มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 49 แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ปรัชญา สร้างพลังปัญญาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นชายแดนใต้ วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์การบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 – 2569) ก�ำหนดไว้ดังนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คลังปัญญาแห่งชายแดนใต้ เป็นเลิศในการ พัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืนสู่สากล หมายถึง ในระยะ 4 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2566 – 2569) มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เป็นแหล่งสร้างสรรค์ ผลิต รวบรวม เผยแพร่ องค์ความรู้ ภูมิปัญญา ผล วิจัย นวัตกรรม ความเชี่ยวชาญ มีความเป็นเลิศด้วย ต้นแบบที่ดี (Best Practices) ที่สามารถน�ำไปขยายผลสู่การพัฒนาพื้นที่ในชุมชนท้องถิ่น
รายงานประจ�ำปี 2566 50 ตรงตามความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ตามกรอบ เป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ของโลก ตามที่องค์การสหประชาชาติก�ำหนด ด้วยการบริหารและบูรณาการพันธกิจ ด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย บริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุง ศิลปวัฒนธรรม จนสามารถบริการทางวิชาการรับใช้สังคม เป็นที่พึ่งให้ แก่ประชาชนในชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และมีผล งานเชิงประจักษ์ จนสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตและคุณภาพการศึกษา ในพื้นที่ได้ และมหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับในชุมชนท้องถิ่น ประเทศ และ นานาชาติ สู่สากล พันธกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีภารกิจที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1.ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติ มีสมรรถนะส�ำหรับการประกอบอาชีพ และ การด�ำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เป็นคลังปัญญาของชุมชนและท้องถิ่น 2.วิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน โดยมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในชุมชนและท้องถิ่นชายแดนใต้ 3.ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยการบูรณา การองค์ความรู้กับภูมิปัญญาและความร่วมมือกับทุกภาคส่วน บนฐานทุน ทางวัฒนธรรมและทรัพยากรของชุมชนและท้องถิ่น 4. บริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมและ ความโปร่งใส พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืนโดยมุ่งเน้น การใช้เทคโนโลยีและดิจิทัล
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 51 วัตถุประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินกิจการ ดังนี้ 1. จัดการเรียนการสอนให้บัณฑิตมีสมรรถนะ มีความสามารถแก้ปัญหา และสร้างสรรค์นวัตกรรม ตลอดจนใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมด้วยหลัก คุณธรรมได้อย่างมีความสุข 2. วิจัย สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหา การพัฒนา คุณภาพชีวิต การสร้างมูลค่าและทุนทางสังคม อันจะนาไปสู่การสร้างมูลค่า ํ เพิ่ม การลดช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำ ให้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ 3. ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม น้อมนําแนว พระราชดาริ และท ํานุบํ ารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับความต้องการและ ํ การแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถิ่นและสังคม เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพ และมาตรฐานชีวิตที่ดีมีความพอเพียง มีความเข้มแข็งและพัฒนาอย่างยั่งยืน 4. บริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยให้มีความคล่องตัว สู่การ เปลี่ยนแปลงที่ดีและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
รายงานประจ�ำปี 2566 52 เป้าหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีเป้าหมายดังนี้ 1. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ชุมชนและท้องถิ่น 2. การบูรณาการงานวิจัย การบริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุง ศิลปวัฒนธรรม เข้ากับกระบวนการ จัดการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมกับ ชุมชนและท้องถิ่น 3. การยกระดับคุณภาพชีวิต การลดช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำทาง สังคม การสร้างประชาชนในท้องถิ่นชายแดนใต้ให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 4. เป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศ น�ำสังคมพร้อมเป็นที่พึ่งของชุมชนและ ท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 53 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. บัณฑิตมีสมรรถนะตามความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ 2. ประชาชนมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
รายงานประจ�ำปี 2566 54 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีการ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ / วิธีการ 2. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคน เชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัยตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากร มนุษย์ที่มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ ด้วยตนเองในทุกช่วงวัย มีความรอบรู้ทางการเงิน มีความสามารถ ในการวางแผนชีวิตและการวางแผนทางการเงินที่เหมาะสม ในแต่ละ ช่วงวัย และความสามารถในการด�ำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า รวมถึง การพัฒนาและปรับทัศนคติให้คนทุกช่วงวัยที่เคยกระท�ำผิด ได้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างสงบสุขและเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนา ประเทศ 2.2 ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะ ความสามารถการเรียนรู้ที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะ ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหา ที่ซับซ้อน มีภูมิคุ้มกันต่อปัญหาหรืออาชญากรรมต่าง ๆ มีความคิด สร้างสรรค์ มีความสามารถ ในการทํางานร่วมกับผู้อื่น มีความยืดหยุ่น ทางความคิด รวมถึงทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียน รู้เพื่อการวางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมในแต่ละช่วง วัยและนําไปปฏิบัติได้ ตลอดจนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมต่อ กับโลกการทํางาน รวมถึงทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศ มีทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและทํางานกับผู้อื่นได้ภายใต้ สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 55 กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ) 2.3 ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะแรงงาน อย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคล และความต้องการ ของตลาดแรงงาน มีการทางานตามหลักการท ํ างานที่มีคุณค่าเพื่อสร้างผลิตภาพ ํ เพิ่มให้กับประเทศ มีวัฒนธรรมการทางานที่พึงประสงค์ มีความรู้ความเข้าใจ ํ และมี ทักษะทางการเงิน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการการเงินของตนเอง และครอบครัว มีการวางแผนทางการเงินและมีการออม การรับผิดชอบของ พ่อแม่ ต่อครอบครัว มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้ และการอํานวยความ สะดวกด้านความรู้ เพื่อพัฒนาความรู้ แรงงานฝีมือ ความชานาญพิเศษ การ ํ เป็นผู้ประกอบการใหม่ และการพัฒนาต่อยอดความรู้ในการสร้างสรรค์งาน ใหม่ ๆ รวมทั้งมาตรการขยายอายุการทํางาน 2.4 ช่วงวัยผู้สูงอายุส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลัง ในการขับเคลื่อนประเทศ ส่งเสริมให้มีการทํางานหลังเกษียณ ผ่านการเสริมทักษะการดํารงชีวิต ทักษะอาชีพในการหารายได้ มีงานทาที่เหมาะสมกับศักยภาพ มีการสร้างเสริม ํ สุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ พร้อมกับ จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ และหลักประกันทางสังคมที่ สอดคล้องกับความจําเป็นพื้นฐานในการดํารงชีวิต การมีส่วนร่วมของผู้ สูงอายุในสังคม
รายงานประจ�ำปี 2566 56 ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉมโดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นผู้เรียน ให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบ การเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหาร จัดการศึกษาและ การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างความตื่น ตัวให้คนไทย ตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางต�ำแหน่ง ของประเทศไทย ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก การวาง พื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และการสร้าง ระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศ ทางวิชาการระดับนานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีการ กลยุทธ์ / วิธีการ 3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะส�ำหรับ ศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบกระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับชั้นอย่างเป็น ระบบ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้และ ระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ อาทิ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการ ตั้งค�ำถาม ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความรู้ทาง วิศวกรรมศาสตร์ และ การคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา ความรู้และทักษะ ทางศิลปะ และความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและ การหาความสัมพันธ์ การพัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้น การลงมือปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง การสร้างผู้เรียน ให้สามารถก�ำกับการเรียนรู้ของตนได้ การหล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และ ความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้เรียนสามารถน�ำองค์ความรู้ไปใช้ในการสร้างรายได้ หลายช่องทางรวมทั้งการเรียนรู้ด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 57 3.4 การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเน้นการจัดระบบการศึกษา และระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงและยืดหยุ่นผ่านการพัฒนา กลไกต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาการศึกษาออนไลน์แบบเปิด การพัฒนาระบบ การเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะความรู้ดิจิทัล การมีระบบเทียบโอนประสบการณ์ ระบบธนาคารหน่วยกิต มาตรการจูงใจให้คนเข้าสู่การยกระดับทักษะ การ ให้สถานประกอบการเพิ่มผลิตภาพแรงงานผ่านการพัฒนาความสามารถ ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องภายใต้กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ นอกจากนี้ ต้องพัฒนา ระบบการเรียนรู้ในชุมชนให้เข้าถึงความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ ในชุมชนให้เป็นพื้นที่เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรียนรู้และ ทบทวนทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การอ่านออก-เขียนได้-คิดเลขเป็น โดยระดม ทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม การพัฒนาทัศนคติและ แรงบันดาลใจที่อยากเรียนรู้ การสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้ และให้ผู้เรียนได้ตระหนัก ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว รวมทั้งน�ำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ ในการด�ำเนินชีวิตได้ 3.7 การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ โดยเน้นการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาที่มี ความเชี่ยวชาญ และมีความโดดเด่นเฉพาะสาขาสู่ระดับนานาชาติ ในการ ให้บริการทางการศึกษา วิชาการ และการพัฒนาสมรรถนะแรงงาน ควบคู่กับ การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ เป็นศูนย์ฝึกอบรม และ ศูนย์ทดสอบสมรรถนะในระดับภูมิภาค กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ)
รายงานประจ�ำปี 2566 58
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 59
รายงานประจ�ำปี 2566 60
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 61 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์สามารถยกระดับคุณภาพการศึกษาและ คุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
รายงานประจ�ำปี 2566 62 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีด�ำเนินการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก โครงสร้างพื้นฐานเป็นสิ่งจ�ำเป็น ส�ำหรับประเทศไทยในการเข้าสู่การเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจอาเซียน และ เป็น จุดเชื่อมต่อที่ส�ำคัญของภูมิภาคเอเชีย ในยุคของการเปลี่ยนแปลงทาง ด้าน เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วและรุนแรง โครงสร้างพื้นฐานจะครอบคลุม ถึงโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านโครงข่ายคมนาคม พื้นที่และ เมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกและลดต้นทุนในการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยงประเทศไทย กับประชาคมโลก กลยุทธ์ / วิธีการ 4.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่ สนับสนุนให้เกิดระบบ นิเวศ ในการร่วมสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมจากภาคเอกชน มหาวิทยาลัย และหน่วยงานวิจัยหรือมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลก เพื่อสร้างและถ่ายทอด เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ได้จริง ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ทั้งในภาครัฐและเอกชน พร้อมทั้ง การสร้างระเบียงทางด่วนดิจิทัล และเสริมสร้างความรู้และโอกาสในการเข้าถึง โครงข่ายบรอดแบรนด์หลากรูปแบบตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยมีรูปแบบ การเชื่อมโยงด้านดิจิทัล ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในระดับสากลทั้ง ภาครัฐและ เอกชน รวมถึงการวางกรอบในการจัดการทรัพยากรคลื่นความถี่ให้เพียงพอ รองรับบริการที่มีคุณภาพ ในราคาที่ประชาชนทั่วไปเข้าถึงได้ มีการสนับสนุน ธุรกิจแบบแพลตฟอร์ม ที่ท�ำให้เกิดการสร้างงานบริการในโลกดิจิทัลใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน บริการและบริหารของภาครัฐและเอกชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 63 และสร้างความมั่นคงในการเชื่อมโยง เครือข่ายดิจิทัลเชื่อมต่อกับโลก และ การสนับสนุนและเร่งรัดการน�ำวิทยาศาสตร์ ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์และหุ่นยนต์ การออกแบบที่ค�ำนึงถึงผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง มาใช้ในภาคการผลิตและบริการ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในรูปแบบ ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลหลากหลายแหล่งให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการ เพิ่มศักยภาพคนในสังคมด้วยการเข้าถึงความรู้ เครื่องมือ บนพื้นฐานของ ธรรมาภิบาลข้อมูล ซึ่งครอบคลุมความปลอดภัยไซเบอร์ ความมี จริยธรรม และการไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล รวมทั้งการเสริมสร้างความมั่นคงด้าน พลังงาน โดยการจัดหาและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน บริหาร จัดการพลังงานให้มีประสิทธิภาพและมีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีราคาที่ เหมาะสม และการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับการใช้พลังงานในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนภาคการผลิต บริการ และการขนส่ง รวมทั้งส่งเสริม การใช้พลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือกในสัดส่วนที่มากขึ้น ตลอด จนพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ สร้างและรวบรวมผู้เชี่ยวชาญทั้ง ในและต่างประเทศ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในมหาวิทยาลัย และหน่วยงานวิจัยผ่านการสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อให้มีความพร้อมกับ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในอนาคต รวมทั้งการสร้างผลงานที่ช่วยให้ ผู้ประกอบการทั้ง ภาครัฐและเอกชนสามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอด ในการสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างเต็มที่ กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ)
รายงานประจ�ำปี 2566 64
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 65 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. ลดความเหลื่อมล�้ำของประชาชนในพื้นที่ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นเพื่อความยั่งยืน
รายงานประจ�ำปี 2566 66 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีด�ำเนินการ 1. การลดความเหลื่อมล�้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ กลยุทธ์ / วิธีการ 1.1 ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาการเกษตรให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของเกษตรกร ฐานทรัพยากรและบริบทของพื้นที่และชุมชนท้องถิ่น โดยเน้นระบบการจัดการตนเองของเกษตรกร และการมีกลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานราก เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงฐานทรัพยากร การวิจัยความรู้ ทั้งทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการผลิตและยกระดับเป็น ผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่คุณค่า และเพิ่มช่องทางการตลาดและเชื่อม โยงการค้าด้วยเครือข่ายพันธมิตรและวิสาหกิจเพื่อสังคม ก�ำหนดนโยบาย และกติกาเพื่อเพิ่มโอกาสของเกษตรกร พัฒนาเศรษฐกิจสังคมบนฐานความหลาก หลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงส่งเสริมการผลิตแปรรูปสินค้า ให้มีเอกลักษณ์ และการจัดการในภาคบริการที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากร ของชุมชน เพื่อยกระดับเกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในภาคการเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 67 4. การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การ พึ่งตนเอง และการจัดการตนเอง กลยุทธ์ / วิธีการ 4.1 ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถ ในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ โดยใช้ ข้อมูลความรู้และการยกระดับการเรียนรู้ของครัวเรือน ทั้งในกลุ่มครัวเรือน ภาคเกษตรและอาชีพอื่น ๆ เพื่อปรับการคิดเชิงระบบ การวางแผนอนาคต การออมและการลงทุน การดูแลสุขภาพความเป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครัว เพิ่มทักษะทางการเงินและการวางแผนการจัดการที่ดิน ที่อยู่อาศัยและระบบ การผลิตด้านอาชีพ เพิ่มความสามารถในการประกอบการธุรกิจ การบริหาร จัดการ ตลอดจนพัฒนาผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงในระดับชุมชนและท้องถิ่น อันเป็นการสร้างการเรียนรู้จากภายในเพื่อสร้างคนที่มีเหตุผลและพึ่งตนเอง ได้ ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร์
รายงานประจ�ำปี 2566 68 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีด�ำเนินการ 1. การลดความเหลื่อมล�้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ กลยุทธ์ / วิธีการ 2. เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง โดยสนับสนุนการรวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้ชุมชนได้บริหารจัดการและมีส่วนร่วมในกิจการที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน โดยตรง การสนับสนุนการจัดท�ำแผนแม่บทชุมชนที่สะท้อนปัญหาความต้องการ ที่แท้จริงของชุมชน โดยมีข้อมูลครัวเรือนเพื่อสนับสนุนการจัดท�ำแผน และ เชื่อมโยงแผนชุมชนกับแผนพัฒนาต�ำบล แผนพัฒนาอ�ำเภอ แผนพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนพัฒนาภาค และเชื่อมโยงกับการ ก�ำหนดการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกัน ขับเคลื่อนกลไกความร่วม มือทุกภาคส่วนให้มีเป้าหมายทิศทาง มีความสมดุล มีอิสระและมีอ�ำนาจ ในการตัดสินใจ โดยมีระบบการติดตามตรวจสอบที่ต่อเนื่องและโปร่งใส ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาตัวชี้วัดและระบบการประเมินความเข้มแข็ง ของชุมชน เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าในการยกระดับความเข้มแข็ง ของชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง ประเด็นยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 69 กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ) 4.4 สร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้กับชุมชน โดยการสร้างการเรียนรู้ของชุมชน ให้สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก การพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริม โอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ของชุมชน ผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เพื่อเร่งกระบวนการเรียน รู้ของชุมชนในการก้าวเข้าสู่สังคมในยุคดิจิทัล การพัฒนาวิธีคิดในการประกอบ การและการจัดการความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ในบริบทของการแข่งขันอย่างยั่งยืน รวมถึงการเพิ่มความสามารถและทักษะในการใช้ความรู้และเทคโนโลยี อย่างสร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาและยกระดับขีดความสามารถของชุมชน ในการจัดการตนเอง และสร้างหลักประกันให้คนทุกกลุ่มได้รับโอกาส และเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองโดยไม่จ�ำกัด วัยหรือเพศสภาวะ
รายงานประจ�ำปี 2566 70
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 71 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ พื้นที่ชายแดนใต้มีความสันติสุข ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การศึกษาและการพัฒนาเพื่อความมั่นคง
รายงานประจ�ำปี 2566 72 ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงเพื่อแก้ไข ปัญหาเดิมที่มีอยู่อย่างตรงประเด็นจนหมดไปอย่างรวดเร็ว และป้องกัน ไม่ให้ปัญหาใหม่เกิดขึ้นอันจะส่งผลให้การบริหารจัดการและการ พัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ด�ำเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องและราบรื่น ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีการ กลยุทธ์ / วิธีการ 2.3 การสร้างความปลอดภัยและความสันติสุขอย่างถาวรในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่อให้ปัญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการแก้ไขจนเกิดความสงบและสันติสุขอย่างยั่งยืน ประชาชนในพื้นที่ มีความปลอดภัยทั้งในชีวิตและทรัพย์สิน อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในสังคม พหุวัฒนธรรม รวมทั้งได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันกับภาคอื่น ๆ โดยยกระดับการแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงอย่างมีเอกภาพ ครอบคลุมทุกพื้นที่และทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการบูรณาการความเชื่อมโยง ระหว่างประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ และเชิงพื้นที่ แผนการด�ำเนินงาน การลงมือ ปฏิบัติ ตลอดถึงการติดตาม ประเมิน และรายงานผลอย่างสอดคล้อง ต่อเนื่องกันทุกระดับ ส่งเสริมและอ�ำนวยความยุติธรรม ประสิทธิภาพ ในการเข้าแก้ปัญหา สภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดความรุนแรง รวมทั้ง การมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคประชาสังคมในพื้นที่อย่างเหมาะสม มุ่งเน้นการขจัดปัญหาความขัดแย้งและความไม่เป็นธรรมให้ได้อย่างจริงจัง และถาวร ส่งเสริมสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่ให้เข้มแข็งจนเป็นพลังส�ำคัญ ในการปกป้องและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ รวมไปถึงการพูดคุยกันอย่างเป็น
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 73 กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ) มิตรผลักดันให้มีการยึดถือค�ำสอนที่ถูกต้องของศาสนามาเป็นแนวทางใน การด�ำเนินชีวิต พร้อมดูแลและป้องกันมิให้มีการบิดเบือนค�ำสอนของ ศาสนาไปในทางที่ไม่ถูกต้อง อันจะน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ส่งผลกระทบต่อ ความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินของประชาชน และความมั่นคงของประเทศ มีการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมร่วมมือกับภาครัฐในการพัฒนาพื้นที่ อย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง และสอดคล้องกับความต้องการของทุกกลุ่ม ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชน ตามยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งศาสตร์พระราชา รวมถึงการสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงการบริการต่าง ๆ ของรัฐ ให้ทัดเทียมกับภูมิภาคอื่น ๆ
รายงานประจ�ำปี 2566 74
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 75 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับ 2. มหาวิทยาลัยเป็นองค์กรแห่งคุณธรรมและความโปร่งใส ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
รายงานประจ�ำปี 2566 76 ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/วิธีด�ำเนินการ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และ ให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส หน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและ ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ มีระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส ให้การบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่นให้เป็นไปตาม หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชน กลยุทธ์ / วิธีการ 1.1 การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับ แนวหน้าของภูมิภาค ปรับรูปแบบและวิธีการด�ำเนินการของภาครัฐมี ลักษณะที่เบ็ดเสร็จ ครบวงจร และหลากหลายรูปแบบตามความต้องการของ ผู้รับบริการ มีความร่วมมือกับภาคีอื่น ๆ พร้อมทั้งปรับปรุงกลไกการปฏิบัติ งานของภาครัฐให้มีลักษณะบูรณาการ สามารถส่งเสริมภารกิจของภาคส่วน ต่าง ๆ โดยเฉพาะ การปรับปรุงบทบาทและกลไกภาครัฐให้เป็นผู้สนับสนุน และอ�ำนวยความสะดวกในการประกอบการ การก�ำหนดกฎระเบียบที่ไม่ เป็นอุปสรรคต่อการด�ำเนินธุรกิจภาคเอกชนทุกขนาดสอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาประเทศในระยะยาว 1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการน�ำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ มีระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีความ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ น�ำไปสู่การวิเคราะห์การ จัดการ ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อการพัฒนานโยบายและการให้บริการภาครัฐ มีการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการให้บริการสาธารณะตั้งแต่ ต้นจนจบกระบวนการ เพื่อให้สามารถติดต่อราชการได้โดยง่าย รวดเร็ว โปร่งใส เสียค่าใช้จ่ายน้อยและตรวจสอบได้
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 77 ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. ภาครัฐมีความทันสมัย ทันการเปลี่ยนแปลง และมีขีดสมรรถนะสูง สามารถ ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เทียบได้กับมาตรฐานสากล สามารถรองรับกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ที่มีความหลากหลาย ซับซ้อนมากขึ้น และทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต กลยุทธ์ / วิธีการ 4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยมีการ ก�ำหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐาน เชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความโปร่งใสยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง น�ำนวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการท�ำงานที่เป็น ดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ รวมทั้งน�ำองค์ความรู้ในแบบ สหสาขาวิชาเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างคุณค่าและแนวทางปฏิบัติ ที่เป็นเลิศในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา พร้อมทั้ง มีการจัดการความรู้และถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อพัฒนาภาครัฐ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
รายงานประจ�ำปี 2566 78 ประเด็นยุทธศาสตร์ 5. บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตส�ำนึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ ในการปฏิบัติหน้าที่ขับเคลื่อน ภารกิจยุทธศาสตร์ชาติ โดยภาครัฐมีก�ำลังคนที่เหมาะสมทั้งปริมาณและคุณภาพ มีระบบบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรให้สามารถสนองความต้องการ ใน การปฏิบัติงาน มีความก้าวหน้าในอาชีพ สามารถจูงใจให้คนดีคนเก่งท�ำงาน ในภาครัฐ มีระบบการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐให้มีสมรรถนะ ใหม่ๆ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนา มีการเสริมสร้าง คุณธรรมและจริยธรรม การปรับเปลี่ยนแนวคิดให้การปฏิบัติราชการเป็น มืออาชีพ มีจิตบริการ ท�ำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า สามารถบูรณาการ การท�ำงานร่วมกับภาคส่วนอื่นได้อย่างเป็นรูปธรรม กลยุทธ์ / วิธีการ 5.1 ภาครัฐมีการบริหารก�ำลังคนที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม เพิ่มความยืดหยุ่นคล่องตัวให้กับหน่วยงานภาครัฐในการบริหารทรัพยากร บุคคลในทุกขั้นตอนควบคู่ไปกับการเสริมสร้างประสิทธิภาพและคุณภาพ ภายใต้หลักระบบ คุณธรรม ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกลไกการวางแผนก�ำลังคน รูปแบบการจ้างงาน การสรรหา การคัดเลือก การแต่งตั้ง เพื่อเอื้อให้ เกิดการหมุนเวียน ถ่ายเท แลกเปลี่ยน และโยกย้ายบุคลากรคุณภาพใน หลากหลายระดับระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ของประเทศได้อย่างคล่องตัว รวมทั้งทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรม มีมาตรฐาน เหมาะสมสอดคล้องกับภาระงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 79 กลยุทธ์ / วิธีการ (ต่อ) 5.2 บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการท�ำงานเพื่อประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ พัฒนาขีดความ สามารถบุคลากรภาครัฐและวางการท�ำงานและสร้างค่านิยมในการปฏิบัติ งานเพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม สามารถบูรณาการการท�ำงาน ร่วมกับภาคส่วนอื่นได้อย่างเป็นรูปธรรม ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา ภาวะผู้น�ำในทุกระดับให้มีขีดสมรรถนะสูง มีความรับผิดชอบ และมี ความเป็นมืออาชีพ เป็นทั้งผู้น�ำทางความรู้และความคิดผลักดันภารกิจ น�ำการเปลี่ยนแปลง พัฒนา นโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแบบอย่าง ที่ดีต่อผู้ร่วมงานและต่อสังคม โดยมีการสร้างผู้น�ำทางยุทธศาสตร์ ในหน่วยงานภาครัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบเพื่อรองรับ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว
รายงานประจ�ำปี 2566 80 ประเด็นยุทธศาสตร์ 6. ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกภาคส่วน ร่วมต่อต้านการทุจริต ภาครัฐมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้าง วัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมของ บุคลากร กลยุทธ์ / วิธีการ 6.2 บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความ ซื่อสัตย์สุจริต ก�ำหนดให้ เจ้าพนักงานของรัฐต้องยึดถือแนวทางปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลีกเลี่ยง การขัดกันระหว่างประโยชน์ บุคคลและประโยชน์ส่วนรวม รวมทั้งยื่น บัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ โดยเฉพาะผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งระดับสูง จะต้องเปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไปโดยเร็ว
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 81
ภาคสอง ผลการด�ำเนินงาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีงบประมาณ 2566 (ปีการศึกษา 2565)
รายงานประจ�ำปี 2566 84
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 85
รายงานประจ�ำปี 2566 86
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 87
รายงานประจ�ำปี 2566 88
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 89 ภายใต้แผนปฏิบัติราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้กําหนดยุทธศาสตร์บนหลักการที่จะพัฒนา มหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่มีคุณภาพ ด้วยกระบวนการพัฒนาองค์ความรู้บนพื้นฐานการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น และศาสตร์สากล โดยก�ำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ วัตถุประสงค์ และ แผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและแก้ปัญหาของชุมชนและท้องถิ่นภายใต้ประเด็น ยุทธศาสตร์ 5 ประเด็นที่มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และ แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐาน สู่ความเป็นเลิศ ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560 - 2569) ไว้เป็นกรอบแนวทางใน การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ ความเป็นเลิศ บนหลักการที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นสถาบัน อุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีคุณภาพเป็นเลิศ รวมทั้งการ พัฒนาชุมชนและท้องถิ่น ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนโดยได้กําหนดวิสัยทัศน์ ว่า “มหาวิทยาลัยคลังปัญญา แห่งชายแดนใต้” มหาวิทยาลัยได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการ ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ํ และสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ตามมิติภารกิจ มิติพื้นที่ และมิติวาระตามผลผลิต ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ โดยใช้ทรัพยากร จากแหล่งต่าง ๆ อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีกรอบงบประมาณทั้งสิ้น รวม 625,567,300 บาท ประกอบด้วย 5 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 29 ตัวชี้วัด ซึ่งภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ได้จัดทา โครงการ/กิจกรรม ํ เป้าหมาย และตัวชี้วัด รวมทั้งกาหนดระยะเวลาการดํ าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อ ํ เป็นกรอบการดําเนินงานอย่างชัดเจน ผลการด�ำเนินงานปีงบประมาณ 2566
รายงานประจ�ำปี 2566 90 ตารางที่ 2 ผลการด�ำเนินงานตัวชี้วัดรายประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ประจ�ำปีงบประมาณ 2566 ล�ำดับ ประเด็น ยุทธศาสตร์ จ�ำนวน ตัวชี้วัด บรรลุ ร้อยละ 1 การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 8 6 75.00 2 ก า ร วิ จั ย แ ล ะ นวัตกรรมเพื่อการ พัฒนาท้องถิ่น 4 3 75.00 3 การส่งเสริมและ พัฒนาท้องถิ่น เพื่อความยั่งยืน 6 6 100.00 4 การศึกษาและ การพัฒนาเพื่อ ความมั่นคง 4 4 100.00 5 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพ 7 4 57.14 รวม 29 23 81.4
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 91 ล�ำดับ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ผล บรรลุ ไม่บรรลุ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1 บัณฑิตมีสมรรถนะ มีงานท�ำ ภายใน 1 ปี 82 85.54 2 จ�ำนวนนวัตกรรมของนักศึกษา ที่ได้รับรางวัล 14 14 3 ร้อยละของหลักสูตรที่จัดการ เรียนการสอนในลักษณะร่วม ผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยกับ สถานประกอบการ 5 23.52 4 ร้อยละของบัณฑิตมีความ สามารถด้านภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐาน CEFR อยู่ใน ระดับ B1 12 2.54 5 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานภาษา มลายู 95 95.94 6 ร้อยละของบัณฑิตมีสมรรถนะ และทักษะด้านดิจิทัลผ่านเกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือตามที่ มหาวิทยาลัยก�ำหนด 96 91.42 7 ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู ้ รั บ บ ริ ก า ร หลักสูตรระยะสั้นในพื้นที่เป้า หมายเพิ่มขึ้น 10 255.9 8 ร้อยละของผู้เรียนในระบบคลัง 10 11.18 ตารางที่ 3 สรุปผลการด�ำเนินงานตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ 2566
รายงานประจ�ำปี 2566 92 ล�ำดับ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ผล บรรลุ ไม่บรรลุ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 9 ร้อยละของบทความวิชาการ ที่ตีพิมพ์และเผยแพร่ใน วารสารวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติ 50 21.35 10 ร้อยละของผลงานวิจัย งาน สร้างสรรค์และนวัตกรรมที่น�ำ ไปใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ แก่ชุมชน 25 66.00 11 จ�ำ น ว น ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร นวัตกรรมของมหาวิทยาลัย ที่จดทะเบียนทรัพย์สินทาง ปัญญา 20 71 12 จ�ำนวนศูนย์ความเป็นเลิศ เฉพาะทาง 2 4 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นเพื่อความยั่งยืน 13 ร้อยละของครัวเรือนเป้า หมายมีรายได้เพิ่มขึ้น 42 95.2 14 ร้อยละของโรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาสูงขึ้น 85 94.44 15 จ�ำนวนชุมชนที่มีความ สามารถในการพัฒนาและ พึ่งพาตนเอง 35 35
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 93 ล�ำดับ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ผล บรรลุ ไม่บรรลุ 16 ร้อยละของมูลค่าเศรษฐกิจ ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ บ น ฐ า น ทุ น ทรัพยากรและนวัตกรรมใน พื้นที่เพิ่มขึ้น 15 48.18 17 จ�ำนวนภาคีเครือข่ายที่ร่วม กับมหาวิทยาลัยในการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่น 3 4 18 จ�ำนวนห้องปฏิบัติการทาง สังคม 6 14 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การศึกษาและการพัฒนาเพื่อความมั่นคง 19 ร้อยละของประชาชนกลุ่ม เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ความมั่นคง 28 37.50 20 จ�ำนวนชุดความรู้หรือนวัตกรรม หรือหลักสูตร หรือต้นแบบเกี่ยว กับการจัดการศึกษาเพื่อความ มั่นคงเพิ่มขึ้น 2 2 21 จ�ำนวนกลุ่มนักเรียนหรือ นักศึกษา ชมรม องค์การ นักศึกษาที่มีกิจกรรมส่งเสริม การแก้ปัญหาความมั่นคงใน พื้นที่เพิ่มขึ้นปีละ 10 กลุ่ม 10 12 22 จ�ำนวนเครือข่ายองค์กรใน ชุมชนที่ร่วมมือกันด�ำเนินงาน เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อความมั่นคง 4 14
รายงานประจ�ำปี 2566 94 ล�ำดับ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ผล บรรลุ ไม่บรรลุ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 23 ผลการจัดอันดับ THE impact Ranking อยู่ในอันดับที่ดีขึ้น 401-800 1001+ 24 ร้อยละของอาจารย์ประจ�ำที่มี ต�ำแหน่งทางวิชาการ 30 38.18 25 ร้อยละของบุคลากรสาย สนับสนุนที่มีต�ำแหน่งสูงขึ้น 10 20.47 26 ร้อยละของบริการที่ได้รับ การพัฒนาหรือปรับปรุงสู่ มหาวิทยาลัยดิจิทัล 10 33.33 27 ร้อยละของเงินรายได้สุทธิที่ เพิ่มขึ้นแต่ละปี 10 22.44 28 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับ บริการระดับดีขึ้นไป 100 97.88 29 คะแนนผลการประเมิน ITA อยู่ใน 20 อันดับแรกของกลุ่ม มหาวิทยาลัย 21-25 71 ผลความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นตามประเด็นยุทธศาสตร์ (ประโยชน์ที่เกิดขึ้น) ยุทธศาสตร์ที่ 1 มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินการผลิตบัณฑิตตามนโยบายระยะ 3 ปี (พ.ศ.2565- 2567) ในประเด็นการผลิตบัณฑิตพบว่าการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ออกไปปฏิบัติงาน จริง ณ สถานประกอบการ สามารถเตรียมความพร้อมและสร้างทักษะในการท�ำงาน ส�ำหรับโลกศตวรรษที่ 21 ที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ ผู้เรียน สามารถส�ำเร็จการศึกษาได้เร็วขึ้น ในปีการศึกษา 2566 มีบางสาขามีนักศึกษาส�ำเร็จการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95 ศึกษา โดยใช้เวลา 3 ปีครึ่ง และเพิ่มอัตราการมีงานท�ำหลังส�ำเร็จการศึกษา การได้งานท�ำ ของบัณฑิตที่ส�ำเร็จการศึกษา การมุ่งเน้นให้นักศึกษาลงชุมชนและพื้นที่ให้มากขึ้นส่งผลให้ บัณฑิตมีทักษะชีวิต ทักษะในการด�ำเนินชีวิต และทักษะในการอยู่ร่วมกับชุมชนสามารถ แก้ปัญหาให้กับชุมชนท้องถิ่นมีความรักและผูกพันกับชุมชนมากยิ่งขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ จากการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรการวิจัย เพื่อสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ เป็นการด�ำเนิน การเพื่อการผลิตและพัฒนาบุคลากร การวิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เพียงพอ รองรับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้วยการวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้งด�ำเนินการวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อให้ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ในปัจจุบันมีนักวิจัยที่รับทุนจากแหล่งทุนภายนอก FF (Fundamental Fund) ในบทบาท การเป็นหัวหน้าโครงการจ�ำนวน 55 คน จากจ�ำนวนบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัย ทั้งหมดโดยรับงบประมาณจาก บพท. บพข. และ วช. รวมทั้งงบประมาณในกรอบ Fundamental Fund หรือ FF ของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การขับเคลื่อนงานบริการวิชาการ มุ่งให้ความส�ำคัญกับการน�ำศาสตร์องค์ความรู้ สู่การลงพื้นที่ด�ำเนินงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาท้องถิ่นที่ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และสิ่งแวดล้อม การตอบสนองต่อศักยภาพ และทุนทาง ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนสังคม ทุนทรัพยากรมนุษย์และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่ อันเป็นศักยภาพและความสามารถอยู่บนพื้นฐานการสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม พหุวัฒนธรรมอย่างสันติสุข โดยการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาท้องถิ่นทุกมิติ ซึ่งเป็น โครงการพัฒนาท้องถิ่นที่ต่อยอดไปสู่การพัฒนานวัตกรรม และขยายผลโครงการวิจัยต่าง ๆ มากมาย เช่น โครงการขยายผลเครือข่าย (JAPO Model) โครงการการพัฒนาศักยภาพและ ยกระดับห่วงโซ่มูลค่าของเกษตรกรกลุ่มเลี้ยงผึ้งชันโรงและวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงผึ้งชันโรง โครงการวิจัยการพัฒนาขีดความสามารถของเกษตรกรเลี้ยงไก่เบตง เป็นต้น เป้าหมาย คือการสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ประชาชนสามารถพึ่งตนเอง ได้อย่างยั่งยืน ลดการพึ่งพิงภายนอก เน้นให้ความส�ำคัญกับกลุ่มเป้าหมายในท้องถิ่น มีการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 4 นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสา (เราท�ำความดีด้วยหัวใจ) ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งนักศึกษาได้ใช้กระบวนการวิศวกรสังคมในการ ปฏิบัติงานในพื้นที่ตามบรมราโชบายการศึกษา
รายงานประจ�ำปี 2566 96 ส่วนที่ 1 การประเมินผลการด�ำเนินงาน ประกอบด้วย ผลการด�ำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติงานประจ�ำตามประเด็นยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2566 มี 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ 29 ตัวชี้วัด มีผลการด�ำเนินงานที่บรรลุเป้าหมาย ทั้งสิ้น 23 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 79.31 ไม่บรรลุ 6 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 20.68 อยู่ในระดับพอใช้ ผลการด�ำเนินงานตามการประเมินคุณภาพภายในตามตัว บ่งชี้ของ คปภ. มีคะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ 4.62 คิดเป็นร้อยละ 92.40 อยู่ในระดับดีมาก ส่วนที่ 2 การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่าย งบประมาณ 2566 มหาวิทยาลัยได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน จ�ำนวน 453,985,300 บาท มีผลการเบิกจ่าย 415,319,248.97 บาท คิดเป็นร้อยละ 91.48 อยู่ในระดับดีมาก ส�ำหรับประสิทธิผล (ผลลัพธ์/ผลกระทบ) การใช้ จ่ายงบประมาณเงินรายได้เมื่อสิ้นปีงบประมาณ มหาวิทยาลัยมีโครงการที่ใช้ งบประมาณเงินรายได้จ�ำนวน 35 โครงการ โดยมีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 35 ตัวชี้วัด ทั้งนี้มีตัวชี้วัดที่ด�ำเนินการได้บรรลุเป้าหมายของโครงการทั้งสิ้น 27 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 77.14 อยู่ในระดับพอใช้ ส่วนที่ 3 การประเมินผลการน�ำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงการบริหารงาน มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คิดเป็นร้อยละ 100.00 อยู่ในระดับดีมาก ส่วนที่ 4 ความเชื่อมโยงของการบริหารหน่วยงานเพื่อตอบสนอง ต่อยุทธศาสตร์ของจังหวัดและพื้นที่ มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินโครงการจ�ำนวน หัวใจส�ำคัญของการด�ำเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ 5 มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์และนโยบายระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) ซึ่งผลส�ำเร็จที่เกิดขึ้นในประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 5 คือ โครงการพัฒนาทักษะและสมรรถนะการปฏิบัติงานเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลง 3 ปี และโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดหารายได้ เพื่อการพึ่งพาตนเอง โครงการส่งเสริมและพัฒนาการด�ำเนินงานของการดูแล ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การประเมินผล
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 97 20 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนานักศึกษาให้มีสมรรถนะและทักษะใน ศตวรรษที่ 21 (2) โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการท�ำงาน (3) โครงการส่งเสริมและบ่มเพาะนวัตกร (4) โครงการพัฒนานักศึกษาสาย ครุศาสตร์โดยใช้หลักสูตร Extra Time และหอพักเป็นฐาน (5) โครงการส่งเสริม การขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและ สังคม (6) โครงการส่งเสริมการวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมเพื่อท้องถิ่น (7) โครงการพัฒนานักวิจัยให้มีสมรรถนะและเป็นมืออาชีพ (8) โครงการพัฒนา ศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทาง ณ ชุมชนอุโมงค์ปิยะมิตร 1 ต�ำบลตาเนาะแมเราะ อ�ำเภอเบตง จ.ยะลา (9) โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้น�ำเยาวชนคิดดี ภูมิปัญญาดีจังหวัดชายแดนภาคใต้ (10) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (11) โครงการยกระดับมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชนผนวก University as a Marketplace (12) โครงการ ยกระดับการัดการเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก (13) โครงการวิศวกร สังคมเพื่อพัฒนาชายแดนใต้ (14) โครงการจัดท�ำฐานข้อมูลชุมชนและ สมรรถนะภาคีเครือข่าย (15) โครงการพัฒนาแผนบริหารจัดการทรัพยากร ชุมชนด้วยภาพอนาคตเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (16) โครงการจัดท�ำ แผนการด�ำเนินงานในการเตรียมความพร้อมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดก โลก (17) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อยกระดับพืชท้องถิ่น (ดาหลา) สู่การน�ำ ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (18) โครงการพัฒนาแนวทางการอยู่ร่วมกัน ระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการโรงโม่หินด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ต�ำบลลิดล อ�ำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาการด�ำเนินงานของการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพา “จันทน์กะพ้อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (19) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี (อพ.สธ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (20) โครงการส่งเสริม การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ส่วนที่ 5 การประเมินผลความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะและ การบริหารงาน อธิการบดีมีผลการประเมินภาวะผู้น�ำของผู้บริหารร้อยละ 85.80 อยู่ในระดับดีและมีผลประเมินการบริหารงานงานตามหลักธรรมาภิบาล ของผู้บริหารร้อยละ 85.80 อยู่ในระดับดี
รายงานประจ�ำปี 2566 98 1. ด้านการผลิตบัณฑิต 1.1 มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา ทั้งการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาอาจารย์ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ และการพัฒนาทักษะและสมรรถนะของนักศึกษาให้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต นอกจากนี้ในส่วนของนักศึกษาสายครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยยังได้มีโครงการส�ำคัญที่จะยกระดับกระบวนการผลิตนักพัฒนา เพื่อพื้นที่ คือ โครงการพัฒนานักศึกษาสายครุศาสตร์โดยใช้หลักสูตร Extra time และหอพักเป็นฐาน นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมติววิชาชีพครู ติวภาษาอังกฤษ TOEIC ติวหลักสูตรภาค ก รวมทั้งการจัดกิจกรรมค่ายพลังครู พลังแผ่นดิน สู่การเป็นครูนักพัฒนาในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันในสังคม การช่วยเหลือกัน การใช้ความคิดในการแก้ปัญหา การเรียนรู้ในพื้นที่จริงที่มี ความล�ำบากและความสบาย 1.2 มหาวิทยาลัยมีนโยบายเน้นการบูรณาการศาสตร์ในการพัฒนา หลักสูตร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการท�ำงาน การวิจัยและสร้าง นวัตกรรมสร้างมูลค่าจากอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ เพื่อให้บริการชุมชนท้องถิ่นตาม ความต้องการ เน้นผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ท�ำงานเป็นและสร้างงานสร้างอาชีพ ด้วยตัวเองได้ ภายใต้การด�ำเนินงานโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ กับการท�ำงาน และโครงการส่งเสริมและบ่มเพาะนวัตกร โดยมีหลักสูตรที่อยู่ ในแผนพัฒนาในกลุ่มนี้ อันได้แก่ สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงวิถีชุมชน เชิงสร้างสรรค์ จุลชีววิทยาทางการแพทย์และอุตสาหกรรมชีววิทยาเทคโนโลยี และนวัตกรรม นวัตกรรมการจัดการการดูแลและบริการผู้สูงอายุ และการจัดการ ดูสุขภาพและความงามเชิงสร้างสรรค์ เป็นต้น 1.3 มหาวิทยาลัยใช้ฐานการเรียนรู้ผลิตพืช 6 ฐาน ฐานการเรียนรู้ผลิต สัตว์ 4 ฐาน และฐานการเรียนรู้การเกษตรแบบผสมผสานโคกหนองนาโมเดล ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็นพื้นที่เรียนรู้ของนักศึกษา ท�ำการทดลอง วิจัย พัฒนาเพื่อสร้างต้นแบบ และขยายผลสู่การบริการวิชาการ สรุปการด�ำเนินงานโครงการที่มีผลลัพธ์และผลกระทบสะท้อนถึงอัตลักษณ์ ภายใต้พันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย