The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2023-07-24 03:20:51

สยามรัถยา

สยามรัถยา

Keywords: Siam

เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕


เส้นทางความเจริญของสุวรรณภูมิและสยามประเทศ ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ถึงพุทธศักราช ๒๔๗๕


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 2


คำ นิยม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หนัังสืือ “สยามรััถยา เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศตั้�งแ้ต่่ ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช 2475” เป็็นหนัังสืืออ่่านเพิ่่�มเติิมความรู้้�ในสิ่่�งที่่�หนัังสืือ ประวััติิศาสตร์์ไทยทั่่�วไปขาดหายไป ที่่�สามารถอ่่านได้้ทั้้�งเยาวชน นัักเรีียนนัักศึึกษาและผู้้�สนใจ ประวััติศาิสตร์ร์ากเหง้้าของคนไทย อันั เป็็นการยกระดัับสัังคมอุุดมศึึกษาให้้บริิบููรณ์์ปััญญามาก ยิ่่�งขึ้้�น ขอถกเถ้ยงเีรองื่ ที่มาของคนไทยก็ด ขีอ้ พิจารณาเรองความเจื่ริญของมนุษยชาติในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ก็ดี ล้วนมีมาช้านานแล้ว แสดงให้เห็นถึงความสนใจของผู้คนทั้งในอดีตและ ปัจจุบันที่พยายามแสวงหาค�ำตอบเพื่อบอกเล่าถึงที่มาและบรรพบุรุษของตน เมื่อเวลาผ่านไป มากขึ้น การพบเจอข้อสรุปใหม่ก็เปิดเผยให้เห็นมากขึ้นไปด้วย บ่งชี้ได้ว่าพื้นที่เอเชียตะวันออก เฉยงใ ี ต้ทงภาคั้พื้นทวีปและหม่เกาะ หูรือที่เรียกกันว่าดินแดนสุวรรณภมูมาแิต่โบราณนั้น เจริญ ก้าวหน้ากว่าที่คาดคิดไว้มาก และเป็นที่บ่มเพาะศิลปะวิทยาการชั้นสูงต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยี การหลอมโลหะ การค้า การเพาะปลูก ดังที่ปรากฏร่องรอยโบราณวัตถุ โบราณสถานจ�ำนวน มากในปัจจุบัน ความเจริญที่สืบเนองื่ต่อมานั้นเปนผ็ลมาจากการที่ผู้คนอาศัยอย่อย่างหูนาแนน่ หลาก หลายเชือชา้ติ และมกาีรอพยพเคลือ่นยายถ้ ิ่นฐานเพอความมั ื่ ่นคงของชุมชนและการประกอบ อาชีพ พื้นที่ต่าง ๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิเจริญขึ้นพร้อมกับเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง เช่น เปน็ เมืองท่าการคา เ้ ปน็แหล่งผลิต เปน็ศูนย์กลางพทุธศาสนาและความเชืออื่ ่น ๆ ความเจริญใน อดีตเช่นนี้คือเส้นทางของความเจริญในปัจจุบันนี้ดวย ้ ผู้คนในปัจจุบันจึงได้รับมรดกจากบรรพชน มาแต่อดีตด้วยความภูมิใจ 3


คณะท�ำงานเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้มีวัตถุประสงค์จะให้เห็นความเจริญที่เกิด ขึ้นในดินแดนสุวรรณภูมิ หรือที่เรียกกันว่าสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีผู้คนอยู่กระจัดกระจาย ทั่วประเทศ และสร้างสรรค์เทคโนโลยีต่าง ๆ จนเข้าสู่สมัยที่มีการก่อก�ำเนิดเมือง รัฐ ขึ้น โดย มีโครงสร้างทางสังคม กล่าวคือมีผู้ปกครอง และผู้ใต้ปกครอง มีระบบในการดูแลความสงบ เรียบร้อยและการอุปถัมภ์ค�้ำจุน ดังนั้นจึงมเีรองื่ราวของอาณาจักรอื่นๆ นอกเหนือไปจากสุโขทัย อยุธยา ที่หนังสือเรียนประวัติศาสตร์คุ้นเคยกันมาก่อน ขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็นเหตุการณ์ ส�ำคัญของผู้น�ำที่สามารถสร้างความเจริญขึ้นได้ในสภาวะที่บีบบังคับต่าง ๆ ผมขอขอบคุณคณะท�ำงานในการเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ และหวังว่าข้อมูล อันเป็นประโยชน์ในหนังสือเล่มนี้จะก่อให้เกิดการถกเถียง และต่อยอดทางวิชาการทาง มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้อีกในอนาคต ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 4


คำ นำ สำ นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำำนัักงานการวิิจััยแห่่งชาติ (วช.) ิ มีีภารกิิจในการส่่งเสริิมและสนัับสนุนุ ในการศึึกษาและพััฒนา เพื่่�อสร้้างองค์์ความรู้้�จากการวิิจััย เพื่่�อนำำไปใช้้ประโยชน์์ในการพััฒนาประเทศในหลากหลายมิิติ โดยใ ิ ห้้ ความสำำคััญกัับการวิิจััยทั้้�งทางด้้านวิิทยาศาสตร์์ มนุุษย์์ศาสตร์์ สัังคมศาสตร์์และศิิลปกรรมศาสตร์์ โดย การสร้้างชุุดความรู้้�จากการวิิจััยด้้านมนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ เป็็นการสร้้างคุณคุ่่าที่่�จะแสดงให้้เห็นมีี ็ ความลึึกซึ้้�งในกระบวนการวิิจััยที่่�เกิิดความสร้้างสรรค์์และมีีคุณปรุะโยชน์์ที่่�มีีความสำำคััญยิ่่�ง ในการศึึกษา และวิิจััยองค์์ความรู้้�อย่่างลึึกซึ้้�งที่่�สามารถนำำไปต่่อยอดได้้อย่่างมีีประโยชน์์ เฉพาะการศึึกษาประวััติศาิสตร์์ไทย วช. เห็นว่็ ่า เป็็นการศึึกษารากฐานและแสดงให้้เห็นคุ็ณคุ่่า ของความเจริิญของดิินแดนไทยที่่�มีีบรรพชนตั้้�งถิ่น ่� ฐาน และมีีความเจริิญอยู่่นานนัับพันปีั ี จากร่่องรอย ของความเจริิญต่่าง ๆ ที่่�ยัังคงปรากฏให้้เห็น็ ในปััจจุบัุนัดัังที่่�ในหนัังสืือ “สยามรััถยา เส้้นทางความ เจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศตั้�งแ้ต่่ก่่อนประวัติัิศาสตร์ถึ์ึงพุุทธศักรั าช 2475” ได้้อธิิบาย ให้้เห็นชั็ ัดเจนว่่าความเจริิญของประเทศไทยและดิินแดนสุุวรรณภููมิินี้้� เป็็นมรดกที่่�บรรพชนได้้สร้้างสรรค์์ และส่่งต่่อไว้้จากรุ่่นสู่่รุ่่น วช. ขอขอบคุณุคณะผู้้�ศึึกษาวิิจััยและเรีียบเรีียงหนัังสืือประวััติศาิสตร์์ไทยที่่�มีีคุณคุ่่า และสร้้างสรรค์์ ผลงานที่่�มีีประโยชน์์เพื่่�อการศึึกษา ทั้้�งในระดัับมััธยมศึึกษา อุุดมศึึกษา และผู้้�สนในทั่่�วไปให้้ได้้รัับความรู้้� มุุมมอง และหลัักฐานใหม่่เกี่่�ยวกัับประวััติศาิสตร์์ไทยตั้้�งแต่ยุุ่คสุุวรรณภููมิิจนปััจจุบัุนั ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ นวยการสำ นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 5


7 คำำนิิยม คำำนำำ สารบััญ บทนำำ บทที่่� ๑ คููน้ำ ำ� คัันดิิน หิินก้้อนแรก: ชุุมชนยุุคก่่อน ประวััติิศาสตร์์ในดิินแดนต่่าง ๆ ของไทย ร่่องรอยของโฮโมอิิเร็็กตััสในดิินแดนไทย วิิถีีชีีวิิตมนุุษย์์ก่่อนประวััติศาิสตร์์: จากสัังคมล่่าสััตว์์-เก็็บของป่่าสู่่ชุุมชนเกษตรกรรม โลหกรรมในยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ กลองมโหระทึึกกัับการกระจายตััวของวััฒนธรรมดงเซิิน แหล่่งโบราณคดีีที่่�สำำคััญในประเทศไทย บทที่่� ๒ เส้้นทางการค้้ายุุคแรก : เส้้นทางการค้้าและ การแลกเปลี่่�ยนวััฒนธรรมในเมืืองโบราณยุุคต้้น เส้้นทางการค้้าทางทะเลยุุคแรก กำำเนิิดเมืืองยุุคแรกในดิินแดนคาบสมุุทรไทย รััฐโบราณและการผสมผสานอารยธรรม ฟููนััน: รััฐโบราณแรกรัับวััฒนธรรมอิินเดีีย ในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ รััฐโบราณในดิินแดนไทย ศรีีวิิชััย : ศููนย์์กลางการค้้าและวััฒนธรรม พุุทธมหายานในคาบสมุุทรภาคใต้้ ทวารวดีี : ประตููการค้้าและวััฒนธรรมในยุุคแรก บทที่่� ๓ ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่่�ยนทางวััฒนธรรม ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต) เส้้นทางการค้้าและวััฒนธรรมสมััยสุุโขทััย: เครื่่�องถ้้วยกัับเครืือข่่ายการค้้าตอนใน อรุุณรุ่่งแห่่งวััฒนธรรมสมััยสุุโขทััย เส้้นทางการค้้าและวััฒนธรรมของล้้านนา อยุุธยา : เมืืองท่่าและศููนย์์กลางการค้้า ละโว้้ (ลพบุุรีี)-สุุพรรณภููมิิ (สุุพรรณบุรีีุ ): แกนกลางสำำคััญของอาณาจัักรอยุุธยา จากทวารวดีีถึึงอยุุธยา อาณาเขตของอาณาจัักรอยุุธยา ทรััพยากรธรรมชาติิและพืืชผลทางการเกษตร: ปััจจััยพื้้�นฐานทางเศรษฐกิิจ ปััจจััยที่่�ทำำให้้อยุุธยาเป็็นศููนย์์กลางการค้้า ตลาดในกรุุงศรีีอยุุธยา กรมพระคลัังกัับการค้้า การขยายพระราชอาณาเขตกัับการค้้า สัังคมพหุุวััฒนธรรมในกรุุงศรีีอยุุธยา ศิิลปะและวััฒนธรรมในสมััยอยุุธยา การล่่มสลายของอาณาจัักรอยุุธยา บทที่่� ๔ วิิถีีแห่่งความเปลี่่�ยนผ่่าน วิิถีีคนกล้้า วิิถีีบ้้านเมืืองใหม่่ วิิถีีการเมืืองแบบชุุมนุุมเมื่่�อสิ้้�นกรุุงศรีีอยุุธยา วิิถีีแห่่งการฟื้้� นฟููบ้้านเมืือง การสิ้้�นอำำนาจของสมเด็็จพระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี วิิถีีแห่่งความเปลี่่�ยนแปลง: สัังคม เศรษฐกิิจ การเมืือง สู่่รัตนั โกสิินทร์์ตอนต้้น บทที่่� ๕ มหารััถยาแห่่งความศิิวิิไลซ์์ : การปฏิิรููปสู่่ความเป็็นสมััยใหม่่ สนธิิสััญญาเบาว์์ริิง การเปลี่่�ยนแปลงประเทศในสมััยพระบาทสมเด็็จ พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว กัับการรัับวััฒนธรรมตะวัันตก ความเปลี่่�ยนแปลงของกรุุงเทพฯ ในสมััยรััชกาลที่่� ๕ การสื่่�อสารและการคมนาคมทางรถไฟ: ทางเชื่่�อมกรุุงเทพฯ กัับหััวเมืืองไกล บทส่่งท้้าย บรรณานุุกรม ๑๑๗ ๑๑๙ ๑๑๙ ๑๒๓ ๑๒๗ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๕ ๑๓๘ ๑๔๔ ๑๕๑ ๑๕๒ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๖๕ ๑๗๐ ๑๗๔ ๑๙๑ ๑๙๒ ๑๙๗ ๒๐๓ ๒๑๕ ๒๒๓ ๒๒๙ ๒๓๕ ๒๔๗ ๓ ๕ ๗ ๙ ๑๙ ๒๑ ๒๒ ๒๙ ๓๒ ๓๓ ๔๗ ๔๘ ๕๐ ๕๐ ๕๒ ๕๓ ๕๙ ๖๓ ๘๓ ๘๔ ๘๙ ๙๓ ๑๑๒ ๑๑๔ สารบัญ


แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยตงแั้ต่อดีตจนปัจจุบันเปน็การ ใช้ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์เป็นเกณฑ์ในการศึกษา ดังนั้นเนื้อหาของการ เรียบเรียงประวัติศาสตร์จึงเปน็ ไปตามล�ำดับเวลาเฉพาะในแต่ละพื้นที่ ส่งผล ใหไม่เห็ ้นมิติของพัฒนาการร่วม หรือการมองในรูปแบบองค์รวม อย่างไรก็ดี ก็ยังมความจ� ีำเปน็ ในเบือง้ ต้นที่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทยจะต้องรู้จักเกณฑ์ ในการแบ่งการศึกษาโดยใช้ช่วงเวลา เพียงแต่ต้องขยายเพดานความคิดไป ว่าในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ณ พื้นที่บริเวณอื่น ๆ มีปฏิสัมพันธ์ใดเกิดขึ้นบ้าง สยามรััถยา เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัั กราช ๒๔๗๕ 9 บทนำ


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 10


ในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา ความก้าวหน้าของ การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยเจริญขึ้นตามล�ำดับ ทั้งนี้มี หลายปัจจัยที่ส่งเสริมการศึกษาด้านนี้ คือ ประการแร ก การวางรากฐานของนัก ประวัติศาสตร์รุ่นบุกเบิก ที่ได้พยายามรวมรวมศึกษา ประวัติศาสตร์ไทยไว้รวมทั้งได้จัดเก็บเอกสารต่าง ๆ ที่ เปนปร ็ ะโยชน์หรือชช่อง ี้ ทางในการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยไว และยังหมาย ้รวมถึงการสร้างประเด็นปัญหาทาง ประวัติศาสตร์ให้นักวิชาการ นักเรียน นักศึกษาในสมัย ต่อมาได้สืบทอดและขบคิดต่อไป ประการที่สอง นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ ได้เปิดหลักฐานใหม่เพิ่มมากขึ้น ทั้งเอกสารภาษาตะวัน ตกและภาษาตะวันออก ด้วยเหตุที่มีผู้สนใจในภาษา ต่างประเทศหรือมีโอกาสได้รับเอกสารต่าง ๆ อันเป็น ประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยเพิ่มมากขึ้น การขยายพรมแดนเอกสารประวัติศาสตร์เช่นนี้นับว่าจะ มีประโยชนต์ ่อการตีความประวัติศาสตร์ไทยเพิ่มมากขึ้น เป็นอย่างยิ่ ง ประการที่สาม คือความก้าวหน้าของงาน โบราณคดีทวภั่มูภาคของิ ประเทศไทย การใชข้อม้ลขุดค ู้น ทางโบราณคดเีปนส็ ่วนหนงของกาึ่รศึกษาประวัติศาสตร์ ไทย ทำ� ใหเห็ ้นภาพที่ชัดเจนขึ้นถึงการด�ำรงอย่ของมูนุษย์ ที่กระจายทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยในปัจจุบัน ย ิ่ ง ไปกว่านั้นคือการเห็นความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ใน ช่วงเวลาอดีตยอ้นหลังไปหลายพนปั ี หลักฐานโบราณคดี ส�ำคัญเช่นการค้นพบชุมชนโบราณที่ติดต่อสัมพันธ์กับ โลกภายนอก การค้นพบโบราณสถาน พระพทุธรูป และ จารึก ที่บ่งชี้ถึงความเจริญของท้องถิ่น รวมถึงโบราณ วัตถุอื่น ๆ อีกมาก ประการที่สี่ คือความท้าทายในการตั้งประเด็น ค�ำถามใหม่ทางประวัติศาสตร์ อันเปนผ็ลพวงของแนวคดิ แบบยุคหลังนวนิยม (Postmodernism) ในคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 ที่มกาีรตงค� ั้ำถามท้าทายใหม่ และพยายามพิสูจน์ ความเชือเก่า เฉ่พาะในดา้นประวัติศาสตร์ไทยนั้น ความ กาวห้ น้าอย่างหนงคือก ึ่ระแสของการตงค� ั้ำถามถึงความ จริงแท้ของเหตุการณ์ในอดีต ทงล� ั้ำดับเหตุการณ์ บุคคล และเบื้องหลังของเหตุการณ์นั้น ๆ ที่มีผลต่อสังคมไทย แต่กระนั้นก็คงไม่สามารถเข้าถึงความจริงแท้ได้ เพราะ การศึกษาทางประวัติศาสตร์เปน็เรองของหลักฐา ื่ นที่พบ ณ ขณะนั้นกับการตีความของผู้ศึกษาเอง ผลลัพธ์ที่ไดจึง้ จะแปรเปล ี่ ยนไปตามยุคสมัยและบุคคล ประการที่ห้า คือการเกิดช่องทางในการสื่อสาร และเข้าถึงกับคนเพิ่มมากขึ้น เหตุที่เรื่องราวในอดีตทั้ง ประวัติศาสตร์ ต�ำนาน ความเชื่อ เป็นเรื่องของมนุษย์ โดยแท้ และสัมพันธ์กับมนุษย์อย่างหลีกเล ี่ยงไม่ได้ การ บอกเล่าเรองื่ราวในเชงิตำน�านพื้นบา้นผสานความเชือจึง่ เป็นเรื่องใกล้ตัวและเข้าถึงได้ง่าย กอปรกับช่องทางการ สื่อสารในปัจจุบันมีเพิ่มขึ้นกว่าอดีต ท�ำให้ชุมชนแต่ละ พื้นที่มีโอกาสน�ำเสนอเรื่องเล่าต�ำนานของตนให้เป็นที่ รู้จักกันมากขึ้น อันจะส่งผลใหเก้ดอุิตสาหกรรมการท่อง เที่ยวในชุมชนตามมา 11


ประการที่หก คือ หน่วยงานภาครัฐเห็นความส�ำคัญในการยกระดับการศึกษาประวัติศาสตร์ และมีความร่วมมืออย่างต่อเนื่องในหลายระดับ และการจัดการศึกษาประวัติศาสตร์เพิ่มกิจกรรม มากกว่าก่อน ในระดับมัธยมศึกษามีการจัดหลักสูตรประวัติศาสตร์ทั้งกระแสหลักและประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น เกิดความตื่นตัวในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างประวัติศาสตร์ขึ้น นอกจากนี้ระดับอุดมศึกษา มีการพัฒนาหน่วยงานและสร้างสรรค์ผลงานประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ลุ่มลึก และเข้าถึงคนทั่วไป มากขึ้น แต่อย่างไรก็ดีต้องยอมรับด้วยว่าเนื้อหาประวัติศาสตร์ไทยนั้น มีหลายเรื่องราว และไม่ สามารถใช้เพียงหนังสือหรือคู่มือเล่มใดเป็นหลักในการศึกษาได้เพียงล�ำพัง เพราะเท่ากับเป็นการปิด กั้นการตีความนอกกรอบและไม่ได้ใช้ข้อมูลด้านอื่น ๆ เข้ามาช่วยศึกษา นอกจากนี้ การศึกษาที่ยัง เน้นที่เนื้อหาของ “พงศาวดาร” คือการอธิบายตามล�ำดับเวลาของรัชกาล ก็อาจท�ำให้ความก้าวหน้า ที่พึงจะเกิดขึ้น ชะงักงันไปด้วย การส่งเสริมให้มีสื่อที่หลากหลาย และมีเนื้อหาที่ทันสมัยอยู่เสมอจึง มีความจ�ำเป็นย ิ่ ง 13


ดินแดนที่เรียกกันว่าสุวรรณภูมิ มีพื้นที่กว้าง ใหญ่มาก จนไม่สามารถก�ำหนดขอบเขตได้ว่าควรจะ เป็นเท่าใด และมีอายุตั้งแต่สมัยใด แต่เรามักก�ำหนด กันว่าเส้นกั้นระหว่างความเจริญในดินแดนหนึ่ง ๆ ควร เป็นการมีตัวอักษรขีดเขียนลงบนวัสดุต่าง ๆ ที่สรุป กันทางทฤษฎี ว่าเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ และ ยุค ประวัติศาสตร์ ทั้งที่แท้จริงแล้ว ช่วงเวลาสมมติเหล่านี้ ลว้นคาบเกยวกั ี่ น และไม่สามารถใช้ทฤษฎีนี้ได้พร้อมกัน ณ เวลาเดยวกับบ ีนผนืโลกใบนี้ เพราะแต่ละแห่งมความี เจริญไม่เท่ากัน การสรุปว่าดินแดนก่อนประวัติศาสตร์ ล้าหลังกว่าดินแดนอื่นที่เข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์แล้ว นั้นดจะง่ายและเูร็วเกินไป พื้นที่สุวรรณภมูก็เช่ ินกัน เหตุ เพราะบ้าน ชุมชน เมือง รัฐ ในดินแดนนี้มีพัฒนาของ ตนเองอย่างต่อเนองและยื่ งใหญ่ไม่แ ิ่ พ้ดินแดนใดในโลก หลักฐานที่พบในปัจจุบันสรปุชัดเจนว่าคนที่อาศัยอย่บูน แผน่ดินไทยในทุกวันนี้ลว้นสืบร่างก่อรัฐขึ้นมาจากที่เดมิ ทั้งสิ้น การโยกย้ายถิ่นฐานภายในภูมิภาคเกิดขึ้นอย่าง เป็นปกติ และการโยกย้ายนี้เองเป็นพลวัตให้เกิดระบบ การค้าและวัฒนธรรมที่เลื่อนไหลจากจุดหนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่งได้ง่าย ความเจริญในด้านต่าง ๆ เช่นการสร้าง บ้านเมือง การป้องกันเมืองให้ปลอดภัยจากสงคราม การยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ให้รื่นรมย์ ล้วนด�ำรงอยู่ ในดินแดนสุวรรณภูมิมาเป็นระยะเวลาหลายพันปีล่วง มาแล้ว เป็นเส้นทางที่ยาวนานแต่ก็ยังสามารถหาหลัก ฐานมาประกอบเพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นได้ จากนั้น เป็นต้นมาช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของการเป็นรัฐที่ มีผู้คน ความเชื่อ และรูปแบบการปกครอง ก็ถือก�ำเนิด ขึ้นในดินแดนต่าง ๆ ประสานกับความเจริญของพื้นที่ และผู้คนทั้งภายในและภายนอก เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 14


หนัังสืือ “สยามรััถยา เส้้นทางความเจริิญของ สุุวรรณภููมิิและสยามประเทศตั้�งแ้ต่่ก่่อนประวัติัิศาสตร์์ ถึึงพุุทธศัักราช 2475” เป็็นหนัังสืือที่่�เรีียบเรีียงขึ้้�น ด้้วยวััตถุุประสงค์์หลัักเพื่่�อให้้เห็็นความเจริิญของดิิน แดนต่่าง ๆ ในประเทศไทยตั้้�งแต่่สมััยสุุวรรณภููมิิหรืือ ก่่อนประวััติิศาสตร์์ และประวััติิศาสตร์์ของพื้้�นที่่�ต่่าง ๆ ตลอดจนเหตุุการณ์์สำำคััญ โดยปรัับปรุุงเนื้้�อหาให้้มีี ความเป็็นปััจจุุบัันสมััย ทั้้�งในด้้านการใช้้เอกสาร การ สำำรวจข้้อมููล ข้้อถกเถีียง ตลอดจนประเด็็นคำำถามที่่� ก่่อให้้เกิิดการศึึกษาค้้นคว้้าเพิ่่�มมากขึ้้น�ประกอบกันั เป็็น 5 บท ชื่่�อหนัังสืือสยามรััถยาเองก็็บ่่งชี้้�ให้้ผู้้�อ่่านได้้เห็็น ภาพของเส้้นทางของสยามจากอดีีตจนถึึงช่่วงก่่อนการ เปลี่่�ยนแปลงการปกครอง พุทุธศัักราช 2475 ว่่ามีีความ เปลี่่�ยนแปลงไปเช่น่ ไร แต่่การใช้้พุทุธศัักราช 2475 เป็็น หมุุดหมายที่่�หนัังสืือเล่่มนี้้�สิ้้�นสุุดลงนั้้�นไม่่ได้้เกี่่�ยวข้้อง ใดใดกัับการเมืืองการปกครองดัังที่่�เข้้าใจกััน หากแต่่ผู้้� เรีียบเรีียงเห็็นว่่าความเจริิญประการหนึ่่�งที่่�สำำคััญคืือ การคมนาคมภายในประเทศ ที่่�พััฒนาเชื่่�อมโยงระหว่่าง ภููมิิภาคกัับเมืืองหลวงได้้สำำเร็็จในช่่วงปีีดัังกล่่าว ในหนังสือเล่มนี้ผู้เรียบเรียงเริ่มต้นจากยุคอดีต เพอให ื่เห็ ้นแหล่งโบราณคดและี ประวัติศาสตรที่ ์กระจาย อยู่ทั่วไปในดินแดนสุวรรณภูมิคูน�้ำคันดินหินก้อน แรกที่มีผู้คนอาศัยอยู่นี้มิได้อยู่เพียงล�ำพัง และมิได้ล้า หลังป่าเถื่อน แต่การด�ำรงชีวิตที่สอดคล้องสัมพันธ์กับ ธรรมชาติสร้างสรรค์เครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นประโยชน์ อย่างเฉลยวฉลาดกลับ ีทำ� ใหด้ินแดนนี้เปนที่รู้ ็ จักกันดมาี แต่อดีต คนทวไั่ปอาจรู้จักเพียงแหล่งโบราณคดบีา้นเชยง ี เพราะมีอุตสาหกรรมการปั้นภาชนะดินเผาที่งดงาม แต่ จากขอม้ลูที่พบเพิ่มมากขึ้นสะท้อนใหเห็ ้นความช�ำนาญ ของบรรพบุรุษทั้งในด้านการโลหะ การสลักไม้ การปั้น ดิน ที่สามารถผลิตเพื่อตอบสนองตลาดอื่นไกลได้เป็น อย่างดีทั้งยังมีปฏิสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับเมืองท่าการ ค้าริมทะเลทั้งทางฝั่งทะเลอันดามัน และฝั่งทะเลจีนใต้ นับได้ว่าการเรียกสุวรรณภูมิว่าดินแดนทองค�ำนั้นก็มิได้ เป็นการกล่าวอ้างเกินเลยไปนัก จากชุมชนเล็กที่มีความเข้มแข็ง ได้ก่อร่างสร้าง ตนขึ้นเป็นเมืองใหญ่และกลายเป็นรัฐที่มีเมืองบริวาร ล้อมรอบและสามารถส่งผลผลิต แนวคิด ไปตั้งมั่นยัง พื้นที่ต่าง ๆ ได้อีกด้วย เมืองในยุคแรกนี้ล้วนพัฒนา มาจากชุมชนก่อนประวัติศาสตร์เกือบทั้งสิ้น แต่ก็อาจ สังเกตได้ว่าบริบทการค้าและการเดินทางภายนอกเช่น การคา้ทางทะเล เริ่มเขามาม้บีทบาททีละน้อยกับรัฐหรือ เมืืองชายฝั่่งทะเล ก่่อนจะได้้เข้้ามาสู่่ดิินแดนภายใน รััฐสำำคััญในคาบสมุุทรคืือศรีีวิิชััย มีีบทบาททั้้�งด้้านการ สงคราม ศาสนา และการค้้า ส่่วนรััฐสำำคััญในภาคพื้้�น ทวีีป เช่่น ทวารวดีีในภาคกลาง ก็็ได้้รัับการยืืนยัันถึึงการ มีีตััวตนจากเอกสารจีีน และจากข้้อมููลจารึึกวััดพระงาม จัังหวััดนครปฐมที่่�พบใหม่่ล่่าสุุด นัับเป็็นรััฐที่่�มีีความเข้้ม แข็็งในด้้านวััฒนธรรมความเชื่่�อ การค้้า ที่่�สามารถแผ่่ ขยายอิิทธิิพลไปถึึงดิินแดนล้้านนา และภาคตะวัันออก เฉีียงเหนืือ นอกจากทวารวดีีแล้้ว ยัังปรากฏชื่่�อรััฐใหญ่่ น้อยอกจ� ีำนวนมากที่มบีทบาทแมจะเ้ ปน็ช่วงเวลาสั้น ๆ ก็ตามทีเส้นทางการค้าในยุคแรกจึงเป็นการแลก เปล ี่ ยนสินค้าในระดับเมืองในภาค พื้นทวีป ที่ต่อมามี การผสมผสานวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ และอื่นๆ 15


คนที่เพิ่มมากขึ้นย่อมน�ำมาซึ่งความซับซ้อน ของสังคม และเกิดระบบการปกครองและระบบการ ค้าที่จะตอบสนองต่อผลประโยชน์ของรัฐ การควบคุม ไพร่พลที่มีเพิ่มมากขึ้นจึงเป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญของรัฐ ที่พัฒนาขึ้นจากเดิม แต่จุดมุ่งหมายของผู้น�ำรัฐก็ยังคง เป็นเช่นเดียวกับอดีต กล่าวคือ การสร้างความเจริญให้ กับเมืองนั้น ๆ และให้ประชากรมีความอยู่ดีกินดี เมื่อ อิทธิพลของวัฒนธรรมเขมรลดระดับการครอบครอง ดินแดนในสุวรรณภูมิลงแล้ว รัฐที่เข้มแข็งเพียงพอก็ถือ ก�ำเนิดขึ้นจากการรวมตัวของชุมชนและความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจ พื้นที่ใดก็ตามมีความพร้อมทั้งปัจจัยการ ด�ำรงชีวิต การสร้างเมือง และการค้าแล้ว ย่อมรุ่งโรจน์ ขึ้นได้โดยง่าย เช่นเมืองสุโขทัย ล้านนา อยุธยา ที่ต่างก็ ก�ำเนิดในเวลาไล่เลี่ยกัน นับได้ว่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 - 19 เป็นยุคทองของการถือก�ำเนิดของถนนสาย วัฒนธรรม เหตทีุ่ในช่วงระยะเวลาตงแั้ตพ่ทุธศตวรรษที่ 19 – 22 เปน็ช่วงเวลาของการด�ำรงอย่ของอยุธยา ูราชธานี ที่ไม่ได้เคลื่อนย้ายที่ไปใด ท�ำให้เนื้อหาประวัติศาสตร์ ไทยในช่วงดังกล่าวมีหลายประเด็น ส�ำคัญที่สุดคือการ คา้ที่สามารถชี้นำ�และประคับประคองอาณาจักรอยุธยา ได้โดยตลอด หรืออีกนัยหนึ่งการค้าเป็นเครื่องชี้น�ำ การเมืองมาตงแั้ต่อดีต แต่อย่างไรก็ดีผู้อ่านก็จะเห็นร่อง รอยของความเปนท็วารวดีที่สืบทอดต่อมายังอยุธยาได้ โดยง่าย ทงั้ที่ตง ความเชื ั้อ ่ระบบความสัมพนัธ์ของเมือง บริวาร และการคา อยุธยาจึงกลายเ ้ ปน็หนงใึ่นศูนย์กลาง ที่ย ิ่งใหญ่ของโลกในช่วงระยะเวลานั้น ผู้คนหลากหน้า หลายตาจึงต้องเดินทางเขามายังอยุธยาเ ้พอแื่สวงหาผล ประโยชน์ตามที่ตนต้องการ ครั้นกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในพุทธศักราช 2310 ปัจจัยการเมืองภายในมีบทบาทชัดเจนและเป็น ตัวกระต้นุใหอยุธยาขาด้ทงเั้สถยีรภาพและประสิทธภาิพ ที่จะรับมือกับศัตรู การรวมผู้คนโดยใช้ผลประโยชน์ ทางการค้าไม่ประสบความส�ำเร็จเหมือนก่อน เป็นเหตุ ให้ผู้น�ำที่มองเห็นวิถีแห่งความเปลี่ยนผ่าน ต้องตัดสิน ใจแกไข้ ปัญหาเฉพาะหน้า พร้อมกับแนวร่วมและสมาชกิ สมทบ สมเด็จพระเจาก้รุงธนบุรีต้องทรงเผชญกับ ิ ปัญหา ภายในราชสำน� ักอยุธยา และปัญหาทางเศรษฐกจิต่าง ๆ การตัดสินพระทัยออกไปจากเมืองหลวงเพื่อตั้งหลัก และเขามากอบก้ เมืองอ ู้ กคีรงหั้นงึ่นั้น ย่อมจะมีประโยชน์ มากกว่าการดันทุรังที่จะเอาชนะศัตรูในคราวเดียว หลัง จากปราบปรามศัตรูภายนอกแลวเ้สร็จยังต้องทรงปราบ ศัตรูภายในดินแดนอกหลายคีรงหลายคั้ราว ศึกสงคราม เหล่านี้ย่อมบั่นทอนความเจริญของดินแดนที่ตงขึ ั้ ้นใหม่ ด้วยอย่างไม่ต้องสงสัย แต่ก็เริ่มแสดงให้เห็นภาวะของ ผู้นำ�และความเปน็ชาติที่แท้จริง ที่ทุกคนเปน็เจาของและ้ มีส่วนร่วมในการสร้างขึ้นใหม่ ความเปลย ี่ นแปลงในสมัย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีนั้นแม้จะเป็นเพียงช่วงระยะ เวลาของรัชกาลที่สั้น ๆ เพียง 15 ปี ก็ได้วางรากฐานที่ จะส่งต่อไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 16


นับแต่พุทธศักราช 2325 เป็นต้นมา พระมหา กษัตริย์มีพระราชภาระส�ำคัญ 3 ประการคือการรักษา ดูแล และป้องกัน ตามพระปฐมบรมราชโองการของ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ การอันใดที่เป็นไปเพื่อ ความสุขของพสกนิกร ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน ก็จักต้องเอา เปนพร็ะราชธุระจัดหา ปราบปรามให้สงบราบคาบ และ เสริมสร้างให้บังเกิดขึ้น ทั้งระบบการค้า การเมืองการ ปกครอง การศิลปวัฒนธรรม และการพระพุทธศาสนา กระทงความเั่ปลย ี่ นแปลงไดเก้ ดขึ ิ ้นอกคีรงใั้นปลายแผน่ ดินพระบาทสมเด็จพระนงเกลั่าเจ้าอย้ ่หัว เมืูอชา่ติตะวันตก เดิินทางเข้้ามาทำำสนธิิสััญญาทางไมตรีีและการค้้า ต่่อ เนื่่�องจนถึึงต้้นแผ่นดิินพร ่ะบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้า อยู่่หััว พระสยามเทวมหามกุุฏวิิทยมหาราช ที่่�ดิินแดน สุุวรรณภููมิิได้้เข้้าสู่่เส้้นทางมหารััถยาแห่่งความศิิวิิไลซ์์ เพราะความเจริิญที่่�เกิิดขึ้้�นทั้้�งพื้้�นที่่�ทางกายภาพของ เมืือง การติิดต่่อสััมพัันธ์์กัับต่่างประเทศ รููปแบบการ อุุตสาหกรรมเศรษฐกิิจ ต่่อเนื่่�องจนถึึงรััชสมััยพระบาท สมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว พระปิิยมหาราช ที่่� ได้้ทรงสร้้างความเจริิญจากการใช้้ความรู้้�ความสามารถ ของที่่�ปรึึกษาต่่างประเทศ และพระราชวิิสััยทััศน์์ในการ ดำำรงความเป็็นสยามในบริิบทสากล เช่่น ทรงส่่งเสริิม และจััดการศึึกษา การเสด็็จพระราชดำำเนิินออกเยี่่�ยม ราษฎรในหััวเมืืองต่่าง ๆ การจััดรููปแบบการปกครอง ท้้องถิ่น ่� และที่่�สำำคััญคืือการพััฒนาการคมนาคมให้้เชื่่�อม ประสานกัันทั้้�งภาคเหนืือ ภาคใต้้ และภาคตะวัันออก เฉีียงเหนืือ เพื่่�อให้้ความเจริิญที่่�เท่่าเทีียมกัันได้้แผ่่ขยาย ไปทั่่�วพระราชอาณาจัักร นับถึง ณ ปัจจุบันนี้ จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าความเป็น เอกราชอธิปไตยของประเทศไทย และความเจริญหลาก หลายประการที่ทัดเทียมกับประเทศต่าง ๆ หรือรุดหน้า ไปกว่าอีกหลายหลายพื้นที่เป็นก้าวที่เชื่อมต่อมาจาก ปฐมบทของผู้คนในสุวรรณภูมิแห่งนี้ ในการเรียบเรียงเนื้อหาของหนังสือ “สยาม รัถยา เส้นทางความเจริญของสุวรรณภูมิและสยาม ประเทศตงแั้ตก่ ่อนประวัติศาสตร์ถึงพุทธศักราช 2475” คณะผู้เรียบเรียงได้เน้นที่เหตุการณ์ความเจริญของ สุวรรณภูมิ โดยใช้เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ดังที่ได้ รวบรวมไว้ในบรรณานุกรมท้ายเล่ม เนื้อหาในแต่บทมี ความสัมพนัธ์กัน สอดร้อยใหเห็ ้นเส้นทางที่บรรพบุรุษได้ ทิ้งไวเ้ปน็มรดก มกาี รปรับปรุงและนำ�เสนอผลการศึกษา การขุดค้นทางโบราณคดีที่เปนป็ ัจจุบันมากขึ้น และยังคง มีประเด็นต่าง ๆ ในการศึกษาประวัติศาสตร์อยู่เช่นเดิม ซงึ่ผู้อ่านอาจสังเกตไดโดยไม่ยาก ้นัก ทงั้นี้ประเด็นสำ� คัญ ของหนังสือมิได้อยู่ที่การล�ำดับเวลาทางประวัติศาสตร์ หรือเน้นพระราชกรณียกิจการสงคราม ตามแบบการ เขียนหนังสือประวัติศาสตร์ทั่วไป แต่เป็นการส�ำรวจ ดูความเจริญ ความเฉลียวฉลาด และความตั้งใจของ บรรพบุรุษแต่แรกแล้วขีดเป็นเส้นทางให้เห็นชัดเจนว่า คนไทยในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นผู้ที่รับมรดกมาจากคน เมื่อหลายพันปีก่อนนั้นอย่เชู่นเดิม ชาติิไทยและชาวไทยจึึงไม่่ได้้ล้้าหลัังและ เดิินตามผู้้อื่่�น แต่ล้ำ่หน้ ำ� ้าและเป็็นศููนย์ก์ลางอารยธรรม แห่่งหนึ่่�งของโลกมาช้้านานแล้้ว 17


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 18


นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดีมัก กำหนดทฤษฎีไว้ว่าพื้นที่ใดที่ยังไม่มีร่องรอยของ ตัวอักษรที่จารจดลงไปบนพื้นผิววัสดุใดใดก็ตาม ลว้นแต่เปน็มนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตรท์งั้สิ้น ในแง่นี้ความเป็นประวัติศาสตร์จึงสัมพันธ์กับตัว อักษรหรือหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่ก็ มิได้หมายความว่าพื้นที่ดินแดนที่ไม่มีตัวอักษร จะไม่มีพัฒนาการของวัฒนธรรมการดำรงชีวิต ในทางตรงข้ามกลับพบว่ามนุษย์ในยุคที่อาศัย อยู่ในถ้ำหรือเพิงผามีความเจริญสูงโดยเฉพาะ การเทคโนโลยีทงด้ั ินเผาและงานโลหะกรรมต่าง ๆ ดังนั้นคำว่ามนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์จึง ไม่ใช่เส้นแบ่งที่จะกำหนดว่าดินแดนใดหรือผู้คน ในพื้นที่ใดจะล้าหลังกว่ากัน คูน้ำค ันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย ในทางทฤษฎีประวัติศาสตร์ทั่วไป สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์ ยังไม่รู้จักภาษาเขียน จึงไม่มีหลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร ด้วยเหตุนี้ทำให้สมัยก่อน ประวัติศาสตร์กินเวลายาวนานนับตั้งแต่มนุษย์ ถือกำเนิดขึ้นมาก็ว่าได้ เมื่อปราศจากจารึก และบันทึก การศึกษาเรื่องราวในสมัยก่อน ประวัติศาสตร์จึงใช้หลักฐานทางโบราณคดีเป็น หลัก ซึ่งหลักฐานดังกล่าวนั้นก็มีทั้งจากหลักฐาน ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เครองมือเค ื่รองใช ื่ ้ร่องรอย กองไฟ เครื่องนุ่งห่ม และหลักฐานที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ เช่น สภาพภูมิประเทศ 19 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย ๑


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในปัจจุบัน การกำหนดยุคในสมัยก่อน ประวัติศาสตร์นั้นมี ๓ แนวคิด ได้แก่ ๑. แบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ การใช้เครื่อง มือเครองใช ื่เ้ปน็ หลักสะท้อนใหเห็ ้นถึงสติปัญญาในการ ประดิษฐ์คิดค้นของมนุษย์ในสมัยต่าง ๆ โดยแบ่งออก เป็น ๑.๑ ยุคหิน (Stone Age) เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จัก สร้างเครื่องมือจากหิน ไม้ และกระดูก เริ่มต้นประมาณ สามลา้นปีมาแลว โดยยุคห ้ ินยังแบ่งแยกย่อยออกไปอก ี ๓ ยุค ได้แก่ • ยุคหินเก่า (Old Stone Age หรือ Paleolithic Period) เริ่มต้นประมาณ ๓ ล้านปี - ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว เริ่มตั้งแต่การใช้เครื่องมือหินครั้งแรกของเผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่เป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ สกุล Homo ในเวลาต่อมา • ยุคหินกลาง (Middle Stone Age หรือ Mesolithic Period) เริ่มต้นประมาณ ๒๐,๐๐๐ -๑๒,๐๐๐ ปี มาแล้ว • ยุคหินใหม่ (New Stone Age หรือ Neolithic Period) เริ่มต้นประมาณ ๑๒,๐๐๐ - ๖,๕๐๐ ปีมาแล้ว ยุคโลหะ (Metal Age) แบ่งแยกย่อยตามประเภทโลหะ เป็น ๒ ยุค ได้แก่ ๑.๒ ยุคสำ�ริด (Bronze Age) ประมาณ ๔,๐๐๐ – ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ๑.๓ ยุคเหล็ก (Iron Age) ประมาณ ๒,๕๐๐๐ - ๑,๕๐๐๐ ปีมาแล้ว ๒. แบ่งตามรูปแบบการดำรงชีวิต ได้แก่ • สังคมล่าสัตว์ - เก็บของป่า (Hunting – Gathering Society) ประมาณ ๑.๘ ล้านปี - ๖,๐๐๐ ปี มาแล้ว เริ่มตั้งแต่สมัยสปีชีส์โฮโมอิเร็กตัส สปีชีส์ โฮโมเซเปียนส์เริ่มประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว • สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) ประมาณ ๖,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปีมาแล้ว • สังคมเมือง (Urban Society) ประมาณ ๒,๕๐๐ ปีลงมา ๓. แบ่งตามหลักธรณีวิทยา ได้แก่ • ยุคไพลสโตซีน (Pleistocene) ประมาณ ๒,๐๐๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว เป็นยุคที่พื้นที่ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ของโลกยังปกคลุมด้วยน้ำแข็ง เริ่มเกิด วิวัฒนาการของมนุษย์ • ยุคโฮโลซีน (Holocene) ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ปี ลงมา เปน็ช่วงที่โลกเขา้สู่ยุคอากาศอบอุ่น ทำใหเก้ดกาิร เปลย ี่ นแปลงของระดับน้ำทะเลและสภาพภมูิประเทศ สิ่ง มชีวีิตทงั้พืชและสตัว์เริ่มแพร่กระจายสายพนัธุ์ออกไปใน ทวีปต่างๆ หลักฐานทางโบราณคดีที่ใชใ้นการศึกษาร่องรอย ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์มหลากหลายี ประเภท เช่น โครงกระดูกมนุษย์และสัตว์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา เมล็ดพืช เครื่องประดับ เครื่องนุ่งห่ม การพบหลักฐานเหล่านี้ทำให้เราทราบถึงบริเวณที่ตั้ง ถิ่นฐานของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากร่อง รอยของกจกิรรมต่าง ๆ มักปรากฏอยู่ในบริเวณที่มนุษย์ เคยอาศัยทงั้ที่เปนที่พ ็ ักชัวค่ราวและที่พักถาวร เช่น ภเขา ู 20


ถ้ำ เพิงผา ที่ราบ โดยนักโบราณคดีจะตรวจสอบจาก ภาพถ่ายทางอากาศ หรือการศึกษาจากเอกสารและการ เดินสำรวจเพื่อเป็นการรวบรวมหลักฐาน วิเคราะห์ชั้น ดิน โดยค้นหาชั้นดินอยู่อาศัย (Occupation Layer) ที่อยู่ ระหว่างชั้นดินธรรมชาติ (Natural Soil Layer) เนื่องจาก ชั้นดินที่อยู่ด้านล่างจะเป็นชั้นดินที่มีอายุมากกว่าชั้น ดินที่อยู่ด้านบน ก่อนจะทำการขุดค้นชั้นดินที่ทับถมกัน มาเป็นเวลานับร้อยนับพันปี แต่ละชั้นดินที่เคยมีมนุษย์ อาศัยอยู่จะพบเศษซากเครื่องมือเครื่องใช้และซาก อาหารอย่างกระดกูสตัว์ เมล็ดพืช รวมไปถึงโครงกระดกู มนุษย์ที่เคยอยู่ ณ ที่นั้นด้วย จากนั้น นักโบราณคดีจะ กำหนดอายุโดยใชว้ธิกาีรทางวิทยาศาสตร์ หรือประมาณ อายุได้จากลวดลายหรือรูปแบบเฉพาะของวัตถุ และ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตีความถึงรูปแบบวิถีชีวิตของ มนุษย์ในแหล่งโบราณคดีนั้น ๆ ร่องรอยของโฮโมอิเร็กตัสในดินแดนไทย วิวัฒนาการมนุษย์เริ่มจากสปีชีส์โฮโมแฮบิลิส (Homo habilis) เมื่อประมาณ ๒.๓ ล้านปีมาแล้ว ร่อง รอยที่เก่าแก่ที่สุดของโฮโมแฮบิลิสพบที่บริเวณฝั่งตะวัน ออกและทางใต้ของทวีปแอฟริกา มีกระดูกนิ้วมือที่ คล้ายมนุษย์ปัจจุบันมากทำให้สามารถใช้มือหยิบจับสิ่ง ต่าง ๆ ได้ดีซึ่งสอดคล้องกับการขุดพบเครื่องมือหิน ที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่าโฮโมแฮบิลิสน่าจะเป็นมนุษย์ ดึกดำบรรพ์ยุคแรกที่สามารถประดษฐ์เค ิรองใช ื่เค้รองมือ ื่ จากหินได้โดยการนำก้อนหินมากะเทาะให้เกิดเหล ี่ ยม คมเป็นเครื่องมือหินขึ้นมาใช้ต่อมาโฮโมแฮบิลิสได้ วิวัฒนาการมาเป็นโฮโมอิเรกตัส (Homo erectus) เมื่อ ประมาณ ๑.๘ ลา้นปีมาแลว ม้ ีทักษะเพิ่มขึ้นในการใชเ้ท้า ทั้งการเดินและการว ิ่ง และยังมีรูปร่างสูงขึ้นและสมอง ที่ใหญ่ขึ้นกว่าโฮโมแฮบิลิส เดินตัวตรงเหมือนมนุษย์ ปัจจุบัน รู้จักการใช้ไฟและการประดิษฐ์เครื่องมือหิน กะเทาะ มีวิถึชีวิตแบบล่าสัตว์ – เก็บของป่า อยู่ร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็ก ๆ แบบกลุ่มญาติพี่น้อง (band societies) และเชื่อว่าน่าจะมีการพูดจาสื่อสารกันได้ โฮโมอิเรกตัส เป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์สายพันธุ์แรกที่อพยพออกจาก ทวีปแอฟริกาไปยังเอเชยและยุโ ี รป ในเอเชยมีกาีรขุดพบ โครงกระดกของโฮโมอูเิรกตสที่สำ ั คัญ ไดแก่“ม ้นุษย์ชวา” (Homo erectus soloensis หรือ Java man) พบที่บริเวณ ลุ่มแม่น้ำโซโล ทางตอนกลางของเกาะชวา ประเทศ อินโดนีเซีย ในพ.ศ. ๒๔๓๔ กำหนดอายุของโครงกระดกู อยู่ระหว่าง ๕๐๐,๐๐๐ - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว และ “มนุษย์ปักกิ่ง” (Homo erectus pekinesis หรือ Beijing man หรือ Peking man) ขุดพบที่ถ้ำโจวโข่วเถี้ ยนในกรุง ปักกง ิ่ ประเทศจีน ค้นพบครงแั้รกใน ค.ศ.๒๔๖๔ กำหนด อายุของโครงกระดกอยูรู่ ะหว่าง ๒๓๐,๐๐๐ - ๗๗๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยปัจจุบันปรากฏ หลักฐานการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มาเป็นเวลานาน พบ โครงกระดูกส่วนกะโหลกด้านหน้าของโฮโมอิเรกตัสที่ แหล่งโบราณคดดอยีท่ากา ้ ตำบลนาแส่ง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง เมือ ่พ.ศ.๒๕๔๒ เรียกว่า “มนุษย์ลำปาง” กำหนดอายุประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว นอกจาก 21 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ นี้ ยังพบเข ี้ ยวของเสือเขี้ ยวดาบ ฟันไฮยีน่า กวาง และ แพนด้ายักษ์ รวมถึงเครื่องมือหินกะเทาะอีกด้วย ส่วน เครื่องมือหินกะเทาะที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ขุดพบที่แหล่ง โบราณคดีแม่ทะ บ้านแม่ทะ ตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง โดยกำหนดอายุได้ประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ - ๘๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ทำจากหินกรวดแม่น้ำ จากอายุ ของเครื่องมือหินดังกล่าวพบว่าน่าจะเป็นเครื่องมือหิน ของมนุษย์โฮโมอเิรกตสั อย่างไรก็ตาม ไม่พบโครงกระดกู มนุษย์โฮโมอิเรกตัสที่แหล่งโบราณคดีแม่ทะ วิถีชีวิตมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์: จากสังคมล่าสัตว์-เก็บของป่ าสู่ชุมชน เกษตรกรรม โครงกระดูกมนุษย์โฮโมเซเปียนส์ (Homo sapiens) ที่เก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศไทยมีอายุประมาณ ๒๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว เป็นโครงกระดูกเพศหญิง อายุ ประมาณ ๓๕ - ๔๐ ปี พบที่แหล่งโบราณคดีถ้ำหมอ เขียว อำเภอเมือง จังหวัดกระบ ี่ และยังพบโครงกระดูก มนุษย์ที่เก่าแก่ไล่เลยกั ี่ นที่แหล่งโบราณคดเีพิงผาถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนจำนวน ๒ โครง เป็นโครงกระดูกเพศหญิง มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เหล่านี้กำหนดอายุในช่วงยุคหิน มีวิถีชีวิตแบบล่าสัตว์- เก็บของป่า กล่าวคือ ยังไม่มีการตั้งถิ่นฐานถาวร แต่จะ อพยพย้ายถิ่นไปเรื่อย ๆ ตามฤดูกาลเพื่อเสาะหาพื้นที่ ที่มีอาหารบริบูรณ์ จึงมักจะสร้างที่อยู่โดยใช้วัสดุที่ไม่ ถาวร หรืออาจจะอาศัยตามที่กำบังตามธรรมชาติ เช่น ถ้ำ เพิงผา หาอาหารจากการเก็บพืชในป่า จับสัตว์น้ำ และล่าสัตว์ป่ามาบริโภค เนื่องจากมีการย้ายที่อยู่เสมอ ทำให้อยู่กันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือรวมกลุ่มในครอบครัว หรือเครือญาติ เพอให ื่ ้สะดวกในการอพยพและขอจ้ ำกัด เรื่องที่พักอาศัย หลักฐานเครองมือห ื่ ินที่ขุดพบในประเทศไทยจัด อยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมหัวบินห์ (Hoabinhian) ซึ่งเป็นกลุ่ม วัฒนธรรมล่าสตัว์-เก็บของป่าของเอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ ในช่วงรอยต่อระหว่างสมัยหินเก่าและสมัยหินใหม่ ประมาณ ๓๕,๐๐๐ – ๑๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว วัฒนธรรม หัวบินห์เรียกชื่อตามสถานที่ที่พบโบราณวัตถุในกลุ่ม วัฒนธรรมนี้เป็นที่แรก คือ จังหวัดหัวบินห์ (หรือฮหว่า บ ิ่ญ) ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ลักษณะร่วม ของกลุ่มวัฒนธรรมหัวบินห์ คือ การใชเค้รองมือแก ื่นหิน ที่ทำขึ้นจากหินกรวดแม่น้ำและมีลักษณะของเครื่องมือ เฉพาะตัว เช่น เครองมือห ื่ินกะเทาะหน้าเดยว เคีรองมือ ื่ หินรูปทรงรีหรือสี่เหล ี่ ยมผืนผ้า ขวานสั้น เครื่องมือหิน กะเทาะที่ขัดเฉพาะส่วนคม เครื่องมือหินกะเทาะเหล่า นี้ทำอย่างประณีต มีขนาดเล็กลง ไม่เทอะทะเหมือน เครองมือห ื่ินยุคแรก ๆ อกีทงบางแห่งยัง ั้ปรากฏลักษณะ ของการฝังศพที่คล้ายคลึงกันด้วย คือท่านอนงอเข่า เครื่องมือหินกะเทาะในวัฒนธรรมหัวบินห์ 22


ในยุคที่มนุษย์ยังดำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์-เก็บ ของป่านั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่ งที่จะต้องเรียนรู้และ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อเอาตัวรอด การ ใช้ชีวิตในป่าและมีการอพยพเคลื่อนย้ายไปเรื่อย ๆ ทำให้มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในยุคหินมักอาศัยตาม ถ้ำหรือเพิงผา เนื่องจากสามารถกำบังลมฝนได้ จึงพบ แหล่งโบราณคดีมากมายที่อยู่ในถ้ำ เครื่องมือหินที่พบ ในแหล่งขุดค้นโบราณคดีที่เป็นถ้ำมีตั้งแต่เครื่องมือหิน กะเทาะและเครื่องมือหินขัดที่พัฒนาจากหินกะเทาะ และยังพบหลักฐานอื่น เช่น ด้ามไม้ (ที่แสดงให้เห็นว่า มกาีรใชก้งไม ิ่ มา้ ทำดามขวา้นหินหรือทำดามหอก้ ปลาย แหลม) ผ้าที่ทำจากเปลือกไม้ (สำหรับทำเครื่องนุ่งห่ม ดวยกา้รใชห้ินทุบเปลือกไมจ้นเนอบางใช ื้ ้ทำเครองื่นุ่งห่ม ได้) และเศษภาชนะดินเผา ในประเทศไทยพบร่องรอย ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ที่อาศัยตามถ้ำและเพิง ผาจำนวนมาก โดยพบมากที่สุดในบริเวณเทือกเขาทาง ตะวันตกของประเทศ เช่น ถ้ำผี เพิงผาถ้ำลอด ในจังหวัด แม่ฮ่องสอน ถ้ำองบะ ถ้ำเม่น ถ้ำหีบ ถ้ำรูปเขาเขียวใน จังหวัดกาญจนบุรี ถ้ำเบื้องแบบในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ที่อยู่ทางภาคใต้ที่มีพื้นที่ ส่วนมากเปน็ชายฝั่งทะเลมวีถิชีวีิตที่แตกต่างออกไปจาก ชาวถ้ำทางตอนเหนือ กล่าวถือแม้จะอาศัยตามถ้ำและ เพิงผาเหมือนกัน แต่เนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล อาหารส่วน มากจึงมักมาจากทะเล แหล่งโบราณคดีถ้ำในภาคใต้ที่ สำคัญ เช่น ถ้ำผีหัวโต เพิงผาเขาขนาบน้ำ ถ้ำเขาหลัก เพิงผาหลังโรงเรียน ถ้ำหมอเขียว ในจังหวัดกระบ ี่ การ ขุดค้นตามถ้ำต่าง ๆ เหล่านี้ทำให้สามารถคาดคะเนถึง วถิชีวีิตของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ได เ้พราะนอกจาก เครองมือห่ื ินที่พบเกือบทุกที่แลว ยัง ้พบกระดกูสตัว์ต่าง ๆ เช่น ปลา กวาง หมู วัว ควาย เปลือกหอยน้ำจืด นอกจากนี้ยังพบเมล็ดพืช ทำให้ทราบว่ามนุษย์เหล่านี้ กินทงเั้นอื้สตัว์และพืชผัก โดยหาอาหารจากการล่าสตัว์ ขนาดเล็กถึงขนาดกลางและเก็บพืชผักที่ขึ้นในป่ามาเปน็ อาหาร ส่วนกลุ่มที่อยู่บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล เพิงผา และถ้ำเกาะในเขตจังหวัดกระบ ี่ น่าจะบริโภคสัตว์ทะเล เปน็ หลัก เนองจากื่พบเปลือกหอยทะเลจำนวนมากรวม กับกระดูกสัตว์อื่น ๆ นอกจากหลักฐานประเภทวัตถุ เรายังสามารถ เรียนรู้วัฒนธรรมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์จาก ภาพเขียนสีตามผนังถ้ำหรือศิลปะถ้ำได้อีกด้วย ใน ประเทศไทยพบศิลปะถ้ำในเกือบทุกภาค โดยเฉพาะ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่พบมากกว่า ๑๐๐ แห่ง กระจายอยู่ในจังหวัดเลย อุดรธานี อุบลราชธานี มุกดาหาร กาฬสินธุ์ สกลนคร ขอนแก่น ชัยภูมิ และ นครราชสีมา ส่วนภาคเหนือพบที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ ภาคกลางพบที่จังหวัดพิษณุโลก ลพบุรี อุทัยธานีสระบุรี กาญจนบุรี และภาคใต้พบที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานีพังงา กระบ ี่ ตรัง พัทลุง และยะลา โดยภาพที่พบมีทั้งเขียนด้วยสีและใช้เครื่องมือสลักให้ เกิดภาพ แม้เราอาจจะไม่ทราบวัตถุประสงค์ของการ สร้างสรรค์ศลิปะถ้ำรวมถึงความหมายที่แท้จริงของภาพ แต่ศิลปะถ้ำก็เป็นส่วนหนึ่งช่วยให้เราเข้าใจพัฒนาการ ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้จากได้เห็นวิถีชีวิต ความคิด รวมไปถึงสภาพแวดล้อมในสมัยนั้นที่เล่าผ่าน ภาพเขียนผนังถ้ำเหล่านี้ 23 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ วถิชีวีิตแบบล่าสตัว์-เก็บของป่าไม่เอือให้เก้ดกาิร รวมกลุ่มเปน็ชุมชนใหญ่ ทำใหยังไม่เก ้ ดโค ิรงสร้างสังคม ที่ซับซ้อน ซึ่งแม้จะยังไม่มีระบบวัฒนธรรมและศาสนา แต่ก็ปรากฏร่องรอยว่าน่าจะมีความเชื่อบางอย่าง โดย พบว่ามีการนำศพใส่ในโลงไม้และวางโลงไว้ตามถ้ำบน หน้าผาสูง แหล่งโบราณคดีในประเทศไทยพบพิธีกรรม ฝังศพสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่ถ้ำริมแม่น้ำ แควน้อยและแม่น้ำแควใหญ่ อำเภอไทรโยค อำเภอ ทองผาภูมิ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี และถ้ำที่ อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยที่กาญจนบุรี พบโลงศพลักษณะคล้ายท่อนซุง ยาวประมาณ ๒ - ๓ เมตร ที่ถูกผ่าครึ่งและขุดเนื้อไม้ตรงกลางออกเป็นหลุม ยาว ส่วนหัวท้ายแกะสลักเป็นรูปศีรษะคนหรือสัตว์ วาง กระจัดกระจายตามพื้นถ้ำ โลงที่พบส่วนมากทำจากไม้ ประดู่และไม้สัก ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ขึ้นในป่าบริเวณถ้ำ ส่วน ที่อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีถ้ำที่พบร่อง รอยของพิธีกรรมการฝังศพมากกว่า ๗๐ แห่ง ที่สำคัญ สำคัญมี ๓ แห่ง ได้แก่ แหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอดใน พื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ้ำน้ำลอด ตำบล ถ้ำลอด แหล่งโบราณคดีเพิงผาบ้านไร่ในเขตบ้านไร่ ตำบลสบป่อง และแหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมนโลงลงรัก ที่ หมู่บ้านถ้ำลอด ซึ่งแหล่งโบราณคดีที่เพิงผาถ้ำลอดอาจ มีอายุเก่าแก่ถึง ๓๒,๐๐๐ ปี นอกจากแหล่งโบราณคดี ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนยังพบพิธีกรรมการฝังศพในโลง ไม้เนื้อแข็งและวางไม้บนเพิงผาหรือถ้ำลักษณะเช่นนี้ใน จังหวัดลำปาง กระบ ี่ และตรังอีกด้วย ส่วนในประเทศ อื่น ๆ ในเอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้พบที่ประเทศเมยีนมา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มนุษย์เริ่มรู้จักทำการเกษตรในช่วงยุคหินใหม่ การเปล ี่ ยนผ่านของวัฒนธรรมมนุษย์ในยุคหินใหม่จาก สังคมเก็บของป่าล่าสัตว์สู่สังคมเกษตรกรรม เรียกว่า การปฏิวัติในยุคหินใหม่ (Neolithic Revolution) เป็นการ เปล ี่ ยนจากการใช้ชีวิตร่อนเร่ไปสู่การตั้งถิ่นฐานเป็น หมู่บ้านซึ่งถือเป็นจุดเปล ี่ ยนที่สำคัญของมนุษยชาติ หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าการปรับปรุงพันธุ์พืช และสัตว์เกิดขึ้นแยกกันในหลายแห่งทั่วโลก โดยเริ่มเกิด ขึ้นในช่วงเวลาประมาณ ๑๐,๐๐๐ ปีก่อนคริสตกาล ที่ดิน แดนเมโสโปเตเมียเป็นแห่งแรก การรู้จักทำการเกษตร หมายถึงความสามารถในการผลิตอาหาร นำไปสู่การ พัฒนาระบบการชลประทานและถางป่าเพื่อขยายพื้นที่ ทำการเพาะปลูก รวมไปถึงการเล ี้ ยงสัตว์ การปรับปรุง เครื่องมือเครื่องใช้ และการสร้างบ้านเรือนตลอดจน เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในที่สุดก็พัฒนาขึ้น เป็นชุมชนที่มั่นคงและอันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิด “เมือง” ในเวลาต่อมา ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยปัจจุบันเริ่มเข้าสู่ สังคมเกษตรกรรมเต็มรูปแบบประมาณ ๔,๐๐๐ ปีมา แล้ว มนุษย์เริ่มตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งและรวมตัวกัน เปน็หมู่บา้น ควบคู่ไปกับการล่าสตัว์และเก็บของป่าแบบ เดม แิต่ละชุมชนในต่างพื้นที่เริ่มมีปฏิสัมพนัธ์ต่อกันผ่าน การแลกเปลย ี่ นทรพัยากรในท้องถิ่น โครงสร้างสังคมเริ่ม ซับซ้อนขึ้นตามการขยายตัวของจำนวนประชากร เกิด เปนรูป ็ แบบของวัฒนธรรมประเพณีพิธกีรรม เครองมือ ื่ เครื่องใช้และวิทยาการต่าง ๆ ก็ถูกพัฒนาขึ้น อย่างไร ก็ตาม แต่ในแต่ละพื้นที่เข้าสู่สังคมเกษตรกรรมไม่พร้อม กัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ 24


ศิลปะถ้ำ�สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หลักฐานที่เก่าที่สุดที่แสดงถึงการเพาะปลูกในประเทศไทยพบที่แหล่งโบราณคดีถ้ำผี อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบเมล็ดพืช ได้แก่ น้ำเต้า ถั่วแขก สมอพิเภก ท้อ แตง มะกอกเลื่อม กำหนดอายุได้ประมาณ ๘,๐๐๐ - ๑๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว และพบภาชนะดินเผา เครื่องมือหินขัด รวมถึงร่องรอยกองไฟ แสดงให้เห็นว่าชุมชน ถ้ำผีน่าจะเริ่มมีการเพาะปลูก ที่แหล่งโบราณคดีถ้ำปุงฮุง พบเมล็ดข้าวจำนวน ๓๐ - ๔๐ เมล็ด ซึ่งเป็นเมล็ดข้าวป่า ที่ใกล้เคียงกับสายพันธุ์ข้าวในปัจจุบันมาก กำหนดอายุได้ประมาณ ๓,๐๐๐ - ๓,๕๐๐ ปีมาแล้ว มีอายุร่วมสมัยกับ เมล็ดขาว้สารและแกลบขาว้ ที่ขุดพบที่แหล่งโบราณคดเีนินอุโลก อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ในประเทศไทย พบแหล่งโบราณคดีที่เป็นสังคมเกษตรกรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด แหล่งโบราณคดีที่สำคัญ ได้แก่ แหล่งโบราณคดบีา้นเชยง จังหวัดอุด ีรธานี แหล่งโบราณคดโีนนนกทา จังหวัดขอนแก่น แหล่งโบราณคดบีา้นโนนวัด จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งสอดคล้องกับการพบภาพการปลูกข้าว ภาพควายและแปลงพืชคล้ายนาข้าวบนผนังถ้ำ ผาหมอนน้อยในเขตอุทยานแห่งชาติผาแต้ม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานีทำให้สันนิษฐานได้ว่าผู้คนใน 25 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ดินแดนแถบนี้รู้จักปลูกข้าวและใช้ควายไถนาแล้ว ส่วนภาคเหนือพบบริเวณที่ราบลุ่มเชิงเขา และถ้ำเพิงผา เช่น แหล่งโบราณคดีประตูผา จังหวัดลำปาง ส่วนในภาคใต้พบหลักฐานสังคม เกษตรกรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์น้อยที่สุด สันนิษฐานว่ามาจากความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีทั้งทะเลและป่าไม้ทำให้หาอาหารยังชีพได้ง่ายกว่าภูมิภาคอื่น ๆ หลักฐานการทำการเกษตรบนพื้นราบที่สำคัญพบที่แหล่งโบราณคดีโนนนกทา จังหวัด ขอนแก่น พบรอยแกลบข้าวในเศษภาชนะดินเผา ซึ่งเมล็ดข้าวเหล่านี้เป็นข้าวปลูกไม่ใช่ข้าวป่า ลักษณะเมล็ดป้อม กำหนดอายุประมาณ ๔,๕๐๐ ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีสังคมเกษตรกรรม ก่อนประวัติศาสตรที่สำ ์ คัญอกแห่งคือ แหล่งโบ ีราณคดบีางเช้ ยง จังหวัดอุด ีรธานี กำหนดอายุได้ ประมาณ ๑,๘๐๐ - ๕,๖๐๐ ปีมาแลว ้พบว่าที่บา้นเชยงมีกาี รปลกขูาวแบบเลื ้อ่นลอยในที่ลุ่ม ซงึ่ เปน็วธิีปลกขูาว้ ที่ต้องใช้น้ำมาก พนัธุ์ขาว้ ที่พบเปนพ็นัธุ์ขาว้ ป่าเมล็ดป้อมอยู่ในตระกลขูาวเห้ นียว และมกาีรเลยงควายเ ี้ พอไถ ื่นา ช่วงที่ชุมชนบา้นเชยงีพัฒนาเขา้สู่ยุคโลหะพบว่ามกาีรใชโลหะ ้ ทำ เครื่องมือทางการเกษตร ได้แก่ เคียวที่ทำจากเหล็ก และมีการพัฒนาวิธีปลูกข้าวเป็นใช้คันนา กักน้ำในเวลาต่อมา แสดงใหเห็ ้นถึงภมูิปัญญาในการทำการเกษตรที่เพิ่มขึ้น แหล่งโบราณคดบีา้น โนนวัด จังหวัดนครราชสีมา พบเมล็ดข้าวในหลุมศพ มีอายุประมาณ ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่แหล่ง โบราณคดีโคกพนมดี จังหวัดชลบุรี ก็พบหลักฐานการปลูกข้าวเช่นกัน โดยพบเศษแกลบข้าว ในช่องท้องของโครงกระดก ูซงเึ่ปน็ขาว้ ปลกกูำหนดอายุได้ประมาณ ๓,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแลว้ 26


เครื่องปั้นดินเผาเขียนสีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี ภาชนะดินเผายังเป็นอีกหนึ่งหลักฐานทาง โบราณคดีที่สำคัญในสมัยสังคมเกษตรกรรม ใน ประเทศไทยพบเครื่องปั้นดินเผาตามแหล่งโบราณคดี ในภาคต่าง ๆ เกือบทุกจังหวัด ส่วนมากอยู่ในยุค หินใหม่ หรือประมาณ ๗,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ซึ่ง เครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่จะมีเนื้อดินละเอียดขึ้น กว่ายุคก่อนนี้ มีความประณีตสวยงามเนื่องจากขึ้น รูปด้วยแป้นหมุนทำให้เนื้อดินบางลง แต่ก็ยังพบว่ามี การขึ้นรูปอิสระด้วยมืออยู่บ้าง เครื่องปั้นดินเผาที่พบ ในประเทศไทยมีหลายรูปทรง เช่น หม้อก้นกลม หม้อ สามขา และพาน มีทงั้สีดำ สีแดง สีเทา และสีน้ำตาล ขึ้น อยู่กับลักษณะส่วนผสมของดินและการเผา ภาชนะเหล่า นี้มีทั้งแบบเรียบและที่มีการตกแต่ง ด้วยลายเชือกทาบ และลายขูดขีด ทั้งนี้เครื่องปั้นดินเผามักจะมีลักษณะที่ เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นในแต่ละช่วงเวลา เช่น ที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงพบว่ามีการพัฒนาลวดลาย ตกแต่งภาชนะต่าง ๆ โดยในระยะแรกภาชนะเป็นสีดำ เขียนลวดลายด้วยวิธีขูดขีดลงไปในเนื้อดินก่อนเผา ใน ระยะต่อมาเริ่มมีการใช้ดินสีแดงเขียนเป็นลายต่าง ๆ โดยเฉพาะลายก้านขด และในระยะหลังมีการตกแต่ง น้อยลง เพียงแตท่าดวย้ น้ำดินสีแดงเรียบ ๆ เท่านั้น ส่วน เครองื่ปั้นดินเผาที่แหล่งโบราณคดบีา้นปราสาท จังหวัด นครราชสีมา มีรูปแบบที่โดดเด่น คือ เปน็ภาชนะดินเผา เคลือบน้ำดินสีแดง แบบลายเชือกทาบ ลักษณะหลัก ของภาชนะเป็นแบบคอแคบปากบาน แต่บางใบมีทรง สูงเหมือนคนโท บางชิ้นมีลักษณะเป็นทรงกลมสั้น และ พัฒนาขึ้นเป็นแบบพิมายดำ คือ มีสีดำ ผิวขัดมัน เนื้อ บาง 27 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ นอกจากนี้ ยังพบว่ามีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญอีกอย่าง คือ “เกลือ” ซึ่งเป็นวัตถุดิบ สำคัญในการถนอมอาหาร ตลอดจนเป็นยารักษาโรค จะเห็นว่าคนในยุคก่อนประวัติศาสตร์คงรู้ วิธีจะทำเกลือหรือสกัดเอาเกลือจากแหล่งเกลือในท้องถิ่นเป็นอย่างดีและน่าจะมีการแลกเปล ี่ ยน กันเองระหว่างท้องถิ่นต่าง ๆ ในภูมิภาค แต่การผลิตจำนวนมากจนถึงขั้นเป็นอุตสาหกรรมคงเกิด ขึ้นภายหลังยุคเหล็กคือราว ๒,๐๐๐ กว่าปีลงมา ซึ่งเป็นช่วงที่การค้าทางไกลมีการขยายเครือข่าย กว้างขวางกว่าเดิม โดยเฉพาะในแถบแอ่งโคราชซึ่งมีทั้งเหล็กและเกลือนี้ น่าจะเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐาน เกิดชุมชนใหม่ในภูมิภาคต่าง ๆ มากมาย และทำให้เกิดกลุ่มคนที่มี อาชีพหรือหน้าที่เฉพาะอย่างทั้งถลุงเหล็ก ต้มเกลือ ทำภาชนะดินเผาที่เก ี่ยวกับการต้มเกลือ ทั้ง เหล็กและเกลือเป็นสินค้าระยะไกล เพราะเป็นสิ่งของที่ถูกส่งไปขายหรือแลกเปล ี่ ยนนอกภูมิภาค ทั้งส่งเข้าไปภาคกลางลุ่มน้ำเจ้าพระยา ข้ามแม่น้ำโขงไปทางฝั่งลาวและเวียดนาม และข้ามแอ่ง เขาพนมดงเร็กไปสู่ที่ราบเขมรต่ำ แถบลุ่มทะเลสาบเขมรในกัมพูชา การผลิตเกลือสินเธาว์ที่อำ�เภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน 28


โลหกรรมในยุคก่อนประวัติศาสตร์ การรู้จักนำ แ ร่โลหะมาหลอมเ ป็ นเค รื่องมือ เค รื่องใช้ส ะท้ อ นให้เห็ นถึงการพัฒ นาองค์ความรู้ใ น การประดิษฐ์เค รื่องมือ ต่าง ๆ ของม นุษย์ จากเดิ มที่ใช้ วัสดุจากธรรมชาติ เ ป็ นการประดิษฐ์เค รื่องมือที่ มี วิ ธีกา ร ซับซ้ อ น ยิ่งขึ้น เ นื่องจากการนำ แ ร่โลหะมาใช้ต้อง ผ่า น กรรมวิ ธีหลายขั้นต อ น โลหะชนิดแ ร กที่ ม นุษย์นำมาทำ เค รื่องมือ ได้แก่ ทองแดง จากหลักฐานทางโบ ร า ณคดี พบว่าม นุษย์กลุ่มแ ร กที่รู้จักใช้ทองแดงคือชาวซูเมอ ร์ (Sumer) ใ น ดินแด นเมโ ส โ ป เ ตเมย เมื ี อ ่ประมา ณ ๘,๐๐๐ - ๙,๐๐๐ ปีมาแล้ว ส่ว นเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ เริ่ ม มีการนำ แ ร่โลหะมาใช้เมื่ อประมา ณ ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว โดย พบว่ามีกา รใช้ แ ร่ ทอง แ ร่เงิน และแ ร่ ทองแดงมาทำ เค รื่องประดับและเค รื่องมือเค รื่องใช้บางอย่าง การที่ ทองแดงเ ป็ นโลหะชนิดแ ร กที่ ม นุษย์รู้จักหลอมขึ้นมาใช้ ก็เ นื่องจาก ทองแดงเ ป็ นโลหะที่ มีจุดหลอมเหลวต่ำที่สุด คือ ประมา ณ ๑,๐๘๔ องศาเ ซลเซี ย ส ใ น ข ณ ะที่เหล็กที่ แม้จะเ ป็ นโลหะที่ทนท า นกว่ามากแ ต่ก็มีจุดหลอมเหลว สูงกว่ามาก คือ อยู่ที่ประมา ณ ๑,๕๓๘ องศาเ ซลเซี ย ส ซึ่งกว่าที่ ม นุษยชาติจะเข้าสู่ยุคเหล็กก็ประมา ณ ๑,๐๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว หลังจากยุค ทองแดงถึงเจ็ด พันกว่า ปีเลยทีเดียวดินแดนประเ ทศไ ทยเริ่มเข้ าสู่ยุคโลหะ ประมา ณ ๑,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว มีการพบแหล่ง แ ร่ ทองแดงและหลักฐา นว่ามีการทำเหมืองแ ร่ หลัก ฐานที่เก่าแก่ที่สุดที่ แ สดงถึงกา รใช้โลหะ พ บที่แหล่ง 29 บทที่ ๑ คูน้�ำคั นดิ น หิ นก้อ นแรก: ชุมช นยุคก่อ นประวัติศ าสตร์ใ นดิ นแด นต่ าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ โบราณคดีภูโล้น อำเภอสังคม จัดหวัดหนองคาย นักโบราณคดีพบชิ้นส่วนเบ้าหลอมโลหะ ซึ่งใน เบ้าหลอมดังกล่าวมีชิ้นส่วนทองแดง สำริด และ ดีบุก แสดงว่ามีการผลิตโลหะสำริดที่นี่ ส่วนหลัก ฐานการทำเหมืองและการหลอมทองแดงขนาด ใหญ่พบในจังหวัดลพบุรีที่แหล่งโบราณคดเขาีทับ ควายและแหล่งโบราณคดีโนนป่าหวาย อำเภอ โคกสำโรง และแหล่งโบราณคดีเขาพุคา อำเภอ เมือง สันนิษฐานว่าแหล่งโบราณคดีเหล่านี้เป็น ศูนย์กลางการผลิตทองแดงในภมูภาคใ ินช่วงสอง พันกว่าปีมาแล้ว นอกจากนี้ยังพบเหมืองตะกั่วที่ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรีบริเวณใกล้ ชายแดนไทย-เมียนม่าร์ อย่างไรก็ตาม ทองแดงเปน็ โลหะเนออ่อ ื้น จึงนิยมนำมาทำเครองื่ประดับเช่นเดยวกับแ ีรท่อง และแร่เงิน มากกว่าจะนำมาทำเครองมือเค ื่รองใช ื่ ้ หรืออาวุธ จึงมีการนำทองแดงมาผสมกับโลหะ อื่นเพื่อเพิ่มความแข็ง จนพัฒนามาเป็นสำริด ซึ่ง เป็นโลหะที่เกิดจากการนำทองแดงผสมกับดีบุก อาจมีตะกั่วหรือโลหะอื่นปนบ้าง ในประเทศไทยพบหลักฐานการทำสำริดที่ เก่าแก่ที่สุดในเขตพื้นที่แอ่งสกลนครในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี และแหล่งโบราณคดีโนนนกทา จังหวัดขอนแก่น เครื่องมือสำริดยุคแรกมักเป็น เครื่องมือเครื่องใช้และอาวุธ ผลิตด้วยวิธีหล่อขึ้น รูปด้วยแม่พิมพ์ ซึ่งแม่พิมพ์ก็มีทั้งแบบชิ้นเดียว และแบบสองชิ้นประกบกัน ส่วนเครองื่ประดับยัง เปน็แบบเรียบๆ ส่วนมากเปน็กำไล ต่อมาในช่วงปลายของ ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือประมาณ ๒,๓๐๐ - ๑,๗๐๐ ปีมา แลว ยังคง ้พบเครองมือ ื่สำริดจำนวนมากที่แหล่งโบราณคดี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเริ่มพบมากที่บริเวณภาค กลางด้วย เครื่องมือสำริดในช่วงนี้มีความประณีตสวยงาม มากขึ้นจากเทคนิคการผลิตที่พัฒนาขึ้น ที่น่าสนใจคือสำริด ที่พบในช่วงนี้มีตะกัว่ผสมมากขึ้น เนองจากื่ตะกัว่ทำใหโลหะ ้ หลอมเหลวไดง่ายและม ้ความหีนืดน้อยลงอกีทงยังลด ั้ฟอง อากาศในโลหะหลอมเหลวด้วย โลหะที่เหลวขึ้นจากการ ผสมตะกัว่ทำให้สามารถไหลทวแม่ ั่พิมพ์ไดด้ขึี้น เครองื่สำริด โดยเฉพาะเครองื่ประดับจึงมีรูปทรงและลวดลายที่ซับซ้อน 30


ขึ้น เช่น เครองื่ประดับสำริดทำเปน็เส้นขดเปน็วงที่ศีรษะ ของโครงกระดูกที่แหล่งโบราณคดีโนนอุโลก จังหวัด นครราชสีมา นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น เครื่องประดับผมด้วยการครอบลงบนมวยผมแล้วใช้ปิ่ น ตรึงไว้ แหล่งโบราณคดีดอนตาเพชร จังหวัดกาญจนบุรี ก็เปน็อกแห่งห ีนงึ่ ที่พบเครองื่สำริดจำนวนมากและมีรูป ทรงหลากหลาย เครื่องมือเครื่องใช้โลหะทำให้วิถีชีวิตของมนุษย์ พัฒนาขึ้นไปอีกขั้น โดยเฉพาะเหล็ก เนื่องจากเครื่อง มือโลหะมีความทนทานและมีความคมมากกว่าเครื่อง มือหิน เมื่อเครื่องมือในการเกษตรมีความทนทานขึ้น ย่อมหมายถึงการบุกเบิกพื้นที่ทำการเพาะปลูกได้มาก ขึ้น อาวุธที่ทำจากโลหะก็มีประสิทธิภาพทั้งในการต่อสู้ และใช้ล่าสัตว์ ซึ่งชุมชนช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอน ปลายในประเทศไทยน่าจะเริ่มมีการใช้เครื่องมือเหล็ก เมื่อประมาณ ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว เครื่องมือเหล็กที่พบ มาก ได้แก่ ใบหอก หัวขวาน หัวธนู เสียม เคียว๑ ในด้านสังคมและวัฒนธรรม เครื่องมือและ เครื่องประดับโลหะกลายเป็นสิ่งที่ใช้บ่งบอกฐานะทาง สังคมของบุคคลโดยเฉพาะเครื่องประดับ พบหลุมศพ ที่มีเครื่องประดับสำริดจำนวนมากที่แหล่งโบราณคดีใน จังหวัดนครราชสีมา ไดแก่ หลุมฝังศ ้ พที่แหล่งโบราณคดี โนนสูง กำหนดอายุได้ประมาณ ๑,๗๐๐ ปีมาแล้ว เป็น โครงกระดูกเพศชายที่มีเครื่องประดับสำริดประดับตาม ร่างกายถึง ๔๐๐ ชิ้น เช่น แหวนนิ้วมือ แหวนนิ้วเท้า กำไล ห่วงเอว เครื่องประดับสำริดเหล่านี้ถูกฝังควบคู่ไป กับภาชนะดินเผา ลกูปัด และมดเหล็ก ี ที่แหล่งโบราณคดี เนินอุโลก พบโครงกระดกเูพศหญงใินหลุมศพหมายเลข ๑๑๓ ในหลุมศพมีเครื่องประดับสำริดจำนวนมาก เช่น ต่างห กูำไล แหวนนิ้วมือ แหวนนิ้วเท้า พบร่วมกับสร้อย ลกูปัดที่มีทงลั้กูปัดทองคำและลกูปัดหินอาเกต ตัวอย่าง หลุมศพที่พบเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างสังคมที่มี ความซับซ้อนขึ้น กล่าวคือ เริ่มปรากฏชนชั้นทางสังคม เพราะเครองอุื่ทิศที่พบในหลุมแสดงว่าโครงกระดกเหล่าู นี้น่าจะเป็นบุคคลสำคัญหรือไม่ก็มีฐานะร่ำรวยมากใน ชุมชนของตน ๑ ยุคเหล็กเป็นช่วงรอยต่อระหว่างยุคก่อนประวัติศาสตร์กับยุคประวัติศาสตร์ เนื่องจากในบางพื้นที่ยุคเหล็กเริ่มต้นในช่วงยุคก่อน ประวัติศาสตรต์ ่อเนองมาจื่นเขา้สู่ยุคกึง่ประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์ ไดแก่ ยุโ ้ รป ในขณะที่บางพื้นที่ยุคเหล็กเริ่มต้นในยุคประวัติศาสตร์ แล้ว ได้แก่ เมโสโปเตเมีย อียิปต์ จีน อินเดีย 31 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ กลองมโหระทึกกับการกระจายตัว ของวัฒนธรรมดงเซิน กลองมโหระทึกเป็นกลองสำริด มีตั้งแต่ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ที่มีความสูงเกือบ หนงเมึ่ตรรูปทรงของกลองมโหระทึกประกอบดวยห้ น้ากลองและตัวกลอง มหีอยูทีู่่ดา้นบนของ ตัวกลอง สันนิษฐานว่ามีไว้สำหรับร้อยเชือกผูกกับคานหาม ลวดลายบนกลองนั้นแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ประเภทแรกได้แก่ลายเรขาคณิต เช่น ลายแถววงกลม ลายหยักฟันปลา เส้นขนาน ส่วนประเภทที่สองเปน็ลายธรรมชาติและสิ่งรอบตัว เช่น ลายมนุษย์ สตัว์ บา้น เรือ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว ตรงหน้ากลองมักมีรูปลอยตัวขนาดเล็กอยู่ตรงขอบ รูปที่พบมากที่สุดคือ รูปกบ ซึ่งเป็นไปได้ว่ารูปกบอาจสื่อถึงความเชื่อเก ี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์และพิธีขอฝนซึ่งเป็นความ เชื่อร่วมในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 32


กลองมโห ระ ทึ ก สำริด พ บ ค รั้ง แร ก ที่ เวียดนามเหนือและพบกระจายอยู่ในหลายประเทศ มากกว่า ๒๐๐ ใบ ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ภาคใต้ของประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว และแถบมณฑลยูนนานของจีน การกระจายตัวของกลอง มโหระทึกสำริดนี้เป็นที่รู้จักกันในนามของวัฒนธรรมดง เซิน (Dong Son culture) ซึ่งเป็นกลุ่มวัฒนธรรมในยุค สำริด มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแดงทาง ตอนเหนือของประเทศเวยดีนาม เมือ่ประมาณ ๒,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีมาแลว โดย ้ตงชื ั้อ่ตามสถานที่ที่พบกลองนี้ครงั้ แรก คือ หมู่บ้านดงเซิน (Dong Son village) จังหวัดทัญ ฮว้า ทางชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม สันนิษฐานว่ากลองมโหระทึกใช้ประกอบพิธีกรรม ต่าง ๆ ตีบอกสัญญาณสงคราม ใช้ประกอบพิธีขอฝน หรือใช้ตีเพื่อบำบัดโรคทางไสยศาสตร์ ซึ่งนอกจากจะ แสดงถึงภูมิปัญญาด้านโลหกรรมของมนุษย์ในยุคก่อน ประวัติศาสตร์ กลองมโหระทึกยังแสดงถึงความสัมพนัธ์ ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอีกด้วย ในประเทศไทยพบ กลองมโหระทึกในหลายพื้นที่ เช่นที่แหล่งโบราณคดโีนน หนองหอ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็นแหล่งโบราณคดียุค ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายหรือตรงกับช่วงยุคเหล็ก อายุประมาณ ๑,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว พบหลักฐาน ที่แสดงถึงกจกิรรมดา้นโลหกรรมอย่างชัดเจนโดยเฉพาะ หลักฐานการหล่อกลองมโหระทึก ไดแก่ ช ้ ิ้นส่วนแม่พิมพ์ กลอง เบ้าหลอม ก้อนโลหะ (พบทั้งสำริดและทองแดง) แม่พิมพ์เครื่องมือ เครื่องมือเครื่องใช้สำริด เป็นไปได้สูง ว่ากลองมโหระทึกที่พบในประเทศไทยอาจมาจากชุมชน โนนหนองหอก็เป็นได้ แหล่งผลิตสำริดสมัยก่อนประวัติศาสตรที่สำ ์ คัญ ในประเทศไทยน่าจะมีอย่างน้อย ๒ แห่ง คือ ที่แหล่ง โบราณคดีโนนหนองหอ จังหวัดมุกดาหาร และที่แหล่ง โบราณคดีบ้านโพนเมือง จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งทั้ง สองแห่งนี้น่าจะมแหล่งแ ีร่อยทีู่่ เมืองเซโปน แขวงสะหวัน เขต ประเทศลาว ส่วนเครื่องมือสำริดที่แหล่งโบราณคดี โป่งมะนาว จังหวัดลพบุรีน่าจะใช้ตะกั่วจากจากเหมือง สองท่อ ซึ่งเป็นเหมืองโบราณในจังหวัดกาญจนบุรีซึ่ง นอกจากโป่งมะนาวแลว ยัง ้พบว่าตะกัวจากเหมือง่สองท่อ อาจจะถูกส่งไปที่แหล่งโบราณคดีภูมิสนาย จังหวัด บันเตียเมียนเจย ประเทศกัมพูชาอีกด้วย ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างชุมชนเหล่านี้เริ่มปรากฏชัดเจนในช่วงยุคก่อน ประวัติศาสตรต์อนปลาย หรือประมาณ ๑,๔๐๐ -๑,๕๐๐ ปีมาแล้ว นำไปสู่การแลกเปล ี่ ยนและเรียนรู้วิทยาการ ต่างๆ ตลอดจนประเพณี ความเชื่อ และวัฒนธรรม ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ในเวลาต่อมา แหล่งโบราณคดีที่ สำ คัญในประเทศไทย ในประเทศไทยมีแหล่งโบราณคดีมากมาย กระจัดกระจายอยู่ทุกพื้นที่ดังตัวอย่าง เช่น แหล่งโบราณคดีแม่ทะ ตำบลแม่ทะ อำเภอ แม่ทะ จังหวัดลำปาง ตั้งอยู่บนพื้นที่ภูเขาไฟในอดีต ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเขาที่มีทางน้ำหรือลำธาร เล็ก ๆ ไหลผ่านหลายสาย พบเครื่องมือหินหลาย ประเภทบริเวณพื้นที่ระหว่างลำธาร เช่น เครื่องมือหิน กะเทาะที่ทำจากหินกรวดแม่น้ำ กำหนดอายุประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ - ๖๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว เครื่องมือขูด ขวาน 33บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ หินขัด รวมทั้งสะเก็ดหินและเศษสะเก็ดหินที่แสดงถึง การผลิตเครื่องมือหิน ทำให้นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า ในช่วงยุคหินใหม่ประมาณ ๖,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว พื้นที่บริเวณนี้อาจเป็นแหล่งผลิตเครื่องมือหินก็เป็นได้ เนื่องจากมีแหล่งวัตถุดิบอยู่ไม่ไกลนัก นอกจากนั้นยัง พบเศษภาชนะดินเผาที่ทำจากดินเหนียว (Earthenware) เนื้อหยาบมีเม็ดทรายปะปนในเนื้อดินมาก แหล่งโบราณคดีสบคำ ตำบลเวียง อำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมือง เชียงแสนใต้ไปตามลำน้ำประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร มี ลักษณะเป็นหาดกรวดยาวขนานกับแม่น้ำโขง จากหลัก ฐานทางโบราณคดีพบว่าพื้นที่นี้น่าจะมีมนุษย์อาศัยอยู่ ตงแั้ต่ยุคหินเก่าจนถึงยุคหินใหม่และต่อเนองยาวื่นานมา ถึงยุคประวัติศาสตร์ เนองจาก่ืพบเครองมือห่ื ินแบบต่าง ๆ จำนวนมากกระจายอยู่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือ ใชคมข้ดและูสับ (Choppers) บางชิ้นเปน็เครองมือคล ื่าย้ ขวานแต่กะเทาะเพียงหน้าเดยว และบางชี ิ้นเปน็เครองมือ่ื ปลายแหลมสำหรับใช้ขุดอาหารหรือเป็นอาวุธด้วย ชั้นดินล่างสุดพบเครื่องมือหินกะเทาะ ส่วนใหญ่เป็น เครื่องมือขุด สับ ขวานกะเทาะหน้าเดียว และเครื่องขุด ซึ่งเป็นเครื่องมือสมัยหินเก่าและหินกลาง กำหนดอายุ ได้ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียนบ้านทับปริก ตำบลทับปริก อำเภอเมืองกระบ จังหวัดก ี่ ระบ เ ี่ ปน็เพิงผา บนภูเขาหินปูน ห่างจากชายฝั่งทะเลประมาณ ๑๒ กิโลเมตร เพิงผาสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ ๗๕ เมตร ภูมิประเทศรอบ ๆ เป็นที่ราบและที่ราบระหว่าง หุบเขา จากการขุดค้นพบว่าพื้นที่นี้น่าจะมีมนุษย์อาศัย อยู่ตั้งแต่ ๔๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว และมีการใช้พื้นที่ต่อเนื่อง มาจนถึงช่วงเวลาประมาณ ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว หลักฐาน ในยุคหินเก่าพบร่องรอยกองไฟ เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องมือที่ทำจากกระดูกสัตว์ กำหนดอายุได้ประมาณ ๔๓,๐๐๐-๒๗,๐๐๐ ปีมาแล้ว ช่วงยุคหินใหม่พบเครื่อง มือหินกะเทาะทั้งหน้าเดียวและสองหน้า เครื่องมือ สะเก็ดหิน กระดูกสัตว์และเปลือกหอยกำหนดอายุ ประมาณ ๙,๖๐๐ - ๗๕๐๐ ปีมาแล้ว นอกจากนี้ยังพบ โครงกระดูกฝังร่วมกับขวานหินขัด และเศษภาชนะดิน เผาแบบมีเชิงอายุประมาณ ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีถห้ำมอเขยวี ตำบลกระบี่น้อย อำเภอเมือง จังหวัดกระบ เ ี่ ปน็เพิงผาบนภเขาหู ินปูน อยู่ ไม่ไกลจากแหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียนบ้านทับปริก จากการสำรวจแสดงใหเห็ ้นว่ามมีนุษย์อาศัยอยตู่ ่อเนองื่ ในพื้นที่นี้ตั้งแต่ยุคหินเก่าตอนปลายต่อเนื่องไปจนถึง ปลายยุคหินใหม่ ชั้นดินล่างสุดพบเครื่องมือหินกะเทาะ เป็นหินกะเทาะด้านเดียวทำจากหินกรวดแม่น้ำ เครื่อง มือสะเก็ดหินและเครื่องมือทำจากกระดูกสัตว์ กำหนด อายุได้ประมาณ ๒๖,๐๐๐ - ๒๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว และยัง พบร่องรอยกองไฟในชั้นดินต่าง ๆ โดยมักพบร่วมกับ กระดูกสัตว์ เมล็ดพืช เปลือกหอยชนิดต่างๆ ทั้งหอย ทะเลและหอยนํ้าจืด ชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ที่แหล่งโบราณคดีถ้ำ หมอเขียวมีพิธีกรรมการฝังศพแล้ว โดยพบว่ามีโครง กระดูกโฮโมเซเปียนส์จำนวน ๔ โครง เป็นเด็ก ๑ โครง และผู้ใหญ่ ๓ โครง กำหนดอายุได้ในช่วงประมาณ 34


๒๕,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว รูปแบบการฝังศพมี ๒ แบบ ได้แก่ การฝังในท่างอเข่าจำนวน ๑ โครง และฝัง ในท่านอนหงายเหยยดยาวจี ำนวน ๓ โครง โครงกระดกู ทั้ง ๔ นี้จัดได้ว่าเป็นโครงกระดูกมนุษย์โฮโมเซเปียนส์ที่ เก่าที่สุดแห่งหนึ่งที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมน ตำบลนาปู่ป้อม อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่สูงจากพื้น ดินบริเวณที่ราบลุ่มน้ำของประมาณ ๔๐๐ เมตร หรือ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ ๘๐๐ เมตร ตำแหน่ง ของถ้ำเป็นจุดสูงสุดของยอดเขา ถ้ำผีเป็นถ้ำขนาด ใหญ่ ปากถ้ำค่อนข้างกว้าง ทำให้มีแสงส่องถึงเกือบทั่ว บริเวณป่าไม้โดยรอบถ้ำผีแมน จากการขุดค้นพบว่าถ้ำ ผีเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ต่อเนื่องมายาวนานตั้งแต่ สมัยหินกลางเป็นต้นมาจนถึงสมัยโลหะซึ่งเป็นช่วงยุค ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย มนุษย์ในยุคหินใช้พื้นที่ ถ้ำผีแมนเป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราว พบร่องรอยการใช้ เครื่องมือหินและภาชนะดินเผา เช่น เครื่องมือสะเก็ด หิน และใบมีดหิน โดยน่าจะไว้ใช้แล่เนื้อสัตว์เพื่อนำมา กินเปน็อาหาร ส่วนภาชนะดินเผาใชใ้นการหุงต้มอาหาร เนื่องจากพบถ่านและเมล็ดพืชที่ถูกเผาไฟ แสดงให้ เห็นถึงการใช้ไฟ ชั้นดินที่มีหลักฐานทางโบราณคดีหนา ประมาณ ๗๕ เซนติเมตร แบ่งออกได้เป็น ๒ ช่วงเวลา รวมมีอายุระหว่าง ๑๓,๐๐๐ - ๗,๕๐๐ ปีมาแล้ว ในด้านวัฒนธรรมความเชื่อพบว่ามีพิธีกรรม การฝังศพแลว ้พบโลงไม้ทงั้ที่เปน็ชิ้นฝาสมบูรณ์และส่วน เหลือของหัวโลงจำนวน ๖ โลง เรียกว่าโลงผีแมน แหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอด ตำบลถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน เปน็เพิงผาขนาดเล็ก ของเขาหินปูน ลักษณะเพิงผาเป็นชะโงกผางุ้ม พื้นที่บริเวณเพิงผาถ้ำลอดถูกใช้มาตั้งแต่ประมาณ ๓๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว นักโบราณคดีพบว่าชั้น ดินที่ปรากฏกจกิรรมของมนุษย์ที่เพิงผาถ้ำลอดค่อนขาง้ หนาแสดงให้เห็นถึงการใช้พื้นที่อย่างต่อเนื่อง สำหรับ ช่วงก่อนประวัติศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ช่วง คือ ช่วง ๓๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแลว และช่วง ๑๐,๐๐๐ ้ ปีลงมา ร่องรอยการอยู่อาศัยของมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด กำหนดอายุได้ประมาณ ๓๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว เนื่องจากมีการใช้พื้นที่อย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน ทำให้ปรากฏหลักฐานจำนวนมาก เช่น เครื่องมือหิน กะเทาะ กระดูกสัตว์ โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องมือ หินกะเทาะที่พบทำจากหินกรวดแม่น้ำ ส่วนใหญ่เป็น หินทราย มักเปน็การกะเทาะหน้าเดยว เคีรองมือห ื่ ินที่มี การขัดฝนส่วนปลาย (Edge-grinding stone) และเครื่อง มือแกนหินเจาะรู (Polished perforated disk) การพบชิ้น ส่วนกระดูกสัตว์ที่ถูกเผาไฟ ทำให้สันนิษฐานว่ามนุษย์ ยุคนี้อาจทำอาหารให้สุกดวยกา้รย่างหรือเผาไฟ ร่องรอย การทุบบนชิ้นส่วนกระดูกสัตว์ที่แตกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แสดงให้เห็นว่าน่าจะมีการทุบกระดูกด้วยเครื่องมือหิน เพื่อกินไขกระดูก หลักฐานโบราณคดีในช่วง ๑๐,๐๐๐ ปี ลงมา ได้แก่ เครื่องมือหินขัด นอกจากนี้ยังปรากฏร่อง รอยการใชภาช้นะดินเผาดวย เศษภาช้นะดินเผาทงหมดั้ เปน็เนอดื้ินค่อนขางหยาบ ลวดลาย้ ที่พบไดแก่ ลายเชือก ้ ทาบ ลายขูดขีด เป็นต้น 35 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ร่องรอยของมนุษย์ที่พบบริเวณเพิงผาถ้ำลอดที่เก่าที่สุด อายุประมาณ ๑๓,๖๔๐ ปีมาแล้ว เป็นโครงกระดูกเพศ หญิง เสียชีวิตขณะอายุได้ประมาณ ๒๕ - ๓๕ ปี ส่วน อกโค ีรงหนงกึ่ ำหนดอายุได้ประมาณ ๑๒,๑๐๐ ปีมาแลว ้ เสียชีวิตในวัยผู้ใหญ่แต่ไม่สามารถระบุเพศและอายุที่ แนน่อนได โค้รงกระดกูที่พบจากแหล่งโบราณคดเีพิงผา ถ้ำลอดนับว่าเปน็ โครงกระดกมูนุษย์โฮโมเซเปียนส์เซเปียนส์ ที่เก่าแก่ที่สุดที่พบในพื้นที่ภาคเหนือของไทย ภาพจำ�ลองเลดี้แห่งถ้ำ�ลอด จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา https://www.matichon.co.th/prachachuen/news_534920 แหล่งโบราณคดีโนนนกทา ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันมีสภาพเปน็ เนินดินกว้างประมาณ ๑๑๐ เมตร ยาวประมาณ ๑๖๐ เมตร แหล่งโบราณคดโีนนนกทาสามารถแบ่งออกไดเ้ปน็ ๓ สมัย คือ สมัยต้น อยู่ในช่วงเวลา ๕,๕๐๐ - ๔,๕๐๐ ปี มาแล้ว สมัยกลาง อยู่ในช่วงเวลา ๔,๕๐๐ - ๑,๘๐๐ ปี มาแล้ว และสมัยปลาย อยู่ในช่วงเวลา ๑,๐๐๐ ปีมาแล้ว ลงมา . จากการตรวจสอบพบว่าแกลบข้าวที่ติดอยู่ ในเนื้อดินของภาชนะดินเผาในหลุมฝังศพกำหนด อายุได้ประมาณ ๕,๕๐๐ ปี เป็นข้าวปลูกไม่ใช่ข้าวป่า นอกจากนี้ยังพบร่องรอยการเลยง ี้ สตัว์ เช่น วัว สนุัข และ หม ภาชูนะดินเผาในสมัยต้นของแหล่งโบราณคดโีนนนกทา มีหลายแบบ ส่วนใหญ่เป็นภาชนะก้นกลม ตกแต่ง ด้วยลายเชือกทาบ นอกจากนี้ยังมีภาชนะที่ตกแต่งด้วย ลายขีด พบว่าในสมัยนี้ยังมีการใช้ขวานหินขัด แต่ก็พบ เศษสำริดด้วยเล็กน้อย และพบหัวขวานสำริด ๑ ชิ้น ช่วง ๔,๕๐๐ - ๑,๘๐๐ ปีมาแลว ม้กาีรใชเค้รองมือ ื่ สำริดมากขึ้น พบเบ้าหลอมโลหะและแม่พิมพ์หินทราย แสดงว่ามกาีรหล่อสำริดขึ้นใชเองภายใ ้นชุมชน มภาชีนะ ดินเผาแบบใหม่ ๆ ปรากฏเพิ่มขึ้น แมว่าลักษ ้ณะวถิชีวีิต จะคลายคลึงกับใ ้นสมัยแรก แต่เครองอุื่ทิศในหลุมฝังศพ ที่ต่างกันก็แสดงว่าในช่วงนี้ชุมชนโนนนกทาน่าจะเริ่มมี การแบ่งชนชั้นบ้างแล้ว ส่วนในสมัยปลายตั้งแต่ ๑,๐๐๐ ปีมาแล้วเป็นต้นมาเริ่มมีการใช้เหล็กทำเครื่องมือเครื่อง ใช และ้ ปรากฏร่องรอยของการเผาศพอันแสดงถึงความ เชื่อและพิธีกรรมการทำศพที่เปล ี่ ยนไป แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี วัฒนธรรมบ้าน เชียงนั้นครอบคลุมหลายพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ทั้งในเขตจังหวัดอุดรธานีสกลนคร นครพนม และขอนแก่น โบราณวัตถุที่พบมากที่สุดคือภาชนะดิน เผา รองลงมาคือเครองื่ประดับและขวานสำริด นอกจาก นั้นยังพบโครงกระดกของมูนุษย์และสตัว์อกดีวย ชุมช้น บ้านเชียงอาจมีมนุษย์เข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ประมาณ 36


๔,๓๐๐ ปีมาแล้ว โดยสรุปจากอายุของอินทรียวัตถุที่ผสมอยู่ในเนื้อดินของภาชนะดินเผารุ่น แรก มนุษย์กลุ่มแรก ๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยบนเนินดินบ้านเชียงมีความสามารถในการ พัฒนาความรู้ต่าง ๆ เช่น การผลิตภาชนะดินเผา การผลิตเครื่องมือเครื่องใช้จากแร่โลหะ ซึ่ง องค์ความรู้ดังกล่าวน่าจะพัฒนาขึ้นโดยคนพื้นเมืองในชุมชนบ้านเชียงเอง นักโบราณคดีแบ่งวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียงเป็น ๓ ระยะ ได้แก่ สมัยต้น อยู่ในช่วงเวลาประมาณ ๔,๓๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีมาแลว ม้นุษย์รู้จักทำนาในที่ลุ่มและไถนา พบโครง กระดูกสัตว์แบบสมบูรณ์ สมัยกลางอยู่ในช่วงเวลาประมาณ ๓,๐๐๐ - ๒,๓๐๐ ปีมาแล้ว ช่วงนี้ ชุมชนบา้นเชยงเี ริ่มทำเครองื่ประดับดวย้ สำริด หลักฐานเกยวกับ ี่ สำริดที่บา้นเชยงมี ีทงเบั้าด้ ินเผา สำหรับหลอมโลหะ แม่พิมพ์หินทรายสำหรับหล่อโลหะใหเ้ปน็ วัตถุ ตลอดจนวัตถุสำริดประเภท ต่าง ๆ และสมัยปลาย อยู่ในช่วงเวลาประมาณ ๒,๓๐๐ - ๑,๘๐๐ ปี ในช่วงนี้ชุมชนบ้านเชียง มีการใช้เหล็กอย่างแพร่หลายขึ้น เครื่องประดับสำริดก็มีความประณีตสวยงามมากขึ้น ภาชนะ ดินเผาที่พบในช่วงนี้มักทำเปนสี ็ขาวนวลหรือสีแดงเขยีนลายสีแดง และเริ่มมกาีรใช้น้ำดินสีแดง ทาภาชนะแล้วขัดมัน 37 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า ตำบลบา้นเก่า อำเภอ เมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรีนับเป็นการขุดค้น ทางโบราณคดีที่เป็นระบบครั้งแรกของประเทศไทย เริ่ม การขุดค้นใน พ.ศ. ๒๕๐๓ -๒๕๐๕ ภายใต้ความร่วม มือระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จากการขุดค้นพบร่องรอยหมู่บ้านสมัยก่อน ประวัติศาสตร์บริเวณริมห้วยสาขาของแม่น้ำแควน้อย กำหนดอายุได้ประมาณ ๓,๗๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว พบโครงกระดูกมนุษย์โบราณมากกว่า ๕๐ โครง และ เครองมือเค ื่รองใช ื่เ้ปน็จำนวนมาก เช่น เครองื่ปั้นดินเผา ทรงพานและทรงคนโท เครื่องมือหินกะเทาะ ขวานหิน ขัด ลกูปัด วัตถุที่เปน็ เอกลักษณ์ของแหล่งโบราณคดบีา้น เก่าคือ ภาชนะสามขา มกาี รทำลวดลายจากการใชเชือก ้ ทาบ ภาชนะดินเผาส่วนใหญ่มีสีดำ เทาเขม และ้ น้ำตาล เข้ม ซึ่งเครื่องปั้นดินเผาที่พบที่แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า มีความแตกต่างกับเครื่องปั้นดินเผาที่ขุดพบในแหล่ง โบราณคดแถบภาคีตะวันออกเฉยงเหีนืออย่างชัดเจนทงั้ รูปทรงและลวดลาย แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทาง วัฒนธรรม ชุมชนบ้านเก่ายังไม่เข้าสู่ยุคโลหะ เครื่องมือ เครองใช ื่ ้ส่วนมากเปน็เครองมือห ื่ินขัด ส่วนเครองื่ประดับ ทำจากหินและเปลือกหอยทะเล ดา้นพิธกีรรมการฝังศพ พบว่ามีการวางศพในท่านอนหงายเหยียดยาว มีการ ตกแต่งศพด้วยเครื่องประดับประเภทกำไลและลูกปัด และมีการนำภาชนะดินเผาและสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ วางในหลุมศพเป็นเครื่องอุทิศ แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท ตำบลธาร ปราสาท อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ บนเนินดินรูปยาวรี มีความยาวประมาณ ๗๕๐ เมตร และกว้างประมาณ ๔๕๐ เมตร สูงจากพื้นที่นารอบๆ ประมาณ ๕ เมตร มีลำธารปราสาทไหลผ่านทางทิศ เหนือ หลักฐานการตงชุมชั้ นที่เก่าแก่ที่สุดกำหนดอายุได้ ประมาณ ๒,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ซึ่งคนกลุ่มนี้รู้จัก การเพาะปลูกข้าวและเล ี้ ยงสัตว์แล้ว เช่น วัว ควาย หมู และสุนัข มีการใช้สำริดบ้างแต่ไม่แพร่หลาย ภาชนะดิน เผาเคลือบด้วยน้ำดินสีแดง มีลายเชือกทาบ รูปแบบที่ พบมากเป็นภาชนะแบบคอแคบปากบาน บางชิ้นมีทรง สูงเหมือนคนโท บางชิ้นก็มีลักษณะเป็นทรงกลมสั้น ด้านพิธีกรรมการฝังศพพบว่ามีการนำเครื่อง ประดับ เช่น กำไลเปลือกหอย ลูกปัด แหวนสำริด กำไล สำริด เครองื่ประดับศีรษะทำดวย้ สำริดและของใช้ต่าง ๆ ของผู้ตายฝังร่วมไปดวยเ้ ปน็เครองอุื่ทิศ จึงสนนิ ัษฐานว่า ชุมชนบ้านปราสาทน่าจะมีความเชื่อเรื่องการเกิดใหม่ จึงมีการฝังเครื่องอุทิศเพื่อให้ผู้ตายได้นำไปใช้ในโลก หลังความตายหรือเมือไ ่ปเกดใหม่ก็จะม ิ ีสิ่งของเหล่านั้น ติดตัวไปใช้ด้วย แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว ตำบลห้วย ขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี เป็นเนินดิน ธรรมชาติที่ทับถมสูงขึ้นจากทั้งธรรมชาติและกิจกรรม ของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนินดินมีขนาดยาว ประมาณ ๔๐๐ เมตร ส่วนที่กว้างที่สุดกว้างประมาณ ๒๐๐ เมตร 38


จากการขุดค้นและศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวที่ผ่านมา ชใหี้ ้เห็นว่า บริเวณบ้านโป่งมะนาวเคยเป็นที่ต้ังของชุมชนยุคก่อน ประวัติศาสตร์ตอนปลาย โดยแบ่งออกได้เป็น ๒ สมัย ไดแก่ ้สมัยที่แรกซงเ่ึ ปน็ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตรส์ มัย แรกสุดของบา้นโป่งมะนาว ช่วงนี้น่าจะเปน็ชุมชนขนาด ไม่ใหญ่นัก มอายุเก่าแก่ ี ประมาณ ๓,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีมา แลว โบ ้ราณวัตถุในสมัยนี้ประกอบดวย เค้รองมือห่ื ินขัด ลกูปัดและกำไลขอมือ ้ ที่ทำจากหินอ่อนสีขาวและเปลือก หอยทะเล สมัยที่ ๒ เปน็ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตรต์อน ปลาย มอายุีระหว่าง ๒,๘๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแลว ก่อ ้ นที่ จะเขา้สู่ยุคประวัติศาสตรร์าว ๑,๘๐๐ - ๑,๕๐๐ ปีมาแลว ้ หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญในสมัยนี้ ไดแก่ หลุมฝังศ ้พ ที่มวัีตถุอุทิศฝังร่วมกับศพ เช่น ภาชนะดินเผา กำไลและ แหวนสำริด เครองมือเหล็ก ล่ืกูปัดหิน ลกูปัดแกว เ้ ปนต้น ็ ชุมชนบ้านโป่งมะนาวสามารถผลิตเคร่ืองมือ เครองใช่ืและเค้รอง่ื ประดับจากโลหะไดเอง เ้นองจาก่ืพบ อุปกรณ์การผลิตหลายอย่าง เช่น ชิ้นส่วนเตาหลอมโลหะ ชิ้นส่วนปลายท่อลมจากที่สูบลมสำหรับเตาหลอมโลหะ เบ้าหลอมโลหะ ก้อนทองแดงที่เป็นวัตถุดิบสำหรับทำ สำริด และชิ้นส่วนตะกรนั โดยเฉพาะวัตถุประเภทสำริดน้นั มความเี ปน็ ไปไดว่าม ้กาี รนำทองแดงมาจากแหล่งแร่และ แหล่งถลุงทองแดงที่ย่านเขาวงพระจันทร์ จังหวัดลพบุรี ด้านประเพณีและความเชื่อที่เกยวเ ี่ น่องกับกา ืร ปลงศพ พบว่าในชุมชนมีพ้นที่ที่ ื จัดสุสานที่ฝังศพโดย เฉพาะ ลักษณะการฝังศพม ๒ แบบ แบบแีรกคือ การฝัง ไวใ้นหลุมต้นื ๆ โดยจะจัดศพใหอย้ ่ใูนท่านอนหงายเหยยดี ยาว บางครงก็ม้ักาีรทุบภาชนะดินเผาหลายใบใหแ้ตกแลว้ นำมาปูรองพ้นืหลุมศพ จากน้นั ก็นำดินมากลบทับศพจน เปน็เนินดิน ในบางกรณีพบว่ามกาีรใชก้อ้นหินทับบนเนิน ดินหลุมศพหรือวางรอบด้วย การฝังศพแบบที่ ๒ เป็น พิธกีรรมทำศพเด็กทารก โดยจะบรรจุศพในภาชนะดินเผา ขนาดใหญ่และจัดวางศพใหอย้ ่ใูนท่านง จาก่ัน้นัใชภาช้นะ ดินเผารูปทรงพานวางทับเปน็ ฝาปิดแลว้นำภาชนะดินเผา บรรจุศพทารกนี้ไปฝังไวใ้นบริเวณที่อย่อาศัยหูรืออาจจะฝัง ไวใ้ต้ถุนบา้น จะไม่นำไปฝังในสสุานชุมชน แหล่งโบราณคดีโคกพนมดีตำบลท่าข้าม อำเภอพนสนิ ั คม จังหวัดชลบุรี เปน็เนินดินใหญ่ลักษณะ กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว ๒๓๐ เมตร จุดสูงสุด ของเนินอยู่ทางด้านทิศเหนือ สูงประมาณ ๑๒ เมตร จากพื้นที่โดยรอบ อยู่ห่างจากแม่น้ำบางปะกงประมาณ ๘ กิโลเมตร และห่างจากแนวชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร จากการขุดค้นพบเครื่องมือ หิน เช่น ขวานหินขัด หินลับ หินบด ค้อนหิน หินกรวด สำหรับขัดผิว ภาชนะและกำไลหิน และเครื่องมือที่ทำ จากกระดูกสัตว์ เช่น ฉมวก เครื่องมือที่ทำจากหอย เช่น มด ี สิ่ว มเคีรองื่ประดับที่ทำจากเปลือกหอย และภาชนะ ดินเผาลายเชือกทาบ ชุมชนโคกพนมดีน่าพัฒนามาจาก สังคมแบบดังเด้มิที่อาศัยอยู่ในที่สูง ดำรงชวีิตดวยกา้รล่า สัตว์และหาอาหารจากธรรมชาติ ก่อนจะอพยพลงมา อยู่ที่โคกพนมดีที่เป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งจากป่าและทะเลสำคัญ และเริ่มทำการเกษตรและเพาะปลูกจนกลายเป็นสังคม เกษตรกรรมถาวร 39 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ การตั้งถิ่นฐานที่โคกพนมดีนี้แบ่งเป็น ๒ สมัย คือ สมัยแรก กำหนดอายุประมาณ ๘,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว ช่วงนี้ยังเป็นสังคมแบบล่าสัตว์ - เก็บของป่า ดำรงชีพด้วยทรัพยากรจากทะเลเป็นสำคัญ และสมัย ที่ ๒ มีอายุประมาณ ๕,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว เป็น ช่วงที่ชุมชนน่าจะขยายตัวใหญ่ขึ้น เริ่มมีการปลูกข้าว กลายเป็นสังคมเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการหาอาหาร จากธรรมชาติ โดยน่าจะเริ่มปลูกข้าวตามบริเวณหนอง น้ำจืด ใชจอบห้ ินแกรนิตปรับหน้าดินและใชเ้ปลือกหอย น้ำจืดทำเป็นเคียวหรือมีด ต่อมาน้ำทะเลมีระดับสูงขึ้น เป็นผลให้สภาพพื้นที่ใกล้เคียงกลายเป็นป่าเลนน้ำเค็ม ทำให้การเพาะปลูกข้าวมีปัญหาและอาจทำให้การปลูก ข้าวลดลง ชุมชนโคกพนมดีจึงหันไปติดต่อแลกเปล ี่ ยน กับชุมชนอื่นมากขึ้น จากการขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์จำนวน ๑๕๔ โครง เป็นโครงกระดูกผู้ใหญ่จำนวน ๖๘ โครง (เพศชาย ๓๒ โครง และเพศหญิง ๓๖ โครง) เด็กโต จำนวน ๑๔ โครง และเด็กทารกจำนวน ๗๒ โครง พบว่า มกาีรฝังศพซ้อนทับกันถึง ๗ สมัย โครงกระดกูที่โดดเด่น ที่สุดที่พบที่แหล่งโบราณคดีโคกพนมดีคือ โครงกระดูก หมายเลข ๑๕ ซงเึ่ปน็ โครงกระดกเูพศหญง เิ สียชวีิตขณะ อายุ ๓๐ - ๓๔ ปี กำหนดอายุได้ประมาณ ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ขุดพบที่ระดับความลึก ๒.๕๐ เมตร หลุมศพมี ขนาดใหญ่ มีความกว้าง ๑ เมตร ยาว ๓ เมตร และลึก ๙๕ เซนติเมตร ลักษณะการฝังศพเป็นแบบนอนหงาย เหยียดยาวหันศีรษะไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ใน หลุมฝังศพพบลูกปัดเปลือกหอยแบบแว่นกลมมากกว่า ๑๒๐,๐๐๐ เม็ด โดยพบบริเวณส่วนหน้าอกและแผน่ หลัง จึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นลูกปัดที่เย็บติดกับผ้าห่อศพ หรือเสอ ้ืนอกจากนี้ยังพบลกูปัดแบบตัวไอ ขนาดต่าง ๆ จำนวน ๙๕๐ เม็ด บริเวณหน้าอกและใต้แขน เครื่อง ประดับศีรษะทำจากเปลือกหอยมลักษ ีณะเปน็แผน่กลม เจาะรูทะลุตรงกลางที่บริเวณหูข้างละ ๑ อัน บริเวณไหล่ มีแผ่นวงกลมมีเดือยอยู่ตรงกลางทำจากเปลือกหอยจำ ข้างละ ๑ วง ข้อมือซ้ายมีกำไลเปลือกหอยจำนวน ๑ วง 40


นอกจากนี้ยังพบภาชนะดินเผา ๑๐ ใบถูกทุบให้แตก โดยแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ วางกระจายปกคลุม ลำตัวตั้งแต่ต้นขาถึงปลายเท้า และกลุ่มที่ ๒ วางอยู่บน กองของแทน่ดินเหนียวที่วางทับลำตัวอยู่ ภาชนะดินเผา เหล่านี้บางใบมีรูปร่างที่แตกต่างไปจากที่พบในหลุมศพ อื่น การที่สตรีผู้นี้มีลูกปัดในหลุมศพนับแสนชิ้น รวมถึง สิ่งของและเครื่องประดับจำนวนมาก แสดงว่าต้องเป็น บุคคลที่มีความสำคัญในชุมชน นักโบราณคดีจึงเรียก โครงกระดูกหมายเลข ๑๕ ว่า “เจ้าแม่โคกพนมดี” วัตถุ อุทิศในหลุมศพของเจ้าแม่โคกพนมดีทำให้สันนิษฐาน ได้ว่าสังคมในยุคนั้นอาจมีการแบ่งระดับทางสังคมแล้ว นอกจากนี้ยังพบว่าเครื่องประดับทำจากหอยมือเสือที่ พบในหลุมศพอาจได้มาจากการแลกเปล ี่ ยนกับชุมชน อื่น เนื่องจากในช่วงเวลาดังกล่าวที่โคกพนมดีไม่มีหอย มือเสือ เป็นการยืนยันว่าชุมชนโคกพนมดีมีการติดต่อ แลกเปล ี่ ยนสินค้ากับชุมชนอื่น แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ตำบลดอน ตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เปน็เนินดิน ขนาดใหญ่ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของชุมชนในตัวตำบลดอน ตาเพชร แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรเป็นแหล่ง โบราณคดใีนสมัยก่อนประวัติศาสตรต์อนปลายที่มความี สำคัญแห่งหนึ่งในพื้นที่ภาคตะวันตกของไทย กำหนด อายุได้ประมาณ ๑,๗๐๐ - ๒,๓๐๐ ปีมาแล้ว มีการรับ เทคโนโลยเกี ยวกับกา ี่ รหล่อเครองื่ประดับและเครองใช ื่ ้ที่ ทำจากเหล็กและสำริด รวมทั้งการทำเครื่องประดับจาก หินและแก้ว ภาชนะสำริดที่พบที่บ้านดอนตาเพชรแสดงถึง เทคโนโลยกาีรหล่อโลหะขั้นสูง ไดแก่กา ้รหล่อแบบแทนที่ ขี้ผึ้ง เนื่องจากภาชนะที่พบมีเนื้อบางและมีการแกะลาย ที่สวยงาม ได้แก่ รูปไก่ลอยตัวมีลักษณะเป็นรูปไก่ขัน อยู่บนคอนปากคาบสัตว์ที่มีขาคล้ายแมงมุมหรือปูรูป กรงหรือสุ่มไก่สำริดมีลักษณะเป็นทรงกรวยตอนบนมีรู ที่อาจจะมีไว้สำหรับเสียบกับรูปไก่สำริด รูปหงส์ รูปนก ยูง กระพรวน กำไล แหวน ภาชนะรูปทรงต่าง ๆ เช่น ทรงกระบอก ขัน ถังน้ำ ฝามีจุกแหลม ทัพพีสำริด และ ภาชนะสำริดชิ้นหนึ่งเป็นรูปผู้หญิงเกล้ามวยผม หูยาว สวมเสื้อ พบแต่ส่วนบนของร่างกายผู้หญิง และยังพบ เครื่องมือเหล็กแบบต่างๆ ได้แก่ เครื่องมือช่างแบบมี บอง เค้รองมือช่างแบบม ื่ช่องเข ีาด้าม เค้รองมือช่างแบบ ื่ มกัี่น ใบหอกมบี อง ใบหอกม ้ กัี่น หัวลกศูร หัวฉมวก ห่วง เหล็กรูปคล้ายกำไล มีด ตะปู เคียว เบ็ด เครื่องมือเหล็ก รูปคล้ายใบหอกแต่มีรูเจาะตรงกลาง เหล็กเส้นยาว ลูกปัดหินสีและลูกปัดแก้วที่ดอนตาเพชรแสดง ใหเห็ ้นถึงการติดต่อกับชุมชนภายนอกอย่างชัดเจน โดย เฉพาะการติดต่อทางทะเลกับทั้งอินเดียและทางตะวัน ออก ซงกาึ่รติดต่ออาจจะมาทางการเดินเรือจากอินเดยี มายังพม่า และเข้ามาทางกาญจนบุรีราชบุรี หรือเข้า มาทางทะเลโดยผ่านเมืองท่าที่นครปฐม สินค้าที่นำ มาแลกเปล ี่ ยนค้าขายส่วนใหญ่เป็นเครื่องใช้ที่ทำจาก สำริด เครื่องประดับประเภทลูกปัดหิน แก้ว เป็นต้น ใน สถานะที่เป็นชุมชนศูนย์กลางการค้าขายจากอินเดียกับ ชุมชนอื่นที่อยู่ลึกเขาไ้ ปภายใน หลักฐานที่แสดงถึงความ ติดต่อสัมพนัธ์กับอินเดย คือ ด ีาม้ทพพีสำริ ัดรูปนกยง ูซงึ่ 41 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ นกยูงเป็นสัตว์ที่สำคัญในความเชื่อของชาวอินเดีย ลูกปัดหินคาร์เนเลียนและอาเกต ซึ่งมีแหล่งผลิตอยู่ใน อินเดีย ลูกปัดหินคาร์เนเลียนรูปสิงโต เป็นที่นิยมของ ชาวตะวันตก แหล่งโบราณคดีโนนหนองหอ ตำบลนาอุดม อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร เป็นแหล่ง โบราณคดใีนสมัยก่อนประวัติศาสตรต์อนปลาย กำหนด อายุได้ประมาณ ๑,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ซึ่งเป็นช่วง ที่เข้าสู่ยุคเหล็กแล้ว พบหลักฐาน ชิ้นส่วนแม่พิมพ์กลอง ทำจากดินเผาจำนวน ๑๘ ชิ้น แม่พิมพ์บางชิ้นมลวดลายี เดยวกั ีนกับลวดลายดา้นขางของกลองมโห ้ระทึกที่พบที่ อำเภอคำชะอ จังหวัดมุกดาหา ีร ชิ้นส่วนกลอง ไดแก่ ช ้ ิ้น ส่วนดาวหน้ากลอง ชิ้นส่วนหูกลอง ซึ่งแหล่งโบราณคดี แห่งนี้เคยขุดพบกลองมโหระทึกจำนวน ๒ ใบ โดยหนึ่ง ใบเปน็กลองขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังพบเครองมือใ ื่นการ ผลิตสำริด ได้แก่ ชิ้นส่วนเตาถลุงโลหะ เบ้าหลอมโลหะ ดินเผา ก้อนทองแดง ตะกรันโลหะ แม่พิมพ์หินทราย จากการขุดค้นสรุปได้ว่าชุมชนโนนหนองหอ เป็นแหล่งโลหกรรมสำริดและเหล็กที่สำคัญ โดยน่า จะเป็นแหล่งผลิตกลองมโหระทึกสำริดในสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ตอนปลายเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย ร่วมสมัยวัฒนธรรมดองซอนและซาหวิ่นในเวียดนาม จากตัวอย่างแหล่งโบราณคดก่อี นประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย จะเห็นได้ว่ากระจายทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศ ทั้งบนภูเขาสูง บนพื้นที่ราบสูงตลอดจน ในถ้ำในภูเขา หรือถ้ำในทะเล แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่มี คนไทยอยู่ในทุกวันนี้มีผู้คนอาศัยอยู่มาอย่างต่อเนื่อง และแต่ละพื้นที่มีความเจริญต่างกัน แหล่งโบราณคดี ในประเทศไทยบางแหล่งอยู่ไม่ไกลกันนัก ย่อมแสดงให้ เห็นถึงการเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว นอกจาก นี้สิ่งของบางอย่างที่พบในหลุมฝังศพ เช่น ลูกปัดแก้ว เครื่องประดับทำจากอะเกต ในหลุมฝังศพบางแหล่งก็ ไม่ได้เป็นของที่พบในพื้นที่ แสดงให้เห็นว่าในช่วงสมัย นั้นแต่ละภมูภาคได ิม้กาี รติดต่อกับดินแดนภายนอกแลว ้ การเป็นแหล่งผลิตเหล็กและเกลือเป็นปัจจัย สำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดการรวมตัวของผู้คนเป็น ชุมชนขึ้นจำนวนมากในปลายยุคเหล็ก และชุมชนใน สมัยนี้ก็ปรากฏชนชั้นสูงที่มีการสืบทอดความเป็นผู้นำ ไปยังลูกหลานด้วย ดังตัวอย่างหลุมฝังศพบางหลุมเต็ม ไปด้วยสิ่งของต่าง ๆ ที่ฝังไปกับศพ แต่ละศพมีความ แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดจากสมัยก่อน การเป็นแหล่ง เหล็กและเกลือซึ่งเป็นสินค้าระยะไกล การค้าขายแลก เปล ี่ ยนกับดินแดนที่เจริญกว่าและอยู่ห่างไกลทำให้เกิด การแลกเปล ี่ ยนความคิดความเชื่อและความต้องการ สิ่งของแปลกใหม่ นอกจากนี้ ชุมชนที่มีกำลังพอในการ แลกเปล ี่ ยนซื้อหาอาวุธได้ ย่อมมีโอกาสนำไปใช้พิชิต ชุมชนที่อ่อนแอกว่า ความได้เปรียบและการแสวงหา อำนาจ ส่งผลให้เกิดชุมชนหรือกลุ่มชนที่มีอำนาจและ สถานะสำคัญในสังคมซึ่งในเวลาต่อมาชุมชนนั้นก็จะ พัฒนาเป็นรัฐเป็นบ้านเป็นเมืองที่ความโดดเด่นกว่า ชุมชนอื่น 42


ในที่สุดก็คูน้ำคันดินหินกอ้นแรกที่บรรพชนไดจัด้ วางไว้อย่างตั้งใจ ผสานกับความรู้เทคโนโลยีอันเหมาะ กับช่วงเวลาสมัย และการเปิดรับโลกภายนอกเข้ามาใน ดินแดนก็กลายเปนร็ากเหงาของบ้รรพชนคนที่อาศัยอยู่ ในพื้นที่สุวรรณภูมิแห่งนี้ หากแต่ว่าสุวรรณภูมินี้ควรจะ อยู่ที่ใด คำว่าสุวรรณภมูินั้นสามารถแปลตรงตัวไดว่า ด ้ ิน แดนทอง คำนี้ปรากฏในเอกสารโบราณของชาติต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย จีน และกรีก เอกสารโบราณเหล่านี้ล้วน เปน็ หลักฐานที่แสดงว่าในช่วงพทุธศตวรรษที่ ๕ ดินแดน ที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ เป็นที่รู้จักในหมู่นักเดินทางต่าง แดนเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ที่ตั้งของสุวรรณภูมินั้น ยังคงคลุมเครืออยู่มาก เนื่องจากไม่มีการระบุถึงที่ตั้ง ของดินแดนนี้อย่างแน่ชัด แต่จากการตีความเอกสาร โบราณประกอบกับหลักฐานทางโบราณคดีทำให้พอ จะสรุปได้ว่าดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิเป็นเมืองท่า การค้าที่น่าจะตั้งอยู่ในบริเวณเมืองท่าการค้าทางทะเล ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรมลาย ช่องแคบมะละกา เกาะูสุมาตรา เกาะชวา เกาะบอร์เนียว รวมไปถึงดินแดนตอนล่างของ ประเทศเมียนมาร์และดินแดนภาคกลางและภาคตะวัน ตกของประเทศไทย ซึ่งการเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย การค้าทางทะเลในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๕ เป็นต้นมา จีนมีบันทึกทางประวัติศาสตร์จำนวนมากทั้ง ที่เก ี่ยวกับประวัติศาสตร์จีนเองและประวัติศาสตร์ของ ดินแดนอื่น ๆ ที่มีการติดต่อสัมพันธ์กับจีนทั้งด้านการ ค้าและการขยายอำนาจทางการเมือง ซึ่งรัฐโบราณใน ดินแดนสุวรรณภูมิก็ปรากฏอยู่ในเอกสารของจีนเป็น จำนวนมาก เส้นทางการค้าทางทะเลที่เกิดขึ้นในช่วง ต้นคริสตกาลทำให้ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางการค้าดังกล่าวเริ่มเป็นที่ รับรู้ของจีน ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๘ รัฐอู๋ที่ตั้ง อยู่บริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซีทางตะวันออกของ ประเทศจีนในปัจจุบัน ได้ส่งราชทูต ๒ คน คือ คังไถ่ และจูยิง มายังดินแดนฟูนัน ในบันทึกของทูตทั้งสอง กล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าจินหลิน (Chin-lin) ซึ่งมีความ หมายตรงกับคำว่า สุวรรณภูมิ ว่าอยู่ทางตะวันตกของ ฝ้หูนานไปสองพนัล ี้ นอกจากนี้ในบันทึกของหลวงจีนอจ ี้ งิ ที่เดินทางจากฉางอันมาถึงรัฐศรีวิชัยบนเกาะสุมาตรา ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เพื่อจะเดินทางต่อไปยัง นาลันทามหาวหาิรในอินเดย เี รียกศรีวชัยว่าจ ิ ินโจว (Chin Chou) ซงมึ่ความหมายใกล ีเค้ ยงกับค ี ำว่าสุวรรณภมูเช่ ิน กัน เมื่อพิจารณาจากหลักฐานเหล่านี้ทำให้สันนิษฐาน ได้ว่า สุวรรณภูมิในความรับรู้ของชาวจีนน่าจะหมาย ถึงบริเวณคาบสมุทรมลายูไปจนถึงเกาะสุมาตราและ เกาะชวา อินเดียก็มีการติดต่อสัมพันธ์กับดินแดน สุวรรณภูมิมาอย่างยาวนานเช่นเดียวกับจีน ดังจะ เห็นจากการที่คนพื้นเมืองในดินแดนนี้รับวัฒนธรรม และความเชื่อที่มีต้นกำเนิดจากอินเดียมาปฏิบัติ โดย เฉพาะศาสนา แนวคิดด้านการปกครอง ภาษาและ วรรณกรรม อย่างไรก็ตาม เอกสารโบราณของอินเดีย ส่วนมากมักปรากฏในรูปแบบของคัมภีร์ทางศาสนาทั้ง ศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ เอกสารโบราณของ อินเดียที่กล่าวถึงดินแดน “สุวรรณภูมิ” มีอยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะคัมภีร์ของพุทธศาสนา ส่วนมากดินแดน 43 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สุวรรณภูมิในเอกสารโบราณของอินเดียมักถูกกล่าวถึง ในชาดกในคัมภีร์ขุททกนิกายของสุตตันตปิฎก โดย ดินแดนสุวรรณภมูมักถ ิ กกล่าวถึงใูนฐานะจุดหมายปลาย ทางในการทำการคาโดย ้ ต้องเดินทางขาม้ น้ำขาม้ทะเลใน การไปใหถึง ้ทงั้นี้ ในอรรถกถา อังคุตตรนิกายของสตตุนตั ปิฎกได้กล่าวถึงที่ตั้งของดินแดนสุวรรณภูมิว่าอยู่ห่าง จากเกาะศรีลังไปไป ๗๐๐ โยชน์ ในช่วงฤดูมรสุมใช้เวลา เดินทาง ๗ วันจึงจะถึง อย่างไรก็ดีสุวรรณภมูใินเอกสาร อินเดยโบ ีราณมักถกกล่าวถึงใูนแง่ของดินแดนลึกลับและ ห่างไกลมากกว่าที่จะระบุที่ตงั้ทางภมูศาิสตร์หรือบันทึก ถึงขอเ้ท็จจริงเกยวกับด ี่ ินแดนนี้ แต่ก็สามารถสังเคราะห์ ข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากวรรณกรรมเหล่านี้ได้ด้วย การเทียบเคยงช่วงเวลา ี ที่วรรณกรรมเรองื่นั้น ๆ ถกเขูยีน ขึ้นกับหลักฐานทางโบราณคดีซงมึ่อยีู่เปน็จำนวนมากทงั้ ในอินเดียและบริเวณภาคกลางและภาคตะวันตกของ ประเทศไทย ที่แสดงว่าเมืองท่าในอนุทวีปอินเดียมีการ ติดต่อทำการค้ากับรัฐพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ทำให้สันนิษฐานถึงตำแหน่งที่ตั้งของสุวรรณภูมิได้ว่า อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลบริเวณคาบสมุทรมลายและเมืองู ท่าต่าง ๆ บริเวณอ่าวเบงกอล ส่วนเอกสารกรีกที่มีการระบุถึงดินแดน สุวรรณภูมิ ได้แก่ งานเขียนในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๗ เรอง The Geography ของเคลาเด ื่ยีส ปโตเลม (Claudius ี Ptolemy) นักภูมิศาสตร์ชาวกรีก ในหนังสือมีภาพแผนที่ ทงแั้ ผนที่โลกและแผนที่ของดินแดนต่าง ๆ รวมถึงเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ปโตเลมีใช้คำว่า Golden Chersonese ซึ่งมีความหมายว่า แหลมทอง (Golden Peninsula) เรียกบริเวณที่เปน็คาบสมุทรมลายใูนปัจจุบัน โดยมีครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่คาบสมุทรมลายูตอนบน ตั้งแต่จังหวัดชุมพรทางภาคใต้ของประเทศไทยเรื่อยลง มาถึงคาบสมุทรมลายูตอนล่างที่อยู่ในประเทศมาเลเซีย แมว่ากา ้รกำหนดขอบเขตพื้นที่ของ “สุวรรณภมู” ิ อย่างชัดเจนจะเปน็เรองยากเื่นองจากขาดหลักฐา ื่นทาง ประวัติศาสตร์ที่ระบุพื้นที่อย่างแน่ชัด แต่ภาพของซึ่ง การเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายการค้าทางทะเลในพุทธ ศตวรรษที่ ๕ เป็นต้นมา ทำให้สรุปได้ว่า “สุวรรณภูมิ” ในเอกสารโบราณของทงจั้ีนอินเดยและกี รีกอยู่ในสถาน ที่เดียวกัน คือ คาบสมุทรมลายูและบริเวณเมืองท่าใกล้ เคยงโดย ีรอบ ความสำคัญดา้นการคา้นี่เองที่ทำใหด้ินแดน สุวรรณภูมิปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณของต่างชาติ โดยเฉพาะจีนและอินเดียที่เป็นสองดินแดนที่มี ปฏิสัมพันธ์กับชาวพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มายาวนาน แต่ไม่ว่าดินแดนสุวรรณภูมิจะต้ังอยู่บริเวณ ใดก็ตาม สิ่งทปี่ รากฏเป็นเส้นทางของความเจริญก็ กระจัดกระจายอยู่แทบจะทัว่ภูมิภาคเอเชยีตะวันออก เฉยงใ ีต้ โดยเฉพาะในดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน ทม ี่ ีผู้คนอยู่อาศัยมาอย่างยาวนาน มเทคโนโลย ี ความีรู้ ในการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ และการผลิต เพอน่ืตอบสนองชุมชนอืน นั่บได้ว่าจากจุดเรม่ิต้นของ เส้นทางแรกนไี้ ด้ทอดยาวต่อมาเป็นชุมชนทเข็มแข็ง ี่ และพัฒนาขึนเป็นสังคมขยายท ้เจ ี่ ริญต่อมามากทสุ ี่ ด แห่งหนึงในป่ระวัติศาสตร์โลก 44


45 บทที่ ๑ คูน้�ำคันดิน หินก้อนแรก: ชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนต่าง ๆ ของไทย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 46 ที่มา กรมศิลปากร, ทุ่งตึกเมืองท่าการค้าโบราณ, ๒๕๕๐


เมื่อมนุษย์เปล ี่ ยนวิถีชีวิตจากการล่าสัตว์ เก็บของป่าเพอดื่ ำรงชีพมาเปน็การทำการเกษตร ก็เริ่มตั้งถิ่นฐานถาวร การสร้างบ้านเรือนเป็น หลักแหล่งเพื่อทำการเพาะปลูกเป็นจุดเริ่มต้นให้ มนุษย์มาอยู่รวมกันจนเป็นชุมชน หมู่บ้าน และ เมื่อมนุษย์ต้องพึ่งพาการเกษตรกรรมเป็นหลักก็ ยง ิ่ ต้องการแรงงานมากขึ้น ทงเั้พอขยายื่พื้นที่การ เพาะปลกและเูพอดื่แลความูปลอดภัยของชุมชน นำไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือเครื่องใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน จึง เริ่มมีการผลิตงานฝีมือต่าง ๆ เพื่อความสวยงาม ไม่ว่าจะเปน็การตกแต่งของใชให้ ้ประณีตสวยงาม การผลิตเครื่องประดับต่าง ๆ ซึ่งเมื่อเข้าสู่ยุค เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยน ว ั ฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น โลหะ มนุษย์ก็ยิ่ งสามารถพัฒนาประสิทธิภาพใน การเกษตรกรรมได้มากขึ้น เนื่องจากเครื่องมือ โลหะมความแข็งแ ีรงทนทาน และยังมกาีรพัฒนา ความสามารถในการสร้างระบบชลประทานเพื่อ การเกษตรและใชใ้นชวีิตประจำวัน เช่น ฝายกั้นน้ำ บ่อน้ำ สระน้ำ จนที่สุดเมื่อชุมชนขยายตัวทั้ง จำนวนประชากรและเศรษฐกจก็เ ิ ริ่มติดต่อคาขาย้ แลกเปล ี่ ยนทรัพยากรกับชุมชนในท้องถิ่นอื่น ๆ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการ พัฒนาจากชุมชนหมู่บ้านเป็นชุมชนเมือง “เมือง” คือ ชุมชนที่มีขนาดใหญ่กว่า หมู่บ้าน ประกอบด้วยหลายหมู่บ้านตั้งอยู่ใน อาณาเขตเดียวกัน สังคมเมืองมีความหลาก 47 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น ๒


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ หลายกว่าสังคมแบบหมู่บ้านทั้งด้านเศรษฐกิจและ โครงสร้างสังคม กล่าวคือ ชุมชนเมืองมีการจัดระเบียบ สังคมซึ่งในแง่หนึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นในการแบ่งแยก สถานะทางสังคม เช่น เจ้าเมือง นักบวชหรือหมอผี ที่ทำหน้าที่ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ มีพ่อค้า ช่างฝีมือ ชาวนา หรือแม้กระทั่งทาส การเกิดเมืองเป็น พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญของมนุษยชาติ เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมต่อระหว่างยุคก่อนประวัติศาสตร์ ไปสู่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ เมื่อหมู่บ้านขยายตัว จนกลายเป็นเมืองย่อมเกิดการเปล ี่ ยนแปลงในวิถีชีวิต เกือบทุกด้าน เมืองไม่ได้มีแต่การเกษตรหรือมีอาชีพ ในชุมชนเพียงอาชีพเดียว แต่จำนวนประชากรที่เพิ่ม ขึ้นตั้งแต่เข้าสู่สังคมเกษตรกรรมทำให้เริ่มมีความหลาก หลายของอาชีพมากขึ้น อันจะนำไปสู่การเปล ี่ ยนแปลง ของโครงสร้างสังคมที่ซับซ้อนขึ้น มีภาษา มีประเพณี ความเชื่อร่วมกัน จึงอาจกล่าวได้ว่า ชุมชนเมืองเป็น จุดเริ่มต้นของการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ส่วน ในด้านเศรษฐกิจนั้น เมื่อเกิดผลผลิตขึ้นในชุมชน เช่น ผลผลิตการเกษตรจากชาวนา เครื่องปั้นดินเผาจากช่าง ปั้น ผ้าจากช่างทอผ้า ก็จะมีการนำผลผลิตเหล่านี้มา แลกเปลย ี่ นกัน ไม่เพียงแลกเปลย ี่ นภายในชุมชนเท่านั้น แต่ยังเกดกาิรแลกเปลย ี่ นผลผลิตกับชุมชนหรือเมืองอื่น ๆ เนื่องจากแต่ละพื้นที่ย่อมมีทรัพยากรต่างกัน สินค้าที่ ขาดแคลนในท้องถิ่นหนึ่งอาจจะมีอย่างอุดมสมบูรณ์ ในอีกท้องถิ่นซึ่งทำให้การเกิดขึ้นของเมืองสัมพันธ์กับ พัฒนาการของเส้นทางการค้าทั้งภายในและภายนอก ในช่วงก่อนที่จะเริ่มต้นยุคประวัติศาสตร์นั้น ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันก็เริ่มเกิดชุมชน เมืองขึ้นแลว โดยเฉ ้พาะในบริเวณชายฝั่งของคาบสมุทร มลายูตอนบนหรือภาคใต้ในปัจจุบัน สาเหตุสำคัญ ของการเกิดชุมชนเมืองในบริเวณนี้ คือ การค้า โดยเฉพาะการค้ากับต่างชาติได้นำไปสู่พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์อีกขั้นหนึ่ง เส้นทางการค้าทางทะเลยุคแรก ดินแดนที่เปนปร ็ะเทศไทยในปัจจุบันตงอยัู้่เกือบ กึ่งกลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีพื้นที่ติดกับ ฝั่งทะเลรวมทั้งหมดถึง ๓,๒๑๙ กิโลเมตร โดยเฉพาะ ในภาคใต้ที่อยทู่างตอนบนของคาบสมุทรมลายูที่ขนาบ ด้วยทะเลอันดามันทางตะวันตกและทะเลอ่าวไทยทาง ตะวันออก ดวย้ ที่ตงของคาบั้สมุทรมลายดังกล่าว ูทำให้ ดินแดนนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางการค้าทาง ทะเลยุคโบราณที่เริ่มก่อตัวขึ้นในช่วงต้นคริสตกาลหรือ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๕-๖ ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ เป็นระยะของการเติบโตทางด้านการค้าระหว่างซีกโลก ตะวันตก ได้แก่ โรมัน ตะวันออกกลาง อินเดีย กับซีก โลกตะวันออก ไดแก่ จ ้ ีน ทำใหด้ินแดนเอเชยีตะวันออก เฉยงใ ี ต้ที่เปนท็างผ่านไปสูต่ลาดการคาดังกล่าวได ้ม้ีส่วน ร่วมในเส้นทางการค้านี้ด้วย ทั้งในฐานะท่าจอดเรือเพื่อ ขนถ่ายสินคาและแหล่ง ้ สินคา้พวกของป่าและเครองเื่ทศ โดยปัจจัยการเติบโตของการคา้ทางทะเล มาจากดินแดน ทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ดังนี้ 48


Click to View FlipBook Version