฐึงามกกยาจิรถเกึงสิดกังขาค้ึนรใมนเกขกณิดาะขรเึ้นดเมียใวือนกงขันขณแอลงะทะเั้งดวในียัฒรวะนกดธับันรสขราอกมลงแทล้ังะทใน้องรถะิ่นดท้ังับในสทาากงเลศแรษลฐะกิจทส้อังงคถม่ินกทาร้ังเมใือนงทแาลงะ

16343 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

22

การบริหาร อปท. รูปแบบพิเศษของเมืองพัทยาในความเป็นจริงเป็นเพียง
แค่ เทศบาลนครที่ อยู่ ภายใต้ อ านาจรั ฐราชการที่ ล้ าหลั งไม่ เท่ าทั น ก า ร
เปลย่ี นแปลงของโลกสมยั ใหม่ อานาจการเมืองการบริหารเองก็อยู่ในมือ
ของกลุ่มการเมืองท้องถ่ินท่ียังขาดวิสัยทัศน์ ไม่เท่าทันการเปล่ียนแปลง
ในสภาวะทา้ ทายในอนาคตตของเมอื งพทั ยา

4.2 เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) กบั เมอื งพทั ยา
การพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีการวางแผนท่ีจะ
พัฒนาเมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเที่ยวระดับโลก เป็นศูนย์กลางเศรษฐกจิ
อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว การคมนาคมและโลจิสติกส์ ที่สามารถ
รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงการเป็นที่อยู่อาศัยซึ่งจะกระจาย
ความเจรญิ สเู่ มอื งหลกั ในภมู ิภาค ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของประชาชนใน
พ้ืนท่ีด้วยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพ้ืนท่ี
น่ีเป็นอีกหน่ึงประเด็นความท้าทายในอนาคตของเมืองพัทยา กับศักยภาพ
ของ อปท.

4.3 เมอื งพทั ยากับความเป็นเมอื ง (Urbanization)
ความท้าทายในอนาคตของเมืองพัทยา คือ ความเป็นเมืองท่ี
เกดิ ขึน้ จากการแปลงสภาพประชากร กระบวนการผลติ ของเมืองพัทยา
ทางเศรษฐกิจท่ีซับซ้อน และสภาพแวดล้อมทางสังคมการเมือง
เศรษฐกิจท้องถน่ิ ท่ีกาลังเปลีย่ นไปสู่เศรษฐกิจการเมืองที่มีการรวมตัวบน
พ้ืนท่ีค่อนข้างมาก ส่ิงที่ตามมาของเมืองพัทยา คือ เกิดการรวมตัวของ

164 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

23

ประชากรในพื้นท่ีเพิ่มมากข้ึนท้ังประชากรจริง ประชากรแฝง แรงงาน
ตา่ งด้าว ชาวตา่ งชาติทีม่ าอยู่อาศัยต้ังรกราก ฯลฯ ทาใหเ้ มืองพัทยาเกิด
การแลกเปล่ียนสินค้าและบริการร่วมกัน และส่งผลต่อการขยายตัวของ
โครงสร้างพน้ื ฐานทางสังคมนาไปสู่ปญั หาของความเป็นเมือง

1. ปัญหาความแออัดของเขตเมืองพัทยา การใช้ท่ีดินและ
ความต้องการท่ีอยู่อาศัยที่สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
มาทางาน เป็นเงื่อนไขท่ีทาให้พัทยามีแนวโน้มกลายเป็นแหล่งชุมชน
แออดั (Slum Area) ซึ่งถือเปน็ ปัญหาสาคญั ของเมอื งพัทยาในระยะยาว

2. ปัญหาการจราจรในเขตเมืองพัทยาท่ีส่งผลกระทบต่อภาพรวม
ของโครงสร้างคมนาคมในพื้นที่ใกล้เคียง การเดินทางเข้าสู่เมืองพัทยา
ปัจจุบันยังคงใช้ถนนสุขุมวิทเป็นถนนหลัก โดยมีช่วงบริเวณทางแยก
สาคัญ 4 แห่ง ได้แก่ พัทยาเหนือ พัทยากลาง พัทยาใต้ และเทพประสิทธ์ิ
จนทาให้เกิดปัญหาการจราจรคับคั่งเฉลี่ยวันละ 75,000 คันต่อวัน
ก่อให้เกิดความล่าช้าทาให้ประชาชนต้องเสียเวลาในการเดินทาง
สูญเสียพลังงาน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การลงทุน และบรรยากาศความ
เป็นเมืองแห่งการทอ่ งเทย่ี วระดบั โลก

3. ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ หรือ มลพิษ เป็นภาวะภายใน
เมืองพัทยาที่สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลงเร่ือย ๆ ท้ังที่เป็นเมืองชายทะเล
รวมไปถงึ ผลกระทบจาการพัฒนาอตุ สาหกรรมในเขตพนื้ ท่ีแหลมฉบังท่ีมี
ต่อเมืองพัทยา เช่น ปัญหาสภาวะแวดล้อมเป็นพิษ ท้ังอากาศเสีย เสียง
รบกวน และน้าเสีย การถมทะเล เป็นต้น ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
อนามยั ของประชากรของเมอื งพัทยาอย่างมาก

16543 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปล่ียนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

24

4. ปัญหาการให้บริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการของ
เมืองพัทยา เน่ืองจากมีประชากรอยู่กันอย่างหนาแน่น ทาให้การ
ให้บริการกิจการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น น้าประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์
การจัดการมูลฝอยต่าง ๆ ต้องเพ่ิมปริมาณการให้บริการมากขึ้น จนเกิน
ระดับท่ีสามารถรองรับได้ รวมไปถึงการให้บริการสาธารณประโยชน์
อ่ืน ๆ เช่น สวนสาธารณะ โรงพยาบาล โรงเรียน ฯลฯ ไม่สามารถ
ให้บริการได้เพียงพอต่อความต้องการ จึงทาให้เกิดปัญหาความแออัด
ในด้านการใหบ้ ริการ

5. ปัญหาทางด้านสังคม การที่ประชากรเข้ามาอาศัยกันอย่าง
แออัดภายในเมืองพัทยา ทาให้เกิดปัญหาทางด้านสังคมกลุ่มต่าง ๆ
มากมาย เช่น การขาดแคลนท่ีอยู่อาศัย สาหรับผู้มีรายได้น้อย การบุกรุก
พ้ืนที่สาธารณะ แหล่งชุมชนแออัด การว่างงาน และความยากจน
อาชญากรรม ยาเสพติด การหย่าร้าง เด็กเร่ร่อนจรจัด เป็นต้น

6. ปัญหาการขยายตัวเมืองในเขตรอบนอก เกิดจากการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ทาให้ประชาชนส่วนหนึ่ง มีการ
อพยพไปต้ังถ่ินฐานในเขตรอบนอกของเมืองพัทยาเกิดการขยายตัวของ
การใช้ที่ดินอย่างรวดเร็ว มีการใช้ที่ดินประเภทต่าง ๆ เพิ่มข้ึน โดย
ป รั บ เ ป ล่ี ย น จ า กพ้ื น ที่เ กษต ร กร ร ม ไป เ ป็ น ที่อยู่ อา ศัย ห มู่ บ้ า น จั ด ส ร ร
โรงงานอุตสาหกรรม ทาให้การควบคุมขนาด และขอบเขตของเมือง
พัทยาทาได้ยาก การจัดบริการทางด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ
ไมส่ ามารถทาไดอ้ ย่างเพยี งพอ และทันตอ่ ความต้องการของประชาชน

166 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

25

บทสรปุ และข้อสังเกตบางประการ

43 ปี เมอื งพทั ยา : 2521-2564 ในฐานะ อปท. รูปแบบพิเศษ
เป็นเวลา 21 ปี (2521-2542) เป็นข้อพิสูจน์ให้เห็นเป็นประจักษ์พยาน
ถงึ ความไม่ประสบความสาเร็จของ อปท. รปู แบบพเิ ศษ รปู แบบผู้จดั การเมือง
มีปัญหาหลายประการ เช่น ปัญหาความขัดแย้งระหว่างฝ่ายการเมือง
(สภา) กับฝ่ายบริหาร (ปลัดเมืองพัทยา) ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรท่ีมี
ความรู้ความสามารถ ปัญหาเชงิ พื้นที่ของเมืองพัทยาในฐานะการปกครอง
รูปแบบพิเศษ ปัญหาการเมืองของการควบคุมและแทรกแซงจาก
กระทรวงมหาดไทย และปัญหาการจัดความสัมพันธ์ระหว่างราชการ
ส่วนกลางกับท้องถ่ินของเมืองพัทยา ที่ถูกควบคุมจากราชการส่วนกลาง
อย่างเข้มข้นไม่สอดคล้องกับความเป็น อปท. รูปแบบพิเศษในฐานะ
เมืองทอ่ งเท่ยี ว

พัทยาได้ปรับเปล่ียนโครงสร้างเป็นแบบนายกเมืองพัทยามา
จากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเหมือน อปท. อื่น ๆ ที่มีอยู่ใน
ประเทศไทย โดยสาระสาคัญพบว่าหลงั เปล่ียนโครงสร้างของเมืองพัทยา
ในความเป็นจริงแล้วเมอื งพัทยามฐี านะทางการบริหารไม่แตกต่างไปจาก
เทศบาลนครเท่านั้น มีเพียงช่ือเท่านั้นที่เป็น อปท. รูปแบบพิเศษ
ประเด็นดังกล่าวเป็นนัยยะสาคัญทางวิชาการท่ีต้องต้ังข้อสังเกตอย่าง
ตรงไปตรงมาว่าเมืองพัทยามีฐานะเป็นการปกครองท้องถิ่นพิเศษได้
อย่างไร ในเม่ือความเป็นจริงแล้วเมืองพัทยามีสถานะเชิงโครงสร้างและ
อานาจหน้าที่การบรหิ ารจดั การไม่มีความแตกตา่ งไปจากเทศบาลนคร

16743 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

26

เท่ากับว่า 20 ปีท่ีผ่านมาประชาชนรับรู้ข้อมูลที่ผิดพลาดหลง
เข้าใจว่าเมืองพัทยาเป็น อปท. รูปแบบพิเศษเพียงเพราะเข้าใจจากช่ือเท่าน้ัน
ซ้าร้ายความรู้ที่ผิดพลาดน้ีถูกผลิตซ้าในระบบการศึกษากลายเป็นชุด
ความจริงว่าด้วยเมืองพัทยาในฐานะ อปท. รูปแบบพิเศษ รัฐบาล
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ คณะกรรมการการกระจาย
อานาจ ได้ตระหนักถึงประเด็นนี้มากน้อยเพียงใด เพราะการสร้างการ
รับรู้ท่ีไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสาระสาคัญของ อปท. รูปแบบพิเศษ
ในทางวิชาการก็เท่ากับว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเด็นดังกล่าวไม่ให้
ความสาคัญ ไม่มีความจริงใจกับการกระจายอานาจและการพัฒนา
ประชาธปิ ไตยท้องถ่นิ ซึ่งเปน็ รากฐานสาคัญของการพัฒนาประชาธิปไตย
ในระดบั ชาติ

168 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

บรรณานุกรม

ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์ และโอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2550). โครงสร้าง
อ�ำนาจในจังหวัดชลบุรีกับนัยในการขับเคลื่อนโครงการทาง
สังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม,
มูลนธิ ิบรู ณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ.์
ณัฐกร วิทิตานนท์. (2553). การลอบสังหารในการเมืองท้องถิ่นไทย:
บทสำ� รวจ ‘ตวั เลข’ ขน้ั ตน้ ในรอบทศวรรษ พ.ศ.2543-พ.ศ.2552.
ไดน้ ำ� เสนอการประชมุ วชิ าการรฐั ศาสตรแ์ ละรฐั ประศาสนศาสตร์
แหง่ ชาตคิ ร้งั ที่ 11 วนั ท่ี 25 พฤศจิกายน 2553 วทิ ยาลยั การเมอื ง
การปกครอง มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
ตระกูล มีชัย. (2556). รายงานวิจัย การประเมินความก้าวหน้าการ
กระจายอ�ำนาจในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะ
กรรมการการกระจายอ�ำนาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ .
ธนศักดิ์ สายจ�ำปา. (2563). “หน่วยที่ 5 รูปแบบองคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ ไทย”, ชดุ วชิ า การเมอื งการปกครองทอ้ งถน่ิ . กรงุ เทพฯ
: โครงการผลติ ตำ� รา และสื่อการสอน โครงการวิทยาลยั การเมอื ง
สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ มสธ.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2542). การเลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง.
เชียงใหม:่ โครงการศกึ ษาการปกครองท้องถิน่ คณะสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่

16943 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปลี่ยนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2545). 100 ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ.
2440-2540. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2548). 100 ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ.
2440-2540. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพมิ พ์คบไฟ.
ธีติ ป.สุวรรณศาสตร์ และ ศิริวรรณ ฤกษ์วิสาข์. (2557). สรุปผล
การปกครองท้องถิน่ รูปแบบพิเศษ: เมืองพทั ยา. สภานิตบิ ญั ญตั ิ
แห่งชาติ
พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. 2542. (2542,
29 พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. หน้า 21-48.
เมืองพัทยา. (2559). ประวตั ิเมืองพทั ยา. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 5 กรกฎาคม
2564, จากเวป็ ไซต์ https://www.pattaya.go.th/ประวตั ิเมือง
พทั ยา
เมืองพัทยา. (2559ก). ประวัติเมอื งพทั ยา. สบื คน้ เมอื่ วันที่ 5 กรกฎาคม
2564, จากเวป็ ไซต์ https://www.pattaya.go.th/document/
standard/capter02/01.pdf
เมืองพัทยา. (2559ข). เมอื งพัทยา. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564,
จากเวป็ ไซต์ https://www.pattaya.go.th/

170 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

วสันต์ เหลืองประภัสร์. (2563). “หน่วยท่ี 10 องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินรูปแบบพิเศษ”, ชุดวิชา การเมอื งการปกครองทอ้ งถ่นิ .
กรงุ เทพฯ: โครงการผลติ ตำ� รา และสอ่ื การสอน โครงการวทิ ยาลยั
การเมือง สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ มสธ.
วุฒิสาร ตันไชย. (2555). เมืองพิเศษ: แนวคิดและความเป็นไปได้.
สำ� นกั งานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ภายใต้
แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะท่ีดี (นสธ.) สถาบันศึกษา
นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่
สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย. (2547). หมวดที่ 3 พัฒนาการ
และรูปแบบการปกครองท้องถิ่นไทย ล�ำดับที่ 6 เรื่อง เมือง
พัทยาและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษต่าง ๆ
สถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนาการปกครอง
ท้องถน่ิ สถาบันพระปกเกล้า
สำ� นกั วชิ าการสำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร. (2559). การปฏริ ปู
ปกครองทอ้ งถน่ิ รูปแบบพิเศษ: การปฏิรปู เมอื งพัทยา. เอกสาร
วิชาการอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำนักวิชาการส�ำนักงานเลขาธิการสภา
ผ้แู ทนราษฎร.
สุททนิ ชยั ผดุง. (2539). ระบบการบรหิ ารของเมืองพทั ยา: ปัญหาและ
แนวทางแกไ้ ข. กรงุ เทพ: คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง.

17143 ปี เมอื งพทั ยา: 2521-2564 พฒั นาการ การเปล่ียนผา่ นและความท้าทายในอนาคต

สุเทพ เชาวลิต. (2536). การบริหารการพัฒนาเมืองพัทยา: รูปแบบ
ที่ควรจะเป็น. ดุษฎีนิพนธ์สาขาการบริหารการพัฒนา คณะ
รฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.์
อลงกรณ์ อรรคแสง. (2560). เอกสารประกอบการสอนวชิ าการปกครอง
ทอ้ งถน่ิ . วทิ ยาลยั การเมอื งการปกครอง มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
โอฬาร ถนิ่ บางเตยี ว. (2560). เอกสารคำ� สอนวชิ า: 6722159 ประวตั ศิ าสตร์
การปกครองท้องถน่ิ ไทย. คณะรฐั ศาสตร์และนิติศาสตร์ ชลบรุ :ี
มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
โอฬาร ถน่ิ บางเตยี ว. (2563). “กลมุ่ บา้ นใหญบ่ างแสน (ตระกลู คณุ ปลมื้ )
กับการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562”. วารสารเศรษฐศาสตร์
การเมอื งบรู พา. (8: 1), หนา้ 49-80.
James Q. Wilson and John J. Dilulio. (1995). American
Government: The Essentials. Lexington, Mass.: D.C.
Heath.
Terry Christensen. (2005). Local Politics: A Practical Guide
to Governing at the Grassroots. 2 nd Edition. New
York: M.E. Sharpe,.
Thomas R. Dye. (1997). Politics in States and Communities.
Upper Saddle River, N.J.: Prentice-Hall.

172 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

1

กระจายอานาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสด:ี
สารวจขอ้ ถกเถียงเกี่ยวกับการปกครองตนเอง

ในความขัดแยง้ ชายแดนใต้/ปาตานี

รอมฎอน ปนั จอร์1

ส่ิงท่ดี ำรงอยู่ในระหว่ำงเกือบสองทศวรรษของควำมรุนแรง
ทำงกำรเมืองในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ หรือ “ปำตำนี” คือ กำร
ถกเถียงเกี่ยวกับรูปแบบกำรปกครองท่ีควรจะเป็น กำรถกเถียงและ
กิจกรรมกำรเคล่ือนไหวต่ำงๆ ไม่เพียงแต่ชี้ให้เห็นพัฒนำกำรและ
พลวตั ของควำมขดั แยง้ โดยตวั มันเองเท่ำน้นั หำกแตย่ งั เผยใหเ้ ห็นว่ำ
ประเด็นใจกลำงของควำมขัดแย้งส่งผลต่อพัฒนำกำรดังกล่ำว
อย่ำงไร งำนวิจัยที่ผู้เขียนเพิ่งตรวจสอบอย่ำงละเอียด2 พบว่ำกำร
อภิปรำยและทุ่มเถียงในประเด็นนี้ดำรงอยู่ในปริมณฑลต่ำง ๆ ที่
รอ้ ยรัดและสัมพนั ธ์กัน ไม่ว่ำจะเป็นพืน้ ท่ขี องงำนวิชำกำร โต๊ะเจรจำ
กำรนำเสนอนโยบำยและกำรผลักดันกฎหมำยของพรรคกำรเมือง

11 รรออมมฎฎออนนปปันนั จจออร์,รภ,์ ณัภณัฑาฑราักรษกั ์ ษcu์ Crautorartขoอrงขสอานงสัก�ำDนeกั eDpeSeoputShoWutahtcWh atch
22 รรออมมฎฎออนนปปนั นัจจออร,์รก์, ากราเรมเอื มงอืขงอขงอควงาคมวขาัดมแขยัด้งแชยา้งยชแาดยนแใตด้/นปใาตต้/าปนาี:ตทาานค:ี วทามำ� คเขว้าาใมจ
กเขา้ารใเจปกล่ียารนเแปปลล่ียงนควแาปมลเปงค็นวกามรเมปือ็นงกในาหรเ้วมงือ1ง5ในปหี ข้วองงค1ว5ามปรีุนขแอรงค(รวาายมงราุนแวิจรัยง
น(ราาเยสงนาอนตว่อจิ สยั นานำ� ัเกสงนาอนตคอ่ณสะำ� กนรกั รงมากนาครณสะ่งกเสรรริมมวกิทารยสาง่ศเาสสรตมิ รว์ทิ วยิจาัยศแาลสะตนรว์ วัตจิ กยั รแรลมะ,
2น5ว6ัต3ก)รรม, 2563)

173กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

2

ตลอดจนกำรขับเคล่ือนของเครือข่ำยองค์กรภำคประชำสังคม
กระท่ังผลิตผลต่อยอดเป็นจุดเปล่ียนหรือจุดบรรจบสำคัญในช่วงปี
2555 หลังจำกนโยบำยแห่งชำติที่ว่ำด้วยจังหวัดชำยแดนภำคใต้ได้
บรรจุสำระสำคัญที่เปิดกว้ำงต่อกำรถกเถียงในเรื่องน้ีอย่ำงเป็น
ทำงกำรชนิดทไ่ี มเ่ คยปรำกฏมำก่อน3

ในช่วงเวลำเหล่ำนี้ ข้อเสนออันโด่งดังของบรรดำผู้นำศำสนำ
อิสลำมในอดีตนำโดยฮัจญีสหุ ลง โต๊ะมีนำ ได้หวนกลับมำมีชีวิตชวี ำ
บ่อยคร้ังในกำรถกเถียงเกยี่ วกบั อนำคตของพน้ื ทีแ่ ละผู้คนในภูมิภำค
นี้ แม้ว่ำข้อเรียกร้องหรอื “คำร้องขอ” เกี่ยวกับกำรจัดกำรปกครอง
ในพื้นที่ “ส่ีจังหวัดภำคใต้” ต่อกรุงเทพฯ จะถูกตีตกไปหลังกำร
รัฐประหำรปี 2490 และตำมมำด้วยกำรบังคับสูญหำยของผู้นำกำร
เคลื่อนไหวในครั้งนั้นในอีกหลำยปีต่อมำ แต่หลำยประเด็นที่เคยถูก
หยิบยกมำกล่ำวถึง และตีควำม ยังคงสร้ำงแรงบันดำลใจ และ
อภปิ รำยอยูจ่ นถงึ ปัจจุบนั

ข้อเสนอในกำรปรับปรุงโครงสร้ำงกำรบริหำรและกำร
ปกครองในจงั หวัดชำยแดนใตน้ น้ั อยรู่ ะหวำ่ งจุดยืนทส่ี ดุ ขวั้ ในระนำบ
ของควำมขัดแย้ง กล่ำวคือในด้ำนหนึ่ง มุ่งหมำยท่ีจะพิทักษ์รักษำ
บูรณภำพแห่งดินแดนของรัฐไทย อีกด้ำนหนึ่งประสงค์ท่ีจะกอบกู้

33 สสา�ำนนัักกงงาานนสสภภาาคคววาามมมม่ัน่ันคคงงแแหห่ง่งชชาาตติ,ิ, นนโโยยบบาายยกกาารรบบรริิหหาารรแแลละะกกาารรพพัฒัฒนนาา
จจังังหหววดั ัดชาชยาแยดแนดภานคภใตา้ คพ.ใศต.้ 2พ55.ศ5-.25255755(ก-2ร5งุ 5เท7พ(ฯก:รสุงำ� เนทกั พพมิฯพ: ค์ สณาะนรักฐั มพนิมตพรี์
คแลณะะรราฐั ชมกนิจตจราีแนลเุ บะรกาษชาก, จิ 2จ5า5น5ุเ)บกษา, 2555)

174 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

3

และสถำปนำรัฐปำตำนีขึ้นมำใหม่ บทควำมนี้มุ่งสำรวจควำม
เคล่ือนไหวในพื้นท่ีระหว่ำงกลำงของสองข้ัวดังกล่ำว โดยเฉพำะที่
ปรำกฏตัวอยู่ในพ้ืนท่ีสำธำรณะผ่ำนกำรเคลื่อนไหวของเครือข่ำย
ภำคประชำสังคมในพื้นท่ี พร้อมอภิปรำยให้เห็นว่ำควำมแตกต่ำง
ระหว่ำงกลุ่มเคล่ือนไหวที่มุ่งหวังกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำง
กำรเมืองกำรปกครองกันเอง บทควำมน้ีต้องกำรชว้ี ่ำกำรประชนั ขนั
แข่งเกี่ยวกับแนวทำงกำรกระจำยอำนำจสู่ท้องถิ่นหรือกำรลดทอน
อำนำจรฐั ส่วนกลำงที่หลำกหลำยระดับในกรณีชำยแดนใต้นั้นมีส่วน
ต่อพัฒนำกำรของควำมขัดแย้งอย่ำงไรและทิ้งมรดกสำคัญอะไร
ใหก้ บั กำรถกเถยี งสำหรบั ในอนำคตบำ้ ง

“ปตั ตานมี หานคร” ที่ไมใ่ ช่ “นครปัตตานี”

ในช่วงที่กำรอภิปรำยเกี่ยวกับกำรกระจำยอำนำจ กำร
ปกครองตนเอง และกำรปรับโครงสร้ำงกำรบริหำรของภำครัฐกำลังเข้ำ
สู่กระแสสูงในปี 2552 ในเดือนธันวำคมปีน้ันมีควำมเคลื่อนไหวที่
สำคัญท่ีตอบสนองกระแสดังกล่ำว น่ันคือกำรร่วมจัดเวทีเพ่ือถกเถียง
เก่ียวกับข้อเสนอกำรกระจำยอำนำจในบริบทของจังหวัดชำยแดน
ภำคใต้ที่มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตปัตตำนี4 นับเป็นกำร

กไ4ส4กอด าันากันกแ้รริจตไจิกเเดมกิภมก่ สือ้แรรอืาางรกรพงภนมมภ่แักาดดสาลคสัคงัง�ำะพนั กกพนลตลคลัลกเิว่า่าวมเสิธวมวาอืแีันจจมอืงลตัดเัดขงะพิเวโโัดธพอื่ดดิธรแทอื่ยยีแรยอ้ทเมเล้งคคงาอ้ะถรรจภงธอืืิ่นอุฬิบถรขขน่ิาารโ่า่าลดลมยโยยงดาสปปกมภยถรรรีอมิบาะะณงบอีชาคช์มันงลาก์าคพหสรสก์สรสังาังระควนคถสปิทมับมานกยสบ2เบั2นาักน33ลสนุลพยันดา้ออร้านุงงแศะนคคดลนูปว์ก์กา้ ะยชิกนรรศศ์าเวกกึกนูรรชิ า่ษว่วลยารมมา้า์เกฝสกก3าา้ันศับับรรอตูนเเะ3งคิภคยควรอาร์งั์กศือพืองรึกคขแขษอก์า่ล่ายันรยาะ

175กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

4

จัดเวทีสำธำรณะเก่ียวกับประเด็นน้ีอย่ำงเปิดเผยเป็นครั้งแรกในพ้ืนที่
ควำมขัดแย้งแห่งนี้ ในงำนวันดังกล่ำวอำศัยวันเดียวกับวันรัฐธรรมนูญ
(10 ธันวำคม) เป็นหมุดหมำยโดยนัยว่ำกิจกรรมเหล่ำน้ียึดโยงอยู่กับ
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ซึ่งเป็นกลยุทธ์สำคัญในกำรขยับ
ขยำยข้อถกเถียงดังกล่ำวท่ีถูกตีตรำว่ำเป็นเรื่องต้องห้ำม ดังช่ือหัวข้อ
งำนท่ีตั้งเอำไว้ในเป็นคำถำมว่ำ “นครปัตตำนีภำยใต้รัฐธรรมนูญไทย:
ควำมจริงหรือควำมฝัน?” ผู้ที่กล่ำวนำในวันนั้นซ่ึงเป็นนักรัฐศำสตร์ที่
ทำวิจัยศึกษำเปรียบเทียบกำรปกครองแบบในพ้ืนท่ีซี่งมีควำม
หลำกหลำยทำงวัฒนธรรมถึงกับกล่ำวออกตัวว่ำไม่นึกว่ำจะถึงวันท่ีมี
โอกำสได้พูดถึงประเด็นน้ีในพื้นท่ีรวดเร็วขนำดน้ี เธอถึงกับเกริ่นไว้ว่ำ
“หำกเรำพูดถึงเรื่องน้ีเร็วกว่ำนี้สักหน่อย เรำอำจรักษำชีวิตผู้คนเอำไว้
ได้จำนวนมำก”5

ควสิวชถาาามนกขกาัดารแรทยณ่ีน้งภ์ ่าจาสุฬคนาใลตใงจ้ กกซร่อึ่งณจน์มัดหหขนาึ้นา้วนิททัน้ย่ีมาไหมลาัยน่ วาแิทนลยะ(ศา2ลูนธัยยนั์เสฝวง้าาขรคะลมวา)ังนสมถคีคารวนินากทมาเรรคณ์ ล“ภ์ อ่ื วานิคทไใหยตวา้ กทเข่อาตนง
หหนาด้านให้ันญไม”่ ่นนานัน่ ก(2็คอืธัรนัฐวศาคาสมต) รม์แีคลวะารมัฐเคปลรื่อะนศไาหสวนทศาางสวติชราแ์กหาร่งทชี่นาต่าสิ คนรใั้งจทซ่ี่ึง1จ0ัดขก้ึนาทรี่
มกหลา่าววิทปยาาฐลกัยถสางขขลอางนดคันรแินคทนร์ “แวมิท็กยคาาเขรต์โหกาดในใหคญร่ั้”งนนั้น่ันถกือ็คเือปร็นัฐศกาาสรตปรร์แะลมะวรลัฐ
ปสถระาศนากสานรศณาแ์สลตะร์แโอหกง่ ชาสาตขิอคงรขงั้ อ้ทเี่ ส1น0อกกาารรกปลร่าบัวปปารฐงุ กกถาารขบอรงหิ ดาันรแปคกนครแอมง็กใคนาจรงัโ์ กหวใดัน
คชรา้ังยนแ้ันดถนือภเาปค็นใกตาอ้ รยป่ารงะกมรวะลชสบั ถแาลนะกนา่ารสณน์แใลจะโอกาสของข้อเสนอการปรับปรุงการ
บ5 รฉหิ นั าทรปนกาคบรอรรงใพนศจิรงั ิโหชวตดั ิ ชหาวยันแแดกน้วภาอคาใตจ้อารยย่างป์ กรระะจช�ำบั คแณละนรา่ัฐสศนาใสจตร์ จฬุ าลงกรณ์
5มฉหันาทวิทนายาบลรรัยพศทริ �ำโิ หชตนิ้าหทว่ีกันลแก่า้วนอ�ำาใจนารวยันป์ นรั้นะจในาคหณัวะขร้อัฐศ“าทสต�ำรค์ วจาุฬมาลเขง้ากใรจณก์ ารเมือง
มกหาารวปิทกยคาลรยั อทงบาหนนค้าทว่กีาลม่าแวตนกาใตน่วาันงทน้นัาใงนอหัตัวลข้อักษ“ทณา์ค”วา(มโเปขร้าใดจดกูารศเมูนือยง์เกฝาร้าระวัง
ปสกถคารนอกงาบรนณคว์ภาามคแตใตก้ต, ่า“งคทาวงาอมัตหลวักังษแณล์”ะ(คโป�ำถรดาดมู :ศูนบยท์เฝก้าลร่าะวันงส�ำถใานนก‘านรคณร์ภปาัคตใตตา้,นี
“ภคาวยาใมตห้รวัฐงั ธแรลระมคนาถญู า’ม.”: บ2ท3กลธ่านั ววนาาคในม‘2น5ค5รป2.ัตตhาtนtpีภsา:ย//ใตdร้eัฐeธpรรsมoนuูญth’.w”a2t3ch.org/
ธthัน/วnาคoมde2/56502.1h) ttps://deepsouthwatch.org/th/node/601)

176 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

5

วัตถุประสงค์ข้อหนึ่งของกิจกรรมในวันน้ันคือกำรประมวล
บรรดำตัวแบบในกำรบริหำรและกำรปกครองเคยที่มีกำรนำเสนอ
รวมทั้งกำลังจะนำเสนอในวันน้ันเพ่ือเผยแพร่และสร้ำงควำมเข้ำใจ
และกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรพิจำรณำ ด้วยเหตุน้ี หัวข้อ
ของงำนสัมมนำดังกล่ำวจงึ มีควำมน่ำสนใจอย่ำงย่ิง เน่ืองจำกกำรใช้
คำว่ำ “นครปัตตำนี” ซ่ึงเป็นชื่อที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้นำเสนอ
ต่อสำธำรณะมำโดยตลอดก่อนหน้ำนั้นอำจเป็นชื่อท่ีเรียกได้ว่ำ
ติดตลำดและคุ้นหูผู้คนอยู่บ้ำงแล้ว แต่สำระสำคัญในกำรอภิปรำย
กลับไม่มีรำยละเอียดของข้อเสนอดังกล่ำวอยู่เลย กำรนำเสนอต่อ
สำธำรณะอย่ำงจริงจังจะเกิดข้ึนในอีกกิจกรรมหนึ่งหลังจำกน้ันอีก
รำว 2 เดือนที่จังหวัดยะลำ ในทำงกลับกัน กิจกรรมในคร้ังน้ีจะถือ
เป็นกำรเปิดตัวหรือให้กำเนิดข้อเสนอใหม่ที่มีรำยละเอียดมำกไป
กว่ำ “นครปัตตำนี” นั่นก็คือกำรนำเสนอแนวคิดและร่ำงกฎหมำย
ของ “ปัตตำนีมหำนคร” อย่ำงน้อยสองสำนวนด้วยกัน อันได้แก่
ข้อเสนอ “ปัตตำนมี หำนคร” ของเครอื ขำ่ ยประชำสังคม 23 องค์กร
หนึ่งในเจ้ำภำพร่วมจัดงำน ซึ่งยกร่ำงโดย อุดม ปัตนวงศ์ อดีต
ขำ้ รำชกำรปกครองทีม่ ีเชือ้ สำยมลำยมู สุ ลิม

หลังจำกกิจกรรมในวันนี้เป็นต้นไป ร่ำงข้อเสนอของอุดม
จะกลำยเปน็ สำรต้ังต้นสำหรับกำรพฒั นำต่อผ่ำนกำรถกเถียงอีกเป็น
ระยะเวลำหลำยปีต่อจำกนั้น ในขณะท่ีอีกข้อเสนอหน่ึงเป็น
“ปัตตำนีมหำนคร” ของ อัคคชำ พรหมบุตร หนึ่งในสมำชิกสภำ

177กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

6

พฒั นำกำรเมือง โดยกำรจัดเตรียมเอกสำรรำ่ ง พ.ร.บ. ข้นึ มำเพือ่ เตรียม
เปิดให้มีกำรร่วมลงช่ือนำเสนอกฎหมำย ที่น่ำสนใจก็คือ อัคคชำ
ได้กำรยกร่ำงขึ้นมำจำกกำรคัดลอกเอำ พ.ร.บ. ว่ำด้วยระเบียบ
บริหำรรำชกำรกรุงเทพมหำนครโดยเปล่ียนจำก “กรุงเทพมหำนคร”
มำเป็น “ปัตตำนีมหำนคร” เพื่อท้ำทำยกรอบคิดท่ีว่ำกำรนำเสนอ
เรื่องรำวดังกล่ำวนั้นไม่อำจถือว่ำเป็นกำรละเมิดบรรทัดฐำนและ
รัฐธรรมนูญแต่อย่ำงใด แต่เป็นโครงสร้ำงของกำรปกครองท้องถ่ิน
แบบพิเศษเฉกเช่นท่ีรฐั ไทยเคยอนุญำตใหม้ ีมำแล้วนนั่ เอง

นอกจำกองค์กรทำงวิชำกำรทั้งในและนอกพ้ืนที่จะร่วมจัด
กิจกรรมข้ำงต้น เครือข่ำยภำคประชำสังคมในพื้นที่ซึ่งร่วมจัดงำน
ดังกล่ำวก็มีกำรผลักดันที่โดดเด่น คือ แนวทำง “กำรกระจำยอำนำจ”
ซึ่งได้คลี่คลำยเป็นข้อเสนอร่ำง พ.ร.บ. ปัตตำนีมหำนคร พ.ศ. ...
ในอีกหลำยปีต่อมำ ในระหว่ำงกำรเดินทำงช่วงปี 2552 – 2556
หรือตลอดเจ็ดปีท่ีมีกำรขับเคลื่อนอย่ำงต่อเน่ืองนั้น ปรำกฏทั้ง
ในด้ำนของกำรขยำยเครือข่ำยกว้ำงไกลทั้งภำยในพ้ืนที่ชำยแดนใต้
และข้ำมพื้นที่ไปจับมือกับเครือข่ำยท่ีสนับสนุนแนวทำง “จังหวัด
จัดกำรตนเอง” จำกภูมิภำคอ่ืน ๆ ท่ัวประเทศ แต่ในอีกด้ำนหนึ่งก็
เผชิญกับแรงเสียดทำนของขบวนกำรเคลื่อนไหวอีกชุดหน่ึงท่ีก่อตัว
ข้ึนในพื้นท่ีชำยแดนใต้และโต้แย้งกับข้อเสนอของพวกเขำ ภำพกำร
เปล่ียนแปลงเหล่ำน้ีน่ำจะสะท้อนกำรเมืองของควำมขัดแย้งท่ี
เบ่งบำนขึน้ ท่ำมกลำงควำมรุนแรงไดเ้ ป็นอย่ำงดี

178 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

7

เครือข่ำยประชำสังคม 23 องค์กร ก่อตั้งขึ้นมำจำก
สถำนกำรณ์เฉพำะหน้ำในช่วงกลำงปี 2552 ภำยหลังเหตุกำรณ์
สังหำรหมู่ที่มัสยิดอัลฟุรกอน บ้ำนไอปำแย อ. เจำะไอร้อง
จ. นรำธิวำส6 ภำยหลังกิจกรรมครบรอบ 40 วันของกำรสูญเสียใน
เหตุกำรณ์ดังกล่ำว ซึ่งจัดท่ี สนง. คณะกรรมกำรอิสลำมประจำ
จังหวัดนรำธิวำส องค์กรท่ีร่วมจัดงำนดังกล่ำวก็เกำะตัวกันเป็น
เครือข่ำยอย่ำงเป็นทำงกำร องค์ประกอบของเครือข่ำยส่วนใหญ่
เป็นองค์กรที่มีฐำนสมำชิกเป็นมลำยูมุสลิม แต่ก็มีอยู่อย่ำงหลำกหลำย
ทั้ ง ใ น แ ง่ ข อ ง จุ ด เ น้ น ข อ ง กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ส ำ นั ก คิ ด ใ น ท ำ ง ศ ำ ส น ำ
ครอบคลมุ ตั้งแต่องคก์ รที่ทำงำนด้ำนวัฒนธรรมมลำยู องคก์ รบรหิ ำร
กิจกำรศำสนำ เครือข่ำยชุมชน องค์กรด้ำนกำรศึกษำมุสลิม กิจกำร
สตรีมุสลิม และกำรรณรงค์ด้ำนสิทธิมนุษยชน และเครือข่ำย
นักศึกษำ กำรรวมตัวดังกล่ำวเป็นปรำกฏกำรณ์ใหม่ท่ีไม่เคยเกิด
ข้ึนมำก่อน แต่ปัญหำในกำรบริหำรจัดกำรเครือข่ำยและควำมไม่ลง
รอยทำงควำมคิด โดยเฉพำะประเด็นข้อกังขำในเรื่อง “กำรกระจำย
อำนำจ” หรือ “Autonomy” ทำให้เครือข่ำยบำงส่วนต้องผละออกไป

6ผก6ผก รู้เ้เูรเเสสหหาายีีดยตดตชชยุกยกุ ีวีิงวางิาชิตรชิตรณาราณรวววว์ดด์บมบมังงั้าา้กก11นนลล00ขข่าา่ ณรณววราเเาะกะกยยกิดกดิ ชาขำ�ขชลาลน้ึนึ้าวังังใวใทบนทนบาค้า�ำค้าพนพ่านำ่� วิใธิธวในนัีลนนลีั หทะะทหหม่ีห่ีม88ู่มบมบู่ มมา้าาา้ ดถิิถดนนทนุนุทเเชชาา่ีมมี่ ื่อยยือ่ ัสัสวนนวยย่า่าิดิด22กกอ5อ5าา55ัลลัรร22กฟฟกรรเุุรรเมมะะกกอื่ท่ือทออมมาำ�นนผีดดีผดดใู้ัังงใู้ ัังชงชกกกกอ้้อลลลลาาา่่า่า่วาวววววธุธุเเสปสปททงง็น็นค�ำาคฝฝใใรรหหมืืมาา้้มมมอืมือีี
ขขอองงเเจจ้าา้ หหนน้าา้ ทที่่ี กกาารรสสออบบสสววนนใในนรระะยยะะเเววลลาาตต่อ่อมมาาททาำ� ใใหห้มม้ ีกีกาารรแแจจ้งง้ คคววาามมดดาำ� เเนนินินคคดดีี
ตอ่ เจ้าหนา้ ทที่ หหาารรพพรราานน(ซ(ซง่ึ ึ่งออา้ ้างงววา่ า่ไดได้ลล้าอาออกจกาจการการชากชากราไรปไแปลแ้วล)้ว)

179กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

8

ก่อนที่จะก่อตัวแนวทำงกำรเคลื่อนไหวท่ีคู่ขนำนกันไป ในขณะ
เครือข่ำยเดิมนั้นก็ปรับชื่อไปเป็น “เครือข่ำยเพ่ือกำรพัฒนำกำรมี
ส่วนร่วมทำงกำรเมืองและกำรปกครองในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ ”
ต่อมำ พัฒนำกำรเหล่ำน้ันบ่งช้ใี ห้เห็นวำ่ กำรเมืองของข้อเสนอท่ีวำง
อยู่รำกฐำนของสิทธิทำงกำรเมืองของชนกลุ่มน้อยและสิทธิในกำร
กำหนดชะตำกรรมของตนเองมคี วำมแตกต่ำงภำยในไดเ้ ปน็ อยำ่ งดี

น่ำสนใจว่ำกำรเกำะกลุ่มในฐำนะเครือข่ำยในเบื้องแรกนั้น
เป็นกำรตอบสนองต่อเหตุกำรณ์ท่ีปรำกฏควำมไม่เป็นธรรมอย่ำง
โดดเด่นเห็นชัด เช่นในกรณีน้ีคือ “เหตุกำรณ์ไอปำแย” ในช่วงสอง
สำมเดือนแรก เครือข่ำยประชำสังคม 23 องค์กร เคล่ือนไหวท้ังใน
ระดับพื้นที่และอำศัยเง่ือนไขกำรประชุมของประเทศอำเซียนใน
ประเทศไทยจับมือกับองค์กรประชำสังคมในอำเซียนเพ่ือหยิบยก
ประเด็นควำมอยุติธรรมกรณีต่ำง ๆ ในภูมิภำคเข้ำร่วมสนทนำและ
เคล่ือนไหวเรียกร้องต่อรัฐบำลในอำเซียนร่วมกัน บทสัมภำษณ์ใน
ช่วงเวลำน้ันชี้ให้เห็นว่ำแม้แต่ผู้ท่ีมีบทบำทนำในเครือข่ำยเองก็ยัง
ไม่ได้ให้ควำมสนใจต่อประเด็นกำรกระจำยอำนำจหรือกำรปกครอง
ตนเองมำกนัก กระทั่งว่ำมีทัศนะไปในทำนองที่ว่ำหำกรัฐบำลปล่อย
ปละละเลยไม่ยอมแก้ไขปัญหำควำมอยุติธรรมและกำรละเมิดสิทธิ
มนุษยชนแล้ว สถำนกำรณ์จะนำไปสู่กำรเรียกร้อง “สิทธิปกครอง
ตนเอง” และตำมมำด้วยกำรเข้ำมำมีบทบำทขององค์กรระหว่ำง
ประเทศ สุดท้ำยจะนำไปสู่กำรแยกตัวเป็นรัฐอิสระ หน่ึงในผู้นำ

180 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

9

ของเครือข่ำยซึ่งเป็นประธำนมูลนิธิวัฒนธรรมอิสลำมภำคใต้
ในขณะน้ันกล่ำวด้วยว่ำ

“วิธีไกล่เกลี่ยคือต้องเรียกรัฐบำลกับตัวแทนในพ้ืน
ที่มำเจรจำว่ำจะเอำอย่ำงไรกัน กำรเจรจำน้ันอำจจะ
นำไปสู่กำรเรียกร้องสิทธิปกครองตนเอง เหมือนใน
ต่ำงประเทศ แตก่ ำรปกครองตนเองจะนำไปสู่รัฐอิสระ
เรำพยำยำมเตือนรัฐบำล อย่ำปล่อยนะ ให้เปลี่ยน
รูปแบบ ให้เอำกำรเมืองเข้ำไปแก้ ให้ยุติกำรละเมิด
สิทธิ ยุติกำรทรมำน เพรำะสิ่งเหล่ำน้ีมันเข้ำตำ
ตำ่ งประเทศ สิ่งทเ่ี รำพูดเพอื่ เตือนรฐั บำล ไม่ใช่เข้ำขำ้ ง
ฝ่ำยโนน้ ”7 (ประชำไท 2552)

77 ปปรระะชชาาไไทท,,““สสมั ัมภภาษาษณณ:์ พ์: ลพ.ตล..ตต.จ.ตา.รจูญ�ำรเูญดน่ เอดดุ ่นมอ: ุดไอมร:์ปไาอแรย์ปจาดุแชยนวจนุดชนวน
เคลอื่ นไหวในเวทคี ู่ขนานอาเซียน,” 14 ตตลุ ุลาาคคมม2255522. . https://prachatai.
hcottmps/:/j/opurrancahl/a2ta0i0.c9o/m10//2jo6u1r9n4al/2009/10/26194

181กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

10

ส่ิงท่ี พล.ต.ต.จำรูญ เด่นอุดม หรือผู้ที่ใช้นำมปำกกำว่ำ
“อำรฟิ ิน บนิ จิ”8 กล่ำวข้ำงต้นน้ันอำจดูไม่แตกต่ำงไปจำกวำทกรรม
ของภำครัฐท่ีหวำดระแวงต่อกำรยกระดับประเด็นปัญหำในจังหวัด
ชำยแดนภำคใต้ให้เป็นเรื่องระหว่ำงประเทศ9 แต่ทัศนะเช่นนี้จะ
เปล่ียนไปและเขำจะกลำยเป็นหัวเร่ียวหัวแรงสำคัญในกำรขับเคลื่อน
ขอ้ เสนอ “ปตั ตำนีมหำนคร” ในเวลำต่อมำ จุดเปล่ียนสำคัญเกิดข้ึน
ในช่วงปลำยเดือนตุลำคมปีเดียวกันนั้น ระหว่ำงท่ีบทสนทนำใน

8 ภมู หิ ลังและบทบาทของ “อารฟิ ิน บินจิ” นน้ั น่าสนใจ เพราะนอกจากจะเป็นอดีต

ข8 ้าภรมูาชหิ กลางั รแตลาะรบวทจตบะาเทวขนอชงาย“แอดานรฟิในนิ วัยบเนิ กจษ”ิ ียณนน้ัแนล้วา่ สแนตใ่ใจนเอพีกรดา้าะนนหอนก่ึงจเาขกาจยะังเปน็
นอัดกเตี ขขียา้ นรทา่ีชตีกพาิมรพต์ห�ำนรัวงสจือตเะกเี่ยวนวกชับายปแระดวนัตใิศนาวสยั ตเกร์ปษัตียตณาแนลี/ป้วาแตตาใ่ นนีหอลีกาดยา้ เนล่หมรน่ว่งึ มเกขับา
ปยังญเปญ็นาชนนักใเนขวียัยนเทดี่ยตวีพกิมับพเข์หานังหสนือึ่งเใกน่ียเลว่มกทับ่ีสปารคะัญวัตแิศละาสมีตอิรท์ปธิพัตตลอานย่าี/ปงมาาตกาในนีหชล่วางยท่ี
คเลว่มามร่วรมุนกแรบั งปปญั ะทญุขาึ้นชหนลใังนปวียั 2เ5ด4ยี 7วกับ็คือเขา“ปหานตึง่ าในนี.เ..ล.ป่มรทะส่ี ว�ำัตคิศญั าสแตลระ์แมลอี ะทิ กธาิพรเลมอื ยงใ่านง
โมลากกมในลชายว่ ู”งทท่คี ่ีตวีพามิมรพนุ ์คแรรั้งงแประกทในุขปึ้นี ห2ล5งั5ป0ี เ2ข5า4ก7ลากย็คเือป็น“ปวิทาตยาากนร.ี .ค..ปนรสะาวคตััญศิ ใานสกตารร์
เโขกตกซปในชแคดดหอ่าอาล่ึานงอรินยเ้รรงตกมะะกสปสเเมปิานเลกฉมจ�ำน็าดูลราพาคิยือายบหนน็ะรยกงมัญาบทนธิจสเชะเนมมอิวบใปงัง่ึาุดใ้ีนัฒลกอืใหนนาใ็นแนเากนทงแนวงรลจสใยาาอฐดัวกธ่านุดมูปรนดาันรจเโเเรภานราวกโดัชลดื่อชมดางตัะบก่ืกอินงนยกิอดาตเามรมสใักสิสเคนวัราตดลตาศภลรีแวต้ร่นยา่อืึากอาขโทนัฐยขบมดพษสขอธนเ”ูอภยอ่อ�าำงารฒั ขงาเทยกรคทง“เฉนอคมใทขเี่อัญตี่ปพนลงใานา่่ีาขพีตรมกใ่าเาเูนญับวนะ้ปมิเาูละเหรลวเร็กนขพนใพคื่อันตาเนาพาิธค์มลง.ติศังไศแรื้วินรรดอื่ือสอ่าป.วัฒาั้งห้รงือสนมด2วแรับชตลภนปา5ขวระดุเังราธลร5กงอบสส์แ”ษระนอื0ใงาทารรานเกจักคนกดซไบมใปา“ศทัญ็่ึงงนหภอากปีกึกาย2จทใ้เิสมารปนลนษ5ังยอุลมนะา็นกกห5าในัามยวอตาหทับ0วมอัตโเกรร้ันดป่ีอดเภงเขิศจฐัคขึง่จ็นช่าดึ้านาธาใราัดนาจเคกนรสมกืดอตกุดหรนใสตาลน่ขินตาเม้ีนมนรชา่ิใยขาร้นา์”าังนเื่อยยตมอขชใญสู มฐเทนนมงาิกปจือาตเไลเเพ่ีขสขาน็นภคด่ออาภักบ.าะวราส้รศงยเามตืเอิทษใบัาู.ปปคพนัุมวคข2ยาเาน็ลัฒแลเ่ัญาม5ไาตวพื่อททยอื5กอนาลในื้นทกนย0นนรงาา่ีี
กหวลา้ งั งสขำ�วคางญั เชในน่ กนา้ี รขึ้นมานำ� ในเครอื ข่ายท่ีกวา้ งขวางเชน่ น้ี
99 กโปรุณรดาดดูกูกาารรออภภิปิปรราายยใในนปปรระะเดเด็น็นนนี้ข้ีขอองงผผู้เขู้เขียียนนรรออมมฎฎออนน ปปันันจจออรร์,์, ““เเผผชชิญิญ
‘สันนตตภิ ิภาาพพ’’สดุสอุดนั อตันรตายรา: ยก:ารกเมาอืรเงมขืองถขอ้อยงคถา้อใยนค‘�ำกใานรข‘ัดกกานั รทขาัดงกอันาวทุธา’งทอชี่าาวยุธแ’ดทน่ี
ใชตา้/ยปแาดตนานใตี,”/้ ปฟา้าตเาดนยี ,ีว”กฟนั ,า้ เ1ด5ยี(1ว)ก, นัมก, 1รา5ค(ม1),-มมกถิ รนุ าาคยมน-2ม5ถิ 6นุ 0า, ย1น052-516402,. 105-142.

182 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

11

หน้ำสื่อมวลชนไทยในขณะน้ันกำลังให้ควำมสนใจต่อควำมเห็นของ
นำจิบ รำซคั นำยกรัฐมนตรมี ำเลเซยี ท่เี สนอให้มีกำรจัดกำรปกครอง
ตนเองในภูมิภำคชำยแดนใต้ (อันเป็น “ปัจจัยภำยนอก” ท่ีมีส่วน
ก่อข้อถกเถียง “ภำยในประเทศ” อย่ำงมำก) และต่อมำไม่นำนคือ
กำรพุ่งควำมสนใจไปที่นโยบำยของพรรคเพื่อไทยท่ี พล.อ.ชวลิต
ยงใจยุทธ นำเสนอ “นครปัตตำนี” อีกคร้ังในช่วงปลำยปีเดียวกันน้ัน
ก ำ ร พ บ ป ะ ร ะ ห ว่ ำ ง ค ณ ะ ท ำ ง ำ น ข อ ง ส ถ ำ บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ ำ กั บ
คณะทำงำนของเครือข่ำย 23 องค์กร ท่ี สนง. สมำคมจันทร์เส้ียว
กำรแพทย์และกำรสำธำรณสุข เม่ือวันที่ 28 ตุลำคม 2552 นำมำสู่
ควำมร่วมมือของพันธมิตรท่ีขับเคลื่อนประเด็นกำรกระจำยอำนำจ
ในชำยแดนใต้ในเวลำต่อมำ ซง่ึ รวมไปถึงกิจกรรมในวันที่ 10 ธนั วำคม
2552 ท่ีเกร่ินกล่ำวเอำไว้ในช่วงแรกก็น่ำจะนับได้ว่ำเป็นก้ำวแรก
สำหรับควำมร่วมมือน้ี

ในขณะที่สถำบันพระปกเกล้ำ ซ่ึงกำลังผลักดันแนวทำง
ดังกล่ำวอยู่ก่อนแล้วก็พยำยำมแสวงหำตัวขับเคลื่อนสำคัญท่ีอยู่
“ในพื้นที่” เครือข่ำยประชำสังคม 23 องค์กรก็ต้องกำรแรงหนุน
เสริมจำก “กรุงเทพฯ” ซง่ึ นอกจำกสถำบันพระปกเกลำ้ และสถำบัน
ทำงวิชำกำรจำกจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยแล้ว ก็ยังมีสภำพัฒนำ
กำรเมืองที่ พล.ต.ต. จำรูญ เป็นสมำชิก ซ่ึงในระหว่ำงนั้นก็เร่ิมมี
หำรือกันภำยในจนสรรหำประเด็นร่วมเป็นเรื่องกำรกระจำยอำนำจ
โดยใช้กลไกคณะกรรมกำรประชำสังคม โดยหนึ่งในน้ันมีสมำชิกท่ี

183กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

12

ผลักดันเร่ืองเชียงใหม่จัดกำรตนเองอยู่ก่อนแล้ว10 ถึงจุดน้ี พล.ต.ต.
จำรูญ หรือ “อำริฟิน บินจิ” ได้กลำยมำเป็นข้อต่อสำคัญท่ีประสำน
ควำมรว่ มมอื จำกทั้งข้ำงบนและขำ้ งล่ำง

หลังกิจกรรมจุดพลุในวันท่ี 10 ธันวำคมแล้ว ส่ิงท่ีตำมมำ
คือกำรออกแบบกำรทำงำนร่วมกัน ในเบ้ืองต้นคือกำรจัดตั้ง
คณะทำงำนขึ้นมำ พร้อมกบั กำรพัฒนำโครงกำรวิจัยแบบมีสว่ นร่วม
จัดกำรศึกษำภำยในเพ่ือถกเถียงแนวคิดกำรกระจำยอำนำจ ศึกษำ
ข้อกฎหมำย และออกแบบกิจกรรมรับฟังควำมคิดเห็นประชำชน
โดยวำงเป้ำหมำยเอำไว้ว่ำจะผลักดันกฎหมำยผ่ำนกำรเข้ำชื่อของ
ประชำชนตำมกรอบของรัฐธรรมนูญ โดยอำศัยงบประมำณจำก
สถำบันพระปกเกล้ำและสภำพฒั นำกำรเมือง ตลอดระยะเวลำเกือบ
1 ปีครึ่งระหว่ำง 2553 ถึงกลำงปี 2554 มีกำรจัดเวทีรับฟังควำม
คิดเห็นรวมทั้งสิ้น 51 เวที มีผู้เข้ำร่วมกว่ำ 1,500 คน พัฒนำเป็น
รำยงำนผลกำรศึกษำท่ีเป็น “เอกสำรเพ่ือกำรปรึกษำหำรือ” ขนำด
ยำวถึง 8 ร่ำง ซ่ึงมีเน้ือหำไล่เรียงเหตุผลและควำมคิดเห็นของ
ประชำชนในประเด็นต่ำง ๆ รวมทั้งสังเครำะห์เป็นหลักคิด
8 ประกำร ซึ่งครอบคลุมประเด็นกำรจัดต้ังองค์กรปกครองท้องถิ่น
ชนิดใหม่ท่ีมีขนำดใหญ่ข้ึน คือ รวบปัตตำนี ยะลำ นรำธิวำส และ
4 อำเภอของสงขลำเข้ำด้วยกัน มีสภำประชำชนทำหน้ำท่ีกำหนด
นโยบำยและตรวจสอบกำรทำงำนของเจ้ำหน้ำท่ี มี “สภำชูรอ”

10 จำ�ารญู เดน่ อุดม, สมั ภาษณ,์ สงขลา, 9 สิงหาคม 2562.

184 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

13

หรือสภำที่ปรึกษำทำหน้ำที่กลั่นกรองผู้ที่จะมำทำหน้ำท่ีบริหำรงำน
สำธำรณะ กำรรับรองควำมเสมอภำคของผู้คนต่ำงอัตลักษณ์และ
วัฒนธรรม นอกจำกน้ียังมีประเด็นเฉพำะท่ีสะท้อนลักษณะเฉพำะ
ของพ้ืนที่และผู้คนอย่ำงกำรยอมรับภำษำมลำยู หลักกำรของ
กฎหมำยชะรีอะห์อย่ำงกวำ้ งท่ีประยุกต์ใช้ได้มำกกวำ่ เดิม กำรศึกษำ
ท่ีสอดคล้องกับหลักกำรศำสนำ และสุดท้ำยคือเรื่องกำรจัดเก็บ
ภำษ1ี 1

ด้วยหลักคิดพื้นฐำนดังกล่ำว เครือข่ำยฯ ได้พัฒนำร่ำง
พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรปัตตำนีมหำนคร พ.ศ. ... ในช่วงปี
2555 ซึ่งนับว่ำแตกต่ำงไปจำกข้อเสนอเดิมท่ีนำเสนอเอำไว้ใน
ปลำยปี 2552 ทยี่ กรำ่ งโดย อดุ ม ปัตนวงศ์ โดยประเดน็ สำคัญก็ คือ
เปลี่ยนกำรจัดโครงสร้ำงเป็น “รำยจังหวัด” ท่ีเคยเสนอผ่ำนเวที
ถกเถียงมำกว่ำ 51 เวที ไปเป็นกำรสถำปนำเขตปกครองแบบ
“รวมจังหวดั ” ในภมู ิภำคเข้ำดว้ ยกัน12

1สอแ1ส“ก11ภาลกันา คนคาะราตณพาณรกเิสจมกัฒาะุขะือรรทสน,ทะปงูจ่าา(�ำจแกกงังกงาาหลรคาานยุงรวะรนเอเเดัอกคทมเ�ำจงราือคพนัดจือรงรฯกาัง,ขปือจหา:2่ากรขสวย5ตสค่าัดภอ5น่จูยร5ชงาเงัคออ)าพอ,ห์กยงงงฒั3วรคจ”แ6ปัดนัง์ดก.ปจรหานระตัดักวปภชตากัดราาาราชคะสนเรมังใชาีมตตคือยาหน้ม,งสแาเเ,เันองดพอ2คคงนื่อก5”มรพภส5เัฒามา5ปพรคุ่ง)นตัื่อ,ถสใาตพ3่ดูอตกา6ินดัฒ้,าน.แบรนีมเดมทอหานีสเกกราส่วสียนานันารนรคตรม่วิสรถม“ีสขุ ทอกม่,วาาดงุ่น(กงรสบรกรกดู่ ่วทาุงรินเรมเะทแเรทจมพียดาือาฯนนยงง:
1122 รรววมมจจังังหหววัดัดในในททีน่ ้คีี่นือ้ีคปือัตปตัตาตนาี ยนะี ลยาะนลราาธนวิ ราาสธแิวลาสะ 4แอลาะเภ4อขออ�ำงเสภงอขลขาองอสันงไขดล้แกา่
จอะันนไดะแ้ นกา่ ทจวะี นเทะพนาาแทลวะี เสทะพบา้ายแ้อลยะสกระุณบา้ายดูอ้ร่ายง กพร.ณุร.บาด. รูดา่ังงกลพ่า.วรไ.บด้ท. ่ีดคังณกละทา่ วาไงดา้ทนี่
เคคณรืะอทข่ำ�างยาอนงเค์กรอืรปขา่รยะอชงาคสก์ ังรคปมรเะพชื่อาพสัฒงั คนมาเกพาอื่ รพมฒั ีส่นวนากร่าวรมมทสี าว่ งนกราว่ รมเมทือางกแาลระเมกอืารง
ปแกลคะรกอางรจปงั กหควัดรอชงายจแงั หดนวัดภชาคาใยตแ้,ด4น4ภ-7า0ค.ใต,้ 44-70.

185กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

14

ควรต้องกล่ำวด้วยว่ำข้อเสนอร่ำงกฎหมำย “ปัตตำนี
มหำนคร” นั้นมีพัฒนำกำรเป็นคู่ขนำนกับข้อเสนอ “นครปัตตำนี”
ที่ผลักดันโดยพรรคกำรเมือง จำกท่ีเริ่มต้นโดยกำรนำเสนออย่ำง
กว้ำง ๆ โดย พล.อ. ชวลิต ต้ังแต่ปี 2547 เป็นต้นมำและนำเสนอ
อย่ำงต่อเนื่องในช่วงปีแรก ๆ ก่อนท่ีในปี 2553 จะมีกำรเคลื่อนไหว
ที่พยำยำมเชื่อมต่อ “ในพื้นท”ี่ ผ่ำนกำรผลักดนั โดยคณะทำงำนของ
เขำ แต่หลังจำกท่ี พล.อ. ชวลิต ผละออกไปจำกพรรคเพ่ือไทยใน
กลำงปีเดียวกันน้นั ขอ้ เสนอทอ่ี ำจเรยี กได้ว่ำเปน็ “มรดกของชวลติ ”
นั้นได้รับกำรถ่ำยทอดและยอดมำนำเสนออีกครั้งในระหว่ำงกำร
รณรงค์หำเสียงเลือกต้ังในปี 2554 มรดกดังกล่ำวส่งต่อให้กับพรรค
เพอ่ื ไทยและควำมหวังใหม่ ในขณะเดียวกันก็ต้องประชันขันแข่งกับ
พรรคท่มี ีฐำนในชำยแดนภำคใตอ้ ย่ำงเหนยี วแนน่ อย่ำงพรรคมำตุภูมิ
ทีย่ ังคงนำเสนอแนวคดิ ทบวงชำยแดนใต้อยู่ สว่ นพรรคประชำธิปัตย์
ยังคงรักษำโครงสร้ำงเดิมที่มี ศอ.บต. เอำไว้ ไม่ต่ำงกับพรรค
ชำตไิ ทยพฒั นำ13

13 ก รุ ณ า ดู ส รุ ป ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ น โ ย บ า ย ข อ งพ ร ร ค ก า ร เ มื อ งท่ี
h13t tกpรsณุ :/า/ดdสูeรeปุ pกsoารuเtปhรwียaบtเcทhีย.oบrนgโ/ยsiบteาsย/ขdอeงfพauรรltค/การเมืองที่ https://deep-
fsioleust/hawrcahticvhe.so/rdgo/scitse/ps/odliecfyacuoltm/ pfialeres/daerccehnivteras/ljduonces4/.ppodlfic(ycศoู นmยp์ เaฝre้ า-
รdะeวcังeสnถtาraนlกjuาnรeณ4ภ์ .pาdคfใต(ศ้ 2นู 5ย5์เ4ฝ)้าระวังสถานการณภ์ าคใต้ 2554)

186 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

15

ข้อเสนอของพรรคเพื่อไทยน้ันปรำกฏออกมำเป็นร่ำง พ.ร.บ.
ด้วยเช่นกัน14 หำกพิจำรณำในสำระสำคัญแล้ว “ปัตตำนีมหำนคร”
และ “นครปัตตำนี” มีจุดร่วมอย่ำงสำคัญประกำรหนึ่งคือ เป็นตัว
แบบที่กำรปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษภำยใต้กรอบรัฐธรรมนูญ
ในขณะน้ันท่ีรวมเขตหลำยจังหวัดเข้ำไว้ด้วยกัน ข้อต่ำงอยู่ท่ีในขณะท่ี
ปัตตำนีมหำนครของเครือข่ำยประชำสังคมรวมเอำ 3 จังหวัดและ 4
อำเภอของสงขลำ ซ่ึงในขณะนั้นยังมีกำรบังคับใช้กฎหมำยพิเศษและ
ปรำกฏเป็น “พ้ืนที่ควำมขัดแย้ง” อย่ำงโดดเด่น นครปัตตำนีของ
พรรคเพ่ือไทยจำกัดวงเอำไว้เฉพำะ 3 จังหวัดเท่ำน้ัน (ปัตตำนี นรำธิวำส
และยะลำ) จุดร่วมอีกประกำรคือกำรอยู่ภำยใต้กำรกำกับดูแลของ
กระทรวงมหำดไทย ในขณะที่จุดต่ำงท่ีโดดเด่นและสะท้อนควำมต่ำง
ทำงควำมคิดอยู่ท่ีองค์ประกอบของโครงสร้ำงใหม่ ตัวแบบปัตตำนี
มหำนครมีกลไกอย่ำง “สภำประชำชนจังหวัดชำยแดนภำคใต้” ท่ีทำ
หน้ำที่ใกล้เคียงมโนทัศน์สภำชูรอเพื่อกล่ันกรองและตรวจสอบผู้ลง
สมัครรับเลือกต้ังของสภำปัตตำนีมหำนคร แต่ในร่ำงกฎหมำยของ
พรรคเพื่อไทยไม่มีส่ิงนี้ จะมีก็เพียงแต่สภำนครปัตตำนีที่ทำหน้ำท่ี
นิติบญั ญตั ิและตรวจสอบถว่ งดลุ กับฝ่ำยบรหิ ำรเหมือนกับสภำปัตตำนี
มหำนคร จุดน้ีเป็นข้อต่ำงอย่ำงสำคัญระหว่ำงข้อเสนอที่ผลักดัน
มำจำกกลุ่มภำคประชำสังคมท่ีชูกำรเมืองที่โปร่งใสและมีสำระสำคัญ

1144 กกรรุุณณาาดดูรูราายยลละะเเออียียดดทที่ี่ รร่า่างงพพรระะรราาชชบบัญัญญญัตัติริระะเเบบียียบบบบรริิหหาารรรราาชชกกาารรนนคครร
ปตั ตานี พ.ศ. .... (นาำ� เสนอโดย พรรคเพ่อื ไทย) 2554.

187กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

16

ของมโนทัศน์ของกำรเมืองอิสลำม อันเป็นข้อเสนอท่ีริเร่ิมตั้งต้นจำก
ตัวแบบทบวงกำรบริหำรและกำรพัฒนำจังหวัดชำยแดนภำคใต้
ที่มำจำกงำนวิจัยของศรีสมภพและสุกรีน่ันเอง กำรให้ควำมสำคัญกับ
ชนกลุ่มน้อยโดยระบบโควตำในตำแหน่งบริหำรยังสะท้อนในข้อเสนอ
ปัตตำนีมหำนคร ซึ่งเป็นส่ิงท่ีนครปัตตำนีไม่มี ข้อต่ำงอีกประกำรคือ
ในร่ำงของนครปัตตำนีนั้นยังคงกลไกกำรปกครองท้องท่ีและท้องถ่ิน
เอำไว้ดังเดิม ซงึ่ สะท้อนรำกฐำนสำคัญของเครือข่ำยกำรเมือง

เห็นได้ว่ำกำรขับเคลื่อนของภำควิชำกำรและภำคประชำ
สังคมท่ีเกิดขึ้นและดำเนินต่อไปอีกหลำยปีมีส่วนอย่ำงสำคัญในกำร
พัฒนำข้อเสนอของปัตตำนีมหำนครให้มีควำมละเอียดและซับซ้อน
กว่ำ ข้อเท็จจริงก็คือกำรเคลื่อนไหวของทั้งเครือข่ำยประชำสังคม
และพรรคกำรเมืองนั้นแทบจะไม่ได้มีส่วนเก่ียวข้องกันแต่อย่ำงใด15
ควำมแตกต่ำงดงั กล่ำวยงั สะท้อนด้วยวำ่ ระยะห่ำงระหวำ่ งกำรเคล่ือนไหว
ของภำคประชำสังคมนอกสภำกับบรรดำพรรคกำรเมืองในสภำนั้น
โดดเด่นอย่ำงมำกและกลำยเป็นข้อจำกัดอย่ำงสำคัญที่ทำให้
ข้อเสนอเหล่ำนี้ไม่อำจยกระดับไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงเชิงสถำบันได้
อย่ำงน้อยทส่ี ุดกใ็ นช่วงเวลำน้นั

ในขณะที่ข้อเสนอของพรรคเพื่อไทยท่ีแม้จะมีรูปธรรม
จับต้องได้ แต่ก็ต้องล้มพับลงไป เน่ืองจำกควำมพ่ำยแพ้ในเขต
เลอื กตงั้ จงั หวัดชำยแดนภำคใต้ในกลำงปี 2554 แมว้ ่ำพรรคเพือ่ ไทย

15 จ�ำารูญ เดน่ อุดม, สัมภาษณ,์ สงขลา, 9 สิงหาคม 2562.

188 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

17

จะสำมำรถจัดตั้งรัฐบำลได้และได้ริเริ่มนโยบำยและแนวทำงใหม่ ๆ
หลำยประกำรในชว่ ง 3 ปี ทเี่ ขำ้ บริหำรประเทศก่อนทกี่ องทพั จะเข้ำ
ยดึ อำนำจในปี 2557 แต่จนแลว้ จนรอดแนวทำงกำรจดั กำรปกครอง
แบบพิเศษก็ไม่ได้ถกู ผลักดนั ต่อไป ไมต่ อ้ งกล่ำวถึงกำรบรหิ ำรภำยใต้
รัฐบำลทหำรต่อจำกนัน้ ที่ข้อเสนอที่กำ้ วหนำ้ เช่นนี้ไม่อำจคำดหวังได้
ว่ำจะได้รับกำรหยิบยกกล่ำวถึง แต่ท่ีน่ำสนใจก็คือกำรรณรงค์
ผลักดันได้กลับมำอีกคร้ังในช่วงก่อนกำรเลือกตั้งต้นปี 2562
แต่ทิศทำงในข้อเสนอก็เปลี่ยนไป เพรำะข้อเสนออย่ำงจังหวัด
จดั กำรตนเอง/จังหวัดปกครองตนเองท่ีให้ผู้ว่ำฯ มำจำกกำรเลือกต้ัง
กลบั เป็นทิศทำงหลักของบรรดำพรรคกำรเมืองทีน่ ำเสนอเร่ืองน้ี

ส่วนชะตำกรรมของข้อเสนอ “ปัตตำนีมหำนคร” น้ันแม้จะ
ประสบกับข้อจำกัดในช่วงรัฐบำลทหำรหลังปี 2557 แต่ควรต้อง
บันทึกไว้ว่ำพัฒนำกำรของกำรถกเถียงและต่อยอดน้ันก็น่ำสนใจ
และชี้ให้เห็นกำรคล่ีคลำยในทำงกำรเมือง กล่ำวคือ พัฒนำกำรต่อ
จำกจัดเวทีในช่วงปี 2553-2554 น้ันอำจแยกออกเป็นสองส่วน
ในแง่ของกำรคล่ีคลำยไปร่วมกับขบวนกำรเคลื่อนไหวที่ผลักดัน
“จังหวัดจัดกำรตนเอง” ในระดับชำติ และในแง่ของกำรขับเคล่ือน
ประเดน็ “กระจำยอำนำจ” ในพื้นท่ชี ำยแดนใตแ้ ละกำรโต้แยง้

กำรเคล่ือนไหวผลักดันเชียงใหม่มหำนครและปัตตำนี
มหำนครนั้นเกิดขึ้นในเวลำที่ไล่เลี่ยและคำบเกี่ยวกันเล็กน้อย
ในปี 2552 พืน้ ทก่ี ลำงอยำ่ งสภำพัฒนำกำรเมอื งมสี ่วนช่วยเช่ือมร้อย

189กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

18

และแลกเปล่ียนกันดังท่ีเกริ่นไว้บ้ำงแล้ว แต่กระแสเหล่ำน้ีจะถูก
ผลักดันอย่ำงต่อเนื่องในเวลำต่อมำ ผ่ำนกำรทำงำนของเครือข่ำยใน
จังหวัดต่ำง ๆ และองค์กรที่รัฐบำลในแต่ละช่วงในเวลำนั้นจัดตั้ง
ขึ้นมำเพ่ือพัฒนำข้อเสนอในกำรปฏิรูปกำรเมือง ท้ังคณะกรรมกำร
ปฏิรูปประเทศและคณะกรรมกำรปฏิรูปกฎหมำย ข้อสรุปประกำรหนง่ึ
ในช่วงปี 2555 – 2556 ก็คือแทนท่ีจะแยกกันผลักดันรำยจังหวัด
กำรจับมอื กันผลักดันกฎหมำยผ่ำนกำรเข้ำช่ือตำมกรอบรัฐธรรมนูญ
ภำยใต้ร่มใหญ่ของข้อเสนอ “จังหวัดปกครองตนเอง” นั้นน่ำจะ
ส่งผลสะเทือนได้ดีกว่ำ ในช่วงจังหวะนั้น กำรร่วมผลักดันของ
เครือข่ำยองค์กำรปกครองส่วนท้องถ่ินกเ็ ขำ้ สู่กระแสสงู เครอื ขำ่ ยใน
ชำยแดนใต้ก็ยอมรับทิศทำงดังกล่ำวด้วยเห็นว่ำกำรผลักดันใน
ระดับชำติน่ำจะสร้ำงควำมเป็นไปได้ให้กับข้อเสนอของตน
มำกกว่ำ16 แต่แล้วกำรรัฐประหำรในปี 2557 ก็มีส่วนในกำรจำกัด
และลดระดับกำรเคลื่อนไหวลงไป แม้จะมีกำรผลักดันอยู่เป็น
ระยะ ๆ แต่ก็เรียกได้ว่ำข้อเรียกร้องที่เคยมีกระแสสูงใน 45 จังหวัด
ท่ัวประเทศก็เบำบำงลงไป ประกอบกับช่องทำงกำรเข้ำชื่อเสนอ
กฎหมำยโดยประชำชนโดยตรงนั้นก็ถูกตัดทอนลงไป กำร
เคล่ือนไหวที่สะสมตลอดหลำยปีก่อนหน้ำน้ันจึงถูกตัดตอนไป
ภำยใต้กำรบริหำรของรฐั บำลทหำรน่นั เอง

16 เพิง่ อ้าง.

190 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

19

แม้กำรเคล่ือนไหวระดับชำติจะมีข้อจำกัด แต่ในระหว่ำงปี
2555 กลับเกิดควำมเคลื่อนไหวในระดับพื้นท่ีที่น่ำสนใจ ช่วงเวลำ
นั้นนอกเหนือจำกปัตตำนีมหำนครแล้ว กำรเสนอเกี่ยวกับตัวแบบ
ต่ำง ๆ เพิ่มมำกข้ึน ประกอบกับทิศทำงนโยบำยของภำครัฐที่เปิด
กวำ่ สำหรบั “แสวงหำตัวแบบ” ทเี่ หมำะสม17 สถำนกำรณ์ก็สุกงอม
จนกระท่ังสภำประชำสังคมชำยแดนใต้ ซ่ึงเพ่ิงรวมตัวกันได้ในกลำง
ปี 2554 โดยส่วนหนึ่งเป็นกำรริเร่ิมของเครือข่ำย 23 องค์กรเดิม
นั่นเอง ก็ผลักดันเวทีรับฟังควำมคิดเห็นสำธำรณะ ภำยใต้กำร
สนับสนุนของ สนง. ปฏิรูปและเครือข่ำยทำงวิชำกำรท่ีหันมำสนใจ
ประเด็นน้มี ำกขึ้น โครงกำรจัดรับฟังควำมเห็น “สองร้อยเวที” ด้วย
ข้อค้นพบประกำรหน่ึงของกำรจัดเวทีก่อนหน้ำนี้ก็คือยิ่งสร้ำงกำรมี
ส่วนร่วมมำกข้ึนเท่ำไหร่ ผู้คนก็จะมีควำมกล้ำในกำรแสดงควำม
คิดเห็นทำงกำรเมืองท่ีเก่ียวข้องกับตัวเองมำกขึ้น โดยเฉพำะกำร
ถกเถยี งเก่ียวกบั อนำคตของท่ตี นเองมสี ่วนร่วมอยู่ด้วย

กระบวนกำรดังกล่ำวเริ่มต้นจำกกำรสังเครำะห์ “ตัวแบบ
ต่ำง ๆ” ท่ีมีกำรนำเสนออยู่แล้วก่อนหน้ำนั้น ก่อนจะประมวลมำเป็น
ทิศทำงใหญ่ ๆ หรือ “ทำงเลอื ก” 6 ขอ้ ทำงเลอื กเหลำ่ นี้เปน็ “เครือ่ งมือ”
ในกำรนำไปส่กู ำรอภปิ รำยถกเถยี งกับผู้เข้ำร่วมกลมุ่ ต่ำง ๆ ทจี่ ำแนก

1177 สส�ำานนัักกงงาานนสสภภาาคคววาามมมม่ั่ันนคคงงแแหห่่งงชชาาตติิ,, นนโโยยบบาายยกกาารรบบรริหิหาารรแแลละะกกาารรพพััฒฒนนาา
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2555 - 2557

191กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

20

ท้ังในเชิงพื้นที่และกลุ่มคน18 ทำงเลือกดังกล่ำวมีดังต่อไปน้ี 1) ศอ.บต.
คือแนวทำงอย่ำงที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 2) ทบวงมีหน่วยงำนสถำนะ
เทียบเท่ำกระทรวงอยู่ภำยใต้กำรดูแลของรัฐมนตรี 3) สำมนครสองช้ัน
คือกำรเลือกตั้งผู้ว่ำฯ โดยคง อบจ. และเทศบำลเอำไว้ 4) สำมนคร
ชั้นเดียว คือกำรเลือกต้ังผู้ว่ำฯ โดยตรง และยกเลิกทั้ง อบจ. เทศบำล
และ อบต. 5) มหำนครสองช้ัน คือเขตพ้ืนที่คลุมจังหวัดชำยแดนภำคใต้
แต่คงเทศบำลและ อบต. เอำไว้ และสุดท้ำยคือ 6) มหำนครชั้นเดียว
คือเขตปกครองขนำดใหญ่และยกเลิก อบจ. เทศบำล และ อบต.
ตัวแบบเหล่ำนี้พิจำรณำขึ้นมำจำกข้อถกเถียงและควำมกังวลต่ำง ๆ ท่ีมี
โดยเฉพำะสถำนภำพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดิม คุณูปกำร
ของเวทีที่จัดจริง ๆ ได้เพียง 124 เวที ก็คือกำรเปิดพื้นที่ให้ผู้คนได้
เรียนรู้ รับฟัง และถกเถียงถึงตัวแบบและทำงเลือกเหล่ำนี้ แต่ข้อค้นพบ
สำคัญควำมอึดอัดของผู้คนนั้นมีอยู่สูงและปรำรถนำกำรเปลี่ยนแปลง
ไปจำกสภำพท่ีเป็นอยู่ กำรมีทำงเลือกและโอกำสที่จะได้เลือกนั้น
สำคัญ แม้วำ่ ผคู้ นเหล่ำนจ้ี ะอยูใ่ นพ้ืนท่ีควำมรนุ แรงก็ตำม

1188 รรออมมฎฎออนน ปปันันจจออรร์์,, เเลลือือกกออนนาาคคตต:: บบททสสังังเเคครราาะะหห์ก์กาารรพพิจิจาารรณณาาททาางงเเลลือือกก
เเกกี่ยี่ยววกกัับบกกาารรเเมมือืองงกกาารรปปกกคครรอองงใในนเเววททีนีนโโยยบบาายยสสาาธธาารรณณะะ ““ชชาายยแแดดนนใใตต้จ้จัดัดกกาารร
ตนเอง” (นนทบรุ :ี สา�ำนกั งานประสานการพัฒนาสงั คมสขุ ภาวะ, 2556)

192 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดีต-ปัจจุบนั

21

“ปาตาน”ี ที่ไม่ใช่ “ปัตตาน”ี

ปฏิกิริยำต่อกำรเคลื่อนไหวอย่ำงต่อเนื่องของประเด็น
“กระจำยอำนำจ” ไม่ได้อยู่เพียงแค่จำกฝ่ำยที่มองว่ำรัฐไทยเป็นรัฐ
เด่ียวท่ีไม่อำจแบ่งแยกได้ และพิจำรณำว่ำกำรเคล่ือนไหวดังกล่ำว
จะกระทบต่อประเดน็ ปัญหำดำ้ นควำมม่ันคงของชำติ แตย่ งั สง่ ผลให้
เกิดข้อถกเถียงภำยในแวดวงของประชำคมชำวมลำยูในพื้นท่ีอีก
ด้วย กล่ำวคือหำกพิจำรณำย้อนกลับไป ร่องรอยที่โดดเด่นที่สุดเห็น
จะได้แก่ควำมไม่ลงรอยกันในช่วงเร่ิมแรกที่มีกำรเคลื่อนไหวในนำม
“เครอื ขำ่ ยประชำสังคม 23 องค์กร” เมื่อมีองค์กรบำงสว่ นเรม่ิ ลังเล
ใจที่จะขยับจำกประเด็นกำรเรียกร้องควำมเป็นธรรมในกรณีต่ำงๆ
ท่ีชำวมลำยูมุสลิมต้องประสบจำกกำรดำเนินงำนของภำครัฐไปสู่
กำรรณรงค์เรียกร้องหรือแม้แต่เปิดเวทีรับฟังในประเด็น “กำร
กระจำยอำนำจ” หรือ “โอโตโนมี”19 บำงส่วนในเครือข่ำยจึงขอ
ผละตัวออกไปและคลี่คลำยมำเป็นกำรรณรงค์คัดค้ำนกำรบังคับใช้
กฎหมำยพิเศษอยู่ช่วงระยะเวลำหน่ึงในนำม “เครือข่ำยคัดค้ำน
พ.ร.ก. ฉุกเฉิน” ระหว่ำงปี 2554 – 2555 องค์ประกอบของเครือข่ำยน้ัน
เรียกได้ว่ำเป็นคร่ึงหนึ่งขององค์กรท่ีเคยผนึกกันอยู่ในเครือข่ำย

1199 กกาารรรรณณรรงงคคใ์ใ์ นนชชว่่วงงเเนน้นน้ ใใชช้คค้ ำ�าสสอองงคค�ำานนใี้้ีในนตตา่า่ งงบบรรบิบิ ทท กกลลา่า่ ววคคืออื จจะะใใชช้้ ““กกรระะจจาายย
ออาำ� นนาาจจ”” ใในนภภาาษษาาไไททยย แแตตจ่่จะะใใชชค้้คำ�าวว่าา่ ““โโออโโตตโโนนมมี”ี” ใในนภภาาษษาามมลลาายยูเเู พพือ่ือ่ สส่อือ่ื คคววาามม
กบั ผู้ฟงั ทแ่ี ตกตา่ งกลุ่มกัน

193กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี

22

ประชำสังคม 23 องค์กร แต่อีกด้ำนหนึ่งเครือข่ำยนักศึกษำและ
เยำวชนก็ผลักดันแนวคิดสำคัญท่ีต่อมำกลำยเป็นประเด็นที่ถกเถียง
กันอย่ำงมำกคือกำรชูประเด็นสิทธิในกำรกำหนดชะตำกรรมตนเอง
หรือ RSD (Right to Self-determination) และเรียกร้องให้มีกำร
ลงประชำมติเพ่ือกำหนดอนำคตของจังหวัดชำยแดนภำคใต้ หรือ
“ปำตำนี”

วิ ท ย ำ นิ พ น ธ์ ท่ี ศึ ก ษ ำ ก ำ ร ห ยิ บ ใ ช้ ม โ น ทั ศ น์ สิ ท ธิ ใ น ก ำ ร
กำหนดชะตำกรรมตนเองในกำรเคล่ือนไหวทำงกำรเมืองใน
ชำยแดนใต้ พยำยำมค้นหำร่องรอยว่ำกำรแนวคิดอย่ำง RSD ท่ีแม้
จะไม่ได้เป็นเร่ืองใหม่แต่ปรำกฏตัวข้ึนครั้งแรกในบริบทของจังหวัด
ชำยแดนภำคใต้หรือ “ปำตำนี” เม่ือใด โดยระบุว่ำเร่ิมมีควำม
เคล่ือนไหวโดยกำรหยิบยกกล่ำวถึงอยู่ในรำวปี 2552 ก่อนที่จะ
กลำยเป็นกระแสในแวดวงขบวนกำรนักศึกษำอีก 3 – 4 ปีถัดมำ20
ผู้เขียนพบว่ำในประเด็นและช่วงเวลำในกำรเคลื่อนไหวน้ัน ปลำยปี
2552 คือจุดเริ่มต้นของกำรเคลื่อนไหวกำรกระจำยอำนำจท่ีต่อมำ
กลำยเป็นข้อเสนออย่ำง “ปัตตำนีมหำนคร” และ “นครปัตตำนี”
ซึ่งจะว่ำไปแล้วก็อยู่ภำยใต้กรอบมโนทัศน์ของกำรกำหนดชะตำ
กรรมตนเองได้ด้วยเช่นกัน แต่น่ำจะคนละควำมหมำยกับกำร

2200 ปปรรววรรรรณณ ววงงษษร์ ์รววยยดด,ี ี,มมโนโนททศั ัศนนเ์ ร์เ่ือรงื่อสงิทสธิทิใธนิใกนากรากรากห�ำนหดนชดะชตะาตการกรรมรตมนตเนองเอในง
พใน้ืนพทื้นี่คทว่ีคาวมาขมัดขแัดยแ้งยจ้งังจหังวหัดวชัดาชยายแแดดนน(ว(ิทวิทยยาานนิพิพนนธธ์ศ์ศิลิลปปะะศศาาสสตตรร์ม์มหหาาบบััณณฑฑิติต
สาขาความขดั แย้งและสนั ติศึกษา มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร,์ 2561), 85.

194 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

พฒั นาการองค์กรปกครองท้องถิ่น จากอดตี -ปัจจุบนั

23

รณรงค์ท่ีจะเร่ิมจริงจังขึ้นในปลำยปี 2555 โดยมีหมุดหมำยสำคัญ
คือ กำรเสวนำสำธำรณะในหัวข้อ “สงครำมและสันติภำพ...
ประชำชน “ปำตำนี” จะกำหนดชะตำกรรมตนเองได้หรือไม่?
อย่ำงไร?” ที่จัดโดยสหพันธ์นิสิตนักศึกษำจังหวัดชำยภำคใต้
(สนน.จชต.) ณ หอประชุมมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต
ปัตตำนี เมื่อวันท่ี 9 ธันวำคม 2555 หรือรำว 3 ปี หลังจำกที่มีกำร
จุดพลุเคลื่อนไหวผลักดันกำรกระจำยอำนำจท่ีในเวลำต่อมำพัฒนำ
มำเป็นข้อเสนอ “ปัตตำนีมหำนคร” นอกเหนือจำกกำรอภิปรำย
ตำมประเด็นข้ำงต้นแล้ว ยังเป็นกำรริเร่ิมรณรงค์เรียกร้องสิทธิ
ในกำรกำหนดชะตำกรรมของตนเองของ “ประชำชนปำตำนี”
พร้อมกับกำรชูสโลแกน “Satu Patani” หรือปำตำนีหน่ึงเดียว
สสี นั ในวันน้นั ยังรวมไปถงึ กำรจำลองกำรลงประชำมติอีกด้วย21

2ผเช2กผเล1ล1ู้เะู�้ำเ ขือขอืผผตห้าก้าู้กจจู้านรรตัตดกดั ่วด่วองอรงมมชาารบบงนะนงมาคคาตนจตจาำ�นัาดนดัทถถทกใใเ้ังาาอหหร้ัหงมมงห้รมม้มเเ"มดีดกมกีดจีตยยีาาดาร1รวนวนลล,วว1เ5ว่องาง่า3,นป5ปปปง53”รรรร1คะ5ะะะ,น1ชจชสส8คา�ำางงป4มนมคคนรต์ตจจ์วคาิจนะจิะปนกากกำ�รฏลลคา1�ำาวออหหิดก,่า1งงเนนฏม8ปโโีผดดวดด4็นู้ท่าชชยยรม่ีกะเะเค้อปปีผาตตนยิดกดิู้ทาาลใบใกก่ีกคะหหารราิด้ผผ้ทรร7กเู้เเู้มมใ7ปขขบน.ตต้1าา้็นาชนนรร3ทร่อ่ว่วเเ้อใงมออมมนยีผงงงง"ชหหลตู้กาา่อ้อนะนรราืงกือองเเขขก7บไไา้“ม้ามา7าครคต่่ท.1กผหูผูห้อใ3าลลานางหแแจจกชมนลลาา่าอีผกกดะะรงู้
"กไมาก่ต้อบงากทาใรนกาชห่อนงดช“ะไตมา่ตก้อรงรกมตารนกเอ�ำงห" นจดานชวะนตา1ก6รครนมตคดินเเปอน็ งร”้อยจล�ำะน1วนไมป่1ร6ะสคงนค์
อคอิดกเปเส็นียรง้อ8ยลคะน ค1ดิ เไปมน็ป่ รรอ้ ะยสลงะค์อ0อ.5กแเสลียะงไมส่8่งแคบนบสคอดิ บเปถา็นมรปอ้ รยะลชะาม0ต.5ิ 32แ7ละคไนมค่สิด่ง
เแปบน็ บรสอ้ ยอลบะถา2ม1ป.3ร(ะกชราุณมาตดิ ู 3อ2บั 7ดลุ คเลนาะคดิหเวปังน็หนร้อิ แยลละะแว2ล1เี .ม3าะ(กปรซูณุ ,ู า“ดชู าอยับแดดนุลใเลต้ทาะา
ปหรวะงั ชหานมิ ตแิลลว่ะงแหวนล้าเี ขมอากะาปหซูน,ูด“ชชะาตยาตแัวดเอนงใต–ท้ จำ�ร้ี ปฐั ปร้อะงชกานั มฆตา่ ลิ ว่้างงแหคนน้ า้,”ขอสกำนำ� กัหขน่ำดวชอะิศตรำา,
2ต2ัวเธอันง ว–าคจม้ีรัฐ2ป5้อ55ง,กhันttฆp่าsล:/้า/wงแwคw้น.i,s”ranสe�ำwนsัก.oขr่าgว/cอoิศnรtาe,nt2-p2agธeัน/วitาeคmม/128545150-,
ชhาttยpแsด:/น/ใwต้ทwาwป.รisะrชaาnมeตwิลs่ว.งoหrgน/้าcขoอnกtาeหnนt-ดpชaะgตeา/ตitัวeเอmง/-จ1ี้ร8ัฐ4ป1้อ0ง-กชันายฆแ่าลด้านงใแตค้ท้น�ำ.
hปtรmะชl)ามตลิ ่วงหนา้ ขอก�ำหนดชะตาตัวเอง-จ้ีรฐั ป้องกันฆ่าล้างแค้น.html)

195กระจายอ�ำนาจ ออโตโนมี และอารเ์ อสดี


Click to View FlipBook Version