The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:49:44

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว

คำ� พิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นญั พิเศษท่ี ๑๕๐๓/๒๕๖๔ พนกั งานอัยการคดเี ยาวชน

และครอบครัว

จังหวัดนครปฐม โจทก์

นาย จ. กบั พวก โจทกร์ ่วม

นาย ช. จำ� เลย

พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ.๒๕๓๔
มาตรา ๑๐๔
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๓๗

การแก้ไขเปล่ียนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการ
ส�ำหรับเด็กและเยาวชนตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณา
คดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๗ นั้น จะต้องปรากฏข้อเท็จจริง
ต่อศาลว่ามีพฤติการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปเก่ียวกับตัวเด็กหรือเยาวชน และต้องมีเหตุ
อันสมควรท่ีจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังน้ันด้วย เม่ือคดีนี้จ�ำเลย
ได้รับการปล่อยช่ัวคราวตลอดมาและหลบหนีไม่มาฟังค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗
จนกระท่ังมีการจับกุมจ�ำเลยได้แล้วศาลชั้นต้นอ่านค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ให้
จ�ำเลยฟัง กรณียังไม่ปรากฏพฤติการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปเกี่ยวกับตัวจ�ำเลยและไม่มี
เหตุอันสมควรที่จะแก้ไขเปล่ียนแปลงค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ให้เป็นผลร้าย
แกจ่ �ำเลย
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังเก่ียวกับการลงโทษหรือวิธีการ
ส�ำหรับเด็กและเยาวชนต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตท่ีกฎหมายก�ำหนดให้อ�ำนาจศาลที่
จะกระท�ำได้ด้วย คดีนี้ศาลช้ันต้นและศาลอุทธรณ์ภาค ๗ มีค�ำพิพากษาให้เปลี่ยน
โทษจ�ำคุกเป็นส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมท่ีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชนเขต ๒ จังหวัดราชบุรี มีก�ำหนด ๓ ปี แต่ต้องไม่เกินกว่าจ�ำเลยมีอายุครบ
ยสี่ ิบสป่ี ีบริบรู ณ์ โดยมไิ ด้ระบุไว้ในคำ� พพิ ากษาว่า หลงั จากท่จี �ำเลยน้นั มีอายคุ รบย่สี ิบส่ปี ี
บรบิ รู ณแ์ ลว้ ให้สง่ ตัวไปจำ� คุกไว้ในเรือนจำ� ตาม พ.ร.บ. จัดต้ังศาลเยาวชนและครอบครัว

191

และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๔ วรรคท้าย ซ่ึงเป็น
กฎหมายทใ่ี ชบ้ งั คบั ในขณะนน้ั เมอื่ คดนี ถี้ งึ ทสี่ ดุ แลว้ การทศ่ี าลชน้ั ตน้ แกไ้ ขเปลย่ี นแปลง
ค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชนจากท่ีให้
สง่ ตวั จำ� เลยไปฝกึ อบรมเปน็ ใหจ้ ำ� คกุ ๓ ปนี น้ั ถอื วา่ เปน็ การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงคำ� พพิ ากษา
หรือค�ำสั่งที่เกินไปจากบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวท่ีได้ก�ำหนดไว้ ค�ำส่ังของ
ศาลชน้ั ต้นดงั กลา่ วจงึ ไม่ชอบ

_____________________________

โจทก์ฟ้องและแก้ไขฟ้อง ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๘๐,
๘๓, ๙๑, ๒๙๕, ๒๘๘, ๓๗๑, ๓๗๖ พระราชบัญญัติอาวุธปืน เคร่ืองกระสุนปืน วัตถุระเบิด
ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๘ ทวิ, ๗๒, ๗๒ ทวิ กับริบ
ลูกกระสุนปนื ของกลาง
จ�ำเลยใหก้ ารปฏเิ สธ
ระหว่างพจิ ารณา ผ้เู สียหายที่ ๑ ถึงที่ ๔ และผูเ้ สยี หายที่ ๕ โดยนางสาว ก. ผ้แู ทน
โดยชอบธรรม ย่ืนค�ำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลช้ันต้นอนุญาต และโจทก์ร่วมทั้งห้ายื่น
ค�ำร้องขอให้บังคับจ�ำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์
จากการทำ� งาน รวม ๒๕๐,๐๐๐ บาท แกโ่ จทกร์ ่วมทงั้ หา้
จ�ำเลยให้การในคดใี นส่วนแพ่ง ขอให้ยกคำ� ร้อง
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จ�ำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘
ประกอบมาตรา ๘๐, ๒๙๕, ๓๗๑, ๓๗๖ พระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปืน เคร่อื งกระสนุ ปนื วตั ถุระเบดิ
ดอกไม้เพลงิ และสง่ิ เทยี มอาวธุ ปนื พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๘ ทวิ วรรคหนง่ึ , ๗๒ วรรคสาม,
๗๒ ทวิ วรรคสาม (ที่ถูก ๗๒ ทวิ วรรคสอง) ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓
การกระท�ำของจ�ำเลยเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิด
ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ขณะกระท�ำความผิดจ�ำเลยอายุ ๑๗ ปี เศษ
ลดมาตราส่วนโทษให้กระทงละกึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ ฐานร่วมกัน
พยายามฆ่าผู้อ่ืนกับฐานร่วมกันยิงปืนซึ่งใช้ดินระเบิดโดยใช่เหตุ เป็นการกระท�ำกรรมเดียว
เป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษฐานร่วมกันพยายามฆ่าผู้อ่ืนซ่ึงเป็นกฎหมายบท
ท่มี โี ทษหนกั ท่ีสดุ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ รวม ๒ กระทง จ�ำคุกกระทงละ ๕ ปี

192

ฐานร่วมกนั ทำ� ร้ายผอู้ ืน่ เปน็ เหตุให้ได้รบั อันตรายแกก่ าย จำ� คุก ๖ เดอื น ฐานร่วมกันมอี าวุธปนื
และเครื่องกระสนุ ปนื ไว้ในครอบครองโดยไม่ไดร้ บั ใบอนุญาต จำ� คกุ ๖ เดอื น ฐานรว่ มกันพาอาวุธปืน
ติดตัวไปในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับใบอนุญาตและโดยไม่มีเหตุสมควร
เป็นการกระท�ำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติ
อาวธุ ปนื ฯ ซง่ึ เป็นกฎหมายบททีม่ โี ทษหนักทีส่ ุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ จำ� คกุ
๖ เดอื น ฐานรว่ มกันพาอาวธุ มีดตดิ ตวั ไปในเมือง หมูบ่ ้าน หรือทางสาธารณะโดยไมม่ ีเหตุสมควร
ปรบั ๕๐ บาท รวมจำ� คุก ๑๐ ปี ๑๘ เดือน และปรบั ๕๐ บาท อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบญั ญตั ิ
จัดตงั้ ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ ีพิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา
๑๐๔ (๒) ให้เปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมท่ีศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก
และเยาวชนเขต ๒ จังหวัดราชบุรี มีก�ำหนด ๓ ปี แต่ต้องไม่เกินกว่าจ�ำเลยมีอายุครบยี่สิบส่ีปี
บริบูรณ์ หากจ�ำเลยไม่ช�ำระค่าปรับ ให้ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและอบรม
เด็กและเยาวชนเขต ๒ จังหวัดราชบุรี มีก�ำหนด ๑ วัน รบิ ลูกกระสุนปนื ของกลาง กบั ให้จำ� เลย
ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนแก่โจทก์ร่วมที่ ๑ และที่ ๒ คนละ ๒,๐๐๐ บาท แกโ่ จทก์รว่ มที่ ๓ จ�ำนวน
๑๐,๐๐๐ บาท แกโ่ จทก์ร่วมท่ี ๔ จ�ำนวน ๔,๐๐๐ บาท และแกโ่ จทกร์ ว่ มท่ี ๕ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ บาท
สว่ นคำ� ขออน่ื และข้อหาอนื่ นอกจากน้ใี ห้ยก
จ�ำเลยอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณภ์ าค ๗ พพิ ากษายืน โดยศาลชนั้ ตน้ อ่านค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณ์ภาค ๗
ลับหลังจ�ำเลย เน่ืองจากจ�ำเลยหลบหนีไม่มาฟังค�ำพิพากษา ต่อมาเม่ือวันท่ี ๙ กุมภาพันธ์
๒๕๖๔ เจ้าพนักงานต�ำรวจจบั กุมจำ� เลยได้ พนักงานสอบสวนนำ� ตวั จ�ำเลยไปสง่ ศาลชนั้ ต้น และ
ศาลช้ันต้นมีค�ำสั่งว่า ขณะนี้จ�ำเลยมีอายุเกินกว่าย่ีสิบสี่ปีบริบูรณ์แล้ว กรณีจึงไม่อาจปฏิบัติตาม
ค�ำพิพากษาท่ีให้ส่งตัวจ�ำเลยไปฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและอบรมได้ ถือว่าเป็นกรณีที่มีพฤติการณ์
แห่งคดีเปลี่ยนแปลงไป อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี
พิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๗ จงึ เหน็ สมควรก�ำหนดวธิ กี ารหรอื
มาตรการใหม่ โดยใหจ้ ำ� คกุ ๓ ปี แทนการส่งไปฝกึ อบรม
จ�ำเลยอทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดเี ยาวชนและครอบครวั วนิ จิ ฉยั วา่ คดมี ปี ญั หาตอ้ ง
วนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องจำ� เลยวา่ มเี หตสุ มควรลดโทษหรอื รอการลงโทษใหแ้ กจ่ ำ� เลยหรอื ไม่ กอ่ น
ทจ่ี ะวนิ จิ ฉยั ในประเดน็ ตามปญั หาทจ่ี ำ� เลยอทุ ธรณ์ ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ สมควรวนิ จิ ฉยั

193

ปัญหาข้อกฎหมายเสียก่อนว่าท่ีศาลช้ันต้นมีค�ำสั่งแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์
ภาค ๗ เกยี่ วกบั การลงโทษหรอื วธิ กี ารสำ� หรบั เด็กและเยาวชนจากที่ให้สง่ ตัวจำ� เลยไปฝกึ อบรม
เปน็ ใหจ้ ำ� คกุ ๓ ปี โดยอาศยั อำ� นาจตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณา
คดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๗ นั้น ชอบหรือไม่ แม้จ�ำเลยมิได้อุทธรณ์
ในปัญหาข้อนี้ แต่ปัญหาดังกล่าวเป็นข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยตามประมวล
กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญตั ิศาลเยาวชน
และครอบครวั และวิธพี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๘๒ ศาลอทุ ธรณ์
คดชี ำ� นญั พเิ ศษมอี ำ� นาจหยบิ ยกขนึ้ วนิ จิ ฉยั ได้ เหน็ วา่ พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั
และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ซงึ่ บังคบั ใชใ้ นขณะทศ่ี าลช้นั ตน้ มีค�ำสั่ง
แก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชน
ในมาตรา ๑๓๗ บัญญัติว่า “เมื่อได้มีค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งให้ลงโทษหรือใช้วิธีการส�ำหรับเด็ก
และเยาวชนแล้วและต่อมาความปรากฏต่อศาลเอง หรือปรากฏจากรายงานของผู้อ�ำนวยการ
สถานพนิ ิจ หรือผูด้ ูแล หรอื ผู้ปกครองสถานทท่ี ก่ี ำ� หนดไว้ในหมวด ๔ หรอื ปรากฏจากค�ำรอ้ งของ
บิดา มารดา ผูป้ กครอง หรอื บุคคลซึ่งเดก็ หรอื เยาวชนอาศัยอย่ดู ว้ ย หรอื สถานทท่ี ่ีกำ� หนดไวใ้ น
หมวด ๔ วา่ ขอ้ เทจ็ จริงหรือพฤตกิ ารณต์ ามมาตรา ๑๑๕ หรอื มาตรา ๑๑๙ ไดเ้ ปลีย่ นแปลงไปจากเดิม
ถ้าศาลทีม่ ีอำ� นาจพจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั ซงึ่ พิพากษาหรือมีค�ำสั่งหรอื ซง่ึ มีเขตอ�ำนาจ
ในท้องที่ที่เด็กหรือเยาวชนนั้นก�ำลังรับโทษหรือถูกควบคุมตัวอยู่เห็นว่า มีเหตุอันสมควรก็ให้มี
อ�ำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและ
เยาวชนได.้ ...” จงึ เหน็ ไดว้ า่ มาตรา ๑๓๗ บญั ญตั ไิ วโ้ ดยชดั แจง้ วา่ การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงคำ� พพิ ากษา
หรือค�ำส่ังเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชนนั้น จะต้องปรากฏข้อเท็จจริง
ต่อศาลว่ามีพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเกี่ยวกับตัวเด็กหรือเยาวชน และต้องมีเหตุอันสมควร
ท่ีจะแก้ไขเปล่ียนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังนั้นด้วย เมื่อคดีน้ีจ�ำเลยได้รับการปล่อยชั่วคราว
ตลอดมาและหลบหนไี มม่ าฟงั คำ� พพิ ากษาศาลอทุ ธรณภ์ าค ๗ จนกระทง่ั มกี ารจบั กมุ จำ� เลยไดแ้ ลว้
ศาลช้ันต้นอ่านค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ให้จ�ำเลยฟัง กรณียังไม่ปรากฏพฤติการณ์ท่ี
เปลี่ยนแปลงไปเก่ียวกับตัวจ�ำเลยและไม่มีเหตุอันสมควรที่จะแก้ไขเปล่ียนแปลงค�ำพิพากษา
ศาลอุทธรณ์ภาค ๗ ให้เป็นผลร้ายแก่จ�ำเลย ประกอบกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษา
หรือค�ำส่ังเก่ียวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชนน้ัน ต้องอยู่ภายใต้ขอบเขต
ท่ีกฎหมายก�ำหนดให้อ�ำนาจศาลที่จะกระท�ำได้ด้วย ซ่ึงตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าศาลช้ันต้น

194

และศาลอทุ ธรณภ์ าค ๗ มคี ำ� พพิ ากษาใหเ้ ปลย่ี นโทษจำ� คกุ เปน็ สง่ ตวั จำ� เลยไปควบคมุ เพอ่ื ฝกึ อบรม
ทศ่ี นู ยฝ์ กึ และอบรมเดก็ และเยาวชนเขต ๒ จงั หวดั ราชบรุ ี มกี ำ� หนด ๓ ปี แตต่ อ้ งไมเ่ กนิ กวา่ จำ� เลย
มอี ายคุ รบยส่ี บิ สปี่ บี รบิ รู ณ์ โดยอาศยั อำ� นาจตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลเยาวชนและครอบครวั
และวธิ พี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๔ (๒) ซ่ึงเป็นกฎหมายทใ่ี ช้
บังคับในขณะน้ัน แต่ศาลช้ันต้นและศาลอุทธรณ์ภาค ๗ มิได้ระบุไว้ในค�ำพิพากษาว่า หลังจาก
ที่จ�ำเลยนั้นมีอายุครบย่ีสิบส่ีปีบริบูรณ์แล้ว ให้ส่งตัวไปจ�ำคุกไว้ในเรือนจ�ำมีก�ำหนดเวลาเท่าใด
ตามพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๔ วรรคท้าย แต่อย่างใด ซ่ึงหากศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ภาค ๗
ประสงค์จะใหส้ ง่ ตัวจ�ำเลยไปจ�ำคุกหลังจากจ�ำเลยมีอายคุ รบยี่สบิ สี่ปีบรบิ ูรณ์แล้ว ศาลชั้นต้นและ
ศาลอทุ ธรณภ์ าค ๗ จะตอ้ งระบไุ วใ้ นคำ� พพิ ากษาใหช้ ดั เจนในขณะทค่ี ดอี ยใู่ นระหวา่ งการพจิ ารณา
ของศาลนน้ั ๆ ดงั นั้น เมื่อคดีนถ้ี ึงท่ีสดุ แล้ว การทีศ่ าลชน้ั ต้นแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรอื
ค�ำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชนจากที่ให้ส่งตัวจ�ำเลยไปฝึกอบรม
เป็นให้จ�ำคุก ๓ ปีน้ัน ถือว่าเป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังที่เกินไปจาก
บทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวท่ีได้ก�ำหนดไว้ ค�ำสั่งของศาลช้ันต้นดังกล่าวจึงไม่ชอบ เม่ือ
วินิจฉัยดังนี้แล้ว ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษก็ไม่มีความจ�ำเป็นต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ของจ�ำเลย
ต่อไป เพราะไมท่ ำ� ให้ผลของคดีเปลี่ยนแปลง
พิพากษายกค�ำส่ังศาลช้ันต้นที่ส่ังแก้ไขเปลี่ยนแปลงค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๗
ในส่วนท่เี กีย่ วกับการลงโทษหรอื วิธกี ารสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน.

(ประวิทย์ อทิ ธิชยั วฒั นา - อมรรตั น์ กริยาผล - พนารัตน์ คดิ จติ ต์)

นภกมล หะวานนท์ สวา่ งแจ้ง - ย่อ
พาชนื่ แสงจันทรเ์ ทศ - ตรวจ

195

ค�ำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษท่ี ๕๙๒/๒๕๖๐ พนกั งานอยั การคดีเยาวชน

และครอบครัว

จงั หวัดชลบรุ ี โจทก์

นาย ก. จ�ำเลย

ป.อ. มาตรา ๕๗, ๕๘
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๔๒ (๑)

ศาลชั้นต้นพิพากษาให้เปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึก
อบรมตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ ีพิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ (๑) ซงึ่ เป็นหนงึ่ ในวธิ ีการสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน ถอื วา่ มใิ ช่การ
ลงโทษตาม ป.อ. มาตรา ๑๘ จึงไม่อาจก�ำหนดโทษจ�ำคุกในคดีก่อนแล้วน�ำมาบวกเข้า
กบั ระยะเวลาฝึกอบรมในคดีน้ตี าม ป.อ. มาตรา ๕๘ ได้ ส่วนที่โจทกข์ อใหน้ บั ระยะเวลา
ฝกึ อบรมทรี่ อการก�ำหนดโทษไวใ้ นคดกี ่อนต่อกบั ระยะเวลาฝกึ อบรมในคดีนน้ี ั้น แมก้ าร
ท่ีจ�ำเลยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังที่ศาลก�ำหนดในคดีก่อนอาจเป็นเหตุให้ศาลในคดีก่อน
เปลี่ยนแปลงคำ� พิพากษาเป็นกำ� หนดโทษจำ� คุกและเปลยี่ นโทษจำ� คกุ เป็นสง่ ตัวจำ� เลยไป
ควบคุมเพื่อฝึกอบรมได้ก็ตาม แต่การจะนับระยะเวลาฝึกอบรมต่อหรือไม่ เป็นดุลพินิจ
ของศาล

______________________________

โจทกฟ์ อ้ งขอใหล้ งโทษจำ� เลยตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา
๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๐/๑, ๑๐๒ พระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำ� ความผิด
เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๕๘, ๘๓
ริบเมทแอมเฟตามีนและโทรศัพท์เคล่ือนที่ของกลาง บวกโทษจ�ำคุกหรือนับระยะเวลาฝึกอบรม
ท่ีรอการก�ำหนดโทษไว้ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๕๖๕/๒๕๕๘ และ ๑๒๓/๒๕๕๙ ของ
ศาลช้นั ต้น เขา้ กบั โทษจำ� คุกในคดีนี้

196

จ�ำเลยใหก้ ารรบั สารภาพ
ศาลชนั้ ตน้ พพิ ากษาวา่ จำ� เลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคสาม (๒), ๖๖ วรรคสอง ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๐, ๘๓
พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระท�ำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๗ เปน็ กรรมเดยี วเปน็ ความผดิ ตอ่ กฎหมายหลายบท แตล่ ะบทมอี ตั ราโทษเทา่ กนั ลงโทษ
ฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพ่ือจ�ำหน่ายเพียงกระทงเดียวตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๙๐ ขณะกระท�ำความผิดจ�ำเลยมีอายุ ๑๖ ปี เศษ (ทถี่ ูก ๑๗ ปี เศษ) ลดมาตรา
สว่ นโทษใหก้ ่งึ หน่ึงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ จ�ำคุก ๒ ปี และปรบั ๒๐๐,๐๐๐ บาท
จ�ำเลยให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้กึ่งหน่ึง
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ จ�ำคุก ๑ ปี และปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาท อาศัยอ�ำนาจ
ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ (๑) ให้เปล่ียนโทษจ�ำคุกเป็นส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือฝึกอบรมท่ี
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง มีก�ำหนด ๒ ปี นับแต่วันพิพากษา โดยให้หัก
วันควบคุม หากจ�ำเลยไม่ช�ำระค่าปรับให้ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและ
อบรมเด็กและเยาวชนบา้ นบึง มีกำ� หนด ๙๐ วนั ตามพระราชบัญญตั ิศาลเยาวชนและครอบครวั
และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๕ รบิ ของกลาง คำ� ขออนื่ ใหย้ ก
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหาท่ีต้อง
วินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า การที่ศาลช้ันต้นพิพากษายกค�ำขอของโจทก์ท่ีขอให้บวก
โทษจ�ำคุกหรือนับระยะเวลาฝึกอบรมที่รอการก�ำหนดโทษไว้ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่
๕๖๕/๒๕๕๘ และ ๑๒๓/๒๕๕๙ ต่อกับระยะเวลาฝึกอบรมในคดีนี้ชอบหรือไม่เห็นว่า คดีน้ี
ศาลช้ันต้นพิพากษาให้เปล่ียนโทษจ�ำคุกเป็นส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมตาม
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๔๒ (๑) ซ่ึงเป็นหนึ่งในวิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชน ถือว่ามิใช่การลงโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ จึงไม่อาจก�ำหนดโทษจ�ำคุกในคดีก่อนแล้วน�ำมา
บวกเข้ากับระยะเวลาฝกึ อบรมในคดีนีต้ ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๘ ได้ ส่วนท่ีโจทก์
ขอให้นับระยะเวลาฝึกอบรมท่ีรอการก�ำหนดโทษไว้ในคดีก่อนต่อกับระยะเวลาฝึกอบรมใน
คดีน้ีนั้น แม้การท่ีจ�ำเลยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังท่ีศาลก�ำหนดในคดีก่อนอาจเป็นเหตุให้

197

ศาลในคดีก่อนเปล่ียนแปลงค�ำพิพากษาเป็นก�ำหนดโทษจ�ำคุกและเปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นส่งตัว
จ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมเช่นคดีน้ีได้ก็ตาม แต่เมื่อค�ำนึงถึงสวัสดิภาพและอนาคตของ
จ�ำเลยประกอบกับพฤติการณ์แห่งคดีแล้วเห็นว่า การจะนับก�ำหนดระยะเวลาฝึกอบรมต่อ
หรือไม่ เป็นดุลพินิจของศาล ทั้งการท่ีคดีนี้ศาลชั้นต้นใช้ดุลพินิจเปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นให้
ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือฝึกอบรมท่ีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง มีก�ำหนด
๒ ปี นับว่าเป็นระยะเวลาท่ีเหมาะสมเพียงพอต่อการบ่มนิสัยเพื่อให้จ�ำเลยกลับตนเป็นคนดีได้
ท่ีศาลช้ันต้นพิพากษายกค�ำขอของโจทก์ในส่วนนี้ ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย
อุทธรณข์ องโจทกฟ์ ังไม่ขนึ้
พิพากษายนื .

(เกรียงชยั จึงจตุรพิธ - ชนากานต์ ธีรเวชพลกุล - ชารียา เดน่ นนิ นาท)

พทิ กั ษ์ หลิมจานนท์ - ยอ่
นรนิ ทร์ ทองค�ำใส - ตรวจ

198

ค�ำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นัญพิเศษท่ี ๗๖๑/๒๕๖๐ พนักงานอัยการคดเี ยาวชน

และครอบครัว

จังหวดั ชลบรุ ี โจทก์

นาย อ. กบั พวก จำ� เลย

ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๒ วรรคหนง่ึ
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖, ๑๑๙

คดนี ศ้ี าลเปลยี่ นโทษจำ� คกุ เปน็ การสง่ ตวั จำ� เลยไปควบคมุ เพอ่ื ฝกึ อบรมซง่ึ ไมน่ บั
ว่าเป็นโทษเพราะเป็นวิธีการเฉพาะส�ำหรับเด็กและเยาวชน กรณีจึงไม่มีโทษที่จะให้นับต่อ
ตามค�ำขอของโจทก์ได้ ทั้งไม่อาจแปลขยายความไปได้ว่าการขอนับโทษต่อของโจทก์
เปน็ การขอใหน้ บั ระยะเวลาฝกึ อบรมตอ่ ดว้ ย ศาลยอ่ มไมอ่ าจกา้ วลว่ งไปใชด้ ลุ พนิ จิ ในเรอ่ื ง
ทโี่ จทกม์ ไิ ด้ร้องขอไดต้ าม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๒ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชน
และครอบครัวและวิธีพจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ ท้งั โจทก์
ไม่อาจปฏิเสธว่าโจทก์ไม่อาจทราบล่วงหน้าว่าศาลจะเปล่ียนโทษจ�ำคุกเป็นการส่งตัว
จำ� เลยไปควบคมุ เพอ่ื ฝกึ อบรมเพราะการเปลย่ี นโทษจำ� คกุ เปน็ การสง่ ตวั จำ� เลยไปควบคมุ
เพื่อฝกึ อบรมเป็นวธิ ีการท่ีมีบัญญัติไว้ให้ใช้ในศาลเยาวชนและครอบครวั เพอื่ สงเคราะห์
ให้เดก็ หรือเยาวชนกลบั ตัวเป็นพลเมืองดีย่ิงกวา่ การที่จะลงโทษตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชน
และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๑๙
อันเป็นเจตนารมณส์ �ำคัญของการพิจารณาพิพากษาคดอี าญาส�ำหรับเด็กและเยาวชน

______________________________

โจทก์ฟอ้ งขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓, ๘๓, ๓๔๐, ๓๔๐ ตรี
ริบไม้เบสบอลและเหล็กท่อสแตนเลสของกลาง ให้จ�ำเลยท้ังสามร่วมกันคืนหรือใช้ราคาทรัพย์
ทย่ี ังไม่ได้คืนเปน็ เงิน ๒๒๐ บาท แกผ่ เู้ สียหาย นับโทษจำ� เลยท่ี ๑ ต่อจากโทษของจำ� เลยท่ี ๓
นับโทษจ�ำเลยที่ ๒ ตอ่ จากโทษของจ�ำเลยท่ี ๑ และนบั โทษจ�ำเลยท่ี ๓ ต่อจากโทษของจ�ำเลยท่ี ๒
ในคดีอาญาหมายเลขดำ� ท่ี ๓๑๑/๒๕๕๙ และ ๓๑๒/๒๕๕๙ ของศาลช้นั ตน้

199

จ�ำเลยทั้งสามให้การรับสารภาพ และรับว่าเป็นบุคคลคนเดียวกับจ�ำเลยในคดีท่ีโจทก์
ขอให้นบั โทษตอ่
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จ�ำเลยท้ังสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๓๔๐ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๓๔๐ ตร,ี ๘๓ ขณะกระท�ำความผดิ จ�ำเลยทัง้ สามมอี ายุ ๑๗ ปี
เศษ ลดมาตราสว่ นโทษให้กึง่ หน่ึงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ จ�ำคุกคนละ ๑๒ ปี
จ�ำเลยท้ังสามให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา ภายหลังเกิดเหตุได้ชดใช้
ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหายจนพอใจและไม่ติดใจด�ำเนินคดีและเรียกร้องค่าเสียหายจากจ�ำเลย
ทัง้ สามอกี มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหก้ ง่ึ หน่ึงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ จำ� คกุ
คนละ ๖ ปี อาศยั อำ� นาจตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ (๑) ใหเ้ ปลีย่ นโทษจ�ำคุกเป็นการส่งตัวจ�ำเลยท้งั สาม
ไปควบคุมเพ่ือฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง มีก�ำหนดคนละ ๑ ปี ให้
จ�ำเลยทั้งสามร่วมกันคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ท่ียังไม่ได้คืนเป็นเงิน ๒๒๐ บาท แก่ผู้เสียหาย และ
รบิ ไมเ้ บสบอลและเหลก็ ทอ่ สแตนเลสของกลาง ยกค�ำขอใหน้ บั โทษตอ่ เนอื่ งจากศาลมไิ ดพ้ พิ ากษา
ลงโทษจ�ำคุกจ�ำเลยทัง้ สาม จึงไม่อาจนับโทษตอ่ ได้
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหา
ข้อกฎหมายท่ีต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า การท่ีศาลช้ันต้นยกค�ำขอให้นับโทษต่อ
ชอบหรือไม่ โจทก์อ้างในอุทธรณ์สรุปความว่า โจทก์ได้ย่ืนฟ้องจ�ำเลยท้ังสามเป็นคดีนี้พร้อมกับ
คดีอ่ืนอีก ๒ คดี โดยมีค�ำขอให้นับโทษจ�ำคุกของจ�ำเลยทั้งสามทุกคดีเรียงติดต่อกันเพราะ
ไม่มีกฎหมายก�ำหนดให้โจทก์ต้องขอนับระยะเวลาฝึกอบรมต่อ จึงเป็นหน้าท่ีของศาลท่ีจะต้อง
นับระยะเวลาฝึกอบรมต่อกันได้เอง ทั้งโจทก์ไม่อาจทราบล่วงหน้าว่าศาลจะเปล่ียนโทษจ�ำคุก
เปน็ การสง่ ตวั จำ� เลยท้งั สามไปฝกึ อบรมแทน เหน็ วา่ พระราชบัญญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ บัญญตั ิว่า ใหน้ ำ� บทบญั ญัติ
หลายฉบับรวมท้ังประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาใช้บังคับแก่คดีเยาวชนและ
ครอบครวั เทา่ ทไ่ี มข่ ดั หรอื แยง้ กบั บทบญั ญตั แิ หง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ี ดงั นนั้ เมอื่ พจิ ารณาบทบญั ญตั ิ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๒ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติว่า “ห้ามมิให้
พพิ ากษา หรือสง่ั เกนิ ค�ำขอ หรอื ที่มไิ ด้กล่าวในฟอ้ ง” แลว้ แมโ้ จทก์จะมคี �ำขอใหน้ บั โทษตอ่ แต่
เมื่อคดีนี้ศาลได้เปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นการส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อฝึกอบรม ซ่ึงไม่ใช่โทษ

200

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ เพราะเป็นวิธีการเฉพาะส�ำหรับเด็กและเยาวชน
กรณีจึงไม่มีโทษท่ีจะนับต่อให้ได้ทั้งศาลย่อมไม่อาจแปลขยายความไปได้ว่าการขอให้นับโทษต่อ
ถือเป็นการขอให้นับระยะเวลาฝึกอบรมต่อด้วย และศาลย่อมไม่อาจก้าวล่วงไปใช้ดุลพินิจ
ในเรื่องท่ีโจทก์มิได้ร้องขอได้ เพราะหากโจทก์ประสงค์ท่ีจะขอให้นับระยะเวลาฝึกอบรมต่อกัน
โจทกก์ ช็ อบทจ่ี ะขอได้ โจทกไ์ มอ่ าจปฏเิ สธวา่ โจทกไ์ มอ่ าจทราบลว่ งหนา้ วา่ ศาลจะเปลยี่ นโทษจำ� คกุ
เป็นการส่งตัวจำ� เลยไปควบคมุ ตวั เพอื่ ฝกึ อบรม เพราะการเปลยี่ นโทษจำ� คกุ เป็นการส่งตัวจ�ำเลย
ไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมเป็นวิธีการท่ีมีบัญญัติให้ใช้ในศาลเยาวชนและครอบครัวเพ่ือสงเคราะห์
ใหเ้ ดก็ หรอื เยาวชนกลบั ตวั เปน็ พลเมอื งดยี งิ่ กวา่ การทจ่ี ะลงโทษตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชน
และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๑๙ อันเป็น
เจตนารมณส์ ำ� คัญของกระบวนพจิ ารณาพพิ ากษาคดอี าญาส�ำหรบั เด็กและเยาวชน ท่ศี าลชั้นต้น
พิพากษามานนั้ ชอบแล้ว อุทธรณ์ของโจทก์ฟังไมข่ ึ้น
พิพากษายืน.

(เกรียงชยั จงึ จตรุ พธิ - ชนากานต์ ธีรเวชพลกลุ - ชารียา เด่นนินนาท)

พทิ กั ษ์ หลมิ จานนท์ - ยอ่
นรนิ ทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ

201

คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดชี ำ� นญั พิเศษท่ี ๓๘๙/๒๕๖๔ พนกั งานอัยการคดีเยาวชน

และครอบครวั

จงั หวัดนนทบุรี โจทก์

นางสาว พ.

กับพวก จำ� เลย

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง

การที่ศาลจะนํามาตรการแทนการพิพากษาคดีตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒
วรรคสอง มาใช้แก่จําเลย ศาลตอ้ งคํานงึ ถึงความสามารถในการควบคมุ ดแู ลจําเลยของ
บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลซึ่งจําเลยอาศยั อยู่ด้วย ตลอดจนนํามาตรการตา่ ง ๆ
มาใชแ้ ทนการพพิ ากษาคดใี หเ้ หมาะสมกบั ตวั จําเลยแตล่ ะคนและพฤตกิ ารณเ์ ฉพาะเรอื่ ง
เพอ่ื ใหโ้ อกาสจําเลยปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมไปในทางทดี่ ขี นึ้ โดยทศี่ าลไมต่ อ้ งมคี ําพพิ ากษา
เกี่ยวกับการกระทําความผิดของจําเลย เมื่อพิเคราะห์ข้อเท็จจริงในคดีน้ีแล้ว การที่
ศาลช้ันตน้ สง่ ตัวจําเลยท่ี ๗ ไปควบคุมทส่ี ถานพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชนจงั หวัด
นนทบุรี มีกําหนดเวลา ๑ ปี น้ัน เพียงพอที่จําเลยท่ี ๗ จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปใน
ทางท่ีดีขึ้นแล้ว แม้กําหนดเวลาดังกล่าวจะซ้อนกับระยะเวลาควบคุมตัวจําเลยตาม
มาตรการแทนการพิพากษาคดีท่ียังเหลืออยู่ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ ๗๑/๒๕๖๓
และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชั้นต้นก็ตาม กรณีจึงไม่มีเหตุให้นับวันควบคุมตัวจําเลยท่ี ๗
ตอ่ จากคดอี าญาหมายเลขแดงท่ี ๗๑/๒๕๖๓ และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชัน้ ตน้

______________________________



โจทก์ฟ้องและแก้ไขฟ้อง ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เคร่ืองกระสุนปืน

วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๔, ๖, ๓๘, ๕๕, ๗๘

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๐, ๘๓, ๙๐, ๙๑, ๒๑๐, ๒๒๐, ๒๒๑, ๒๒๒, ๒๙๕,

๓๕๘, ๓๗๑, ๓๙๒ รบิ ของกลางและนับโทษจ�ำคุกหรือการควบคมุ การฝกึ อบรมของจ�ำเลยที่ ๗

202

ตอ่ จากโทษจำ� คกุ หรอื การควบคมุ การฝกึ อบรมของจำ� เลยในคดอี าญาหมายเลขแดงท่ี ๗๑/๒๕๖๓
และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชั้นตน้
จ�ำเลยท้ังแปดให้การรับสารภาพ และจ�ำเลยท่ี ๗ รับว่าเป็นบุคคลคนเดียวกับจ�ำเลย
ในคดีทโ่ี จทกข์ อให้นบั โทษหรือการควบคุมการฝึกอบรมตอ่
ระหว่างพิจารณา ผู้เสียหายท้ังสองแถลงว่าได้รับชดใช้ค่าเสียหายจากจ�ำเลยท้ังแปด
๓๒,๐๐๐ บาท จึงไม่ติดใจเรียกรอ้ งคา่ เสียหายจากจ�ำเลยท้ังแปด
ศาลช้ันต้นเห็นว่า พฤติการณ์แห่งคดียังไม่สมควรจะมีค�ำพิพากษา จึงให้ใช้มาตรการ
แทนการพิพากษาคดีตามพระราชบญั ญตั ิศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ ีพจิ ารณาคดีเยาวชน
และครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒ วรรคหน่งึ แกจ่ �ำเลยที่ ๑ ถึงท่ี ๖ และท่ี ๘ สำ� หรับ
จ�ำเลยที่ ๗ ให้ใช้มาตรการแทนการพพิ ากษาคดีตามพระราชบัญญัตศิ าลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง โดยส่งตัว
จำ� เลยท่ี ๗ ไปควบคุมทสี่ ถานพนิ ิจและคุม้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั นนทบรุ ี เปน็ เวลา ๑ ปี
จ�ำหน่ายคดีชั่วคราว ส่วนท่ีโจทก์ขอให้นับวันควบคุมตัวจ�ำเลยท่ี ๗ ต่อจากคดีอาญาหมายเลข
แดงท่ี ๗๑/๒๕๖๓ และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชนั้ ตน้ นนั้ เนอื่ งจากศาลยงั ไมไ่ ดม้ คี ำ� พพิ ากษาลงโทษ
จำ� เลยท่ี ๗ จึงไม่อาจมคี �ำส่งั ได้ (ทีถ่ ูก ยกคำ� ขอ)
ระหว่างจ�ำหน่ายคดีช่ัวคราว จ�ำเลยที่ ๕ ถึงแก่ความตาย ศาลชั้นต้นมีค�ำส่ังให้
จ�ำหน่ายคดีเฉพาะจำ� เลยท่ี ๕ ออกจากสารบบความ
โจทกอ์ ุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า มีเหตุให้นับวันควบคุมตัวจ�ำเลยท่ี ๗ ต่อจากคดีอาญา
หมายเลขแดงท่ี ๗๑/๒๕๖๓ และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชั้นต้นหรือไม่ เห็นว่า พระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา
๑๓๒ วรรคหนึ่ง ให้อ�ำนาจศาลที่จะใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีได้ต่อเมื่อคดีเสร็จการ
พิจารณาแล้ว เม่ือศาลเห็นว่าพฤติการณ์แห่งคดียังไม่สมควรจะมีค�ำพิพากษาเนื่องจากการ
กระท�ำความผิดของจ�ำเลยไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินควรและจ�ำเลยมีแนวโน้มที่จะ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทางท่ีดีข้ึน จึงมีค�ำส่ังให้ปล่อยตัวจ�ำเลยชั่วคราวเพื่อให้โอกาส
จ�ำเลยปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้สามารถอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้โดยปกติสุข แต่หาก
ศาลเห็นว่าไม่สมควรปล่อยตัวจ�ำเลยก็ยังสามารถท่ีจะท�ำการแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูจ�ำเลยในระบบ
ควบคุมได้โดยส่งตัวจ�ำเลยไปยังสถานพินิจตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว

203

และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง ซ่ึงมาตรการ
แทนการพิพากษาคดีตามบทบัญญัติดังกล่าวเป็นเพียงกระบวนการแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูจ�ำเลย
ที่กระท�ำความผิดและได้รับโอกาสให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางท่ีดีขึ้นก่อนท่ีศาลจะมี
ค�ำพิพากษา หากจำ� เลยปฏิบัติตามเงอ่ื นไขและภายในระยะเวลาที่ศาลก�ำหนดตามมาตรา ๑๓๒ แล้ว
ศาลต้องส่ังยุติคดีโดยไม่ต้องมีค�ำพิพากษาเก่ียวกับการกระท�ำความผิดของจ�ำเลย เว้นแต่
ค�ำส่ังเกี่ยวกับของกลาง และให้ถือว่าสิทธิน�ำคดีอาญามาฟ้องเป็นอันระงับตามมาตรา ๑๓๓
วรรคหน่ึง การที่ศาลจะน�ำมาตรการแทนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ วรรคสอง มาใช้
แก่จ�ำเลย ศาลต้องค�ำนึงถึงความสามารถในการควบคุมดูแลจ�ำเลยของบิดา มารดา ผู้ปกครอง
หรือบุคคลซ่ึงจ�ำเลยอาศัยอยู่ด้วย ตลอดจนน�ำมาตรการต่าง ๆ มาใช้แทนการพิพากษาคดีให้
เหมาะสมกับตัวจ�ำเลยแต่ละคนและพฤติการณ์เฉพาะเร่ืองเพ่ือให้โอกาสจ�ำเลยปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมไปในทางทด่ี ขี น้ึ โดยทศ่ี าลไมต่ อ้ งมคี ำ� พพิ ากษาเกยี่ วกบั การกระทำ� ความผดิ ของจำ� เลย
สำ� หรบั คดนี ข้ี อ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏตามรายงานขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั เยาวชนของสถานพนิ จิ และคมุ้ ครอง
เดก็ และเยาวชนจงั หวดั นนทบรุ วี า่ บดิ าจำ� เลยที่ ๗ ถงึ แกค่ วามตายตง้ั แตจ่ ำ� เลยที่ ๗ ยงั เลก็ จำ� เลย
ที่ ๗ อยใู่ นความปกครองของมารดา แตม่ ารดาแยกไปประกอบอาชพี และอาศยั อยทู่ จี่ งั หวดั ระยอง
ให้จำ� เลยที่ ๗ อยใู่ นความดูแลของปูแ่ ละยา่ ซง่ึ ไม่สามารถควบคมุ ความประพฤติของจำ� เลยที่ ๗
ได้ เปน็ เหตใุ ห้จ�ำเลยที่ ๗ มพี ฤตกิ รรมเสียหาย แต่อยา่ งไรกต็ าม รายงานกระบวนพิจารณาฉบบั
ลงวนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ระบวุ ่า จำ� เลยท่ี ๗ ยังรู้สำ� นกึ ในการกระท�ำของตนและพยายามแก้ไข
ปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น ดังนั้น การส่งตัวจ�ำเลยที่ ๗ ไปควบคุมที่สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชนจงั หวัดนนทบรุ ี มกี ำ� หนดเวลา ๑ ปี จงึ เพียงพอทจี่ ำ� เลยท่ี ๗ จะปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม
ไปในทางทด่ี ขี น้ึ แลว้ แมก้ ำ� หนดเวลาดงั กลา่ วจะซอ้ นกบั ระยะเวลาควบคมุ ตวั จำ� เลยตามมาตรการ
แทนการพิพากษาคดีที่ยังเหลืออยู่ในคดีอาญาหมายเลขแดงท่ี ๗๑/๒๕๖๓ และ ๗๒/๒๕๖๓
ของศาลช้ันตน้ กต็ าม กรณีจึงไมม่ เี หตุให้นับวนั ควบคมุ ตัวจำ� เลยท่ี ๗ ต่อจากคดอี าญาหมายเลข
แดงที่ ๗๑/๒๕๖๓ และ ๗๒/๒๕๖๓ ของศาลชน้ั ต้น ทศี่ าลชน้ั ตน้ ยกคำ� ขอดังกล่าวของโจทก์น้นั
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ พอ้ งด้วย อทุ ธรณข์ องโจทกฟ์ ังไม่ขนึ้
พิพากษายืน.

(พิทักษ์ หลิมจานนท์ - เผดมิ เพ็ชรกลู - อินทิรา ฉิวรมั ย)์

นภกมล หะวานนท์ - ยอ่
พาชื่น แสงจันทร์เทศ - ตรวจ

204

คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดชี ำ� นัญพเิ ศษท่ี ๖๗๓/๒๕๖๐ พนกั งานอัยการ

คดีเยาวชนและครอบครัว

จังหวดั เชียงราย โจทก์

นาย ร. กับพวก จำ� เลย

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖๙ วรรคส่ี

จ�ำเลยท่ี ๒ ให้การรับสารภาพในช้ันจับกุม แต่ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๙ วรรคส่ี
บญั ญตั วิ า่ ...ถอ้ ยคำ� ของเดก็ หรอื เยาวชนในชนั้ จบั กมุ มใิ หศ้ าลรบั ฟงั เปน็ พยานเพอื่ พสิ จู น์
ความผิดของเด็กหรือเยาวชน... ดังน้ัน ถ้อยค�ำใด ๆ ของเด็กหรือเยาวชนในชั้นจับกุม
ย่อมต้องห้ามมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานเพ่ือพิสูจน์ความผิดของเด็กหรือเยาวชนด้วย
มิใช่ต้องห้ามมิให้ศาลรับฟังแต่เฉพาะถ้อยค�ำซ่ึงเป็นค�ำรับสารภาพเท่านั้น ถ้อยค�ำอ่ืน
ของจ�ำเลยที่ ๒ ในช้ันจับกุมจึงต้องห้ามมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานเพื่อพิสูจน์ความผิด
ของจำ� เลยท่ี ๒ เชน่ กนั

______________________________

โจทกฟ์ อ้ งขอใหล้ งโทษจำ� เลยทง้ั สองตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๐/๑, ๑๐๒ พระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผู้กระท�ำ
ความผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓, ๔, ๘, ๑๔ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๓๒, ๓๓, ๘๓ รบิ ของกลาง
จ�ำเลยท่ี ๑ ใหก้ ารรบั สารภาพ ส่วนจำ� เลยที่ ๒ ใหก้ ารปฏิเสธ
ศาลช้ันต้นพิพากษาว่า จ�ำเลยท่ี ๑ มีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคสาม (๒), ๖๖ วรรคสาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓
ประกอบพระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำ� ความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๘ วรรคสอง ลงโทษฐานร่วมกันมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพื่อจ�ำหน่าย
โดยไม่ได้รบั อนุญาต ขณะกระท�ำความผดิ จ�ำเลยท่ี ๑ อายุ ๑๗ ปี เศษ ลดมาตราส่วนโทษให้

205

กงึ่ หน่งึ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ ประกอบมาตรา ๑๘ วรรคสาม และเมอ่ื คำ� นึง
ถึงฐานะของจ�ำเลยท่ี ๑ และพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องประกอบแล้ว กรณีมีเหตุอันสมควรเป็นการ
เฉพาะราย ให้ลงโทษปรับน้อยกว่าอัตราโทษขั้นต่�ำที่ก�ำหนดไว้ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด
ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๐๐/๑ วรรคสอง จำ� คุก ๒๕ ปี และปรบั ๑๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำเลย
ท่ี ๑ ให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การพิจารณามีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้ก่ึงหน่ึง
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจำ� คกุ ๑๒ ปี ๖ เดอื น และปรบั ๕๐,๐๐๐ บาท อาศัย
อ�ำนาจตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔๒ (๑) ให้เปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นการส่งตัวจ�ำเลยท่ี ๑ ไปควบคุมเพื่อ
ฝึกอบรมยงั ศูนยฝ์ ึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต ๗ จังหวัดเชยี งใหม่ มกี �ำหนด ๖ ปี ๓ เดอื น
นับแต่วันมีค�ำพิพากษา โดยหักวันที่ถูกควบคุมก่อนศาลพิพากษาออกจากระยะเวลาควบคุม
เพ่ือฝึกอบรมใหแ้ ก่จำ� เลยที่ ๑ ถ้าขณะคดีถงึ ที่สดุ จ�ำเลยท่ี ๑ อายคุ รบ ๒๔ ปีบริบรู ณแ์ ล้ว แตย่ ัง
ไม่ได้ถกู ควบคุมเพ่อื ฝึกอบรมให้สง่ ตัวจำ� เลยท่ี ๑ ไปจ�ำคุกไว้ในเรือนจ�ำ ๔ ปี หรือถา้ จ�ำเลยที่ ๑
ถูกควบคุมเพ่ือฝึกอบรมแล้ว แต่ยังไม่ครบก�ำหนด ให้ส่งตัวจ�ำเลยที่ ๑ ไปจ�ำคุกไว้ในเรือนจ�ำ
ตามเวลาที่เหลืออยู่แต่ไมเ่ กิน ๔ ปี ไมช่ �ำระค่าปรบั ใหส้ ่งตวั จ�ำเลยท่ี ๑ ไปควบคุมเพอื่ ฝกึ อบรมยัง
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต ๗ จังหวัดเชียงใหม่ มีก�ำหนด ๑๐๐ วัน ตาม
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง ริบเมทแอมเฟตามีน กระเป๋าเดินทาง วัตถุเม็ดกลมแบนสีเขียว และ
โทรศัพท์เคลื่อนที่หมายเลข ๐๙ ๓๑๔๓ ๙๘๒๘ และหมายเลข ๐๙ ๔๐๘๑ ๐๘๑๕ ของกลาง
ยกฟอ้ งโจทกส์ ำ� หรบั จำ� เลยท่ี ๒ คำ� ขออนื่ ใหย้ ก ใหค้ นื รถจกั รยานยนต์ โทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี หมายเลข
๐๘ ๒๘๙๖ ๕๓๔๗ และหมายเลข (ซิมการ์ด ๑) ๐๙ ๖๐๓๑ ๔๑๖๘ (ซมิ การ์ด ๒) ๐๙ ๕๖๐๓
๐๓๒๔ ของกลางแกเ่ จ้าของ
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริง
เบ้ืองต้นรับฟังเป็นยุติว่า ในวันเวลาและสถานท่ีเกิดเหตุตามฟ้อง เจ้าพนักงานต�ำรวจจับกุม
นาย ช. ขณะขับรถจักรยานยนตห์ มายเลขทะเบยี น คบค เชยี งราย ๕๘๙ ผา่ นจุดตรวจบนถนน
สายปางค่า-ท่าเจริญ พร้อมยึดของกลางเป็นเมทแอมเฟตามีน ๑๑๖,๘๒๐ เม็ด น้�ำหนักสุทธิ
๑๒,๓๐๕.๗ กรัม ค�ำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิได้ ๓,๐๖๕.๐๒๔ กรัม กับวัตถุเม็ดกลมแบนสีเขียว
ซ่ึงตรวจไม่พบสารเสพติด ๑,๑๘๐ เม็ด บรรจุในกระเป๋าเดินทาง ๑ ใบ และโทรศัพท์เคล่ือนที่

206

๒ เครอ่ื ง จากนนั้ ตามไปจบั จำ� เลยทง้ั สองไดท้ ส่ี ามแยกทา่ เจรญิ พรอ้ มยดึ รถจกั รยานยนตห์ มายเลข
ทะเบียน ๑ กฉ เชียงราย ๒๖๘๗ ท่ีจ�ำเลยทั้งสองใช้เป็นยานพาหนะและโทรศัพท์เคลื่อนที่
ของจ�ำเลยท้งั สองเป็นของกลาง
มปี ญั หาทต่ี อ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกว์ า่ จำ� เลยท่ี ๒ รว่ มกระทำ� ผดิ กบั จำ� เลยที่ ๑
และพวกดว้ ยหรือไม่ เห็นวา่ แม้จำ� เลยที่ ๒ จะใหก้ ารรบั สารภาพในชน้ั จบั กมุ แตต่ ามพระราชบญั ญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธพี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๙ วรรคสี่
บัญญัติว่า ถ้อยค�ำของเด็กหรือเยาวชนในชั้นจับกุมมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานเพ่ือพิสูจน์
ความผิดของเด็กหรือเยาวชน ดังนั้น ท่ีโจทก์อุทธรณ์ว่า ในบันทึกจับกุมยังมีถ้อยค�ำอ่ืนที่
มิใช่ค�ำรับสารภาพอีกหลายประการ เช่น พฤติการณ์ รถ โทรศัพท์ จึงรับฟังได้น้ัน นอกจาก
โจทก์จะมิได้กล่าวไว้โดยชัดแจ้งในอุทธรณ์ให้เห็นว่าถ้อยค�ำอื่นที่มิใช่ค�ำรับสารภาพมีว่า
อยา่ งไรแลว้ ตามบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วยงั หมายความวา่ ถอ้ ยค�ำใด ๆ ของเดก็ หรอื เยาวชนในชนั้ จบั กมุ
ยอ่ มตอ้ งหา้ มมใิ หศ้ าลรบั ฟงั เปน็ พยานหลกั ฐานเพอื่ พสิ จู นค์ วามผดิ ของเดก็ หรอื เยาวชนดว้ ย มใิ ช่
ต้องห้ามมิให้ศาลรับฟังแต่เฉพาะถ้อยค�ำซึ่งเป็นค�ำรับสารภาพเท่านั้น นอกจากนี้จากการ
ตรวจสอบโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลางตามบันทึกข้อความและผังความสัมพันธ์ทางโทรศัพท์ คงพบ
การโทรศัพทต์ ดิ ตอ่ ระหวา่ งนาย ช. กับจำ� เลยที่ ๑ และระหวา่ งนาย ช. กบั บุคคลทเ่ี ป็นผู้วา่ จา้ ง
ให้นาย ช. ไปส่งเมทแอมเฟตามีน โดยไม่พบการติดต่อกันทางโทรศัพท์ระหว่างนาย ช. กับ
จำ� เลยท่ี ๒ แต่อยา่ งใด อกี ประการหนงึ่ คำ� ให้การของนาย ช. และจ�ำเลยท่ี ๑ ในชน้ั สอบสวน ตาม
บันทกึ ค�ำใหก้ ารของผ้ตู อ้ งหา ก็ไม่ปรากฏวา่ บคุ คลทัง้ สองซดั ทอดจ�ำเลยท่ี ๒ วา่ รว่ มร้เู หน็ หรอื มี
ส่วนร่วมในการกระท�ำผิดด้วย ท้ังจ�ำเลยท่ี ๑ ยังให้การยืนยันว่า จ�ำเลยท่ี ๒ ไม่มีส่วนรู้เห็นใน
การกระทำ� ผดิ จำ� เลยที่ ๑ ชวนจำ� เลยท่ี ๒ มาขับรถนาย ช. กลบั เทา่ นัน้ ข้อเทจ็ จรงิ อาจเปน็ ได้วา่
จ�ำเลยท่ี ๒ ไปกับจ�ำเลยที่ ๑ เพียงเพ่ือไปขับรถจักรยานยนต์ของนาย ช. กลับตามที่จ�ำเลย
ที่ ๒ นำ� สืบต่อสู้ พยานหลกั ฐานท่ีโจทกน์ �ำสืบมายงั ไมเ่ พยี งพอใหร้ บั ฟังว่าจ�ำเลยที่ ๒ ร่วมกระทำ� ผดิ
กับจ�ำเลยท่ี ๑ และพวก ที่ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ มานั้น ศาลอุทธรณ์
คดีชำ� นัญพิเศษเหน็ พ้องดว้ ย อทุ ธรณโ์ จทกฟ์ ังไม่ขนึ้
พิพากษายืน.

(เกรยี งชยั จึงจตุรพธิ - ชนากานต์ ธรี เวชพลกุล - ชารียา เดน่ นนิ นาท)

นราธิป บญุ ญพนชิ - ย่อ
นรินทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ

207

คำ� พิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีช�ำนญั พิเศษที่ ๘๒๕/๒๕๖๐ พนักงานอยั การ

จงั หวดั สระแก้ว โจทก์
จำ� เลย
นาย จ.

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๔ วรรคหนงึ่

ค�ำร้องขอฝากขัง บันทึกการจับกุม บันทึกค�ำให้การผู้ต้องหาตลอดจนค�ำฟ้อง
ล้วนระบุว่า จ�ำเลยอายุ ๑๘ ปี เศษ จ�ำเลยให้การรับสารภาพโดยผ่านล่ามมาโดยตลอด
จ�ำเลยมโี อกาสโตแ้ ยง้ ตอ่ ศาลช้ันต้นหลายครั้งว่าจ�ำเลยมอี ายุเพยี ง ๑๖ ปี เศษ แตจ่ ำ� เลย
ก็ไมโ่ ตแ้ ยง้ จนกระทัง่ ศาลช้นั ต้นมคี �ำพพิ ากษาลงโทษจำ� คุกจำ� เลยแล้ว จำ� เลยจึงหยิบยก
เร่ืองอายุขึ้นมาโต้แย้งโดยยื่นค�ำร้องขอให้โอนคดีไปยังศาลเยาวชนและครอบครัว
จงั หวดั สระแกว้ เพอ่ื พจิ ารณาพพิ ากษาใหม่ จงึ เปน็ กรณที ปี่ รากฏในภายหลงั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ
เรื่องอายุของจ�ำเลยผิดไป ซึ่งถ้าปรากฏเสียแต่ต้นจะเป็นเหตุให้ศาลช้ันต้นไม่มีอ�ำนาจ
พิจารณาพิพากษา แต่ข้อบกพร่องดังกล่าวไม่ท�ำให้การด�ำเนินการในชั้นสอบสวนและ
การพิจารณาพิพากษาของศาลช้ันต้นซึ่งเป็นศาลท่ีมีอ�ำนาจพิจารณาคดีธรรมดาเสีย
ไปตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง ดังน้ัน การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลช้ันต้น
จึงชอบด้วยกฎหมาย ไม่มีเหตุท่ีต้องโอนคดีไปยังศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
สระแก้วเพอื่ พิจารณาพพิ ากษาใหม่

______________________________

โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจ�ำเลยในข้อหาเป็นคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรโดย
ไม่ได้รับอนุญาต เป็นคนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตและลักทรัพย์หรือ
รบั ของโจร
จ�ำเลยให้การรับสารภาพข้อหาเป็นคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับ
อนญุ าต เปน็ คนตา่ งดา้ วอยใู่ นราชอาณาจกั รโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตและลกั ทรพั ย์ ศาลชน้ั ตน้ พจิ ารณา
แลว้ มีคำ� พพิ ากษาลงโทษจำ� คกุ จ�ำเลยรวม ๘ เดอื น

208

จ�ำเลยยื่นค�ำร้องว่า จ�ำเลยเกิดวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๒ ขณะกระท�ำความผิดจ�ำเลย
มีอายุ ๑๖ ปี ๘ เดอื น ยงั เปน็ เยาวชน ตอ้ งได้รบั การพิจารณาคดีโดยศาลเยาวชนและครอบครวั
จังหวัดสระแกว้ ทศ่ี าลช้นั ตน้ พิจารณาและพพิ ากษาลงโทษจำ� เลยจึงไม่ถกู ตอ้ งขอให้โอนคดไี ปยัง
ศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวัดสระแกว้ เพ่ือพจิ ารณาพพิ ากษาใหม่
ศาลช้ันต้นมคี �ำส่ังใหย้ กคำ� ร้อง
จำ� เลยอทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณภ์ าค ๒ เหน็ วา่ ขณะกระทำ� ความผิดจำ� เลยมีอายุ ๑๖ ปี เศษ จึงมคี ำ� สั่ง
โอนคดมี ายงั ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเพอ่ื พจิ ารณาพพิ ากษาตามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชน
และครอบครวั และวธิ พี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔ วรรคสอง
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ปัญหาที่
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยมีว่า มีเหตุต้องโอนคดีไปยังศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดสระแก้วเพ่ือพิจารณาพิพากษาใหม่หรือไม่ เห็นว่า คดีนี้ศาลอุทธรณ์ภาค ๒ ให้
ศาลช้ันต้นไต่สวนข้อเท็จจริงเร่ืองอายุของจ�ำเลยแล้ว รับฟังว่า ขณะกระท�ำความผิดจ�ำเลย
มีอายุ ๑๖ ปี เศษ เมื่อพิจารณาค�ำร้องขอฝากขัง บันทึกการจับกุม บันทึกค�ำให้การผู้ต้องหา
ตลอดจนค�ำฟ้องล้วนระบุว่าจ�ำเลยอายุ ๑๘ ปี เศษ จ�ำเลยให้การรับสารภาพโดยผ่านล่ามมา
โดยตลอด จ�ำเลยมีโอกาสโต้แย้งต่อศาลชั้นต้นหลายคร้ังว่าจ�ำเลยมีอายุเพียง ๑๖ ปี เศษ แต่
จ�ำเลยก็ไม่โต้แย้งจนกระทั่งศาลชั้นต้นมีค�ำพิพากษาลงโทษจ�ำคุกจ�ำเลยแล้ว จ�ำเลยจึงหยิบยก
เรื่องอายุข้ึนมาโต้แย้ง โดยย่ืนค�ำร้องขอให้โอนคดีไปยังศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
สระแก้วเพ่ือพิจารณาพิพากษาใหม่ จึงเป็นกรณีท่ีปรากฏในภายหลังว่าข้อเท็จจริงเร่ืองอายุ
ของจ�ำเลยผิดไป ซ่ึงถ้าปรากฏเสียแต่ต้นจะเป็นเหตุให้ศาลชั้นต้นไม่มีอ�ำนาจพิจารณาพิพากษา
แต่ข้อบกพร่องดังกล่าวไม่ท�ำให้การด�ำเนินการในช้ันสอบสวนและการพิจารณาพิพากษาของ
ศาลช้ันต้นซึ่งเป็นศาลท่ีมีอ�ำนาจพิจารณาคดีธรรมดาเสียไปตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน
และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๔ วรรคหน่ึง
ดังน้ัน การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นต้นจึงชอบด้วยกฎหมาย กรณีไม่มีเหตุที่ต้อง
โอนคดีไปยังศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสระแก้วเพ่ือพิจารณาพิพากษาใหม่ ที่ศาลช้ันต้น
ยกค�ำร้องของจ�ำเลย ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นชอบด้วย อุทธรณ์ของจ�ำเลยฟังไม่ขึ้น
อย่างไรก็ตาม เม่ือจ�ำเลยย่ืนค�ำร้องขอโอนคดีแทนการอุทธรณ์ค�ำพิพากษาศาลชั้นต้นก่อน
ครบก�ำหนดเวลายื่นอุทธรณ์เช่นน้ี หากจ�ำเลยประสงค์จะอุทธรณ์ค�ำพิพากษาศาลชั้นต้น

209

มายังศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษก็เห็นสมควรให้โอกาสจ�ำเลยย่ืนต่อศาลช้ันต้นภายในก�ำหนด
หนงึ่ เดอื นนบั แตว่ นั อา่ นค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนญั พเิ ศษให้จำ� เลยฟงั
พพิ ากษายนื แตห่ ากจำ� เลยประสงคจ์ ะอทุ ธรณค์ ำ� พพิ ากษาศาลชนั้ ตน้ มายงั ศาลอทุ ธรณ์
คดีช�ำนัญพิเศษก็ให้จ�ำเลยย่ืนอุทธรณ์ต่อศาลช้ันต้นภายในก�ำหนดหน่ึงเดือนนับแต่วันอ่าน
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำ� นญั พิเศษใหจ้ �ำเลยฟัง.

(อมรรัตน์ กรยิ าผล - ประวิทย์ อิทธิชยั วฒั นา - พนารตั น์ คดิ จิตต)์

พทิ กั ษ์ หลิมจานนท์ - ยอ่
นรินทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ

210

ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณ์คดีชำ� นญั พเิ ศษท่ี ๑๒๘๒/๒๕๖๐ พนกั งานอัยการคดี

เยาวชนและครอบครัว

จงั หวดั นครสวรรค์ โจทก์

นาย ว. จ�ำเลย

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๙๕

ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๙๕ บัญญัติว่า คดีอาญาที่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชน
กระทำ� ความผดิ ใหศ้ าลเยาวชนและครอบครวั ซง่ึ มเี ขตอำ� นาจในทอ้ งทท่ี เ่ี ดก็ หรอื เยาวชน
มีถ่ินที่อยู่ปกติ มีอ�ำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดนั้น แต่ถ้าเพื่อประโยชน์แก่เด็ก
หรือเยาวชนให้ศาลแห่งท้องที่ท่ีเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิดมีอ�ำนาจรับพิจารณา
คดีน้ันได้ ตามบทบัญญัติดังกล่าวมีความหมายว่า เขตอ�ำนาจศาลซึ่งมีอ�ำนาจพิจารณา
คดีอาญาท่ีมีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิด กฎหมายก�ำหนดให้ศาลเยาวชน
และครอบครัวซ่ึงมีเขตอ�ำนาจในท้องที่ท่ีเด็กหรือเยาวชนมีถิ่นท่ีอยู่ปกติ เป็นศาลที่มี
อ�ำนาจพิจารณาคดีนั้น แต่ก็ให้ศาลเยาวชนและครอบครัวซึ่งมีเขตอ�ำนาจในท้องท่ีที่
เด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิดมีอ�ำนาจใช้ดุลพินิจรับพิจารณาคดีน้ันได้ด้วย ถ้าเห็นว่า
เพื่อประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชน ขณะท่ีโจทก์ย่ืนฟ้องคดีน้ีจ�ำเลยมีถ่ินที่อยู่ปกติ
ในท้องที่จังหวัดนครสวรรค์ ศาลช้ันต้นซ่ึงมีเขตอ�ำนาจในท้องท่ีท่ีจ�ำเลยมีถ่ินที่อยู่ปกติ
จงึ มีอำ� นาจพจิ ารณาคดี ศาลชนั้ ต้นยอ่ มตอ้ งรบั ฟ้องไว้พิจารณา ศาลชัน้ ต้นจะใชด้ ุลพินจิ
ไม่รับฟ้องเพราะเหตุว่าหากมีการพิจารณาคดีท่ีศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธอ์ นั เปน็ ศาลแหง่ ทอ้ งทที่ จ่ี ำ� เลยกระทำ� ความผดิ จะเปน็ ประโยชนแ์ กจ่ ำ� เลย
มากกว่ามิได้ เพราะศาลที่มีอ�ำนาจใช้ดุลพินิจดังกล่าวคือศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ คำ� สัง่ ศาลช้ันตน้ ทไี่ ม่รับฟอ้ งโจทก์ไว้พจิ ารณาจงึ ไมช่ อบ

_______________________________

211

โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจ�ำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๑ และขอให้
จำ� เลยชดใช้เงนิ ๙๐,๐๐๐ บาท แก่ผูเ้ สยี หาย
ศาลชั้นต้นเห็นว่า พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๙๕ มิได้บญั ญัติบงั คบั ใหศ้ าลช้ันตน้ ซงึ่ เปน็ ศาลที่
เดก็ และเยาวชนมถี นิ่ ท่อี ยปู่ กตติ อ้ งรับชำ� ระคดีท่โี จทก์ฟอ้ งทุกกรณี แต่กฎหมายบัญญัตวิ ่า หาก
เพ่ือประโยชน์แก่เด็กและเยาวชนให้ศาลแห่งท้องท่ีท่ีเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิดมีอ�ำนาจ
รบั พจิ ารณาคดีนน้ั ได้ ดังน้ี เม่อื ขอ้ เท็จจริงตามรายงานแสดงขอ้ เท็จจริงเกยี่ วกบั ผตู้ ้องหาปรากฏ
ว่า ก่อนถูกจับกุมคดีน้ี จ�ำเลยท�ำงานประจ�ำที่จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบันจ�ำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ที่
สถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ประกอบกบั ความผดิ คดนี เ้ี กดิ ใน
เขตอำ� นาจของศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ พนกั งานสอบสวนประจำ� สถานี
ตำ� รวจภธู รหวั หนิ เปน็ ผสู้ อบสวนคดนี ้ี และผเู้ สยี หายกม็ ภี มู ลิ ำ� เนาอยใู่ นเขตจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
ดังนี้ หากมีการพิจารณาคดีที่ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อันเป็นศาล
แห่งท้องท่ีที่จ�ำเลยกระท�ำความผิด ย่อมเป็นประโยชน์และสะดวกส�ำหรับจ�ำเลยมากกว่า
จึงไมเ่ ห็นควรรับฟอ้ งไวพ้ จิ ารณา มคี ำ� ส่ังไม่รบั ฟอ้ ง จำ� หนา่ ยคดีจากสารบบความ
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดเี ยาวชนและครอบครวั วนิ จิ ฉยั วา่ ตามพระราชบญั ญตั ิ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๙๕
บัญญัติว่าคดีอาญาท่ีมีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิด ให้ศาลเยาวชนและครอบครัว
ซึ่งมีเขตอ�ำนาจในท้องท่ีที่เด็กหรือเยาวชนมีถิ่นท่ีอยู่ปกติ มีอ�ำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับ
ความผิดน้ัน แต่ถ้าเพื่อประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชนให้ศาลแห่งท้องท่ีท่ีเด็กหรือเยาวชน
กระท�ำความผิดมีอ�ำนาจรับพิจารณาคดีนั้นได้ ตามบทบัญญัติดังกล่าวมีความหมายว่า
เขตอ�ำนาจศาลซึ่งมีอ�ำนาจพิจารณาคดีอาญาท่ีมีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิด
กฎหมายก�ำหนดให้ศาลเยาวชนและครอบครัวซึ่งมีเขตอ�ำนาจในท้องท่ีท่ีเด็กหรือเยาวชน
มีถิ่นท่ีอยู่ปกติ เป็นศาลท่ีมีอ�ำนาจพิจารณาคดีน้ัน เนื่องจากตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
ต้องการให้มีการพิจารณาคดีในศาลที่อยู่ใกล้กับภูมิล�ำเนาของบิดามารดา หรือผู้ปกครองท่ี
เด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ด้วย สามารถเดินทางมาศาลเพ่ือพบเย่ียมเยียนเด็กหรือเยาวชน
ได้สะดวกอันเป็นประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชนนั้น แต่ก็ให้ศาลเยาวชนและครอบครัวซึ่งมี
เขตอ�ำนาจในท้องท่ีท่ีเด็กหรือเยาวชนกระท�ำความผิดมีอ�ำนาจใช้ดุลพินิจรับพิจารณาคดีน้ัน

212

ได้ด้วย ถ้าเห็นว่าเพื่อประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชนโจทก์ระบุในค�ำฟ้องว่า จ�ำเลยอยู่บ้านเลขท่ี
๑๒๓/๓ หมทู่ ี่ ๑๐ ตำ� บลนครสวรรค์ตก อำ� เภอเมอื งนครสวรรค์ จงั หวัดนครสวรรค์ ประกอบกบั
รายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้ต้องหาของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ ก็ระบุว่า จ�ำเลยมีภูมิล�ำเนาตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์อยู่บ้านเลขท่ี ๑๒๓/๓
หมู่ท่ี ๑๐ ต�ำบลนครสวรรค์ตก อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โดยจ�ำเลยอาศัย
อยู่กับบิดาต้ังแต่เกิด ต่อมาจ�ำเลยอยู่กินฉันสามีภริยากับนางสาวสุนิษา โดยมิได้จดทะเบียน
สมรส และพักอาศัยอยู่ด้วยกันท่ีอ�ำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ จนกระทั่งถูกจับกุม
แสดงว่า ขณะท่ีโจทก์ยื่นฟ้องคดีนี้จ�ำเลยพักอาศัยอยู่กับภริยาที่จังหวัดนครสวรรค์ ถือว่าจ�ำเลย
มีถ่ินท่ีอยู่ปกติในท้องที่จังหวัดนครสวรรค์ แม้ก่อนถูกจับจ�ำเลยท�ำงานอยู่ที่หมู่บ้านนาราวดี
อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี แต่หลังจากถูกจับแล้วจ�ำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ในสถานพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์มาตลอดโดยไม่ได้รับอนุญาตให้ปล่อยตัว
ช่ัวคราว อีกท้ังปัจจุบันจ�ำเลยก็ไม่ได้ท�ำงานท่ีจังหวัดนนทบุรี ขณะท่ีโจทก์ย่ืนฟ้องคดีนี้จ�ำเลย
จึงมิได้มีถ่ินที่อยู่ปกติในท้องที่จังหวัดนนทบุรี เม่ือได้ความดังนี้แล้ว ศาลชั้นต้นซึ่งมีเขตอ�ำนาจ
ในท้องที่ที่จ�ำเลยมีถิ่นที่อยู่ปกติจึงมีอ�ำนาจพิจารณาคดีนี้ตามเจตนารมณ์ท่ีกฎหมายมุ่งประสงค์
ดังกล่าวข้างต้น ศาลช้ันต้นย่อมต้องรับฟ้องไว้พิจารณา ศาลชั้นต้นจะใช้ดุลพินิจไม่รับฟ้อง
เพราะเหตุว่าหากมีการพิจารณาคดีท่ีศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
อันเป็นศาลแห่งท้องที่ที่จ�ำเลยกระท�ำความผิดจะเป็นประโยชน์แก่จ�ำเลยมากกว่ามิได้ เพราะ
ศาลท่ีมีอ�ำนาจใช้ดุลพินิจดังกล่าวคือศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ค�ำส่ัง
ศาลช้นั ตน้ ท่ีไมร่ บั ฟ้องโจทก์ไวพ้ จิ ารณาจึงไม่ชอบ อุทธรณ์ของโจทกฟ์ งั ข้ึน
พิพากษากลับ ให้ประทบั ฟ้องโจทก์ไว้พิจารณา.

(ประวทิ ย์ อิทธิชัยวฒั นา - อมรรัตน์ กริยาผล - พนารตั น์ คดิ จิตต)์

ฉนั ทนา ชมพานชิ ย์ - ยอ่
นรินทร์ ทองค�ำใส - ตรวจ

213

ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีชำ� นญั พิเศษที่ ๑๘๗๘/๒๕๖๑ พนกั งานอยั การคดเี ยาวชน

และครอบครวั

จังหวัดตาก โจทก์

นาย ต. จำ� เลย

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๗๘, ๘๖, ๘๙

เม่ือพนักงานสอบสวนน�ำตัวจ�ำเลยไปศาลช้ันต้นเพื่อตรวจสอบการจับกุมใน
วันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ และในวันดังกล่าวศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังให้มอบตัวจ�ำเลยให้
แก่มารดาของจ�ำเลยเป็นผู้ดูแลในระหว่างการด�ำเนินคดีถือว่าจ�ำเลยอยู่ในอ�ำนาจของ
ศาลนบั แตว่ ันท่ี ๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ เป็นต้นไป ตอ่ มาเม่ือวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑
ผู้อ�ำนวยการสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดตากมีหนังสือแจ้งต่อ
ศาลช้ันต้นและพนักงานสอบสวนว่า จ�ำเลยอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูตาม
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๘๖ และเมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๖๑ ผอู้ ำ� นวยการสถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และ
เยาวชนจังหวัดตากมีหนังสือแจ้งต่อศาลช้ันต้นและพนักงานสอบสวนว่า ขอยุติการจัด
ทำ� แผนแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟู โดยศาลชน้ั ตน้ และพนกั งานสอบสวนไดร้ บั หนงั สอื แจง้ ดงั กลา่ ว
ในวันท่ี ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑ ดงั น้นั จงึ ไมน่ ำ� ระยะเวลาตง้ั แต่วนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑
อันเป็นวนั เริ่มการจดั ท�ำแผนแก้ไขบำ� บัดฟ้นื ฟู จนถึงวันท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๑ อันเปน็ วนั
ท่ีพนักงานสอบสวนได้รับแจ้งการขอยุติการจัดท�ำแผนแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูมารวมเข้ากับ
ระยะเวลาท่ีโจทก์ต้องด�ำเนินการย่ืนฟ้องจ�ำเลยตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๘๙ เม่ือโจทก์ย่ืนฟ้อง
คดนี ีใ้ นวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ จึงยงั อยูภ่ ายในกำ� หนดระยะเวลาทโี่ จทก์ยื่นฟอ้ งไดต้ าม
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๗๘ และขณะที่โจทก์ย่ืนฟ้องน้ันยังอยู่ในระหว่างการด�ำเนินคดี จ�ำเลยจึงยังอยู่
ในอ�ำนาจศาล แม้โจทก์ยื่นฟ้องโดยไม่ได้น�ำตัวจ�ำเลยมาส่งศาลด้วย ก็ชอบที่ศาลช้ันต้น
จะมีคำ� ส่งั ประทบั ฟ้องโจทก์ไว้พิจารณา

______________________________

214

โจทก์ฟ้องขอใหล้ งโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔,
๗, ๘, ๕๗, ๙๑ พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔, ๔๓ ทวิ, ๑๕๗/๑
ศาลช้ันต้นมคี �ำสง่ั ไม่ประทบั ฟ้อง
โจทกอ์ ุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ข้อกฎหมายท่ีต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า ที่ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งไม่ประทับฟ้องโจทก์
เพราะเหตุท่ีจ�ำเลยไม่อยู่ในอ�ำนาจของศาลชอบหรือไม่ เห็นว่า เม่ือพนักงานสอบสวนได้รับ
ตัวเด็กหรือเยาวชนซ่ึงถูกจับให้พนักงานสอบสวนน�ำตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาลเพ่ือตรวจสอบ
การจับกุมทันที และให้ศาลตรวจสอบการจับกุมเด็กหรือเยาวชนของเจ้าพนักงานผู้จับว่าชอบ
หรอื ไม่ หากการจบั นนั้ ไม่ชอบดว้ ยกฎหมายก็ให้ศาลปล่อยตัวไป แต่หากการจบั เปน็ ไปโดยชอบ
ศาลอาจมีค�ำสั่งให้มอบตัวเด็กหรือเยาวชนให้แก่บิดา มารดาผู้ปกครอง บุคคลหรือองค์การ
ซ่ึงเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ด้วย หรือบุคคลหรือองค์การที่ศาลเห็นสมควรเป็นผู้ดูแลเด็กหรือ
เยาวชนในระหว่างการด�ำเนินคดี หรือมีค�ำสั่งให้ควบคุมเด็กหรือเยาวชนไว้ในสถานพินิจหรือ
ในสถานที่อื่นท่ีจัดขึ้นตามกฎหมายและตามที่เห็นสมควร หรือมีค�ำส่ังให้ควบคุมไว้ในเรือนจ�ำ
หรือสถานท่ีอื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ท้ังนี้ ตามพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวธิ พี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๗๒
และ ๗๓ แสดงวา่ เดก็ หรอื เยาวชนนน้ั อยูใ่ นอำ� นาจของศาลแลว้ ตง้ั แตว่ ันทพ่ี นกั งานสอบสวนน�ำ
ตัวเด็กหรือเยาวชนมาส่งศาลเพ่ือตรวจสอบการจับกุมไปตลอดในระหว่างการด�ำเนินคดีจนกว่า
จะมีการฟ้องคดีหรือศาลมีค�ำส่ังเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น ข้อเท็จจริงคดีนี้ได้ความว่า เจ้าพนักงาน
ต�ำรวจจับกุมจ�ำเลยเม่ือวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พนักงานสอบสวนสถานีต�ำรวจภูธร
เมืองตากน�ำตัวจ�ำเลยไปศาลช้ันต้นเพ่ือตรวจสอบการจับกุมเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ศาลชั้นต้นตรวจสอบการจับกุมแล้ว มีค�ำส่ังให้มอบตัวจ�ำเลยแก่นางสาว ส. มารดาของจ�ำเลย
ไปดูแลในระหว่างการด�ำเนินคดีและมารดาของจ�ำเลยได้ท�ำสัญญาการมอบตัวเด็กหรือเยาวชน
ให้ผู้ดูแลในระหว่างด�ำเนินคดีไว้ต่อศาล โดยมารดาของจ�ำเลยมีหน้าท่ีต้องส่งตัวจ�ำเลยต่อศาล
ตามก�ำหนด หากมารดาของจ�ำเลยไม่ส่งตัวจ�ำเลยตามก�ำหนด ศาลมีอ�ำนาจส่ังให้มารดาของ
จ�ำเลยช�ำระเงินไม่เกิน ๔,๐๐๐ บาท แก่ศาลได้ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว
และวธิ พี ิจารณาคดีเยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๒๘ เช่นนี้ ถอื ว่าจ�ำเลยอยูใ่ น
อ�ำนาจของศาลนบั ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ เป็นตน้ ไปจนกว่าจะมกี ารฟ้องคดีภายใน

215

ก�ำหนดระยะเวลาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๗๘ ต่อมาในระหว่างการด�ำเนินคดีนี้มีข้อเท็จจริงปรากฏ
ตามเอกสารท้ายฟ้องของโจทก์ว่า เมอื่ วันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ผอู้ ำ� นวยการสถานพินิจและ
ค้มุ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั ตากมีหนงั สอื แจง้ ต่อศาลชนั้ ตน้ และพนกั งานสอบสวนวา่ จำ� เลย
อาจกลับตนเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้องคดี ซึ่งจ�ำเลยอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟู
ตามมาตรา ๘๖ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ตอ่ มาเมอื่ วันที่ ๒๖ มนี าคม ๒๕๖๑ ผอู้ ำ� นวยการสถานพินจิ และคมุ้ ครอง
เดก็ และเยาวชนจงั หวดั ตากมหี นงั สอื แจง้ ตอ่ ศาลชน้ั ตน้ และพนกั งานสอบสวนวา่ ขอยตุ กิ ารจดั ทำ�
แผนแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟจู ำ� เลยและใหด้ ำ� เนนิ คดตี ามปกตติ อ่ ไป โดยศาลชน้ั ตน้ และพนกั งานสอบสวน
ได้รับหนังสือแจ้งดังกล่าวในวันท่ี ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑ ซ่ึงตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและ
ครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๘๙ กำ� หนดใหพ้ นกั งาน
สอบสวนหรือพนักงานอัยการยังไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๗๘ เกี่ยวกับระยะเวลาในการ
ยื่นฟ้องและยื่นค�ำร้องขอผัดฟ้องในช่วงระยะเวลาท่ีอยู่ระหว่างการจัดท�ำและปฏิบัติตามแผน
แกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟู โดยไมต่ อ้ งนำ� ระยะเวลาระหวา่ งการจดั ทำ� และปฏบิ ตั ติ ามแผนแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟู
มารวมเข้ากับระยะเวลาที่ต้องด�ำเนินการยื่นฟ้องและยื่นค�ำร้องขอผัดฟ้อง ดังน้ัน จึงไม่อาจน�ำ
ระยะเวลาตง้ั แตว่ นั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ อนั เปน็ วนั เรมิ่ การจดั ท�ำแผนแกไ้ ขบ�ำบดั ฟน้ื ฟู จนถงึ
วนั ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑ อนั เป็นวนั ท่พี นักงานสอบสวนไดร้ บั แจง้ การขอยุติการจัดทำ� แผนแก้ไข
บ�ำบัดฟื้นฟู ซ่ึงเป็นช่วงระยะเวลาท่ีอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟู มารวมเข้ากับ
ระยะเวลาทีโ่ จทกต์ ้องดำ� เนนิ การยน่ื ฟ้องจำ� เลย เมือ่ โจทกย์ ื่นฟอ้ งคดนี ใ้ี นวนั ที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑
จึงยังอยู่ภายในก�ำหนดระยะเวลาที่โจทก์ย่ืนฟ้องได้ตามกฎหมาย และขณะท่ีโจทก์ย่ืนฟ้องน้ัน
ยังอยู่ในระหว่างการด�ำเนินคดี จ�ำเลยจึงยังอยู่ในอ�ำนาจของศาล ท้ังไม่ปรากฏว่าศาลช้ันต้น
มีค�ำสั่งเปล่ียนแปลงเกี่ยวกับการมอบตัวจ�ำเลยให้แก่มารดาของจ�ำเลยไปดูแลในระหว่าง
ดำ� เนนิ คดหี รอื มคี ำ� สงั่ ใหป้ ลอ่ ยตวั จำ� เลยไปเดด็ ขาดแลว้ แตอ่ ยา่ งใด การทโ่ี จทกย์ น่ื ฟอ้ งคดนี ต้ี อ่ ศาล
โดยไม่ได้น�ำตัวจ�ำเลยมาส่งศาลด้วย ก็ชอบที่ศาลช้ันต้นจะมีค�ำส่ังประทับฟ้องโจทก์ไว้พิจารณา
ดังน้ัน ท่ีศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า จ�ำเลยไม่อยู่ในอ�ำนาจของศาล เมื่อโจทก์ไม่สามารถน�ำตัวจ�ำเลย
มาสง่ ศาลในขณะยนื่ ฟอ้ งจงึ มคี ำ� สงั่ ไมป่ ระทบั ฟอ้ งโจทกน์ นั้ ไมต่ อ้ งดว้ ยความเหน็ ของศาลอทุ ธรณ์
คดชี �ำนญั พเิ ศษ อทุ ธรณข์ องโจทกฟ์ ังข้นึ

216

พพิ ากษายกค�ำสงั่ ศาลชนั้ ตน้ ใหศ้ าลช้นั ตน้ ประทับฟ้องโจทกไ์ ว้พจิ ารณาตอ่ ไป.
(ประวทิ ย์ อทิ ธิชยั วัฒนา - อมรรตั น์ กรยิ าผล - พนารตั น์ คิดจิตต)์

นชิ ญา ปราณีจิตต์ - ย่อ
โตมร สิรวิ ิวัฒน์ภากร - ตรวจ

217

คำ� พพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนัญพเิ ศษท่ี ๗๐๒๔/๒๕๖๒ พนกั งานอยั การ

คดีเยาวชนและครอบครัว

จงั หวัดสงขลา โจทก์

นาย ป. จ�ำเลย

พ.ร.บ. ปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔, ๖, ๕๒
พ.ร.บ. มาตรการในการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ หญงิ และเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔, ๕
ป.อ. มาตรา ๘๓, ๙๑, ๒๘๓, ๒๘๔, ๓๑๗ 


คําขอทา้ ยฟอ้ งของโจทกข์ อใหล้ งโทษจําเลยตาม พ.ร.บ. มาตรการในการปอ้ งกนั
และปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๕ ซึ่งเป็นการอ้างมาตราใน
กฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทําเช่นน้ันเป็นความผิด แม้จะไม่ได้อ้างมาตรา ๗ ซึ่งเป็น
บทลงโทษมาด้วย ฟ้องโจทก์ก็ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕๘ (๖) ประกอบ พ.ร.บ.
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖ ศาลย่อมลงโทษจําเลยตามมาตรา ๗ ได้ 
ขณะจําเลยกระทําความผิดกฎหมายท่ีใช้บังคับคือ พ.ร.บ. มาตรการในการ
ป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ ต่อมาได้มี พ.ร.บ. ป้องกันและ
ปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๓ ยกเลกิ พ.ร.บ. มาตรการในการปอ้ งกนั
และปราบปรามการค้าหญงิ และเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่ พ.ร.บ. ปอ้ งกันและปราบปรามการ
ค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๖ ยังคงบัญญัติให้การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจาก
หญงิ และเดก็ ตามที่โจทกบ์ รรยายฟอ้ งเป็นความผดิ ฐานคา้ มนุษย์ กรณีจงึ มใิ ช่บทบญั ญตั ิ
ของกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังการกระทําน้ันไม่เป็นความผิดต่อไป และถือว่าขณะ
กระทําความผิดมีกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดและกําหนดโทษไว้ตาม ป.อ. มาตรา ๒
โจทก์จึงมีอํานาจฟ้องขอให้ลงโทษจําเลยตาม พ.ร.บ. มาตรการในการป้องกันและ
ปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ และ พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการ
ค้ามนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ แต่โทษที่บญั ญตั ิตาม พ.ร.บ. ป้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕๒ มีอัตราสูงกว่าโทษตาม พ.ร.บ. มาตรการในการป้องกันและ
ปราบปรามการค้าหญิง และเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗ จึงเป็นกรณีที่กฎหมายท่ีใช้

218

ในขณะกระทําความผดิ แตกตา่ งกบั กฎหมายทใี่ ชภ้ ายหลงั ใหใ้ ชก้ ฎหมายในสว่ นทเ่ี ปน็ คณุ
แกผ่ กู้ ระทําผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓ คอื พ.ร.บ. มาตรการในการปอ้ งกนั
และปราบปรามการคา้ หญงิ และเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ 
การกระทําความผิดต่อกฎหมายหลายบทหรือหลายกรรมต่างกัน พนักงาน
สอบสวนหาจําต้องแจ้งกฎหมายท่ีเป็นความผิดทุกบทมาตราหรือทุกกรรมเป็นกระทง
ความผดิ ไม่ เมอื่ พนกั งานสอบสวนไดแ้ จง้ พฤตกิ ารณเ์ กย่ี วกบั การกระทําความผดิ ทง้ั หมด
ให้จําเลยทราบแล้ว พนักงานสอบสวนย่อมมีอํานาจสอบสวนในความผิดที่เกี่ยวข้องกับ
การกระทําของจําเลยตามทแ่ี จ้งให้ทราบแล้วทงั้ หมด 

______________________________

โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔, ๖, ๕๒ พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิง
และเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔, ๕ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓, ๙๑, ๒๘๓, ๒๘๔, ๓๑๗
จ�ำเลยใหก้ ารรบั สารภาพ
ศาลช้ันต้นพิพากษาว่า จ�ำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๔
วรรคแรก, ๓๑๗ วรรคสาม ประกอบมาตรา ๘๓ การกระท�ำของจ�ำเลยเป็นความผิดหลาย
กรรมต่างกันให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑
ขณะกระทำ� ผิดจ�ำเลยอายุ ๑๗ ปี เศษ ลดมาตราส่วนโทษลงกง่ึ หนงึ่ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๗๕ ฐานร่วมกันพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเพ่ือ
หาก�ำไรหรือเพ่ือการอนาจาร จ�ำคุก ๒ ปี ๖ เดือน ฐานร่วมกันพาผู้อื่นไปเพื่อการอนาจาร
จำ� คุก ๑ ปี รวมจำ� คกุ ๓ ปี ๖ เดือน จ�ำเลยให้การรบั สารภาพเปน็ ประโยชนแ์ ก่การพจิ ารณา มเี หตุ
บรรเทาโทษ ลดโทษให้กง่ึ หนง่ึ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจ�ำคกุ ๑ ปี ๙ เดอื น
ข้อหาอ่ืนให้ยก
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวตรวจส�ำนวนประชุม
ปรึกษาแล้ว ข้อเท็จจริงรับฟังได้เป็นที่ยุติในเบ้ืองต้นว่า นางสาว ม. ผู้เสียหายที่ ๑ เกิดเม่ือ
วันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๓๓ เป็นบุตรของนาย ร. ผู้เสียหายที่ ๒ กับนาง บ. ขณะเกิดเหตุ
ผู้เสียหายที่ ๑ อายุ ๑๔ ปี เศษ อยู่ในความปกครองดูแลของผู้เสียหายท่ี ๒ ตามวันเวลาและ

219

สถานทเี่ กดิ เหตใุ นฟ้อง จ�ำเลยกบั พวกใช้อบุ ายหลอกลวงพาผู้เสยี หายที่ ๑ ไปเต้นเปลอื ยร่างกาย
ในรา้ นอาหารเพอ่ื หารายไดจ้ ากลกู คา้ ทเี่ ขา้ มาในรา้ นอาหาร โดยมไิ ดร้ บั ความยนิ ยอมจากผเู้ สยี หาย
ท่ี ๒ จำ� เลยกระทำ� ความผดิ ฐานรว่ มกนั พาผอู้ นื่ ไปเพอื่ การอนาจาร และฐานรว่ มกนั พรากเดก็ อายุ
ยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเพื่อหาก�ำไรหรือเพ่ือการอนาจาร ซ่ึงความผิด
ทั้งสองฐานน้ไี ม่มคี ่คู วามฝา่ ยใดอุทธรณจ์ งึ ยุตไิ ปตามคำ� พิพากษาศาลชนั้ ตน้
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า จ�ำเลยร่วมกับพวกกระท�ำความผิด
ฐานร่วมกันค้ามนุษย์และฐานเพ่ือสนองความใคร่ของผู้อ่ืน ร่วมกันเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือ
พาไปเพื่อการอนาจารซ่ึงเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีตามฟ้องหรือไม่ เห็นว่า ขณะกระท�ำ
ความผิดคดีนี้กฎหมายท่ีใช้บังคับคือพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันและปราบปรามการค้า
หญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงตามพระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา ๕ ก�ำหนดว่า “ในการ
กระท�ำความผิดเกี่ยวกับการค้าหญิงหรือเด็ก ซื้อ ขาย จ�ำหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด
รับ หน่วงเหนี่ยว หรือกักขัง ซ่ึงหญิงหรือเด็ก หรือจัดให้หญิงหรือเด็กกระท�ำการหรือยอมรับ
การกระท�ำใด เพือ่ สนองความใครข่ องผู้อนื่ เพื่อการอนาจาร หรอื เพ่ือแสวงหาประโยชน์อนั มิควร
ไดโ้ ดยชอบสำ� หรบั ตนเองหรอื ผอู้ น่ื ไมว่ า่ หญงิ หรอื เดก็ นนั้ จะยนิ ยอมหรอื ไมก่ ต็ าม อนั เปน็ ความผดิ
ตามประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี กฎหมาย
ว่าด้วยสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน หรือพระราชบัญญัตินี้” โดยมีบทก�ำหนดโทษส�ำหรับการ
สมคบกันกระท�ำความผิดตามมาตรา ๕ ไว้ในมาตรา ๗ เพียงมาตราเดียว ดังนั้น บทบัญญัติ
ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก
พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงเปน็ บทบัญญตั ิทีก่ �ำหนดการกระท�ำอันเป็นความผิดไว้โดยตรงแลว้ ท่ีโจทกร์ ะบุ
ในค�ำขอท้ายฟ้องจึงเป็นการอ้างมาตราในกฎหมายซ่ึงบัญญัติว่าการกระท�ำเช่นน้ันเป็น
ความผิด แม้โจทก์จะมิได้อ้างมาตรา ๗ ซ่ึงเป็นบทลงโทษมาด้วย ศาลย่อมลงโทษจ�ำเลย
ตามมาตราดังกล่าวได้ ฟ้องโจทก์ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๑๕๘ (๖) ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ แม้ต่อมาพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึงใช้บังคับเม่ือวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๑ มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
พระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่
ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๖ บัญญัติให้
การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากหญิงและเด็กตามท่ีโจทก์บรรยายฟ้องยังคงเป็นความผิด

220

ฐานค้ามนุษย์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว กรณีจึงมิใช่บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติใน
ภายหลัง การกระท�ำเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป และถือว่าขณะมีการกระท�ำความผิดคดีน้ี
มีบทบัญญัติกฎหมายว่ามีความผิดและก�ำหนดโทษไว้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒
โจทก์จึงมีอ�ำนาจฟ้องขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบปราม
การค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ และพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ. ๒๕๕๑ แต่โทษที่บัญญัติตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕๒ มีอัตราสูงกว่าโทษตามพระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและ
ปราบปรามการค้าหญิงและเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗ จึงเปน็ กรณที ่กี ฎหมายท่ใี ช้ขณะกระท�ำผิด
แตกต่างกับกฎหมายที่ใช้ภายหลังให้ใช้กฎหมายส่วนท่ีเป็นคุณแก่ผู้กระท�ำผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓ คือ พระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้า
หญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ ส�ำหรับความผิดฐานเพ่ือสนองความใคร่ของผู้อ่ืน ร่วมกันเป็นธุระ
จัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจารซ่ึงเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี แม้พนักงานสอบสวน
ไม่ได้แจ้งข้อหาดังกล่าวแก่จ�ำเลยโดยแจ้งข้อหาแต่เพียงว่า ร่วมกันพรากเด็กอายุยังไม่เกิน
สิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเพ่ือการอนาจาร พาผู้อ่ืนไปเพื่อการ
อนาจารโดยใช้อุบายหลอกลวงหรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอ่ืนใด และสมคบกันต้ังแต่สองคน
ข้ึนไปจัดให้หญิงหรือเด็กกระท�ำการหรือยอมรับการกระท�ำใด เพื่อการอนาจาร หรือเพื่อ
แสวงหาประโยชน์อันมิควรได้โดยชอบส�ำหรับตนเองหรือผู้อ่ืนไม่ว่าหญิงหรือเด็กน้ันจะยินยอม
หรือไม่ก็ตาม เห็นว่า ในการกระท�ำความผิดต่อกฎหมายหลายบทหรือหลายกรรมต่างกัน
พนกั งานสอบสวนหาจำ� ตอ้ งระบถุ งึ กฎหมายทเี่ ปน็ ความผดิ ทกุ บทมาตราหรอื ทกุ กรรมเปน็ กระทง
ความผดิ ไม่ เมอื่ พนกั งานสอบสวนไดแ้ จง้ พฤตกิ ารณเ์ กยี่ วกบั การกระทำ� ความผดิ ทง้ั หมดใหจ้ ำ� เลย
ทราบแล้ว พนักงานสอบสวนย่อมมอี ำ� นาจสอบสวนในความผิดที่เกี่ยวข้องการกระท�ำของจ�ำเลย
ตามที่แจ้งให้ทราบแล้วท้ังหมด และถือว่าพนักงานสอบสวนได้ท�ำการสอบสวนในความผิดฐาน
เพอ่ื สนองความใคร่ของผอู้ ่นื ร่วมกันเปน็ ธรุ ะจดั หา ลอ่ ไป หรอื พาไปเพอื่ การอนาจารแลว้ โจทก์
ย่อมมอี ำ� นาจฟ้องจ�ำเลยในความผดิ ฐานดงั กล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณความอาญา
มาตรา ๑๒๐ ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ กรณีจึงต้องวินิจฉัยต่อไปว่า จ�ำเลยกระท�ำความผิด
ฐานเพ่ือสนองความใคร่ของผู้อื่น ร่วมกันเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจาร
ซ่ึงเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี และฐานสมคบกันต้ังแต่สองคนข้ึนไปจัดให้หญิงหรือเด็ก

221

กระท�ำการหรือยอมรับการกระท�ำใด เพื่อสนองความใคร่ของผู้อ่ืน เพื่อการอนาจารหรือไม่ โจทก์มี
ผเู้ สยี หายท่ี ๑ เบกิ ความเป็นพยานและผเู้ สียหายท่ี ๑ ให้การในช้นั สอบสวนตามบนั ทึกคำ� ให้การ
ข้อเทจ็ จริงรบั ฟงั ไดว้ า่ จ�ำเลยชักชวนผ้เู สียหายท่ี ๑ ไปเท่ยี วทจี่ ังหวดั สงขลา โดยผ้ทู ่ีเดนิ ทางไป
ด้วยคอื ผูเ้ สียหายท่ี ๑ นาย ต. นาย ห. นางสาว อ. และจำ� เลย เม่ือไปถงึ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวดั
สงขลา มีนาย ข. หรือ ด. และนางสาว ก. คนรักของนาย ด. มารบั ผเู้ สยี หายที่ ๑ ถกู บังคบั
ให้ใส่เพียงเส้ือช้ันในและกางเกงในเต้นโชว์ลูกค้าในร้านอาหาร หากไม่ท�ำจะไม่ได้เงินและไม่ได้
กลบั บา้ น บางครั้งผเู้ สยี หายท่ี ๑ ต้องถอดเสอ้ื ชั้นในและกางเกงในใหล้ กู คา้ ในรา้ นดู ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นชาวมาเลเซียและต้องยินยอมให้ลูกค้าจับตามตัวในลักษณะลวนลาม โดยผู้เสียหายที่ ๑
ต้องขอเงินจากลูกค้าชาวมาเลเซียครั้งละ ๑๐ เหรียญมาเลเซีย หรือประมาณ ๑๐๐ บาท แล้ว
มอบให้นาย ข. กับนางสาว ก. ขณะท่ีผู้เสยี หายที่ ๑ เต้นโชว์ จำ� เลยจะอยดู่ ้านนอกร้าน ผเู้ สยี หาย
ที่ ๑ เคยบอกจ�ำเลยว่าต้องการจะหลบหนีแต่ถูกจ�ำเลยท�ำร้ายร่างกายด้วยการตบและจ�ำเลย
ไม่ยอมให้หลบหนี เห็นว่า พฤติการณ์ของจ�ำเลยเป็นการร่วมกับพวกหลอกลวงผู้เสียหายท่ี ๑
โดยใช้ก�ำลังท�ำร้ายและใช้อ�ำนาจครอบง�ำบังคับให้ผู้เสียหายที่ ๑ ต้องยินยอมกระท�ำการเพื่อ
การอนาจารกล่าวคอื เตน้ โชวล์ กู คา้ โดยสวมใสเ่ พียงเสอ้ื ชนั้ ในและกางเกงใน หรอื ถอดเสอื้ ช้ันใน
และกางเกงในกบั ยนิ ยอมใหล้ กู คา้ ลวนลาม เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั เงนิ จากลกู คา้ ซง่ึ เปน็ การแสวงหาประโยชน์
ทางเพศ เพอื่ สนองความใครข่ องผอู้ นื่ คอื ลกู คา้ ภายในรา้ นอนั เปน็ การแสวงหาประโยชนโ์ ดยมชิ อบ
พยานหลกั ฐานทโี่ จทกน์ ำ� สบื เปน็ ทพี่ อใจแกศ่ าลวา่ จำ� เลยกระทำ� ความผดิ ฐานเพอื่ สนองความใคร่
ของผู้อ่ืน ร่วมกันเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพ่ือการอนาจารซึ่งเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี
และฐานสมคบกันตั้งแต่สองคนข้ึนไปจัดให้หญิงหรือเด็กกระท�ำการหรือยอมรับการกระท�ำใด
เพ่ือสนองความใคร่ของผู้อื่น เพ่ือการอนาจาร ตามที่โจทก์ฟ้องที่ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง
ความผิดฐานดังกล่าวมาน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษไม่เห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของโจทก์
ฟังข้ึน
อนึ่ง ปรากฏว่าจ�ำเลยกระท�ำความผิดก่อนวันใช้บังคับพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทีม่ าตรา ๑๑ และ ๑๒ ให้ยกเลิกอตั รา
โทษในมาตรา ๒๘๓, ๒๘๔ และ ๓๑๗ และให้ใช้อัตราโทษใหมแ่ ทน ซึ่งโทษจำ� คกุ ตามกฎหมาย
เดิมและกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่มีระวางโทษจ�ำคุกเท่ากัน ส่วนโทษปรับตามกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่
มีระวางโทษปรับสูงกว่าโทษปรับตามกฎหมายเดิม กฎหมายที่แก้ไขใหม่ไม่เป็นคุณแก่จ�ำเลย
จงึ ต้องใช้กฎหมายเดิมซึง่ เปน็ กฎหมายทใี่ ชใ้ นขณะกระทำ� ความผิดบงั คับแกจ่ ำ� เลย

222

พิพากษาแก้เป็นว่า จ�ำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๓
วรรคสาม (เดมิ ), ๒๘๔ วรรคแรก (เดิม), ๓๑๗ วรรคสาม (เดิม) พระราชบัญญตั ิมาตรการในการ
ป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๕, ๗ วรรคหนง่ึ ประกอบประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ ความผิดฐานร่วมกันพาผู้อ่ืนไปเพ่ือการอนาจาร ฐานเพื่อสนอง
ความใคร่ของผ้อู ืน่ รว่ มกันเป็นธรุ ะจัดหา ล่อไป หรอื พาไปเพื่อการอนาจารซึ่งเด็กอายุยงั ไมเ่ กิน
สิบห้าปี และฐานสมคบกันต้ังแต่สองคนขึ้นไปจัดให้หญิงหรือเด็กกระท�ำการหรือยอมรับการ
กระท�ำใดเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น เพื่อการอนาจาร เป็นการกระท�ำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อ
กฎหมายหลายบท ให้ลงโทษฐานเพอื่ สนองความใคร่ของผ้อู ่ืน ร่วมกนั เป็นธรุ ะจัดหา ล่อไป หรือ
พาไปเพื่อการอนาจารซ่ึงเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี อันเป็นกฎหมายบทที่มีโทษหนักท่ีสุด ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ ขณะกระทำ� ความผิดจ�ำเลยอายุ ๑๗ ปี เศษ ลดมาตราส่วน
โทษลงกึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๕ จ�ำคุก ๕ ปี จ�ำเลยให้การรับสารภาพ
เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้ก่ึงหนึ่งตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๗๘ คงจำ� คกุ ๒ ปี ๖ เดือน เม่ือรวมกับโทษจำ� คุก ๑ ปี ๓ เดือน ในความผดิ ฐาน
พรากเดก็ อายยุ งั ไม่เกินสิบห้าปีไปเสยี จากผู้ปกครองหรือผ้ดู ูแลเพอ่ื หากำ� ไรหรอื เพ่อื การอนาจาร
ตามค�ำพิพากษาศาลช้ันต้น รวมจ�ำคุกจ�ำเลย ๓ ปี ๙ เดือน โดยไม่ยกฟ้องจ�ำเลยฐานร่วมกัน
ค้ามนุษย์ นอกจากท่แี กใ้ หเ้ ป็นไปตามคำ� พพิ ากษาศาลชั้นต้น.

(เผดิม เพช็ รกูล - ชารยี า เดน่ นินนาท - อนิ ทิรา ฉวิ รมั ย์)

นชิ ญา ปราณีจติ ต์ - ยอ่
แกว้ ตา เทพมาลี - ตรวจ

223

ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนญั พเิ ศษที่ ๖๘๖/๒๕๖๔ พนกั งานอัยการคดีเยาวชน

และครอบครวั

จังหวดั พิษณโุ ลก โจทก์

นาย ว. จำ� เลย

ป.อ. มาตรา ๓๙๑
พ.ร.บ. คุ้มครองผ้ถู ูกกระท�ำด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ วรรคสอง

โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจ�ำเลยในความผิดฐานกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว
ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔
วรรคหน่ึง ซ่ึงเป็นความผิดอันยอมความได้ตามมาตรา ๔ วรรคสอง และฐานใช้ก�ำลัง
ท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตาม ป.อ. มาตรา ๓๙๑
อันเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท เม่ือผู้เสียหายถอนค�ำร้องทุกข์แล้ว
สิทธิน�ำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับไปในความผิดอันยอมความได้สิทธิ
นำ� คดอี าญามาฟอ้ งในความผดิ ฐานกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั จงึ ระงบั ไป อย่างไรกต็ าม
พระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา ๔ วรรคสอง ยังบัญญัติต่อไปอีกว่า หากการกระท�ำ
ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายตาม ป.อ. มาตรา ๒๙๕ ด้วย
ให้ความผิดดังกล่าวเป็นความผิดอันยอมความได้ เมื่อพิจารณาอัตราโทษของ
ความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายตาม ป.อ. มาตรา ๒๙๕ แล้ว พบว่ามีระวางโทษสูงกว่า
ความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ตาม ป.อ. มาตรา ๓๙๑ ท้ังความผิดท้ังสองฐานเป็นความผิดในลักษณะท�ำร้าย
ร่างกายผู้อ่ืนเหมือนกัน เพียงแต่ผู้กระท�ำความผิดจะต้องรับโทษหนักเบาอย่างไร
ข้ึนอยู่กับผลของการท�ำร้ายร่างกายผู้อ่ืนเท่าน้ัน เม่ือพระราชบัญญัติดังกล่าวบัญญัติให้
ความผดิ ฐานทำ� รา้ ยรา่ งกายในกรณคี วามรนุ แรงในครอบครวั เปน็ ความผดิ อนั ยอมความได้
จึงเห็นเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ไม่ประสงค์จะให้สมาชิกในครอบครัวมาด�ำเนินคดี
กันเองต่อไป หากสามารถตกลงกันได้และการท�ำร้ายน้ันไม่รุนแรงเกินกว่าความผิด
ฐานท�ำร้ายร่างกายตาม ป.อ. มาตรา ๒๙๕ ดังน้ัน ความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อื่นโดย
ไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจซ่ึงมีโทษเบากว่าจึงเป็นความผิด

224

อันยอมความได้ด้วย เม่ือผู้เสียหายถอนค�ำร้องทุกข์ก่อนคดีถึงที่สุด สิทธิน�ำคดีอาญา
มาฟ้องของโจทก์ในความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๓๙๑ จึงย่อมระงับไปด้วยตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๓๙ (๒) ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวิธพี ิจารณาคดเี ยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๘๒ ค�ำสั่งของศาลช้ันต้นที่ให้จ�ำหน่ายคดีทั้งคดี
ออกจากสารบบความจึงชอบด้วยกฎหมายแลว้

______________________________

โจทก์ฟ้อง ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๑ พระราชบัญญัติ
ค้มุ ครองผถู้ ูกกระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓, ๔
จ�ำเลยใหก้ ารรบั สารภาพ
ระหว่างพิจารณา ศาลช้ันตน้ ไกลเ่ กล่ยี จนผูเ้ สยี หายกับจำ� เลยสามารถตกลงกันได้ โดย
จ�ำเลยตกลงช�ำระค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหายเป็นเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงต่อมาจ�ำเลยได้
ผ่อนช�ำระเงินดังกล่าวให้แก่ผู้เสียหายจนครบถ้วนแล้ว ผู้เสียหายแถลงว่าไม่ติดใจด�ำเนินคดีแก่
จ�ำเลยอกี ตอ่ ไป ขอถอนค�ำรอ้ งทกุ ขค์ ดนี ้ี โจทกแ์ ละจ�ำเลยไม่คดั คา้ น ศาลชัน้ ตน้ จงึ มีคำ� สง่ั อนุญาต
ใหผ้ ูเ้ สยี หายถอนคำ� รอ้ งทกุ ข์ จ�ำหนา่ ยคดอี อกจากสารบบความ
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดเี ยาวชนและครอบครวั วนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ในชน้ั
อทุ ธรณร์ บั ฟงั ไดว้ า่ ตามวนั เวลาและสถานทเี่ กดิ เหตุ จำ� เลยชกตอ่ ยทบ่ี รเิ วณใบหนา้ ดา้ นหลงั ศรี ษะ
และบริเวณด้านหลังของผู้เสียหายซ่ึงเป็นภริยาชอบด้วยกฎหมายอย่างแรงหลายคร้ัง และเตะ
ที่บริเวณขาซ้ายของผู้เสียหายอีก ๑ ครั้ง จนเป็นเหตุให้ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผล
ฟกช้�ำบริเวณหน้าผากด้านขวาและบริเวณเบ้าตาขวาร่วมกับพบเย่ือบุตาขาวฟกช�้ำ และได้รับ
บาดเจ็บมีบาดแผลฟกช�้ำบริเวณต้นขาด้านซ้าย โดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กาย
หรือจติ ใจ อันเป็นการกระทำ� ใด ๆ โดยมุ่งประสงค์ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกร่ ่างกาย จติ ใจ และสขุ ภาพ
ของผเู้ สยี หาย ซึ่งเปน็ บุคคลในครัวเรอื นเดียวกับจ�ำเลย
ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์มีว่า ค�ำสั่งของศาลชั้นต้นท่ีให้จ�ำหน่าย
คดีออกจากสารบบความชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เห็นว่า คดีน้ีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจ�ำเลย
ในความผดิ ฐานกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั อนั เปน็ ความผดิ อนั ยอมความไดต้ ามพระราชบญั ญตั ิ
คุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ และฐานใช้

225

ก�ำลังท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๓๙๑ จ�ำเลยให้การรับสารภาพ จึงรับฟังได้ว่าจ�ำเลยกระท�ำความผิดทั้งสองฐาน
ความผิดดังกล่าว เพียงแต่ความผิดท้ังสองฐานของจ�ำเลยเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมาย
หลายบท เม่ือผู้เสียหายถอนค�ำร้องทุกข์แล้ว สิทธิน�ำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับ
ไปในความผิดอันยอมความได้ สิทธิน�ำคดีอาญามาฟ้องในความผิดฐานกระท�ำความรุนแรง
ในครอบครวั จงึ ระงบั ไป แตก่ ารทพ่ี ระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั
พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ วรรคหน่ึงและวรรคสอง บญั ญัตใิ ห้การกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั
เป็นความผิดทางอาญาที่ยอมความได้น้ัน ไม่ลบล้างความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
หรือกฎหมายอ่ืน ดังน้ันความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตราย
แก่กายหรือจิตใจจึงไม่ถูกลบล้างไปด้วย อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา ๔
วรรคสอง ยงั บญั ญตั ติ อ่ ไปอกี วา่ “...หากการกระทำ� ความผดิ ตามวรรคหนง่ึ เปน็ ความผดิ ฐานทำ� รา้ ย
ร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ด้วย ให้ความผิดดังกล่าวเป็นความผิดอัน
ยอมความได้” เม่ือพิจารณาอัตราโทษของความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๒๙๕ ซึ่งมีระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินส่ีหม่ืนบาท หรือทั้งจ�ำ
ท้ังปรับแล้ว พบว่ามีระวางโทษสูงกว่าความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้
เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๙๑ ซ่ึงมีระวางโทษจ�ำคุก
ไมเ่ กนิ หนง่ึ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หนง่ึ หมนื่ บาท หรอื ทง้ั จำ� ทงั้ ปรบั เสยี อกี ทง้ั ความผดิ ทงั้ สองฐาน
เป็นความผิดในลักษณะท�ำร้ายร่างกายผู้อื่นเหมือนกันเพียงแต่ผู้กระท�ำความผิดจะต้องรับโทษ
หนกั เบาอยา่ งไรขนึ้ อยกู่ บั ผลของการทำ� รา้ ยรา่ งกายผอู้ นื่ วา่ เปน็ เหตใุ หผ้ อู้ นื่ ไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื ไม่
เพียงไร ความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
จึงมีโทษเบากว่าความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายซ่ึงเป็นการท�ำร้ายผู้อ่ืนจนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย
แก่กายหรือจิตใจของผู้อื่น เม่ือพระราชบัญญัติดังกล่าวบัญญัติให้ความผิดฐานท�ำร้ายร่างกาย
ในกรณีความรุนแรงในครอบครัวเป็นความผิดอันยอมความได้ จึงเห็นเจตนารมณ์ของกฎหมาย
ที่ไม่ประสงค์จะให้สมาชิกในครอบครัวมาด�ำเนินคดีกันเองต่อไป หากสามารถตกลงกันได้และ
การทำ� รา้ ยนน้ั ไมร่ นุ แรงเกนิ กวา่ ความผดิ ฐานทำ� รา้ ยรา่ งกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕
ดังนั้น ความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือ
จิตใจจึงเป็นความผิดอันยอมความได้ด้วย เมื่อผู้เสียหายถอนค�ำร้องทุกข์ก่อนคดีถึงที่สุด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๕ วรรคสอง สิทธิน�ำคดีอาญามาฟ้อง

226

ของโจทก์ในความผิดฐานใช้ก�ำลังท�ำร้ายผู้อ่ืนโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือ
จติ ใจจงึ ยอ่ มระงบั ไปดว้ ยตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒) ประกอบ
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๘๒ คำ� สั่งของศาลชัน้ ต้นทีใ่ ห้จำ� หนา่ ยคดีออกจากสารบบความในความผิดฐานใชก้ �ำลัง
ท�ำร้ายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๓๙๑ ด้วยนั้น จึงชอบด้วยกฎหมาย ท่ีศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังให้จ�ำหน่ายคดีทั้งคดีออกจาก
สารบบความจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของ
โจทกฟ์ ังไม่ข้นึ
พิพากษายืน.

(อมรรตั น์ กรยิ าผล - ประวทิ ย์ อทิ ธชิ ัยวัฒนา - พนารตั น์ คิดจิตต)์

นภกมล หะวานนท์ สวา่ งแจ้ง - ยอ่
พาชื่น แสงจนั ทร์เทศ - ตรวจ

227

คำ� พพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษท่ี ๗๘๐/๒๕๖๐ พนกั งานอัยการ

ส�ำนักงานอัยการสูงสุด โจทก์

นางสาว น. จ�ำเลย

พ.ร.บ. ฟ้นื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖๙/๒

พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙ วรรคสอง
บัญญัติให้พนักงานสอบสวนน�ำตัวผู้ต้องหาท่ีมีอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ส่งศาลเพื่อมี
คำ� สงั่ ใหต้ รวจพสิ จู นภ์ ายในยสี่ บิ สช่ี วั่ โมงนบั แตเ่ วลาทผ่ี ตู้ อ้ งหานนั้ ถงึ ทท่ี ำ� การของพนกั งาน
สอบสวน คดีน้ีผู้ต้องหาถูกจับและถูกส่งตัวให้พนักงานสอบสวน เมื่อวันท่ี ๘ ธันวาคม
๒๕๕๙ แต่พนักงานสอบสวนยื่นค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำส่ังส่งตัวผู้ต้องหาไปควบคุมเพื่อ
ตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด เม่ือวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เน่ืองจาก
ผตู้ อ้ งหาไมป่ ระสงคเ์ ขา้ รบั การบำ� บดั ทำ� ใหพ้ นกั งานสอบสวนหลงผดิ เขา้ ใจวา่ เมอื่ ผตู้ อ้ งหา
ไม่สมัครใจหรือไม่ยินยอมเข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ก็ไม่ต้องยื่น
คำ� รอ้ งต่อศาล กรณีถือเปน็ ความผิดพลาดของพนกั งานสอบสวน และมเี หตจุ �ำเป็นอยา่ งอ่นื
ท่ีเกิดจากตัวผู้ต้องหาน้ันเอง ซ่ึงเป็นข้อยกเว้นที่ไม่ต้องน�ำผู้ต้องหาไปศาลภายในระยะ
เวลาท่ีกฎหมายก�ำหนด ตามมาตรา ๑๙ วรรคหน่ึง ประกอบกับเหตุที่กฎหมายก�ำหนด
เวลาให้พนักงานสอบสวนย่ืนค�ำร้องโดยเร็วเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหา แต่กฎหมาย
มไิ ดบ้ ญั ญตั ใิ หเ้ กดิ ผลถงึ ขนาดวา่ ผตู้ อ้ งหาตอ้ งเสยี สทิ ธใิ นการเขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดและต้องถูกฟ้องเป็นคดีอาญา ซ่ึงความผิดพลาดดังกล่าวหามีผลท�ำให้
จ�ำเลยต้องเสียสิทธิตามกฎหมายในการเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
แทนการฟ้องคดีอาญา เมื่อจ�ำเลยเป็นผู้ป่วยที่กฎหมายมุ่งคุ้มครองสิทธิให้ได้รับการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแทนการฟ้องคดีอาญาตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
ดังกล่าว จ�ำเลยย่อมมีสิทธิเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแทนการฟ้อง
คดีอาญา ดังนั้น ความผิดพลาดของพนักงานสอบสวนจึงไม่อาจลบล้างสิทธิของ
จ�ำเลยที่เกิดข้ึนโดยผลของกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

228

พ.ศ. ๒๕๔๕ นอกจากนี้ ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๙/๒ ก็มีเจตนารมณ์ท่ีต้องการให้เด็ก
หรือเยาวชนที่เสพยาเสพติด และอยู่ในหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม
กระบวนการท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ก่อน อีกทั้งเมื่อค�ำนึงถึงประโยชน์ท่ีเด็กหรือเยาวชน
จะได้รับในอนาคต การให้เด็กหรือเยาวชนเข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด
ยาเสพติดน่าจะเป็นผลดีและเป็นประโยชน์สูงสุดแก่เด็กหรือเยาวชนมากกว่าการ
ถูกด�ำเนินคดีอาญา เมื่อจ�ำเลยอยู่ในเง่ือนไขท่ีจะได้รับการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙
วรรคหนง่ึ กรณจี งึ ตอ้ งดำ� เนนิ การตามมาตรา ๑๙ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ เสยี กอ่ น ประกอบกบั โจทก์
มีค�ำขอให้ส่งจ�ำเลยไปควบคุมเพื่อตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดตามค�ำร้อง
ของพนกั งานสอบสวนดว้ ย การทศ่ี าลชนั้ ตน้ ตรวจคำ� ฟอ้ งแลว้ ดว่ นมคี ำ� สง่ั ใหย้ กฟอ้ ง โดย
ยังมิได้วินิจฉัยในเนื้อหาแห่งคดี จึงเป็นการไม่ชอบ ศาลชั้นต้นชอบที่จะไม่ประทับฟ้อง
แต่ให้ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดท่ีศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และแจ้งคณะกรรมการฟ้นื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ทราบ

_______________________________

โจทกฟ์ อ้ งขอใหล้ งโทษจำ� เลยตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา
๔, ๗, ๘, ๑๕, ๕๗, ๖๗, ๙๑ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑
ศาลชน้ั ตน้ มคี ำ� สง่ั วา่ เมอื่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏตามฟอ้ งวา่ จำ� เลยตอ้ งหาวา่ กระทำ� ความผดิ
ฐานเสพเมทแอมเฟตามีน และมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครอง จ�ำนวน ๑ เม็ด (หน่วยการใช้)
โดยไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ในระหว่างถูกด�ำเนินคดีในความผิดฐานอื่นซ่ึงเป็นความผิด
ที่มีโทษจ�ำคุกหรืออยู่ระหว่างรับโทษจ�ำคุกตามค�ำพิพากษาของศาล การกระท�ำของจ�ำเลยถือ
ได้ว่าต้องด้วยเงื่อนไขของมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา
เสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ พนักงานสอบสวนต้องน�ำตัวจ�ำเลยขณะเป็นผู้ต้องหาไปศาลภายใน
ก�ำหนด เพื่อให้ศาลมีค�ำส่ังให้ส่งตัวจ�ำเลยไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด เม่ือ
มไิ ดม้ ีการปฏิบัติตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายดงั กล่าว โจทก์จึงไม่มีอำ� นาจฟอ้ ง ยกฟ้องโจทก์

229

โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหาที่ต้อง
วนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกว์ า่ การทศี่ าลชน้ั ตน้ มคี ำ� สง่ั วา่ โจทกไ์ มม่ อี ำ� นาจฟอ้ งและยกฟอ้ งโจทก์
ชอบดว้ ยกฎหมายหรือไม่ เหน็ ว่า พระราชบัญญัติฟ้นื ฟสู มรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑๙ วรรคหนึง่ บญั ญัตวิ า่ “ผู้ใดตอ้ งหาวา่ กระท�ำความผิดฐานเสพยาเสพตดิ เสพและมีไว้
ในครอบครอง เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อจ�ำหน่าย หรือเสพและจ�ำหน่ายยาเสพติดตาม
ลกั ษณะ ชนิด ประเภท และปรมิ าณท่ีกำ� หนดในกฎกระทรวง ถ้าไมป่ รากฏว่าต้องหาหรอื อยใู่ น
ระหว่างถกู ดำ� เนินคดีในความผิดฐานอนื่ ซึ่งเป็นความผิดที่มโี ทษจ�ำคุก หรืออยใู่ นระหว่างรบั โทษ
จำ� คกุ ตามคำ� พพิ ากษาของศาล ใหพ้ นกั งานสอบสวนนำ� ตวั ผตู้ อ้ งหาไปศาลภายในสสี่ บิ แปดชวั่ โมง
นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาน้ันมาถึงที่ท�ำการของพนักงานสอบสวน เพื่อให้ศาลพิจารณามีค�ำส่ังให้
ส่งตัวผู้น้ันไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด...” และวรรคสอง บัญญัติว่า “ในการ
ด�ำเนินการตามวรรคหน่ึง ถ้าผู้ต้องหามีอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ ให้พนักงานสอบสวนน�ำตัว
ส่งศาลเพื่อมีค�ำส่ังให้ตรวจพิสูจน์ภายในยี่สิบส่ีช่ัวโมงนับแต่เวลาท่ีผู้ต้องหาน้ันมาถึงที่ท�ำการ
ของพนกั งานสอบสวน...” บทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วกำ� หนดหลกั เกณฑผ์ ซู้ งึ่ จะไดร้ บั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดว่าต้องเป็นผู้ต้องหาว่ากระท�ำความผิดฐานเสพยาเสพติด เสพและมีไว้ใน
ครอบครอง เสพและมไี วใ้ นครอบครองเพอ่ื จำ� หนา่ ย หรอื เสพและจำ� หนา่ ยยาเสพตดิ ตามลกั ษณะ
ชนดิ ประเภท และปรมิ าณทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวง และไมป่ รากฏวา่ ต้องหาหรืออยู่ในระหวา่ ง
ถูกด�ำเนินคดีในความผิดฐานอ่ืนซ่ึงเป็นความผิดท่ีมีโทษจ�ำคุกหรืออยู่ในระหว่างรับโทษจ�ำคุก
ตามค�ำพิพากษาของศาล ให้พนักงานสอบสวนน�ำตัวผู้ต้องหาไปศาลภายในสี่สิบแปดช่ัวโมง
หรอื กรณผี ตู้ อ้ งหามอี ายไุ มถ่ งึ สบิ แปดปบี รบิ รู ณใ์ หน้ ำ� สง่ ภายในยสี่ บิ สชี่ วั่ โมงนบั แตเ่ วลาทผี่ ตู้ อ้ งหา
นั้นมาถงึ ที่ท�ำการของพนกั งานสอบสวน เพื่อใหศ้ าลพจิ ารณามีคำ� สัง่ ใหส้ ง่ ตัวผูน้ นั้ ไปตรวจพสิ ูจน์
การเสพหรอื การตดิ ยาเสพตดิ จงึ เหน็ ไดว้ า่ เจตนารมณข์ องกฎหมายวา่ ดว้ ยการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดบังคับให้พนักงานสอบสวนน�ำตัวผู้ต้องหาซึ่งเป็นบุคคลท่ีเข้าหลักเกณฑ์ตาม
ที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา ๑๙ วรรคหน่ึง ไปศาลภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายก�ำหนด เพ่ือให้ศาล
พิจารณามีค�ำส่ังให้ส่งตัวผู้น้ันไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดเพ่ือด�ำเนินการต่อ
ไปตามมาตรา ๒๒ โดยให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้ตรวจวินิจฉัยว่า
ผู้ต้องหาน้ันเป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติดหรือไม่ เพื่อจะได้คัดแยกว่าเป็นผู้มีสิทธิเข้ารับการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือต้องถูกด�ำเนินคดีต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

230

ความอาญาดังเช่นผู้กระท�ำความผิดทางอาญาอ่ืน ๆ ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวเป็นขั้นตอนส�ำคัญที่
พนกั งานสอบสวนจะตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณข์ องกฎหมาย คดนี โ้ี จทกฟ์ อ้ งวา่ จำ� เลย
มเี มทแอมเฟตามนี นำ้� หนกั สทุ ธิ ๐.๒๘๓ กรมั ไวใ้ นครอบครอง และเสพเมทแอมเฟตามนี อนั เปน็
ยาเสพติดตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการก�ำหนด
ลักษณะ ชนดิ ประเภท และปริมาณของยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยไมป่ รากฏวา่ จ�ำเลยตอ้ งหา
หรอื อยใู่ นระหวา่ งถกู ดำ� เนนิ คดใี นความผดิ ฐานอนื่ ซงึ่ เปน็ ความผดิ ทมี่ โี ทษจำ� คกุ หรอื อยใู่ นระหวา่ ง
รับโทษจ�ำคุกตามค�ำพิพากษาของศาล ถือว่าจ�ำเลยเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท่ีระบุไว้ในมาตรา
๑๙ วรรคหนึ่ง ซ่ึงความปรากฏในชั้นอุทธรณ์ว่า พนักงานสอบสวนยื่นค�ำร้องขอให้ศาลมี
ค�ำส่ังส่งตัวผู้ต้องหาไปควบคุมเพื่อตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดตามค�ำร้องฉบับ
ลงวันท่ี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เอกสารท้ายอุทธรณ์หมายเลข ๒/๑ ที่รับรองส�ำเนาถูกต้อง
โดยเจ้าหน้าท่ีศาลยุติธรรมช�ำนาญการและจ�ำเลยไม่ได้แก้อุทธรณ์ให้เห็นเป็นอย่างอ่ืน แต่
ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งว่า ตามค�ำร้องปรากฏว่าผู้ต้องหาถูกจับและถูกส่งตัวให้พนักงานสอบสวน
ตั้งแต่วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ จึงเป็นกรณีท่ีมิได้น�ำตัวส่งศาลเพ่ือให้มีค�ำส่ังให้ตรวจพิสูจน์
ภายในยี่สิบส่ีช่ัวโมง ตามมาตรา ๑๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ จงึ มีคำ� สั่งยกค�ำรอ้ ง แตเ่ มื่อไดค้ วามจากอทุ ธรณข์ องโจทก์ว่า เหตุท่ี
พนักงานสอบสวนย่ืนค�ำร้องขอดังกล่าวเกินย่ีสิบส่ีชั่วโมง เน่ืองจากผู้ต้องหาไม่ประสงค์เข้ารับ
การบ�ำบัด ท�ำให้พนักงานสอบสวนหลงผิดเข้าใจว่าเม่ือผู้ต้องหาไม่สมัครใจหรือไม่ยินยอม
เขา้ รบั การบำ� บดั ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพติดก็ไมต่ ้องย่นื คำ� ร้องต่อศาล กรณถี อื ว่าเป็นความ
ผิดพลาดของพนักงานสอบสวน และมีเหตุจ�ำเป็นอย่างอื่นท่ีเกิดจากตัวผู้ต้องหาน้ันเอง ซึ่งเป็น
ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องน�ำตัวผู้ต้องหาไปศาลภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายก�ำหนดตามมาตรา ๑๙
วรรคหนงึ่ ประกอบกบั เหตุท่กี ฎหมายก�ำหนดเวลาใหพ้ นกั งานสอบสวนยื่นค�ำรอ้ งก็เพ่ือตอ้ งการ
ให้พนักงานสอบสวนย่ืนค�ำร้องโดยเร็วเพ่ือคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหา แต่กฎหมายมิได้บัญญัติ
ให้เกิดผลถึงขนาดว่าผู้ต้องหาต้องเสียสิทธิในการเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
และต้องถูกฟ้องเป็นคดีอาญา ซ่ึงความผิดพลาดดังกล่าวหามีผลท�ำให้จ�ำเลยต้องเสียสิทธิตาม
กฎหมายในการเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแทนการฟ้องคดีอาญา เม่ือจ�ำเลย
เป็นผู้ป่วยที่กฎหมายมุ่งคุ้มครองสิทธิให้ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพแทนการฟ้องคดีอาญาตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมายดังกล่าว จ�ำเลยย่อมมีสิทธิเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
แทนการฟอ้ งคดอี าญา ดงั นน้ั ความผดิ พลาดของพนกั งานสอบสวนจงึ ไมอ่ าจลบลา้ งสทิ ธขิ องจำ� เลย

231

ทีเ่ กิดข้ึนโดยผลของกฎหมาย ตามพระราชบญั ญัตฟิ น้ื ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕
ทบ่ี ญั ญตั ริ บั รองและคมุ้ ครองสทิ ธขิ องจำ� เลยแตอ่ ยา่ งใด นอกจากนตี้ ามพระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชน
และครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๙/๒ (ทแี่ กไ้ ขใหม)่
บัญญัติว่า “ในกรณีเด็กหรือเยาวชนอยู่ในเกณฑ์ต้องด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟู
สมรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติด ให้ดำ� เนนิ การตามกฎหมายดงั กล่าวกอ่ น เวน้ แต่ไมอ่ าจด�ำเนินการได้
หรือท�ำการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไม่ส�ำเร็จ ให้พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ
น�ำตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาล เพื่อให้ศาลมีค�ำสั่งเก่ียวกับการควบคุมตัว และพนักงานอัยการ
อาจฟ้องคดีได้ภายในระยะเวลาตามท่ีกฎหมายก�ำหนดหรือภายในสามสิบวันนับแต่ศาลมีค�ำส่ัง”
ซง่ึ ตามเจตนารมณข์ องบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว ตอ้ งการใหเ้ ดก็ หรอื เยาวชนทเี่ สพยาเสพตดิ และอยใู่ น
หลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับการบ�ำบัด
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามกระบวนการที่กฎหมายบัญญัติไว้ก่อน อีกทั้งเมื่อค�ำนึงถึง
ประโยชน์ที่เด็กหรือเยาวชนจะได้รับในอนาคต การให้เด็กหรือเยาวชนเข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดน่าจะเป็นผลดีและเป็นประโยชน์สูงสุดแก่เด็กหรือเยาวชนมากกว่า
การถูกด�ำเนินคดีอาญา ซ่ึงคดีน้ียังไม่มีการส่งตัวจ�ำเลยไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยา
เสพติดเพื่อให้จ�ำเลยได้รับประโยชน์ในการท่ีจะได้รับการพิจารณาเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแทนการถูกด�ำเนินคดีตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติฟื้นฟู
สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ แตอ่ ย่างใด ดังน้ัน ท่ศี าลช้ันตน้ วนิ จิ ฉยั ว่า โจทกไ์ มม่ ี
อ�ำนาจฟ้องน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของโจทก์ส่วนน้ีฟังไม่ขึ้น
แต่ท่ีศาลชั้นต้นตรวจค�ำฟ้องแล้วเห็นว่าโจทก์ยังมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย
ดังกล่าวและมีค�ำส่ังให้ยกฟ้องโดยทันทีน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษไม่เห็นพ้องด้วย
เนื่องจากศาลชั้นต้นยังมิได้วินิจฉัยในเนื้อหาแห่งคดีว่าจ�ำเลยกระท�ำความผิดตามฟ้องหรือไม่
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นสมควรแก้ไขเสียให้ถูกต้อง เป็นว่า มีค�ำสั่งไม่ประทับฟ้อง
ปัญหาน้ีเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เก่ียวกับความสงบเรียบร้อย ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
ย่อมมีอ�ำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕
วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ เม่ือจ�ำเลยอยู่ในเงื่อนไขที่จะได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙
วรรคหน่ึง กรณีจึงต้องด�ำเนินการตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวให้แล้วเสร็จ

232

เสียก่อน และปรากฏตามอุทธรณ์ของโจทก์ตอนท้ายว่า โจทก์มีค�ำขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้ส่งตัว
จ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดตามค�ำร้องขอของพนักงาน
สอบสวนด้วย แสดงว่าโจทก์มีความประสงค์ที่จะให้จ�ำเลยได้รับการบ�ำบัดฟื้นฟูตามกฎหมาย
ดังกล่าวก่อนเช่นกัน ดังนั้น ตามเหตุผลดังวินิจฉัยข้างต้น ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษจึงเห็นควร
มีค�ำส่ังให้ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุมเพ่ือตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดที่ศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ อทุ ธรณข์ องโจทกส์ ่วนน้ีฟงั ขึน้
พิพากษาแก้เป็นว่า ไม่ประทับฟ้องไว้พิจารณา แต่มีค�ำสั่งให้ส่งตัวจ�ำเลยไปควบคุม
เพ่ือตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดท่ีศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และแจ้ง
คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ทราบ

(ประวทิ ย์ อทิ ธชิ ัยวฒั นา - อมรรตั น์ กรยิ าผล - พนารตั น์ คิดจิตต)์

ชนากานต์ ธีรเวชพลกลุ - ย่อ/ตรวจ

233

ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดชี �ำนญั พเิ ศษที่ ๑๐๒๔/๒๕๖๐ พนกั งานอยั การคดีเยาวชน

และครอบครวั

จังหวัดมหาสารคาม โจทก์

นาย ธ. หรอื บ. จำ� เลย

พ.ร.บ. ฟนื้ ฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ วรรคสองและวรรคสี่

พ.ร.บ. ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ วรรคสี่ บญั ญตั วิ ่า
การขยายและการลดระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระท�ำกี่คร้ัง
ก็ได้ แต่การขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดคร้ังหนึ่งต้องไม่เกิน
๖ เดือน และรวมกันท้ังหมดแล้วต้องไม่เกิน ๓ ปี นับแต่วันถูกส่งตัวเข้ารับการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดพิจารณาขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ออกไปอีกได้ ในกรณีทผ่ี ลการฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ ยงั ไมเ่ ป็นทพ่ี อใจ แตห่ ้าม
มิให้ขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเกิน ๓ ปี ตามท่ีบัญญัติไว้ใน
มาตรา ๒๕ วรรคส่ี กรณีตามบทกฎหมายดังกล่าวจึงเป็นเรื่องการขยายระยะเวลาการ
ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ทผี่ ลการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ยงั ไมเ่ ปน็ ทพี่ อใจ
เมอ่ื คดนี ป้ี รากฏวา่ จำ� เลยยงั ไมม่ ารายงานตวั ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ถอื วา่ จำ� เลยเขา้ รบั การ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยังไม่ครบ
ระยะเวลาทคี่ ณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จงั หวดั มหาสารคามกำ� หนด
จงึ มใิ ชก่ รณที ผ่ี ลการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ยงั ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจ ทคี่ ณะอนกุ รรมการ
ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จะพจิ ารณาขยายระยะเวลาการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยา
เสพติดออกไปอีกได้ และแม้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัด
มหาสารคามมีค�ำสั่งให้รวมแผนฟื้นฟูท้ังสองคดีเข้าด้วยกันและขยายระยะเวลาการ
ฟ้ืนฟสู มรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ออกไปอีกเป็นเวลา ๑๘๐ วนั ก็ไมใ่ ช่การขยายระยะเวลา
เพราะเหตุว่าผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยังไม่เป็นท่ีพอใจ ดังนั้น ไม่อาจน�ำ
บทบญั ญตั มิ าตรา ๒๕ วรรคส่ี มาปรบั ใชแ้ กค่ ดนี ไี้ ด้ เมอื่ คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคามมีค�ำสั่งที่ ๓๙๘/๒๕๕๙ โดยมิได้ด�ำเนินการตามขั้น
ตอนท่กี ฎหมายบญั ญัตไิ วด้ งั กล่าวขา้ งต้น จงึ ถือไมไ่ ด้วา่ ลว่ งเลยหรือพ้นก�ำหนดเวลาการ

234

เข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟูท่ีจะท�ำให้โจทก์มีอ�ำนาจฟ้อง การท่ีโจทก์น�ำตัวจ�ำเลยมาฟ้องคดีนี้
จึงเป็นการไมช่ อบ

______________________________

โจทกฟ์ อ้ งขอใหล้ งโทษจำ� เลยตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา
๔, ๗, ๘, ๕๗, ๙๑ และนับโทษหรือระยะเวลาการฝึกอบรมของจ�ำเลยในคดีน้ีต่อจากโทษหรือ
ระยะเวลาการฝกึ อบรมของจำ� เลยในคดีอาญาหมายเลขด�ำท่ี ๘๘/๒๕๖๐ ของศาลช้นั ตน้
ศาลช้ันตน้ เหน็ วา่ โจทก์ไม่มีอำ� นาจฟอ้ ง จงึ พิพากษายกฟอ้ ง
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหาท่ี
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า โจทก์มีอ�ำนาจฟ้องหรือไม่ เห็นว่า การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙
เป็นมาตรการของรัฐที่ต้องการบ�ำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดไม่ว่าผู้นั้นจะยินยอมเข้ารับการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือไม่ก็ตาม โดยศาลจะมีค�ำสั่งให้ส่งตัวผู้ติดยาเสพติดไปตรวจ
พสิ ูจนก์ ารเสพหรอื การตดิ ยาเสพตดิ ก่อน และคณะอนุกรรมการฟื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ
มีอ�ำนาจวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ผู้ใดเป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติด จากน้ันต้องจัด
ให้มีแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามมาตรา ๒๒ โดยค�ำนึงถึงความหนักเบาของ
การเสพหรือติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามมาตรา ๒๓
ซ่ึงผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องถูกบังคับให้อยู่รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดตามแผนฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นเวลาไม่เกินหกเดือน ซึ่งอาจขยาย
หรือลดระยะเวลาฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามความเหมาะสมตามมาตรา ๒๕ หาก
ผู้ใดหลบหนีจากการตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดหรือหลบหนีออกนอกศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ�ำนาจติดตามจับกุมผู้นั้นได้ตามมาตรา ๒๙
วรรคหน่ึง การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงมีวัตถุประสงค์แก้ไขฟื้นฟูผู้เสพหรือผู้ติดยาเสพติดทุกคน
เพ่ือประโยชน์ของสังคมส่วนรวม พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวจึงต้อง
ด�ำเนินการตามมาตราดังกล่าวก่อนแล้วคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจึงจะ
มีสิทธิพิจารณาผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ข้อเท็จจริงได้ความตามค�ำวินิจฉัยของ

235

คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคามท่ี ๙๙๓/๒๕๕๕ ลงวันที่
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ (คดนี เี้ ปน็ คดที ่ี ๑) เอกสารทา้ ยฟอ้ งวา่ คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคามมีค�ำวินิจฉัยผลการตรวจพิสูจน์ว่า จ�ำเลยเก่ียวข้องกับ
ยาเสพตดิ ในฐานะผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ จงึ ใหเ้ ข้ารบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดตามโปรแกรม
การคุมประพฤติ โดยก�ำหนดเงื่อนไขให้ไปรายงานตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เดือนละ ๑ ครั้ง
เปน็ เวลา ๖ เดอื น ห้ามเก่ียวข้องกับยาเสพติดให้โทษทุกชนิด และยนิ ยอมใหม้ กี ารเกบ็ ปสั สาวะ
เพอื่ ตรวจสอบหาสารเสพตดิ ใหเ้ ขา้ รว่ มโปรแกรมพน้ื ฐาน ๑ ถึง ๕ อยา่ งน้อย ๓ ฐาน ให้ทำ� งาน
บริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์เป็นเวลา ๑๐ ช่ัวโมง หลังจากจ�ำเลยมารับทราบค�ำวินิจฉัย
แล้ว จ�ำเลยปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไม่ครบและยังคงเกี่ยวข้องกับ
ยาเสพติด จนกระท่ังจ�ำเลยถูกเจ้าพนักงานต�ำรวจจับกุมด�ำเนินคดีในข้อหาเสพยาเสพติดและ
มีสิทธิเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอีก คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จงั หวดั มหาสารคามมคี ำ� วนิ จิ ฉยั ท่ี ๑๗๒๒/๒๕๕๕ ลงวนั ที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕
(คดีท่ี ๒) ว่า จ�ำเลยเป็นผู้ติดยาเสพติด ให้จ�ำเลยเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
แบบไม่ควบคุมตัวตามโปรแกรมการคุมประพฤติ โดยก�ำหนดเง่ือนไขให้ไปรายงานตัวต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่เดือนละ ๑ ครั้ง เป็นเวลา ๖ เดือน ห้ามเก่ียวข้องกับยาเสพติดให้โทษ
ทุกชนิด และยินยอมให้มีการเก็บปัสสาวะเพื่อตรวจสอบหาสารเสพติด ให้เข้ารับการบ�ำบัด
รกั ษาทสี่ ถานพยาบาลใกลบ้ า้ นเปน็ เวลา ๑๒๐ วนั ใหเ้ ขา้ รว่ มโปรแกรมพน้ื ฐาน ๑ ถงึ ๕ อยา่ งนอ้ ย
๓ ฐาน ให้ท�ำงานบริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์เป็นเวลา ๑๐ ช่ัวโมง แต่จ�ำเลยไม่มา
รับทราบคำ� วินิจฉยั ตอ่ มาคณะอนกุ รรมการฟนื้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ จงั หวดั มหาสารคาม
มีค�ำสั่งที่ ๑๐๙๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ให้รวมแผนท้ังสองคดีเข้าด้วยกันและ
ขยายระยะเวลาการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดออกไปอกี เปน็ เวลา ๑๘๐ วัน โดยใหจ้ ำ� เลย
ไปรายงานตวั ตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี กุ ๑๕ วนั ตอ่ ครง้ั หา้ มเกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษทกุ ชนดิ
และยินยอมให้มีการเก็บปัสสาวะเพื่อตรวจสอบหาสารเสพติดทุกครั้งที่มารายงานตัว ให้ท�ำงาน
บริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์เป็นเวลา ๒๐ ชั่วโมง ให้เข้าร่วมกิจกรรมอ่ืนตามความ
เหมาะสม หลงั จากจ�ำเลยมารับทราบค�ำวินจิ ฉัยแล้ว จ�ำเลยไม่ไปเขา้ รับการฟื้นฟูตามแผนฟ้ืนฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดท่ีก�ำหนดไว้ โดยไม่แจ้งเหตุขัดข้องกรณีจึงถือว่าจ�ำเลยยังไม่ได้
เข้าสู่โปรแกรมการปรับตัวกลับสู่สังคมให้ครบถ้วนตามแผนฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
อันเป็นการฝ่าฝืนต่อพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๐

236

และมาตรา ๓๑ พนกั งานเจา้ หนา้ ทจี่ งึ มอี ำ� นาจและหนา้ ทจี่ บั จำ� เลยเขา้ ไวใ้ นศนู ยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดเพ่ือบ�ำบัดฟื้นฟูตามแผน แต่ไม่ปรากฏว่าคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคามได้ด�ำเนินการตามที่กฎหมายบัญญัติไว้แต่ประการใด การที่
คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จงั หวดั มหาสารคามดว่ นมคี ำ� สงั่ ท่ี ๓๙๘/๒๕๕๙
วา่ จำ� เลยจงใจไมป่ ฏิบตั ติ ามเง่ือนไขท่ีคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดก�ำหนด
ประกอบกบั ระยะเวลาการฟน้ื ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดครบ ๓ ปี แลว้ วธิ ีการฟน้ื ฟใู ชไ้ ม่ได้ผล
กบั จำ� เลย ทำ� ใหผ้ ลการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ไมเ่ ปน็ ทน่ี า่ พอใจ และใหร้ ายงานความเหน็
ไปยังพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการเพ่ือประกอบการพิจารณาด�ำเนินคดีต่อไป จึง
เปน็ การไมช่ อบ เนอ่ื งจากพระราชบญั ญตั ิฟน้ื ฟสู มรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๓
วรรคสอง บัญญัติให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรายงานความเห็นไป
ยังพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการเพ่ือประกอบการด�ำเนินคดีแก่ผู้เข้ารับการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในกรณีท่ีผู้น้ันเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดครบถ้วน
ตามก�ำหนดเวลาแล้ว แตผ่ ลการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดยังไม่เปน็ ที่พอใจ ดงั น้ัน เมอ่ื ได้
ตัวจ�ำเลยกลับมา พนักงานเจ้าหน้าท่ีจึงมีหน้าที่น�ำตัวจ�ำเลยกลับไปบ�ำบัดแก้ไขตามแผนฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายใหค้ รบถ้วนตามมาตรา ๒๕ กอ่ น ส่วน
ท่ีโจทก์อุทธรณ์ว่า ระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของจ�ำเลยเกินก�ำหนด ๓ ปี
นับแต่วันที่จ�ำเลยถูกส่งตัวเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ วรรคส่ี อันเป็นการล่วงเลยหรือ
พน้ กำ� หนดเวลาทกี่ ฎหมายก�ำหนดให้เข้ารบั การฟื้นฟแู ลว้ โจทกจ์ ึงมีอ�ำนาจฟ้องน้ัน เหน็ ว่า ตาม
พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ วรรคสี่ บัญญัติว่า
การขยายและการลดระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระท�ำกี่ครั้งก็ได้ แต่การ
ขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดครั้งหน่ึงต้องไม่เกิน ๖ เดือน และรวมกัน
ทั้งหมดแล้วต้องไม่เกิน ๓ ปี นับแต่วันถูกส่งตัวเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่ง
ตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟสู มรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดพจิ ารณาขยาย
ระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดออกไปอีกได้ ในกรณีที่ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดยังไม่เป็นท่ีพอใจ แต่ห้ามมิให้ขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
เกิน ๓ ปี ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๕ วรรคส่ี กรณีตามบทกฎหมายดังกล่าวจึงเป็นเรื่อง
การขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

237

ยังไม่เป็นที่พอใจ เมื่อคดีนี้ปรากฏว่าจ�ำเลยยังไม่มารายงานตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ถือว่า
จ�ำเลยเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ยังไม่ครบระยะเวลาที่คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคาม
กำ� หนด จงึ มใิ ชก่ รณที ผ่ี ลการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ยงั ไมเ่ ปน็ ทพี่ อใจทค่ี ณะอนกุ รรมการ
ฟ้นื ฟสู มรรถภาพผูต้ ิดยาเสพตดิ จะพจิ ารณาขยายระยะเวลาการฟื้นฟสู มรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพติด
ออกไปอีกได้ และแม้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคาม
มีค�ำสั่งให้รวมแผนฟื้นฟูทั้งสองคดีเข้าด้วยกันและขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด
ยาเสพติดออกไปอีกเป็นเวลา ๑๘๐ วัน ก็ไม่ใช่การขยายระยะเวลาเพราะเหตุว่าผลการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยังไม่เป็นท่ีพอใจ ดังนั้น ไม่อาจน�ำบทบัญญัติมาตรา ๒๕ วรรคสี่
มาปรับใช้แก่คดีน้ีได้ เม่ือคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัดมหาสารคาม
มีค�ำส่ังท่ี ๓๙๘/๒๕๕๙ โดยมิได้ด�ำเนินการตามข้ันตอนท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ดังกล่าวข้างต้น
จึงถือไม่ได้ว่าล่วงเลยหรือพ้นก�ำหนดเวลาการเข้ารับการบ�ำบัดฟื้นฟูท่ีจะท�ำให้โจทก์มีอ�ำนาจ
ฟอ้ งตามทก่ี ลา่ วอา้ งไม่ การทโี่ จทกน์ ำ� ตวั จำ� เลยมาฟอ้ งคดนี จี้ งึ เปน็ การไมช่ อบ ทศี่ าลชน้ั ตน้ วนิ จิ ฉยั
วา่ โจทกไ์ มม่ อี ำ� นาจฟอ้ งจงึ ชอบแลว้ อทุ ธรณข์ องโจทกฟ์ งั ไมข่ น้ึ แตท่ ศ่ี าลชนั้ ตน้ ตรวจคำ� ฟอ้ งแลว้
เห็นว่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง แล้วพิพากษายกฟ้องนั้นไม่ถูกต้อง ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
เห็นสมควรแก้ไขเสยี ใหถ้ ูกต้อง
พิพากษาแก้เป็นว่า ไม่ประทับฟอ้ งโจทก์.

(ประวิทย์ อทิ ธิชยั วัฒนา - อมรรตั น์ กริยาผล - พนารัตน์ คดิ จิตต์)

ศวิ านนท์ แนมใส - ยอ่
นรินทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ

238

ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นัญพิเศษท่ี ๑๑๘๘/๒๕๖๑ พนกั งานอัยการคดเี ยาวชน

และครอบครวั

จงั หวัดมุกดาหาร โจทก์

นาย ป. จ�ำเลย



พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖๙/๒, ๗๘
พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙, ๒๔, ๓๐, ๓๑, ๓๓

พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๙/๒ มีเจตนารมณ์ต้องการให้เด็กหรือเยาวชนท่ีเสพยาเสพติด
และอยู่ในหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับ
การบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามกระบวนการที่กฎหมายบัญญัติไว้ก่อน
หมายความว่าพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการยังไม่ต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติ
ของมาตรา ๗๘ เก่ียวกบั ระยะเวลาในการยนื่ ฟ้องและค�ำรอ้ งขอผัดฟ้องในช่วงระยะเวลา
ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ โดยไมต่ อ้ งนำ� ระยะเวลาระหวา่ งการฟน้ื ฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมารวมเข้ากับระยะเวลาที่ต้องด�ำเนินการยื่นฟ้องและค�ำร้อง
ขอผดั ฟอ้ ง เว้นแต่ไมอ่ าจดำ� เนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ไดห้ รอื ท�ำการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ ไมส่ �ำเรจ็ ให้พนกั งานสอบสวนหรือพนกั งานอยั การนำ� ตวั เด็ก
หรอื เยาวชนไปศาล เพอื่ ให้ศาลมคี �ำส่ังเกย่ี วกบั การควบคมุ ตัว และพนักงานอยั การฟอ้ งคดี
ได้ภายในระยะเวลาตามมาตรา ๗๘ หรอื ภายในสามสิบวนั นับแตศ่ าลมคี ำ� ส่ัง
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ภายหลังคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
มีค�ำส่ังก�ำหนดแผนแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูให้จ�ำเลยปฏิบัติแล้ว จ�ำเลยไม่ไปรายงานตัวต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่โดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง กรณีจึงถือว่าจ�ำเลยยังไม่ได้เข้าสู่โปรแกรม
การปรบั ตวั กลบั สสู่ งั คมตามแผนฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ใหค้ รบถว้ นอนั เปน็ การ
ฝ่าฝนื ตอ่ พ.ร.บ. ฟืน้ ฟสู มรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๑
พนักงานเจ้าหน้าท่ีจึงมีอ�ำนาจและหน้าท่ีจับจ�ำเลยเข้าไว้ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด

239

ยาเสพติดเพื่อบ�ำบัดฟื้นฟูตามแผน แต่ไม่ปรากฏว่าคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดได้ด�ำเนินการตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้แต่ประการใด การที่คณะ
อนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีค�ำสั่งว่า จากผลการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด ผู้ติดยาเสพติดไม่เหมาะสมและใช้ไม่ได้ผล การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด
ยาเสพติดไม่เป็นท่ีน่าพอใจ แจ้งพนักงานสอบสวนเพ่ือด�ำเนินการต่อไป จึงเป็นการ
ไมช่ อบ เนอ่ื งจากตาม พ.ร.บ. ฟน้ื ฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๓
วรรคสอง บัญญัติให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรายงานความ
เห็นไปยังพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการเพื่อประกอบการด�ำเนินคดีผู้เข้ารับ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในกรณีหากผู้นั้นเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด
ยาเสพติดครบถ้วนตามก�ำหนดเวลาแล้ว แต่ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยัง
ไม่เป็นที่พอใจ ดังน้ัน หากได้ตัวจ�ำเลยกลับมาพนักงานเจ้าหน้าท่ีย่อมมีหน้าที่น�ำตัว
จ�ำเลยกลับไปบ�ำบัดแก้ไขตามแผนฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามเจตนารมณ์
ของกฎหมายให้ครบถ้วนตามมาตรา ๒๕ ก่อน เช่นนี้ แม้พนักงานสอบสวนหรือ
พนักงานอัยการจะได้รับแจ้งผลค�ำวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด
ยาเสพติดว่า การฟื้นฟูไม่เป็นที่น่าพอใจต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ พนักงานอัยการ
ก็ยังไม่มีอ�ำนาจฟ้องคดี เพราะต้องถือว่าช่วงระยะเวลาดังกล่าวยังอยู่ระหว่างการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ระยะเวลาในการฟ้องคดีจึงยังไม่เร่ิมนับ อีกทั้งไม่ปรากฏ
ว่ามีการจับกุมจ�ำเลยได้จนกระท่ังพนักงานสอบสวนมีหนังสือแจ้งโจทก์ว่า จ�ำเลยอยู่
ระหว่างต้องหาหรือถูกด�ำเนินคดีในความผิดฐานมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ไว้ใน
ครอบครองเพอื่ จ�ำหนา่ ย ซึง่ เปน็ กรณมี ขี อ้ เท็จจรงิ ปรากฏภายหลงั จากทีศ่ าลมคี ำ� สงั่ ตาม
มาตรา ๑๙ ว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
นั้นต้องหาหรือถูกด�ำเนินคดีในความผิดฐานอ่ืนซ่ึงเป็นความผิดที่มีโทษจ�ำคุก ให้ศาล
พิจารณามีค�ำส่ังให้ส่งตัวผู้นั้นไปยังพนักงานสอบสวนเพ่ือด�ำเนินคดีต่อไปตามมาตรา ๒๔
จ�ำเลยจึงขาดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและ
ย่อมส่งผลกระทบต่อการเข้ารับการฟื้นฟูตามแผนการฟื้นฟูที่คณะอนุกรรมการฟื้นฟู
สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ ได้กำ� หนดไว้ ดว้ ยเหตนุ ้ีจึงไมอ่ าจน�ำตวั จ�ำเลยกลบั ไปฟ้นื ฟไู ด้
ถือว่าเป็นเหตุยกเว้นที่ไม่อาจด�ำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้หรือท�ำการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไม่ส�ำเร็จตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและ

240


Click to View FlipBook Version