The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 5 ท้องถิ่นในรอบ 125 ปี (พ.ศ.2440-2564) ประเด็นและความท้าทาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 04:41:24

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 5

เล่มที่ 5 ท้องถิ่นในรอบ 125 ปี (พ.ศ.2440-2564) ประเด็นและความท้าทาย

ต่อบทบาทการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธ์ุ และ อปท. จึงเป็น
สิ่งจาเป็นอย่างย่ิงยวด บทความช้ินน้ีจะนาเสนอบทสังเคราะห์จาก
“ ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ น ก า ร จั ด ตั้ ง
พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุจังหวัดแม่ฮ่องสอน”6 และหวังว่าอย่างน้อย
นา่ จะชว่ ยสะทอ้ นและสร้างความเข้าใจ (ส่วนหนึง่ ) เกยี่ วกบั บทบาท
ของ อปท. และกลมุ่ คนใน “ท้องถน่ิ ” เอง กบั การจัดการวฒั นธรรม

พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถ่ิน ในจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน

ปัจจุบนั ในแมฮ่ ่องสอน มีพิพิธภณั ฑท์ ้องถิน่ หรือพิพิธภัณฑ์
ชาวบ้าน/พื้นบ้าน รวมจนไปถึงพิพิธภัณฑ์วัด ตั้งอยู่หลายแห่ง
กล่าวได้ว่าการเกิดข้ึนของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น หรือพิพิธภัณฑ์ชุมชน
ในจังหวัดน้ี นอกจากจะสะท้อนความต่ืนตัวของคนท้องถิ่น ยังช้ี

6 ดาเนินการระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2562 ถึงเดือนกันยายน 2563 โดย
รศ.ดร. วสันต์ ปัญญาแก้ว (ผู้เขียนบทความน้ี) เป็นหัวหน้าโครงการ ร่วมกับ
ท6 ีมดว�ำิจเันยคินคกือารรรศะ.ดหรว.่าวงัฒเดนือานสพุกฤัณศจศิกีลาแยลนะ 2อ5.ด6ร2. กถนึงกเดวือรนรณกันสยมาศยิรนิวร2าง5ก6ูล3.
บดรดโดวู่เเูรมพพยรกณ่ิม่มิ บัรเเาตตศทธิมิ.มมีิกดใใวารนนจิร.ยั.พพวค2สคิพิพ5ันอื6ิธธิ ต4ภภร.์ศัณณั ปอ.ดา้ฑฑัญรง.์ชช์ญแวาาลาฒั ตตว้แนิ.พิพกาัันน้ว สธธกุ(จุ์ุ์จผณั งัังู้เขหศหียลีววนัดัดแบแแลทะมมคฮ่่ฮอว่อ่อ.ดางงรมสส.นอกอี้)นนนก.เ.ปวววร็นสสรหันณันัวตตหส์์ ปมนปศญั้าัญรโิ ญคญวิ รราาางแแงกกกกาลวู้้วร...
บรรณาธิการ. 2564. อ้างแล้ว.

8
94 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

ให้เห็นบทบาทความสาคัญของ อปท. คือ เทศบาล และ อบต.
ท่ีปรับตัว โต้ตอบกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและ
การท่องเทย่ี วที่ขยายตวั อยา่ งรวดเร็วในช่วง 2 ทศวรรษทีผ่ า่ นมา

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (หรือพิพิธภัณฑ์ชาวบ้าน/พ้ืนบ้าน) คือ
พิพิธภัณฑ์ที่เป็นความพยายามของบุคคล กลุ่มคน หรือองค์กร
ที่มีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น โดยการสร้างคลังความรู้
หรือแหล่งเรียนรู้ ที่มุ่งแสดงเร่ืองราววิถีชีวิต ภูมิปัญญา มรดก
ท้องถิ่น และประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน และท่ีสาคัญย่ิง คือการที่ชุมชน
มีส่วนร่วม 7 การเกิดข้ึนของพิพิธภัณฑ์ท้องถ่ิน จึงมีลักษณะสาคัญ
คอื การทช่ี มุ ชนผู้คนในท้องถิ่นตนื่ ตัวลุกข้นึ มามีสว่ นร่วม ท่ีจะจัดการ
วัฒนธรรม จัดแสดงเรื่องราว วัตถุ ซ่ึงสะท้อนประวัติศาสตร์
วฒั นธรรม ความทรงจา

ลักษณะสาคัญของพิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินน้ันจึงมักประกอบ
ไปด้วย

1. การท่ีชุมชนในท้องถ่ินเป็นผู้ริเร่ิมจัดต้ังและดาเนินการ
เอง การเกิดขึ้นของพิพิธภัณฑ์มาจากความต้องการของชุมชน

77 ดดูเูเพพิ่มิ่มเตเติมิมในในปปณณิตาิตาส รสะรวะาวสาี.ส2ี.55275.5ค7.นทคานพทิพ�ำพิธภิพัณิธภฑัณ์. กฑร์.ุงเกทรพุงฯเท:พศฯูนย:์
มศานู นยษุ ์มยาวนิทษุ ยยาวสิทิรยินาธสริร(ินอธงครก์ (อารงมคห์กาาชรมนห).าชน).

9

95พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ท้องถิ่นเองเป็นหลัก อาจจะมีหน่วยงานจากภายนอกเข้ามา
ช่วยเหลอื บา้ ง

2. เร่อื งราวทน่ี าเสนอในพิพิธภัณฑ์เก่ยี วข้องกับชุมชน และ
ความสัมพันธ์ที่ชุมชนมีต่อสังคมอ่ืน ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นก็จะมี
เอกลักษณแ์ ละลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันไป

3. พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ิน มักเน้นความเรียบง่าย แต่มี
ความหมายกับชุมชน การจัดแสดงสิ่งของมักเป็นสิ่งท่ีหาได้จาก
ท้องถิ่นน้ัน ๆ แม้จะไม่ใช่ของท่ีมีค่า แต่เป็นสิ่งที่มีความหมาย
มีความสาคัญต่อชุมชน

การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย เป็นกระแสที่
ตื่นตัวอย่างมากนับจากต้นทศวรรษ 2530 การเกิดข้ึนของ
พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นกรณีตัวอย่างของการท่ี
“ท้องถ่ิน” พยายามปรับตัว หรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน
อยา่ งรวดเรว็ เขม้ ขน้ และผลกระทบหลายด้านทเ่ี ป็นผลพวงตามมา
จากการถาโถมของทุนโลกาภิวัตน์ การที่รัฐให้ความสาคัญต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และท้องถ่ินเองก็
หันมาให้ความสาคัญต่อ “การจัดการวัฒนธรรม” เพ่ือรักษาไว้ซ่ึง
อัตลักษณ์วัฒนธรรมของกลมุ่ ตน กระแสท้องถิ่นนิยมยุคโลกาภิวตั น์
คอื กระบวนการอันย้อนแยง้ และเป็นที่มาของการเกดิ ข้ึนของพิพิธภัณฑ์
ท้องถ่ิน ท้ังในฐานะพ้ืนท่ีแสดงวัฒนธรรมและพื้นที่อนุรักษ์ รักษา
สืบสาน อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ในกรณีของจังหวัดแม่ฮ่องสอน

10

96 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

โลกาภิวัตน์และการโตก้ ลบั ของทอ้ งถนิ่ มีส่วนอย่างสาคัญท่ีก่อให้เกิด
การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงท่องเที่ยว รวมท้ังการเคล่ือนไหวเพ่ือสืบ
สาน อนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนของตนไว้ ตั้งแต่ปี 2533 เป็นต้นมา
จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้ริเริ่มดาเนินงาน “โครงการสืบสานวัฒนธรรม
พ้ืนบ้านจังหวัดแม่ฮ่องสอน” ข้ึน โดยเริ่มจากการจัดงานวันอนุรักษ์
มรดกไทย (ณ วัดจองกลาง) โดยมวี ัตถุประสงคใ์ นการอนรุ ักษ์มรดก
ไทยและมรดกพ้ืนบ้านและเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง
จากนั้นได้มีการจัดงานอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา 3 ปี (คือปี 2533-
2535) และเปล่ียนสถานที่จัดงานไปเป็นบ้านปางหมู อาเภอเมือง
จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ในปี 2536-2538) ต่อมาจึงย้ายไปท่ี บ้านหว้ ยขาน
อาเภอเมือง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินแห่งแรกในจังหวัดแม่ฮ่องสอนน้ัน คือ
พิพิธภัณฑ์เจ้าคุณโสภณสามัคคีนุสรณ์ หรือ “พิพิธภัณฑ์วัดพระนอน”
ซึ่งเริ่มเปิดงานจัดแสดงในปีเดียวกันน้ัน (คือปี 2533) ต้ังอยู่ที่
วัดพระนอน อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นพิพิธภัณฑ์สถานที่
เกบ็ รกั ษา วัตถุสงิ่ ของ หาได้ยาก ทส่ี ะท้อนคุณค่า อตั ลักษณ์วัฒนธรรม
ของ ไทใหญ่ในเมืองแม่ฮ่องสอน นับแต่นั้นมา กระแสการสร้าง
พิพิธภัณฑ์ชุมชนท้องถ่ินในจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีมาอย่างต่อเน่ือง
ราวปี 2540 ที่ตัวเมืองขุนยวมมีการจัดต้ังพิพิธภัณฑ์สงครามโลก
ครั้งท่ี 2 (ต่อมาคือ “อนุสรณ์สถานมิตรภาพไทย-ญี่ปุ่น”) โดย
เทศบาลตาบลขุนยวม ต้ังอยู่ด้านทิศเหนือ (ตรงข้ามกับวัดม่วยต่อ)

11

97พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณจี งั หวดั แมฮ่ ่องสอน

บนพ้ืนท่ีด้านเหนือของสนามบินเก่า อนุสรณ์สถานดังกล่าวจัด
แสดงเรื่องราวสะท้อนประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของขุนยวมในสมัย
สงครามโลกคร้ังท่ี 2 เน้นภาพความสัมพันธ์ระหว่างทหารญี่ปุ่นกับ
คนพ้ืนเมือง เป็นสาคัญ

ต่อมาในปี 2544 ได้มโี ครงการจัดสร้างหอวฒั นธรรมนิทัศน์
จังหวดั แม่ฮ่องสอน (ปัจจุบนั ปดิ การดาเนนิ งานไปแล้ว)

ในปี 2545 ศูนย์ศิลปาชีพจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซ่ึงต้ังอยู่
ในตัวอาเภอเมือง ได้ดาเนินการจัดตั้ง “พิพิธภัณฑ์ชนเผ่า” เพ่ือแสดง
เสื้อผ้า และเรือ่ งราวของกล่มุ ชาตพิ ันธุ์

ปี 2547 ต้ังพพิ ิธภณั ฑ์พ้นื บ้านวัดปางหมู อาเภอเมอื ง

ปี 2548 มีการจดั ตง้ั พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นไร่ อาเภอปางมะผา้

ปี 2549 พิพิธภัณฑ์แม่สะเรียง อาเภอแม่สะเรียง (ปัจจุบัน
ปิดตวั ลงไปหลงั เหตุไฟไหม้ในปี 2558)

ปี 2550 พิพิธภัณฑ์แม่ลาน้อย อาเภอแม่ลาน้อย (ปัจจุบัน
ยงั อาศยั ศาลาของวดั เป็นทต่ี ง้ั พพิ ธิ ภัณฑ์)

ปี 2552 โครงการวิจัยรว่ มกับ อปท. ตั้ง “พิพิธภัณฑ์มีชีวิต
เมืองแม่ฮ่องสอน” สานกั งานต้ังอยกู่ ลางเมืองแม่ฮ่องสอน

นอกจากสถานท่ีที่เรียกว่าพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ยังมี ศูนย์วัฒนธรรมจนี ยูนนาน บ้านสันติชล ต้ังอยู่ท่ีอาเภอปาย ใน
บริเวณบ้านสันติชล นาเสนอเรือ่ งราว วิถีชีวิตวฒั นธรรมของชาวจนี

12

98 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

ยูนนาน และศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ้าน้าลอด หรือ
“พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติและโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์” ต้ังอยู่ใน
อาเภอปางมะผ้า สถานท่ีพิพิธภัณฑ์ท่ีกล่าวมาข้างต้นเหล่าน้ี
มีลกั ษณะรว่ มกนั คือการท่ี “ท้องถิน่ ” พยายามนาเสนอประวตั ิศาสตร์
วัฒนธรรม ความเปน็ มาของชุมชน เนน้ การจดั แสดงสิ่งของ ไม่ว่าจะ
เป็นข้าวของเครื่องใชท้ ้องถ่นิ โบราณ เส้ือผา้ เคร่อื งแต่งกาย บางแห่ง
มีเรอื่ งราวเชิงประวัติศาสตรแ์ ละความสมั พนั ธ์ระหวา่ งชุมชนท้องถ่ิน
กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุกบั โลกภายนอก เชน่ ในกรณี “อนสุ รณส์ ถานมิตรภาพ
ไทย-ญี่ปุ่น” ท่ีตั้งอยู่ในตัวอาเภอขุนยวม และ“พิพิธภัณฑ์มีชีวิต
เมืองแม่ฮ่องสอน” ซ่ึงจงใจต้ังขึ้นเพื่อนาเสนอเร่ืองราว วัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตของเมืองแม่ฮ่องสอนทั้งเมืองให้นักท่องเท่ียว
ผูม้ าเย่ยี มเยือนโดยตรง (แมป้ ัจจุบันกจิ กรรมต่าง ๆ ของพิพธิ ภัณฑ์ฯ
จะซบเซาลงไป หลังจากท่ีทางโครงการซึ่งริเร่ิมโดยกลุ่มนักวิจัยจาก
สานักกองทุนสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว. และการสนับสนุนจาก
สานักงานวิจัยเพ่ือสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ได้มอบโอนงาน
พิพิธภัณฑ์ให้กับเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน) อาจกล่าวได้ว่า แม้มี
สถานที่หลายแห่งท่ีอาจไม่ได้มีความหมายเป็นพิพิธภัณฑ์ (ตาม
ความหมายทเี่ ครง่ ครัด) แต่เม่ือพจิ ารณาจากเน้ือหาและรปู แบบการ
นาเสนอเรื่องราว สถานท่ีเหล่าน้ีคือ “พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น” ท่ีพัฒนา
จัดตั้งขึ้น หลายพื้นท่ีเกิดจากความปรารถนาของชุมชน ชุมชน
พยายามเป็นผู้ดูแลจัดการด้วยตนเอง แต่บางที่บางแห่งอาจจะมา

13

99พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณจี งั หวดั แมฮ่ ่องสอน

จากนโยบาย ความต้องการของหน่วยงาน หรือโครงการวิจัย ท่ีเข้า
มามีส่วนร่วมในการจัดต้ังและบริหารจัดการดูแลเป็นหลัก ด้วยเหตุ
นี้เนื้อหาและเร่ืองราวการนาเสนอเก่ียวกับกลุ่มชาติพันธ์ุใน
พิพิธภัณฑ์ท่ีจัดตั้งโดยหน่วยงานภาครัฐ จึงมักสะท้อนเร่ืองราว
เกี่ยวกับผู้คน ประวัติศาสตร์ และชีวิตวัฒนธรรมอย่างจากัด เพราะ
ขาดการมสี ่วนรว่ มจากชุมชนชาติพันธุ์ อันเปน็ สาเหตุหน่ึงที่นาสู่การ
สร้าง “ภาพตายตัว” ของกลมุ่ วฒั นธรรมเหลา่ นัน้ ในแง่นี้พิพิธภัณฑ์
ท้องถิ่นในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนมากจึงยังผลิตซ้าความสัมพันธ์
ชีวิตวัฒนธรรม ความเป็นตัวตนของคนท้องถ่ินในสายตาของกับรัฐ
ชาติอยู่ไมน่ อ้ ย ยงิ่ ไปกวา่ นัน้ พพิ ิธภณั ฑ์ทก่ี ล่าวถึงนนั้ ทผ่ี า่ นมา หาก
วัดจากจานวนผู้เข้าชม ซ่ึงมีอยู่น้อยมาก และไม่ได้ประสบ
ความสาเร็จตามเป้าหมายเชงิ เศรษฐกจิ ท่ีกาหนดไว้ ไมว่ ่าจะเป็นการ
ให้ข้อมูลข่าวสาร การกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน และการเป็นแหล่ง
เรยี นร้สู าหรบั คนรนุ่ หลงั

พพิ ิธภณั ฑ์ชมุ ชนกบั การจัดการมรดกวัฒนธรรมอยา่ งมสี ่วนรว่ ม

การให้ความสาคัญต่อแนวคิดอัตลักษณ์วัฒนธรรม หรือ
“ความเป็นชาติพันธ์ุ” ในนโยบายวัฒนธรรมระดับโลกนั้นมีมานาน
หลายทศวรรษแลว้ นับตง้ั แต่เวทีการประชุมดา้ นนโยบายวฒั นธรรม
ขององค์กรยูเนสโกในปี พ.ศ. 2525 ซ่ึงระบุว่า “ศักดิ์ศรีและความ

14

100 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

เท่าเทียมของอารยธรรมความเป็นชาติพันธุ์ที่แตกต่างหลากหลาย
ของมนุษย์น้ันจะต้องเป็นส่ิงที่ได้รับการรบั รอง ยอมรับ ควบคู่ไปกับ
การให้ความสาคัญต่อสิทธิของผู้คนและชุมชนชาติพันธว์ุ ฒั นธรรมที่
จะยืนยันและอนุรักษ์สืบสานอัตลกั ษณ์วัฒนธรรมของพวกเขาอย่าง
จริงจัง และการได้รับเกียรติจากคนอื่น” Francesco Bandarin
ผู้ช่วยผู้อานวยการท่ัวไปฝ่ายวัฒนธรรมของยูเนสโก (UNESCO
2010) กล่าวว่าตลอดช่วงสองทศวรรษนับจากน้ัน (คือระหว่าง
2530-2550) องค์กร สถาบันวฒั นธรรมระดับประเทศในทวีปต่าง ๆ
ของโลกไดส้ รา้ งสรรค์นวัตกรรมทจ่ี ะเปิดพื้นที่ให้ “ชุมชน” ได้เขา้ มา
เก่ียวข้องกับการทางานสร้างสรรค์ การวางแผน และการกาหนด
ทิศทางของการทางานด้านการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม กระท่ังเกิด
แนวทางใหม่ในการทางานของ สถาบันวฒั นธรรม หรอื “พพิ ิธภัณฑ์
แนวใหม่” นับจากยุคหลังอาณานิคมซ่ึงหันมาตระหนักให้
ความสาคัญต่อเร่ืองความหลากหลายอย่างจริงจัง จนได้มีการ
พัฒนาแนวทางใหม่ของงานจัดการมรดกวัฒนธรรมของชุมชน
และประเทศชาติ ซ่ึงเน้นให้การยอมรับวัฒนธรรมและอัตลักษณ์
ทแ่ี ตกต่างหลากหลาย8

8 ดดู เู พิ่มมเตเ ติมิใมนในWoWrlodrldHeHreitraitgaegeanadndCCuultluturaral lDDiviveerrssitityy.. German
Commission for UNESCO. 2010.

15

101พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

การจัดการวัฒนธรรมเชิงสถาบันขององค์กรวัฒนธรรม
หรือพิพิธภัณฑ์แนวใหม่ท่ีว่าน้ันก็คืองานพัฒนาพิพิธภัณฑ์ที่ยึด
เอาชุมชนเป็นศูนย์กลาง (Community Based Approach to
Museum Development) ซ่ึงเน้นว่างานพพิ ิธภัณฑแ์ นวใหม่น้ันคือ
ส่วนหน่ึงของการแสวงหาเอกลักษณ์ หรืออัตลักษณ์ที่หลากหลาย
ของผู้คน พิพิธภัณฑ์ต้องเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตผู้คน (ยุคหลัง
อาณานิคม/หลังรัฐชาติ) ควบคู่ไปกับการท่ีงานพิพิธภัณฑ์จะเป็น
กระบวนการส่วนหนึ่งของการสร้างชาติที่ก่อตัวขึ้น และการสร้าง
ชุมชนวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลายภายในชาติเกิดใหม่ ที่กาลัง
ก่อสร้างข้ึนมา (ในยุคหลังอาณานิคม) กล่าวอีกนัยหน่ึง การพัฒนา
งานพิพิธภัณฑ์น้ันเก่ียวพันไปกับกระบวนการที่กาลังดาเนินไปของ
การสร้างชาติ และการสร้างชุมชนอย่างแยกไม่ออก กระบวนการ
จัดการวฒั นธรรมนี้คือสว่ นหน่ึงของการท่ี “ชุมชน” จะมีส่วนรว่ มใน
การสร้างสรรค์ สิ่งท่ีถูกจินตนาการข้ึน (an imagined) แน่นอนว่า
มันไม่ใช่เรื่องอัตวิสัยทั้งหมด ทว่ามีความรู้เชิงวิชาการและการ
พิสูจน์เชิงวิชาการอย่างเป็นวิทยาศาสตร์รองรับด้วย อีกทั้งยังเป็น
เร่ืองของการมีสานึกในชะตากรรมร่วมกัน ระหว่างชุมชน
นักวิชาการพิพิธภัณฑ์ และแต่หน่วยงานเจ้าหน้าท่ีรัฐ ท่ีสนใจ
เร่ืองราวเกี่ยวกบั มรดกวัฒนธรรม มองในแง่น้ี การทางานพพิ ิธภัณฑ์
จึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งท่ีจาต้องพิจารณาทาความเข้าใจ วิถีทาง

16

102 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

ต่าง ๆ ที่ ศิลปวัตถุ สง่ิ ของสะสมอันมคี ุณคา่ ของพิพิธภัณฑ์ และชีวติ
ของกลุม่ คน นน้ั ถกู นาเสนอผา่ น “ภาพตัวแทน” ในพพิ ิธภัณฑ์ และ
การที่ “การจัดแสดง” เหล่าน้ัน ซึ่งถูกมองหรือนาเสนอจาก
(สายตา) เจ้าหนา้ ทรี่ ัฐ หรือนักวชิ าการพิพิธภัณฑ์ ท่ีในอดีตมีอานาจ
หนา้ ท่ี หรอื ผูกขาด การจัดเก็บ จดั แสดง และจดั การตคี วามนาเสนอ
เรื่องราวเกย่ี วกับมรดกวัฒนธรรมของผคู้ น ชมุ ชน

การทางานพิพิธภัณฑ์แนวใหม่น้ี ทาให้เราต้องหันกลับมา
ทบทวนวิธีการทางาน บทบาท และภารกิจของสิ่งที่เรียกว่า
พิพิธภัณฑ์ ภัณฑารักษ์ (หรือนักวิชาการวัฒนธรรมของรัฐ) และ
ชุมชนชาติพันธุ์ท่ีเก่ียวข้องอย่างจริงจัง “ศูนย์วัฒนธรรม” หรือการ
ทางานพิพิธภัณฑ์แนวใหม่ ซ่ึงเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ต้อง
มุ่งเน้นเปิดโอกาสให้สมาชิกของชุมชนชาติพันธ์ุ ที่ถูกจัดแสดงและ
จัดการวัฒนธรรม (ในนามของพิพิธภัณฑ์) เข้ามาเก่ียวข้องกับ
กระบวนการของการคัดสรร การจัดเก็บศิลปวัตถุ สิ่งของจัดแสดง
และเร่ืองราว ประวัติศาสตร์ และการจัดแสดงส่ิงของ เร่ืองราว
เหล่านน้ั ตอ่ สาธารณะ

บทบาทและภารกิจสาคัญของงานพิพิธภัณฑ์แนวใหม่ ที่
อาจจะเรียกว่า “ศูนย์วัฒนธรรม” พิพิธภัณฑ์ของชุมชนชาติพันธุ์
คอื การนาเสนอชวี ติ ประจาวนั ภูมิปัญญา ความรู้อนั ทรงคุณค่า และ

17

103พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

จัดวางวัตถุจัดแสดงในสถานที่สาธารณะ เพ่ือนาเสนอ ถ่ายทอด
ความรู้ภูมิปัญญา มรดกทางวัฒนธรรมต่อชนรุ่นหลัง ผ่านการรื้อ
ฟื้น ประเพณี พิธีกรรม และการจัดงานเทศกาลวัฒนธรรม มากไป
กว่านั้น การทางานพิพิธภัณฑ์แนวใหม่ที่เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางน้ี
จึงเสมือนกลไกของการอนุรักษ์ รักษา ประเพณีชีวิตท่ียังคงปฏิบัติ
กันอยู่ให้ดารงสืบต่อไปได้อย่างย่ังยืน อันเป็นผลมาจากการมีส่วน
ร่วมอย่างแท้จริงของชุมชน เจ้าของวัฒนธรรมน้ันเอง โดยนัยยะนี้
ศนู ยว์ ัฒนธรรมของชุมชน หรือพพิ ิธภณั ฑ์แนวใหม่ทีว่ ่าน้ี ยังสามารถ
ทาหน้าท่ีเป็นพ้ืนท่ีเรียนรู้ และช่วยส่งเสริมให้การฝึกฝนปฏิบัติ
ทักษะตามประเพณีต่าง ๆ ของชุมชนสามารถเกิดขึ้นได้ และจะ
กลายเป็นกลไกสาคัญของการแก้ปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นไป
ดว้ ยในตวั

พิพิธภัณฑ์ชาตพิ ันธุ์ คือตวั อย่างอนั สาคญั ทีส่ ะท้อนถึงความ
เป็นไปได้ที่นักพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมจะทางานร่วมกับชุมชน หรือ
กลุ่มชาติพันธุ์ได้อย่างสาเร็จ และท่ีสาคัญคือ การจัดต้ัง หรือการ
ทางานพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์น้ันคือตัวอย่างของการทางานร่วมกัน
ระหว่างนักวิชาการกับชุมชน ที่ถือเอาชุมชนเป็นแกนกลางของ

18

104 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

ความสัมพันธ์ 9 พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ ที่กล่าวมาข้างต้นจึงมี
ความหมายซ้อนทับกับ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (Local Museum) หรือ
“พพิ ธิ ภัณฑช์ มุ ชน” ซงึ่ ในประเทศไทย ปริตตา เฉลมิ เผา่ กออนนั ตกลู 10
ได้สรุปไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินอาจมีความหมาย อยู่ 3 มิติคือ
(1) พิพิธภัณฑ์ชุมชน เป็นสถานที่หรือสิ่งที่สรา้ งขึ้นเพื่อจดจาวรี บรุ ษุ
ของชุมชน แต่วีรบุรุษของชุมชนในสังคมไทย (โดยเฉพาะใน
ภาคเหนือของไทยท่ีส่วนใหญ่เป็น พระสงฆ์ เจ้าเมือง หรือเทวดา
เมือง/ผีเมือง) (2) พิพิธภัณฑ์ชุมชน (ในสายตาหรือความรับรู้ของ
ชุมชน) ต้องมีความศักด์ิสิทธิ์ อาจจะเป็นความศักด์ิสิทธ์ิของบุคคล

9Edward. M. Luby. 2011. “How Ethnic Museums Came About”.
The New York Tiems. April 26. 2011.
(https://www.nytimes.com/roomfordebate/2011/04/26/should-
w9 Eed-hwaavred-.aM-n.aLtuiobnya.l2-l0a1ti1n.o“-mHouwseEutmh/nhicowM-uetshenuimc-ms Cusaemume As-bcaomute”-.
aTbhoeuNt)e. w York Tiems. April 26. 2011.
(https://www.nytimes.com/roomfordebate/2011/04/26/should-
1w0 eป-รhิตaตveา-aเฉ-nลaิมtเioผn่าaกl-อlaอtนinันoต-mกูลu.s2e5u4m9/.h“oมwา-นeุtษhยnวicิท-ยmาuพseิพuิธmภัณs-cฑa์ mแลeะ-
คabวาoมuหt).ลากหลายทางวัฒนธรรม”. รวมบทความทางสังคมวิทยาและ
ม10าปนรุษติ ยตวาิ ทเยฉาลิมปเผี 2า่ 5ก4อ9อ.นสันุภตากงลู ค.์ จ2ั5ท4น9ว.า“นมิชา.นบษุ รยรวณิทยาธา ิกพาิพร.ิธภกัณรุงฑเท์ แพลฯะ.
ภมมคภหวาาาาานคควมุษววทิ หิิชชยยลาาวาาสสิลทกัังงัยยหคค.า1ลมม1าปวว5ยิิทที -ท12ยย6า5าาง84แแว.9ลลัฒ.ะะนมสมธุภาารนานรงุษุษมคย”ย์ ว.จวิทิัททรยนวยามวา าบคนคทณิชณค.ะะวบรราัฐรัฐมรศศทณาาาสาสงธตตสิกรังรา์์ครจจม.ุุฬฬวกาาิทรลลุงยงเงาทกกแพรรลณฯณะ.์์
มหาวิทยาลยั . 115-168.

19

105พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

นั้นเอง หรือมีสิ่งของอะไรบางอย่างที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ หรือเป็น
ความศักดิ์สิทธิ์ในตัวพิพิธภัณฑ์สถานที่นั้น และ (3) พิพิธภัณฑ์
ชุมชนต้องมีเร่ืองราว เป็นเร่ืองเล่าของชุมชน กล่าวคือชุมชน
ตอ้ งการจะเลา่ เรือ่ งของตวั เอง เล่าเร่ืองของท้องถ่ิน

จากการสารวจจานวนพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยในรอบ
ศ ต ว ร ร ษ ท่ี ผ่ า น ม า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ที่ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย ศู น ย์
มานุษยวิทยาสิรินธร (ปี 2549) ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล
ชี้ให้เห็นว่า ในจานวนพิพิธภัณฑ์ท้ังหมดท่ีมีอยู่ “พิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติ” ซ่ึง (ดาเนินการโดยกรมศิลปากร) มีอยู่ 44 แห่งทั่ว
ประเทศไทยนั้น คิดเป็นสัดส่วนเพียง 5% ของพิพิธภัณฑ์ทั้งหมด
ขณะที่ “พิพิธภัณฑ์ของวัด” มีอยู่ถึง 27% “พิพิธภัณฑ์ของ
โรงเรียนและสถานศึกษา” มี 25% “พิพิธภัณฑ์ของเอกชน”
มี 16% และพิพิธภัณฑ์ที่ดาเนินการโดยชุมชนมีเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 3 ของทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ปริตตา ตั้งข้อสังเกตว่า
จานวนอาจไมส่ ามารถสะท้อนความสาคัญ บทบาทและอิทธิพลของ
พิพิธภัณฑ์กับสังคมได้ เช่น “พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ” ท่ีแม้จะมี
สัดส่วนเพียงเล็กน้อย ทว่าก็มีความเป็นมายาวนาน มีองค์ความรู้
มีการจัดการอย่างเป็นสถาบัน และเป็นตัวแบบของการจัดแสดง
และการจัดการศิลปะ วัฒนธรรมให้กับพิพิธภัณฑ์แบบอื่น ๆ
กระนนั้ สัดส่วนท่เี พิ่มมากขนึ้ ของพิพธิ ภัณฑ์ประเภทอ่ืน ๆ กส็ ะท้อน

20

106 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

อย่างชดั เจนถึงการขยายตวั และการเข้ามามีบทบาทอยา่ งสาคัญของ
วัด องค์กรภาคเอกชน และชุมชน ในการจัดการวัฒนธรรมและ
พิพิธภัณฑ์ในสังคมไทย11 ข้อเสนอที่ ปริตตา ถอดบทเรียนจาก
ประสบการณใ์ นสงั คมไทยเกีย่ วกับ “พิพิธภัณฑช์ ุมชน” ซ่ึงก่อตัวขึ้น
อย่างสาคัญในบริบทของการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น (ผ่านการเกิดข้ึน
ของ อปท. หลังการกระจายอานาจปี 2540) และกระบวนการท่ี
“ท้องถิ่น” โต้ตอบต่อการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจสังคมภายใต้
กระแสโลกาภิวัตน์ สอดคล้องไปกับแนวโน้มท่ีเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา
ชว่ ง 2 ทศวรรษท่ีผา่ นมา ดังข้อเสนอของ Edward Luby 12 ทว่ี ่าสิ่ง
ที่เรียกว่า “พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ” (Ethnic Museum) คือตัวอย่าง
อันสาคัญท่ีสะท้อนถึงความเป็นไปได้ท่ีนักพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรม
จะทางานร่วมกันชุมชน ที่สาคัญคือโครงการจัดต้ังพิพิธภัณฑ์
ชาติพันธ์ุให้ประสบความสาเร็จ ในสังคมพหุวัฒนธรรมท่ีเน้นและ
ให้การยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรมชาติพันธ์ุนั้น
กระบวนการสาคัญคือการทางานร่วมกันระหว่างนักวิชาการกับ
ชุมชน ท่ีถือเอากิจกรมต่าง ๆ ของชุมชน ที่ดาเนินการโดยชุมชน
กลุ่มชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม เป็นแกนกลางของความสัมพันธ์ ประเด็น

11 ปปรรติิตตตาา เเฉฉลลิมิมเเผผา่า่ กกออออนนนัันตตกกลูลู .. 22554499.. ออ้าา้ งงแแลล้วว้ ..
11

1122 Edward. M. Luby. 2011. อา้ งแลว้

21

107พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณจี งั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ท่ีท้าทายของการทางานด้านพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ จึงกลายเป็นเรื่อง
ของการจัดกิจกรรม และการส่งเสริมให้ชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์
วัฒนธรรมได้แสดงออก บอกเล่า ประสบการณ์วัฒนธรรมของ
พวกเขา ให้เป็น “พ้ืนที่เรียนรู้” ท่ีคนกลุ่มอื่นต่างวัฒนธรรม ได้รับรู้
ยอมรับ และอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจ การจัดตั้งพิพิธภณั ฑ์ชาติพันธุ์ใน
ตัวของมันเอง ก็คือการเปิดพ้ืนที่ เปิดโอกาสให้ กลุ่มชาติพันธ์ุ ได้
“เล่าขาน” หรือจัดแสดง เรื่องราว ประสบการณ์ ประวัติศาสตร์
ชวี ติ วัฒนธรรมของพวกเขา อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม

พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน อาจเป็นทั้งพื้นท่ี
จัดแสดงศิลปะ วัตถุ เรื่องราว ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของกลุ่ม
ชาติพันธ์ุในจังหวัดแม่ฮ่องสอน หรือเป็น “พ้ืนที่เรียนรู้” (Learning
Place) ที่เน้นการดาเนินกิจกรรม การจัดแสดงศิลปะวัฒนธรรม
ต่างๆ ของกลุ่มชาติพันธ์ุอย่างมีส่วนร่วมและความรู้สึกเป็นเจ้าของ
ในรูปแบบของ “พิพิธภัณฑ์ท่ีมีชีวิต” การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนน้ี นอกจากจะเป็นการจัดการวัฒนธรรม อัน
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกลุ่มชนโดยตรง ยังเกี่ยวข้องกับ
การเมืองในท้องถ่ิน และความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างกลุ่ม
องคก์ รต่าง ๆ ในพน้ื ทอี่ กี ด้วย

22

108 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

ประสบการณ์ที่ผ่านมาของ อปท. ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ในเร่ือง การจัดต้ังพิพิธภัณฑ์ หรือการจัดการวัฒนธรรมเชิง
ท่องเทยี่ ว มใี ห้เห็นมากแล้ว ทว่ากย็ งั คงดาเนนิ ไปอย่างจากดั

ในแง่ของการจดั การวัฒนธรรม (Cultural Management)
การเลือก ไม่เลือกท่ีจะแสดงอะไร ไม่แสดงอะไร จนไปถึง ใคร กลุ่ม
องค์กรใด จะเป็นผู้จัดการ จัดแสดง หรือผู้แสดง และแต่ละกลุ่มจะ
มีส่วนร่วมได้มากน้อยเพียงใด ล้วนมีความเป็นการเมือง เป็นเรื่อง
ของความสัมพันธเ์ ชิงอานาจ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรัฐกับพลเมือง

บทสรปุ

การเดินทางไปเยือนแม่ฮ่องสอน แม้ปัจจุบันจะสามารถไป
เยือนได้ท้ังทางบกและทางอากาศ ทว่าก็ยังเป็นไปด้วยความลาบาก
ก ร ะ น้ั น ก็ ก ล า ย เ ป็ น ว่ า ห นึ่ ง ใ น เ ส น่ ห์ ข อ ง ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว จั ง ห วั ด
แม่ฮ่องสอนคอื การที่นักเดินทางท่องเท่ยี ว (ทางบก) ต้องการท้าทาย
“พิชิต 1,864 โค้ง” อันสอดคล้องกับการพัฒนาธุรกิจการท่องเทย่ี ว
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนท่ีผ่านมา โดยเน้น “การท่องเท่ียวธรรมชาติ”
ท่ีนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความนิยม
นอกจากน้ัน “การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมชาติพันธุ์” ยังถือเป็นอีก
ภาพตัวแทนหนึ่งท่ีได้รับส่งเสริมอย่างต่อเน่ืองกว่าสามทศวรรษท่ี

23

109พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ผ่านมา ด้วยเหตุที่แม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดชายแดนมีพ้ืนท่ีอาณาเขต
กว้างยาวติดต่อกับชายแดนของพม่า เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติ
พันธ์ุทีห่ ลากหลายมากท่ีสุดแห่งหนึ่งของไทย ขอ้ มลู ในปี 2560 ระบุ
ว่าจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีจานวนประชากรท้ังหมดราว 280,000 คน
นั้น ส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90 (ประมาณ 250,000 คน) อาศัยอยู่ใน
พื้นท่ีนอกเขตตัวเมืองของอาเภอ กระจายไปตามชุมชนหมู่บ้าน
ที่ต้ังอยู่ในเขตชนบทและพื้นที่ห่างไกลบนหุบเขา ความกว้างใหญ่
ของพ้ืนท่ีจังหวัดและสภาพภูมิศาสตร์ท่ีเป็นป่าเขา ทาให้ท่ีตั้ง
ของตัวอาเภอทั้ง 7 น้ันอยู่ห่างกันค่อนข้างมาก เช่น อาเภอสบเมย
อาเภอแม่สะเรียง อาเภอแม่ลานอ้ ย และ อาเภอปาย ตง้ั อยหู่ ่างจาก
อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานท่ีราชการประจา
จังหวัด มากกว่า 100 กิโลเมตร ท่ีผ่านมา (ต้ังแต่ปี 2530)
แม้จังหวัดจะได้รับงบประมาณปรับปรุงตัดถนนภายในจังหวัด
เพ่ือเช่ือมต่อระหว่างอาเภอ และระหว่างอาเภอกับตัวจังหวัด แต่
กระน้ันการเดินทางและติดต่อกันระหว่างตัวอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
และอาเภออื่น ๆ ยังคงเป็นไปค่อนข้างยากลาบากและใช้เวลานาน
ยังไม่ต้องกล่าวถึงการเดินทางระหว่างชุมชนหมู่บ้านในหุบเขากับ
ตวั อาเภอ และตวั เมอื งแมฮ่ อ่ งสอน

จากเงื่อนไขการเข้าถึงปัจจัยพื้นฐาน โครงสร้างทาง

เศรษฐกิจภาคการผลิตท่ีแตกต่างกัน ดังกล่าวมาข้างต้น รวมท้ัง

สัดส่วนจานวนประชากรท่ีเข้าสู่ระบบการศึกษาระดับสูงข้ึนไปกว่า

24

110 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

มัธยมศึกษา ระหว่างคนพ้ืนราบกับคนบนท่ีสูงท่ีแตกต่างกันมาก
จึงคาดการณ์ได้ว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจ อันเป็นผลมาจากการ
ลงทุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น ถนนหนทาง (ซึ่งยังสมควรท่ีจะ
ได้รับการยกระดับพัฒนาอีกมากท้ังการเดินทางภายในจังหวดั และ
ระหว่างแม่ฮ่องสอนกับจงั หวัดใกล้เคียง คือเชียงใหม่และตาก) และ
การสง่ เสรมิ พัฒนาผลติ ภณั ฑแ์ ละธุรกิจการคา้ การท่องเท่ียวเชงิ ชาติ
พันธ์ุ ธรรมชาติ วัฒนธรรม ในแม่ฮ่องสอนนั้น คงไม่พ้นท่ีจะตกอยู่
ในมือของกลุ่มคนพื้นราบ ซึ่งปัจจุบันมีท้ังกลุ่มท่ีต้ังถิ่นฐานอยู่เดิม
และท่ีกลุ่มอพยพจากต่างถิ่นเข้ามาแต่งงาน ค้าขาย รับราชการ
(แล้วไม่กลับ) ต้ังรกรากสร้างครอบครัวใหม่อยู่เป็นจานวนมาก
ปะปนไปกับคนพ้ืนถนิ่ เดิม

ปัญหาความยากจน ไปถึงความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ
สังคมระหว่างคนต่างกลุ่มต่างชาติพันธุ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนนั้น
ซ้อนทบั ไปกบั เร่ืองของการเปน็ คนบนที่สูงกบั คนพนื้ ท่ีราบ เนื่องจาก
ลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นเง่ือนไขสาคัญอันดับต้น ๆ เก่ียวกับการ
เข้าถึงระบบการศึกษา สวัสดิการรัฐ (มีหรือไม่มีสัญชาติ) การลงทุน
พัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน และกระจายรายได้และการผลิตทาง
เศรษฐกิจตอ่ วิธีการดารงชพี

25

111พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณจี งั หวดั แมฮ่ ่องสอน

พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ คือพิพิธภัณฑ์ที่เก่ียวข้องกับคน
การจัดตัง้ และทางานพิพธิ ภัณฑ์จงึ ต้องให้ความสาคัญกับการมีส่วน
รว่ มของชุมชนและกลมุ่ ชาติพันธ์ุ

จากการสารวจและจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับ
การจัดต้ังพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซ่ึงผู้ตอบ
แบบสอบถามและผู้เข้าร่วมประชุมในทุกอาเภอส่วนใหญ่ เห็นด้วย
กับโครงการจัดต้ังน้ัน อย่างไรก็ตาม เกือบท้ังหมดก็สะท้อนว่า
การจะจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุแม่ฮ่องสอนนั้นจาต้องคานึงถึงสทิ ธิ
และความต้องการของกลุ่มชาติพันธุ์ และการที่พิพิธภัณฑ์จะให้
ประโยชน์กับกลุ่มชาติพันธ์ุมากท่ีสุด สถานท่ีต้ังของพิพิธภัณฑ์ชาติ
พันธ์ุ แทนท่ีจะเป็นตึกปลูกสร้างขนาดใหญ่ และตั้งอยู่เพียงแห่ง
เดยี วในตัวจังหวัด ประชาชนในท้องถ่ินมีข้อเสนอวา่ พพิ ธิ ภณั ฑ์ชาติ
พันธุ์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ควรจะมีอยู่หลายแห่ง แม้วา่ พพิ ธิ ภัณฑ์
ทต่ี วั เมอื งแม่ฮ่องสอน ยงั คงเป็นส่ิงที่จาเปน็ อยู่ แต่ควรทาหน้าที่เป็น
ศูนย์ข้อมูลกลาง ไม่จาเป็นต้องเป็นตึกพิพิธภัณฑ์ท่ีใหญ่โต แต่ทา
หนา้ ทเ่ี ปน็ ศูนย์บริการข้อมลู ข่าวสาร เป็นศูนยก์ ลางของ “เครือข่าย
พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ” ระดับอาเภอ หรือเครือข่ายในแต่ละอาเภอ
และในแต่ละอาเภอกม็ ีเครอื ข่ายของตัวเองลงไปในระดับชมุ ชน

26

112 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์ท่ีหลายฝ่ายคาดหวังอยากเห็นว่า จะ
เป็นพิพิธภัณฑ์ท่ีมีชีวิต ซึ่งจะเกิดข้ึนได้ ชุมชนจะต้องมีส่วนร่วมทั้ง
ในการดาเนนิ งาน บริหารจัดการโดยตรง เพราะฉะนัน้ ในระดับพื้นท่ี
จึงต้องเป็นเรื่องของชุมชนชาติพันธุ์ท่ีตัดสินใจเอง ว่าพร้อมที่จะเข้า
ร่วมเป็นเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ จัดแสดงวัฒนธรรมของตนเองหรือไม่
มีศักยภาพมากน้อยเพยี งใด การมเี ครือขา่ ยพิพธิ ภัณฑ์ระดับหมู่บ้าน
และความสาคัญของตัวแบบการกระจายพิพิธภัณฑ์จากตัวจังหวัด
ไปยังแต่ละอาเภอนั้น เป็นข้อเสนอท่ีมีข้ึน เพื่อให้โครงการจัดต้ัง
พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์สามารถแก้ปัญหาการกระจุก ไม่กระจาย ของ
รายได้และจานวนนักท่องเท่ียวที่เดินทางเข้ามาเยี่ยมชม บริโภค
จับจ่ายใช้เงินในจังหวัดแม่ฮ่องสอน มากไปกว่านั้น ความคาดหวังที่
คนท้องถ่ินโดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์บนที่สูงเองมีต่อบทบาทของ
พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นอันดับแรกนั้น กลับ
เป็นเรื่องทางสังคมวัฒนธรรม มากกว่าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
เนอื่ งจากพวกเขาต้องการให้พิพธิ ภณั ฑ์เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม
ที่นอกจากจะเป็นพ้ืนที่จัดแสดงอัตลักษณ์วัฒนธรรม และ
ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์ุ ความเป็นมาของบรรพชน พิพิธภัณฑ์ชาติ
พันธุ์จึงควรทาหน้าที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ผลิต และสืบสานภูมิปัญญา
ความรู้ สง่ ตอ่ แกค่ นรุ่นหลัง

27

113พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ข้อเสนอแนะเบ้ืองต้น เพื่อให้การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชาติพนั ธ์ุ
จังหวัดแม่ฮ่องสอนเกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรมท้ังเป็นเรื่องการ
จัดสรรงบประมาณ การลงทุน รัฐจึงควรคานึงถึงศักยภาพของ อปท.
และชมุ ชนชาตพิ นั ธ์ุ

ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนปัจจุบันมีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นอยู่แล้ว
อยา่ งน้อยใน 3 อาเภอ ท่บี ริหารจดั การโดย อปท. ท่ีมีประสบการณ์
เก่ียวกับ “งานพิพิธภัณฑ์” ของตนมาก่อนหลายปี คือ (1) เทศบาล
เมืองแม่ฮ่องสอน ซ่ึงเป็นเจ้าของดาเนินงาน “พิพิธภัณฑ์มีชีวิตเมือง
แม่ฮ่องสอน” 13 (2) เทศบาลตาบลขุนยวม เป็นเจ้าของและบริหาร
จัดการ “อนุสรณ์สถานมิตรภาพไทย-ญ่ีปุ่น”14 และ (3) เทศบาล

13 “พิพิธภัณฑ์มีชีวิตเมืองแม่ฮ่องสอน” ที่ทางเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนเป็น

เป1เจจ3ก้้าา“คขขพรออพิองงธิงแแสภลล่วณัะะนบบฑทรรม์ ้อิหิหีชงาาีวถรริต่ินจจเัดัดม(กคกอื าือางรรแเใทใมนนศ่ฮปปบ่อัจัจางุบุบสลันอันเมนือเเ”ปปง็น็นแทมกก่ีท่ฮาาารร่องททเงทสา�ำศงงอาาบนนนา)รรลแ่่ววเลมมมะือกกโงัันนคแรรรมะะงฮ่ หหกอ่ วาวงร่า่าสงวงอออิจนงังยคคเขป์ก์กอ็นรรง
นปักกวคิชราอกงาสร่วทน่ีไทด้อ้รงับถกน่ิ าร(สคนือับเทสศนบุนาจลาเกมแอื หงลแ่งมท่ฮุน่อภงสาอยนนอ) กแลคะือโค“รโงคกรางรกวาิจรัยศขึกอษงา
อนอกั กวแชิ บากบาแรลทะไ่ี ศดกึ ร้ ษบั ากคาวราสมนเบัปส็นนไปนุ ไจดาข้ กอแงหพลิพง่ ธิ ทภนุ ณั ภฑาม์ยชีนวีอิตกเมคอื ง“แโมคฮ่ รอ่ งงกสาอรนศ”กึ ษซาึ่ง
ไอดอ้รกับแกบาบรแสลนะับศสึกนษุนาคจวาากมสเาปน็นักไงปาไนดก้ของพทิพุนิธสภนัณับฑสน์มุีชนีวกิตาเรมวือิจงัยแม(ส่ฮก่อวงส.)อเนร”่ิม
ดชซดมวีา่ึง�ชี ำติเไเีวนนดฯิติน้ินรฯใับกกหกาใา้ทหรราามมท้รงาสาาเตตทนงงั้เง้ัศับทแแบสศตตานป่บป่ลุนีาีด22ลจา55าดเ5นก5�ำ33เสนิ น�กแำแนินาลลกรักะะตางตตรอ่า่อ่อตนเมอม่อกางาเอไอไตดงดงงั้้มท้มแตอุนอตงั้บสบแ่ โรนโตอาอับ่นวรนสๆโาโคนวคปรุนๆรงี กง2กปกา5าีรา5ร2รว55หิจห5เรัยป5รือน็ือพ(เสพตปิพก้นพิ็นิธวมิธตภ.าภ)้นณั ณัมเฑราฑ่ิมม์ ์ี
1144 โคครงงการจดั ตัง้ “พิพิธภัณฑส์ งครามโลกครั้งท่ี 2” ซซง่ึ ่ึงตต่อ่อมมาาเเปปลลีย่ ี่ยนนชช่ือ่อื เเปป็น
““ออนนุสสุ รรณณ์สส์ ถถาานนมมิตติ รรภภาาพพไไททยย--ญญ่ีปปี่ ุ่นนุ่ ”” ใในนเเมมือืองงขขุนนุ ยยววมม เเปปน็็นโโคครรงงกกาารรททรี่่ีรเิิเรรม่ิิ่มมมาา

28

114 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

ตาบลเมืองยวมใต้ ซึ่งได้ก่อต้ังและดาเนินงาน “พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
แม่สะเรียง” จากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล (แม้
ปจั จบุ ันยังไม่ได้กลบั มาเปิดดาเนินการหลงั ถูกไฟไหม้ไปท้งั หลัง ในปี
2558)15

ตั้งแต่ปี 2540 จากการสารวจเส้นทางเดินทัพสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 เพ่ือ
พตัฒ้ังแนตาป่ เปี 2น็ 5แ4ห0ลจง่ ทาก่อกงเาทร่ยีสว�ำรทวไ่ีจดเร้สบั้นกทาารงสเดนนิบั ทสนัพุนสจมาัยกสมงลูคนราธิ มเิ อโโลตกะคจราัง้ กทป่ี ร2ะเเพทอ่ืศ
ญพฒั่ีปุ่นนาตเป่อน็มแาหในลปง่ ที 2อ่ 5ง5เท2ยี่ มวีโทคไ่ี รดงร้ กบั ากราปรรสับนปบั รสุงนนุ“อจานกุสมรลูณน์สธิ ถเิ อาโนตมะิตจราภกปาพระไเททยศ-
ญี่ปุ่น”ตอ่กมาราใจนัดปตี้ัง2พ5ิพ5ิธ2ภัณมีโฑค์ทรงี่ขกุนายรวปมรจับึงปเริ่มุงต“้นอขน้ึนุสอรยณ่าส์งจถราิงนจมังติ กรรภะาทพั่งไแทลย้ว-
เญสี่ปรจ็ ุ่น”อนกึง่ ากราจรดั าตเั้งนพินิพกิธาภรตัณาฑม์ทโคี่ขรุนงยกวารมดจังึงกเรล่ิม่าตวใ้นนขช้ึนว่ องแยร่ากงจมรคี ิงวจาังมขกดั รแะยท้งั่งอแยล่า้วง
รเสุนรแจ็ รองนระงึ่ กหาวร่าดง�โำเคนรนิ งการรต(าโมดโยคเรทงกศาบราดลงั ตกาลบา่ วลใขนุนชยว่ งวแมร)กแมลคี ะวกามลขุ่มดัปแรยะง้ ชอายชา่ นง
อรุนงคแ์กรงรรภะาหควป่ารงะโคชารสงกังคารม (ใโนดพย้ืนเททศี่ กบราะลทตั่�งำบมีกลาขรุนยย้าวยมส)ถแานละทก่ีตลั้งุ่ม(ปมราะเปช็นาชบนน
พมเสเ(ส(เเอมพทดรดทริงตื้งงินต้ืน่ืืู่ออเศเูศคคคพพรรททงบงบรร์กภภิ่มม่ิร่ีรสี่สาาาาราาเาาเลนนลมมตตภววพพาาโโิิมมจจาเเลไมไลมกกงคึงึใใททกบกนบมนม่ี่ียยปยยคคิสีสีนินววรร--รรถถรกกเเะญญัศั้งศักกั้งาาับับชทม่ีี่่นปมทปนา่าาวว ี่ี ีะ่ีุ่ะุ่นนสัชัฒฒต22ตชไไ”ั”งูทมมรรทูนนคทงทตร่่ตงเรธธมเขี่งขขา่ม่าี่ขงมรรเใ้งางุ้านเ่ืุนอดื่รนอรไดไมมยปแปยชมมแพชกกวจวล.จชชล.้ืนับับมมาา้ 2วออ้วท2วกกว5เเงงั5แดี่กัสดกแส5ทท5กมมามรามร6้ อ้อ6รร็่ร่จฮว็จ่ว่.ฮเ.งเะงย่อซยปซป่อ“ถถท“ตึ่ตงงึ่นง็ใง็นิ่น่ิน่ังใสค่อออส่อพพคมมมอรย)ยอ)พิิพรีกเาาู่นูภ่นภแเปธิแิธกากป??าลาภภ็นลรขข””น็ ยยะณยััณะ้ึน้ึนใเใเ้าวเจวฑพตฑตเพยจา้ทาา้ทก้ท์่ิกมท์ ่ิมสา้ รขรา�าอ้าเอ้ขเถสำอสตใตรรใงงอาหางาหิมถบถบิมงนร้รน่ิ่ิน้ มสสรรสทสมข“ิิขห่ห่วรว“ัง่ีตังอรออดนนอาาคคั้งดงงกนรรกกนมมเเกจาจมุสาาม(ุสววมววััดรรดอือืรริิทฒัทัฒาจจกงณกงณเยัขัดยดขนานปา์ส์สนาุุแนาแรรธธ็นถแถแยขสสรยขรบาลวราดอลรวดอนนมมนะมมงงะงง
มมาานนุษษุ ยยววิททิ ยยาา..ปปีทที ี่ ี่3322ฉฉบบบั บั ทที่ 1ี่ 1. .99-5-555.).)
1155(จ(จาากกกกาารรสสมั มั ภภาาษษณณ์ ์““แแหหลลง่ ง่ ขข่าา่ วว”” ในพื้นที่และปลดั เทศบาล) โครงการจดั ตง้ั
พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินนแแมม่สส่ ะะเเรียงเป็นโครงการที่ริเริ่มและทา�ำงานร่วมกันระหว่าง
เทศบาลตา�ำบลเมืองยวมใต้ เทศบาลตา�ำบลแม่สะเรียง และกลุ่มนักวิชาการ
ทท้อ้องงถถิ่นิ่นใในนพพื้นื้นทที่ี่ ซซ่ึงง่ึ สส่วว่ นนใใหหญญ่คค่ ืออื ขข้าา้ รราาชชกกาารรเเกกษษียียณณ ทท่ีม่มี ีีปปรระะสสบบกกาารรณณท์์ท�าำงงาานน

29
115พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

พิพิธภัณฑ์ท้ัง 3 แห่งข้างต้น แม้ท้องถิ่นจะไม่ได้เป็นผู้ริเริ่ม
เองแต่ต้น และแทบทุกแห่งไม่อาจสามารถดาเนินการจัดตั้งหรือ
บริหารจัดการ “งานพิพิธภัณฑ์” ของตนได้อย่างย่ังยืน หาก
จาเป็นต้องอาศัยงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ หรือโครงการ
จากภายนอก และการสนับสนุนบุคลากรท่ีมีทักษะความรู้ ความ
เชี่ยวชาญด้านงานพิพิธภัณฑ์ กระน้ันเทศบาลท้ัง 3 แห่ง ใน 3
อาเภอดังกล่าว ก็ถือเป็นองค์กรที่มีประสบการณ์และมีศักยภาพ
อ ย่ า ง ม า ก ที่ จ ะ พั ฒ น า ง า น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
วัฒนธรรมของตน ประสบการณ์ท่ีผ่านมาของเทศบาลเมือง
แม่ฮ่องสอน เทศบาลตาบลขุนยวม และเทศบาลตาบลเมืองยวมใต้
และการได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินขึ้นแล้วถือเป็นต้นทุนวัฒนธรรม
ที่มีอยู่เดิม กระนั้นการดาเนินโครงการจัดต้ังพิพิธภัณฑ์ จาเป็นต้อง

วงงวบบิจจิ ัยัยปปรรรร่ว่วะะมมมมกกาาบัับณณสสสส�านำนนนับับักักสสงงนานานนุนุนกกจจอาอากงกงททรรัฐุนัฐุนบบสสานานลลบัับสสสสมมนนัยัยุนุนนนกกาาายายรรกกววรจิริจัฐัฐัยัยมมนฝฝนตา่่าตยรยรีววี ทจิิจทัยักัยักทษทษอ้ิณ้อิณงงถถชช่นิิ่นินินวโโวดัตดัตยรยรไไดใดในน้ร้รปบัับปีี
22554488ออยา่ยง่าไรงกไต็รากม็ตหาลมงั เหปลดิ ังดเ�ปำเนิดนิ ดกาาเรนตินงั้ แกตาป่ รี 2ต5้ัง4แ9ตแ่ปลี ะ2ป5ร4ะ9สบแคลวะาปมรสะ�ำเสรจ็บ
คอวยา่ มงมสาเกร็จทอวยา่ หา่ งลมงั าเกดิ ทเหว่าตหไุ ฟลังไหเกมดิ ใ้ เนหปตีุไ2ฟ5ไ5ห8ม(้ใซนงึ่ ปสี ว่2น5ห58นงึ่ (มซาึง่ สจว่านกกหานร่งึ จมดั างจาานก
กเทาศรจกัดาลงาวนัฒเทนศธรกรามลว“ัฒอนอธกรหรมว่า“”ออทก่ีพหิพวิธ่าภ”ัณทฑ่ีพ์นิพ่ันิธเภอัณง)ฑ์กน็ไ่ันมเอ่สงา)มการ็ไมถ่สกาลมับามราถ
กดล�ำเับนมินากดาารเไนดิน้อีกามรไีเพด้อียีงกตมึกีเอพาียคงาตรพึกิพอาิธคภาัณรฑพ์หิพลิธังภใัณหมฑ่ท์ห่ีไลดัง้รใับหเมงิน่ทส่ีไนด้ัรบับสเนงุนิ
สกน่อับสรส้านงุนจกา่อกสจรัง้าหงวจัดากทจวัง่หาตวรัดาทบวจ่านตปรัจาจบุบจันยปังจคจงุบปันิดยแังลคะงปถูกิดปและ่อถยูกใหป้ทล่อิ้งรย้าใหง ้
ทณ้งิ รบา้ รงิเวณณบแยริเกวทณาแงยเขกา้ ทตาัวงอเข�ำา้เภตอัวอ(าแเมภ่สอะ(เแรมยี ส่ง-ะสเบรยี เมง-ยส)บเมย)

30

116 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

มีองค์กรท่ีมีความเชี่ยวชาญในเร่ืองงานพิพิธภัณฑ์เข้ามาทาหน้าที่
“พ่ีเล้ียง” ให้คาแนะนา และหากจะทาให้ย่ังยืน อาจจะต้องมาทางาน
ร่วมกัน (อย่างน้อยช่วง 2-3 ปีแรก) ขณะอาเภออ่ืนท่ีเหลอื แม้ไม่ได้
มีพิพิธภัณฑ์ที่เปิดดาเนินการอย่างเป็นระบบชัดเจน (ไม่ว่าจะเป็น
อาเภอแมล่ าน้อย อาเภอสบเมย อาเภอปาย และ อาเภอปางมะผ้า)
แต่ก็มีความเป็นไปได้ท่ีจะเข้ามาร่วมเป็น “เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ระดับ
อาเภอ” ทว่าสถานศึกษาหรือสถาบันวิชาการ เช่น มิวเซียมสยาม
จาเป็นต้องเข้ามาช่วยสนับสนุนความรู้ ทักษะวิชาการเกี่ยวกับงาน
พพิ ิธภัณฑ์ และการบริหารจัดการอย่างยง่ั ยืน การทสี่ ถาบนั วิชาการ
หรือหน่วยงานด้านพิพิธภัณฑ์ศึกษา สามารถเข้ามาสร้างหลักสูตร
อบรม สร้างความรู้ และบุคลากรที่จะทางานด้านพิพิธภัณฑ์ นับว่า
จาเป็นต่อการสร้างความย่ังยืนให้กับงานพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ
นอกจากตัวพิพิธภัณฑ์ งานเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ ต้องมีบุคลากรท่ีจะ
ทางานอย่างต่อเนื่อง บุคลากรท่ีควรจะมาทางานในพิพิธภัณฑ์นั้น
ส่วนหนึ่งต้องมาจากคนท้องถิ่น สมาชิกของชุมชนชาติพันธ์ุ การจัด
ต้ังพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุควรต้องสงวนพ้ืนท่ี หรือสร้างตัวแบบการ
ดาเนินงานท่ีคานึงถึงทั้งสิทธิและการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์
ส่วนน้อย การสร้างบุคลากรที่เป็นคนในท้องถิ่นที่จะสามารถเข้ามา
ทางานได้จงึ เปน็ ส่งิ สาคัญและมคี วามจาเปน็

31

117พพิ ธิ ภัณฑ์ชาติพนั ธุแ์ ละการจดั การวฒั นธรรมท้องถิ่น: กรณีจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

ดังนั้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและกลุ่มชุมชนชาติพันธุ์
ในงานพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุ ท่ีหากจะมีการลงทุนจัดต้ังข้ึนในทุก
อาเภอ กระจายออกมาจากตัวจังหวัดแม่ฮ่องสอน (Decentering
Mae Hong Son) จึงอาจเป็นหนทางหนึ่ง ตามท่ีฝ่ายนโยบายรัฐ
มุ่งหวังให้การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ุเป็นตัวกระตุ้นและช่วย
ผลักดันการสร้างรายได้ และกระจายการเติบโตทางเศรษฐกิจใน
จงั หวดั แมฮ่ ่องสอนทป่ี ัจจุบันยังคงมคี วามเหล่อื มลา้ อยู่สงู มาก

32

118 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

1

การปกครองทอ้ งถิน่ กบั มิตกิ ารบริหารจดั การ
“ทรพั ยากรร่วมป่าและอากาศ”
กรณีศกึ ษาจังหวดั เชยี งใหม1่

มทั นา ปญั ญาคา2

ทรพั ยากรรว่ มคืออะไร

ในทางทฤษฎี ทรัพยากรร่วม (Common pool resources)
ถื อ เ ป็ น ท รั พ ย า ก ร ที่ ม นุ ษ ย์ ทุ ก ค น ล้ ว น มี สิ ท ธ์ิ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ใ ช้
ทรัพยากรร่วม (Open access to all) ซ่ึงทาให้เกิดการใช้ทรัพยากร
อย่างกว้างขวางท้ังในรูปแบบของการบริโภค แลกเปลี่ยน และแปรรูป
ทรัพยากรรว่ ม เช่น น้า ป่าไม้ อากาศ เป็นตน้ เม่ือเป็นเชน่ น้จี งึ ทาให้เกิด

“11รปะบบหฏททวสิคค่าัมววงพาารมมนัฐั ชชธทน้ิร์ิ้นะุนนนหีเ้ เี้ปเปวมน็า่น็ ืองบบงรทัฐทแคคทลววนุะาามชมเทนมทพ่ีบอื ี่พงฒัทฒั แนในลานาะตกตชอ่ าอ่นยรยบอเมอดทือดจงใจานเการกกวื่อาิทวงรทิไยเฟมยาปพือานา่งนเแิพนรลอ่ืนิพะงธนหไ์ธฟเมร์ ปเอือ่ รา่กงอ่ื แคง“ลวปะนั หฏรมสิ่วอมัมกพสมันัยธ์
คกวรันณรศี ว่ กึมษสามสัยถการนณกาศี รกึ ณษไ์าฟสปถา่ แนลกะารหณมอไ์ ฟกปค่าวแนั ลจะ.หเชมยี องกใหควมัน่ ปจี พ.เ.ชศยี. ง2ใ5ห3ม5่ ป–ี มพถิ.ศนุ .ายน
22m2255รuร3ัฐ6ัtฐ5ศ3.ศtา”a–าสnสตมaตริถ@์มรุนhห์มาoยาหtบนmาณั บ2aฑัณ5il6ติ.ฑc3oคิต”mณคะรณัฐะศราัฐสศตรา์สจตฬุ รา์ ลจงุกฬราณลม์งกหราณวทิ ์มยหาลาัยวิทeยmาaลiัยl: email:
[email protected]

119การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

2

ปัญหาในการใช้ทรัพยากรร่วมกันของมนุษย์ด้วยเช่นกัน คือ เม่ือคนหนึ่ง ๆ
ใช้ทรัพยากรร่วมเป็นจานวนมากก็จะส่งผลกระทบต่ออีกหลาย ๆ คน
ในแงท่ วี่ ่าทาให้ใชท้ รัพยากรได้น้อยลง และเม่อื เปน็ เช่นนก้ี ็อาจจะนาไปสู่
ความเสื่อมโทรมทางทรัพยากรร่วมด้วยหรือท่ีเรียกว่า “โศกนาฏกรรม
ทางทรัพยากรร่วม” (the tragedy of common) ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของ
ปัญหาสาธารณะเร่ืองการใช้ทรัพยากรรว่ มดว้ ย (Ostrom, 1990 : p.30)

ปัญหาทรัพยากรป่าและอากาศล้วนแล้วแต่มีความสัมพันธ์กัน
และเป็นปัญหาหนึ่งของการจัดการทรัพยากรร่วมด้วยเช่นกัน กล่าวคือ
ป่าไม้เป็นต้นกาเนิดของอากาศ โดยเฉพาะอากาศท่ีดี หากเกิดความ
เสอ่ื มโทรมตอ่ ปา่ ไม้ก็จะส่งผลให้เกิดมลภาวะมากขน้ึ หรือคุณภาพอากาศ
ทแ่ี ย่ลงไปดว้ ย ดงั นั้น ป่าจึงเปรยี บเสมือนทรัพยากรทางตรง และอากาศ
กเ็ ปรยี บเสมอื นทรพั ยากรทางออ้ มนน่ั เอง

สาหรับสถานการณ์ทรัพยากรร่วม ป่าไม้-อากาศของจังหวัด
เชียงใหม่ อย่างท่ีทราบกันว่า เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่ต้องเผชิญกับ
ปัญหาไฟป่าและหมอกควันทุก ๆ ปี นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้น
ซึ่งลักษณะเช่นน้ีก็นาไปสู่ปัญหาของการใช้ทรัพยากรร่วมของผู้คนใน
เมืองเชียงใหมด่ ว้ ยเช่นกนั

120 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

3

3
จากรายงานของสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ภูมิอากาจศาก(สรทายองวา.)นเขกอี่ยงวสกาับนสักถงาานนกพาัฒรณน์ไาฟเทป่คาใโนจโลังหยีวอัดวเกชาียศงแใหลมะ่
รภะูมหิอวา่ากงาปศี 2(5ส5ท8อ–ว.2)5เ6ก2่ียวพกบับวส่าถไาฟนปก่าาในรพณ้ืน์ไทฟ่ีสป่วานในใหจญังห่เกวิดัดขเึ้นชใียนงพให้ืนทม่ี
รเขะตหปวา่ ขงอปงี ร2ฐั5ม5า8ก–กว2า่ 5พ6น้ื 2ทพข่ี อบงวช่ามุ ไชฟนปโ่าดใยนมพีรื้นาทย่ีสล่วะนเอใยี หดญด่เกังิดนข้ี ้ึนในพื้นที่
เขตปา่ ของรัฐมากกว่าพ้นื ทข่ี องชมุ ชน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

ปี ปา่ ป่าสงวน ประเภทป่า พื้นทร่ี ิมทาง ชมุ ชนและ
ปี ปอนา่ ุรกั ษ์ แปห่าส่งชงวานติ เขต ประพเภืน้ ททป่ี ่า หพลื้นวทงี่รมิ ทาง ชอื่นุมชๆนและ
2558 7อ1น3ุรักษ์ แ1,ห0ง่3ช4าติ เสขปตก. เพก้ืนษทตี่ ร ห17ลวง อ0่ืน ๆ
22555589 781637 189,0934 ส0ปก. 2เก6ษ3ตร 8147 0115
22556509 388675 839493 054 26463 4848 17115
22556601 328855 239435 2549 2684 458 7313
22556621 821865 729605 2199 2183 51 3432
22556632 18,10609 716,0000 1797 1633 125 5427
6772 263 25 57
2563 1,009 1,000
62 2

ตารางท่ี 1 แสดงการเผาไหมใ้ นพน้ื ทแ่ี ต่ละรูปแบบ ปี 2558 – 2563
ตารางท่ี 1 แสดงการเผาไหมจใ้ .นเชพยี น้ื งทใหี่แมต่่ละรูปแบบ ปี 2558 – 2563

จ.เชยี งใหม่
ท่ีมา :(สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ, 2558, 2559, 2560,
ทีม่ า :(สานักงานพัฒนาเทคโนโ2ล5ย6อี 1ว,ก2า5ศ6แ2ล,ะ2ภ5มู 6ิส3า)รสนเทศ, 2558, 2559, 2560,

2561, 2562, 2563)

121การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

44

เเมมอ่ืื่อพพจิิจาารรณณาาจจาากกขข้้ออมมลูลู ขขา้า้ งงตต้้นนแแลล้วว้ จจะะพพบบววา่า่ ไไฟฟปปา่่าสส่ว่วนนใใหหญญ่่
เเกกดิดิ ขขึ้น้ึนใในนพพ้นืื้นททปี่ีป่ ่่าาออนนุรุรัักกษษแ์แ์ ลละะปปา่า่ สสงงววนนแแหหง่ง่ ชชาาตติิ ซซึ่งง่ึ ออยยูใ่ใู่ นนกกาารรดดูแูแลลขขอองง
กกรรมมปป่า่าไไมม้แแ้ ลละะกกรรมมออุททุ ยยาานนเเปป็็นนหหลลกักั ใในนขขณณะะทท่ี่ีพพ้นืนื้ ททเ่ีีเ่ กกษษตตรรแแลละะพพื้นื้นทที่่ี
ชชุมุมชชนนนน้ันั้นพพบบนนอ้อ้ ยยมมาากก

เเชช่่นนเเดดีียยววกกัันนกกัับบคค่่าาคคุุณณภภาาพพออาากกาาศศใในนพพื้้ืนนทท่ี่ีจจัังงหหววััดดเเชชีียยงงใใหหมม่่นน้ัั้นน
กก็็มมีีคคววาามมรรุุนนแแรรงงเเชช่่นนเเดดีียยววกกัันน ซซึ่ึ่งงสสถถาานนกกาารรณณ์์รรุุนนแแรรงงออยย่่าางงมมาากกนนัับบตต้ัั้งงแแตต่่
ปปีี 22555500 แแลละะรรุุนนแแรรงงขข้ึึ้นนออยย่่าางงตต่่ออเเนนื่ื่อองง โโดดยยเเฉฉพพาาะะใในนเเดดืืออนนมมีีนนาาคคมมขขอองง
ททุกุกปปีี โโดดยยพพจิิจาารรณณาาไไดด้จ้จาากกตตาารราางงคคา่า่ คคณุณุ ภภาาพพออาากกาาศศ ดดังงั นนี้้ี

ตตาารราางงทท่ีี่ 22 แแสสดดงงคค่่าาเเฉฉลลี่่ยยี ฝฝนนุุ่่ ลละะอออองง ปปรระะจจาาปปีี 22556633

กกาารรววัดดั ฝฝนุ่่นุ ลละะอออองง สสถถาานนีี ตตาาบบลลชชาา้้ งงเเผผอือื กก ออาาเเภภออเเมมอือื งง จจงัังหหววัดดั เเชชียียงงใใหหมม่่ ปปรระะจจาาปปีี 22556633
เเดดอือื นน คไคไมม่า่า่เ่เเเกกฉฉินินลลี่ียย่ 11ฝฝ00ุนุน่่ ลละะอออองง คไคไมม่า่า่เเ่เเกกฉฉนิินลล่่ยียี 22ฝฝ..55น่นุุ่ ลละะอออองง ขขจจาาออนนงงคคววนนา่่าฝฝวว่่นุุนนันั ลลททะะ่เ่ีีเกกออนนิิออคคงงขขา่่านนมมาาาาตตดดรรPPฐฐMMาานน
ไไมมคครรออนน ((PPMM 1100)) ไไมมคครรออนน ((PPMM 22..55)) 22..55
มมกกรราาคคมม 6644 4433 77
กกมุมุ ภภาาพพันันธธ์์ 8866 5566 1166
มมนนีี าาคคมม 112244 9911 2255
เเมมษษาายยนน 9922 6655 1199
ททมีี่ม่ าา:: กกรรมมคคววบบคคมมุุ มมลลพพษิษิ ,, 22556633

122 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

5

จากปัญหาที่เกิดขึ้นผู้เขียนจึงขอเสนอและอธิบายประเด็น
ปัญหาท่ีเกิดขึ้น 2 แง่มุมด้วยกัน คือ 1. การจัดสถาบันในการบริหาร
จัดการทรัพยากรป่าไม้ของเมืองเชียงใหม่มีลักษณะเป็นเช่นไร และ
2. การเมืองวัฒนธรรมท่ีว่าด้วยข้อเรียกร้องเรื่องการจัดการทรัพยากร
ป่าและอากาศของเมืองเชียงใหม่มีลักษณะอย่างไร โดยนาวิธีวิเคราะห์
การเมืองวัฒนธรรม3มาใช้ในการอธิบาย ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจถึงอานาจ
ของในการจัดการทรัพยากรของท้องถ่ินที่ไม่ได้มาจากแหล่งเดียว
หากแต่มีประชาชน/ภาคประชาสังคมก็สามารถผลิตอานาจขึ้นมาผ่าน
วาทกรรมข้อเรียกร้องว่าด้วย “การจัดการทรัพยากรร่วม” ด้วยเช่นกัน
และเพอื่ ตอบคาถามว่า ข้อเรยี กรอ้ งต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาไฟป่าและ
หมอกควันน้ันมีความสัมพันธ์กับการกระจายอานาจหรือไม่อย่างไร ซ่ึง

3 การเมอื งวฒั นธรรม (cultural political) เป็นแนวการวเิ คราะห์ทใี่ หค้ วามสนใจ
คกก3 บัรกบั อากกบราาเรงรมาตตอืผอ่ อ่ งา่สสวน/ู้ ฒั/ู้ วกกาานาทรธรเกรเคครรลรลมื่อม่อื น(นcซไuไหงึ่ หlหวtวuทมทrาาaายงlงกถpกางึ oารกรเlามiเรtมือiผcืองลaงติlใ)นใสเนฐรปาฐา้ น็ นางแนะกนทะาวทเ่ีหปกีเ่นป็นาดรพน็ วพนื้เเิอคทนื้ กร่ขีทลาอ่ีขักะงอษหกงณท์ากรใ่ี์าหชอรว่คัต้ ชงลว่วชาักงงิ มชษกสงิณากนร์ าใจร
ใคหรค้ อวบางม�ำหผม่าานยวกาบัทสกรรรรพมสซิง่ ตง่ึ ห่างมาๆยใถนึงสกงั าครมผทลีห่ิตอ่สหร้าุม้ งเรกา�อำหยนู่ ไดม่วเา่อจกะลเปกั ษน็ คณว์ าอมัตรลู้ คกั วษาณม์
จใหริง้ควแาลมะหตวัมตานยกนับอสกรจราพกสวา่ิงทตก่ารงรมๆหในนง่ึ สๆังคยมงั คทอี่หย่อทหาุ้มหเนร้าทอีเ่ยกู่ บ็ ไกมด่ว/่าปจิดะกเปนั้ ็นมคิใหว้ามรู้
ความหจมรงิายแอลตัะลตกัวตษนณ์นแอลกะวจาทกกวารทรมกอรกีรมชดุหหนน่ึงึ่งๆปรยางักคฏอขย้ึนทห�ำหรอืนทา้ าทใ่เี หก้คบ็ วกาดม/หปมิดากย้ัน
อมน่ืใิ หๆ้ควหาามยหไปมจาายกอสัตงคลมักทษ่ดีณา์รแงลอะยวู่ ดาูเทพกม่ิ รเรตมิมอ:กี ไชชดุ ยหรตันน่งึ ป์ เรจารกิญฏโอขฬนึ้ าหรสรนิือท,�ำ“ใวหาค้ ทวาม
กหรมรามยกอบั นื่ กาๆรพหัฒานยาไป”,จนาก. ส1ัง9ค–มท20ีด่ �แำรลงะอปยรู่ ะดจเู พักษม่ิ เ์ ตกมิอ้ งก: ีรไตช,ิย“รแตั ลนะ์ คเจวราญิมเโคอลฬอื่ านรไสหนิ ว,
ก“เคป็วลารอ่ืทานกกฏไรห”รวม. กนกป็ับ. ร3กา2ากรฏพ”ัฒ. นนา.”3,2น. 19 – 20 และประจกั ษ์ กอ้ งกีรต,ิ “และความ

123การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

6

การนาวิธีวิเคราะห์น้ีมาศึกษาจะช่วยขยายพรมแดนทางความรู้
ในการศึกษาการปกครองท้องถิ่นท่ีพ้นไปจากการให้ความสาคัญ
เชงิ สถาบันด้วย

การจดั สถาบันในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรปา่ – อากาศ

การจัดสถาบันในการดูทรัพยากรป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่
สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ 1. นโยบายการจัดการป่าไม้ และ
2.หน่วยงานและองค์กรที่มีบทบาทในดูแลทรัพยากรป่าไม้ในระดับ
จ.เชียงใหม่

การบริหารจัดการในเชิงนโยบาย ประวัติศาสตร์การจัดการ
บริหารพื้นที่ป่าไม้ของรัฐไทยนับตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันมีลักษณะ
รวมศูนย์มาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากนโยบายในการจัดการป่าไม้ของ
รัฐที่ผ่านมา เมื่อสารวจจะพบ 3 นโยบายสาคัญ คือ (1) นโยบายป่าไม้
เช่น พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ. 2484 4 (2) นโยบายในการบริหารจัดการพ้ืนที่

4 อนั ทจี่ ริงแล้วการควบคุมปา่ ไม้เรม่ิ ตน้ ข้นึ ก่อนการประกาศ พรบ.ปา่ ไมใ้ นปี 2484
ก4อลนั่าวทคจี่ ือรงิ กแาลรว้ คกวาบรคมุวทบรคพัมุ ยปา่ กไมรปเ้ รา่มิ ไตมน้ไดขเ้นึ รกม่ิ อ่ตน้ กขาึ้นรปนรับะตกง้ั าแศตส่พม.รัย.บรัช.ปกา่ าไลมทใ้ น่ี 5ปโี 2ด4ย8ใ4น
ปกีลพ่า.วศค.2ือ43ก9ารไคดว้มบีกคารุมจทัดรตัพ้ังยการกมรปป่า่าไมไม้ ซ้ไดึ่งน้เรัย่ิมยตะ้นขขอ้ึนงกานรับจตัด้ังตแั้งตก่สรมปัย่ารไัชมก้คาือลทเพี่ ื่อ5
ผโดลยปใรนะปโยี พช.นศ์ใ.2น4ท3า9งเไศดร้มษกี ฐากริจจขัดอตง้ังชการตมิ ดป้ว่ายไมก้าซรึง่ เนปยัลยี่ ะนขพอ้ืนงปก่าไรมจใ้ ดั หต้เป้งั ก็นรม‘ทปุน่า’ไมแค้ ลือะ
ตเพอ่อื บผสลนปอรงะคโยวชานมใ์ ตน้อทงากงาเศรรขษอฐงกปจิ รขะอเงทชศาอตาิ ดณว้ ายนกิคารมเปดลัง่ยีนนั้นพจ้ืนึงปท่าาไใมห้ใ้ปห่าเ้ ปถน็ูกท‘ทาในุ ห’้
และตอบสนองความต้องการของประเทศอาณานิคม ดังน้ันจึงท�ำให้ป่าถูกท�ำให้

124 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

7

ป่าไม้ เชน่ พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ร.บ.ป่าอุทยาน ซง่ึ พ.ร.บ. เหล่าน้ี
ได้ทาหน้าท่ีกาหนดและแบ่งสรรพ้ืนท่ีป่าให้กลายเป็นพื้นที่ป่าของรัฐ
2 รูปแบบ คือ ป่าอนุรักษ์และป่าสงวน5 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์
และหวงแหนเอาไว้ โดยใชก้ ฎหมายควบคุม และต้ังหน่วยงานป่าไม้เข้า

กลายเป็นทรัพยากรของรัฐส่วนกลางไปเสีย ซึ่งปรากฎการณ์ท้ังหมดนี้เป็นผลพวง
มาจากต้นแบบวิทยาศาสตร์ปา่ ไมข้ องเยอรมันที่ระบบอาณานิคมอังกฤษใช้จดั การ
ป่าไม้ในประเทศโลกท่สี าม ดูเพมิ่ เตมิ : ปิน่ แก้ว เหลอื งอรา่ มศรี. “การเมอื งและการ
ผลิตความรู้ป่าไม้ในไทย. ในความรู้กับการเมืองเร่ืองทรัพยากร.”, 2548: น. 18 -
2ก0ลายเปน็ ทรพั ยากรของรฐั สว่ นกลางไปเสยี ซงึ่ ปรากฏการณท์ งั้ หมดนเ้ี ปน็ ผลพวง
ทไ5แ2มกท5าาใลานยงร4จะกปชไ8ากดา่วก:่าาร้งเไนตรรอมต.้นผิ่มน้ใ้น1นแลตุรท8บปิักต้นศษรบค-ขวะ์ปววึ้2รนเิทรา่0าทโษมเดยศมทรยาโือู้ลศป่ีไง2ดกา่าไ5้สรททไ1ับมตย่ีส0รเ้ใาอโน์ปมเดปาไ่ายช็นทดไทุดมตูเยพาแ้ข้น.ใิ่มนอมหใเงวาน้พตเคยิม้ืคนแิดอ:วทนนราวี่ปป้ีมจมค่าิ่นัานิรดกแกู้ทกเลกรสับา่ีร่ื้วอหยะกงเบรเพาปหัฐบรื้น็นลฯเอทพมือารี่กื้งนือณัฐาอทงรไราเ่ีททอร่าน่ีปน่ืยมอิคุลรศงไมักดทอรอษ้ี.กดรัง์ัใมาพ“กนหนกยฤปนุษาาษรรดกยใะเช์แแรมเท้จ.ลนือ”ัดศะงว,
ก5 าในรชใชว่ ้งสตอน้ ยทเศมว่ือรเรปษ็นทเี่ 2ช5่น1น0ี้จเึงปทน็ าตใน้หม้ราะ บแนบวนคิเดิวเศรอื่ ยงพู่จน้ืัดทแกบ่ี า่งรเปอน็ รุ กั“ษเขใ์ ตนป่ราะอเนทุรศักไทษย์”
แไดล้เะริ่ม“เตข้นตขรักึ้นษโด์พยันไธด์ุส้รตั ับวเป์ อ่าา”ชุดซึ่งแนนอวกคจิดานกี้จาะกมสีวัตหถรปุัฐรฯะสรงัฐคไเ์ทพยื่อไกดา้กร�อำหนนุรักดษแแ์นลว้วทายงั
เกปา็นรไอปนเุรพัก่ือษก์ปา่ารเสมรือ้างงไสทุนยทรโียดภยาทพ�ำใขหอ้พงปื้นรทะี่ปช่าากชลนาดย้วเยป็นโพดยื้นเทฉ่ีทพ่ีปาะลชอนดชมั้นนกุษลยา์แงลดะู
เสยแกพมััลงาิ่มเรปะปใเทชต็น“า้สิมไเนขปอ:”ตยเว.พรีรนักื่อเวม.ษกัธื่8อ์พาน6เรปัน์ ส-ธธ็นรีร9ุ์สเ้าชป0ัตง่นรวสนะ์ปุนสี้จ่าท”ึงารทธียซน�ำภ่ึใง์ หานแพ้รอละขกะบอจคบงานปกนอจริเ่ืนวะะศชมๆถาีว.ูกชัตจน“ถัดกุปดแา้รวบระยเส่งมเงโปืดอค็นยง์เพปเฉ่ือ“่าพกเไขมาาตะร้ไปอชท่านนยอุรชนักย้ันุุษรคกัก์หแลษลลา์”้วงัง
ดูเพิ่มเติม: วีรวัธน์ ธีรประสาธน์ และคนอื่น ๆ. “การเมืองป่าไม้ไทย ยุคหลัง
สัมปทาน”. น. 86 - 90

125การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

8

ไปกากับพ้ืนท่ีป่าไม้ ในแต่ละรูปแบบ ดังน้ันจึงทาให้มีหน่วยงานต่าง ๆ
ของรัฐเขา้ มากากับดูแลด้วยในระดับพ้ืนท่ดี ว้ ย

ในกรณีของจังหวัดเชียงใหม่ มีระบบการจัดการบริหารป่าไม้
โดยลักษณะของรัฐรวมศูนย์ แต่ไม่ได้เป็นเพียงรัฐรวมศูนย์ในรูปแบบ
ปกติ แต่กลับพัฒนาไปสู่ “รัฐรวมศูนย์แบบแยกส่วน” ท่ีพยายามขยาย
แขนขาของหน่วยงานในรูปรัฐส่วนกลางเข้าไปแทรกซึม เพื่อควบคุม/
บรหิ าร/จัดการท่ีดนิ และปา่ ไม้ในระดบั ภูมภิ าค และทอ้ งถ่นิ โดยสามารถ
พจิ ารณาไดจ้ ากภาพดังต่อไปน้ี

ภาพท่ี 1 ระดับหนว่ ยงานภายใตก้ รมป่าไมใ้ นการควบคมุ /จดั การพ้ืนท่ีป่า
จงั หวัดเชียงใหม่

ทีม่ า: ผเู้ ขยี น

126 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

9

ภาพท่ี 2 ระดับหนว่ ยงานภายใตก้ รมอทุ ยานในการควบคมุ /จดั การพ้ืนทป่ี า่
จังหวัดเชียงใหม่

ที่มา: ผู้เขียน

จากการสารวจหน่วยงานย่อยของกรมป่าไม้และกรมอุทยานใน
ระดับภูมิภาคและพื้นที่พบว่า หน่วยงานที่มีหน้าที่รักษาป่าไม้ภายใต้
สานักบริหารทรัพยากรป่าไม้ที่ 16 ท่ีมีหน่วยงานท่ีอยู่ในกากับถึง 24
หน่วยงานกระจายอยู่ในทุกอาเภอของจังหวัดเชียงใหม่ และหน่วยงาน

6 สานักจัดการทรพั ยากรป่าไมท้ ี่ 1 เป็นหน่วยงานป่าไมร้ ะดับภมู ภิ าคภายใต้กรม
ป6 า่สไ�มำน้ กั รจะัดทกราวรงทรัพยากกรรธปร่ารไมมช้ทาต่ี ิแ1ลเะปส็นิ่งแหวนด่วลยอ้ งมานที่เปพ่างิ่ ไถมกู ้รตะงั้ ดขับ้นึ ภหูมลังิภกาาครภายใต้
รกฐั รปมรปะ่าหไามร้ ปกี พระ.ศท.ร2ว5ง4ท9รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่เพ่ิงถูกต้ังข้ึนหลัง
การรัฐประหารปี พ.ศ. 2549

127การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

10

ที่อยู่ภายใต้สานกั บริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 16 มีหน่วยงานที่เปน็ อุทยานถึง
13 อทุ ยานแหง่ ชาติ

นอกจากน้ีมีหน่วยงานระดับส่วนกลางเข้ามาดูแลและจัดการ
ทรัพยากรแล้ว ยังพบหน่วยงานอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลทรัพยากร
ในจังหวัดอีกด้วย ได้แก่ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดกระทรวงทรัพยฯ ซ่ึงดูแลในระดับจังหวัด และ
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี 1 สังกัดกระทรวงทรัพยฯ เช่นเดียวกัน
แตเ่ ปน็ หนว่ ยระดับภาค (ดูแล 4 พ้ืนท่ี ได้แก่ เชียงใหม,่ เชียงราย, ลาพนู
และแม่ฮ่องสอน)

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใต้โครงสร้างรัฐเช่นน้ีจัดอยู่
ในรูปแบบรัฐรวมศูนย์แบบแยกส่วนซ่ึงเป็นผลมาจากการรวมศูนย์ของ
อานาจรัฐที่มากเกินไป (Tanet Charoenmuang. 2006: 178) นาไปสู่การ
หวงแหนอานาจจนกระท่ังสร้างสภาวะให้อานาจรัฐส่วนกลางเข้าไป
ควบคุมกากับความเป็นอยู่ของประชาชนและทรัพยากรทุกหนทุกแห่ง
รฐั รวมศนู ยก์ ไ็ ด้สร้างสภาวะการกากับและควบคุมทรัพยากร รวมถึงการ
ควบคุมประชาชนอยู่อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีรัฐกาหนดให้เป็นเขตป่าของรัฐ
ผ่านการสร้างหน่วยงานในระดับย่อยลงไปจากส่วนกลาง อันได้แก่
หนว่ ยงานระดับภูมภิ าค และหน่วยงานระดบั พ้ืนท่ี โดยมลี ักษณะสงั่ การ
ตามลาดับชั้นจากบนลงล่าง (Top - Down) (ดังท่ีได้อธิบายในภาพท่ี

128 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

11

1 และ2 ) ฉะนั้นลักษณะการจัดการและควบคุมเช่นน้ีจึงเท่ากับการไม่
เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีการปกครองตนเองและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรในพื้นท่ีของตนเอง เมื่อเป็นเช่นน้ีไม่เพียงแต่ส่งผล
กระทบต่อการจัดการทรัพยากรเท่านั้น หากแต่ยังทาให้เกิดการกดทับ
และการลดทอนอานาจของการปกครองท้องถิ่นและประชาชน
ในพื้นที่ในการจัดการทรัพยากรร่วม 2 ประการ ด้วยกัน โดยมี
รายละเอียด ดังน้ี

ประการท่ีหนึ่ง ผลกระทบที่เกิดต่อทรัพยากรธรรมชาติจาก
โครงสร้างแบบรัฐรวมศูนย์ แม้ว่าระบบการจัดการทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อมของจังหวัดเชียงใหม่จะมีหน่วยงานจานวนมาก แต่
หน่วยงานเหล่านั้นก็อยู่ภายใต้รัฐส่วนกลางที่พยายามสร้างหน่วย งาน
ย่อย ๆ เข้ามาดูแลระดับพ้ืนท่ีตั้งแต่ระดับภูมิภาคท่ีใช้จังหวัดเชียงใหม่
เป็นศูนย์กลางการควบคุมทรัพยากรของจังหวัดอ่ืน ๆ ที่อยู่ใกล้เคียง
ระดับจังหวัดซึ่งเป็นหน่วยที่ดูแลเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่ และ
หน่วยงานระดับอาเภอท่ีเป็นหน่วยย่อย ๆ แยกออกมาจากหน่วยงาน
ส่วนภูมิภาค ตามลาดับการบังคับบัญชา ดังที่ได้กล่าวแล้วในข้างต้นว่า
พบหน่วยงานมากกว่า 20 หน่วย ท่ีดูแลเร่ืองทรัพยากร แต่ก็ไม่เพียงพอ
ต่อจานวนป่าที่มาก ยกตัวอย่างเช่น การบริหารจัดการ/ควบคุมพ้ืนทปี่ ่า
ในอาเภอแม่แจ่มมีพื้นที่ป่า 3 รูปแบบ รวมแล้วมีพื้นท่ี 1.7 ล้านไร่
ประกอบไปดว้ ย

129การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

12

1. ปา่ สงวนแหง่ ชาติ จานวน 1,351,110 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 79.6
พื้นท่ีนี้มีหน่วยในระดับพื้นที่ภายใต้สังกัดสานักบริหารทรัพยากรท่ี 1
อยู่ 3 หน่วยงาน ได้แก่ หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ ชม.17, หน่วยป้องกัน
รกั ษาปา่ ท่ี ชม.18 และหน่วยป้องกนั รกั ษาปา่ ที่ ชม.19

2. ป่าอนุรักษ์ท่ีอยู่ในเขตป่าอุทยาน จานวน 317,773 ไร่ อยู่
ในความรับผิดชอบของ 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแม่โถ
อทุ ยานแห่งชาตอิ อบหลวง และอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

3. พ้ืนที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ทางราชการ จานวน 23,815 ไร่ หรือ
รอ้ ยละ 1.40 ซง่ึ เป็นพื้นทที่ ่ี อปท.สามารถเขา้ ไปดูแลประชาชนได้

แม้ว่าจะมีหน่วยงานกากับดูแลพ้ืนท่ีอย่างใกล้ชิด แต่หน่วยงาน
เหลา่ นก้ี เ็ ผชิญกับปญั หาคือ การมบี คุ คลท่ไี มเ่ พยี งพอต่อการดแู ลพื้นท่ีป่า
ข้อมูลจากคนในพื้นที่พบว่า แต่ละหน่วยมีคนเพียง 10 กว่าคนเท่าน้ัน
ดังน้ันจึงเกิดข้อจากัดของจานวนพื้นท่ีป่าที่มีมาก แต่หน่วยงานกลับขาด
แคลนบุคลากรในการดูแล ซึง่ เป็นอปุ สรรคและกลายเป็นข้อจากัดสาคัญ
ของการจัดการและควบคุมป่าในระบอบรัฐรวมศูนย์แบบแยกส่วน
ฉะนัน้ ปัญหาท่ีเกิดขึ้นกบั ทรัพยากรป่าไม้ก็เป็นปญั หาอันเน่ืองมาจากการ
ไม่ยอมกระจายอานาจจากส่วนกลางให้แก่ส่วนท้องถ่ินได้เข้ามีส่วนร่วม
ในการจัดการทรพั ยากรร่วมนน่ั เอง

130 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

13

ประการที่สอง การกดทับและการสูญเสียอานาจในการดูแล
ทรัพยากรของทอ้ งถนิ่ ผลจากการใชร้ ะบบรัฐรวมศูนย์แบบแยกส่วนใน
การจัดการทรัพยากรนาไปสู่การลด การกดทับ และการสูญเสียอานาจ
ในการดูแล/จัดการทรัพยากรของท้องถิ่น ทั้งที่เป็นในส่วนของ อปท.
และประชาชนในท้องถ่ิน ซึ่งการสูญเสียอานาจของการจัดการโดย
ท้องถิ่นเป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาให้การจัดการทรัพยากรร่วมล้มเหลวด้วย
อันเนื่องมาจากหนว่ ยงานราชการสว่ นกลางระดับพ้ืนท่ีหรอื อาเภอทีเ่ ป็น
สว่ นในลดอานาจของทอ้ งถนิ่ ในการจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้

จาการสัมภาษณ์ อปท. แห่งหนึ่ง ในพื้นท่ีอาเภอแม่แจ่มพบว่า
ท้องถิ่นมีความพร้อมในการจัดการทรัพยากรมากกว่า กล่าวคือ อปท.
เป็นองค์กรที่ผู้บริหารมาจากเลือกตั้งโดยประชาชน เม่ือเป็นเช่นนี้จึงทา
ใ ห้ ท้ อ ง ถ่ิ น มี ค ว า ม เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ท่ี ไ ด้ ม า ก ก ว่ า รั ฐ
ส่วนกลาง ทาให้ท้องถ่ินมีบุคลากรท่ีมากกว่ารัฐส่วนกลางในการดูแล
ทรัพยากร แม้ว่า อปท.จะมีความพร้อมด้านบุคลากร แต่อานาจจริงท่ี
ท้องถิ่นมีในการดูแลทรัพยากรกลับถูกจากัดอย่างมาก โดยเฉพาะใน
พ้ืนที่ท่ีเป็นเขตป่าสงวนและป่าอนุรักษ์ท่ีแม้ว่าจะมีประชาชนอาศัยอยู่7

7 นายอบต.กองแขก อาเภอแม่แจ่มได้ให้กล่าวถึงความยากลาบากเมื่ออปท.
ต7 ้อนงากยากรทอ่ีจบะตเข.ก้าไอปงดแูแขลกปอระ�ำเชภาอชแนมใน่แจพม่้ืนไทด่ที ใ้ หั้งใ้กนลเ่ารวอื่ ถงทึงค่เี กว่ียามวขย้อากงกลา�ำรบดาแู กลเมทอ่ืรพั อยปากทร.
แตลอ้ ะงกคาุณรภทาจ่ี พะเชขีวา้ ิตไปในดดแู ้าลนปอร่ืนะชๆาชนนั้นใเนปพ็นน้ื ไทปที่ด้งวั้ ใยนคเวรอ่ืามงทยเี่ากกยี่ ลวาขบอ้ างกกาเพรดรแูาละปทรรพัะชยาาชกนร
และคุณภาพชวี ติ ในด้านอ่นื ๆ น้ันเป็นไปด้วยความยากล�ำบาก เพราะประชาชน

131การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

14

และเป็นหมู่บ้านต้ังอย่างถูกต้องตามกฎหมายท้องที่แต่อานาจของ
ทอ้ งถ่นิ กลับไมส่ ามารถเข้าไปจดั การทรัพยากรในพืน้ ทเ่ี หลา่ น้นั ได้เลย

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างรัฐส่วนกลางและส่วน
ท้องถ่ินในเร่ืองการจัดการทรัพยากรธรรมชาติมีลักษณะท่ีรัฐส่วนกลาง
ได้สร้างสภาวะกดทับอานาจของท้องถ่ินโดยการใช้กลไกรัฐรวมศูนย์
แบบแยกส่วนเข้ามากากับ/ควบคุมทรัพยากรในท้องถ่ิน จนทาให้เกิด
การลดทอนอานาจของท้องถ่ินในการบริหารและจัดการดูทรัพยากรป่า
ไมใ้ นพืน้ ท่เี ขตปา่ สงวนและปา่ อทุ ยาน

วาทกรรมว่าด้วยข้อเรียกร้องการจัดการทรัพยากรร่วมของเมือง
เชยี งใหม่

แม้ว่าทรัพยากรป่าและอากาศจะมีหน่วยงานราชการที่เป็น
ทางการดูแลและจัดการทรัพยากรดังท่ีได้กล่าวไปแล้วในข้างต้น แต่

อยู่ในพื้นท่ีป่าของรัฐ จะพัฒนาพื้นท่ีก็ทามิได้ เพราะเงื่อนไขของการเป็นพ้ืนท่ี
อนยูุ่รในักพษ้ืน์อันทเี่ปป่า็นขวอัตงถรุปัฐรจะะสพงคัฒ์หนลาักพข้ืนอทงร่ีกัฐ็ท�แำมลิไะดห้ าเพกรอาปะทเง.ตื่อ้อนงไกขาขรอทงี่จกะาเรขเป้าไ็นปพดื้นูแทลี่
ทอนรัพุรักยาษก์อรันใดเปๆ็นวจัตะถตุป้อรงะขสองอคน์หุญลาักตขกอรงมรปัฐ่าไแมล้หะรหอื ากกรอมปอุทย.ตา้อนงกก่อานรเทท่ีจ่าะนเัน้ข้าเไมป่ือดเปูแ็ลน
เทชรน่ พั นยจี้ างึ กทราใใดห้ปๆรจะะชตาอ้ ชงนขทอีอ่ อานศญุ ยั อาตยกู่ในรพม้ืนปทา่ ไ่เี มหห้ลร่านอื กี้ไมรไ่มดอ้รทุบั ยกานรพกอ่ัฒนนเาททา่ ่ีเนกน้ัี่ยวเมกอื่ับเกปาน็ ร
เเชพน่่ิมนคจี้ณุ งึ ภทา�ำพใหชป้ีวติระทชด่ี าี ชนทอ่ี าศยั อยใู่ นพน้ื ทเ่ี หลา่ นไ้ี มไ่ ดร้ บั การพฒั นาทเ่ี กย่ี วกบั การ
เพมิ่ คุณภาพชีวิตทีด่ ี

132 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

15

อย่างไรก็ดี ทรัพยากรป่าไม้และอากาศล้วนแล้วแต่เป็น
ทรัพยากรร่วมท่ีมีขอบเขตของผู้ใช้ทรัพยากรท่ีกว้างขวางอย่างมาก
ฉะนนั้ เม่ือเกิดความเสียหายหรือความเส่ือมโทรมต่อทรัพยากรร่วมแล้วก็
ทาให้ผู้ใช้ทรัพยากรได้รับผลกระทบตามมาด้วย ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบ
ท่ีเกิดจากความเสื่อมโทร มของป่าไม้กร ะท่ังส่งผล ให้เกิดมลภาว ะ ใน
อากาศ เช่น เมื่อมีไฟป่าก็ส่งผลให้เกิดหมอกควันข้ึน จากผลกระทบ
ดังกล่าวทาให้รูปแบบการจัดการทรัพยากรร่วมนั้นเปล่ียนแปลงอัน
เน่ืองมาจากการมีตัวแสดงท่ีเพิ่มไปจากรัฐและชนบทที่เก่ียวข้องกับการ
ใช้ทรัพยากรร่วม น่ันหมายถึงว่า การจัดการทรัพยากรร่วมเป็นสง่ิ ที่ต้อง
ทาความเขา้ ใจมากกวา่ การอธิบายเรอื่ งการจดั การเชงิ สถาบัน แต่อธิบาย
ไปถึงตัวแสดงอ่ืน ๆ ที่พยายามเข้ามาจัดการทรัพยากรร่วมหรือผู้ใช้
ทรัพยากรร่วม ท่ีผลิตอานาจของตัวเองข้ึนผ่านการใช้อานาจท่ีมาจาก
แหล่งอน่ื นนั่ คือ วาทกรรมและการครอบงา (Steven Lukes, 2005) ซง่ึ
เป็นการอธบิ ายที่มากกว่าเรื่องอานาจเชิงสถาบนั ทีม่ าจากสว่ นกลาง เพ่ือ
เข้าใจอานาจที่หลากหลายในเร่ืองการปกครองท้องถ่ินที่ไม่ใช่แค่เพียง
อานาจแหล่งเดียว และเข้าใจอานาจการต่อสู้และต่อรองจากอานาจอ่ืน
ในการจดั การทรัพยากรร่วมในท้องถนิ่

เมืองเชียงใหม่ปัจจุบันกาลังเผชิญกับปัญหาการใช้ทรัพยากร
ร่วมอย่างมาก โดยเฉพาะปัญหาไฟป่า และหมอกควันท่ีเกิดข้ึนเป็นประจา
ทุกปี ซึ่งมีความรุนแรงนับตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา (มงคล รายะนาคร,

133การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

16

2553) และปัญหาน้ีก็ดาเนินต่อเน่ืองเร่ือย ๆ มา ไม่ได้มีการแก้ไขปัญหา
อย่างจริงจังในระดับหน่วยงานของรัฐ เม่ือเป็นเช่นน้ีก็ทาให้ผู้ใช้
ทรัพยากรร่วมได้มีความพยายามเข้ามาจัดการปัญหาร่วมกับภาค
ราชการเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ ดังจะเห็นได้จากบทบาทของบุคคลสาคัญ ๆ
เช่น บทบาทของ นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ ท่ีพยายามเรียกร้องให้
ภาครัฐแก้ไขปัญหา บทบาทการเรียกร้องของกลุ่มคนในเมืองชูป้ายเชิง
สัญลักษณ์ท่ีมีข้อความว่า “ห้ามเผา” บทบาทของสภาลมหายใจที่
พยายามขับเคลอ่ื นเรอ่ื งอากาศสะอาด บทบาทของกลมุ่ คนทไ่ี ดก้ ล่าวไป
นั้นเป็นบทบาทของกลุ่มคนในเมืองท้ังส้ินที่พยายามเรียกร้องปัญหา
ทรัพยากรรว่ ม อันสะทอ้ นการใช้อานาจที่ไม่เป็นทางการในการต่อสู้ –
ต่อรอง ในรูปแบบวาทกรรม ซึ่งเป็นหนึ่งลักษณะของการเ มือง
วัฒนธรรมท่ีปรากฏข้ึนในท้องถ่ิน และเป็นส่วนหน่ึงของการเมือง
ท้องถิ่นเรื่องการจัดการทรัพยากรด้วย เพ่ือได้มาซ่ึงอากาศสะอาด
ของเมือง ฉะนนั้ ในหัวขอ้ น้ีจะเป็นการอธิบายมติ เิ ชิงอานาจที่หลากหลาย
ในการจัดการทรัพยากรร่วมท่ีมากกว่าการอธิบายเพียงเรื่องสถาบัน
การอธิบายอานาจในลักษณะนี้จะทาให้การศึกษาการปกครองท้องถ่ิน
น้นั ขยายพรมแดนของความรูใ้ ห้กวา้ งขวางมากขึน้

ในช่วงทศวรรษที่ 2550 เป็นต้นมา เราจะพบการลุกขึ้นมา
เรียกร้องของประชาชนจากหลายภาคส่วน เช่น องค์กรภาคประชา
สังคม กลุ่มนักวิชาการ และกลุ่มแพทย์ ท่ีต่างเข้ามามีบทบาทในการ

134 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

17

เรียกร้องเร่ืองคุณภาพอากาศที่ผ่านมา ซ่ึงบทบาทท่ีเด่นชัดท่ีสุดในรอบ
ทศวรรษทผ่ี ่านมาคือ บทบาทของสภาลมหายใจ8 เมอื่ พจิ ารณาจากกลุ่ม
เหล่าน้ีเราจะพบว่า ภาคส่วนท่ีเข้ามามีบทบาทในการเรียกร้องคร้ังนี้
ประกอบไปด้วย ภาคส่วนของชนช้ันกลางที่อยู่ในเมืองมากกว่าภาค
ส่วนของชนบท ฉะน้ันจึงสามารถกล่าวได้ว่า ข้อเรียกร้องเหล่าน้ีเป็น
ข้อเรียกร้องและการต่อสู้ของคนในเมืองมากกว่าภาคชนบทด้วย และ
บทบาทต่าง ๆ ของชนชั้นกลางในเมืองจากหลากหลายภาคส่วน
ซ่ึงผู้เขียนได้รวบรวมเอาวาทกรรมว่าด้วยข้อเรียกร้องต่าง ๆ ของภาค
เมืองที่มีต่อการจัดการทรัพยากรร่วมซ่ึงมี 3 ข้อเรียกร้องด้วยกันโดยมี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

ประการแรก ข้อเรียกร้องว่าด้วยการเปล่ียนนโยบายจาก
zero burning ไปสู่ Fire management สภาลมหายใจเป็นภาค
ประชาสังคมแรก ๆ ที่ได้มีบทบาทในการเรียกร้องค่าอากาศจากภาครัฐ
ให้แก้ไขปัญหา โดยได้ชี้ให้เห็นถึงความล้มเหลวของรัฐในการแก้ไข
ปัญหาท่ีผ่านคือ นโยบาย Zero-burning ที่รัฐปฏิบัติใช้มาโดยตลอด

8 กลุ่มสภาลมหายใจเป็นกลุ่มที่ได้รวมเอาหลาย ๆ กลุ่มเข้ามามีบทบาทในการ
เ8รกียลกมุ่ รส้อภงเาชลิงมขห้อาเสยนใจอเปเรน็ ่ือกงลไฟมุ่ ปท่าไี ดแร้ลวะมหเมออาหกลคาวยันตๆ่อกภลามุ่ คเขรัฐา้ มไาดม้แบี กท่ กบลาุ่มทภในากคาปรรเระยีชกา
สรอ้ังคงเมชงิกขลอ้ ุ่มเธสุรนกอิจเรกอ่ื ลงุ่มไฟนปักา่วแิชลาะกหารมอเปก็นคตวนั้ ตซอ่ ่ึงภเมา่ืคอเรรฐั าไพดิจแ้ ากร่ณกลามุ่จาภกากคลปุ่มรเะหชลา่าสนงั ้เีครมา
จกะลพุ่มบธุรวก่าิจภากคลสุ่ม่วนนักทวี่เิชขา้ กมารมีบเปท็นบตาท้นในซก่ึงาเมรื่อเรเียรากพร้อิจงาครรณ้ังานจ้ีปารกะกกลอุ่มบเหไปลด่า้วนย้ีเรภาจาคะ
สพ่วบนวข่าอ ภงชาคนสชว่ั้นนกทลาเ่ี ขง้าทมอี่ ายม่ใู นบี เทมบือางทมใานกกกาวรา่ เภรายี คกสรว่อ้ นงขคอรงง้ั ชนนี้ปบระทกอบไปดว้ ย ภาคสว่ น
ของชนชน้ั กลางทอ่ี ยใู่ นเมืองมากกว่าภาคสว่ นของชนบท

135การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

18

นับต้ังแต่ปี 2556 แม้ว่าจะมีนโยบายที่จดั การกับปัญหาไฟปา่ และหมอก
ควันแต่ก็ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ และปัญหายังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ือง
(พิจารณาได้จากตารางที่ 1) เม่ือเป็นเช่นน้ี ภาคประชาชนสังคมกลุ่ม
ดังกล่าวจึงพยายามที่จะเสนอทางออกที่พ้นไปจากการแก้ไขแบบเดิม ๆ
ของรัฐ นั่นคือ เน้นการแก้ไขปัญหาในรูปแบบของการจัดการไฟ Fire
management9 โดยได้ช้ีถึงข้อเท็จจริงของความล้มเหลวในการปฏิบัติ
ใช้นโยบาย Zero – burning10 การเปล่ียนวิธีการไปสู่การจัดการไฟ

9 การจัดการไฟ (Fire management) คือ วิธีการจัดการกับเช้ือเพลิง และ
อนุญาตให้มีการเผาได้ในพื้นที่ป่า เพ่ือท่ีจะลดเชื้อเพลิง ป้องกันไม่ให้เกิดไฟป่า
ห9 รกือาปร้อจงัดกกันาเรมไ่ือฟเก(ิดFไirฟeป่าmเกaิดnขaึ้นgeแmล้วeไnม่tใ)ห้ลคุกือลาวมิธอีกยา่ารงจรัดวกดาเรร็วกับซเช่ึงื้อแเตพกลติง่างแจลากะ
กจกเไซใอเจหพพดหัด่อาาึ่นงรจ้ิ่มิม่กรไ้เใกือุญกามหหเมกาปตกิาด่ก้เ้าาาริกม้ตอกกรม่เอ:ิดชใงหขาเใh:หื้กอผกหร้าึ้นtส้มาเาันtมจ้เภพpรกีกัเดดเ(กาผลsมZิดาูเกล:าิางพร่ื/อeกาจ มซ/เrิ่มเารผbัด(oหึ่งกZรเเาrอเตชาิดกeชebไายมิ้ือไ�ดa้ือruำจใฟoจtเ้ใเrจจhพพ:นnัดป.ะcbลลiพสเ่าn“ทoชuงิิงภ้ืนเดgu้ืาอซกr)วาท่าnใnเึ่ิงดลิธหคนพี่ปicอnีเขมื้อเสiลช่าาlกgึ้นหา. ิ่นงจ)oิกดคาแเนจrาไพยคัญวลgฟี้เะรใือิ่ือ/ธป้วจไทปีเ‘ทมไน็ ช.เ่�ากมี่ำชจ่อป่นใใ“า่ใีะยนนหัญนรดหลงุอญไ้เา่ี้เหใ้ลดมกปนนหาาุกเิอ่ด็านตสชมอลนไค�ื้ใปอ่ยโฟำาหญุมตค่าเัญมปพเ้เมงัญาดกมหอ่ลีาคตลิดายใาิงวใ‘’ไนกหอเ่าาฟชปเอม้เยงเกียกปพร้นอร่าิดงิด่าวุนงรงาใไใไดมกาหแคดนฟะเาันรมต้หปรปไกงไโ่ ็มมวร่า่ามเมือพี่กคใเ่ใเปนซไพ่ดอิ่หวมมิดึ่ปงใลารม้เ่?หแปกมา่า’า” เ้ติด่ะารกกเปเกไุไนกขดิ ขซมฟิดติดึ้แนก้าึ่ง่กปป่รไาถไา่ดอ่มาด่างงรึง ้ ู่
1ห0รกือาไมรใ่?ช”้นเขโา้ยถบึงาไดย้จZากero: hbtutprns:in//gbไrดea้สt่งhผcลoกuรnะcทil.บorหgล/ ายด้าน เช่น ส่งผลต่อ
เ1ก0 ษกตารรกใชรใ้นนโพยื้นบทายโ่ี ดยZไeปrขoัดขbวuาrงnกinารgจัดไดก้สา่รงผวัชลรกพรืชะใทนบพหื้นลทา่ี ยกดรณ้านีเช่นเชใ่นไรส่ข่งา้ผวลโตพ่อด
กเกาษรตปรกะรกใานศพใื้นช้ทนโี่ ดยยบไาปยขดดั ังขกวลา่างวกทาารใจหดั ้เกกาษรตวชัรพกรืชผในู้ปพล้นืูกทข้า่ี กวรโพณดเี ชไมน่ ่สในาไมรา่ขร้าถวทโพี่จดะ
จกากรัดปวรัชะรกโาดศยใกชา้นรโเยผบาใานยไดร่ปังกกลต่าิ เวพทร�าำใะหก้เลกัวษวต่ารจกะรมผีคู้ปวาลมูกผขดิ ้าวทโาพใดหไ้พมว่สกาเขมาเรลถือทก่ีจไปะ
เจผ�ำากในัดพวัช้ืนพทื่ีปชโา่ ดใกยลกเ้ าครียเงผแาลใะนใไหร้ล่ปากมตเขิ ้าเมพารไาระ่แกทลนัวซวึ่งาวจิธะีกมาีครดวังากมลผา่ ิดวไดท้ส�ำ่งใผหล้พใวหกพ้ เนื้ขทา่ี
เเสลยีือหกาไยปเ2ผพาใน้ื นทพ่ี คื้นอื ท่ี1ป.่าพใกนื้ ลท้เป่ี คา่ ียแงและละ2ใ.พหื้น้ลทามไี่ รเ่ขข้า้าวมโาพไดร่แทน ซ่ึงวิธีการดังกล่าว
ไดส้ ง่ ผลใหพ้ น้ื ทีเ่ สียหาย 2 พ้นื ท่ี คือ 1. พืน้ ท่ปี า่ และ 2.พ้ืนทไี่ รข่ า้ วโพด

136 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

19

หรือให้สามารถมีไฟในพื้นท่ีได้ โดยเป็นการจัดการกับเชื้อเพลิง เพื่อ
ป้องกันไม่ให้มีเชื้อเพลิงในป่ามากจนเกินไป และเพื่อป้องกันเม่ือไฟป่า
ไม่ให้มีการลุกลามและมีความรุนแรง จากข้อเรียกร้องนี้ของภาคประชา
สังคมนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายของจังหวัดจาก Zero burning
ทใี่ ช้มาต้งั แต่ ปี 2556 ไปสู่ fire management ในปี 2564 ซึ่งเป็นการ
ต่อสู้และตอ่ รองเพ่ือใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงเชิงนโยบาย

แม้ว่าภาคเมืองจะมีข้อเรียกร้องเร่ืองการจัดการไฟป่าท่ีช่ือว่า
“เชียงใหม่โมเดล” ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น โดยการดึงชุมชน
และ อปท. เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ภายใต้หลักการการ
จัดการไฟ หรือ Fire management การมีส่วนร่วมในลักษณะเช่นนี้ดู
เหมือนว่าจะทาให้เกิดการกระจายอานาจ11 อย่างไรก็ตาม วิธีการของ
เชียงใหม่โมเดลน้ีมิได้เป็นการให้อานาจท้องถ่ินได้มีการอานาจในการ
ตัดสินใจเอง แต่กลับต้องอยู่ภายใต้การกากับและควบคุมจากราชการ
สว่ นภูมภิ าคและจังหวัด ซง่ึ นน่ั เท่ากบั ว่าท้องถิ่นมิได้มีอานาจท่ีแท้จริงใน
การตัดสินใจ

11 กระบวนการการมีสว่ นร่วมของท้องถิ่นภายในการจัดการไฟคอื การให้ท้องถน่ิ
แ11ตก่ลระะทบ้อวงนถก่ินามรแี กผานรกมาสี ร่วจนดั รก่วามรขทอรงพั ทย้อางกถร่นิ แภตาก่ ยรใะนนกัน้ ากร็ตจาดั มกอาารนไฟาจคกือากรตารดั ใสหิน้ทใ้อจแงถผ่นิ
นแ้นัตว่ลา่ะจทะ้อถงกู ถอ่ินนมมุ ีแตั ผิหนรกือาไมร่จเัดปก็นาอราทนราัพจขยอางกสรว่ นแภตูม่กภิระาคน้ันไดก้แ็ตกา่มออา�เำภนอาแจลกะาจรังตหัดวสัดินใจ
เแปผ็นนหนล้ันกั ว่าจะถูกอนุมัติหรือไม่ เป็นอ�ำนาจของส่วนภูมิภาค ได้แก่ อ�ำเภอและ
จังหวดั เปน็ หลัก

137การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

20

ประการที่สอง ข้อเรียกร้องว่าด้วยเรื่อง การเปลี่ยนทาง
การเกษตรในชนบท กลุ่มของชนช้ันกลางในเมืองและภาคประชาสังคม
ส่วนหนง่ึ ท่มี ีข้อเรยี กร้องต่อชนบทน่ันคือ อยากให้ชนบทเปลย่ี นแปลงวิถี
การเกษตร12 จากข้อเรียกร้องดังกล่าวเกิดมาจากความเข้าใจของคนใน
เมอื งทวี่ า่ การเผามาจากไร่ข้าวโพดในชนบท เมื่อเป็นเช่นนก้ี ท็ าให้คนใน
เมืองมองไปถึงการแก้ไขปัญหาโดยการเปลี่ยนจากปลูกพืชเชิงเด่ียวไปสู่
พืชท่ีย่งั ยนื เพ่อื ท่จี ะไม่กระทบตอ่ อากาศ เช่น ปลกู สวนผลไม้ ลาไย ล้นิ จ่ี
ปลูกไม้สัก ฯลฯ (BBCไทย, 2562)

ประการท่ีสาม “ข้อเรียกร้องว่าด้วยการเปลี่ยนผู้ว่าราชการ
จังหวดั ” จากปัญหาที่ผา่ นมาทาให้มีการเรยี กร้องเรื่องการเปล่ียนแปลง
“ผู้ว่าราชการจังหวัด” โดยการล่ารายชื่อเพ่ือขอเปล่ียนผู้ว่าราชการ
ผ่านเว็บไซต์ Change.org ร่วมลงชื่อเปล่ียนผู้ว่าฯ ซึ่งภาคเมืองได้
วจิ ารณ์การทางานทลี่ ้มเหลวในการแกไ้ ขปัญหาหมอกควันและไฟป่า

12 เม่ือวันที่ 2 เมษายน 2562 มีประชาชนกลุ่มหน่ึงได้รวมกลุ่มเรียกร้องการแกไ้ ข
จ12าเกมภื่อาวคนั รทัฐี่ 2โดเยมชษปู า้ายยนท2มี่ 5ีข6อ้ 2ควมาปี มร“ะไชดา้โชปนรกดลยุม่กเหลนกิ ึง่นไโดย้รบวามยกปลลมุ่ กู เรขยีา้ วกโรพอ้ ดงภกาาครแเหกน้ไขอื
4จาลก้าภนาไครร่”ฐั “โดพยวชกปูเรา้ ายไทมม่ีเอขี าอ้ หคมวอามกค“วไันดโ้ ปรดยหกยเุดลกิ านรโเยผบาา”ยเปพล่ือกู ทข่ีจา้ ะวใโพห้ภดภาคาครัฐเหทนวอืน
น4โลย้าบนาไยรส”่ ่ง“เสพรวิมกกเารราปไมล่เกูอขา้าหวมโอพกดคแวลนั ะโกปลรา่ดวหวย่าุดทกุกาครเนผตา่า”งเทพรือ่ าทบ่จีวะ่าสใหิ่งน้ภ้เีาปค็นรปฐั ทัญวหนา
ขนอโยงบหามยอสกง่ คเสวรันมิ กดาูเรพป่ิมลเกู ตขิมา้ ไวดโพ้จาดกแล: ะผกู้จลัดา่ กววาา่ร อทอกุ นคไนลตนา่ ์.งท(2รา5บ6ว2า่).สง่ิคนนเ้ี ปเชน็ ียปงญั ใหหมา่
เขดอืองดหรม้ออนกวคิกวฤันตหดมูเพอ่ิกมคเตวิมันไดบ้จุกาหก้อง:ปผรู้จะัดชุกมา“รอลุองตนู่”ไลจนี้เ์.ร่ง(แ2ก5้-6ป2ร).ะกคานศเภชียัยงพใิบหัตมิ.่
RRเดeeือttrrดiieeรvv้อeeนddวิกffrrฤooตmmหมhhอtttกtppคss:ว/:/ัน//mmบggุrกorหon้อnliงlniปneรe.cะ.coชomุมm/“l/olลocุงacตla/ู่”ld/deจte้ีเaรti่งal/แil9ก/69้-2ป602ร00ะ00ก00า00ศ30ภ23ัย42พ542ิบ5ัต2ิ.

138 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

21

นอกจากการตั้งเว็บไซต์เพ่ือกดดันให้เกิดการเปลี่ยนผู้ว่าฯ แล้ว
ยังคงจะเห็นวาทกรรมอีกชุดหนึ่งคือ วาทกรรมว่าด้วยเรื่องการเรียกรอ้ ง
ให้นายกออกมาแก้ไขปัญหา เช่น มีการชูป้ายท่ีเขียนข้อความว่า “Help
Pls ลุงตู่คะช่วยพวกเราด้วย ลุงตู่เท่าน้ันท่ีช่วยเราได้ค่ะ” จากข้อเรียกร้อง
ดังกล่าวก็ได้สะท้อนด้วยเช่นกันว่า ไม่มีการเรียกร้องถึงการแก้ไข
ที่มาจากส่วนภาคของการกระจายอานาจหรือ อปท.เลย ซึ่งสะท้อน
ด้วยเช่นกันว่าภาคประชาชนในเมืองก็ไม่ให้ความสนใจกับการแก้ไข
ปัญหาท่มี าจากภาคทอ้ งถิ่น

จากข้อเรียกร้องต่าง ๆ สามารถสรปุ ได้ว่า ข้อเรียกร้องของภาค
เมืองมี 3 ประเด็นหลัก ๆ คือ 1.เปล่ียนนโยบาย 2.เปลี่ยนผู้ว่าฯ และ
3.เปล่ียนวิถีการเกษตร เมื่อเป็นเช่นน้ีสิ่งท่ีจาเป็นต้องวิเคราะห์ต่อไปคือ
วาทกรรมว่าด้วยข้อเรียกร้องเหล่าน้ีได้กดทับ/ซ่อนเร้นวาทกรรมว่าด้วย
ข้อเรียกร้องอ่ืน ๆ และวาทกรรมว่าด้วยเรื่องการกระจายอานาจหรือไม่
อย่างไร และข้อเรียกร้องเหล่าน้ีส่งผลอย่างไรต่อความเป็นไปของการ
กระจายอานาจ

139การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

22

ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจายอานาจและขอ้ เรยี กร้องวา่ ด้วย
การจัดการทรัพยากร

ดังท่ีผู้เขียนได้อธิบายข้อเรียกร้องต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการ
จดั การทรัพยากรไปแลว้ ตอ่ มาจะขออธิบายเพอื่ ให้เข้าใจว่า ข้อเรยี กร้อง
เหล่านี้มีความสัมพันธ์อย่างไรกับการปกครองท้องถิ่นและการกระจาย
อานาจ และเพื่อตอบคาถามว่า ข้อเรียกร้องเหล่านี้ส่งเสริมให้เกิด
การกระจายอานาจหรือกดทับอานาจของท้องถิ่นกันแน่ โดยจะแบ่ง
หัวขอ้ ในการอภิปราย ดงั น้ี

1) การลดทอนการปกครองท้องถ่ินผ่านวาทกรรมว่าด้วย
“ข้อเรียกร้องในการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า”
ของภาคเมือง

แม้ว่าบทบาทของกลุ่มคนในเมืองจะเข้าใจความล้มเหลวของ
ระบบการจัดการทรัพยากรในรูปแบบรัฐรวมศูนย์ก็ตาม และพยายาม
เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการด้วย เช่น การเข้าใจความล้มเหลวของ
Zero burning อันเป็นนโยบายที่ให้อานาจแก่รัฐส่วนกลางและภูมิภาค
ในการดูแลป่าไม้ จนนาไปสู่การต่อรองเพื่อเปลี่ยนนโยบาย หรือการ
เรียกร้องขอเปลี่ยนผู้ว่าฯ แต่กระน้ันก็ตาม เรายังไม่พบข้อเรียกร้องท่ี
เกี่ยวข้องกับ “การเปลี่ยนหรือการถ่ายโอนอานาจในการจัดการ
ทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น” หากแต่ภาคประชาสังคมกลับให้ระบบการ

140 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถ่ินในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเด็นและความท้าทาย

23

จัดการทรัพยากรในรูปแบบเดิม ซ่ึงไม่ได้เป็นการเรียกร้องถึงการ
เปลี่ยนแปลงเชิงอานาจ เม่ือเป็นเช่นน้ีจึงสะท้อนด้วยว่า บทบาทของ
ภาคประชาสังคมก็ไม่ใช่ข้อเรียกร้องที่ว่าด้วยเร่ือง “การกระจาย
อานาจ” แต่กลับยอมให้รัฐรวมศูนย์ได้ดาเนินการต่อไปในการจัดการ
ทรพั ยากรร่วม

2) อัตลักษณท์ ่ีถกู ยดั เยยี ดให้ชนบท

นอกจากการลดทอนอานาจของท้องถ่ินผ่านวาทกรรมการจัด
การในรูปแบบรัฐรวมศูนย์แล้ว ภาคเมืองเหล่านี้ยังพยายามยัดเยียด
อัตลักษณ์ของการเป็นผู้ทาลายทรัพยากรธรรมชาติให้แก่ชนบทได้
กลายเป็น “ผู้เผาป่า” จนทาให้เกิดมลพิษในเมือง ลักษณะการยัดเยียด
ความเป็นผู้ร้ายให้แก่ชนบทได้นาไปสู่การแบ่งภาคส่วนในเรื่องการ
จัดการทรัพยากรเป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ ภาคเมืองและภาคชนบท
เม่ือเป็นเช่นน้ีจึงสะท้อนความขัดแย้งและความแตกแยกระหว่างเมือง
กบั ชนบทดว้ ย

3) การกีดกันประชาชนในท้องถิ่นในการมีส่วนร่วมเชิงการ
กาหนดนโยบาย

จากความแตกแยกและความขัดแย้งที่เกิดข้ึนน้ัน ทาให้ผู้คนใน
เมืองไม่ได้ให้ความสนใจกับชนบทเลย ท้ังการกดทับชนบทผ่านวาท
กรรมที่ทาให้ชนบทถูกทาให้เป็นผู้ร้าย เมื่อเป็นเช่นน้ีทาให้ภาคชนบท

141การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ

24

ไม่ได้ถูกนับเป็นผู้มีส่วนได้เสียกับการกาหนดนโยบายในการแก้ไข
ปัญหา แม้ว่าปัญหานั้นจะเกิดในพื้นท่ีของชนบทก็ตาม ซึ่งสะท้อนถึง
การกดทับและลดทอนอานาจของท้องถิ่นท่ีมากข้ึนไปอีก โดยเฉพาะ
ประชาชนในชนบท ท่ีถูกกดทับผ่านวาทกรรมว่าด้วยการเผาแล้วยังถูก
กดทับเชิงการกดี กันไม่ใหพ้ วกเขาเขา้ ไปมบี ทบาทเชิงนโยบาย

จากการอธิบายมาทั้งหมดถึงการแก้ไขปัญหาทรัพยากรร่วม
ในจังหวัดเชียงใหม่ จะเห็นได้ถึงปฏิสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างตัวแสดง
ท้ัง 3 ภาคส่วนหลัก ๆ คือ ภาครัฐ ภาคเมือง และท้องถิ่นหรือชนบท
ภายใต้ความสัมพันธ์เชิงอานาจท่ีไม่เท่าเทียมกัน ท้ังภาครัฐและชนบทที่
มีอานาจมากในการจัดการทรัพยากรร่วม ในขณะท่ีท้องถ่ินท้ังเป็น
ประชาชนในชนบทและ อปท.นั้นแทบจะไม่มีอานาจในการจัดการ
ทรัพยากรเลย เม่ือเป็นเช่นน้ีจึงไม่ได้ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่าง
ภาคส่วนข้ึน ซึ่ง อปท.เป็นตัวแสดงท่ีถูกกีดกันออกไปจากระบบการแก้ไข
ปัญหา ซ่ึงสภาวะกีดกันอานาจของประชาชนและ อปท.ในการมีส่วนร่วม
ตอ่ การดูแลทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถ่ินเช่นน้ี ย่อมสง่ ผลต่อการพัฒนา
ประชาธิปไตยในทอ้ งถนิ่ ดว้ ยเชน่ กนั

142 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕
ท้องถิ่นในรอบ ๑๒๔ ปี (พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕)ประเดน็ และความท้าทาย

25

สรุป

บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการ
ทรัพยากรร่วมกับ อปท.ว่าท้องถ่ินนั้นได้เผชิญกับการกดทับเชิงอานาจ
ในการจัดการทรัพยากรอย่างไร โดยการอธิบายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
หลัก ๆ คือ 1. การลดทอนอานาจของ อปท.จากรัฐรวมศูนย์ในการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยใช้ระบบรัฐรวมศูนย์
แบบแยกส่วนทั้งใน 3 ระดับคือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และระดับพื้นที่
ท่ีเป็นหน่วยงานเข้ามากากับดูแลและยึดครองทรัพยากร ทั้งหมดไว้ที่
ส่วนกลางซ่ึงเต็มไปด้วยข้อจากัด ระบบเช่นนี้ลดทอนอานาจของ อปท.
หลายด้าน ไม่เพียงแต่ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
เท่าน้ัน แต่ยังลดทอนบทบาทของ อปท.ในการพัฒนาท้องถ่ิน อันเป็น
สิ่งท่ีข้องเก่ียวกับความเป็นอยู่ของประชาชน และ 2.การลดทอนอานาจ
ของ อปท.จากชนชน้ั กลางในเมอื งผ่านวาทกรรมวา่ ด้วยเร่อื งข้อเรียกร้อง
ต่อสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควัน ซ่ึงแม้ว่าจะมีบทบาทในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นเชิงข้อเรียกร้องอยา่ งมาก แต่ข้อเรียกรอ้ งเหล่าน้ัน
ก็ปราศจากการข้อเรียกร้องที่ว่าด้วยเร่ือง “การกระจายอานาจ” และ
ใช้รัฐรวมศูนย์ในการแก้ไขปัญหาต่อไป ซึ่งจากข้อเรียกร้องดังกล่าว
ก็สะท้อนด้วยว่าชนชั้นกลางไม่ได้สนใจเร่ืองประชาธิปไตยในระดับท้องถ่ิน
เช่นกัน และปฏิสัมพันธ์เชิงอานาจเช่นนี้ทาให้ อปท.และประชาชน

143การปกครองท้องถ่ินกับมติ ิการบรหิ ารจดั การ


Click to View FlipBook Version