The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566 มรย Ebook

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Alisa daoh, 2023-09-30 20:48:58

รายงานประจำปี 2566 มรย Ebook

รายงานประจำปี 2566 มรย Ebook

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 249 ส�ำหรับยุทธศาสตร์ที่ 5 กลยุทธ์ที่เราจะใช้ คือ รวดเร็ว ถูกต้อง การท�ำงาน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สุดท้ายก็คือเกิดความคุ้มค่า เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรา ต้องมาด�ำเนินการแก้ไขเพื่อน�ำไปสู่การตอบโจทย์การพัฒนาบริหารจัดการให้ มี ประสิทธิภาพ สิ่งหนึ่งที่เจอคือ เราขาดมาตรฐานในการพัฒนาบุคลากรหรือ ทรัพยากรมนุษย์ ประการที่ 2 มาตรฐานเรื่องงบประมาณหรือการจัดเก็บรายได้ ประการที่ 3 มาตรฐานในการจัดการทรัพย์สิน และสุดท้ายคือระบบบริหาร จัดการ ในภาพรวม การแก้ไขตรงนี้เราจึงต้องเพิ่มการสนับสนุนทุกยุทธศาสตร์ที่ผ่านมา เพื่อพลิกโฉมมหาวิทยาลัยให้ได้ตามนโยบายของท่านอธิการบดี ” “ อาจารย์ ดร.สุรเดช สุวรรณชาตรี รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร กิจการสภา และกฎหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


รายงานประจ�ำปี 2566 250 ยุทธศาสตร์ที่5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีและปรับเปลี่ยน องค์กรเป็น องค์กรดิจิทัล พัฒนาระบบการจัดการสภาพแวดล้อมสู่ มหาวิทยาลัยสีเขียว (GREEN UNIVERSITY) และตามเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGS) เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อศักยภาพการแข่งขันที่สอดคล้อง กับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย (กลุ่มพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และชุมชนอื่น) เสริมสร้างวัฒนธรรมสู่องค์กร คุณธรรมและโปร่งใส (ITA)


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 251 ผลการจัดอันดับมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศ และนานาชาติ (สากล) ในด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (SDGs) 2567 พลิกโฉม 1. โครงการปรับเปลี่ยนมหาวิทยาลัยดิจิทัลสู่ความทันสมัยและยั่งยืน (SMART and Sustainable Digital YRU) 2. โครงการพัฒนาและเสริมสร้างภาพลักษณ์ และการสื่อสารองค์กรใน ยุคดิจิทัล 3. โครงการพัฒนาระบบและจัดการองค์กร เพื่อจัดอันดับ GREEN UNIVERSITY 4. โครงการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายที่เอื้อต่อการเป็นมหาวิทยาลัย พัฒนาชุมชนท้องถิ่น 5. โครงการปรับรื้อโครงสร้างองค์กรเพื่อเสริมสร้างศักยภาพองค์กร 2568 โหมงาน 1. โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ องค์กรเป็นเลิศตามมาตรฐาน สากล ISO 2. โครงการพัฒนาแอพลิเคชั่น ส�ำหรับบริการดิจิทัลและเนื้อหาดิจิทัล (Digital Contents) 3. โครงการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อ การเปลี่ยนแปลง 2569 เบ่งบานผลผลิต โครงการปฏิรูประบบบริหารงานทรัพยากรมนุษย์เพื่อเสริมสร้างขวัญ ก�ำลังใจและความสุข 2570 พิชิตเป้าหมาย 1. โครงการเตรียมความพร้อมและพัฒนามหาวิทยาลัยเข้าสู่การ จัดอันดับ THE Impact Ranking 2. โครงการเสริมสร้างวัฒนธรรมสู่องค์กรคุณธรรมและความโปร่งใส


รายงานประจ�ำปี 2566 252 การผลิตบัณฑิต 1. หลักสูตร - ควรพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยสอดคล้องกับต้องการอย่างแท้จริง เป็นหลักสูตรเชิงบูรณาการที่สามารถเลือกเรียนและ/หรือเลือกรับปริญญาได้ - ควรเป็นตลาดวิชาที่ใช้ได้จริง สามารถ shopping รายวิชาได้ 2. การจัดการเรียนรู้ - ควรการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัย มีความยืดหยุ่น และรองรับ สถานการณ์วิกฤติได้ เช่น การสอนออนไลน์ เป็นต้น - ควรจัดการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ เรียนรู้ร่วมกับการท�ำงาน - เพิ่มองค์ความรู้ มุมมอง ทัศนคติที่ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประกอบ อาชีพอิสระที่มีรายได้เพียงพอต่อการด�ำเนินชีวิต โดยเพิ่มเนื้อหาในบทเรียนที่ ส่งเสริมทักษะการคิด การวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ในรายวิชาเฉพาะและ วิชาศึกษาทั่วไป - ควรปลดล็อกเวลาการส�ำเร็จการศึกษา (เมื่อไหร่ก็ได้) 3. อาจารย์ - พัฒนาสมรรถนะอาจารย์ และปรับเปลี่ยนบทบาทอาจารย์ - คัดกรองอาจารย์ผู้สอนที่ต้องมีความพร้อมทั้งด้านความรู้ คุณธรรม และการอุทิศตน มีจิตอาสาไม่เห็นแต่การอยู่รอดของตนเองเพียงอย่างเดียว มีความรักองค์กร - ควรส่งเสริมการท�ำผลงานวิชาการที่ถูกต้องชัดเจนตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้วยการเน้นให้เป็นลักษณะของงานประจ�ำ - ให้การดูแลเอาใจใส่นักศึกษาอย่างดีในทุกเรื่อง 4. การพัฒนานักศึกษา - ควรพัฒนาระบบการพัฒนานักศึกษาให้เป็นรูปธรรม มีการก�ำหนด คุณลักษณะบัณฑิตที่ต้องการ หรือจัดท�ำกรอบสมรรถนะของนักศึกษาให้ชัดเจน สรุปผลการแสดงความคิดเห็นของบุคลากรและนักศึกษา เพื่อจัดท�ำแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 253 - ควรลดจ�ำนวนชั่วโมงเข้าร่วมกิจกรรมที่ไม่จ�ำเป็น และรับฟังความคิด เห็น เกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมภาคบังคับว่าส่งผลดีนักศึกษาหรือไม่ อย่างไร - ควรเพิ่มสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา เช่น ห้องท�ำงาน ห้องกิจกรรมนักศึกษาหรือสถานที่ท�ำกิจกรรมของนักศึกษา - ควรพัฒนาการให้บริการสวัสดิการต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น โดยสอบถาม ความต้องการของนักศึกษา การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม 1. ร่วมกิจกรรมของชาติด้วยความจงรักภักดีและเคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ สมเป็นคนราชภัฏ คนของพระราชาข้าของแผ่นดิน การบริหารจัดการ 1. กฎหมาย - ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานในสถานการณ์วิกฤติ และการจัดการเรียนรู้ในอนาคต โดย เฉพาะเรื่องคลังหน่วยกิต - ควรแบ่งภาระงานอาจารย์ตาม track ให้อาจารย์เลือกตามความถนัด เช่น เน้นการสอน เน้นการวิจัย เน้นการบริการวิชาการ เน้นการบริหาร เป็นต้น - ควรเตรียมความพร้อมส�ำหรับการออกนอกระบบ โดยผลักดันให้ ทุกสาขาวิชาสามารถหารายได้ด้วยความรู้ทางวิชาการ 2. เทคโนโลยี - พัฒนาเทคโนโลยีให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานใน สถานการณ์วิกฤติ - พัฒนาฐานข้อมูลด้านบุคลากร ทรัพย์สิน การบริหารรายได้ และการ ควบคุมภายในของมหาวิทยาลัย โดยให้ความรู้แก่บุคลากร จัดท�ำฐานข้อมูล ด้านบุคลากร ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยที่สามารถเชื่อมโยงทุกหน่วยงาน และ ประเมินผลความคุ้มค่า ให้มีการควบคุมภายในการเข้าถึงข้อมูลเพื่อป้องกัน ความเสี่ยง


รายงานประจ�ำปี 2566 254 3. อาคารสถานที่ - ควรปรับปรุงห้องเรียนและอาคารเรียนให้ดีขึ้น 4. ผู้บริหาร - ควรเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ทุกคนสามารถเข้าสู่เส้นทางการเป็น ผู้บริหารได้ - ภาวะผู้น�ำของผู้บริหารที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 5. บุคลากร - ควรจัดบริการสวัสดิการให้แก่บุคลากรทุกคน เช่น การลดหนี้มีชีวิต แบบพอเพียง ด้านสุขภาพอนามัยและสุนทรียะ - ควรมีการฝึกจิต สติ และสมาธิให้ทุกคนบนฐานหลักธรรมของศาสนา ที่นับถือ - ควรพัฒนากระบวนทัศน์ของบุคลากรในมหาวิทยาลัย ให้เกิด ความปรองดองไม่แบ่งแยก - ควรเน้นการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ และเข้าสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้นหรือต�ำแหน่งทางบริหารตรงตามสายงาน - ควรปรับปรุงเกณฑ์การประเมินบุคลากรที่ดูแลความสะอาดของ อาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัยให้เหมาะสม โดยให้ผู้รับบริการเป็นผู้ประเมิน โดยตรง เนื่องจากอาคาร โต๊ะ เก้าอี้และบริเวณรอบ ๆ ไม่สะอาด มีฝุ่น ขยะ มูลสัตว์มาก ขาดการดูแลเอาใจใส่ ไม่เหมาะสมกับการเป็นมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวม - ควรจัดท�ำแผนการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้ชัดเจน แบ่งตาม สายงาน และความสามารถ และเส้นทางการพัฒนารายบุคคลอย่างชัดเจน - ส่งเสริมความผูกพันต่อองค์กร บูรณาการความร่วมมือในการท�ำงาน และเสริมสร้างวัฒนธรรมเรื่องความสุขในการท�ำงาน


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 255 6. การสื่อสารองค์กร - ควรพัฒนาการสื่อสารในองค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ควรจัดเวทีประชาคมในเรื่องต่าง ๆ เช่น สวัสดิภาพและสวัสดิการของ พนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสีเขียว ความปลอดภัยในรั้วมหาวิทยาลัย และคลังปัญญาแห่งชายแดนใต้ - มหาวิทยาลัยต้องสร้างความมั่นใจให้แก่ชุมชนท้องถิ่นว่าสามารถเป็นที่พึ่ง ได้อย่างแท้จริง 7. ยุทธศาสตร์ - ประเมินปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประเด็นยุทธศาสตร์ และจัดต�ำแหน่ง ยุทธศาสตร์ขององค์กรที่ชัดเจน 8. เครือข่ายความร่วมมือ - ควรส่งเสริมการใช้พลังศิษย์เก่าและคณาจารย์ที่เกษียณอายุแล้วร่วม พัฒนามหาวิทยาลัย - ท�ำความร่วมมือกับเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ ตามความต้องการ ของคนในพื้นที่ โดยควรเพิ่มเครือข่ายระหว่างประเทศที่สามารถให้ประโยชน์กับ มหาวิทยาลัยและคนในพื้นที่ เนื่องจากสามจังหวัดชายแดนใต้มีจุดเด่นและอัตลักษณ์ ของตนเอง


รายงานประจ�ำปี 2566 256 เมื่อวันที่ 5 – 6 ตุลาคม 2566 คณะกรรมประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ จิตมนัส ประธานกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนัณชัย สิงห์มาตย์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวิชา วิริยมานุวงษ์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณฐมน เสมือนคิด กรรมการ และ อาจารย์สุวิมล อิสระธนาชัยกุล กรรมการและเลขานุการ ได้ท�ำการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในระดับสถาบัน ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.) ประจ�ำปีการ ศึกษา 2565 ผลการประเมินฯ ประจ�ำปีการศึกษา 2565 ในภาพรวมปรากฏว่า ได้ผล คะแนน 4.65 ระดับดีมาก เมื่อแยกตามองค์ประกอบมีผลคะแนนแต่ละองค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต ผลคะแนนเฉลี่ย 4.35 ระดับดี องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย ผลคะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับดีมาก องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ ผลคะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับดีมาก องค์ประกอบที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ผลคะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับดีมาก องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ผลคะแนนเฉลี่ย 4.40 ระดับดี องค์ประกอบที่ 6 อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ผลคะแนน เฉลี่ย 5.00 ระดับดีมาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย นามบุรี รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กล่าวว่า ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการประเมินจาก ภายนอกทุกท่าน โดยประธานคณะกรรมประเมินฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ จิตมนัส รวมถึงขอขอบคุณคณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ที่ร่วมกัน ท�ำงานจนผลการประเมินฯ อยู่ในระดับดีมาก ผลที่ได้รับจะเป็นฐานในการประเมิน มหาวิทยาลัยตามเกณฑ์ EdPEx “Education Criteria for Performance Excellence” หรือ “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด�ำเนินการที่เป็นเลิศ” ต่อไป ผลการประเมินคุณภาพภายใน มรย. “ระดับดีมาก”


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 257


รายงานประจ�ำปี 2566 258


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 259 ภาคผนวก ประมวลภาพโครงการ กิจกรรม และสถานที่ส�ำคัญ


รายงานประจ�ำปี 2566 260


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 261


รายงานประจ�ำปี 2566 262


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 263


รายงานประจ�ำปี 2566 264


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 265


รายงานประจ�ำปี 2566 266


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 267


รายงานประจ�ำปี 2566 268


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 269


รายงานประจ�ำปี 2566 270


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 271


รายงานประจ�ำปี 2566 272


Click to View FlipBook Version