มาตรา ๑ (๓) ตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวกำ� หนดผู้ทจ่ี ะยืน่ คำ� ฟอ้ งตอ่ ศาลเพยี งว่าต้องเป็น
บุคคลเท่านั้น ดงั น้ันแม้บุคคลนนั้ เป็นคนตา่ งดา้ ว ไม่มีสัญชาตไิ ทย บุคคลนน้ั ก็สามารถท่จี ะยืน่ ค�ำฟ้อง
หรือค�ำร้องขอต่อศาลได้ หากบุคคลน้ันถูกโต้แย้งเก่ียวกับสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายแพ่งหรือจะ
ตอ้ งใชส้ ิทธิทางศาลตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๕ เมื่อพิจารณาคำ� ร้องขอ
ของผู้ร้องแล้ว ผู้ร้องอ้างว่า ผู้ร้องกับนาง ล. อยู่กินฉันสามีภริยาด้วยกันโดยไม่ได้จดทะเบียน
สมรสที่บ้านเลขท่ี ๕๒/๑ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลเกาะพะงัน อ�ำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
จนกระทง่ั มบี ุตรดว้ ยกัน ๑ คน คือ เดก็ ชาย ร. ผู้เยาว์ ปัจจุบันมีอายุ ๔ ปี ๖ เดือน ผู้เยาว์จงึ
ไม่ใช่บุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้อง ผู้เยาว์จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้องก็ต่อเม่ือ
บิดามารดาได้สมรสกันในภายหลังหรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าเป็น
บุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๔๗ ในกรณีที่บิดาจะจดทะเบียนเด็ก
เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของเด็กและมารดาเด็ก เม่ือผู้เยาว์
มีอายุเพียง ๔ ปี เศษ ยังไร้เดียงสาไม่อาจให้ความยินยอมได้ จึงเป็นกรณีที่การจดทะเบียน
เด็กเป็นบุตรต้องมีค�ำพิพากษาของศาลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๔๘
วรรคหน่ึงและวรรคสาม ซ่ึงบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวก็ไม่ได้ระบุว่าในกรณีที่บิดาจะ
จดทะเบยี นเดก็ เป็นบตุ รน้นั บิดา มารดาและเด็กจะต้องมีสัญชาติไทยเทา่ นน้ั ทัง้ การจดทะเบียน
รับเด็กเป็นบุตรก็เพ่ือประโยชน์ของเด็กเองที่จะมีบิดาชอบด้วยกฎหมายอันก่อให้เกิดสิทธิและ
หน้าที่ต่อกันในฐานะเป็นบิดาและบุตรด้วย ผู้ร้องจงึ มีสิทธิตามกฎหมายท่ีจะใช้สิทธิทางศาลเพื่อ
ขอจดทะเบยี นรบั ผเู้ ยาวเ์ ปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายได้ ประกอบกบั บา้ นทผ่ี รู้ อ้ งและนาง ล. อยกู่ นิ
ด้วยกันฉันสามีภริยาจนกระท่ังมีบุตรผู้เยาว์ซึ่งถือได้ว่าเป็นสถานที่อันเป็นมูลคดีเกิดข้ึนก็อยู่
ในเขตของศาลชนั้ ตน้ คดขี องผรู้ อ้ งจงึ อยใู่ นอำ� นาจพจิ ารณาของศาลชนั้ ตน้ ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๔ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ
วธิ ีพจิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามเน่อื งจากส�ำเนา
ใบสตู บิ ตั รของผเู้ ยาว์ระบุวา่ ผ้รู อ้ งมสี ัญชาติฝรงั่ เศส และนาง ล. มีสัญชาตอิ สิ ราเอล ในการดำ� เนนิ
การจดทะเบียนรับรองบุตรของผู้ร้องจะต้องด�ำเนินการให้สอดคล้องกับกฎหมายสัญชาติของ
ผู้ร้องในขณะที่รับรองบุตรด้วยตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พุทธศักราช
๒๔๘๑ มาตรา ๓๑ ท่ีศาลชั้นต้นยกค�ำร้องขอของผู้ร้อง ให้คืนค่าข้ึนศาลและค่าส่งหมายแก่
ผู้ร้อง ศาลอทุ ธรณ์คดชี ำ� นัญพเิ ศษไม่เห็นพ้องดว้ ย อทุ ธรณ์ของผรู้ ้องฟงั ข้ึน
91
พิพากษากลับ ให้ศาลช้ันต้นพิจารณารับค�ำร้องขอของผู้ร้องไว้พิจารณา ค่าฤชา
ธรรมเนยี มท้ังสองศาลใหศ้ าลชนั้ ต้นรวมสัง่ เมอื่ มีคำ� ส่ังหรอื ค�ำพพิ ากษาใหม่.
(อมรรัตน์ กรยิ าผล - ประวิทย์ อิทธชิ ัยวฒั นา - พนารัตน์ คิดจติ ต์)
ฉนั ทนา ชมพานิชย์ - ย่อ
แกว้ ตา เทพมาลี - ตรวจ
92
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นัญพิเศษที่ ๒๐๙/๒๕๖๓ พนักงานอัยการ
ส�ำนักงานอยั การคุ้มครองสทิ ธิ
และช่วยเหลอื ทางกฎหมาย
และการบงั คบั คดี
จังหวัดพิษณโุ ลก ผรู้ อ้ ง
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๖, ๑๕๖๔ วรรคหนง่ึ , ๑๕๖๖, ๑๕๘๒
พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการขดั กันแห่งกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๘, ๓๐ วรรคสอง, ๓๓
แมต้ าม พ.ร.บ. ว่าด้วยการขัดกนั แห่งกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๓๐ วรรคสอง
จะบัญญัติว่า “ในกรณีท่ีเด็กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชาย สิทธิและหน้าท่ี
ระหวา่ งมารดากบั บตุ ร ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายสญั ชาตขิ องมารดา” กต็ าม แตต่ าม พ.ร.บ.
วา่ ดว้ ยการขดั กนั แหง่ กฎหมายพ.ศ.๒๔๘๑มาตรา๘บญั ญตั วิ า่ “ในกรณที จ่ี ะตอ้ งใชก้ ฎหมาย
ตา่ งประเทศบงั คบั ถา้ มไิ ดพ้ สิ จู นก์ ฎหมายนน้ั ใหเ้ ปน็ ทพ่ี อใจแกศ่ าล ใหใ้ ชก้ ฎหมายภายใน
แห่งประเทศไทย” เมื่อผู้ร้องมิได้น�ำสืบว่า ตามกฎหมายสัญชาติของนางสาว ฮ. มารดา
คือ กฎหมายแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาในเรื่องสิทธิและหน้าท่ีระหว่างมารดากับบุตร
ในกรณที เ่ี ดก็ เกดิ จากหญงิ ทม่ี ไิ ดม้ กี ารสมรสกบั ชาย มอี ยอู่ ยา่ งไร กรณจี งึ ตอ้ งใชก้ ฎหมาย
ภายในแห่งราชอาณาจักรไทยบังคับตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๘ ดังกล่าว คือ ต้อง
บังคับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๖ ท่ีบัญญัติว่า “เด็กเกิดจากหญิงท่ีมิได้มีการสมรสกับชาย
ให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็น
อย่างอื่น” และมาตรา ๑๕๖๖ บัญญัติว่า “บุตรซ่ึงยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องอยู่ใต้อ�ำนาจ
ปกครองของบิดามารดา...” ดังน้ัน เมื่อเด็กชาย น. ผู้เยาว์เกิดจากนางสาว ฮ. ที่มิได้มี
การสมรสกับชายใด ถือว่าเด็กชาย น. เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของนางสาว ฮ. และ
เด็กชาย น. เป็นผู้เยาว์ยังไม่บรรลุนิติภาวะจึงต้องอยู่ใต้อ�ำนาจปกครองของนางสาว ฮ.
ผเู้ ปน็ มารดา ซงึ่ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนึ่ง บญั ญตั ิวา่ “บดิ ามารดาจ�ำตอ้ ง
อุปการะเลี้ยงดูและใหก้ ารศกึ ษาตามสมควรแก่บุตรในระหว่างท่เี ปน็ ผเู้ ยาว์” นางสาว ฮ.
ยอ่ มมหี นา้ ทตี่ อ้ งอปุ การะเลยี้ งดเู ดก็ ชาย น. ซง่ึ เปน็ ผเู้ ยาว์ การทน่ี างสาว ฮ. ทอดทง้ิ ไมย่ อม
ใหก้ ารอปุ การะเลย้ี งดผู เู้ ยาวต์ ง้ั แตแ่ รกเกดิ และไมก่ ลบั มาเยยี่ มเยยี นผเู้ ยาวอ์ กี เลย โดยไม่
93
ปรากฏว่ามีเหตุจ�ำเป็นท่ีไม่อาจให้การอุปการะเล้ียงดูผู้เยาว์ได้แต่อย่างใด ถือว่านางสาว ฮ.
ใชอ้ ำ� นาจปกครองเกย่ี วแกต่ วั ผเู้ ยาวโ์ ดยมชิ อบ อนั เปน็ เหตใุ หศ้ าลถอนอำ� นาจปกครองได้
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๘๒ ซงึ่ ตาม พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการขดั กนั แหง่ กฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑
มาตรา ๓๓ บญั ญัตวิ ่า “การถอนอ�ำนาจปกครอง ให้เป็นไปตามกฎหมายของประเทศซงึ่
ศาลท่ีสั่งถอนอ�ำนาจปกครองสังกัดอยู่” ดังน้ัน การท่ีมารดากับบุตรเป็นบุคคลสัญชาติ
กัมพูชาและผู้ร้องมิได้น�ำสืบกฎหมายแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาในเร่ืองสิทธิและหน้าท่ี
ระหวา่ งมารดากบั บตุ รในกรณที เ่ี ดก็ เกดิ จากหญงิ ทม่ี ไิ ดม้ กี ารสมรสกบั ชาย ศาลกม็ อี ำ� นาจ
ถอนอำ� นาจปกครองของนางสาว ฮ. ทม่ี ตี ่อเดก็ ชาย น. ผู้เยาวไ์ ด้
______________________________
ผรู้ อ้ งยน่ื คำ� รอ้ งขอ ขอใหศ้ าลมคี ำ� สงั่ ถอนอำ� นาจปกครองของนางสาว ฮ. และมคี ำ� สงั่ ตงั้
นางสาว ส. เป็นผ้ปู กครองของเด็กชาย น. ผู้เยาว์
ศาลชนั้ ตน้ ประกาศนัดไต่สวน ไมม่ ผี ้ใู ดคัดคา้ น
ศาลช้ันตน้ มีคำ� สงั่ ว่า ให้ยกค�ำรอ้ งของผ้รู อ้ ง คา่ ฤชาธรรมเนียมให้เป็นพบั
ผ้รู ้องอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริง
ในชั้นนี้รับฟังได้เป็นยุติว่า นางสาว ฮ. เป็นบุคคลสัญชาติกัมพูชา เดินทางเข้ามาทำ� งานอยู่ใน
ราชอาณาจกั รไทยเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ นางสาว ฮ. คลอดบตุ ร คอื เดก็ ชาย น. ไมป่ รากฏ
ชอ่ื สกลุ ผเู้ ยาวท์ โ่ี รงพยาบาล พ. โดยไม่ปรากฏวา่ ผู้ใดเป็นบดิ าของผู้เยาว์ หลังจากน้นั นางสาว ฮ.
ท�ำหนังสือยินยอมยกเด็กชาย น. ให้อยู่ในความดูแลของนางสาว ส. แล้วนางสาว ฮ. ทอดทิ้ง
เด็กชาย น. ไปโดยไม่กลับมาเย่ียมเยียนอีกเลย หลังจากนั้นเด็กชาย น. ก็อยู่ในความอุปการะ
เลี้ยงดูของนางสาว ส. ตลอดมาจนถึงปจั จุบนั
คดมี ีปญั หาต้องวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณ์ของผู้รอ้ งประการแรกวา่ การที่มารดากับบตุ รเปน็
บุคคลสัญชาติกัมพูชาและผู้ร้องมิได้น�ำสืบกฎหมายแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาในเร่ืองสิทธิ
และหน้าที่ระหว่างมารดากับบุตรในกรณีท่ีเด็กเกิดจากหญิงท่ีมิได้มีการสมรสกับชาย ศาลจะมี
อ�ำนาจสั่งถอนอ�ำนาจปกครองของมารดาที่มีต่อบุตรได้หรือไม่ เห็นว่า แม้ตามพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๓๐ วรรคสอง จะบัญญัติว่า “ในกรณีที่
เดก็ เกดิ จากหญงิ ที่มิไดม้ กี ารสมรสกบั ชาย สิทธิและหนา้ ท่รี ะหว่างมารดากบั บตุ ร ใหเ้ ปน็ ไปตาม
94
กฎหมายสัญชาติของมารดา” ก็ตาม แต่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย
พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๘ บัญญตั ิวา่ “ในกรณีทีจ่ ะต้องใช้กฎหมายตา่ งประเทศบงั คับ ถ้ามิไดพ้ ิสูจน์
กฎหมายนนั้ ใหเ้ ปน็ ทพี่ อใจแกศ่ าล ใหใ้ ชก้ ฎหมายภายในแหง่ ประเทศไทย” เมอื่ ผรู้ อ้ งมไิ ดน้ �ำสบื วา่
ตามกฎหมายสัญชาติของนางสาว ฮ. มารดา คือ กฎหมายแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาในเร่ือง
สิทธิและหน้าท่ีระหว่างมารดากับบุตร ในกรณีที่เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชายมี
อยู่อย่างไร กรณีจึงต้องใช้กฎหมายภายในแห่งราชอาณาจักรไทยบังคับตามที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๘ ดงั กลา่ ว คอื ตอ้ งบงั คบั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๔๖ ทบี่ ญั ญตั ิ
วา่ “เด็กเกดิ จากหญงิ ท่ีมิได้มีการสมรสกบั ชาย ใหถ้ ือว่าเปน็ บุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนัน้
เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไวเ้ ป็นอย่างอน่ื ” และมาตรา ๑๕๖๖ บัญญัติว่า “บุตรซึ่งยงั ไม่บรรลุ
นิตภิ าวะตอ้ งอยใู่ ต้อ�ำนาจปกครองของบดิ ามารดา...” ดงั นั้น เมอ่ื เดก็ ชาย น. ไม่ปรากฏช่ือสกลุ
ผเู้ ยาวเ์ กดิ จากนางสาว ฮ. ทมี่ ไิ ดม้ กี ารสมรสกบั ชายใด ถอื วา่ เดก็ ชาย น. เปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย
ของนางสาว ฮ. และเดก็ ชาย น. เป็นผเู้ ยาวย์ ังไมบ่ รรลนุ ติ ิภาวะจึงต้องอยู่ใต้อำ� นาจปกครองของ
นางสาว ฮ. ผู้เปน็ มารดา ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนง่ึ
บญั ญตั วิ า่ “บดิ ามารดาจำ� ตอ้ งอปุ การะเลยี้ งดแู ละใหก้ ารศกึ ษาตามสมควรแกบ่ ตุ รในระหวา่ งทเี่ ปน็
ผเู้ ยาว์” นางสาว ฮ. ยอ่ มมีหนา้ ทีต่ ้องอุปการะเล้ียงดเู ด็กชาย น. ซงึ่ เป็นผู้เยาว์ การทน่ี างสาว ฮ.
ทอดทง้ิ ไมย่ อมใหก้ ารอปุ การะเลย้ี งดผู เู้ ยาวต์ ง้ั แต่แรกเกดิ และไมก่ ลบั มาเยยี่ มเยียนผเู้ ยาว์อกี เลย
โดยไมป่ รากฏวา่ มเี หตจุ ำ� เปน็ ทไ่ี มอ่ าจใหก้ ารอปุ การะเลย้ี งดผู เู้ ยาวไ์ ดแ้ ตอ่ ยา่ งใด ถอื วา่ นางสาว ฮ.
ใช้อ�ำนาจปกครองเก่ียวแก่ตัวผู้เยาว์โดยมิชอบ อันเป็นเหตุให้ศาลถอนอ�ำนาจปกครองได้ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๘๒ ซึ่งตามพระราชบัญญัตวิ า่ ดว้ ยการขดั กันแหง่
กฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๓๓ บญั ญตั วิ า่ “การถอนอำ� นาจปกครอง ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย
ของประเทศซึ่งศาลที่ส่ังถอนอ�ำนาจปกครองสังกัดอยู่” ดังน้ัน การท่ีมารดากับบุตรเป็นบุคคล
สัญชาติกัมพูชาและผู้ร้องมิได้น�ำสืบกฎหมายแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาในเร่ืองสิทธิและหน้าที่
ระหว่างมารดากับบุตรในกรณีท่ีเด็กเกิดจากหญิงท่ีมิได้มีการสมรสกับชาย ศาลก็มีอ�ำนาจถอน
อ�ำนาจปกครองของนางสาว ฮ. ที่มีต่อเด็กชาย น. ผู้เยาว์ได้ การท่ีศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า ไม่มี
อ�ำนาจสั่งถอนอ�ำนาจปกครองของนางสาว ฮ. น้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษไม่เห็นพ้องด้วย
อทุ ธรณข์ องผู้ร้องข้อนีฟ้ ังข้นึ
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของผู้ร้องอีกประการหน่ึงว่า มีเหตุสมควรตั้ง
นางสาว ส. เป็นผู้ปกครองเดก็ ชาย น. ไม่ปรากฏชือ่ สกลุ ผู้เยาวห์ รือไม่ เหน็ ว่า เมอื่ เด็กชาย น. ยังไม่
95
บรรลนุ ติ ภิ าวะและไมม่ บี ดิ า สว่ นนางสาว ฮ. มารดาถกู ถอนอำ� นาจปกครองเสยี แลว้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๘๕ วรรคหนงึ่ บัญญตั วิ ่า “บุคคลที่ยงั ไม่บรรลนุ ติ ภิ าวะและ
ไม่มีบิดามารดาหรือบิดามารดาถูกถอนอ�ำนาจปกครองเสียแล้วนั้น จะจัดให้มีผู้ปกครองข้ึนใน
ระหว่างทีเ่ ปน็ ผเู้ ยาว์กไ็ ด้” และวรรคสอง บญั ญัตวิ า่ “ในกรณีทผ่ี ใู้ ชอ้ �ำนาจปกครองถูกถอนอ�ำนาจ
ปกครองบางสว่ นตามมาตรา ๑๕๘๒ วรรคหนงึ่ ศาลจะตงั้ ผปู้ กครองในสว่ นทผี่ ใู้ ชอ้ �ำนาจปกครอง
ถูกถอนอ�ำนาจปกครองนั้นก็ได้...” เม่ือได้ความจากทางน�ำสืบของผู้ร้องประกอบรายงานแสดง
ข้อเท็จจริงเก่ียวกับคดีครอบครัวของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนว่า นางสาว ส.
เปน็ ผอู้ ปุ การะเลยี้ งดเู ดก็ ชาย น. ผเู้ ยาวต์ งั้ แตน่ างสาว ฮ. ทอดทง้ิ ไปจนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ เวลาถงึ ๒ ปี
โดยใหก้ ารอปุ การะเลยี้ งดผู เู้ ยาวด์ ว้ ยดเี สมอื นบตุ รของตนเอง และนางสาว ส. เปน็ ผมู้ คี วามสามารถ
ที่จะอุปการะเล้ียงดูผู้เยาว์ให้ได้รับการศึกษาและมีความผาสุกได้ ทั้งนางสาว ส. ไม่เป็นบุคคล
ต้องห้ามมิให้เป็นผู้ปกครองผู้เยาว์ เม่ือค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดที่ผู้เยาว์จะพึงได้รับแล้ว กรณี
จึงมเี หตสุ มควรต้งั นางสาว ส. เปน็ ผู้ปกครองของเด็กชาย น. ผเู้ ยาว์ตามทผี่ ู้รอ้ งขอ ทศี่ าลช้ันตน้
ไม่วินิจฉัยในประเด็นนี้น้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษไม่เห็นชอบด้วย อุทธรณ์ของโจทก์ข้อน้ี
ฟงั ขึ้นเชน่ กนั
พิพากษากลับว่า ให้ถอนอ�ำนาจปกครองเด็กชาย น. ไม่ปรากฏชื่อสกุลผู้เยาว์ของ
นางสาว ฮ. และให้ตัง้ นางสาว ส. เป็นผู้ปกครองของผูเ้ ยาว์ ค่าฤชาธรรมเนยี มทงั้ สองศาลใหเ้ ปน็ พับ.
(ประวิทย์ อทิ ธชิ ัยวฒั นา - อมรรัตน์ กริยาผล - พนารตั น์ คดิ จิตต)์
ณิศรา กิจคณาศริ ิ - ยอ่
พาช่นื แสงจันทรเ์ ทศ - ตรวจ
96
ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีชำ� นัญพเิ ศษท่ี ๗๖๖/๒๕๖๓ นาย ป. โจทก์
นางสาว น. กบั พวก จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๓๖, ๑๕๓๙, ๑๕๔๑
โจทก์ฟ้องคดีน้ีเพื่อจะไม่รับจ�ำเลยท่ี ๒ เป็นบุตรตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๓๙
วรรคหน่ึง ซึ่งตามมาตรา ๑๕๓๖ วรรคหนึ่ง ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า จ�ำเลยท่ี ๒ เป็นบุตร
ชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ การที่โจทก์จะฟ้องไม่รับจ�ำเลยที่ ๒ เป็นบุตร โจทก์ต้องพิสูจน์
ได้ว่าโจทก์ไม่ได้อยู่ร่วมกับมารดาเด็กในระยะเวลาตั้งครรภ์ คือระหว่างหน่ึงร้อยแปดสิบวัน
ถึงสามร้อยสิบวันก่อนเด็กเกิดหรือโจทก์ไม่สามารถเป็นบิดาของเด็กได้เพราะเหตุ
อย่างอ่ืนตามมาตรา ๑๕๓๙ วรรคหนึ่ง เม่ือโจทก์กับจ�ำเลยท่ี ๑ จดทะเบียนสมรสกันเมื่อ
วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ ต่อมาจ�ำเลยท่ี ๑ ให้ก�ำเนิดจ�ำเลยที่ ๒ เม่ือวันที่ ๑๑ กรกฎาคม
๒๕๖๐ จึงต้องด้วยข้อสันนิษฐานว่าจ�ำเลยที่ ๒ เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์ แต่
เม่ือโจทก์น�ำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานตามกฎหมายว่าต่อมาโจทก์กับจ�ำเลยทั้งสามตกลงกัน
ไปตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ ผลการตรวจปรากฏว่าจ�ำเลยที่ ๓ เป็นบิดาจ�ำเลย
ที่ ๒ เน่ืองจากมีสารพันธุกรรมท่ีตรงกันทุกต�ำแหน่ง แม้โจทก์เป็นผู้แจ้งการเกิดจ�ำเลยที่ ๒
ด้วยตนเอง แต่พฤติการณ์ที่โจทก์ไปแจ้งการเกิดของจ�ำเลยที่ ๒ นั้น เกิดจากการที่โจทก์
เชื่อโดยสุจริตว่าจ�ำเลยที่ ๒ เป็นบุตรโจทก์ในขณะท่ีมีการแจ้งการเกิด โดยท่ียังไม่ปรากฏ
ข้อเท็จจริงภายหลังท่ีได้จากผลการตรวจหาสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอว่าแท้จริงแล้ว
จ�ำเลยที่ ๒ เป็นบุตรของจ�ำเลยท่ี ๓ อันเป็นการน�ำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานตาม
มาตรา ๑๕๓๙ วรรคหน่ึง จึงตอ้ งฟงั ว่าจ�ำเลยที่ ๒ มิใชบ่ ตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของโจทก์
______________________________
โจทก์ฟอ้ งขอใหพ้ พิ ากษาว่า จำ� เลยท่ี ๒ ไม่ใชบ่ ุตรของโจทกแ์ ตเ่ ป็นบุตรของจ�ำเลยท่ี ๓
ให้จำ� เลยท่ี ๑ และจ�ำเลยท่ี ๓ เปล่ยี นช่ือบิดาของจ�ำเลยท่ี ๒ จากโจทก์เป็นจ�ำเลยที่ ๓ ในสตู ิบตั ร
และทะเบยี นบา้ นของจำ� เลยท่ี ๒ หากจำ� เลยท่ี ๑ และจำ� เลยที่ ๓ ไมด่ ำ� เนนิ การใหถ้ อื เอาคำ� พพิ ากษา
เปน็ การแสดงเจตนา และให้จำ� เลยท่ี ๑ กับจ�ำเลยที่ ๓ ช�ำระคา่ เสยี หาย ๕๐๐,๐๐๐ บาท พร้อม
ดอกเบยี้ อัตราร้อยละ ๗.๕ ตอ่ ปี นบั ถัดจากวนั ฟอ้ งจนกว่าจะช�ำระเสรจ็ แกโ่ จทก์
97
จำ� เลยท้ังสามขาดนดั ยน่ื ค�ำให้การ
ศาลชั้นตน้ พิพากษายกฟ้อง ค่าฤชาธรรมเนยี มใหเ้ ป็นพบั
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริง
รับฟังเป็นท่ียุติในเบ้ืองต้นว่า โจทก์กับจ�ำเลยที่ ๑ จัดพิธีหมั้นและพิธีแต่งงานเมื่อวันท่ี
๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โจทก์มอบเงินจ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เป็นของหม้ันให้แก่จ�ำเลยท่ี ๑
ต่อมาวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ โจทก์และจ�ำเลยท่ี ๑ จดทะเบียนสมรสกัน จ�ำเลยท่ี ๒ เกิด
เมื่อวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นบุตรของจ�ำเลยที่ ๑ โดยในสูติบัตรระบุว่าโจทก์เป็นบิดา
ของจ�ำเลยที่ ๒ หลังจากนั้นวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ โจทก์กับจ�ำเลยที่ ๑ จดทะเบียน
หย่ากัน ส�ำหรับประเด็นเร่ืองของหม้ันและค่าเสียหาย ไม่มีคู่ความฝ่ายใดอุทธรณ์ จึงเป็นอันยุติ
ไปตามคำ� พิพากษาศาลชนั้ ตน้
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า โจทก์มีอ�ำนาจฟ้องขอให้ศาล
พิพากษาว่าจ�ำเลยที่ ๒ มิใช่บุตรโจทก์หรือไม่ เห็นว่า โจทก์ฟ้องคดีน้ีเพื่อจะไม่รับจ�ำเลยท่ี ๒
เป็นบุตรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๓๙ วรรคหนึ่ง ซึ่งตามมาตรา
๑๕๓๖ วรรคหนึ่ง ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจ�ำเลยที่ ๒ เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์
การทโี่ จทกจ์ ะฟอ้ งไมร่ บั จ�ำเลยท่ี ๒ เปน็ บตุ ร โจทกต์ อ้ งพสิ จู นไ์ ดว้ า่ โจทกไ์ มไ่ ดอ้ ยรู่ ว่ มกบั มารดาเดก็
ในระยะเวลาต้ังครรภ์ คือระหวา่ งหน่ึงรอ้ ยแปดสบิ วันถึงสามรอ้ ยสบิ วันกอ่ นเดก็ เกิดหรือโจทก์ไม่
สามารถเปน็ บดิ าของเดก็ ไดเ้ พราะเหตอุ ยา่ งอนื่ ตามมาตรา ๑๕๓๙ วรรคหนง่ึ เมอื่ โจทกก์ บั จำ� เลย
ท่ี ๑ จดทะเบียนสมรสกันเม่อื วนั ท่ี ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ ต่อมาจำ� เลยท่ี ๑ ใหก้ ำ� เนดิ จำ� เลยที่ ๒
เมอื่ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ จงึ ตอ้ งดว้ ยขอ้ สนั นษิ ฐานวา่ จำ� เลยที่ ๒ เปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย
ของโจทก์ แต่เม่ือโจทก์น�ำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานตามกฎหมายว่าต่อมาโจทก์กับจ�ำเลยท้ังสาม
ตกลงกันไปตรวจสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ ผลการตรวจปรากฏว่าจ�ำเลยท่ี ๓ เป็นบิดาจ�ำเลย
ท่ี ๒ เนือ่ งจากมีสารพนั ธุกรรมท่ตี รงกันทกุ ต�ำแหนง่ ตามผลการตรวจสารพนั ธกุ รรม (paternity
report) แมโ้ จทก์เป็นผูแ้ จ้งการเกิดจำ� เลยที่ ๒ ดว้ ยตนเอง แต่พฤตกิ ารณ์ท่โี จทกไ์ ปแจ้งการเกดิ
ของจ�ำเลยที่ ๒ นัน้ เกดิ จากการท่โี จทกเ์ ช่ือโดยสจุ ริตวา่ จ�ำเลยท่ี ๒ เปน็ บุตรโจทก์ในขณะท่ีมีการ
แจ้งการเกิด โดยที่ยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังที่ได้จากผลการตรวจหาสารพันธุกรรมหรือ
ดีเอ็นเอวา่ แท้จริงแลว้ จำ� เลยที่ ๒ เป็นบตุ รของจ�ำเลยที่ ๓ อันเป็นการน�ำสืบหกั ลา้ งขอ้ สนั นษิ ฐาน
ตามมาตรา ๑๕๓๙ วรรคหน่ึง จึงต้องฟงั วา่ จ�ำเลยท่ี ๒ มิใชบ่ ุตรชอบดว้ ยกฎหมายของโจทก์ ทั้งน้ี
98
เพอื่ ความผาสกุ ของเดก็ ทค่ี วรมตี ่อชายผู้เปน็ บดิ าท่แี ท้จรงิ และสทิ ธหิ น้าทีต่ ามกฎหมายระหว่าง
บิดามารดากับบุตรอันเป็นผลกระทบท่ีจะตามมา ท่ีศาลช้ันต้นวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง
ไม่รับจ�ำเลยท่ี ๒ เป็นบุตรน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษไม่เห็นชอบด้วย อุทธรณ์ของโจทก์
ฟังข้ึน
พพิ ากษาแกเ้ ปน็ วา่ จำ� เลยท่ี ๒ มใิ ชบ่ ตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของโจทก์ ใหจ้ ำ� เลยท่ี ๑ และ
ที่ ๓ ไปด�ำเนินการเปลี่ยนช่ือบิดาในสูติบัตรและทะเบียนบ้านของจ�ำเลยที่ ๒ จากชื่อโจทก์เป็น
ช่ือจ�ำเลยท่ี ๓ หากจำ� เลยท่ี ๑ และท่ี ๓ ไม่ดำ� เนินการใหถ้ ือเอาคำ� พิพากษาแทนการแสดงเจตนา
ของจ�ำเลยที่ ๑ และท่ี ๓ นอกจากทีแ่ กใ้ หเ้ ป็นไปตามค�ำพพิ ากษาศาลช้นั ต้น คา่ ฤชาธรรมเนยี ม
ชน้ั อทุ ธรณใ์ หเ้ ป็นพับ.
(เผดิม เพ็ชรกลู - ชารียา เด่นนินนาท - อนิ ทริ า ฉวิ รัมย์)
ข้อสังเกต
คดนี ้โี จทก์ฟอ้ งคดีไม่รบั จ�ำเลยที่ ๒ เป็นบตุ ร โดยโจทกเ์ ปน็ ผูแ้ จ้งเกิดจ�ำเลยที่ ๒ ดว้ ย
ตนเอง ซึ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๑ บัญญัติว่า ชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีจะฟ้องคดี
ไม่รับเด็กเป็นบุตรตามมาตรา ๑๕๓๙ ไม่ได้ ถ้าปรากฏว่าตนเป็นผู้แจ้งการเกิดเด็กในทะเบียน
คนเกดิ เองว่าเป็นบุตรของตนหรอื จดั หรือยอมใหม้ ีการแจง้ ดงั กล่าว หลกั ของมาตรา ๑๕๔๑ นน้ั
มาจากหลักกฎหมายปิดปาก เม่ือชายท�ำเอกสารท่ีแสดงข้อเท็จจริงว่าเด็กคนนั้นเป็นบุตรแล้ว
กฎหมายจึงสันนิษฐานว่าข้อเท็จจริงน่าจะเป็นเช่นน้ันจึงห้ามไม่ให้ชายผู้เคยท�ำเอกสารดังกล่าว
มาปฏิเสธหรือสืบพยานเป็นอย่างอื่น ทั้งน้ีเน่ืองจากการที่จะพิสูจน์ว่าชายดังกล่าวเป็นบิดาของ
เดก็ นั้นเปน็ เรื่องทไี่ มง่ า่ ย ไมเ่ หมอื นกบั กรณีทีห่ ญิงคลอดเดก็ กฎหมายจงึ ก�ำหนดใหห้ ญิงทคี่ ลอด
เด็กเป็นมารดาชอบด้วยกฎหมายของเด็กเสมอ ทั้งการพิสูจน์ความเป็นบิดาและบุตรนั้นตาม
กฎหมายก็มุ่งการพิสูจน์การความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างมารดาเด็กกับชายซ่ึงน่าจะได้ร่วม
ประเวณีกับมารดาเด็กในระยะที่มารดาเด็กอาจต้ังครรภ์ได้ดังที่บัญญัติในมาตรา ๑๕๕๕ หรือ
สันนิษฐานว่าเด็กที่เกิดระหว่างสมรสเป็นบุตรของชายสามี เป็นต้น กล่าวคือเป็นการพยายาม
สรา้ งขอ้ สนั นษิ ฐานเพอ่ื พสิ จู นค์ วามสมั พนั ธท์ างพนั ธกุ รรมนน่ั เอง เอกสารทช่ี ายรบั รองวา่ เดก็ เปน็
บตุ รของตนเองกเ็ ปน็ กรณที กี่ ฎหมายพยายามสรา้ งหลกั เพอื่ หาขอ้ เทจ็ จรงิ ทยี่ ตุ ไิ ดว้ า่ เดก็ เปน็ บตุ ร
ของชายเช่นกัน หลักกฎหมายปิดปากน้ันก็คือหลักความสุจริตตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕ น่ันเอง
99
ดังนั้น เม่ือวิทยาการเจริญมากข้ึน และข้อเท็จจริงปรากฏชัดเจนจากการตรวจดีเอ็นเอว่า เด็ก
ไม่ใช่บุตรของชายท่ีแจ้งเกิดแล้ว การท่ีจะใช้หลักกฎหมายปิดปากอย่างเคร่งครัดห้ามไม่ให้ชาย
ที่ทราบแน่นอนว่าตนเองไม่ใช่บิดาของเด็กฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตรเลยน่าจะไม่ตรงกับ
เจตนารมณ์ของกฎหมายท่ีต้องการให้ชายและเด็กเป็นบิดาและบุตรกันจริงตามหลักพันธุกรรม
ซ่ึงคดีนี้ก็ระบุว่า แม้โจทก์เป็นผู้แจ้งการเกิดจ�ำเลยที่ ๒ ด้วยตนเอง แต่พฤติการณ์ที่โจทก์
ไปแจง้ การเกิดของจ�ำเลยท่ี ๒ นนั้ เกิดจากการท่โี จทก์เช่อื โดยสุจริตวา่ จำ� เลยที่ ๒ เปน็ บตุ รโจทก์
ในขณะท่ีมกี ารแจ้งเกดิ คดนี ศ้ี าลจงึ ยอมให้มกี ารฟ้องคดแี ละใหโ้ จทก์พสิ จู นข์ อ้ เท็จจรงิ ได้
(อมรรตั น์ กรยิ าผล)
รองประธานศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นญั พิเศษ
ณฐั จิรา ขนั ทอง - ยอ่
พาชน่ื แสงจันทรเ์ ทศ - ตรวจ
100
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษท่ี ๒๕๐๕/๒๕๖๐ นาย ศ. โจทก์
นาง จ. จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๒๕, ๑๕๙๘/๒๘, ๑๖๒๗
ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕
ท่ีโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมท่ีนาย ป. จดทะเบียนรับจ�ำเลยเป็น
บุตรบุญธรรมซึ่งได้กระท�ำลงโดยไม่ได้รับความยินยอมจากคู่สมรสของนาย ป.
เป็นการฟ้องขอให้แสดงว่า นาย ป. กับจ�ำเลยมิได้มีฐานะเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม
กับบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย เพราะการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมไม่สมบูรณ์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๒๕ หาใช่เป็นการใช้สิทธิเรียกร้องเพ่ือเพิกถอนฐานะ
ความเป็นบุตรบุญธรรมไม่ จึงไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัวของผู้รับบุตรบุญธรรม อีกท้ังผู้รับ
บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายและเป็นผู้สืบสันดาน
เหมือนกับบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๒๘ และมาตรา ๑๖๒๗
การท่ีนาย ป. รับจ�ำเลยเป็นบุตรบุญธรรมย่อมมีผลกระทบต่อสิทธิและหน้าท่ีของ
โจทก์ซึ่งเป็นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายและเป็นทายาทผู้สืบสันดานที่มีสิทธิรับมรดก
ของนาย ป. ถือว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสีย โจทก์ย่อมมีสิทธิกล่าวอ้างความไม่สมบูรณ์ของ
นติ กิ รรมนน้ั ได้ นอกจากนก้ี ารทจ่ี ำ� เลยอา้ งสทิ ธเิ ปน็ บตุ รบญุ ธรรมของนาย ป. ซงึ่ เปน็ บดิ า
ของโจทก์ย่ืนคำ� รอ้ งขอต่อศาลชั้นตน้ ให้นาย ป. เปน็ คนไร้ความสามารถโดยมีจำ� เลยเป็น
ผู้อนุบาล และจ�ำเลยทวงถามให้โจทก์ส่งมอบโฉนดท่ีดินและหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
ของนาย ป. ที่โจทก์เป็นผู้เก็บรักษาให้แก่จ�ำเลยโดยอ้างค�ำสั่งของศาล ย่อมเป็นการ
โต้แยง้ สิทธขิ องโจทก์ โจทก์จงึ มอี ำ� นาจฟ้องจ�ำเลย
______________________________
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมระหว่าง ป. กับจ�ำเลย ฉบับ
ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๓๖
ศาลชั้นต้นเหน็ วา่ โจทกอ์ า้ งว่าโจทกเ์ ป็นบตุ รของผู้รับบตุ รบญุ ธรรม การเพิกถอนการ
จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่าน้ัน โจทก์มิได้มี
101
ส่วนได้เสียหรอื ถกู โตแ้ ยง้ สิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๕๕ ยกฟอ้ ง
ค่าฤชาธรรมเนียมใหเ้ ป็นพับ
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดเี ยาวชนและครอบครวั วนิ จิ ฉยั วา่ คดมี ปี ญั หาตอ้ ง
วนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกว์ า่ คำ� สงั่ ศาลชน้ั ตน้ ทย่ี กฟอ้ งโจทกช์ อบดว้ ยกฎหมายหรอื ไม่ เหน็ วา่
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๙๘/๒๕ บญั ญัติว่า “ผจู้ ะรับบตุ รบุญธรรมหรอื
ผู้จะเป็นบตุ รบุญธรรม ถา้ มคี สู่ มรสอยตู่ อ้ งได้รับความยินยอมจากค่สู มรสก่อน...” แม้ ป. จดทะเบยี น
รับจ�ำเลยเป็นบตุ รบุญธรรมแล้ว แต่หาก ป. ไมไ่ ด้รบั ความยนิ ยอมจาก ก. ผเู้ ป็นภริยาดังทโ่ี จทก์
ฟอ้ งกย็ ่อมเปน็ การขัดตอ่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๕๙๘/๒๕ อันมผี ลให้การ
รับบุตรบุญธรรมน้ันไม่สมบูรณ์ กล่าวคือไม่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์และสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย
ระหวา่ ง ป. กบั จำ� เลยในฐานะผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรมกบั บตุ รบญุ ธรรมแตอ่ ยา่ งใด การทโ่ี จทกฟ์ อ้ งขอให้
เพกิ ถอนการจดทะเบยี นรบั จำ� เลยเปน็ บตุ รบญุ ธรรมซงึ่ ป. ไดก้ ระทำ� ลงโดยไมไ่ ดร้ บั ความยนิ ยอม
จาก ก. ผเู้ ปน็ คสู่ มรส จงึ เปน็ การฟอ้ งขอใหแ้ สดงวา่ ป. กบั จำ� เลยมไิ ดม้ ฐี านะเปน็ ผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม
กับบุตรบุญธรรมตามกฎหมายเพราะการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมซึ่งไม่สมบูรณ์ดังกล่าว
หาใช่เป็นการใช้สิทธิเรียกร้องเพื่อเพิกถอนฐานะความเป็นบุตรบุญธรรมกับผู้รับบุตรบุญธรรม
ของจ�ำเลยกับ ป. ไม่ กรณีจึงไม่ใช่เป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่าน้ัน อีกท้ังบุตร
บุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายและเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรท่ี
ชอบดว้ ยกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๙๘/๒๘ และมาตรา ๑๖๒๗
การท่ี ป. รับจ�ำเลยเป็นบุตรบุญธรรมย่อมมีผลกระทบต่อสิทธิหน้าท่ีของโจทก์ซึ่งเป็นบุตรที่
ชอบด้วยกฎหมายและเป็นทายาทผู้สืบสันดานท่ีมีสทิ ธิรบั มรดกของ ป. ถือว่าโจทกเ์ ป็นผู้มีส่วน
ไดเ้ สยี หากการจดทะเบียนรับจำ� เลยเปน็ บุตรบญุ ธรรมของ ป. ไมส่ มบรู ณ์ ไม่มผี ลตามกฎหมาย
โจทก์ย่อมมีสิทธิกล่าวอ้างความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรมนั้นได้ นอกจากน้ีการท่ีจ�ำเลยอ้างสิทธิ
เป็นบุตรบุญธรรมของ ป. ซึ่งเป็นบิดาของโจทก์และยื่นค�ำร้องขอต่อศาลช้ันต้นให้ ป. เป็นคน
ไร้ความสามารถโดยมีจำ� เลยเป็นผอู้ นุบาล หลงั จากน้ันจ�ำเลยทวงถามให้โจทก์สง่ มอบโฉนดทดี่ ิน
และหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุดของ ป. ท่ีโจทก์เป็นผู้เก็บรักษาให้แก่จ�ำเลยโดยอ้างค�ำสั่งของศาล
ดังกล่าว ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอ�ำนาจฟ้องจ�ำเลยได้ ค�ำสั่งศาลช้ันต้นที่
ยกฟอ้ งโจทกจ์ งึ ไม่ชอบ อุทธรณข์ องโจทก์ฟงั ขน้ึ
102
พิพากษายกคำ� สง่ั ศาลช้นั ต้น ใหศ้ าลชน้ั ต้นรับฟอ้ งโจทกไ์ ว้พิจารณาแล้วพพิ ากษาใหม่
ตามรปู คดี ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณ์ให้เป็นพับ.
(ประวทิ ย์ อทิ ธิชัยวฒั นา - อมรรตั น์ กริยาผล - พนารัตน์ คดิ จติ ต)์
พิทกั ษ์ หลิมจานนท์ - ยอ่
นรินทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ
103
คำ� พพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนัญพิเศษท่ี ๑๒๓/๒๕๖๓ นางสาว ว. โจทก์
นางสาว ธ. จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๓๓
การฟอ้ งเลกิ การรับบุตรบุญธรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ (๑) กฎหมาย
ให้สิทธิแก่ผู้รับบุตรบุญธรรมเท่าน้ันที่จะเป็นผู้ฟ้องหากมีเหตุตามที่ระบุไว้ในบทบัญญัติ
ดังกล่าว ซึ่งเป็นเหตุอันเนื่องมาจากการกระทําของบุตรบุญธรรมที่เป็นการช่ัวร้ายและ
ทําให้ผู้รับบุตรบุญธรรมได้รับความอับอายขายหน้าอย่างร้ายแรง หรือถูกเกลียดชัง
หรือได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกินควร ดังนั้น เม่ือกฎหมายสารบัญญัติรับรอง
ให้สิทธิไว้แต่เฉพาะผู้รับบุตรบุญธรรม การท่ีโจทก์กล่าวอ้างในคําฟ้องว่า โจทก์เป็น
พ่ีน้องร่วมบิดามารดากับนางสาว จ. โจทก์จึงมิใช่ผู้รับบุตรบุญธรรมที่ถูกโต้แย้งสิทธิ
ตามกฎหมายท่ีจะฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมระหว่างนางสาว จ. กับจําเลย กรณีถือ
ไมไ่ ดว้ า่ มขี อ้ โตแ้ ยง้ เกดิ ขนึ้ เกยี่ วกบั สทิ ธหิ รอื หนา้ ทข่ี องโจทกห์ รอื เปน็ กรณที โ่ี จทกจ์ ะตอ้ ง
ใช้สิทธิทางศาลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว
และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ โจทกจ์ งึ ไมม่ อี ํานาจฟอ้ ง
_____________________________
โจทก์ฟอ้ ง ขอให้พพิ ากษาเลิกการรบั บตุ รบญุ ธรรมระหว่างนางสาว จ. กับจำ� เลย และ
ใหจ้ ำ� เลยสง่ มอบนางสาว จ. คนื แกโ่ จทกเ์ พอ่ื ใหโ้ จทกอ์ ปุ การะเลยี้ งดแู ละพาไปพบแพทยเ์ พอื่ ตรวจ
รักษาตามนัดตอ่ ไป
ศาลชน้ั ตน้ มคี ำ� สงั่ วา่ โจทกไ์ มส่ ามารถใชส้ ทิ ธทิ างศาลทจี่ ะฟอ้ งเลกิ การรบั บตุ รบญุ ธรรม
ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ ไมร่ ับฟอ้ ง คนื คา่ ขน้ึ ศาลท้ังหมด
โจทกอ์ ุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ข้อกฎหมายต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า โจทก์มีอ�ำนาจฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรม
หรือไม่ เห็นวา่ การฟอ้ งเลิกการรับบตุ รบุญธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๕๙๘/๓๓ (๑) กฎหมายให้สทิ ธิแก่ผ้รู ับบตุ รบญุ ธรรมเท่านัน้ ท่จี ะเป็นผู้ฟอ้ งหากมีเหตตุ ามทร่ี ะบุ
ไวใ้ นบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วซงึ่ เปน็ เหตอุ นั เนอ่ื งมาจากการกระทำ� ของบตุ รบญุ ธรรมทเี่ ปน็ การชวั่ รา้ ย
104
และทำ� ใหผ้ รู้ บั บตุ รบญุ ธรรมไดร้ บั ความอบั อายขายหนา้ อยา่ งรา้ ยแรง หรอื ถกู เกลยี ดชงั หรอื ไดร้ บั
ความเสยี หายหรอื เดอื ดร้อนเกนิ ควร ดังนน้ั เมอ่ื กฎหมายสารบัญญตั ิรบั รองให้สทิ ธไิ ว้แต่เฉพาะ
ผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม การทโี่ จทกก์ ลา่ วอา้ งในคำ� ฟอ้ งวา่ โจทกเ์ ปน็ พนี่ อ้ งรว่ มบดิ ามารดากบั นางสาว จ.
โจทก์จึงมิใช่ผู้รับบุตรบุญธรรมที่ถูกโต้แย้งสิทธิตามกฎหมายที่จะฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรม
ระหว่างนางสาว จ. กับจ�ำเลย กรณีถือไม่ได้ว่ามีข้อโต้แย้งเกิดข้ึนเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ของ
โจทก์หรือเป็นกรณีที่โจทก์จะต้องใช้สิทธิทางศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๕๕ ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง ศาลอุทธรณ์
คดชี ำ� นญั พเิ ศษเห็นชอบดว้ ย อุทธรณข์ องโจทก์ฟงั ไม่ขนึ้
อนึ่ง การที่ศาลช้ันต้นพิเคราะห์ค�ำฟ้องแล้วเห็นว่า โจทก์ไม่สามารถใช้สิทธิทางศาล
ที่จะฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๕๙๘/๓๓
ไม่รับฟ้อง คืนค่าข้ึนศาลทั้งหมดให้โจทก์นั้น ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นว่า เป็นค�ำสั่ง
ท่ีไม่ถูกต้องเพราะค�ำสั่งของศาลชั้นต้นดังกล่าวเท่ากับเป็นการวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีอ�ำนาจ
ฟ้องจ�ำเลย มีผลเป็นการวินิจฉัยเน้ือหาแห่งคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๑๓๑ (๒) ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ ศาลชั้นต้นชอบที่จะมีค�ำพิพากษายกฟ้อง
กรณีมิใช่เร่ืองส่ังรับหรือไม่รับค�ำคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๑๘ ประกอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ จึงไม่มีเหตุท่ีจะคืนค่าธรรมเนียมศาลแก่โจทก์ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๕๑ วรรคหน่ึง ประกอบพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖
ศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนญั พิเศษเห็นสมควรแก้ไขเสยี ใหถ้ กู ตอ้ ง
พิพากษายกค�ำสัง่ ศาลชั้นต้น โดยใหย้ กฟ้องโจทก์ คา่ ฤชาธรรมเนยี มในศาลชนั้ ตน้ และ
ชนั้ อทุ ธรณ์ใหเ้ ป็นพับ.
(ชารียา เดน่ นนิ นาท - เผดิม เพ็ชรกูล - อนิ ทริ า ฉวิ รมั ย์)
นชิ ญา ปราณจี ิตต์ - ย่อ
แก้วตา เทพมาลี - ตรวจ
105
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดชี �ำนัญพิเศษท่ี ๒๒๔๐/ ๒๕๖๐ นาง ก. โจทก์
จำ� เลย
นาย ธ.
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕)
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนึ่ง, ๑๕๙๘/๔๑
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๘๒
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนง่ึ บญั ญัติว่า บิดามารดาจำ� ตอ้ งอุปการะเล้ยี งดู
และให้การศกึ ษาตามสมควรแก่บตุ รในระหวา่ งที่เปน็ ผู้เยาว์ และสิทธิที่จะไดค้ า่ อปุ การะ
เล้ียงดูน้ัน จะสละมิได้ตามมาตรา ๑๕๙๘/๔๑ จ�ำเลยซ่ึงเป็นบิดาชอบด้วยกฎหมายมี
หน้าที่ต้องอุปการะเล้ียงดูบุตรผู้เยาว์ โจทก์ในฐานะมารดาไม่อาจสละสิทธิในการที่บุตร
ผู้เยาว์จะได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจากจ�ำเลย จึงไม่ท�ำให้สิทธิได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูของ
บุตรผู้เยาว์เสียไป ปัญหาในข้อนี้แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดอุทธรณ์ แต่เป็นปัญหาข้อกฎหมาย
อนั เกย่ี วดว้ ยความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชน ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ ควรหยบิ ยก
ขึ้นวินิจฉัยแล้วพิพากษาไปได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชน
และครอบครวั และวธิ พี ิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๘๒
______________________________
โจทก์ฟ้องและแก้ไขค�ำฟ้องขอให้พิพากษาให้โจทก์กับจ�ำเลยหย่าขาดจากกัน
และให้จ�ำเลยไปจดทะเบียนหย่า หากจ�ำเลยไม่ไปขอให้ถือเอาค�ำพิพากษาแทนการแสดง
เจตนาของจ�ำเลย และให้โจทก์เป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์ทั้งสามแต่เพียงผู้เดียว
โดยให้จ�ำเลยจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ทั้งสามคนละ ๓,๐๐๐ บาท ต่อเดือน นับถัดจาก
วันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าบุตรผู้เยาว์ท้ังสามจะบรรลุนิติภาวะ และให้จ�ำเลยจ่ายค่าอุปการะ
เลี้ยงดูโจทก์เดือนละ ๙,๐๐๐ บาท นับแต่วันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจ�ำเลยจะจดทะเบียนหย่ากับ
โจทก์
จ�ำเลยให้การและแก้ไขค�ำให้การขอให้ยกฟ้อง กับฟ้องแย้งขอให้พิพากษาให้โจทก์
จดทะเบียนหย่ากับจ�ำเลย หากโจทก์ไม่ไปขอให้ถือเอาค�ำพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
106
ของโจทก์ และให้จ�ำเลยเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์ท้ังสามแต่เพียงผู้เดียว โดยให้โจทก์
จา่ ยค่าอปุ การะเลีย้ งดูบุตรผูเ้ ยาวท์ ้ังสามคนละ ๓,๐๐๐ บาท ตอ่ เดือน จนกวา่ บตุ รผู้เยาว์ทัง้ สาม
จะบรรลนุ ติ ิภาวะ
โจทกใ์ ห้การแกฟ้ อ้ งแยง้ ขอใหย้ กฟอ้ งแยง้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์กับจ�ำเลยหย่าขาดจากกัน โดยให้โจทก์เป็นผู้ใช้อ�ำนาจ
ปกครองเดก็ หญงิ อ. เดก็ หญงิ จ. และเด็กชาย ศ. บุตรผู้เยาว์ทง้ั สามแตเ่ พียงผู้เดียว คำ� ขออืน่
ให้ยก และให้ยกฟ้องแย้งจ�ำเลย ค่าฤชาธรรมเนียมฟ้องของโจทก์และฟ้องแย้งของจ�ำเลย
ให้เป็นพับ
จ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริง
รับฟังเป็นท่ียุติในเบ้ืองต้นว่า โจทก์กับจ�ำเลยเป็นสามีภริยากันมีบุตรด้วยกัน ๓ คน คือ
เด็กหญิง อ. เกิดเมื่อวันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๔๕ เด็กหญิง จ. เกิดเม่ือวันท่ี ๒๒ ธันวาคม
๒๕๔๖ และเด็กชาย ศ. เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตามแบบรับรองรายการ
ทะเบียนราษฎร ปัจจุบันบตุ รผ้เู ยาว์ท้ังสามของโจทก์กบั จ�ำเลยพักอาศัยอยกู่ ับนาง ว. มารดาของ
โจทก์ ประเดน็ เรอ่ื งโจทกก์ บั จำ� เลยหยา่ ขาดจากการเปน็ สามภี รยิ ากนั นนั้ ไมม่ คี คู่ วามฝา่ ยใดอทุ ธรณ์
จงึ ยุติไปตามคำ� พพิ ากษาศาลช้ันตน้
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยว่า โจทก์หรือจ�ำเลยสมควรเป็นผู้ใช้
อำ� นาจปกครองบตุ รผเู้ ยาวท์ ง้ั สามหรอื ไม่ เหน็ วา่ ครอบครวั ของโจทกอ์ นั ประกอบดว้ ยบดิ ามารดา
ของโจทก์มีความใกล้ชดิ กับบตุ รผู้เยาว์ท้งั สามของโจทก์กับจำ� เลย ตลอดจนมฐี านะทางเศรษฐกจิ
ที่ม่ันคงพอสมควร แม้โจทก์จะท�ำงานอยู่ท่ีกรุงเทพมหานครโจทก์ก็ส่งค่าใช้จ่ายในการเล้ียงดู
บุตรผเู้ ยาว์ทง้ั สามมาใหน้ าง ว. และกลับไปเย่ียมบุตรผเู้ ยาวท์ ้ังสามอยา่ งสม่�ำเสมอ ทจี่ ำ� เลยอ้าง
ว่ามีรายได้จากการขับรถแท็กซ่ีและการซ่อมรถยนต์เดือนละ ๕๐,๐๐๐ ถึง ๖๐,๐๐๐ บาท น้ัน
ก็ไม่ปรากฏหลักฐานอ่ืนที่จ�ำเลยน�ำมาแสดงเพ่ือเป็นการยืนยันถึงจ�ำนวนรายได้ดังกล่าว อีกทั้ง
พฤติการณ์ความประพฤติของโจทก์ที่จ�ำเลยอ้างว่าโจทก์ชอบเท่ียวเตร่และเล่นการพนันก็มีแต่
คำ� เบกิ ความของจำ� เลยและนาง ส. เทา่ นนั้ แตน่ าย ส. พยานจำ� เลยอกี ปากหนง่ึ ซงึ่ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น
หมู่ที่ ๖ ต�ำบลหัวตะพาน เบิกความตอบคำ� ถามคา้ นของทนายโจทก์วา่ พยานเหน็ โจทก์อยู่บ้าน
เล้ียงบุตรเหมือนชาวบ้านท่ัวไป และไม่เคยเห็นโจทก์เล่นการพนัน ดังนี้ พยานหลักฐานของ
จ�ำเลยจึงยังไม่อาจรับฟังได้ว่าโจทก์มีพฤติกรรมในทางเสียหายดังกล่าว ส่วนท่ีจ�ำเลยอ้างว่า
107
โจทก์มีสามีใหม่แล้วก็เป็นข้อกล่าวอ้างที่เลื่อนลอยไม่อาจรับฟังได้เช่นกัน ท้ังปรากฏตาม
ค�ำเบิกความจ�ำเลยตอบค�ำถามค้านของทนายโจทก์ว่า จ�ำเลยเคยต้องโทษคดียาเสพติด และ
นาง ส. เบิกความตอบค�ำถามค้านของทนายโจทก์ว่า ปัจจุบันจ�ำเลยมีภริยาใหม่แล้วและมี
บุตรด้วยกัน ๒ คน นอกจากน้ีนาย ส. ก็เบิกความตอบค�ำถามค้านของทนายโจทก์เช่นกันว่า
ทราบว่าจ�ำเลยมภี รยิ าใหม่ ดงั น้ี ขอ้ เท็จจริงจงึ รับฟงั ได้ว่า จำ� เลยเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพติดอันเป็น
ความประพฤติท่ีเสียหาย ทั้งจ�ำเลยมีภริยาใหม่และมีภาระท่ีต้องอุปการะเล้ียงดูบุตรท่ีเกิดกับ
ภริยาใหม่อีกถึง ๒ คน การที่จ�ำเลยจะน�ำบุตรผู้เยาว์ท้ังสามมาอุปการะเล้ียงดูและพักอาศัย
อยู่ดว้ ยย่อมต้องอาศยั นางสอนช่วยดูแล ซ่งึ ปัจจบุ นั นาง ส. อายุ ๗๖ ปี ถอื วา่ อยใู่ นวัยชรามาก
แล้วย่อมดูแลบุตรผู้เยาว์ทั้งสามของโจทก์กับจ�ำเลยไม่ท่ัวถึง ประกอบกับนาง ส. มิได้ประกอบ
อาชีพ จ�ำเลยย่อมมีภาระเพ่ิมเติมข้ึนอีกจนอาจจะเกินก�ำลังความสามารถของจ�ำเลย เม่ือค�ำนึง
ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ของบตุ รผเู้ ยาวท์ งั้ สามของโจทกก์ บั จำ� เลยทงั้ การไดร้ บั ความอบอนุ่ การเลย้ี งดู
การได้รับการศึกษา ตลอดจนสภาพจิตใจและอนาคต ประกอบกับความประพฤติของโจทก์กับ
จ�ำเลยและสถานะทางเศรษฐกิจแล้ว โจทก์เหมาะสมท่ีจะเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์
ท้ังสามมากกว่าจ�ำเลย ท่ีศาลช้ันต้นพิพากษาให้โจทก์เป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครอง เด็กหญิง อ.
เด็กหญิง จ. และเด็กชาย ศ. แต่เพียงผู้เดียวน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วย
อทุ ธรณ์ของจำ� เลยฟังไมข่ น้ึ
อนึ่ง ท่ีศาลช้ันต้นไม่ก�ำหนดให้จ�ำเลยช�ำระค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ท้ังสามโดย
วินิจฉัยว่า โจทก์เบิกความว่า โจทก์ไม่ต้องการเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดูใด ๆ จึงไม่ก�ำหนด
ให้น้ัน เห็นว่า ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหน่ึง บัญญัติว่า
บิดามารดาจ�ำต้องอุปการะเล้ียงดูและให้การศึกษาตามสมควรแก่บุตรในระหว่างท่ีเป็นผู้เยาว์
และสิทธิท่ีจะได้ค่าอุปการะเล้ียงดูนั้น จะสละมิได้ตามมาตรา ๑๕๙๘/๔๑ จ�ำเลยซ่ึงเป็นบิดา
ชอบด้วยกฎหมายมีหน้าที่ต้องอุปการะเล้ียงดูบุตรผู้เยาว์ทั้งสาม โจทก์ในฐานะมารดาไม่อาจ
สละสิทธิในการท่ีบุตรผู้เยาว์ท้ังสามจะได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจากจ�ำเลย จึงไม่ท�ำให้สิทธิได้รับ
ค่าอุปการะเล้ียงดูของบุตรผู้เยาว์ทั้งสามเสียไป เม่ือค�ำนึงถึงหน้าท่ีในการเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์
ทั้งสามร่วมกันของโจทก์กับจ�ำเลยและภาระในการอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ทั้งสามของโจทก์
ซึ่งเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครอง ท่ีโจทก์ขอให้จ�ำเลยช�ำระค่าอุปการะเล้ียงดูบุตรผู้เยาว์ท้ังสาม
คนละ ๓,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟ้องจนกว่าบุตรผู้เยาว์ท้ังสามจะบรรลุนิติภาวะน้ัน เห็นว่า
เป็นจ�ำนวนที่เหมาะสม เน่ืองจากไม่เป็นภาระแก่จ�ำเลยมากนัก ปัญหาในข้อนี้แม้ไม่มี
108
คู่ความฝ่ายใดอุทธรณ์ แต่เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของ
ประชาชน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นควรหยิบยกขึ้นวินิจฉัยแล้วพิพากษาคดีไปได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๘๒
พพิ ากษาแกเ้ ปน็ วา่ ใหจ้ ำ� เลยชำ� ระคา่ อปุ การะเลยี้ งดบู ตุ รผเู้ ยาวท์ งั้ สามคนละ ๓,๐๐๐ บาท
ให้แก่โจทก์ นับถัดจากฟ้อง (ฟ้องวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๙) เป็นต้นไปจนกว่าบุตรผู้เยาว์
แตล่ ะคนจะบรรลนุ ติ ภิ าวะ นอกจากทแ่ี กใ้ หเ้ ปน็ ไปตามคำ� พพิ ากษาศาลชนั้ ตน้ คา่ ฤชาธรรมเนยี ม
ในชน้ั อุทธรณ์ใหเ้ ปน็ พบั .
(เผดมิ เพ็ชรกลู - ชารียา เดน่ นินนาท - อนิ ทริ า ฉิวรัมย)์
ฉันทนา ชมพานิชย์ - ย่อ
นรนิ ทร์ ทองค�ำใส - ตรวจ
109
คำ� พิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นัญพเิ ศษท่ี ๔๕๗๔/๒๕๖๑ นางสาว ป.
มารดาผแู้ ทนโดยชอบธรรม
ของเด็กชาย บ. โจทก์
นาย ฮ. จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๗, ๑๕๕๗, ๑๕๖๔
แม้ก่อนท่ีศาลมีค�ำพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของจ�ำเลย
จ�ำเลยยังไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่ต้องอุปการะเล้ียงดูผู้เยาว์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๔
วรรคหน่ึง แต่ตามมาตรา ๑๕๔๗ บัญญัติให้เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มิได้สมรสกัน
จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายต่อเมื่อบิดามารดาได้สมรสกันในภายหลังหรือบิดา
ได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร และมาตรา ๑๕๕๗ ก�ำหนดว่า
การเป็นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายตามมาตรา ๑๕๔๗ ให้มผี ลนบั แต่วนั ทีเ่ ดก็ เกิด ดงั นน้ั เงนิ ท่ี
จ�ำเลยช�ำระเพื่อเป็นค่าอุปการะเล้ียงดูผู้เยาว์ในระหว่างอยู่กินฉันสามีภริยากับโจทก์ก่อน
ท่ีศาลชั้นต้นจะมีค�ำพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของจ�ำเลยจึงเป็นเงิน
ที่จ�ำเลยช�ำระตามหน้าที่ธรรมจรรยาและตามหน้าที่ในฐานะบิดาชอบด้วยกฎหมายของ
ผู้เยาว์ตามบทบัญญัติดังกล่าว หาใช่เป็นการช�ำระค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์แทนโจทก์
ตามท่ีจ�ำเลยอ้างไม่ ส่วนเงินที่จ�ำเลยใช้จ่ายนอกจากส่วนที่ช�ำระเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดู
ผู้เยาว์น้ันเป็นการใช้จ่ายในการด�ำรงชีพตามปกติระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยและเป็น
ไปตามความสมคั รใจของจำ� เลยเอง จำ� เลยจงึ ไมอ่ าจเรยี กรอ้ งเงนิ ดงั กลา่ วคนื จากโจทกไ์ ด้
_____________________________
โจทกฟ์ อ้ ง ขอใหพ้ พิ ากษาวา่ ผเู้ ยาวเ์ ปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของจำ� เลย และใหจ้ ำ� เลย
ชำ� ระค่าอุปการะเลยี้ งดผู เู้ ยาวป์ ลี ะ ๖๐๐,๐๐๐ บาท นับแตว่ ันฟ้องจนกวา่ ผเู้ ยาว์จะบรรลุนติ ิภาวะ
เป็นเวลา ๙ ปี รวมเป็นเงนิ ๕,๔๐๐,๐๐๐ บาท
จ�ำเลยใหก้ ารและฟอ้ งแยง้ ขอใหย้ กฟอ้ งและบงั คบั ให้โจทก์ช�ำระเงิน ๓,๒๕๐,๐๐๐ บาท
พร้อมดอกเบย้ี อตั รารอ้ ยละ ๗.๕ ต่อปี นับแตว่ ันฟอ้ งแยง้ เป็นต้นไปจนกวา่ จะชำ� ระเสรจ็ แก่จำ� เลย
110
โจทกใ์ ห้การแกฟ้ ้องแยง้ ขอให้ยกฟ้องแยง้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของจ�ำเลย ให้จ�ำเลยช�ำระ
คา่ อปุ การะเล้ยี งดผู เู้ ยาวแ์ ก่โจทกเ์ ดอื นละ ๒๐,๐๐๐ บาท นบั แต่วนั ฟอ้ ง (ฟอ้ งวนั ที่ ๕ กรกฎาคม
๒๕๖๐) เป็นต้นไปจนกว่าโจทก์จะบรรลุนิติภาวะ ค�ำขออ่ืนของโจทก์ให้ยกและยกฟ้องแย้งของ
จ�ำเลย ค่าฤชาธรรมเนยี มใหเ้ ป็นพับ
จำ� เลยอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริง
รับฟังเป็นยุติตามค�ำพิพากษาศาลช้ันต้นว่า โจทก์กับจ�ำเลยอยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้จด
ทะเบยี นสมรสตงั้ แต่ปี ๒๕๔๘ มีบุตรดว้ ยกนั ๑ คน คือ เด็กชาย บ. ผูเ้ ยาว์ อายุ ๑๑ ปี เศษ ต่อมา
เมอ่ื ประมาณกลางปี ๒๕๕๘ โจทก์พบวา่ จ�ำเลยมภี ริยาอกี คนอยทู่ ี่ตา่ งประเทศและมีบตุ รดว้ ยกัน
หลังจากน้ันโจทก์กับจ�ำเลยทะเลาะกันแล้วจ�ำเลยออกจากบ้านไปไม่กลับมาอยู่กับโจทก์อีกและ
ไมใ่ หก้ ารอปุ การะเลี้ยงดูผูเ้ ยาว์อีกต่อไป
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยประการแรกว่า ศาลชั้นต้นก�ำหนด
ค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์ในอัตราที่เหมาะสมหรือไม่ เห็นว่า โจทก์อ้างตนเองเป็นพยานเบิกความว่า
จ�ำเลยประกอบอาชพี วิศวกร มีรายไดเ้ ดอื นละประมาณ ๙๐๐,๐๐๐ บาท ถึง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
และประกอบธุรกิจโรงเรียนอนุบาลท่ีประเทศสหราชอาณาจักร ๔ แห่ง มีครูอยู่ในความดูแล
๑๗๕ คน ตามนามบตั รของโรงเรยี น ซง่ึ จำ� เลยเคยพาโจทกไ์ ปดโู รงเรยี นอนบุ าลทงั้ ๔ แหง่ แตโ่ จทก์
ไม่ทราบรายได้จากกิจการดังกล่าว ส่วนโจทก์ไม่ได้ประกอบอาชีพใด ระหว่างที่โจทก์กับจ�ำเลย
อยกู่ นิ ฉนั สามภี รยิ า จำ� เลยเปน็ ผชู้ ำ� ระคา่ ใชจ้ า่ ยในบา้ นและคา่ ศกึ ษาเลา่ เรยี นของผเู้ ยาวท์ งั้ หมดโดย
ใหผ้ เู้ ยาวเ์ ขา้ ศกึ ษาทโ่ี รงเรยี นนานาชาติ ด. จงั หวดั ชลบรุ ี ตง้ั แตผ่ เู้ ยาวอ์ ายุ ๓ ปี แตห่ ลงั จากจำ� เลย
ออกจากบา้ นไปแลว้ จ�ำเลยไมช่ ำ� ระคา่ เทอมใหแ้ กโ่ รงเรยี นนานาชาติ ด. จนผเู้ ยาวถ์ กู ไลอ่ อก โจทก์
จงึ ใหผ้ เู้ ยาวไ์ ปศกึ ษาทโี่ รงเรยี น ร. ซงึ่ มคี า่ ใชจ้ า่ ยเปน็ คา่ เทอม เทอมละ ๖๓,๐๐๐ บาท คา่ ธรรมเนยี ม
แรกเข้า ๓๐,๐๐๐ บาท ตามส�ำเนาเอกสารแสดงรายละเอียดรายการค้างช�ำระของโรงเรียน ร.
เม่ือรวมกับค่าชุดนักเรียนและค่าหนังสือแล้วเป็นเงิน ๑๑๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงในปีต่อไปจะต้องจ่าย
ค่าเทอมเพ่ิมขน้ึ เปน็ เทอมละ ๙๐,๐๐๐ บาท ตามแผน่ พับของโรงเรียน ร. นอกจากนี้ผู้เยาวย์ ังมี
คา่ ใชจ้ า่ ยประจำ� วนั ประมาณเดอื นละ ๒๐,๐๐๐ บาท คา่ เรยี นพเิ ศษภาษาไทยเดอื นละ ๘,๐๐๐ บาท
ตามส�ำเนาเอกสารและสำ� เนาใบเสรจ็ รับเงิน และโจทกป์ ระสงคจ์ ะทำ� ประกันสุขภาพใหแ้ กผ่ ูเ้ ยาว์
ซ่ึงต้องจ่ายค่าประกันสุขภาพปีละ ๑๙,๗๑๖ บาท ตามข้อเสนอความคุ้มครองประกันสุขภาพ
ถึงแม้โจทก์ไม่มีหลักฐานการประกอบอาชีพของจ�ำเลยตามค�ำเบิกความของโจทก์มายืนยันว่า
จ�ำเลยประกอบอาชีพวิศวกรและมีรายได้จากการประกอบกิจการโรงเรียนอนุบาลที่ประเทศ
111
สหราชอาณาจักร ๔ แหง่ ดังทโ่ี จทกก์ ลา่ วอา้ ง แตเ่ ม่ือตามค�ำใหก้ ารของจำ� เลยปรากฏว่าจ�ำเลย
ยอมรับว่าจ�ำเลยประกอบอาชีพวิศวกรและมีธุรกิจที่ต่างประเทศจริงเพียงแต่อ้างว่าปัจจุบัน
จ�ำเลยป่วยเป็นโรคหัวใจ ไม่อาจท�ำงานได้และจ�ำเลยไม่มีธุรกิจท่ีต่างประเทศแล้ว ซ่ึงเป็นการ
ยอมรับว่าจ�ำเลยเคยประกอบอาชีพเป็นวิศวกรและมีกิจการโรงเรียนอนุบาลที่ประเทศสหราช
อาณาจกั รตามฟอ้ งของโจทก์จริง เม่อื จำ� เลยให้การและเบกิ ความยอมรบั วา่ ก่อนท่ีจ�ำเลยเลกิ รา้ ง
กับโจทก์ จ�ำเลยเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบช�ำระค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับผู้เยาว์และค่าใช้จ่ายในบ้าน
ท้ังหมดเพียงผู้เดียว ส่วนโจทก์มีหน้าที่เพียงเลี้ยงดูผู้เยาว์และดูแลจ�ำเลยย่อมแสดงให้เห็นว่า
ในช่วงเวลาท่ีจ�ำเลยอยู่กินฉันสามีภริยากับโจทก์ระหว่างปี ๒๕๔๘ ถึงปี ๒๕๕๙ ก่อนท่ีจ�ำเลย
ออกจากบ้านไป จ�ำเลยมีรายได้จากการประกอบอาชีพวิศวกรและกิจการโรงเรียนอนุบาลใน
ประเทศสหราชอาณาจักรดังกล่าวมากเพียงพอท่ีสามารถจะใช้จ่ายเป็นค่าการศึกษาของผู้เยาว์
ท่ีศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ ด. ซง่ึ มคี า่ ใชจ้ า่ ยจ�ำนวนมาก รวมท้ังค่าใช้จ่ายของโจทก์และจ�ำเลย
ท่ีใช้จ่ายภายในบ้านท้ังหมดในขณะที่โจทก์กับจ�ำเลยอยู่กินด้วยกันได้โดยโจทก์ไม่ต้องประกอบ
อาชพี ใด สว่ นทจี่ ำ� เลยเบกิ ความวา่ ปจั จบุ นั จำ� เลยไมไ่ ดป้ ระกอบอาชพี มาประมาณ ๓ ปี เนอื่ งจาก
มีปัญหาด้านสุขภาพโดยมีเอกสารรับรองทางการแพทย์ตามส�ำเนาเอกสารลับด้านการแพทย์
มาแสดงนน้ั เหน็ วา่ เอกสารดังกลา่ วเปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ท่มี กี ารรับรองข้นึ เมอื่ ปี ๒๕๔๘ ซ่งึ เป็นชว่ ง
เวลาที่จ�ำเลยอยู่กินฉันสามีภริยากับโจทก์และจ�ำเลยยังดูแลค่าใช้จ่ายในบ้านรวมท้ังค่าอุปการะ
เลี้ยงดูผู้เยาว์เพียงผู้เดียว ย่อมแสดงว่าความเจ็บป่วยของจ�ำเลยตามเอกสารดังกล่าวมีอยู่แล้ว
ตั้งแต่ขณะที่จ�ำเลยอยู่กินกับโจทก์ และไม่ได้เป็นอุปสรรคในการท�ำงานของจ�ำเลยแต่อย่างใด
จึงไม่มีน�้ำหนักรับฟังว่าเพราะเหตุเจ็บป่วยดังกล่าวเพ่ิงจะท�ำให้จ�ำเลยประกอบอาชีพไม่ได้ใน
ระยะเวลา ๓ ปี ทผี่ ่านมา นอกจากเอกสารดงั กลา่ วแล้วจ�ำเลยไมม่ เี อกสารใดทีแ่ สดงให้เห็นได้ว่า
จ�ำเลยเจ็บป่วยจนไม่อาจประกอบอาชีพได้ ท้ังเม่ือพิจารณาลักษณะการด�ำเนินชีวิตของจ�ำเลย
ในขณะอยู่กับภริยาอีกคนของจ�ำเลยซ่ึงเป็นชาวฟิลิปปินส์ตามสถานท่ีต่าง ๆ ตามที่ปรากฏใน
ภาพถ่าย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการท่องเท่ียวในสถานที่ต่าง ๆ หลายแห่งยิ่งแสดงให้เห็นว่าจ�ำเลย
มิได้เจ็บป่วยจนถึงขนาดไม่สามารถประกอบอาชีพใดได้ดังท่ีจ�ำเลยอ้าง ส�ำหรับการที่จ�ำเลย
เบิกความว่า กิจการโรงเรียนอนุบาลท่ีประเทศสหราชอาณาจักรเป็นของบุตรจ�ำเลย โดยจ�ำเลย
เพียงแต่ได้เงินเดือนจากบุตรเป็นค่าใช้จ่ายเดือนละ ๒๕,๐๐๐ บาท น้ัน เห็นว่า จ�ำเลย
เบกิ ความตอบคำ� ถามคา้ นของทนายโจทกย์ อมรบั วา่ นามบตั รตามเอกสารเปน็ นามบตั รของจำ� เลย
ซึ่งระบุว่าจ�ำเลยมีฐานะเป็นผู้บริหารของโรงเรียน โดยจ�ำเลยไม่มีพยานหลักฐานใดที่แสดงว่า
112
กิจการโรงเรียนอนุบาลดังกล่าวเป็นเพียงกิจการของบุตรจ�ำเลย ไม่ใช่กิจการของจ�ำเลย ข้ออ้าง
ของจ�ำเลยจึงไม่มีน�้ำหนักรับฟัง และเม่ือข้อเท็จจริงได้ความตามค�ำเบิกความของจ�ำเลยอีกว่า
จำ� เลยยงั มีทรัพย์สนิ ในประเทศไทยเป็นบ้าน ๑ หลงั คอนโดมเิ นยี ม ๑๑ หอ้ ง และทดี่ ินทจ่ี งั หวัด
ขอนแก่นซึ่งอยู่ระหว่างการฟ้องคดีกับโจทก์ตามส�ำเนาค�ำพิพากษาคดีแพ่งหมายเลขแดง
ที่ ๑๕๐๘/๒๕๖๐ ของศาลจังหวัดพัทยา ซึ่งปรากฏตามส�ำเนาค�ำพิพากษาดังกล่าวว่า จ�ำเลย
เปน็ เจา้ ของกรรมสิทธิ์ทดี่ นิ ที่จังหวดั ขอนแกน่ ๕ แปลง ดงั นั้น เมอื่ พจิ ารณาถงึ ฐานะของจ�ำเลย
ดังกล่าวกับฐานะของโจทก์ซึ่งไม่ได้ประกอบอาชีพใดแล้ว ข้อเท็จจริงจึงฟังได้ว่า จ�ำเลยยังอยู่ใน
ฐานะที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์ได้ ประกอบกับเมื่อพิจารณาถึงพฤติการณ์ท่ีจ�ำเลยทอดทิ้ง
ผู้เยาว์ให้อยู่ในความดูแลของโจทก์ท�ำให้โจทก์ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการเล้ียงดูผู้เยาว์เพียง
ฝ่ายเดียวตลอดมาตั้งแต่ประมาณกลางปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน เม่ือพิจารณาถึงค่าใช้จ่าย
ในอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาของผู้เยาว์ตามที่โจทก์เบิกความและอ้างส่งเอกสารของ
สถานศึกษาประกอบแล้ว ที่ศาลชั้นต้นก�ำหนดให้จ�ำเลยช�ำระค่าอุปการะเล้ียงดูผู้เยาว์เดือนละ
๒๐,๐๐๐ บาท นับแต่วันฟ้องจนกว่าผู้เยาว์จะบรรลุนิติภาวะ จึงเป็นจ�ำนวนที่เหมาะสมแล้ว
ศาลอทุ ธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเหน็ พอ้ งด้วย อุทธรณข์ ้อนข้ี องจำ� เลยฟังไมข่ ึ้น
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยประการต่อไปว่า โจทก์ต้องคืนเงิน
๓,๒๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่จ�ำเลยตามฟ้องแย้งหรือไม่ เห็นว่า แม้ก่อนที่ศาลมีค�ำพิพากษาว่า
ผูเ้ ยาว์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของจำ� เลย จ�ำเลยยงั ไมม่ ีหน้าทีต่ ามกฎหมายท่ีต้องอุปการะเลย้ี งดู
ผเู้ ยาวต์ ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนงึ่ แตต่ ามมาตรา ๑๕๔๗
บญั ญตั ใิ หเ้ ดก็ เกดิ จากบดิ ามารดาทมี่ ไิ ดส้ มรสกนั จะเปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายตอ่ เมอื่ บดิ ามารดา
ได้สมรสกันในภายหลังหรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร และ
มาตรา ๑๕๕๗ กำ� หนดว่า การเป็นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายตามมาตรา ๑๕๔๗ ให้มีผลนบั แตว่ ันท่ี
เด็กเกิด ดังนั้น เงินท่ีจ�ำเลยช�ำระเพ่ือเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์ในช่วงเวลาที่จ�ำเลยอยู่กิน
ฉันสามีภริยากับโจทก์ก่อนที่ศาลชั้นต้นจะมีค�ำพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
ของจ�ำเลยจึงเป็นเงินท่ีช�ำระตามหน้าที่ธรรมจรรยาและหน้าที่ในฐานะบิดาชอบด้วยกฎหมาย
ของผู้เยาว์ตามบทบัญญัติดังกล่าว หาใช่เป็นการช�ำระค่าอุปการะเล้ียงดูแทนโจทก์ตามที่
จ�ำเลยอ้างไม่ และเม่ือจ�ำเลยเบิกความตอบค�ำถามค้านของทนายโจทก์ว่า ระหว่างท่ีโจทก์กับ
จ�ำเลยอยู่กินฉันสามีภริยา จ�ำเลยกับโจทก์ตกลงกันว่าจ�ำเลยจะเป็นผู้ท�ำงานหาเงินมาเล้ียง
ครอบครัว ส่วนโจทก์มีหน้าท่ีเลี้ยงดูผู้เยาว์และดูแลจ�ำเลย ข้อเท็จจริงจึงฟังได้ว่า เงินท่ีจ�ำเลย
113
ใชจ้ า่ ยในระหวา่ งทอ่ี ยกู่ นิ ฉนั สามภี รยิ ากบั โจทกน์ อกจากเปน็ การใชจ้ า่ ยเพอ่ื ชำ� ระคา่ อปุ การะเลยี้ งดู
ผู้เยาว์แล้วยังเป็นการใช้จ่ายในการด�ำรงชีพตามปกติระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยด้วย และเป็นไปตาม
ขอ้ ตกลงดว้ ยความสมคั รใจของจำ� เลยเอง จำ� เลยจงึ ไมอ่ าจเรยี กรอ้ งจำ� นวนเงนิ ทไ่ี ดใ้ ชจ้ า่ ยดงั กลา่ ว
คืนจากโจทก์ได้ ค�ำพิพากษาศาลช้ันต้นท่ีให้ยกฟ้องแย้งของจ�ำเลยชอบแล้ว ศาลอุทธรณ์
คดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ พอ้ งด้วย อุทธรณข์ อ้ นี้ของจ�ำเลยฟงั ไม่ขึ้นเชน่ กัน
อนึ่ง คดีน้ีเป็นการฟ้องคดีโดยโจทก์ซ่ึงเป็นมารดาฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๕๖ ผเู้ ยาวจ์ ึงมใิ ช่โจทกโ์ ดยตรงในคดี ดงั น้นั ท่ศี าลชนั้ ต้น
พิพากษาว่าโจทก์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของจ�ำเลยและให้จ�ำเลยช�ำระค่าอุปการะเล้ียงดู
ผู้เยาว์แก่โจทก์จนกว่าโจทก์จะบรรลุนิติภาวะ จึงไม่ถูกต้อง เห็นสมควรแก้ไข และคดีนี้จ�ำเลย
อทุ ธรณเ์ ฉพาะเรอื่ งคา่ อปุ การะเลย้ี งดซู งึ่ ไดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ อ้ งช�ำระคา่ ขนึ้ ศาลและคา่ ฤชาธรรมเนยี ม
ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕๕ การท่ีศาลช้ันต้นเรียกเก็บค่าขึ้นศาลในช้ันอุทธรณ์ ๒๐๐ บาท กับ
ค่าสง่ คำ� คคู่ วาม ๘๐๐ บาท มาดว้ ย จงึ ไม่ถกู ตอ้ งเหน็ สมควรคนื แก่จำ� เลย
พพิ ากษาแกเ้ ปน็ ว่า เดก็ ชาย บ. ผ้เู ยาว์ เปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของจ�ำเลย และให้
จ�ำเลยช�ำระคา่ อุปการะเล้ียงดผู เู้ ยาวน์ บั แตว่ ันฟ้อง (ฟอ้ งวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐) เปน็ ตน้ ไป
จนกวา่ ผเู้ ยาวจ์ ะบรรลนุ ติ ภิ าวะ และใหค้ นื เงนิ คา่ ขนึ้ ศาลในชน้ั อทุ ธรณแ์ ละคา่ สง่ คำ� คคู่ วามทงั้ หมด
แกจ่ ำ� เลย นอกจากท่ีแกใ้ ห้เปน็ ไปตามคำ� พพิ ากษาศาลชัน้ ตน้ .
(รัชดาพร เสนียว์ งศ์ ณ อยธุ ยา - อุเทน ศิรสิ มรรถการ - รตั นา กติ ติพบิ ลู ย์)
นชิ ญา ปราณีจติ ต์ - ยอ่
พิทักษ์ หลิมจานนท์ - ตรวจ
114
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณ์คดชี ำ� นัญพเิ ศษที่ ๑๐๕/๒๕๖๓ นางสาว น. โจทก์
นาย ช. จำ� เลย
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๘/๔๑
ป.วิ.พ. มาตรา ๓๐๒, ๓๒๖ วรรคหนึ่ง
สทิ ธทิ จ่ี ะไดค้ า่ อปุ การะเลยี้ งดไู มอ่ ยใู่ นขา่ ยแหง่ การบงั คบั คดตี าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๕๙๘/๔๑ นั้นผลแห่งการที่ไมอ่ ยใู่ นข่ายแหง่ การบงั คบั คดี ทําใหเ้ จา้ หนี้ตามคําพิพากษา
ไม่มีสิทธิยึดหรืออายัดเงินค่าอุปการะเล้ียงดูเพ่ือนํามาชําระหน้ีตามคําพิพากษาได้
สําหรบั กรณีนีเ้ ปน็ เรอ่ื งท่ีโจทกใ์ นคดีหมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลช้ันตน้ ใชส้ ทิ ธิ
การเป็นเจ้าหน้ีตามคําพิพากษาอายัดเงินตอบแทนกรณีออกจากงานของจําเลย แม้จะ
เป็นการอายัดเงินเพ่ือมาชําระหนี้ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรก็ตาม แต่ปรากฏว่าเงินที่มี
การอายัดน้ัน เป็นของนายจ้างจําเลยซึ่งจําเลยจะมีสิทธิได้เงินตอบแทนกรณีจําเลย
ต้องออกจากงานเท่านั้น และเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ยังไม่มีการส่งเงินดังกล่าวมาให้แก่
เจ้าหนี้ตามคําพิพากษา เงินท่ีอายัดไว้ดังกล่าวจึงมิใช่สิทธิที่จะได้ค่าอุปการะเลี้ยงดู
ท่ีไม่อยู่ในข่ายแห่งการบังคับคดี โจทก์ย่อมมีสิทธิขอเฉล่ียเงินตอบแทนกรณีออกจาก
งานของจําเลยทีม่ ีการขออายดั ไว้ได้
______________________________
คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลชน้ั ตน้ พพิ ากษาตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความระหวา่ งโจทก์
กับจ�ำเลยว่า จำ� เลยยินยอมจ่ายค่าอุปการะเลย้ี งดูเดก็ หญงิ ช. และเดก็ ชาย น. บุตรผ้เู ยาว์ท้ังสอง
เดอื นละ ๕๐,๐๐๐ บาท นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป และทกุ วันท่ี ๓ ของเดอื น
ถัดไปจนกวา่ บตุ รผเู้ ยาวท์ ้งั สองจะอายุครบ ๒๐ ปี บรบิ ูรณ์ หรือจบการศกึ ษาระดบั ช้นั ปรญิ ญาตรี
และจ�ำเลยยินยอมจ่ายค่าการศึกษาอบรมบุตรผู้เยาว์ทั้งสองตามความเป็นจริงนับต้ังแต่
วันท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นต้นไปจนกว่าบุตรผู้เยาว์ท้ังสองจะอายุครบ ๒๐ ปี
บรบิ รู ณ์ หรอื จบการศกึ ษาระดบั ชน้ั ปรญิ ญาตรี วธิ กี ารชำ� ระเงนิ ใหจ้ ำ� เลยโอนเงนิ เขา้ บญั ชธี นาคาร
กสกิ รไทย จำ� กดั (มหาชน) ชอ่ื บญั ชโี จทก์ ตอ่ มาเดอื นมกราคม ๒๕๖๐ จำ� เลยไมป่ ฏบิ ตั ติ ามสญั ญา
ประนปี ระนอมยอมความ ศาลชนั้ ต้นออกหมายบังคบั คดตี ้งั เจ้าพนกั งานบังคบั คดี
115
เมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ โจทก์ยื่นค�ำร้องขอคัดค้านค�ำสั่งเจ้าพนักงานบังคับคดี
ว่า โจทก์เคยยื่นค�ำร้องขอเฉล่ียทรัพย์ในคดีหมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ของศาลชั้นต้น
ศาลช้ันต้นมีค�ำสั่งยกค�ำร้องขอเฉล่ียทรัพย์เพราะหน้ีที่โจทก์ขอเฉลี่ยทรัพย์ในคดีดังกล่าว
เปน็ หนท้ี เี่ กดิ จากสทิ ธใิ นคา่ อปุ การะเลยี้ งดบู ตุ ร ซงึ่ สทิ ธทิ จ่ี ะไดค้ า่ อปุ การะเลยี้ งดไู มอ่ ยใู่ นขา่ ยแหง่
การบังคับคดี ตอ่ มาวนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ โจทก์ย่ืนคำ� ร้องขอต่อเจา้ พนกั งานบังคบั คดีให้
อายดั เงนิ ตอบแทนการทำ� งานเปน็ ครงั้ คราว เงนิ โบนสั ประจำ� ปแี ละเงนิ ตอบแทนกรณอี อกจากงาน
ของจ�ำเลยเพ่ิมเติม เจ้าพนักงานบังคับคดีมีค�ำสั่งว่า สิทธิเรียกร้องทั้งสามประเภทดังกล่าว
ของจ�ำเลยถูกอายัดไว้เต็มจ�ำนวนแล้วในคดีหมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลชั้นต้น
จึงยกค�ำร้องขออายัดของโจทก์ โจทก์ไม่เห็นด้วยกับค�ำสั่งดังกล่าวของเจ้าพนักงานบังคับคดี
เน่ืองจากจ�ำเลยเป็นหนี้ตามค�ำพิพากษาตามยอมซึ่งเป็นหนี้ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรตาม
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๕๔ และมาตรา ๑๖๒ ประกอบประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณความแพ่ง มาตรา ๒๘๖ (๓)
หรือมาตรา ๓๐๒ (๓) (ท่ีแก้ไขใหม่) ให้เงินทั้งสามประเภทดังกล่าวอยู่ในความรับผิดแห่งการ
บังคับคดีเป็นจ�ำนวนตามท่ีศาลเห็นสมควร โดยค�ำนึงถึงฐานะทางครอบครัวของลูกหนี้ตาม
ค�ำพิพากษา จ�ำนวนผู้สืบสันดานซึ่งอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของลูกหนี้ตามค�ำพิพากษาด้วย
โจทก์เป็นเจ้าหน้ีตามค�ำพิพากษาชอบท่ีจะบังคับคดีเอากับเงินดังกล่าวเพ่ือช�ำระค่าอุปการะเลี้ยงดู
บุตรได้ ประกอบกับจ�ำเลยเป็นบิดาของบุตรผู้เยาว์ท้ังสองในคดีน้ีและในคดีหมายเลขแดงที่
พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลช้ันตน้ จำ� เลยมีหน้าที่ต้องอปุ การะเล้ยี งดูบตุ รให้เสมอภาคและเท่าเทียมกัน
อีกท้ังพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕๔ และมาตรา ๑๖๒ เปน็ กฎหมายพเิ ศษทใ่ี หอ้ ำ� นาจศาลหรอื เจา้ พนกั งาน
บังคับคดีมีค�ำส่ังอายัดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวของจ�ำเลยได้โดยไม่ถือว่าเป็นการอายัดซ�้ำตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๓๒๖ ขอให้วินิจฉัยสิทธิเรียกร้องของจ�ำเลย
ท่ีเป็นเงินโบนัสประจ�ำปี เงินตอบแทนกรณีออกจากงานและเงินตอบแทนการท�ำงาน
เป็นคร้ังคราวให้อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีเป็นจ�ำนวนตามที่ศาลเห็นสมควร และให้
มีค�ำส่ังให้เจ้าพนักงานบังคับคดีท�ำการเฉลี่ยเงินท้ังสามประเภทดังกล่าวในคดีหมายเลขแดงท่ี
พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลชนั้ ต้น ให้แกโ่ จทก์
ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งว่า เมื่อได้ค�ำนึงถึงฐานะในทางครอบครัวของจ�ำเลยลูกหน้ีตาม
ค�ำพิพากษา จ�ำนวนผู้สืบสันดานท่ีอยู่ในความอุปการะของจ�ำเลยตามค�ำพิพากษาตามยอม
ดังกล่าว อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๕๔ ประกอบมาตรา ๑๖๒ แห่งพระราชบัญญัติ
116
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงมีค�ำส่ัง
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีอายัดสิทธิเรียกร้องในเงินโบนัสส่วนท่ีเหลือเพ่ิมเติมอีกอัตราร้อยละ
๕๐ กับเงินตอบแทนการท�ำงานเป็นครั้งคราวส่วนที่เหลือเพิ่มเติมอีกอัตราร้อยละ ๓๐ ที่จ�ำเลย
มสี ทิ ธไิ ด้รบั ใหแ้ กโ่ จทก์ ค�ำขออนื่ นอกจากนใ้ี ห้ยก ค่าฤชาธรรมเนยี มให้เป็นพบั
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า ที่ศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังยกค�ำร้องของโจทก์ในส่วนที่ขอให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีอายัดเงินตอบแทนกรณีออกจากงานของจ�ำเลยเพิ่มเติม ชอบหรือไม่
เห็นว่า พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ บัญญัติว่า “ให้น�ำบทบัญญัติแห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง...มาใช้บังคับ
แก่คดีเยาวชนและครอบครัวเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้”
ซึ่งในเรื่องที่เก่ียวกับการบังคับคดีตามค�ำพิพากษาหรือค�ำส่ังคดีครอบครัวนั้นตามพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่ได้
มบี ทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั วธิ กี ารบงั คบั คดไี วโ้ ดยเฉพาะ ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งนำ� บทบญั ญตั ปิ ระมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพ่งในส่วนท่เี ก่ยี วกับการบงั คบั คดมี าใช้บังคับ ซงึ่ การอายดั สิทธิเรียกรอ้ งของ
ลูกหนี้ตามค�ำพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๓๒๖ วรรคหน่ึง
บัญญัติว่า “เม่ือมีการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องอย่างใดของลูกหนี้ตามค�ำพิพากษา
เพ่ือเอาช�ำระหนี้แก่เจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษารายหนึ่งแล้ว ห้ามไม่ให้เจ้าหน้ีตามค�ำพิพากษาอื่น
ด�ำเนินการให้มีการยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องนั้นซ้�ำอีก แต่ให้มีสิทธิย่ืนค�ำร้องต่อศาล
ที่ออกหมายบังคับคดี ขอให้มีค�ำสั่งให้ตนเข้าเฉล่ียในทรัพย์สินหรือเงินที่ได้จากการขายหรือ
จ�ำหน่ายทรัพย์สินจากการยึดหรืออายัดนั้นได้ตามส่วนแห่งจ�ำนวนหน้ีตามค�ำพิพากษา” เมื่อ
ข้อเท็จจริงได้ความว่า เจ้าพนักงานบังคับคดีได้มีการอายัดเงินตอบแทนกรณีออกจากงานของ
จ�ำเลยเพื่อช�ำระหนี้แก่โจทก์ในคดีหมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลชั้นต้น ซ่ึงเป็นเจ้าหนี้
ตามค�ำพิพากษารายหนึ่งไว้เต็มจ�ำนวนแล้ว โจทก์คดีน้ีซึ่งเป็นเจ้าหน้ีตามค�ำพิพากษาอื่นของ
จ�ำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ตามค�ำพิพากษาคนเดียวกันในคดีหลัง จึงต้องห้ามมิให้อายัดเงินตอบแทน
กรณีออกจากงานของจ�ำเลยซ่ึงเป็นสิทธิเรียกร้องเดียวกันซ�้ำอีกตามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๓๒๖ วรรคหนงึ่ ส่วนบทบัญญตั ิตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน
117
และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕๔ นั้น
เป็นเร่ืองท่ีกฎหมายก�ำหนดยกเว้นหลักการความรับผิดในการบังคับคดีว่า ในการบังคับคดี
ตามคำ� พพิ ากษาหรือคำ� ส่ังของศาลเพ่อื ชำ� ระค่าอุปการะเล้ยี งดูหรอื ค่าเลย้ี งชีพน้ัน สิทธิเรียกร้อง
เป็นเงนิ ของลกู หนีต้ ามค�ำพิพากษาตามมาตรา ๒๘๖ (๑) (๒) และ (๓) หรอื มาตรา ๓๐๒ (๑)
(๒) และ (๓) (ที่แก้ไขใหม่) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้อยู่ในความรับผิด
แห่งการบังคับคดีด้วยเท่านั้น ส่วนการก�ำหนดจ�ำนวนเงินเท่าใดให้เป็นดุลพินิจของศาลตาม
ที่เห็นสมควรโดยให้ศาลพิจารณาฐานะในทางครอบครัวของลูกหน้ีตามค�ำพิพากษา จ�ำนวน
บุพการีและผู้สืบสันดานซึ่งอยู่ในความอุปการะของลูกหนี้ตามค�ำพิพากษา ดังน้ัน บทบัญญัติ
ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕๔ ดังกล่าวจึงเป็นคนละเรื่องกับการอายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
ตามค�ำพิพากษาที่กฎหมายห้ามไม่ให้เจ้าหน้ีตามค�ำพิพากษาของลูกหนี้ตามค�ำพิพากษา
คนเดียวกันอายัดสิทธิเรียกร้องจ�ำนวนเดียวกันซ้�ำอีก การที่ศาลชั้นต้นน�ำบทบัญญัติประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๓๒๖ วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับจึงไม่ขัดหรือแย้งกับ
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
แต่อย่างใด อีกทั้งการอายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ตามค�ำพิพากษาเป็นเร่ืองในช้ันบังคับคดี
ซึ่งต้องใช้กฎหมายในส่วนวิธีสบัญญัติจึงไม่อาจน�ำบทบัญญัติตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ท่ีเป็นกฎหมายสารบัญญัติมาปรับใช้ได้ นอกจากน้ีศาลชั้นต้นก็มีค�ำพิพากษา
ตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความใหจ้ ำ� เลยจา่ ยเงนิ คา่ อปุ การะเลย้ี งดบู ตุ รผเู้ ยาวท์ งั้ สองในคดนี ้ี
เดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท และจ่ายคา่ การศึกษาบุตรผูเ้ ยาวท์ ั้งสองตามความเปน็ จริง แตป่ รากฏวา่
ในคดหี มายเลขแดงท่ี พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลชนั้ ตน้ จำ� เลยจา่ ยคา่ อปุ การะเลย้ี งดบู ตุ รผเู้ ยาวท์ ง้ั สอง
เพียงเดือนละ ๓๕,๐๐๐ บาท ซึ่งเป็นจ�ำนวนเงินที่น้อยกว่าบุตรผู้เยาว์ท้ังสองของโจทก์ในคดีน้ี
ประกอบกบั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๖๔ ก�ำหนดให้บดิ ามารดาจ�ำตอ้ ง
อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาตามสมควรแก่บุตรในระหว่างท่ีเป็นผู้เยาว์เท่านั้น แต่ไม่ได้
ก�ำหนดว่าบิดามารดาจะต้องจ่ายเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้เยาว์ทุกคนเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
ตามที่โจทก์อุทธรณ์แต่อย่างใด ท่ีศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังยกค�ำร้องของโจทก์ในส่วนท่ีขอให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีอายัดเงินตอบแทนกรณีออกจากงานของจ�ำเลยเพ่ิมเติมจึงชอบแล้ว อุทธรณ์ของโจทก์
ฟังไม่ขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม เม่ือโจทก์เป็นเจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิย่ืนค�ำร้องต่อศาล
ที่ออกหมายบังคับคดี ขอให้มีค�ำสั่งให้โจทก์เข้าเฉลี่ยเงินที่ได้จากการอายัดน้ันได้ตามส่วน
118
แหง่ จำ� นวนหนตี้ ามคำ� พพิ ากษาโดยอาศยั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๓๒๖
วรรคหน่ึง ส่วนท่ีโจทก์เคยยื่นค�ำร้องขอเฉล่ียทรัพย์ในคดีหมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ ของ
ศาลชน้ั ตน้ และศาลชน้ั ตน้ มคี ำ� สง่ั ยกคำ� รอ้ งขอเฉลย่ี ทรพั ยโ์ ดยวนิ จิ ฉยั วา่ หนท้ี โ่ี จทกข์ อเฉลยี่ ทรพั ย์
ในคดีดังกล่าวเป็นหนี้ท่ีเกิดจากสิทธิในค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร ซ่ึงสิทธิที่จะได้ค่าอุปการะเลี้ยงดู
ไมอ่ ยใู่ นขา่ ยแหง่ การบงั คบั คดตี ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๙๘/๔๑ เหน็ วา่
สิทธิท่ีจะได้ค่าอุปการะเลี้ยงดูไม่อยู่ในข่ายแห่งการบังคับคดีตามมาตรา ๑๕๙๘/๔๑ นั้น ตาม
กฎหมายมคี วามประสงคท์ จ่ี ะใหส้ ามภี รยิ า บดิ ามารดากบั บตุ รมรี ายไดห้ รอื เงนิ เลย้ี งชพี ตอ่ ไปเพอ่ื
ให้ครอบครัวสามารถด�ำรงอยู่ได้ด้วยความผาสุกตามควรแก่อัตภาพ ผลแห่งการที่ไม่อยู่ในข่าย
แห่งการบังคับคดีท�ำให้เจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษาไม่มีสิทธิยึดหรืออายัดเงินค่าอุปการะเล้ียงดูเพ่ือ
น�ำมาช�ำระหนี้ตามค�ำพิพากษาได้ กล่าวคือ เจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษาของบุตรจะมาขอยึดหรือ
อายัดเงินจ�ำนวนน้ีไม่ได้เพราะขัดต่อมาตรา ๑๕๙๘/๔๑ ส�ำหรับกรณีนี้เป็นเร่ืองที่โจทก์ในคดี
หมายเลขแดงที่ พ.๕/๒๕๖๐ ของศาลชั้นต้น ใช้สิทธิการเป็นเจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษาอายัดเงิน
ตอบแทนกรณอี อกจากงานของจ�ำเลย แม้จะเปน็ การอายัดเงินเพือ่ มาชำ� ระหนค้ี า่ อุปการะเล้ียงดู
บุตรก็ตาม แต่ปรากฏว่าเงินที่มีการอายัดนั้นเป็นของนายจ้างจ�ำเลยซึ่งจ�ำเลยจะมีสิทธิได้เงิน
ตอบแทนกรณีจ�ำเลยต้องออกจากงานเท่าน้ัน และเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ยังไม่มีการส่งเงิน
ดังกล่าวมาให้แก่เจ้าหนี้ตามค�ำพิพากษา เงินที่อายัดไว้ดังกล่าวจึงมิใช่สิทธิที่จะได้ค่าอุปการะ
เล้ียงดูบุตรท่ีไม่อยู่ในข่ายแห่งการบังคับคดี ดังน้ัน โจทก์ย่อมมีสิทธิขอเฉล่ียเงินตอบแทนกรณี
ออกจากงานของจำ� เลยที่มกี ารขออายัดไวไ้ ด้
อน่ึง ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕๕ บัญญัติว่า “ในการยื่นค�ำฟ้องหรือค�ำร้องตลอดจนการ
ดำ� เนนิ กระบวนพิจารณาใด ๆ ในคดคี รอบครัวเพือ่ เรียกคา่ อปุ การะเลย้ี งดูหรือค่าเล้ยี งชีพ ให้ได้
รบั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งชำ� ระคา่ ขนึ้ ศาลและคา่ ฤชาธรรมเนยี ม” กรณนี ค้ี ดมี เี ฉพาะประเดน็ คา่ อปุ การะ
เล้ียงดู จ�ำเลยจึงได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม ดังนั้น การท่ีศาลช้ันต้นพิพากษาให้ค่าฤชา
ธรรมเนียมเปน็ พบั จึงไมช่ อบ
พพิ ากษายนื แตย่ กค�ำส่งั ศาลชั้นต้นที่สั่งค่าฤชาธรรมเนียมใหเ้ ปน็ พับ.
(ประวิทย์ อทิ ธชิ ยั วฒั นา - อมรรัตน์ กรยิ าผล - พนารัตน์ คดิ จติ ต)์
ฉนั ทนา ชมพานิชย์ - ย่อ
พาชน่ื แสงจนั ทรเ์ ทศ - ตรวจ
119
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นัญพิเศษที่ ๑๓๓๔/๒๕๖๐ นาย อ. ผรู้ อ้ ง
พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๕๖
พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕๖ ซ่ึงเป็นบทเฉพาะกาล ก�ำหนดให้สามีหรือภริยาที่ด�ำเนินการ
ให้มีการต้ังครรภ์แทน หรือพนักงานอัยการมีสิทธิยื่นค�ำร้องต่อศาลให้มีค�ำส่ังให้ผู้ที่
เกิดจากการตั้งครรภ์แทนก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับเป็นบุตรชอบด้วย
กฎหมายของสามีและภรยิ าทดี่ �ำเนินการใหม้ ีการตัง้ ครรภ์แทนนับแต่วันที่ผูน้ น้ั เกดิ ท้งั นี้
ไม่ว่าสามีและภริยาที่ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนจะเป็นสามีและภริยาที่ชอบด้วย
กฎหมายหรอื ไม่ ซงึ่ บทกฎหมายมาตราดงั กลา่ วมเี จตนารมณจ์ ะแกไ้ ขปญั หาใหเ้ ดก็ ทเ่ี กดิ
โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ได้รับการคุ้มครองดูแลจากผู้ที่มี
ความผูกพันทางสายโลหิต โดยก�ำหนดหลักเกณฑ์ไว้กว้าง ๆ เพ่ือให้อ�ำนาจศาลในการ
ใช้ดุลพินิจมีค�ำส่ังหรือค�ำพิพากษาตามความเหมาะสมในแต่ละกรณีเพื่อประโยชน์สูงสุด
ของเดก็ แมก้ ารตงั้ ครรภแ์ ทนดงั กลา่ วมไิ ดเ้ ปน็ ไปตามบทนยิ ามในมาตรา ๓ และวธิ กี ารใน
หมวด ๓ แหง่ พ.ร.บ. คุ้มครองเดก็ ที่เกิดโดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจริญพันธุ์ทางการ
แพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ อีกท้ังสามีและภริยาที่ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนก็ไม่จ�ำต้อง
เปน็ สามภี รยิ าทีช่ อบด้วยกฎหมาย
______________________________
ผู้ร้องยื่นค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้เด็กชาย อ. เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้อง
ใหถ้ อนอำ� นาจปกครองของนางสาว ก. และให้ผูร้ ้องเปน็ ผ้ใู ช้อำ� นาจปกครองบุตรผ้เู ยาวแ์ ต่เพยี ง
ผเู้ ดยี ว
ศาลช้ันต้นมีคำ� ส่ังไม่รบั คำ� ร้องขอ คืนคา่ ฤชาธรรมเนียมให้แกผ่ ูร้ ้อง
ผรู้ ้องอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของผู้ร้องว่า ผู้ร้องมีสิทธิย่ืนค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้เด็กชาย อ.
120
เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย และขอให้มีค�ำส่ังเกี่ยวกับอ�ำนาจปกครองบุตรผู้เยาว์หรือไม่
เหน็ วา่ ตามคำ� รอ้ งขอผรู้ อ้ งบรรยายวา่ เดก็ ชาย อ. เกดิ จากการตงั้ ครรภแ์ ทนโดยอาศยั เทคโนโลยี
ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัย
เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พันธทุ์ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ใช้บังคบั ซงึ่ พระราชบัญญตั ิดังกล่าว
มีบทเฉพาะกาล มาตรา ๕๖ ก�ำหนดให้ผู้ที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทนก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติ
ดังกล่าวใชบ้ ังคับ สามีหรือภริยาทด่ี ำ� เนินการให้มกี ารตงั้ ครรภ์แทน หรอื พนักงานอัยการ มสี ิทธิ
ย่ืนค�ำร้องต่อศาลให้มีค�ำสั่งให้ผู้ท่ีเกิดจากการต้ังครรภ์แทนก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติดังกล่าวใช้
บังคับเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยาท่ีด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนนับแต่
วันท่ีผู้น้ันเกิด ท้ังน้ี ไม่ว่าสามีและภริยาท่ีด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนจะเป็นสามีและภริยา
ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ซึ่งบทกฎหมายมาตราดังกล่าวมีเจตนารมณ์จะแก้ไขปัญหาให้เด็ก
ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ได้รับการคุ้มครองดูแลจากผู้ท่ีมี
ความผกู พนั ทางสายโลหติ โดยกำ� หนดหลกั เกณฑไ์ วก้ วา้ ง ๆ เพอ่ื ใหอ้ ำ� นาจศาลในการใชด้ ลุ พนิ จิ
มีค�ำส่ังหรือค�ำพิพากษาตามความเหมาะสมในแต่ละกรณีเพ่ือประโยชน์สูงสุดของเด็ก แม้การ
ตง้ั ครรภแ์ ทนดงั กลา่ วมไิ ดเ้ ปน็ ไปตามบทนยิ ามในมาตรา ๓ และวธิ กี ารในหมวด ๓ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
อีกทั้งสามีและภริยาท่ีด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนก็ไม่จ�ำต้องเป็นสามีภริยาตามประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ดงั นนั้ เมอื่ ผรู้ อ้ งบรรยายคำ� รอ้ งขอสรปุ ไดว้ า่ ผรู้ อ้ งและคสู่ มรสประสงค์
จะมีบุตรแต่ไม่อาจมีได้โดยวิธีธรรมชาติ จึงอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
โดยวธิ ตี งั้ ครรภแ์ ทนและหญงิ ทร่ี บั ตงั้ ครรภแ์ ทนใหก้ �ำเนดิ เดก็ ชาย อ. เมอ่ื วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๗
กอ่ นวนั ทพี่ ระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ ทเ่ี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ ใชบ้ งั คบั คำ� รอ้ งขอของผรู้ อ้ งจงึ ครบตามองคป์ ระกอบของบทเฉพาะกาล มาตรา ๕๖
แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ แล้ว แม้ผู้ร้องและคู่สมรสมิใช่สามีภริยาท่ีชอบด้วยกฎหมายก็ตาม ศาลช้ันต้น
จึงชอบท่ีจะต้องไต่สวนให้ได้ความจริงว่าเป็นไปตามค�ำร้องขอของผู้ร้องหรือไม่ แล้วมีค�ำส่ังไป
ตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กชาย อ. การที่ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งยกค�ำร้องขอของ
ผู้ร้องโดยไม่รับค�ำร้องขอไว้ไต่สวน ไม่ต้องด้วยความเห็นของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
อุทธรณข์ องผ้รู ้องฟงั ข้ึน
121
พิพากษายกคำ� สั่งศาลชัน้ ตน้ ให้ศาลชั้นตน้ รบั คำ� ร้องขอของผูร้ อ้ งไวไ้ ตส่ วนและมคี ำ� ส่งั
ใหม่ตามรูปคดี ค่าฤชาธรรมเนยี มในชนั้ นใ้ี หศ้ าลชนั้ ต้นรวมสงั่ เมอื่ มีค�ำพิพากษาหรือคำ� สั่ง.
(ชารียา เดน่ นินนาท - ชนากานต์ ธีรเวชพลกลุ - อนิ ทิรา ฉิวรัมย์)
พิทักษ์ หลิมจานนท์ - ยอ่
นรินทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ
122
ค�ำพพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษที่ ๒๕๐๘/๒๕๖๐ นาย ม. กบั พวก ผู้รอ้ ง
พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเ่ี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๗ (๔), ๒๑, ๒๒ (๑), ๒๓
การเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ภายหลังวันท่ี
พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
บังคบั ใช้ แม้กอ่ นจะมกี ารใหต้ งั้ ครรภแ์ ทนผ้รู ้องท้งั สองกับนางสาว ล. จะมิได้ทำ� ขอ้ ตกลง
เป็นหนังสือไว้ก่อนตั้งครรภ์ว่าจะให้ทารกในครรภ์เป็นบุตรของผู้ร้องทั้งสองก็ตาม แต่
การด�ำเนนิ การใหม้ ีการตง้ั ครรภแ์ ทนครั้งนกี้ ็ตรงตามเงื่อนไขทร่ี ะบุไวใ้ นมาตรา ๒๑ และ
มาตรา ๒๒ (๑) แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ แลว้ สว่ นหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขการขออนุญาตและ
การอนญุ าตใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารเกย่ี วกบั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทยด์ ำ� เนนิ การ
ใหม้ กี ารตง้ั ครรภแ์ ทนตามความในมาตรา ๗ (๔) และมาตรา ๒๓ นน้ั มงุ่ หมายไปทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ าร
และผู้รับบริการที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมว่าก่อนจะด�ำเนินการให้มีการตั้งครรภ์
แทนตอ้ งดำ� เนนิ การเชน่ ใดการทศ่ี นู ยแ์ พทย์อ.มไิ ดข้ ออนญุ าตจากคณะกรรมการคมุ้ ครอง
เด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เป็นความบกพร่อง
ของศูนย์แพทย์ อ. หาใช่เป็นภาระหน้าท่ีโดยตรงท่ีผู้ร้องท้ังสองจะรับรู้และด�ำเนินการ
ให้ครบถ้วนแต่ฝ่ายเดียวไม่ ท้ังตามรายงานทางการแพทย์ก็ระบุไว้ชัดเจนว่านางสาว ล.
เป็นหญิงท่ีตั้งครรภ์แทน เมื่อความปรากฏว่าหลังจากเด็กหญิง ต. คลอดออกมาแล้ว
ผู้ร้องท้งั สองก็เป็นผู้อุปการะเลย้ี งดูเดก็ หญิง ต. ในฐานะบุตรตลอดมา โดยทน่ี างสาว ล.
กบั นาย ก. สามที ชี่ อบดว้ ยกฎหมายไมค่ ดั คา้ นและทำ� หนงั สอื ใหค้ วามยนิ ยอม ผรู้ อ้ งทงั้ สอง
จึงมีความสัมพันธ์ในทางพันธุกรรมกับเด็กหญิง ต. เด็กหญิง ต. จึงเป็นบุตรชอบด้วย
กฎหมายของผู้ร้องทัง้ สอง
______________________________
ผู้ร้องท้งั สองยน่ื คำ� รอ้ งขอให้มคี ำ� สั่งให้ผู้รอ้ งทง้ั สองจดทะเบียนรบั เดก็ หญิง ต. เป็นบตุ ร
ชอบดว้ ยกฎหมายของผูร้ ้องทั้งสอง
ศาลชั้นต้นประกาศนดั ไตส่ วนแล้ว ไม่มผี ู้ใดคดั คา้ น
123
ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วมีคำ� ส่งั ให้ยกค�ำรอ้ งขอของผูร้ ้องท้งั สอง
ผ้รู ้องทงั้ สองอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหาต้อง
วินิจฉัยตามอุทธรณ์ของผู้ร้องทั้งสองว่า สมควรพิพากษาให้ผู้ร้องท้ังสองเป็นบิดามารดาที่ชอบ
ด้วยกฎหมายของเดก็ หญิง ต. หรือไม่ เห็นว่า การท่ีเดก็ หญงิ ต. ซ่งึ คลอดจากครรภข์ องนางสาว ล.
โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์โดยวิธีการน�ำไข่ของผู้ร้องที่ ๒ และอสุจิ
ของผู้ร้องที่ ๑ ไปผสมในภาชนะในห้องปฏิบัติการจนเกิดการปฏิสนธิแล้วแพทย์จึงน�ำตัวอ่อน
ใส่เขา้ ไปในมดลูกของนางสาว ล. เพ่ือใหเ้ กิดการเจรญิ เตบิ โตเป็นทารกในครรภจ์ นกระท่งั คลอด
เป็นการเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ภายหลังวันท่ีพระราชบัญญัติ
คมุ้ ครองเด็กทีเ่ กิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ ยการเจริญพันธ์ุทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ บังคบั ใช้
แล้ว และแม้ก่อนจะมีการให้ต้ังครรภ์แทนผู้ร้องทั้งสองกับนางสาว ล. จะมิได้ท�ำข้อตกลงเป็น
หนงั สอื ไว้ก่อนตงั้ ครรภ์ว่าจะให้ทารกในครรภ์เป็นบุตรของผรู้ อ้ งทั้งสองก็ตาม แตก่ ารด�ำเนนิ การ
ให้มีการต้ังครรภ์แทนคร้ังน้ีก็ตรงตามเง่ือนไขท่ีระบุไว้ในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ (๑)
แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ แล้ว ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้
บริการเก่ียวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทน
ตามความในมาตรา ๗ (๔) และมาตรา ๒๓ นัน้ มุง่ หมายไปที่ผู้ให้บรกิ ารและผูร้ บั บริการทีเ่ ป็น
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมวา่ กอ่ นจะดำ� เนนิ การใหม้ กี ารตง้ั ครรภแ์ ทนตอ้ งดำ� เนนิ การเชน่ ใด การท่ี
ศูนยแ์ พทย์ อ. มไิ ด้ขออนญุ าตจากคณะกรรมการคุ้มครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการ
เจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เป็นความบกพร่องของศูนย์แพทย์ อ. หาใช่เป็นภาระหน้าที่โดยตรง
ที่ผู้ร้องท้ังสองจะรับรู้และด�ำเนินการให้ครบถ้วนแต่ฝ่ายเดียวไม่ ทั้งตามรายงานทางการแพทย์
ก็ระบไุ ว้ชัดเจนว่านางสาว ล. เป็นหญงิ ทตี่ ัง้ ครรภ์แทน เม่อื ความปรากฏวา่ หลังจากเด็กหญงิ ต.
คลอดออกมาแล้ว ผู้รอ้ งทั้งสองก็เป็นผอู้ ุปการะเล้ียงดเู ด็กหญงิ ต. ในฐานะบตุ รตลอดมา โดยท่ี
นางสาว ล. กับนาย ก. สามีท่ีชอบด้วยกฎหมายของนางสาว ล. ไมเ่ คยคดั คา้ นและไดท้ �ำหนังสอื
ให้ความยินยอม ผู้ร้องท้ังสองจึงมีความสัมพันธ์ในทางพันธุกรรมกับเด็กหญิง ต. เด็กหญิง ต.
จึงเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้องทั้งสอง และเพ่ือคุ้มครองสิทธิของเด็กหญิง ต. ตาม
เจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ ทเ่ี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นสมควรพิพากษาก�ำหนดสถานะความเป็นบิดา
124
มารดาและบตุ รท่ชี อบด้วยกฎหมายระหว่างผรู้ ้องทัง้ สองกับเดก็ หญงิ ต. แมผ้ รู้ อ้ งทั้งสองมีคำ� ขอ
เพียงให้มีค�ำส่ังอนุญาตให้ผู้ร้องจดทะเบียนรับเด็กหญิง ต. เป็นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายก็ตาม
ที่ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งยกค�ำร้องขอของผู้ร้องท้ังสองมาน้ัน ไม่ต้องด้วยความเห็นของศาลอุทธรณ์
คดีช�ำนัญพิเศษ อทุ ธรณข์ องผู้ร้องทง้ั สองฟงั ขึ้น
พพิ ากษากลบั วา่ เดก็ หญงิ ต. เปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของ ม. ผรู้ อ้ งที่ ๑ กบั ศ. ผรู้ อ้ งท่ี ๒
นับตั้งแต่วนั ท่ี ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙ คา่ ฤชาธรรมเนยี มทั้งสองศาลให้เปน็ พบั .
(ชารยี า เด่นนินนาท - เผดิม เพ็ชรกลู - อนิ ทิรา ฉวิ รัมย์)
พทิ กั ษ์ หลมิ จานนท์ - ยอ่
นรนิ ทร์ ทองคำ� ใส - ตรวจ
125
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษที่ ๑๒๔/๒๕๖๕ นาย ซ. ผู้ร้อง
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๘
พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเ่ี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา ๓, ๔, ๒๑, ๒๒, ๒๙, ๓๔, ๕๖
ผู้ร้องเป็นโสดแต่ประสงค์จะมีบุตรไว้สืบสกุลจึงด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์
แทนโดยน�ำอสุจิของผู้ร้องไปปฏิสนธิกับไข่ของผู้บริจาคแล้วน�ำไปใส่ในโพรงมดลูก
ของหญิงผู้รับตั้งครรภ์แทน ถือว่าผู้เยาว์ท้ังสองเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการ
เจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตามความหมายในมาตรา ๓ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก
ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งใน
มาตรา ๔ ยังได้บัญญัติให้คดีท่ีเกี่ยวกับความเป็นบิดามารดาของผู้ท่ีเกิดโดยอาศัย
เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของศาลเยาวชนและ
ครอบครัว และการท่ีกฎหมายบัญญัติมาตรา ๔ ไว้ในลักษณะเป็นบททั่วไป แสดง
ให้เห็นเจตนารมณ์ของกฎหมายท่ีต้องการให้ศาลเยาวชนและครอบครัวซ่ึงมีหน้าท่ี
คุ้มครองสิทธิและประโยชน์ของเด็กอยู่แล้วให้มีอ�ำนาจท่ัวไปในการพิจารณาคดีท่ีมี
การร้องขอเกี่ยวกับความเป็นบิดามารดาของผู้ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการ
เจริญพันธุ์ทางการแพทย์ได้ ประกอบกับเม่ือพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา ๒๙ เป็น
บทบัญญัติที่กฎหมายรับรองให้เด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทาง
การแพทย์ท่ีได้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามี
และภรยิ าทชี่ อบดว้ ยกฎหมายซงึ่ ประสงคจ์ ะมบี ตุ ร อนั เปน็ ผลโดยกฎหมาย กรณดี งั กลา่ ว
จึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องยื่นค�ำร้องขอต่อศาลให้มีค�ำสั่งให้เด็กนั้นเป็นบุตรชอบด้วย
กฎหมายอีก ท้ังยังก�ำหนดหน้าท่ีของสามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งประสงค์ให้มี
การต้ังครรภ์แทนตามพระราชบัญญัตินี้มีหน้าที่แจ้งการเกิดของเด็กที่เกิดจากการ
ต้ังครรภ์แทนต่อนายทะเบียนอีกด้วยตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๓๒ วรรคหน่ึง กรณี
เป็นการบ่งช้ีให้เห็นว่าการที่กฎหมายมีบทบัญญัติในมาตรา ๔ ย่อมประสงค์จะให้
ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอ�ำนาจพิจารณาคดีท่ีมีการยื่นค�ำร้องขอต่อศาลเกี่ยวกับความ
เป็นบิดามารดาของเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
126
ในกรณีอ่ืนนอกเหนือจากท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙ ด้วย ท้ังยังเป็นการมอบให้
ศาลเยาวชนและครอบครัวมีหน้าท่ีแก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวกับความเป็นบิดามารดาของเด็ก
ดังกล่าวในภายหน้าเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็กดังกล่าวด้วย แม้พระราชบัญญัติ
ฉบับนี้จะไม่ได้บัญญัติไว้ชัดเจนว่ากรณีมีการต้ังครรภ์แทนซึ่งไม่เป็นไปตามเงื่อนไข
ในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ จะใหส้ ามหี รือภริยาทด่ี ำ� เนนิ การให้มกี ารตัง้ ครรภแ์ ทนนั้น
ด�ำเนินการรับรองสถานะความเป็นบิดามารดาและบุตรอย่างไร แต่เม่ือพระราชบัญญัติ
ฉบบั นมี้ เี จตนารมณต์ อ้ งการจะคมุ้ ครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยชี ว่ ยการเจรญิ พนั ธ์ฺุ
ทางการแพทย์ให้มีการรับรองความเป็นบิดามารดาและบุตรตามหลักความสัมพันธ์ทาง
พนั ธกุ รรมเชน่ เดยี วกนั กบั ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ โดยทพี่ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้
มบี ทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๓๔ บญั ญตั ใิ หน้ ำ� บทบญั ญตั ติ ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ว่าด้วยครอบครัวและมรดกมาใช้บังคับโดยอนุโลมด้วย เม่ือได้ความจากค�ำร้องขอว่า
ผู้ร้องไม่สามารถจดทะเบียนผู้เยาว์ทั้งสองเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย เน่ืองจากผู้เยาว์
ทั้งสองไม่อาจให้ความยินยอมได้ ซ่ึงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๘ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า
“บิดาจะจดทะเบียนเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของ
เด็กและมารดาเด็ก” และวรรคสามบัญญัติว่า “ในกรณีท่ีเด็กหรือมารดาเด็กคัดค้านว่า
ผู้ขอจดทะเบียนไม่ใช่บิดา หรือไม่ให้ความยินยอม หรือไม่อาจให้ความยินยอมได้
การจดทะเบยี นเดก็ เปน็ บตุ รตอ้ งมคี ำ� พพิ ากษาของศาล” บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายดงั กลา่ ว
จึงเป็นกฎหมายสารบัญญัติที่ให้สิทธิแก่ผู้ร้องท่ีจะใช้สิทธิทางศาลแล้ว ดังน้ี ผู้ร้อง
จึงมีสิทธิย่ืนค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำส่ังให้ผู้ร้องจดทะเบียนผู้เยาว์ทั้งสองท่ีเกิดจากการใช้
เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้องได้
โดยอาศยั อำ� นาจตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๔๘ ประกอบ พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ ทเี่ กดิ โดยอาศยั
เทคโนโลยีช่วยการเจรญิ พันธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ และ ๓๔
______________________________
127
ผู้ร้องยื่นค�ำร้องขอว่า ผู้ร้องเป็นบุคคลสัญชาติจีน ผู้ร้องเป็นโสดไม่มีภริยาแต่ประสงค์
จะมีบุตรไว้สืบสกุล เม่ือประมาณปลายปี ๒๕๖๑ ผู้ร้องได้ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนโดย
การใช้อสุจิของผู้ร้องกับไข่ของหญิงผู้บริจาคน�ำไปปฏิสนธิกันแล้วใส่เข้าในโพรงมดลูกของ
นางสาว ท. ผู้รบั ตั้งครรภแ์ ทนซ่งึ เป็นคนไทย ทีโ่ รงพยาบาลเมอื งอู่ฮั่น สาธารณรฐั ประชาชนจีน
ต่อมานางสาว ท. ได้คลอดบุตรเป็นเด็กแฝด ๒ คน คือ เด็กชาย ช. และเด็กหญิง ญ. เมื่อ
วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ท่ีโรงพยาบาลโพธาราม จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นเวลาหลังวันท่ี
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลใชบ้ งั คับ (วันท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘) ผเู้ ยาวท์ ้ังสองเกิดจากการนำ� อสจุ ขิ อง
ผู้ร้องไปปฏิสนธิกบั ไขข่ องผู้บริจาคแลว้ น�ำไปใส่ในโพรงมดลูกของนางสาว ท. เพือ่ ตง้ั ครรภแ์ ทน
ผู้ร้องจึงเป็นบิดาโดยสายโลหิตของผู้เยาว์ท้ังสอง หลังจากผู้เยาว์ทั้งสองเกิด ผู้ร้องเป็นผู้
อุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์ท้ังสองมาตลอดจนถึงปัจจุบัน นอกจากน้ีผู้ร้องยังมีผลการตรวจวิเคราะห์
สารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ของผู้เยาว์ทง้ั สอง ซงึ่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ส. นายแพทย์
สาขานติ เิ วชวทิ ยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัย
มหดิ ลรบั รองวา่ ผรู้ อ้ งเปน็ บดิ าของผเู้ ยาวท์ ง้ั สองโดยสายโลหติ ผรู้ อ้ งมคี วามประสงคจ์ ะจดทะเบยี น
ผู้เยาว์ท้ังสองเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้อง โดยนางสาว ท. มารดาของผู้เยาว์ทั้งสอง
เหน็ ชอบและใหค้ วามยนิ ยอมแลว้ ผรู้ อ้ งและนางสาว ท. ไดไ้ ปขอจดทะเบยี นผเู้ ยาวท์ ง้ั สองเปน็ บตุ ร
ชอบดว้ ยกฎหมายของผรู้ อ้ งทส่ี ำ� นกั งานเขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร แตเ่ จา้ หนา้ ทแี่ จง้ วา่ ผเู้ ยาว์
ทั้งสองอายยุ งั น้อยไมอ่ ยู่ในเกณฑท์ จี่ ะให้ความยินยอมได้ จงึ ไม่อาจดำ� เนนิ การให้ได้ เว้นแตจ่ ะมี
คำ� สั่งศาล ผรู้ ้องประกอบอาชพี ครู ตำ� แหนง่ รองศาสตราจารย์ อย่ทู ี่มหาวทิ ยาลยั ยนู นาน มณฑล
ยนู นาน สาธารณรฐั ประชาชนจนี มหี นา้ ทกี่ ารงานมน่ั คงและมคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย ขอใหศ้ าล
มีค�ำสัง่ ว่าเดก็ ชาย ช. และเดก็ หญิง ญ. ผ้เู ยาวท์ ้งั สองเป็นบตุ รชอบด้วยกฎหมายของผรู้ อ้ ง
ศาลชน้ั ตน้ ตรวจคำ� รอ้ งขอแลว้ มคี ำ� สงั่ วา่ ผรู้ อ้ งบรรยายโดยชดั แจง้ วา่ เดก็ ทจี่ ะขอใหศ้ าล
มีค�ำสั่งรับรองบุตรนั้นเกิดหลังจากวันที่พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี
ชว่ ยการเจรญิ พนั ธท์ุ างการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มผี ลบงั คบั ใช้ เมอ่ื ไมป่ รากฏวา่ ผรู้ อ้ งไดด้ ำ� เนนิ การ
ใหเ้ ปน็ ไปตามขนั้ ตอนโดยชอบดว้ ยกฎหมายดงั กลา่ ว กรณจี งึ ไมต่ อ้ งตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง
เด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๒๙
ผู้ร้องไม่มีสิทธิยื่นค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำส่ังรับรองบุตรตามขอ ให้ยกค�ำร้อง (ที่ถูก ยกค�ำร้องขอ)
ค่าคำ� รอ้ ง (ทถ่ี ูก คำ� ร้องขอ) ใหเ้ ปน็ พับ
128
ผู้รอ้ งอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า คดีมีปัญหา
ตอ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอุทธรณ์ของผู้รอ้ งว่า ผู้รอ้ งมีสิทธิยื่นคำ� ร้องขอให้ศาลมคี �ำสั่งใหผ้ ู้รอ้ งจดทะเบยี น
เด็กชาย ช. และเด็กหญิง ญ. ผู้เยาว์ท้ังสองท่ีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ทางการแพทยเ์ ปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของผรู้ อ้ งหรอื ไม่ เหน็ วา่ คดนี ไ้ี ดค้ วามจากคำ� รอ้ งขอวา่
ผู้เยาว์ทั้งสองเกิดจากการน�ำอสุจิของผู้ร้องไปปฏิสนธิกับไข่ของผู้บริจาคแล้วน�ำไปใส่ในโพรง
มดลูกของนางสาว ท. เพ่ือตั้งครรภ์แทน ซ่ึงเป็นกรรมวิธีอย่างหนึ่งทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
ท่ีน�ำอสุจิและไข่ออกจากร่างกายมนุษย์ เพื่อให้เกิดการต้ังครรภ์โดยไม่เป็นไปตามธรรมชาติ
ถือว่าผู้เยาว์ท้ังสองเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตามความหมาย
ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซง่ึ ในมาตรา ๔ ยงั ไดบ้ ญั ญตั วิ า่ “ใหศ้ าลทม่ี อี ำ� นาจพจิ ารณาพพิ ากษา
คดีเยาวชนและครอบครัวตามกฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว มีอ�ำนาจพิจารณาพิพากษาคดีตามพระราชบัญญัติน้ี เฉพาะคดีท่ีเกี่ยว
กับความเป็นบิดามารดาของผู้ท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตาม
พระราชบัญญัติน้ี” ตามบทบัญญัตินี้ท�ำให้เห็นได้ว่ากฎหมายบัญญัติให้คดีท่ีเกี่ยวกับความเป็น
บิดามารดาของผู้ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์เป็นอ�ำนาจหน้าที่
ของศาลเยาวชนและครอบครัว ดงั นนั้ ศาลเยาวชนและครอบครวั จึงมีอ�ำนาจพจิ ารณาพพิ ากษา
คดีนี้ได้ และการท่ีกฎหมายบัญญัติมาตรา ๔ ไว้ในลักษณะบทท่ัวไป แสดงให้เห็นเจตนารมณ์
ของกฎหมายท่ีต้องการให้ศาลเยาวชนและครอบครัวซ่ึงมีหน้าที่คุ้มครองสิทธิและประโยชน์
ของเด็กอยู่แล้วให้มีอ�ำนาจทั่วไปในการพิจารณาคดีท่ีมีการร้องขอเก่ียวกับความเป็นบิดา
มารดาของผู้ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ได้ ประกอบกับ
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา ๒๙ ซ่ึงเป็นกรณีที่สามีและภริยาท่ีชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ประสงค์จะมีบุตรโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่บัญญัติว่า “เด็กท่ีเกิดจากอสุจิ ไข่ หรือ
ตัวอ่อนของผู้บริจาค แล้วแต่กรณี โดยใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตาม
พระราชบัญญัตินี้...ให้เด็กน้ันเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยาท่ีชอบด้วยกฎหมาย
ซึ่งประสงค์จะมีบุตร...” จะเห็นได้ว่ามาตรา ๒๙ เป็นบทบัญญัติที่กฎหมายรับรองให้เด็กที่เกิด
โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ที่ได้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี
เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายซ่ึงประสงค์จะมีบุตร
129
อันเป็นผลโดยกฎหมาย กรณีดังกล่าวจึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องยื่นค�ำร้องขอต่อศาลให้มีค�ำส่ัง
ให้เด็กน้ันเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายอีก ท้ังยังก�ำหนดหน้าที่ของสามีและภริยาท่ีชอบด้วย
กฎหมายซึ่งประสงค์ให้มีการตั้งครรภ์แทนตามพระราชบัญญัติน้ีมีหน้าที่แจ้งการเกิด
ของเด็กท่ีเกิดจากการต้ังครรภ์แทนต่อนายทะเบียนอีกด้วยตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๒
วรรคหน่ึง กรณีเป็นการบ่งช้ีให้เห็นว่าการท่ีกฎหมายมีบทบัญญัติในมาตรา ๔ ย่อมประสงค์
จะให้ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอ�ำนาจพิจารณาคดีที่มีการยื่นค�ำร้องขอต่อศาลเก่ียวกับ
ความเป็นบิดามารดาของเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ใน
กรณีอื่นนอกเหนือจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙ ด้วย ท้ังยังเป็นการมอบให้ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวมีหน้าท่ีแก้ไขปัญหาท่ีเก่ียวกับความเป็นบิดามารดาของเด็กดังกล่าวในภายหน้า
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็กดังกล่าวอีกด้วย แม้พระราชบัญญัติฉบับน้ีจะไม่ได้บัญญัติไว้
ชัดเจนว่ากรณีมีการต้ังครรภ์แทนซ่ึงไม่เป็นไปตามเง่ือนไขในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ จะ
ให้สามีหรือภริยาท่ีด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทนนั้นด�ำเนินการรับรองสถานะความเป็น
บิดามารดาและบุตรอย่างไร แต่เม่ือพระราชบัญญัติฉบับน้ีมีเจตนารมณ์ต้องการจะคุ้มครอง
เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ให้มีการรับรองความเป็น
บิดามารดาและบุตรตามหลักความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเช่นเดียวกันกับประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ โดยท่ีพระราชบัญญัติฉบับนี้มีบทบัญญัติในมาตรา ๓๔ บัญญัติให้น�ำบทบัญญัติ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัวและมรดกมาใช้บังคับโดยอนุโลมด้วย
เมอื่ ไดค้ วามจากคำ� รอ้ งขอวา่ ผรู้ อ้ งไมส่ ามารถจดทะเบยี นผเู้ ยาวท์ ง้ั สองเปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย
เนื่องจากผู้เยาว์ทั้งสองไม่อาจให้ความยินยอมได้ ซ่ึงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๕๔๘ วรรคหนง่ึ บญั ญตั วิ า่ “บดิ าจะจดทะเบยี นเดก็ เปน็ บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายไดต้ อ่ เมอื่
ไดร้ ับความยินยอมของเด็กและมารดาเด็ก” และวรรคสาม บญั ญตั ิว่า “ในกรณที เี่ ดก็ หรอื มารดา
เด็กคดั คา้ นว่าผ้ขู อจดทะเบยี นไม่ใชบ่ ดิ า หรือไม่ให้ความยนิ ยอม หรือไม่อาจให้ความยนิ ยอมได้
การจดทะเบยี นเดก็ เปน็ บตุ รตอ้ งมคี ำ� พพิ ากษาของศาล” บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายดงั กลา่ วจงึ เปน็
กฎหมายสารบัญญัตทิ ีใ่ หส้ ิทธิแก่ผรู้ อ้ งทีจ่ ะใช้สทิ ธิทางศาลแล้ว ดังนี้ ผู้ร้องจึงมสี ิทธยิ นื่ ค�ำร้องขอ
ให้ศาลมีค�ำสั่งให้ผู้ร้องจดทะเบียนผู้เยาว์ท้ังสองท่ีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ทางการแพทย์เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้ร้องได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๕๔๘ ประกอบพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ ทเ่ี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยี
ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔ และ ๓๔ ที่ศาลชั้นต้นมีค�ำสั่งให้
ยกคำ� ร้องขอนัน้ ศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนัญพเิ ศษไมเ่ ห็นพ้องด้วย อุทธรณข์ องผรู้ อ้ งฟังขึน้
130
พิพากษายกค�ำส่ังศาลช้ันต้น ให้ศาลช้ันต้นรับค�ำร้องขอของผู้ร้องไว้พิจารณาแล้ว
ดำ� เนินการไต่สวนและมีค�ำสั่งใหมต่ ามรปู คดี คา่ ฤชาธรรมเนียมชน้ั อุทธรณ์ใหเ้ ปน็ พับ.
(ประวิทย์ อิทธิชัยวัฒนา - เกียรติยศ ไชยศริ ธิ ัญญา - แก้วตา เทพมาล)ี
นชิ ญา ปราณจี ิตต์ - ย่อ
พาชื่น แสงจันทร์เทศ - ตรวจ
131
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นัญพิเศษที่ ๔๐๗/๒๕๖๐ นางสาว ต. โจทก์
จำ� เลย
นาย ม.
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑
ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑, ๓๖๘, ๘๕๒
การตคี วามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความทศ่ี าลมคี ำ� พพิ ากษาตามยอมแลว้ นนั้
มิใช่การตีความกฎหมายหรือค�ำพิพากษาของศาล แต่เป็นเร่ืองตีความการแสดงเจตนา
ในการทำ� สัญญาของคู่ความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑, ๓๖๘
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ ขอ้ ๕ ระบวุ า่ ที่ดินโฉนดเลขท่ี ๗๗๗๔๖ ต�ำบล
หมูมน่ อำ� เภอเมอื งอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี พรอ้ มสิ่งปลูกสรา้ งทจี่ �ำนองไว้แก่ธนาคาร
กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) สาขาโพธ์ิศรี ให้โจทก์เป็นฝ่ายช�ำระหนี้จ�ำนองเพียงฝ่ายเดียว
จนกว่าจะช�ำระหนี้แล้วเสร็จ จากนั้นโจทก์จะโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
ดังกล่าวแก่บุตรผู้เยาว์ท้ังสอง และก่อนช�ำระหนี้แล้วเสร็จห้ามโจทก์จ�ำหน่าย จ่าย
โอน หรอื กอ่ ภาระผกู พนั ในบา้ นและทด่ี นิ และหา้ มโจทกน์ ำ� บคุ คลซงึ่ เปน็ ชายทม่ี พี ฤตกิ รรม
ในทางชู้สาวกับโจทก์และโจทก์ยังไม่แต่งงานด้วยเข้าพักในบ้านเลขท่ีดังกล่าวโดย
เด็ดขาด หากโจทก์ฝ่าฝืนยินยอมให้จ�ำเลยร้องต่อศาลถอนอ�ำนาจปกครองของโจทก์
ได้ ข้อ ๖ ระบุว่า ทรัพย์สินอ่ืน ๆ นอกจากที่ได้ตกลงตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความนี้ จ�ำเลยยินยอมยกให้โจทก์แต่เพียงผู้เดียว นอกจากสิทธิเรียกร้องดังกล่าว
โจทกแ์ ละจ�ำเลยไมต่ ิดใจเรยี กรอ้ งสิทธใิ ด ๆ ต่อกันอกี และขอ้ ๗ ระบวุ า่ หากฝ่ายหนึง่ ฝ่ายใด
ผิดสัญญาให้บังคับคดีได้ทันที จากข้อสัญญาดังกล่าวข้างต้นเห็นได้ชัดเจนว่า หลังจาก
โจทก์ช�ำระหน้ีไถ่ถอนจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างครบถ้วนแล้ว โจทก์จะต้องโอน
กรรมสิทธิ์ท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างดังกล่าวให้แก่บุตรผู้เยาว์ทั้งสอง อันเป็นเจตนา
ส�ำคัญของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายขณะท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ฉะน้ัน
เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏตามค�ำร้องของจ�ำเลยว่า โจทก์ช�ำระหน้ีจ�ำนองให้แก่ธนาคาร
ผู้รับจ�ำนองครบถ้วนแล้ว แต่กลับไม่ยินยอมโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
ดังกล่าวให้แก่บุตรผู้เยาว์ท้ังสองอันเป็นการประพฤติผิดสัญญา จ�ำเลยย่อมอาศัย
สัญญาประนีประนอมยอมความข้อ ๗ บังคับคดีเอาแก่โจทก์ได้ทันที โดยไม่จ�ำต้อง
132
ร้องต่อศาลขอถอนอ�ำนาจปกครองของโจทก์ตามสัญญา ข้อ ๕ ก่อน เพราะสัญญา
ประนีประนอมยอมความดังกล่าวซึ่งศาลชั้นต้นมีค�ำพิพากษาตามยอมมิได้ระบุล�ำดับ
ของการปฏิบัติตามค�ำพิพากษาตามยอมไว้เป็นการเฉพาะ เม่ือโจทก์ไม่ปฏิบัติตาม
ค�ำพิพากษาตามยอม จ�ำเลยย่อมบังคับคดีได้ทันที และศาลมีอ�ำนาจท่ีจะส่ังให้ถือเอา
ค�ำพิพากษาตามยอมแทนการแสดงเจตนาของโจทก์ได้เพราะเป็นค�ำส่ังเกี่ยวเนื่องกับ
การบังคบั คดีเพ่อื ให้เป็นไปตามคำ� พพิ ากษาตามยอมของศาลช้นั ตน้
______________________________
คดสี บื เนอ่ื งมาจากโจทกฟ์ อ้ งขอใหพ้ พิ ากษาใหจ้ ำ� เลยหยา่ ขาดจากการเปน็ สามภี รยิ ากบั
โจทก์ ใหจ้ ำ� เลยจา่ ยคา่ อปุ การะเลยี้ งดบู ตุ รและคา่ เลยี้ งชพี โจทก์ และสงั่ ใหบ้ ตุ รผเู้ ยาวท์ งั้ สองคนอยู่
ในอำ� นาจปกครองของโจทก์ ระหว่างพจิ ารณา เมอ่ื วนั ที่ ๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๙ โจทกก์ บั จำ� เลยท�ำ
สัญญาประนปี ระนอมยอมความและศาลช้นั ต้นมคี ำ� พิพากษาตามยอม
จำ� เลยยน่ื คำ� รอ้ งขอใหต้ คี วามคำ� พพิ ากษาขอ้ ๕ แหง่ สญั ญาประนปี ระนอมยอมทว่ี า่ ไมม่ ี
ขอ้ ความระบวุ า่ หากโจทกไ์ มด่ ำ� เนินการตามคำ� พพิ ากษาของศาลใหถ้ ือเอาคำ� พิพากษาของศาล
แทนการแสดงเจตนาของโจทก์ ซงึ่ ลำ� พงั ขอ้ ความเท่าทีป่ รากฏในข้อ ๕ ดังกล่าว จ�ำเลยยังมีสทิ ธิ
ด�ำเนนิ การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ทิ ่ีดนิ พิพาทใหแ้ กบ่ ุตรผ้เู ยาวท์ ้งั สองได้
โจทกไ์ มย่ นื่ ค�ำคัดค้าน
ศาลช้ันตน้ พิจารณาแลว้ มคี ำ� สั่งยกค�ำร้อง
จ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า มีปัญหา
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยว่า จ�ำเลยขอให้บังคับโจทก์โอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินโฉนด
เลขท่ี ๗๗๗๔๖ ต�ำบลหมูม่น อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี พร้อมส่ิงปลูกสร้าง
ให้แก่บุตรผู้เยาว์ทั้งสอง ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ข้อ ๕ ได้หรือไม่ เห็นว่า
การตีความสัญญาประนีประนอมยอมความท่ีศาลมีค�ำพิพากษาตามยอมแล้วน้ันมิใช่การตีความ
กฎหมายหรือค�ำพิพากษาของศาล แต่เป็นเรื่องตีความการแสดงเจตนาในการท�ำสัญญา
ของคูค่ วาม ซ่งึ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๗๑ บญั ญตั ิว่า “ในการตีความการ
แสดงเจตนาน้ัน ให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยค�ำส�ำนวนหรือตัวอักษร” และมาตรา
๓๖๘ บัญญัติว่า “สัญญานั้นท่านให้ตีความไปตามความประสงค์ในทางสุจริต โดยพิเคราะห์ถึง
133
ปกติประเพณีด้วย” ส�ำหรับสัญญาประนีประนอมยอมความ ฉบับลงวันท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙
ข้อ ๕ ระบุว่า ท่ีดินโฉนดเลขท่ี ๗๗๗๔๖ ต�ำบลหมูม่น อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัด
อุดรธานี พร้อมส่ิงปลูกสร้างที่จ�ำนองไว้แก่ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) สาขาโพธิ์ศรี
ให้โจทก์เป็นฝ่ายช�ำระหนี้จ�ำนองเพียงฝ่ายเดียวจนกว่าจะช�ำระหน้ีแล้วเสร็จ จากน้ันโจทก์
จะโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวแก่บุตรผู้เยาว์ทั้งสอง และก่อนช�ำระหนี้
แล้วเสร็จห้ามโจทก์จ�ำหน่าย จ่าย โอน หรือก่อภาระผูกพันในบ้านและที่ดิน และห้ามโจทก์
น�ำบุคคลซ่ึงเป็นชายท่ีมีพฤติกรรมในทางชู้สาวกับโจทก์และโจทก์ยังไม่แต่งงานด้วยเข้าพัก
ในบ้านเลขท่ีดังกล่าวโดยเด็ดขาด หากโจทก์ฝ่าฝืนยินยอมให้จ�ำเลยร้องต่อศาลถอน
อ�ำนาจปกครองของโจทก์ได้ ข้อ ๖ ระบุว่า ทรัพย์สินอื่น ๆ นอกจากท่ีได้ตกลงตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความนี้ จ�ำเลยยินยอมยกให้โจทก์แต่เพียงผู้เดียว นอกจากสิทธิเรียกร้อง
ดังกลา่ ว โจทกแ์ ละจำ� เลยไม่ติดใจเรยี กรอ้ งสทิ ธิใด ๆ ตอ่ กนั อกี และข้อ ๗ ระบวุ า่ หากฝ่ายหน่งึ
ฝ่ายใดผิดสัญญาให้บังคับคดีได้ทันที จากข้อสัญญาดังกล่าวข้างต้นเห็นได้ชัดเจนว่า
หลังจากโจทก์ช�ำระหน้ีไถ่ถอนจ�ำนองที่ดินโฉนดเลขท่ี ๗๗๗๔๖ พร้อมส่ิงปลูกสร้างครบถ้วน
แล้ว โจทก์จะต้องโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวให้แก่บุตรผู้เยาว์ท้ังสองอัน
เป็นเจตนาส�ำคัญของคู่สัญญาท้ังสองฝ่ายขณะท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ฉะนั้น
เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏตามค�ำร้องของจ�ำเลยว่า โจทก์ช�ำระหนี้จ�ำนองให้แก่ธนาคารผู้รับจ�ำนอง
ครบถ้วนแล้ว แตก่ ลับไมย่ นิ ยอมโอนกรรมสิทธ์ทิ ด่ี ินพร้อมส่ิงปลกู สร้างดังกล่าวให้แก่บตุ รผู้เยาว์
ทั้งสองอันเป็นการประพฤติผิดสัญญา จ�ำเลยย่อมอาศัยสัญญาประนีประนอมยอมความ ข้อ ๗
บังคับคดีเอาแก่โจทก์ได้ทันที โดยไม่จ�ำต้องร้องต่อศาลขอถอนอ�ำนาจปกครองของโจทก์ตาม
สัญญา ข้อ ๕ ก่อน เพราะสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวซ่ึงศาลช้ันต้นมีค�ำพิพากษา
ตามยอมมิได้ระบุล�ำดับของการปฏิบัติตามค�ำพิพากษาตามยอมไว้เป็นการเฉพาะ เม่ือโจทก์ไม่
ปฏิบัติตามค�ำพิพากษาตามยอม จ�ำเลยย่อมบังคับคดีได้ทันที และศาลมีอ�ำนาจท่ีจะส่ังให้ถือ
เอาค�ำพิพากษาตามยอมแทนการแสดงเจตนาของโจทก์ได้เพราะเป็นค�ำสั่งเกี่ยวเน่ืองกับการ
บังคับคดีเพ่ือให้เป็นไปตามค�ำพิพากษาตามยอมของศาลช้ันต้น ท่ีศาลชั้นต้นยกค�ำร้องของ
จำ� เลยนั้น ศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนัญพเิ ศษไม่เหน็ พ้องด้วย อุทธรณ์ของจำ� เลยฟงั ขนึ้
พิพากษากลับว่า โจทก์ต้องปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ข้อ ๕ และ
ค�ำพิพากษาตามยอม โดยเม่ือโจทก์ช�ำระหนี้ไถ่ถอนจ�ำนองท่ีดินโฉนดเลขที่ ๗๗๗๔๖ ต�ำบล
หมมู น่ อำ� เภอเมอื งอดุ รธานี จงั หวดั อดุ รธานี พรอ้ มสงิ่ ปลกู สรา้ ง แลว้ เสรจ็ ใหโ้ จทกโ์ อนกรรมสทิ ธ์ิ
134
ที่ดินแปลงดังกล่าวพร้อมสิ่งปลูกสร้างให้แก่นางสาว ม. และนางสาว จ. บุตรท้ังสองของโจทก์
กบั จ�ำเลย หากไม่ปฏิบัติตามใหถ้ ือเอาค�ำพิพากษาตามยอมของศาลชน้ั ต้นแทนการแสดงเจตนา
ของโจทก์ คา่ ฤชาธรรมเนยี มในชนั้ อทุ ธรณใ์ หเ้ ปน็ พับ.
(ชนากานต์ ธีรเวชพลกุล - ชารยี า เด่นนินนาท - อินทิรา ฉิวรมั ย)์
เกยี รตยิ ศ ไชยศริ ิธัญญา - ย่อ
นรินทร์ ทองค�ำใส - ตรวจ
135
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนญั พิเศษที่ ๒๓๔๒/๒๕๖๐ นาง พ. โจทก์
จ�ำเลย
นาย ท. กับพวก
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๖
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖
อุทธรณ์ของโจทก์ที่ขอให้เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความไม่ใช่
การอุทธรณ์ค�ำสั่งที่ศาลช้ันต้นอนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ด้วยค�ำส่ัง
ศาลชั้นตน้ ทอ่ี นญุ าตใหโ้ จทก์ถอนฟ้องจ�ำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๖ จงึ ถงึ ท่สี ดุ การถอนคำ� ฟ้องยอ่ ม
ลบล้างผลแห่งการย่ืนค�ำฟ้องนั้นรวมท้ังกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาต่อภายหลังยื่น
ค�ำฟ้อง และกระท�ำให้คู่ความกลับคืนเข้าสู่ฐานะเดิมเสมือนหนึ่งมิได้มีการยื่นฟ้องเลย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๖ ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวธิ ีพจิ ารณาคดี
เยาวชนและครอบครวั พ.ศ.๒๕๕๓มาตรา๖จำ� เลยท่ี๒ถงึ ท่ี๖จงึ ไมใ่ ชค่ คู่ วามในคดอี กี ตอ่ ไป
ศาลไม่อาจมคี ำ� พพิ ากษาบังคับจำ� เลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ไดเ้ พราะเปน็ บคุ คลภายนอก
______________________________
คดีสืบเนื่องมาจากโจทก์ฟ้องขอให้พิพากษาให้โจทก์กับจ�ำเลยท่ี ๑ หย่าขาดจากกัน
ให้จำ� เลยท่ี ๑ ช�ำระค่าอุปการะเล้ียงดู คา่ เล้ียงชีพ กับแบ่งสินสมรสและกรรมสทิ ธิ์รวม ระหวา่ ง
พิจารณาคดีของศาลชั้นต้น โจทก์กับจ�ำเลยท้ังหกตกลงกันได้ โจทก์ย่ืนค�ำร้องขอถอนฟ้อง
จ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ตามคำ� ร้องลงวันที่ ๘ มนี าคม ๒๕๖๐ ศาลชนั้ ต้นมีค�ำสงั่ อนุญาตให้ถอนฟอ้ ง
จำ� เลยที่ ๒ ถงึ ท่ี ๖ ให้จำ� หนา่ ยคดโี จทก์ในส่วนของจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ แลว้ ในวันเดียวกนั โจทก์
กับจ�ำเลยที่ ๑ ท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน และขอให้ศาลช้ันต้นพิพากษาตามยอม
ศาลช้ันต้นพิจารณาแล้วมีค�ำพิพากษาตามยอมตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว
ต่อมาโจทก์ย่ืนอุทธรณ์ขอให้เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังรับ
อุทธรณ์ของโจทก์ ส�ำเนาให้จ�ำเลยแก้ ให้โจทก์น�ำส่งภายใน ๗ วัน โจทก์น�ำส่งหมายนัดและ
สำ� เนาอทุ ธรณ์ของโจทก์ให้แก่จ�ำเลยทั้งหก ตอ่ มาวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ จ�ำเลยท่ี ๒ ยน่ื
ค�ำร้องขอให้ศาลชั้นต้นเพิกถอนการออกหมายนัดและการส่งส�ำเนาอุทธรณ์ของโจทก์ให้แก่
136
จ�ำเลยท่ี ๒ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วมีคำ� สัง่ วา่ คดีน้ีโจทกก์ ับจ�ำเลยที่ ๑ ทำ� สัญญาประนปี ระนอม
ยอมความกัน ในส่วนของจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ โจทก์ถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๖ ศาลช้ันต้น
จำ� หนา่ ยคดโี จทกใ์ นสว่ นของจ�ำเลยที่ ๒ ถงึ ท่ี ๖ แลว้ โจทกย์ ่ืนอทุ ธรณ์โดยขอใหเ้ พกิ ถอนสัญญา
ประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยท่ี ๑ เท่าน้ัน มิได้อุทธรณ์เรื่องถอนฟ้องและ
จ�ำหน่ายคดีโจทก์ในส่วนของจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ แต่อย่างใด จึงไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์ในส่วน
ของจ�ำเลยที่ ๒ ถงึ ที่ ๖ ใหเ้ พกิ ถอนหมายนดั และการสง่ ส�ำเนาอุทธรณใ์ ห้แกจ่ �ำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖
โดยผิดหลงเสยี
โจทกย์ น่ื คำ� รอ้ งขอใหเ้ พกิ ถอนคำ� สง่ั ของศาลชนั้ ตน้ ทไ่ี มร่ บั อทุ ธรณข์ องโจทกใ์ นสว่ นของ
จ�ำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๖ และเพกิ ถอนค�ำสัง่ ใหเ้ พกิ ถอนหมายนดั และการส่งส�ำเนาอุทธรณข์ องโจทก์
ให้แกจ่ ำ� เลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖
ศาลชั้นตน้ มคี �ำสัง่ วา่ คำ� ส่งั ศาลมไิ ดผ้ ิดระเบียบ ยกค�ำร้องของโจทก์
โจทกอ์ ทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีเยาวชนและครอบครัววินิจฉัยว่า ปัญหาที่
ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์มีว่า การท่ีศาลช้ันต้นมีค�ำส่ังไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์ใน
ส่วนของจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ กับให้เพิกถอนหมายนัดและการส่งส�ำเนาอุทธรณ์ของโจทก์ให้
แก่จ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ เป็นการพิจารณาท่ีผิดระเบียบหรือไม่ เห็นว่า คดีน้ีโจทก์กับจ�ำเลย
ท้ังหกสามารถตกลงกันได้ โจทก์จึงย่ืนค�ำร้องขอถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ จนกระทั่ง
ศาลชน้ั ต้นมคี ำ� สั่งอนุญาตใหโ้ จทกถ์ อนฟ้องจำ� เลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ และใหจ้ �ำหน่ายคดีโจทก์ในสว่ น
ของจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ก่อนท่ีจะมีการท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์กับ
จ�ำเลยที่ ๑ และศาลช้ันต้นได้พิพากษาตามยอมตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว
การถอนฟ้องจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ จึงเกิดจากการท่ีท้ังสองฝ่ายตกลงกันได้ก่อน ไม่ใช่การ
ถอนฟ้องเพราะต้องท�ำตามข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความตามที่โจทก์อ้าง เมื่อ
พจิ ารณาอทุ ธรณข์ องโจทกฉ์ บบั ลงวนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ ทขี่ อใหเ้ พกิ ถอนสญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความ ก็ไม่ปรากฏว่าโจทก์มีค�ำขอให้เพิกถอนค�ำส่ังของศาลชั้นต้นท่ีอนุญาตให้โจทก์
ถอนฟอ้ งจำ� เลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๖ ด้วย ประกอบกับโจทกเ์ องก็รบั ว่าสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
ซ่ึงมีข้อตกลงเกี่ยวกับการถอนฟ้องจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ เป็นสัญญาระหว่างโจทก์กับจ�ำเลย
ท่ี ๑ ดังน้ัน แม้สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวอาจถูกเพิกถอนได้ก็ไม่กระทบต่อ
ค�ำสั่งของศาลช้ันต้นที่อนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ไปก่อนที่จะมีค�ำพิพากษา
137
ตามยอมระหวา่ งโจทก์กับจ�ำเลยที่ ๑ ตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความดังกลา่ ว อุทธรณ์ของ
โจทก์ที่ขอให้เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความจึงไม่ใช่การอุทธรณ์ค�ำส่ังที่ศาลช้ันต้น
อนญุ าตใหโ้ จทกถ์ อนฟอ้ งจำ� เลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๖ ดว้ ย คำ� สงั่ ของศาลชน้ั ตน้ ทอ่ี นญุ าตใหโ้ จทกถ์ อนฟอ้ ง
จำ� เลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๖ จงึ ถงึ ทส่ี ดุ การถอนคำ� ฟอ้ งยอ่ มลบลา้ งผลแหง่ การยน่ื คำ� ฟอ้ งนน้ั รวมทงั้ กระบวน
พจิ ารณาอน่ื ๆ อนั มมี าตอ่ ภายหลงั ยน่ื คำ� ฟอ้ ง และกระทำ� ใหค้ คู่ วามกลบั คนื เขา้ สฐู่ านะเดมิ เสมอื น
หน่งึ มิไดม้ กี ารยน่ื ฟอ้ งเลย ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๗๖ ประกอบ
พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๖ จำ� เลยท่ี ๒ ถงึ ที่ ๖ จงึ ไมใ่ ชค่ คู่ วามในคดอี กี ตอ่ ไป ทง้ั ศาลเองกไ็ มอ่ าจมคี ำ� พพิ ากษาบงั คบั
จ�ำเลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ได้เพราะเป็นบุคคลภายนอก การทีส่ ัญญาประนีประนอมยอมความมขี อ้ ตกลง
เกี่ยวกับการถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ด้วย จึงเป็นเพียงการแถลงให้ศาลทราบถึงข้อตกลง
กันระหว่างโจทก์กับจ�ำเลยท่ี ๑ เท่านั้น การถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๖ ไม่ใช่การถอนฟ้อง
อันเน่ืองมาจากข้อตกลงตามที่ระบุในสัญญาประนีประนอมยอมความ เม่ือโจทก์อุทธรณ์ขอให้
เพกิ ถอนสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ การทศ่ี าลชน้ั ตน้ รบั อทุ ธรณข์ องโจทกก์ บั ใหส้ ง่ หมายนดั
และส�ำเนาอุทธรณ์ของโจทก์ให้แก่จ�ำเลยทั้งหกแก้จึงแสดงว่าศาลช้ันต้นด�ำเนินการพิจารณาโดย
หลงผดิ ไปว่าจำ� เลยท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ยังเปน็ คูค่ วามอยู่ การทอี่ อกหมายนัดและสง่ สำ� เนาอุทธรณ์ของ
โจทกใ์ หแ้ ก่จำ� เลยที่ ๒ ถงึ ที่ ๖ แก้อทุ ธรณ์ดว้ ย จึงไม่ถูกต้อง เนือ่ งจากจ�ำเลยที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ไมใ่ ช่
คู่ความอกี ตอ่ ไปแลว้ เมอ่ื จำ� เลยท่ี ๒ ย่ืนคำ� รอ้ งขอใหเ้ พิกถอนหมายนัดและการสง่ สำ� เนาอุทธรณ์
ของโจทก์ให้แก่จ�ำเลยท่ี ๒ ท�ำให้ศาลชั้นต้นตรวจส�ำนวนจึงพบว่ามีการถอนฟ้องจ�ำเลยที่ ๒
ถึงที่ ๖ ไปก่อนแล้ว และทราบว่าการส่งหมายนัดและส�ำเนาอุทธรณ์ของโจทก์ให้แก่จ�ำเลยที่ ๒
ถงึ ท่ี ๖ ไมถ่ ูกตอ้ ง ประกอบกบั สำ� นวนคดียงั อยทู่ ศ่ี าลชั้นตน้ แมศ้ าลช้นั ตน้ จะมีค�ำสง่ั รบั อุทธรณ์
ของโจทก์แล้วก็ตามศาลชั้นต้นก็มีอ�ำนาจที่จะเพิกถอนการพิจารณาท่ีไม่ถูกต้องดังกล่าวได้ ท้ัง
ศาลชั้นต้นไม่ได้เพิกถอนการพิจารณาท่ีไม่ถูกต้องเฉพาะจ�ำเลยที่ ๒ แต่ศาลชั้นต้นเพิกถอน
การพิจารณาที่ไม่ถูกต้องต่อจ�ำเลยท่ี ๒ ถึงที่ ๖ จึงเป็นกรณีท่ีศาลเห็นสมควรเพิกถอนการ
พิจารณาท่ีไม่ถูกต้องดังกล่าวเอง ค�ำส่ังของศาลชั้นต้นท่ีไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์ในส่วนของ
จ�ำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๖ กับให้เพิกถอนหมายนัดและการส่งส�ำเนาอุทธรณ์ของโจทก์ให้แก่จ�ำเลย
ที่ ๒ ถึงท่ี ๖ จึงไม่ใช่การพิจารณาท่ีผิดระเบียบที่จะเพิกถอนได้ อุทธรณ์อ่ืนของโจทก์เป็น
รายละเอียดไมท่ �ำให้ผลแหง่ คดีเปลยี่ นแปลงไป จึงไม่จ�ำต้องวนิ ิจฉัยตอ่ ไป ทีศ่ าลช้ันต้นยกค�ำรอ้ ง
ของโจทกน์ ้นั ชอบแลว้ อุทธรณ์ของโจทกฟ์ ังไมข่ ้นึ
138
พิพากษายืน คา่ ฤชาธรรมเนียมในชัน้ นที้ ง้ั สองศาลให้เปน็ พับ.
(อมรรัตน์ กริยาผล - ประวทิ ย์ อทิ ธชิ ัยวัฒนา - พนารัตน์ คดิ จิตต)์
ฉนั ทนา ชมพานิชย์ - ยอ่
นรนิ ทร์ ทองค�ำใส - ตรวจ
139
คำ� พพิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนัญพิเศษที่ ๓๕๐/๒๕๖๑ นางสาว ก. โดยนาย ท.
ผู้เข้าเปน็ คู่ความแทน โจทก์
นาย ฤ. ผู้ร้องสอด
นาง ผ. จำ� เลย
ป.วิ.พ. มาตรา ๗ (๑), ๑๗๖
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๑
เม่ือโจทก์จ�ำเลยถอนฟ้องและฟ้องแย้ง ศาลชั้นต้นมีค�ำส่ังอนุญาตแล้วย่อม
ลบล้างผลแหง่ การยื่นคำ� ฟ้องและฟ้องแยง้ น้นั รวมทง้ั กระบวนพจิ ารณาอน่ื ๆ อนั มมี าตอ่
ภายหลังยื่นค�ำฟ้องและฟ้องแย้ง ท�ำให้คู่ความกลับคืนเข้าสู่ฐานะเดิมเสมือนหนึ่ง
มิได้มีการย่ืนฟ้องเลย แม้ค�ำร้องสอดของผู้ร้องจะไม่ตกไป เน่ืองจากเป็นค�ำร้องสอด
ท่ีผู้ร้องสอดใช้สิทธิของผู้ร้องสอดเองเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายท่ีสาม แต่คดีของ
ผู้ร้องสอดไม่ใช่คดีครอบครัวตามค�ำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
ทศ่ี าลชนั้ ตน้ ยกคำ� วนิ จิ ฉยั ดงั กลา่ วเปน็ เหตผุ ลใหเ้ หน็ วา่ คดขี องผรู้ อ้ งสอดไมอ่ ยใู่ นอำ� นาจ
พจิ ารณาพพิ ากษาของศาลเยาวชนและครอบครวั ภายหลงั ทโ่ี จทกจ์ ำ� เลยไดถ้ อนฟอ้ งและ
ฟอ้ งแย้งจึงชอบแลว้ แตก่ รณเี ชน่ น้ีจะตอ้ งเปลย่ี นแปลงศาลท่มี อี ำ� นาจพจิ ารณาพิพากษา
คดีซึง่ ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธพี ิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๑ ให้ศาลเดิมโอนคดีไปยังศาลท่ีมีอ�ำนาจพิจารณาพิพากษา
คดีดังกล่าว และให้ถือว่ากระบวนพิจารณาท่ีได้ด�ำเนินการไปแล้วในศาลเดิมก่อนมี
ค�ำพิพากษาไม่เสียไป ดังน้ัน ท่ีศาลช้ันต้นมีค�ำสั่งจ�ำหน่ายคดีในส่วนของผู้ร้องสอดด้วย
และหากผู้ร้องสอดประสงค์จะด�ำเนินคดีต่อไป ให้ผู้ร้องสอดด�ำเนินการยื่นฟ้องยังศาลท่ี
มอี ำ� นาจพิจารณาพิพากษาคดตี ่อไปจึงไมถ่ กู ตอ้ ง
______________________________
คดีสืบเน่ืองมาจากโจทก์ฟ้องคดีน้ีต่อศาลจังหวัดสงขลา ขอให้บังคับจ�ำเลยในฐานะ
ผู้จัดการมรดกของนาย จ. จดทะเบียนโอนสิทธิครอบครองท่ีดินพิพาทตามหนังสือรับรอง
140