มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 99 2. ด้านการวิจัย 2.1 ศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (เบตง) เป็นศูนย์การเรียนรู้และเป็น แหล่งฝึกปฏิบัติการเรียนภาคสนามของนักศึกษาและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ เป็นศูนย์กลางการให้บริการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษาและประสานงาน หน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอก โดยใช้องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ศาสตร์สู่การพัฒนางานวิจัย การสร้างองค์ความรู้ และการสร้างนวัตกรรม น�ำมาซึ่งเครือข่ายความร่วมมือในศูนย์ความเป็นเลิศด้านเศรษฐกิจฐานรากและ อุตสาหกรรมบริการ 5 เครือข่าย และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมบริการ กลุ่ม ท่องเที่ยวโดยชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่อ�ำเภอเบตงจังหวัด ยะลา มีทักษะความรู้เพื่อการต่อยอดเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ ก่อให้เกิด รายได้เพิ่มขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์ ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (เบตง) ซึ่งเป็นโครงการที่สอดคล้องกับ (Flagship Project) “ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเศรษฐกิจฐานรากและอุตสาหกรรมบริการ” 2.2 มหาวิทยาลัยมีศูนย์การเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมขนาดใหญ่ใน เนื้อที่ 212 ไร่ อันเป็นแหล่งผลิตบัณฑิต วิจัยและบริการวิชาการด้านการเกษตร ของมหาวิทยาลัย ที่มีความส�ำคัญในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์ การเรียนรู้แม่ลาน เป็นสถานที่จัดการเรียนการสอนจ�ำนวน 3 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรเกษตรศาสตร์ 2) หลักสูตรสัตวศาสตร์ และ 3) หลักสูตรพลังงาน ทดแทน รวมถึงมีฐานการเรียนรู้เพื่อรองรับนักศึกษาและเกษตรกรผู้สนใจ น�ำมาสู่พัฒนาต้นแบบฟาร์มอัจฉริยะ เพื่อตอบสนองนโยบายในการปรับปรุง และพัฒนาพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ท�ำการเกษตรแบบอัจฉริยะ (Smart Farm) ของ มหาวิทยาลัย อันน�ำมาซึ่งประโยชน์และความมีอยู่มีกินของนักศึกษาและ
รายงานประจ�ำปี 2566 100 ประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในอนาคต ภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (ศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน) ซึ่งเป็นโครงการที่สอดคล้องกับ (Flagship Project) “ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม การเกษตรสมัยใหม่ อุตสาหกรรมอาหารเชิงสร้างสรรค์ และพลังงานทดแทน” 3. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม 3.1 โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นการเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการ ทางสังคม (Social Lab) โครงการเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถของ เครือข่ายเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคง โครงการส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทุนทางวัฒนธรรม และ โครงการตามรอยพระราชด�ำริจังหวัดยะลา ตัวชี้วัด ได้แก่ ร้อยละของครัวเรือน เป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงขึ้น จ�ำนวนชุมชนที่มีความสามารถในการพัฒนา และพึ่งพาตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุน ทรัพยากรและนวัตกรรมในพื้นที่เพิ่มขึ้น จ�ำนวนภาคีเครือข่ายที่ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น จ�ำนวนเครือข่ายองค์กรในชุมชน ที่ร่วมมือกันด�ำเนินงานเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อความมั่นคง จ�ำนวนห้องปฏิบัติ การทางสังคม (Social Lab) 3.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาแบบครบวงจร ตั้งแต่ การฝึกอบรม การติดตามช่วยเหลืออย่างครบถ้วน สามารถพัฒนา นวัตกรรมและเรียนรู้ในระบบคลังความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC จากมหาวิทยาลัย โดยสถาบันพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาชายแดนใต้ โดยมีลักษณะเป็นครูยุคใหม่ มีทักษะ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามความต้องการของประเทศและบริบท พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ และมีผลต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่ที่ดี ยิ่งขึ้นอย่างยั่งยืน น�ำมาซึ่งหน่วยให้บริการเฉพาะทางทางการศึกษาเพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษาในพื้นที่ 3 หน่วย ภายใต้การด�ำเนินงานโครงการ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาชายแดนใต้เพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตประชาชนในท้องถิ่น (Flagship Project) 3.3 เกิดการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนทุนทางสังคมในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ในการพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ เกิดการบูรณาการระหว่าง
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 101 เครือข่าย เยาวชนและองค์กรชุมชนด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และผู้น�ำ ท้องถิ่นมี ส่วนร่วมในการพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ผ่านเวทีถอดบทเรียนผู้น�ำ ชุมชน องค์กรทุน ทางสังคมทางด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการสังเคราะห์ ข้อมูลด้าน การต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ น�ำมาซึ่งเครือข่ายองค์กร ชุมชนด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 30 ชุมชน และ เกิดนวัตกรรมโมเดลการพัฒนา เครือข่ายเยาวชนคิดดี ภูมิปัญญาดี เพื่อพัฒนา ทุน 1 โมดล ภายใต้การด�ำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายผู้น�ำเยาวชนคิดดี ภูมิปัญญาดีจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. ด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยได้มีการรวบรวมองค์ความรู้ด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่โดดเด่น สร้างสรรค์เป็นผลงานและได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงบูรณาการผลงานวิจัยกับงานด้านศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนานวัตกรรม จนมีการจดทะเบียน อาทิ สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร ภายใต้การด�ำเนินงาน โครงการส่งเสริมการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจและสังคม ดังนี้ 1) ผลงานฐานข้อมูลผ้าถิ่นชายแดนใต้ (Traditional Fabric in Three Southern Border Provinces) 2) จันทน์กะพ้อ 3) คลังปัญญาชายแดนใต้ 4) ลวดลายผ้า (โคกเคียน 1) 5) ลวดลายผ้า (โคกเคียน 2) 6) ลวดลายผ้า (ไผ่งาม) 7) ลวดลายผ้า (เลิศรสเบตง) 8) ลวดลายผ้า (เมืองในหมอก ดอกไม้งาม) 9) ลวดลาย ผ้าอตีตา ญาลอ 1 10) ลวดลายผ้าอตีตา ญาลอ 2 11) คลิปวิดีโอชุด ภูมิปัญญา
รายงานประจ�ำปี 2566 102 ขนมลากรอบโบราณ ต�ำบลหน้าถ�้ำ จังหวัดยะลา 12) คลิปวิดีโอชุด ท่องเที่ยว ต�ำบลหน้าถ�้ำ จังหวดยะลา 13) คลิปวิดีโอชุด เที่ยวใต้สไตล์เรา โกตาบารู 14) ใบไม้ป่าฮาลาบาลา 15) คลิปวิดีโอการท�ำผลิตภัณฑ์ทองม้วนรสถั่วแดงของ วิสาหกิจชุมชนท�ำขนมต้นแบบทองม้วนทองพับ จังหวัดยะลา 16) ลายผ้าบาติก ดอกดาหลา 17) องค์ความรู้ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา:อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน และ 18) วิถีชีวิตชาวประมงบ้านตะโละกาโปร์สู่การสร้างรายได้ที่ยั่งยืน นอกจากนั้นได้มีการพัฒนานวัตกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม จ�ำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ นวัตกรรมการแสดงชุด อตีตา ญาลอ และนวัตกรรมการออกแบบ ลวดลายจากทุนทางวัฒนธรรม “เขายาลอ” 5. ด้านการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยสร้างศักยภาพการด�ำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการพัฒนา Smart YRU Application พัฒนา Smart and Sustainable University พัฒนา Smart YRU Booking ส�ำหรับการให้บริการ และปรับปรุง พัฒนาระบบสารสนเทศบริหารทรัพยากรองค์กร YRU ERP ซึ่งประกอบ ไปด้วยโมดูลการส�ำรองงบประมาณ โมดูลการโอนงบประมาณ โมดูลการจัด ท�ำค�ำของบประมาณ โมดูลเงินกันเหลื่อมปี โมดูลการรายงานผลการด�ำเนิน งานโครงการ โมดูลจัดการครุภัณฑ์ และโมดูลรายงานอัตราส่วนทางการ เงิน เป็นต้น รวมทั้งได้มีการพัฒนาแอพลิเคชั่นการให้บริการ 3 บริการ ดังนี้ 1) YRU Connect บริการด้านสารสนเทศบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร 2) YRU HRM ด้านสารสนเทศบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และ 3) YRU REG ด้านสารสนเทศบริการการศึกษา ที่ให้บริการดิจิทัลบนสมาร์ทโฟน ภายใต้การด�ำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนบริการดิจิทัลสู่การเป็น มหาวิทยาลัยทันสมัยและยั่งยืน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 103
รายงานประจ�ำปี 2566 104
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 105 ภาคสาม ทิศทางด�ำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัย
รายงานประจ�ำปี 2566 106
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 107
รายงานประจ�ำปี 2566 108
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 109
รายงานประจ�ำปี 2566 110
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 111 วันที่ 4 – 6 สิงหาคม 2566 ได้มีการจัดประชุมตามโครงการประชุมรายงาน แบบแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ณ โรงแรมรอยัล ฮิลล์ อ�ำเภอละงู จังหวัดสตูล ประธานเปิดโครงการและให้แนวนโยบาย คือ รศ.ดร.ช่วงโชติ พันธุเวช นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การประชุมครั้งนี้มีการให้ความส�ำคัญกับ ยุทธศาสตร์และนโยบายการพัฒนา มรย. 5 ปี วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การบริหาร (Roadmap) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ที่ส�ำคัญ คือ การได้รับฟังข้อเสนอแนะ จากนายกสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการ สภาผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เข้าร่วมประชุม รวมถึงแนวนโยบายการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัย กลุ่ม 3 ระหว่างการประชุม ผศ.ดร. ศิริชัย นามบุรี ได้น�ำเสนอวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การบริหาร มรย. ระยะ 5 ปี ต่อที่ประชุมร่วมฯ หลังจากนั้นมีการจัดแบ่งกลุ่ม ตามแผนยุทธศาสตร์ เพื่อปรับข้อมูลตามข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้รับผิดชอบน�ำเสนอตามแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย แผนยุทธศาสตร์ที่ 1 รศ.ดร.ลิลลา อดุลยศาสน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและ คุณภาพบัณฑิต แผนยุทธศาสตร์ที่ 2 ผศ.ดร.เกสรี ลัดเลีย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม แผนยุทธศาสตร์ที่ 3 ผศ.ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่าย พัฒนาชุมชนท้องถิ่นและกิจการพิเศษ แผนยุทธศาสตร์ที่ 4 ผศ.ดร.บุญสิทธิ์ ไชยชนะ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษาและมวลชนสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์ที่ 5 อาจารย์ ดร.สุรเดช สุวรรณชาตรี รองอธิการบดีฝ่าย บริหาร กิจการสภา และกฎหมาย ผลจากการผนึกก�ำลังกันทุกภาคส่วนช่วยกันระดมความคิดเห็นที่มีประโยชน์ ภาพรวมทั้งหมดที่มีการน�ำเสนอ การรับฟังข้อเสนอแนะมากคุณค่า เพื่อปรับปรุง แก้ไขให้เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่สมบูรณ์ที่สุด ทิศทางด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัย
รายงานประจ�ำปี 2566 112
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 113 จากประสบการณ์ ความรู้ ความตั้งใจ ความมุ่งมั่น การศึกษาข้อมูลเมื่อ ได้รับโอกาสท�ำงานในหลากหลายมิติ ท�ำให้ผมน�ำข้อมูลต่าง ๆ มาก�ำหนดเป็น ยุทธศาสตร์การบริหารงานมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะ 5 ปี ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของการศึกษายุทธศาสตร์ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับพื้นที่ ระดับ จังหวัด และแผนยุทธศาสตร์ มรย. 20 ปี รวมทั้งแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย ในระยะ 5 ปี ยึดโยงมาเป็นแผนยุทธศาสตร์พัฒนามหาวิทยาลัย พร้อมกับ ดูเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) พิจารณาบริบทของมหาวิทยาลัยจากการประเมินคุณภาพใน ทุกมิติ รวมถึงเทรนด์ของโลก ก�ำหนดเป็นวิสัยทัศน์ที่ต่อยอดมาจากวิสัยทัศน์เดิม เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ผมจึงใช้วิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยคลังปัญญาแห่งชายแดนใต้ เป็นเลิศในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืนสู่สากล ” “ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย นามบุรี รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
รายงานประจ�ำปี 2566 114 วิสัยทัศน นโยบาย และคเป�นสถาบันอุดมศึกเพ�ือการพัฒนาชุมท้องถิ� นในพ�ืนที�สาจังหวัดชายแดนภาได้แก่จังหวัดยะลป�ตตานีและนราธิว1 ยุทธศาสตรการร์หาริมหาวทยาลิ ัย ราชภัฏยะลา ระยะ 5 ป� (พ.ศ. 2566-2570) วิสัยทัศน์ นโยบาย และค่านิยม Yala Rajabhat University: YRU มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยคลังป�ญญาแห่งชายแดนใต ชายแดนใต้ เป�นเลิศในการพัฒนาชุมชนท้องถิ� นิ� น อย่างยั� งยั� งยืนสู่ สากล 2 3 4 วิสัยทัศนนโยบาย และคานิยม วสิยทั ัศน์ เป�นสถาบันอุดมศึกษา เพ�ือการพัฒนาชุมชน ท้องถิ� นในพ�ืนที�สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่จังหวัดยะลา ป�ตตานีและนราธิวาส เป�นแหล่งสร้างสรรค์ผลิต บัณฑิตคุณภาพ รวบรวม เผยแพร่องค์ความรู้ ภูมิป�ญญา ผลงานวิจัย นวัตกรรม และ ความเชี�ยวชาญ เพ�ือแก้ป�ญหาเชิงพ�ืนที� สามารถยกระดับคุณภาพ ชีวิตประชาชนได้ มีความเป�นเลิศด้วย ต้นแบบที�ดี (Best Practices) ที�สามารถนํา ไปขยายผลสู่การพัฒนาพ�ืนที�ใน ชุมชนท้องถิ� น ที�ตรงตามความ ต้องการของชุมชนท้องถิ� น โดย ยึดตามกรอบเป�าหมายการ พัฒนาอย่างยั� งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 1มีผลการจัดอันดับ มาตรฐานสากล เป�นที�ยอมรับ ทั� งใน ประเทศ และนานาชาติ (สากล) ในด้านการ พัฒนาชุมชนท้องถิ� น อย่างยั� งยืน (SDGs) โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 3 ยุทธศาสตรการร์หาริมหาวทยาลิ ัย ราชภัฏยะลา ระยะ 5 ป� (พ.ศ. 2566-2570) ยุทธศาสตร์การบริหาร มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 115 Yala Rajabhat University: YRU แบบท แบบที�ดี เป เป� นเล � เลิศ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ราชภัฏยะลา ญาแห่งชายแดนใต ่งชายแดนใต้ นาชุมชนท้องถิ� น นสู่สากล ศนนโยบาย และคานิยม ทัศน์ต้นแบบการผลิตบณฑั ิตนักปฏิบตั ิการ ต้นแบบจัดการเรียนรู้บูรณาการกับการทํางาน (WiL) ต้นแบบจดการศั ึกษาวชาการศิ ึกษาทั� วไป (GE) รวมก่ ับชุมชน ต้นแบบการจดการเรัยนรีูออนไลน ้ ์และแบบผสมผสาน ต้นแบบผลงานวจิยและนวัตกรรมเพั�อพืฒนาชัุมชนท้องถิ� น ต้นแบบการพลิกโฉมมหาวทยาลิ ัย (Reinventing) ต้นแบบองค์กรสรางสรรค้ ์ศิลปวฒนธรรมสรัางมู้ลค่าเพมิ� ต้นแบบมหาวทยาลิ ัยดิจทิ ัล (Digital Universitiy) ต้นแบบองค์กรแห่งคณธรรมและความโปรุงใส ่ (ITA) ต้นแบบองค์กรพงพาตนเองและเศรษฐก�ึ ิจพอเพยงี ต้นแบบแหล่งฐานภมูปิ �ญญาชุมชนท้องถิ� น (Local WISDOM) ต้นแบบมหาวทยาลิ ัยพฒนาชัุมชนท้องถิ� นอยางย่งยั�นื (SDGs) ศ. 2566-2570) . 2566-2570) คุณภาพบัณฑิตวิจัยและบริการ วิชาการบริหารจัดการ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 4 12ต ้ นแบบท ้ นแบบที�ดี สความเป ู ่ ค ู ่ วามเป� นเล � เลิศ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยคลังป�ญญาแห่งชายแดนใต ่งชายแดนใต้ เป�นเลิศในการพ ิศในการพัฒนาชุมชนท้องถิ� น อย่างยังย� ืนสู่สากล วิสัยทัศนนโยบาย และคานิยม วสิยทั ัศน์ต้นแบบการผลิต้นแบบจัดการต้นแบบจดการั ต้นแบบการจดัต้นแบบผลงานต้นแบบการพลิต้นแบบองค์กรต้นแบบมหาวทิ ต้นแบบองค์กรต้นแบบองค์กรต้นแบบแหล่งฐาต้นแบบมหาวทยิ (ภายใน 5 ป�พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) คุณภาพบัณฑิตวิจัยและบริการ วิชาการบริหารจัดการ
รายงานประจ�ำปี 2566 116 ว ิ ส ั ยท ั ศน นโยบาย และค าน ิ ยม 20นโยบายเด นโยบายเดน่ ่น อัตลักษณ์บณฑั ิต "เก่งไอทีมจีตอาิคณลุักษณะบณฑั ิต "ภมูริู้ภสานต่อ ก่องานใหม่ ่อ ก่องานใหม ่ ใหย้ ย้ั�
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 117 Yala Rajabhat University: YRU มาสาส�อสารภาษามลายืูได้" ภมูธรรมิภมู ฐานิ " งยันื นืยดหลึ ดึหลักคณภาพุ ณุภาพ ด้านคณภาพบุณฑั ิต 8 ขอ้ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 5
รายงานประจ�ำปี 2566 118 ว ิ ส ั ยท ั ศน นโยบาย และค าน ิ ย20นโยบายเด นโยบายเดน่ ่น สานต่อ ก่องานใหม่ ่อ ก่องานใหม ่ ใหย้ ย้งั�งานวจิยและนวัตั สการพู่ฒนาชัุมชนแที�มผลกระที ยกระดับคณภาพการศุึกษสรางโอกาส ้ลดความแก้ป�ญหาความยากจน และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 119 Yala Rajabhat University: YRU ม งยนื นืยดหลึ ดึหลักคณภาพุ ณุภาพ ตกรรมและท้องถิ� น ทบษา คณภาพชุวีติ มเหล�ือมล�ํา ะขจดความหั วโหย ิ ด้านวจิยและบรัการวิชาการิ 2 ขอ้ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 6
รายงานประจ�ำปี 2566 120 ว ิ ส ั ยท ั ศน นโยบาย และค าน ิ ยม 20นโยบายเด นโยบายเด่น สรางความภาคภ้มูใจในประว ิตั ิและความเปนม� "มหาวทยาลิ ัยราชภัฏยะลา" สรางค้ณคุ่าและมูลค่าเชงสริางสรรค้ ์ จากศิลปวฒนธรรมใน ัจชต. สานต่อ ก่องานใหม่ ่อ ก่องานใหม ่ ใหย้ ย้งั�
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 121 Yala Rajabhat University: YRU มมาของ งยนื นืยดหลึ ดึหลักคณภาพุ ณุภาพ ด้านศิลปวฒนธรรมั 1 ขอ้ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 7
รายงานประจ�ำปี 2566 122 ว ิ ส ั ยท ั ศน นโยบาย และค าน ิ ย20 นโยบายเด่น สานต่อ ก่องานใหม่ ่อ ก่องานใหม ่ ใหย้ ย้ัe-University or Digital University มหคณธรรุพึ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 123 Yala Rajabhat University: YRU ม ด้านการบรหารองคิ ์กร 9 ขอ้ยยงยั�นื นืยดหลึ ดึหลักคณภาพุ ณุภาพ บรการคิณภาพุ และ ความพงพอใจ ึ ของลกคู้า หาวทยาลิ ัยแหง่ รมและความโปรงใส ่ มหาวทยาลิ ัย พ�งพาตนเองได ึ ้ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 8
รายงานประจ�ำปี 2566 124 Yala Rajabhat University: YRU หมายถึง องค์กรที� มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ� และความสาเรํ ็จของ งานเป�นสาคํ ัญ หมายถึง องค์กรที� ยึดมั� นคุณธรรมและ จริยธรรม และ ยกย่องคนดี วิสัยทัศนนโยบาย และคานิยม ปลกฝู กูฝ�งค่านิยมรวมขององค ว่มขององค์กร (Shared Value) (Shared Value) หมายถึง องค์กรที�ยึด วิถีและวัฒนธรรม รู้รักสามัคคีและ รักษาผลประโยชน์ ส่วนรวม เป�นสาคํ ัญ ม. ร. ย. โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 9 มรย. "วฒนธรรมค ฒันธรรมคณภาพุรูร้กสามัคคั ี อยูร่วมก่ ันฉันท์พนี� ้อง" Yala Rajabhat University: YRU แผนที�ความสาเรํ ็จที�จะเกิดข�ึนในระยะ 4 ป� (พ.ศ. 2566-2569 ) วิสัยทัศนนโยบาย และคานิยม พลิกบทบาท จัดระบบงาน พัฒนาบุคลากร กฎหมาย บูรณาการข้อมูลและ สารสนเทศ พัฒนา โครงสร้างพ�ืนฐานดิจิทัล และจัดระบบกลไกภายใน เพ�ือการพลิกโฉม มรย. มีอันดับ Top 5 กลุ่ม ราชภัฏ และ THE Ranking Top 1000 Webometrics Top 5 หลักสูตรทันสมัย ยืดหยุ่น บัณฑิตทํางานระหว่าง เรียน และมีคุณภาพตาม เกณฑ์ผลการวิจัย บริการ สังคม ตีพิมพ์นานาชาติ ตอบโจทย์ชุมชนท้องถิ�น มรย. มีอันดับ Top 5 กลุ่ม ราชภัฏ และ THE Ranking Top 800 Webometrics Top 3 ป� 2566 ป� 2567 ป� 2568 ป� 2569-70 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยคลังป�ญญา แห่งชายแดนใต งชายแดนใต้ เป�นเลิศในการพ ิศในการพัฒนา ชุมชนท้องถิ� นิ� น อย่างยั�งยืนสู่สากล พลิกโฉม 12 ต้นแบบตามนโยบาย ขยายผลสู่ชุมชนท้องถิ�น ยกระดับคุณภาพบัณฑิต คุณภาพการศึกษา คุณภาพ ชีวิต และคุณภาพ มรย. มรย. มีอันดับ Top 3 กลุ่ม ราชภัฏ และ THE Ranking Top 600 Webometrics Top 3 มหาวิทยาลัยเป�นต้นแบบ "มหาวิทยาลัยกลุ่มพัฒนา ชุมชนท้องถิ�น" ศักยภาพ และผลการดําเนินงานมี ผลกระทบเชิงประจักษ์ใน สามจังหวัดชายภาคแดนใต้ มรย. มีอันดับ Top 3 กลุ่ม ราชภัฏ และ THE Ranking Top 500 Webometrics Top 3 โหมงาน เบงบานผลผล่ ิต พชิตเป ิ �าหมาย วสิยทั ัศน์ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 10
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 125 Yala Rajabhat University: YRU ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา บัณฑิต มีสมรรถนะตามความ ต้องการของชุมชน ท้องถิ� น ประเทศ มีงานทํา และ ประชาชน ได้รับโอกาสทางการ ศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน�ือง ตลอดชีวิต การวิจัยและ นวัตกรรมเพ่ือการ พัฒนาทองถ่ิน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ สามารถยกระดับ คุณภาพการ ศึกษาและคุณภาพชีวิต ของ ประชาชนในท้องถิ� น การศึกษาและพัฒนา เพ่ือความม่ันคง พ�ืนที�ชายแดนใต้ (ยะลา ป�ตตานี และ นราธิวาส) มีสันติสุข ด้วยกลไกการศึกษา การสงเสริมและพัฒนา ทองถ่ินเพ่ือความย่ังยืน ลดความเหล�ือมล�ําของประชาชน ในพ�ืนที�และ พัฒนาอย่างยั�งยืน ตามกรอบ SDGs 2 3 1 4 5การพัฒนาระบบบริหาร จัดการใหมีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับใน ระดับประเทศและนานาชาติและ เป�นองค์กรแห่งคุณธรรม และความโปร่งใส 5 ยทุธศาสตร์ ยทุธศาสตร์ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 11 ยุทธศาสตร์การบริหาร มรย. 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
รายงานประจ�ำปี 2566 126 ย ุ ทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย. 5ปี6 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 1การพ ั ฒนาคุณภาพการศ ณภาพการศ ึ กษา 1. พลิกบทบาทผู้สอน 2. พัฒนาทักษะศตวรรษที� 21 เป�นอาจารยด์ ิจทิ ัลที�มสมรรถนะเป ี �น นักพฒนาชัุมชนท้องถิ� นออกแบบการ เรยนรีู้อํานวยความสะดวก ใหค้ ํา ปรกษาึและสรางแรงบ้ นดาลใจให ัก้ ับ นักศึกษา และเป�นโค้ช รวมถึง ทักษะภาษาอังกฤษ มลายูและ ทักษะดิจทิ ัล 3. บ่มเพาะนักศึกษาสู่การเป�นนวตกรั สงเสร่ มให ิท้กหลุักสตรจูดการเรัยนรีู้ และกิจกรรมเสรมหลิ ักสตรทูี�เน้นการ พฒนานั ักศึกษาใหสร้างสรรค้ ์ นวตกรรมั ศาสตร์ที� ยุทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย. 56 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 1การพัฒนาคุณภาพการศ ณภาพการศ ึ กษา 1. พลิกบทบาทผู้สอน 2. พัฒนาทักษะศตวรรษที� 21 เป�นอาจารยด์ ิจทิ ัลที�มสมรรถนะเป ี �น นักพฒนาชัุมชนท้องถิ� นออกแบบการ เรยนรีู้อํานวยความสะดวก ใหค้ ํา ปรกษาึและสรางแรงบ้ นดาลใจให ัก้ ับ นักศึกษา และเป�นโค้ช รวมถึง ทักษะภาษาอังกฤษ มลายูและ ทักษะดิจทิ ัล 3. บ่มเพาะนักศึกษาสู่การเป�นนวตกรั สงเสร่ มให ิท้กหลุักสตรจูดการเรัยนรีู้ และกิจกรรมเสรมหลิ ักสตรทูี�เน้นการ พฒนานั ักศึกษาใหสร้างสรรค้ ์ นวตกรรมั ยุทธศาสตร์ที�
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 127 Yala Rajabhat University: YRU ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) 4. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้รับประกาศนียบัตรวชาชิพี 5. จัดทําแผนผลิตบัณฑิต พัฒนาคุณภาพ หลักสูตรตามความต้องการชุมชนท้องถิ� น พฒนาทั ักษะที�มอยีู่เสรมทิ ักษะเพมเติ�ิม (Reskill) และเพมทิ� ักษะใหม (Upskill) ่ ปรบเปล ั ี�ยนกระบวนการจดการเรัยนรีูเพ้ �อสรืาง้ บณฑั ิตฐานสมรรถนะ (Competency-Based) ตาม ความต้องการของชุมชน ท้องถิ� น และประเทศ เป�ดโอกาสใหประชาชนท ้กชุวงว่ยัเขาถ้ ึงการ ศึกษาโดยปรบเปล ั ี�ยนวธิการเรียนรีู้พฒนาั แพลตฟอรมการเร์ยนรีูท้ ี�ยดหยืุน่และสราง้ เครอขืายความร่วมม่อจืดการศั ึกษา 6. ส่งเสริมและจัดกระบวนการเรียนรู้ต่อเน�ือง ตลอดชวีติ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 12
รายงานประจ�ำปี 2566 128
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 129 Yala Rajabhat University: YRU 6. โครงการพัฒนาทักษะศตวรรษ ท่ี 21 และ พลเมืองท่ีดีดวยหลักสูตรวิศวกรสังคม 5. โครงการปฏิรูปการจัดการเรียนรูกลุมวิชาการ ศึกษาท่ัวไปบูรณาการเชิงพ้ืนท่ีฯ ารบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) าพการศ าพการศึกษา 1. โครงการพัฒนาสมรรถนะ อาจารยดิจิทัลสูมือ อาชีพ (Digital Upskill) ะมีงานทําภายใน 1 ปี รับรางวัลระดับภูมิภาค ละผลิตบัณฑิตกับสถาน รียน ตอดานสังคมศาสตรเพ่ิม นในพ้ืนท่ีเปาหมายสะสม ชิงพ้ืนท่ีเพ่ิมขึ้น ขบเคลั�ือนด้วย 23 โครงการ 2. โครงการพัฒนาสมรรถนะอาจารย(Reskill) สูการเป็นนักพัฒนาชุมชนทองถ่ินฯ 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะดานดิจิทัล ของบัณฑิต 4. โครงการเรงรัดพัฒนาทักษะและ สงเสริมการ สอบวัดมาตรฐานภาษาอังกฤษตามเกณฑมาตรฐาน โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 13 ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.1 การพัฒนาคุณภาพการศ ณภาพการศึกษา รอยละของบัณฑิตท่ีมีสมรรถนะและมีงานทําภายใน 1 ปี จํานวนนวัตกรรมของนักศึกษาท่ีไดรับรางวัลระดับภูมิภาค ชาติหรือนานาชาติ รอยละของหลักสูตรท่ีรวมพัฒนาและผลิตบัณฑิตกับสถาน ประกอบการ และ มีรายไดระหวางเรียน สัดสวนนักศึกษาดานวิทยาศาสตรตอดานสังคมศาสตรเพ่ิม ขึ้น จํานวนผูรับบริการหลักสูตรระยะส้ันในพ้ืนท่ีเปาหมายสะสม และเทียบโอนหนวยกิตเพ่ิมขึ้นทุกปี จํานวนเครือขายการจัดการเรียนรูเชิงพ้ืนท่ีเพ่ิมขึ้น 1. 2. 3. 4. 5. 6. ขบเคลั�ือนด้ยุทธศาสตร์ที� 6
รายงานประจ�ำปี 2566 130 Yala Rajabhat University: YRU 17. โครงการสงเสริมการสรางเครือขายเพ่ือการพัฒนา หองเรียนตนแบบดาน วิทยาศาสตรคณิตศาสตรและ เทคโนโลยี าร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ศศึกษา 13. โครงการพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตร ทันสมัยผลิตบัณฑิต เรียนรูคูกับการทํางาน (CWIE) รวมกับเครือขายภาคเอกชนและภาครัฐ ยใน 1 ปี ดับภูมิภาค ตกับสถาน ศาสตรเพ่ิม หมายสะสม ขึ้น ขบเคลั�ือนด้วย 23 โครงการ 14. โครงการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือการจัดการศึกษา ท่ีแตกตาง(Sandbox) 15. โครงการรวมผลิตบัณฑิตเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา ธุรกิจการทองเท่ียวเชิงพ้ืนท่ีรวมกับโครงการ “เบตง 10,000 ลาน” 16. โครงการทุนศึกษาสงเสริมความเป็นเลิศเพ่ือโอกาส ทางการศึกษาตอปริญญาตรีดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีทันสมัย โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 15 Yala Rajabhat University: YRU 12. โครงการสงเสริมความเป็นเลิศดานการกีฬาสู การสรางอาชีพและรายได 11. โครงการสงเสริมความเป็นเลิศทางวิชาชีพของ นักศึกษา าร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ศศึกษา 7. โครงการผลิตบัณฑิตครูนักพัฒนาสูความเป็นเลิศดวย หลักสูตรพิเศษ (Extra Time) โดยใชหอพักเป็นฐาน ยใน 1 ปี ดับภูมิภาค ตกับสถาน ศาสตรเพ่ิม หมายสะสม ขึ้น ขบเคลั�ือนด้วย 23 โครงการ 8. โครงการขยายระดับช้ันและยกระดับคุณภาพ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลาสูความ เป็นเลิศ (ส่ิงกอสรางและครุภัณฑ) 9. โครงการจัดต้ังศูนยบมเพาะและพัฒนาสมรรถนะ นักศึกษาสูการเป็นนวัตกร 10. โครงการพัฒนาศูนยฝึกนวัตกรรมการประกอบ ธุรกิจการคาสมัยใหม โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 14
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 131 Yala Rajabhat University: YRU 19. โครงการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรผูชวย พยาบาลและหลักสูตรระยะส้ัน 21. โครงการพัฒนาหลักสูตรระยะส้ันจัดการเรียนรู เพ่ือสะสมและโอนหนวยกิตเพ่ือรับปริญญา 18. โครงการศึกษาพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต (พย.บ.) และจัดต้ังคณะพยาบาลศาสตร 20. โครงการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรดานแพทย ทางเลือก และจัดต้ังคณะสาธารณสุขศาสตร 23. โครงการพัฒนาคอรสแวรเพ่ือการเรียนรูทัน สมัยและตลอดชีวิตผานแพลตฟอรมออนไลน ารบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) พการศ พการศึกษา มีงานทําภายใน 1 ปี ับรางวัลระดับภูมิภาค ะผลิตบัณฑิตกับสถาน ยน อดานสังคมศาสตรเพ่ิม ในพ้ืนท่ีเปาหมายสะสม ชิงพ้ืนท่ีเพ่ิมขึ้น ขบเคลั�ือนด้วย 23 โครงการ 22. โครงการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ เครือขาย (Network) เพ่ือความรวมมือการผลิตบัณฑิต โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 16
รายงานประจ�ำปี 2566 132 Yala Rยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-257. 2566-2574 กลยุทธส์าคํ ัญ 2 การวิจัยและนวัตกรรมเพ ตกรรมเพ่ือการพัฒนาทองถ่ิน 1. เร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พ�ืนฐานการวจิัยและทักษะ นักวจิัยสู่มืออาชพี 3. ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพย์สินทางป�ญญาและใชประโยชน ้ ์เชงพาณิ ิชย์แ2. เปลี�ยนทิศทางสู่งานวจิัยเพ�ือ แก้ป�ญหาเชงพิ�ืนที�ในชุมชน ท้องถิ� น 4. สร้างความเชยวชาญี�เลิศ ด้วยศูนย์ศึกษาวจิัเชงพิ�ืนที� ยุทธศาสตร์ที� โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบย ุ ทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย. 54 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 2การว ิ จ ั ยและนว ั ตกรรมเพ ตกรรมเพ ่ ื อการพ ั ฒน 1. เร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พ�ืนฐานการวจิัยและทักษะ นักวจิัยสู่มืออาชพี 2. เปลี�ยนทิศทางสู่งานวจิัยเพ�ือ แก้ป�ญหาเชงพิ�ืนที�ในชุมชน ท้องถิ� น ศาสตร์ที�
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 133 Yala Rajabhat University: YRU ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) นาท องถ ่ ิ ่ ิ น 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการข�ึนทะเบียน ทรัพย์สินทางป�ญญาและการต่อยอดการนําไป ใชประโยชน ้ ์เชงพาณิ ิชย์และเชงสิ ังคม 4. สร้างความเชยวชาญสี�ู่ความเป�น เลิศ ด้วยศูนย์ศึกษาวจิัยเฉพาะทาง เชงพิ�ืนที�
รายงานประจ�ำปี 2566 134 5. โครงการนวัตกรรมเพืทางปัญญา2. โครงการวิจัยและทีม4. โครงการเฉพาะทาง ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 256. 2562 การวิจัยและนวัตกรรมเพ ตกรรมเพ่ือการพัฒนาทองถ่ิน 1. โครงการพเพ่ือศักยภาพบทความวิชาการท่ีตีพิมพและเผยแพรในวารสาร วิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ผลงานวิจัย งานสรางสรรคและนวัตกรรมท่ีนําไปใชใน การสรางมูลคาเพ่ิมใหแกชุมชน ผลงานวิชาการ นวัตกรรมท่ีจดทะเบียนทรัพยสินทาง ปัญญา ศูนยความเป็นเลิศ (Center of Excellence) ท่ีตรง ความตองการของชุมชนทองถ่ิน 1. 2. 3. 4. ขบเคลั�ือนด้วย 11 โครง3. โครงการยุทธศาสตร์ที� 4 โดย ผู้ชวยศาสต่ ุ6. โครงการชายแดนภาครุภัณฑ) Yala Rajabhat University: YRU 5. โครงการสงเสริมการวิจัย งานสรางสรรคและ นวัตกรรมเพ่ือทองถ่ินสูการจดทะเบียนทรัพยสิน ทางปัญญาและตอยอดเชิงพาณิชย 2. โครงการพัฒนาสมรรถนะหัวหนาโครงการ วิจัยและทีมนักวิจัยสูมืออาชีพ 4. โครงการศูนยความเป็นเลิศการวิจัยเฉพาะดาน/ เฉพาะทาง หาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) พัฒนาทองถ่ิน 1. โครงการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานการวิจัย เพ่ือศักยภาพการแขงขัน นวารสาร รรมท่ีนําไปใชใน นทรัพยสินทาง nce) ท่ีตรง ขบเคลั�ือนด้วย 11 โครงการ 3. โครงการคลินิกวิจัยเพ่ือการพัฒนาทองถ่ิน โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 18 ุ6. โครงการสงเสริมสถาบันพัฒนาครูและบุคลากร ชายแดนภาคใตสูความเป็นเลิศ (ส่ิงกอสรางและ ครุภัณฑ)
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 135 10. โครงการจัดต้ัง ศูนยศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร และนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาชุมชนทองถ่ินชายแดน ภาคใต (ส่ิงกอสรางและครุภัณฑ) 7. โครงการพัฒนาศูนยศึกษาวิจัยเศรษฐกิจ ฐานรากและอุตสาหกรรมบริการ ณ เบตง ริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) รพัฒนาทองถ่ิน รในวารสาร กรรมท่ีนําไปใช ยนทรัพยสิน ellence) ท่ีตรง ขบเคลั�ือนด้วย 13 โครงการ 8. โครงการจัดต้ังสถาบันนวัตกรรมการเกษตร สมัยใหมอาหารสรางสรรคและพลังงานทดแทน ณ แมลาน 9. โครงการพัฒนา ศูนยศึกษาวิจัยดานสุขภาพ อนามัย และการดูแลผูสูงอายุ (Day Care) โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 19 11. โครงการศูนยศึกษาวิจัยการปลูกและ ใชสมุนไทยทองถ่ินชายแดนใตเพ่ือสุขภาพ
รายงานประจ�ำปี 2566 136 ย ุ ทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย. 52 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 3 การส งเสร ิ มและพ ั ฒนาท องถ่ิ นเพ่ื อ 1. เพิ� มขีดความสามารถของ ชุมชนท้องถิ� นในการแก้ไขป�ญหา ความเหล�ือมล�ํา และ สร้างความ เป�นธรรมทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และ สิ� งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที� Yala Rajabhat ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) 2 กลยุทธส์าคํ ัญ 3 การสงเสริมและพัฒนาทองถ่ินเพ่ือความย่ังยืน 1. เพิ� มขีดความสามารถของ ชุมชนท้องถิ� นในการแก้ไขป�ญหา ความเหล�ือมล�ํา และ สร้างความ เป�นธรรมทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และ สิ� งแวดล้อม 2. เสริมสร้างพลังเครือข่ายกับชุมชนท้องถิ� นเพ�ือสร้างหการทางสังคมที�ประชาชนแสามารถเข้าถึงและเรียนรู้ได้ยุทธศาสตร์ที� โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชกาั
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 137 Yala Rajabhat University: YRU 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ความย่ั งย ื น 2. เสริมสร้างพลังเครือข่ายความร่วมมือ กับชุมชนท้องถิ� นเพ�ือสร้างห้องปฏิบัติ การทางสังคมที�ประชาชนและนักศึกษา สามารถเข้าถึงและเรียนรู้ได้ 21
รายงานประจ�ำปี 2566 138 Yala Rajabhat University: YRU ารบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) องถ่ินเพ่ือความย่ังยืน 1. โครงการยุทธศาสตรราชภัฏเพ่ือการ พัฒนาทองถ่ิน (ดําเนินการตอเน่ือง) ขาไปพัฒนา มีรายได ของมหาวิทยาลัยมีผล สามารถในการพัฒนา นทรัพยากรและ าลัยในการพัฒนา ขบเคลั�ือนด้วย 12 โครงการ 2. โครงการถายทอดองคความรูเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพการ ศึกษา คุณภาพชีวิตและรายไดของประชาชน 3. โครงการศูนยสงเสริมนวัตกรรมการ พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑผาทองถ่ิน เพ่ือเสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก (New Flagship Project) 4.ศูนยศึกษาและประสานงานดานสิทธิ มนุษยชนในภูมิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 22 ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 25. 23 การสงเสริมและพัฒนาทองถ่ินเพ่ือความย่ังยืน 1. โครงกาพัฒนาทอครัวเรือนเปาหมายท่ีมหาวิทยาลัยเขาไปพัฒนา มีรายได เพ่ิมขึ้น โรงเรียนท่ีเขารวมโครงการพัฒนาของมหาวิทยาลัยมีผล สัมฤทธิทางการศ์ึกษาสูงขึ้น ชุมชนท่ีมหาวิทยาลัยพัฒนา มีความสามารถในการพัฒนา และพ่ึงพาตนเอง มูลคาเศรษฐกิจสรางสรรคบนฐานทุนทรัพยากรและ นวัตกรรมในพ้ืนท่ีเพ่ิมขึ้น ภาคีเครือขายท่ีรวมมือกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนา ชุมชนทองถ่ินเพ่ิมขึ้น 1. 2. 3. 4. 5. ขบเคลั�ือนด้วย 12 โ2. โครงกและนวัตกศึกษา คุณ3. โครงกพัฒนาแลเพ่ือเสริม(New Fla4.ศูนยศึกมนุษยชนยะลา ยุทธศาสตร์ที� 5 โดย ผู้ช่
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 139 Yala Rajabhat University: YRU รรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) นาทองถ่ินเพ่ือความย่ังยืน 5. โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนจังหวัด ชายแดนใต (ตชด.) ยาลัยเขาไปพัฒนา มีรายได รพัฒนาของมหาวิทยาลัยมีผล มีความสามารถในการพัฒนา นฐานทุนทรัพยากรและ หาวิทยาลัยในการพัฒนา ขบเคลั�ือนด้วย 12 โครงการ 6. โครงการพัฒนาโรงเรียนตนแบบเพ่ือยก ระดับคุณภาพการศึกษาในจังหวัดชายแดน ใต 7. โครงการกอสรางอาคารศูนยฝึกอบรมครู สถาบันพัฒนาครูและบุคลากรชายแดนใต (ส่ิงกอสรางและครุภัณฑ) 8. โครงการสงเสริมการพัฒนาชุมชน ตนแบบการพ่ึงพาตนเองอยางย่ังยืน โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 13 Yala Rajabhat University: YRU รรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) นาทองถ่ินเพ่ือความย่ังยืน 9. โครงการพัฒนา ศูนยประชุมและแสดง นิทรรศการสินคาชายแดนภาคใต (ส่ิงกอสราง และครุภัณฑณ พ้ืนท่ีถนนทางหลวงหมายเลข 418) าลัยเขาไปพัฒนา มีรายได ัฒนาของมหาวิทยาลัยมีผล ความสามารถในการพัฒนา ฐานทุนทรัพยากรและ วิทยาลัยในการพัฒนา พ่ิมขึ้น ขบเคลั�ือนด้วย 12 โครงการ 10. โครงการเสริมสรางสมรรถนะ และ ศักยภาพการจัดการชุมชนและเครือขาย 11. โครงการพัฒนาฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) และสารสนเทศเครือขายชุมชน เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจ 12. โครงการสงเสริมการพัฒนาหอง ปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ตนแบบ โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 24
รายงานประจ�ำปี 2566 140 ยุทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย. 52 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 4 การศึ กษาและการพ กษาและการพ ั ฒนาเพ ่ ื อควา 1. เสริมสร ้ างสันติสุขใน พ�ืนที�ชายแดนภาคใต้ ด ้ วย การศึกษา ยุทธศาสตร์ที� Yala Rยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-257. 2566-2572 กลยุทธส์าคํ ัญ 4 การศึกษาและการพ กษาและการพัฒนาเพ่ือความม่ันคง 1. เสริมสร้างสันติสุขใน พ�ืนที�ชายแดนภาคใต้ด้วย การศึกษา 2. ส่งเสริมกิจกรรมสู่การปฏิบัติในชุมชชายแดนภาคใต้โดราโชบายด้านการศึ10 เป�นแนวทาง ยุทธศาสตร์ที� โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 141 Yala Rajabhat University: YRU 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ามม ่ ั ่ ั นคง 2. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเชงบวกิ สู่การปฏิบัติในชุมชนพ�ืนที�จังหวดั ชายแดนภาคใต้โดยน้อมนําพระบรม ราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลที� 10 เป�นแนวทาง 25
รายงานประจ�ำปี 2566 142 Yala Rajabhat University: YRU บริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) อความม่ันคง 1. โครงการสนับสนุนกิจกรรมนักศึกษาเพ่ือการ ขับเคล่ือนการแกไขปัญหาในพ้ืนท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใตสูสันติสุข งการ มีสวนรวม รใชกลไก กรรมของ สูตร หรือ ความม่ันคง ขบเคลั�ือนด้วย 7 โครงการ 2. โครงการเสริมสรางภูมิคุมกันเพ่ือสันติสุข ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต (หองเรียน พิเศษ SMP-YRU) 3. โครงการสงเสริมและพัฒนาศูนยจิตอาสา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 4. โครงการสงเสริมการพัฒนาชมรม To Be Number One เพ่ือเสริมสรางสันติสุข โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 26 ยุทธศาสตร ทธศาสตร การบริหาร มรย. 5ปี (พ.4 การศึกษาและการพ กษาและการพัฒนาเพ่ือความม่ันคง 1. โขับชาประชาชนกลุมเปาหมายท่ีเขารวมโครงการ มีสวนรวม ในการแกไขปัญหาความม่ันคงดวยการใชกลไก ทางการศึกษา และการพัฒนาโดยกิจกรรมของ นักศึกษาและเยาวชน มีชุดความรูหรือนวัตกรรม หรือหลักสูตร หรือ ตนแบบ เก่ียวกับการจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคง 1. 2. ขบเคลั�ือนด้2.ในพิ3.มห4.Nuยุทธศาสตร์ที� 2
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 143 Yala Rajabhat University: YRU รบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) เพ่ือความม่ันคง 5. โครงการสงเสริมชมรมนักศึกษาดาน วิชาการและอาชีพตามพระบรมราโชบาย รัชกาลท่ี 10 ดานการศึกษา มโครงการ มีสวนรวม วยการใชกลไก ยกิจกรรมของ หลักสูตร หรือ าเพ่ือความม่ันคง ขบเคลั�ือนด้วย 7 โครงการ 6. โครงการสงเสริมการสรางวิศกรสังคมเพ่ือ การพัฒนาพ้ืนท่ีชายแดนใตสูสันติสุข 7. โครงการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพ่ือ เสริมสรางการพัฒนาอยางย่ังยืน (SDGs) ใน พ้ืนท่ีจชต. โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 27
รายงานประจ�ำปี 2566 144 ย ุ ทธศาสตร ทธศาสตร การบร ิ หาร มรย.4 กลย ุ ทธส ์ าค ํ ั ญ 5 การพ ั ฒนาระบบบร ฒนาระบบบร ิ หารจ ัดการให 1. เพิ� มประสิทธิภาพระบบ บริหารจัดการโดยใชเทคโนโลย ้ ี และปรับเปลี�ยนองค์กรเป�น องค์กรดิจิทัล 2. พัฒนาระบบการจัดการสภาพแวดล้อมสู่ มหาวทยาลิ ัยสีเขียว (GREEN UNIVERSITY) และ ตามเป�าหมายของการพัฒนาอย่าง ยั� งยืน (SDGS) ยุทธศาสตร์ที� Yala Rajabhat Unยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) 4 กลยุทธส์าคํ ัญ 5 การพัฒนาระบบบร ฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ 1. เพิ� มประสิทธิภาพระบบ บริหารจัดการโดยใชเทคโนโลย ้ ี และปรับเปลี�ยนองค์กรเป�น องค์กรดิจิทัล 3. เพิ� มขีดความสามารถของบุคลาศักยภาพการแข่งขันที�สอดคล้องกการพัฒนามหาวทยาลิ ัย (กลุ่มพัฒท้องถิ� น และชุมชนอ�ืน) 2. พัฒนาระบบการจัดการสภาพแวดล้อมสู่ มหาวทยาลิ ัยสีเขียว (GREEN UNIVERSITY) และ ตามเป�าหมายของการพัฒนาอย่าง ยั�งยืน (SDGS) 4. เสริมสร้างวฒนธรรมสัู่องค์กคุณธรรมและโปร่งใส (ITA) ยุทธศาสตร์ที� โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแั
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 145 Yala Rajabhat University: YRU . 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ห ม ีประสิ ทธ ิ ภาพ 3. เพิ� มขีดความสามารถของบุคลากรเพ�ือ ศักยภาพการแข่งขันที�สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนามหาวทยาลิ ัย (กลุ่มพัฒนาชุมชน ท้องถิ� น และชุมชนอ�ืน) 4. เสริมสร้างวฒนธรรมสัู่องค์กร คุณธรรมและโปร่งใส (ITA) โดยผ้ชวยศาสตราจารย่์ดรศิรชิยันามบรีรกษาราชการแทนอธัการบดิี(5สค66)28
รายงานประจ�ำปี 2566 146 1. โครงการปรัสมัยและย่ังยืน YRU) 2. โครงการและการส่ือส3.โครงการสพ่ึงพาตนเอง ยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 256. 2565 การพัฒนาระบบบร ฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ ผลการจัดอันดับ (The Impact Ranking) อยูในอันดับท่ีดีขึ้น ตอเน่ืองทุกปี ความพึงพอใจของผู้รับบริการระดับดีข�ึนไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อาจารย์ประจามํ ีตําแหน่งทางวิชาการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 บุคลากรมีผลงานวิชาการหรือนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 อันดับผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) อยู่ใน 10 อันดับแรกของกลุ่มมหาวิทยาลัย 1. 2. 3. 4. 5. ขบเคลั�ือนด้วย 15 โครง4. โครงการเมหาวิทยาลัย5. โครงการพเพ่ือจัดอันดับยุทธศาสตร์ที� 5 โดย ผู้ชวยศาส่ Yala Rajabhat Uยุทธศาสตร ทธศาสตรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) 4 กลยุทธส์าคํ ัญ 5 การพัฒนาระบบบร ฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ 1. เพิ� มประสิทธิภาพระบบ บริหารจัดการโดยใชเทคโนโลย ้ ี และปรับเปลี�ยนองค์กรเป�น องค์กรดิจิทัล 3. เพิ� มขีดความสามารถของบุคลาศักยภาพการแข่งขันที�สอดคล้องกการพัฒนามหาวทยาลิ ัย (กลุ่มพัฒท้องถิ� น และชุมชนอ�ืน) 2. พัฒนาระบบการจัดการสภาพแวดล้อมสู่ มหาวทยาลิ ัยสีเขียว (GREEN UNIVERSITY) และ ตามเป�าหมายของการพัฒนาอย่าง ยั�งยืน (SDGS) 4. เสริมสร้างวฒนธรรมสัู่องค์กคุณธรรมและโปร่งใส (ITA) ยุทธศาสตร์ที� โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแัYala Rajabhat University: YRU 1. โครงการปรับเปล่ียนมหาวิทยาลัยดิจิทัลสูความทัน สมัยและย่ังยืน (SMART and Sustainable Digital YRU) 2. โครงการพัฒนาและเสริมสรางภาพลักษณ และการส่ือสารองคกรในยุคดิจิทัล 3.โครงการสงเสริมการจัดหารายไดเพ่ือการ พ่ึงพาตนเอง บริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) รใหมีประสิทธิภาพ นอันดับท่ีดีขึ้น ้อยกว่าร้อยละ 80 า ร้อยละ 60 ยกว่า ร้อยละ 80 ส (ITA) อยู่ใน 10 ขบเคลั�ือนด้วย 15 โครงการ 4. โครงการเตรียมความพรอมและพัฒนา มหาวิทยาลัยเขาสูการ จัดอันดับ THE 5. โครงการพัฒนาระบบและจัดการองคกร เพ่ือจัดอันดับ Green University โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 29
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 147 Yala Rajabhat University: YRU 6. โครงการสงเสริมและสนับสนุนการยกระดับ ปาบาลาฮาลาเป็นมรดกอาเซียนและมรดกโลก 7. โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ องคกรเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล ISO 8. โครงการพัฒนาแอพลิเคช่ันสําหรับบริการ ดิจิทัลและเน้ือหาดิจิทัล (Digital Contents) 10. โครงการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน เพ่ือ บริการและการเรียนรูสําหรับนักศึกษา Gen Z รรการบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ารจัดการใหมีประสิทธิภาพ nking) อยูในอันดับท่ีดีขึ้น บดีข�ึนไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 าร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 กรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ความโปร่งใส (ITA) อยู่ใน 10 ขบเคลั�ือนด้วย 15 โครงการ 9. โครงการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายท่ีเอ้ือ ตอการเป็นมหาวิทยาลัยพัฒนาชุมชนทองถ่ิน โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 30 Yala Rajabhat University: YRU 11. โครงการปรับร้ือโครงสรางองคกรเพ่ือ เสริมสรางศักยภาพองคกร 13. โครงการพัฒนาศักยภาพและขีดความ สามารถของบุคลากรเพ่ือการเปล่ียนแปลง 15. โครงการเสริมสรางวัฒนธรรมสูองคกร คุณธรรมและความโปรงใส การบริหาร มรย. 5ปี (พ.ศ. 2566-2570) . 2566-2570) ารจัดการใหมีประสิทธิภาพ nking) อยูในอันดับท่ีดีขึ้น ดีข�ึนไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 รรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ความโปร่งใส (ITA) อยู่ใน 10 ขบเคลั�ือนด้วย 15 โครงการ 12. โครงการศูนยสงเสริมผลงานวิชาการและ การศักยภาพทรัพยากรมนุษยเพ่ือการแขงขัน 14. โครงการปฏิรูประบบบริหารงานทรัพยากร มนุษยเพ่ือเสริมสรางขวัญกําลังใจและความสุข โดย ผู้ชวยศาสตราจารย่ ์ดร.ศิรชิยันามบุรีรกษาราชการแทนอธัการบดิ ี (5 ส.ค.66) 31
รายงานประจ�ำปี 2566 148