The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2023-07-24 03:20:51

สยามรัถยา

สยามรัถยา

Keywords: Siam

ใช้ส่งผลให้เกิดความเปล ี่ ยนแปลงแนวทางความคิดใน การบริหารราชการและการปกครองไปบ้าง เพื่อให้สอด รับกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจใหม่นี้ เมือ่พระมหากษัตริย์ทรงเปนผู้นำ ็ ในการยอมรับ เทคโนโลยีและวิชาการตะวันตก เจ้านายและขุนนางจึง คล้อยตามไปในทิศทางเดียวกัน กษัตริย์ทรงสามารถ ประพฤติตนเป็นผู้นำให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่เบ ี่ ยง ออกจากประเพณีเดิมได้ซึ่งลักษณะเช่นนี้จำเป็นอย่าง ย ิ่งในการรักษาเอกราชของประเทศเอาไว้ การรับวัฒนธรรมตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ ๔ นั้น จึงเปน็การรับเพอื่พัฒนาประเทศในดา้นต่าง ๆ เช่น ดา้น การคมนาคม เกิดการสร้างถนน การใช้เรือกลไฟ รถม้า ด้านการปรับปรุงระบบการผลิตสินค้าเกษตร เกิด การ ใช้เครื่องจักรสีข้าวและเลื่อยไม้ ด้านการปรับปรุงระบบ เงินตรา เกิดการผลิตเงินเหรียญ และด้านการทหารเกิด การนำอาวุธยุทธภัณฑ์สมัยใหม่เข้ามาใช้ เป็นต้น นโยบายสำคัญในการรับเทคโนโลยีตะวันตก ของผู้นำไทยในสมัยนี้อยู่ที่สารประโยชน์ในทางปฏิบัติ สิ่งที่รับมาจะต้องนำมาใช้ประโยชน์ได้จริงในประเทศ สยาม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ตักเตือนขุนนางที่มหี น้าที่ออกไปศึกษาหาซอเคื้รองจัก ื่ร เครื่องกล แท่นพิมพ์ และเครื่องทำเหรียญกษาปณ์ ว่า อย่าตื่นเต้นกับเครื่องจักรอันใหญ่โต แต่ให้คำนึงว่าเมื่อ ซอมาแลื้ว จะ้ ต้องรู้วธิใชี ้ประโยชน์ให้สมควรแก่ศักยภาพ ของประเทศในเวลานั้น การนำวัฒนธรรมตะวันตกมาปรับปรุงจารีต ของไทยนับเป็นความเปล ี่ ยนแปลงที่สำคัญประการใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้ เพราะเมื่อมีผู้รู้เห็นเก ี่ยวกับสถานการณ์ในตะวันตกมา ขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงปรับ เปล ี่ ยนบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ใหม่ที่เดิม เน้นพิธีกรรมและความศักดิ์สิทธิ์เพื่อเพิ่มอำนาจให้แก่ กษัตริย์ ไปเป็นพระมหากษัตริย์ที่เป็นผู้นำตามอุดมคติ และหลักการดั้งเดิมของพระพุทธศาสนามากขึ้น ใน หลักการปกครองนี้พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะผู้ สนับสนนุ และคุมค้รองพระพทุธศาสนาและประชาชนใน สภาพของมนุษย์ มใช่เ ิทพ แต่ก็มไดิ ้ทรงต้องการลดความ มบาีรมีสูงส่งของพระมหากษัตริย์ลงไป ทรงเน้นอยู่เสมอ ในข้อนี้ว่าเนื่องจากมีบารมีสูงจึงมีเทพเจ้าช่วยอภิบาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พยายามผ่อนคลายความเข้มงวดระหว่างประชาชนกับ พระมหากษัตริย์ลงไปจากที่เคยปฏบัิ ติมาในสมัยอยุธยา พิธีพราหมณ์ถูกลดบทบาทลง เพิ่มพิธีทางพระพุทธ ศาสนามากขึ้น โปรดให้มีการเฉลิมฉลองวาระสำคัญ ของพระมหากษัตริย์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาและ วันฉัตรมงคล ทรงใช้วิธีการแบบตะวันตกในการเฉลิม ฉลอง อาทิ การยิงสลุต การประดับประดาไฟในเวลา กลางคืน เป็นต้น และโปรดเกล้าฯ ให้สอดแทรกพิธีทาง พระพุทธศาสนา นับว่าทรงประสบความสำเร็จในการ ปรับประเพณีของฝรั่งให้มีบรรยากาศและความรู้สึก แบบไทย 199 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในรัชสมัยของพระองค์นี้เองที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขข้อบังคับของบ้านเมืองหลาย ประการ ซึ่งส่งผลให้เกิดการยกระดับความเป็นอยู่และ ความสำคัญของประชาชนให้สูงขึ้น เช่น อนุญาตให้ ประชาชนเฝ้าแหนมองพระมหากษัตริย์ได ให้ถวายฎ้ ีกา ไดด้วย้ตนเอง ใหม้กาีรเลือกตำแหน่งราชครูปุโรหิตาจารย์ แทนการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์ เพราะทรงเห็น ว่าตำแหน่งนี้เก ี่ ยวข้องกับการตัดสินคดีความ เก ี่ยวกับ ความสุขทุกข์ของประชาชน โปรดเกลาฯ ให ้ม้กาีรว่าจาง้ แรงงานกรรมกรเพิ่มขึ้น เพื่อทดแทนการเกณฑ์แรงงาน จากประชาชน ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จฯ ออกเย ี่ ยมเยียนประชาชน ทรงออกกฎหมายห้ามบิดา มารดาขายบุตรลงเป็นทาสโดยเจ้าตัวไม่สมัครใจ และ การกำหนดค่าตัวทาสต้องเปนร็าคาที่เจา้ตัวยินยอม ทรง ออกประกาศห้ามบิดามารดาบังคับบุตรสาวให้แต่งงาน โดยไม่สมัครใจ ทรงอนุญาตให้พระสนมที่ไม่มีพระโอรส ธิดากับพระองค์ถวายบังคมลาออกไปเป็นอิสระและ แต่งงานใหม่ได้ เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์หนังสือราชการออก เป็นรายสัปดาห์เรียกว่าราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้ ข้อมูลเก ี่ยวกับงานราชการและกฎหมายต่าง ๆ ที่ออก ประกาศใช้ เพราะทรงเห็นว่าจะเป็นผลดีต่อประชาชน และป้องกันขุนนางทำตราปลอม อ้างรับสั่ง การออก หนังสือนี้ได้แนวคิดมาจากตะวันตก และยังทรงให้พิมพ์ เผยแพร่กฎหมายไทยเป็นครั้งแรก เพื่อให้ประชาชน ได้รู้ข้อกฎหมายเพิ่มขึ้น จะได้ไม่ถูกข่มเหงได้โดยง่าย พระองค์ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษาแผนใหม่ว่า จะช่วยให้คนไทยปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่เปล ี่ ยนไป ได้ มิชชันนารีเป็นผู้เสนอเรื่องการพัฒนาประเทศผ่าน การศึกษาแผนใหม่ ทรงเห็นด้วยกับการตั้งโรงเรียนสอน ภาษาอังกฤษและวิทยาการสมัยใหม่ตามแนวทางของ มิชชันนารี จึงทำให้โรงเรียนของมิชชันนารีแพร่หลาย ออกไปหลายจังหวัด พวกขุนนางก็ส่งเสริมให้ลูกหลาน ไปเรียนที่โรงเรียนของมิชชันนารีพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้บุตรขุนนาง ๑๒ คนไปเรียนที่โรงเรียนของมิชชันนารี ส่วนพระองค์ก็ทรงว่าจ้างชาวต่างชาติเข้าไปสอนภาษา อังกฤษ วรรณคด และวี ิทยาศาสตร์ในราชสำนัก ต่อมาเมือ่ พระราชโอรสและพระราชธดาิทรงเจริญวัยมากขึ้นก็ทรง จางค้รูต่างชาติ เช่น แหม่มแอนนาและหมอแชนดเลอร์ (Mrs. Anna Leonowens, J.H. Chandler) เข้าไปสอน หนังสือเจา้นายเหล่านี้ ยังทรงใหขุ้นนางไปดงาูนและทรง ส่งชาวสยามไปเรียนวิชาการที่ยุโรป เช่น ขุนมหาสิทธิ โวหารออกไปดวูชากาิ รพิมพ์ หมื่นจักรวจิิตรไปเรียนวชาิ แก้นาฬิกา พ.ศ. ๒๔๐๔ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา ศรีสริุยวงศ์และพระเจาล้กยาเธอกูรมหมื่นวศิณนุารถนิภาธร ไปเมืองสิงคโปร์ เพื่อไปศึกษาแนวทางการปกครองของ อังกฤษและความเจริญดา้นอื่น ๆ การที่เจา้นายไดเ้รียน กับครูต่างชาติตงแั้ต่ยังทรงพระเยาว์นั้น ทำให้ทรงรู้ซงถึง ึ้ วัฒนธรรมตะวันตก ขณะเดียวกันก็ยังทรงมีความเข้าใจ ในวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างดี เพื่อว่าเมื่อเป็นผู้ใหญ่จะ ทรงมีทัศนคติแบบสากลนิยม พร้อมที่จะปรับตัวและ ผ่อนปรนต่อแรงบีบคั้นจากภายนอกได้เป็นอย่างดี 200


ในดา้นเศรษฐกจ ิรัฐบาลสยามว่าจาง้ ผู้เชยวชาญ ี่ ชาวต่างประเทศเข้ามาใช้ในราชการของไทยถึง ๘๔ คน มีทั้งชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก อเมริกัน ฯลฯ แต่ไม่ ได้ทรงให้ปรับเปลย ี่ นระบบการทำงานเปน็แบบตะวันตก คนเหล่านี้ยังต้องทำงานในโครงสร้างของระบบราชการ แบบเดมของไ ิทยและต้องอยู่ในกรอบนโยบายที่กำหนด โดยผู้นำไทย บุคคลเหล่านี้มหี น้าที่แนะนำเทคนิคใหม่ ๆ ของตะวันตกเพื่อเสริมประสิทธิภาพในการดำเนินงาน เท่านั้น จึงไม่ได้มีบทบาทในการเปล ี่ ยนโครงสร้างระบบ บริหารราชการหรือสังคมของไทยเหมือนดังสมัยรัชกาล ที่ ๕ ที่นอกจากผู้เชยวชาญชาว ี่ ต่างประเทศแลว ยังได ้ ใช้ ้ นักเรียนสยามที่กลับมาจากต่างประเทศด้วย ในด้านการพัฒนาประเทศให้สอดรับกับความ ศิวิไลซ์ตามแบบตะวันตก ในรัชกาลนี้จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ตัดถนน ขุดคูพระนครชั้นนอกเพอขยายื่พระนครออกไป ให้ใหญ่กว้างอีกชั้นหนึ่ง คือคลองผดุงกรุงเกษม ต่อมา หลังการลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริง พ.ศ. ๒๓๙๘ และการลงนามในสนธิสัญญาแบบเดยวกั ีน กับชาติอื่น ๆ ทำให้กรุงเทพฯ กลายเป็นเมืองที่มีชาว ตะวันตกเข้ามาติดต่อค้าขายและติดต่อทางการทูตด้วย เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นชุมชนชาวตะวันตกอาศัย อยทู่างตอนใต้ของพระนคร ต่อจากกลุ่มชาวจีนที่สำเพ็ง และตลาดน้อย การมาอาศัยในกรุงเทพฯ ของชาวตะวันตก ทำใหเก้ดความเิ ปลย ี่ นแปลงที่สำคัญประการหนงคือกา ึ่ร ตัดถนนตามคำขอของชาวตะวันตกคือถนนเจริญกรุง เพื่อให้มีถนนหนทางขี่รถข ี่ ม้าไปเที่ยวตากอากาศ มี สุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บไข บ้ ริเวณสองฟากถนนกลายเปน็ แหล่งคาขาย้ ที่สำคัญและคับคังของ่สยาม และในรัชกาล เดยวกั ี นนี้เอง โปรดเกลาฯ ให ้ ้สร้างถนนใหม่ขึ้นอกหลายี สาย เช่น ถนนสีลมหรือถนนขวาง ถนนบำรุงเมือง ถนน เฟื่องนคร รวมทั้งเกิดการสร้างสะพานข้ามคลองเพื่อ เชื่อมให้การคมนาคมสะดวกย ิ่งขึ้นด้วย การตัดถนนเจริญกรุงส่งผลให้กรุงเทพฯ เกิด ความเปล ี่ ยนแปลงเป็นอย่างมาก สิ่งที่เห็นได้ชัดคือการ เข้ามาตั้งบ้านเรือน กิจการห้างร้านของชาวตะวันตก และชาวจีนในย่านบางรัก ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากการ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้สร้าง ตึกแถวตามแนวสองข้างถนนขึ้นให้เช่าทำร้านค้าเพื่อ พระราชทานผลประโยชน์แก่พระเจ้าลูกยาเธอ ทรงนำ แบบอย่างการสร้างตึกแถวริมถนนมาจากเมืองสิงคโปร์ และยังมีการสร้างตึกแถวริมถนนเจริญกรุงตอนใน ถนนบำรุงเมือง ถนนเฟื่องนครเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและ ที่ทำการค้าของเหล่าพ่อค้าชาวจีน ไทย และตะวันตก ที่มาอยู่ในย่านนี้ด้วย ดังนั้น การเคลื่อนไหวเพื่อรับวัฒนธรรมตะวัน ตกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น แม้จะเกิดการเปล ี่ ยนแปลงเฉพาะกับสถาบันหลักของ สยาม ยังไม่ไดม้ีผลในวงกวางลงไ ้ ปสูปร่ะชาชนทงหลายั้ มากนัก แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเมืองเช่น กรุงเทพฯ จุดประสงค์ของการรับวัฒนธรรมตะวันตก ในช่วงเวลานี้ก็คือเพื่อให้ประเทศสามารถเผชิญกับการ เปล ี่ ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองอันเนื่องมาจาก อิทธิพลของตะวันตกได้อย่างราบรื่นและยังคงรักษา เอกราชไว้ได้ 201 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ แม้ว่าในสมัยนั้นพระมหากษัตริย์จะมีอำนาจ เด็ดขาด แต่ไม่สามารถเข้าไปควบคุมคณะขุนนางได้ อย่างเต็มที่ ระบบบริหารราชการของสยามยังไม่มี การแยกออกระหว่างงานด้านทหารและพลเรือน ไม่มี การแบ่งแยกหน้าที่เฉพาะอย่าง ไม่มีการแยกระหว่าง ผลประโยชน์ทางราชการและผลประโยชน์ส่วนบุคคล ขา้ราชการยังไม่มเงี ินเดือน ระบบบริหารราชการเคลือ่น ไปด้วยหลักความสัมพันธ์ส่วนบุคคล การแต่งตั้งบุคคล ไปดำรงตำแหน่งต่าง ๆ เป็นไปในลักษณะกึ่งสืบตระกูล การศึกษาฝึกอบรมเพื่อเข้ารับราชการยังอยู่ในระบบ เดม กาิ รปกครองในหัวเมืองยังอยู่ในรูปแบบที่เจาเมืองม ้ ี อำนาจในการปกครองตนเองค่อนขาง้สูง ยังไม่มกองีทพั ประจำการ ไม่มีประมวลกฎหมาย ไม่มีการศึกษา การ สาธารณสุข และการคมนาคมที่เป็นระบบ สังคมไทยยัง มีทาส มีระบบการเกณฑ์แรงงานจากสามัญชน รายได้ หลักอยู่ที่ภาษีฝิ่น สุรา และการพนัน ระบบการจัดเก็บ ภาษียังสับสนวุ่นวาย และการตัดสินคดีความยังอยู่บน พื้นฐานของวิจารณญาณส่วนบุคคล การเปล ี่ ยนแปลงในสมัยรัชกาลที่ ๔ จึงถูกจำกัด อยู่เพียงขอบนอกของสถาบันต่างๆ ด้วยเหตุผลหลัก ๒ ประการคือ ผู้นำยังไม่เห็นความจำเป็น และไม่มีความ ประสงค์ใหเก้ดความเิ ปลย ี่ นแปลงมากไปกว่าที่ทำไปแลว ้ เพราะเห็นว่าสถานการณ์ในประเทศยังไม่เอือให้เก้ดกาิร เปลย ี่ นแปลงที่ลึกซงกว่า ึ้นั้น และแม้พระมหากษัตริย์และ ผู้นำบางส่วนจะต้องการใหเก้ดกาิรเปลย ี่ นแปลง แต่ก็ยัง ไม่ทรงมีอำนาจมากพอที่จะทำให้เกิดการเปล ี่ ยนแปลง ดังต้องการได้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมี ความเห็นว่าการปกครองแบบประชาธิปไตยจะเกิดขึ้น ไดก็ ้ต่อเมือ่ประชาชนชาวสยามมกาีรศึกษาแลว แ้ต่ขณะ นั้นราษฎรยังอยู่ในสภาพ “ดกึีง ่ร้ายกึง” อย่รู่ วมกันหลาย ชาติหลายภาษา คนอ่านหนังสือไม่ออกมีมากกว่าคน อ่านหนังสือออกหลายเท่า จึงสมควรที่จะปกครองแบบ ราชาธิปไตยต่อไป ดังนั้น แม้จะทรงเห็นความสำคัญ ของการเปลย ี่ นแปลงและการรับวัฒนธรรมตะวันตก แต่ ทรงไม่เห็นสมควรที่จะฝืนและทำใหเก้ดกาิรเปลย ี่ นแปลง ทรงตระหนักดถึงกา ีรสมควรปลดปล่อยทาสหรือเลกิทาส เลกิระบบไพร่ แต่ก็ทรงทราบว่าจะทำเช่นนั้นไดก็ ้ต่อเมือ่ ประเทศไทยมกาีรพัฒนาทางเศรษฐกจถึง ิระดับที่รัฐบาล และเอกชนมีเงินทุนเพียงพอสำหรับแรงงานรับจ้างแล้ว เท่านั้น ดังนั้น จึงทรงเห็นว่าสมควรต้องรอโอกาสสำหรับ การเปล ี่ ยนแปลงไปก่อน อย่างไรก็ดี การเปล ี่ ยนแปลงในรัชสมัยของ พระองค์ก็ได้มีผลให้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในสังคมไทยแบบ เดิมมีการขยายคล ี่ คลายออก เปิดโอกาสให้รัฐบาล มีหนทางและโอกาสที่จะเคลื่อนไหวในโครงสร้าง เดิมนั้นมากขึ้น การขยับขยายเช่นนี้จึงมีผลช่วยสร้าง สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้นำไทยที่จะทำการ เปลย ี่ นแปลงระบบการเมืองการปกครองและสังคมอย่าง แท้จริงได้ในรัชกาลต่อมา 202


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับการรับวัฒนธรรมตะวันตก กล่าวได้ว่าในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) นี้เองที่ เกดกาิรเปลย ี่ นแปลงในสถาบันหลักของประเทศ สาเหตุ เนองมาจากเกื่ดกาิรขุดคลองสุเอซสำเร็จใน พ.ศ. ๒๔๑๓ นำมาซงกาึ่รเริ่มต้นความเปลย ี่ นแปลงครงใหญ่ใ ั้นเอเชยี อาคเนย์ คลองสุเอซทำให้ระบบเศรษฐกิจ อำนาจ ทางการเมือง และวัฒนธรรมตะวันตกเข้าสู่เอเชียได้ อย่างรวดเร็วและมากกว่าแต่ก่อน ในประเทศอาณานิคม รัฐบาลอาณานิคมจัดการ ปกครองใหม่ใหเ้ปน็แบบรวมอำนาจเขา้สู่ศูนย์กลาง เพอื่ ให้อาณานิคมมีความสงบ มั่นคง และมีพลังที่จะเอื้อ อำนวยให้การค้าระหว่างประเทศดำเนินไปได้อย่างต่อ เนื่องและขยายตัวได้เร็วตามต้องการ สำหรับประเทศ สยาม รัฐบาลต้องเผชิญกับทางเลือกคือ จะจัดการ ปฏิรูปการปกครองและสังคมครั้งใหญ่โดยใช้เทคโนโลยี ตะวันตก หรือจะต้องยอมถูกยึดครองโดยมหาอำนาจ ตะวันตกไปเสีย 203 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง เลือกหนทางแรก และทรงตระหนักว่าพระองค์จะต้อง เปลย ี่ นแปลงสถาบันหลักของประเทศทงหมด ั้พร้อมกับ ต้องทรงสร้างความเจริญทางวัตถุอย่างรวดเร็ว รัฐบาล ต้องจัดการให้มีระบบภาษีระบบการเงิน และกฎหมาย ที่มีระเบียบตามเสียงเรียกร้องจากคณะทูตและพ่อค้า ตะวันตกที่เป็นกลุ่มผลประโยชน์สำคัญในเวลานั้น ภายหลังกรณีร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสรุป แนวทางรักษาเอกราชเอาไว้ว่ามี ๓ ทางที่สำคัญดังนี้ ๑. การรักษาความสัมพนัธ์ทางการทูตกับนานา ประเทศ ๒. การทำนุบำรุงกองทพั ให้พอที่จะรักษาความ สงบภายในได้ ๓. การจัดใหม้กาีรบริหารราชการที่เปนร็ะเบยบี ทั้ง ๓ แนวทางนี้สำคัญเพราะประชาชนจะได้ ประกอบอาชีพได้สะดวก รัฐบาลก็จะไดภาษ้ มากขึ ี ้น เพอื่ นำมาใช้พัฒนาและป้องกันประเทศ ผู้นำไทยนำข้อมูลและแบบอย่างการบริหาร อาณานิคมของมหาอำนาจตะวันตกมาเป็นตัวอย่าง การปฏิรูปประเทศ อาทิ การปกครองของอังกฤษใน พม่า มลายู และอินเดีย เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงมีผู้สำเร็จราชการอยู่นั้น พระองค์เสด็จประพาสอาณานิคมของตะวันตกหลาย ประเทศ คือ อินเดีย พม่า สิงคโปร์ และชวา ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๑๕ เพื่อดูงานด้านการปกครองและ เลือกส่วนที่เหมาะสมมาใช้ประโยชน์ เป็นแบบอย่าง ในประเทศสยาม นอกจากนี้ ยังได้ข้อมูลจากบรรดา ที่ปรึกษาชาวต่างชาติที่รัฐบาลว่าจ้าง และได้ข้อมูลจาก ชาวไทยที่ไปดูงานหรือไปศึกษาจากตะวันตก การเปลย ี่ นแปลงสถาบันหลักต่าง ๆ ของไทยใน รัชกาลนี้แม้จะเกิดขึ้นอย่างมาก แต่ก็ยังคงยึดหลักเลือก รับเพื่อประโยชน์ทางปฏิบัติ โดยจะเลือกรับวัฒนธรรม ตะวันตกอย่างเลือกสรรและนำมาผสมผสานกับสถาบัน ดั้งเดิมของไทย ซึ่งไม่แตกต่างไปจากรัชกาลก่อน ส่วนที่ แตกต่างออกไปก็คือใชโค้รงสร้างการปกครองแบบตะวัน ตกเป็นหลัก แทนที่โครงสร้างแบบสยามดังแต่ก่อน และ ยังนำระบบการบริหาร การศึกษา และกฎหมายแผนใหม่ แบบตะวันตกเข้ามาใช้ด้วย ซึ่งจัดว่าเป็นการพัฒนาเพื่อ ให้เป็นแบบตะวันตก อย่างไรก็ดีผู้นำไทยยังคงไม่แตะ ต้องวัฒนธรรมส่วนที่ไม่เกี่ ยวข้องกับการรักษาเอกราช เพื่อป้องกันมิให้สังคมไทยเกิดความตึงเครียดมากจน เกินไป ในฐานะผู้นำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักดีเช่นเดียวกับสมเด็จพระบรม ชนกนาถว่า หากต้องการเปล ี่ ยนแปลงสิ่งใด ๆ ก็ตาม ต้องยอมให้เกิดการเปล ี่ ยนแปลงสถาบันกษัตริย์ให้ เหมาะสมกับภาระหน้าที่และสภาพแวดล้อมเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงต้องการ ให้สถาบันกษัตริย์มีอำนาจมากพอที่จะจัดการและ ควบคุมการทำงานของขุนนางเอาไวได้ ้พระมหากษัตริย์ จะต้องเป็นผู้นำในการพิจารณาเลือกสรรวัฒนธรรม ตะวันตกมาใช้ในการพัฒนาการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม จะต้องทรงผลักดันให้ขุนนางข้าราชการมี 204


เป้าหมายและวิธีการทำงานอย่างตะวันตก ซึ่งส่วนหนึ่ง พระองค์ทรงทำโดยผ่านอำนาจทางนิติบัญญัติอย่าง เต็มที่ แม้จะทรงต้องการเปล ี่ ยนแปลงประเทศให้เป็น แบบตะวันตก แต่ก็มไดิ ้ทรงละเลยความเปน็ กษัตริย์แบบ ไทย ยังคงทรงทำหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ประดุจบดาิ ปกครองบุตร ทรงนำวิธีการของทั้งตะวันตกและวิธีการ แบบไทยมาผสมผสานกัน ทรงทำให้สถาบันพระมหา กษัตริย์เปล ี่ ยนสถานะจากประมุขของราชอาณาจักร ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบจักรวาลมาเป็นหัวหน้าของ คณะรัฐบาลที่มีอำนาจและหน้าที่ตัดสินใจและดำเนิน นโยบายอย่างมีประสิทธิภาพดังเช่นหัวหน้ารัฐบาลใน ประเทศตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทำให้ต้องทรงมีผู้ สำเร็จราชการ ซึ่งเป็นขุนนางผู้ที่มีอำนาจและอิทธิพล สูงสุดของประเทศ แม้จะทรงต้องการเปล ี่ ยนแปลง ประเทศมากเพียงใด ก็ยังคงต้องอาศัยการผ่อนปรน และรอเวลาที่เหมาะสม ทรงต้องเลือกสรรผู้มีความ สามารถและจงรักภักดีเข้ามาทำหน้าที่ในส่วนราชการ ต่าง ๆ ทรงแสดงพระราชประสงค์ให้เป็นที่ประจักษ์ว่า ทรงต้องการเปนผู้นำ ็ของคณะรัฐบาลที่อยู่ในฐานะที่เท่า เทียมกันด้วยการให้ยกเลิกประเพณีหมอบคลาน ทรง จัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of State) ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๑๖ โดยให้มีอำนาจทางนิติบัญญัติทรง แต่งตั้ง “ที่ปฤกษาใหญ่” ขึ้น ๑๒ พระองค์ เพื่อทำหน้าที่ เป็น “เคาน์ซิล” หรือสภาที่ปรึกษาในพระองค์ ซึ่งต่อ มาได้เปล ี่ ยนเป็นรัฐมนตรีสภา ประกอบด้วย เสนาบดี หรือผู้แทน กับผู้ที่โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รวมกันไม่น้อย กว่า ๑๒ คน จุดประสงค์เพื่อให้เป็นที่ปรึกษาและคอย ทัดทานอำนาจของพระมหากษัตริย์ แต่การปฏบัิ ติหน้าที่ ของสภาดังกล่าวไม่บรรลุจุดประสงค์ที่ทรงหวังไว เ้พราะ สมาชกิส่วนใหญ่ไม่กลาโ้ ต้แยง้พระราชดำริ อาจกล่าวได้ ว่า การดำเนินงานของสถาบันที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ยังไม่เป็นไปตามพระราชประสงค์ เพราะผู้ที่ได้รับแต่ง ตั้งเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดินยังไม่เข้าใจและรู้สึกว่า ตนอยู่ระหว่างพระมหากษัตริย์กับเสนาบดีพระองค์จึง ทรงเปลย ี่ นมาใชว้ธิีทำงานดวย้พระองค์เอง เมือ่ทรงเห็น ว่ามีข้อบกพร่องอย่างใดก็มีพระราชหัตถเลขาและพระ ราชดำริไปยังเสนาบดีโดยตรง และเมื่อพระองค์ทรงดึง อำนาจทางการเมืองกลับคืนสู่สถาบันพระมหากษัตริย์ แลว ความจ้ ำเปน็ ในการใช้สถาบันที่ปรึกษาราชการแผน่ ดินก็หมดไป พระองค์จึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิก พระราชบัญญัติเคาน์ซิลออฟสเตดใน พ.ศ. ๒๔๓๗ พ.ศ. ๒๔๑๗ ทรงจัดตั้งสภาองคมนตรี (Privy Council) โดยให้มีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาราชการส่วน พระองค์ และช่วยปฏิบัติราชการอื่น ๆ ตามแต่ที่จะทรง มอบภารกิจให้ พ.ศ. ๒๔๒๗ มีเจ้านายและขุนนางข้าราชการ กลุ่มหนึ่งซึ่งได้รับการศึกษาตามแบบตะวันตก เสนอคำ กราบบังคมทูลความเห็นเก ี่ยวกับการบริหารราชการ แผ่นดินแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเห็นว่าการจะรักษาเอกราชของชาติได้นั้น ต้อง เปล ี่ ยนแปลงการปกครองประเทศให้เป็นแบบพระมหา กษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งแม้พระบาท 205 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงเห็นด้วย แต่ ทรงมีพระราชดำริว่า ควรดำเนินการแบบค่อยเป็น ค่อยไป โดยจะต้องปฏิรูปการปกครองเสียก่อน ดังนั้น ใน พ.ศ.๒๔๓๐ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ กรมพระยา เทวะวงศ์โรปการเสด็จไปศึกษาและดูงานเก ี่ยวกับการ จัดตั้งคณะเสนาบดีตามแบบยุโรปที่ประเทศอังกฤษ และหลังจากนั้นไม่นานก็มีการปฏิรูปการปกครองขึ้นใน ประเทศไทย พระองค์ทรงจัดการปฏิรูประบบกระทรวง ทบวง กรม ให้มีเป้าหมายการทำงานเพื่อพัฒนาความ เป็นอยู่ของประชาชนและมีระบบการบริหารแบบแบ่ง แยกงานออกเปนส็ ัดส่วน ซงึ่ทำใหเก้ดิผู้เชยวชาญเฉ ี่ พาะ สาขาขึ้นในเมืองไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ปรับปรุงระบบการบริหารราชการแผ่นดินใหม่ และทรง จัดระบบการทำงาน กำหนดระดับชั้น การเลื่อนระดับ การโยกย้ายตำแหน่ง การให้บำเหน็จความดีความชอบ แก่ขา้ราชการไวอย่างเ ้ ปนร็ะเบยบแบบแีผนแนน่อน ทรง ใหม้ หลักเก ีณฑ์ในการคัดเลือกขา้ราชการ โดยเน้นที่การ ศึกษาแบบตะวันตกอย่างเหมาะสม และทรงใช้แนวคิด ทางการเมืองการปกครองแบบตะวันตกเข้ามาปนกับ การเมืองของไทย ด้วยวิธีเช่นนี้ แม้ในระยะแรกผู้ที่ได้เข้ามาเป็น ขา้ราชการจะยังคงเปน็ลกหลาูนของเสนาบดและขุีนนาง อยู่ดังเดม เิพราะคนกลุ่มนี้มโอกา ีสทางการศึกษาที่ดกว่า ี แต่เมือกา่รศึกษาขยายวงกวางขึ ้ ้น จะเปิดโอกาสใหค้นใน ระดับล่างของสังคมไดเข้ามาอยู้่ในระบบการบริหารดวย ้ ซึ่งนับเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างทัศนคติแบบใหม่ ให้เกิดขึ้นในระบบข้าราชการของไทย เมื่อเวลาผ่านไป ระบบราชการก็สามารถเคลื่อนไปได้เอง โดยไม่ต้องให้ พระองค์ทรงชี้นำอีก การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ปฏิรูปการเงินการคลัง ก่อนการปฏิรูประบบบริหาร ราชการแผ่นดิน ในช่วงแรกตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๓๕ ทรงจัดระเบียบหน่วยงานภาษีอากรในส่วนกลาง ตั้งกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ โดยยกฐานะจากกรม พระคลังมหาสมบัติขึ้นเป็นกระทรวงใน พ.ศ. ๒๔๓๓ ต่อมาในช่วง พ.ศ. ๒๔๔๑-๒๔๕๓ จึงขยายอำนาจการ ควบคุมจัดเก็บภาษอากีรไปสูส่ ่วนภมูภาค โดยอาศัยกา ิร ปกครองแบบมณฑลเทศาภบาลของกิระทรวงมหาดไทย การปฏิรูประบบการเงินการคลังนี้มิใช่เรื่องง่าย ดังจะเห็นได้จากปฏิกิริยาต่อต้านจากฝ่ายพื้นเมือง เช่น กบฏเง ี้ยวเมืองแพร่และกบฏผู้มีบุญภาคอีสานที่เกิด ขึ้นในหัวเมืองที่เจ้าเมืองถูกดึงอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง นอกจากนี้ในส่วนกลางเอง การเปล ี่ ยนแปลงในเรื่อง นี้ย่อมกระทบผลประโยชน์ของสมเด็จเจ้าพระยาและ ขุนนางในกลุ่ม ที่ถกจัดูระเบยบกาีรเงินจากเดมิที่ไม่มกาีร จัดระบบเก็บภาษีอากรการเงินการคลังจำแนกชัดเจน มาก่อน พระบาทสมเด็จพะจุลจอมเกลาเจ้าอยู้่หัวทรงตงั้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๑๖ เพื่อแก้ไขระบบ การเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้นับตั้งแต่รัชกาล พระบาทสมเด็จพระนงเกลั่าเจ้าอยู้่หัวเปนต้น ็มา รายได้ จากภาษอากีรถือเปนร็ ายไดหลักของ ้ราชสำนัก แต่กลับ 206


พบว่าราชสำนักได้รายได้เหล่านี้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย ส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือขุนนางผู้ใหญ่ เจ้าภาษีนายอากร และเจ้าท้องถิ่น ซึ่งใช้ระบบกินเมือง หรือเหมาเมือง อีก ทั้งยังเกิดภาวะเงินภาษีอากรตกค้างรั่วไหล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ใช้ประโยชน์จากการที่ระบบภาษีอากรขยายตัวในสมัย รัชกาลที่ ๓ และที่ ๔ ทำให้ราชสำนักมีรายได้เพิ่มขึ้น และวิธีการรวบรวมรายได้แผ่นดินเป็นรากฐานให้ทรง ปรับปรุงการจัดเก็บภาษีอากรโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ รัดกุมและมีนโยบายที่ชัดเจนในการเก็บภาษอากีรในรูป ของเงินตราได้ การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวทรงจัดตงกั้ระทรวงพระคลังมหาสมบัติขึ้นมาไดแ้สดง ให้เห็นว่า ทรงประสบความสำเร็จในการจัดระเบียบ รวบรวมรายได้แผ่นดิน แต่ยังไม่สามารถวางแผนทำงบ ประมาณแผน่ดินได จ้นถึง พ.ศ.๒๔๔๔ ที่สามารถทำงบ ประมาณรายรับรายจ่ายของแผน่ดินไดเ้ปน็ครงแั้รก การ รวบรวมรายไดแ้ผน่ดินมาไวใ้นที่แห่งเดยวกั ีนภายใต้การ ควบคุมดแลอย่างใกลูช้ดของิพระมหากษัตริย์เปน็ กลไกที่ ส่งเสริมพระราชอำนาจกษัตริย์และลดทอนอำนาจทาง เศรษฐกิจของกลุ่มขุนนาง ซึ่งจะทำให้อำนาจทางการ เมืองของบุคคลเหล่านี้ลดลงไปโดยปริยาย การปฏิรูปการเงินการคลังนี้ถือได้ว่าเป็นการ กระทำตามแบบตะวันตก เพื่อจัดระบบระเบียบการ บริหารการเงินการคลังของรัฐ ถือได้ว่าการปฏิรูประบบ บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นแบบตะวันตกเป็นปัจจัย สำคัญในการรักษาเอกราชของประเทศและเปลย ี่ นสังคม ไทยให้ทันสมัยขึ้นได้ หลังจากการปฏิรูประบบการเงินการคลังได้ สำเร็จแลว ้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยู้่หัวจึง ทรงจัดใหม้กาี รปกครองแบบรวมอำนาจเขา้สู่ศูนย์กลาง ด้วยระบบมณฑลเทศาภิบาล ส่งผลให้ราชอาณาจักร ที่เคยปกครองด้วยระบบจารีตถูกผนึกเข้าเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันด้วยระบบบริหารกลายเป็นรัฐประชาชาติ (Nation State) ในที่สุด แม้ว่าในความเป็นจริงจะกลาย เป็นเพียงการปกครองแบบรัฐชาติก็ตามที ในด้านการปกครองดินแดน พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ทรงตระหนักดว่าีทางรอดของประเทศ อยทีู่่การผนึกหัวเมืองและประเทศราชให้รวมเขามาเ้ ปน็ หนึ่งเดียวด้วยระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพและเป็น ระบบเดียวกันทั่วราชอาณาจักร นั่นก็คือการสร้างรัฐ ประชาชาติขึ้นมาให้ได้ สำหรับประเทศสยาม การคุกคามของอังกฤษ และฝรั่งเศสคือปัจจัยกระตุ้นให้เกิดรัฐประชาชาติขึ้น ผู้นำสยามเริ่มมความคีดเกิ ยวกับเข ี่ ตแดนที่แนน่อนและ จัดใหม้ีระบบการบริหารแบบเดยวกั ีนทวเขั่ตแดน ระบบ บริหารเพอื่สร้างรัฐประชาชาติขึ้นมานั้นก็คือการบริหาร แบบรวมอำนาจเขา้สู่ศูนย์กลางแบบตะวันตกที่พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ทรงนำมาประยุกต์ใชโดยเ ้ รียกว่า ระบบเทศาภิบาล ผู้นำไทยไดแบบอย่าง ้ระบบเทศาภบาลิ นี้มาจาก การปกครองของอังกฤษในพม่าและมลายูซงกึ่ ำหนดให้ ความรับผิดชอบในการปกครองอยู่ในมือของขา้ราชการ ในระดับขาหลวงม้ณฑล ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ กำนนั และผู้ใหญ่บา้นเรียงลงไปตามลำดับ รัฐบาลกลาง เป็นผู้แต่งตั้งข้าหลวง คณะกรรมการข้าหลวง และผู้ว่า 207 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ราชการจังหวัดออกไปปกครองในส่วนภูมิภาคที่จัดแบ่ง ออกเป็นมณฑล จังหวัด และอำเภอ ๑) มณฑลเทศาภิบาล ประกอบด้วยเมืองตั้งแต่ ๒ เมืองขึ้นไป มีสมุหเทศาภิบาล ที่พระมหากษัตริย์ทรง แต่งตั้งไปปกครองดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ ๒) เมือง ประกอบด้วยอำเภอหลายอำเภอ มี ผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้รับผิดชอบ ขึ้นตรงต่อข้าหลวง เทศาภิบาล ๓) อำเภอ ประกอบด้วยท้องที่หลาย ๆ ตำบล มีนายอำเภอเป็นผู้รับผิดชอบ ๔) ตำบล ประกอบด้วยท้องที่ ๑๐ - ๒๐ หมู่บ้าน มีกำนันซึ่งเลือกตั้งมาจากผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้รับผิดชอบ ๕) หมู่บ้าน ประกอบด้วยบ้านเรือนประมาณ ๑๐ บ้านขึ้นไป มีราษฎรอาศัยประมาณ ๑๐๐ คน เป็น หน่วยปกครองที่เล็กที่สุด มีผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้รับผิดชอบ ในการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล รัฐมิได้ดำเนิน การในคราวเดยวีทงั้ประเทศ แต่ไดจัด้ตงเั้ปนร็ ะยะ ๆ ใน แต่ละมณฑลเทศาภบาล มิขีา้ราชการคณะหนงึ่ประกอบ ด้วยข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล ข้าหลวง มหาดไทย ข้าหลวงยุติธรรม ข้าหลวงคลัง เลขานุการ ขาหลวงเ้ทศาภบาล และแิพทย์ประจำมณฑล ขา้ราชการ บริหารมณฑลจำนวนนี้เรียกว่ากองมณฑล เจ้าหน้าที่ ๖ ตำแหน่งดังกล่าวนี้ เป็นเจ้าหน้าที่ที่กระทรวงมหาดไทย ได้จัดให้มีขึ้นสำหรับบริหารงานมณฑลละ ๑ กอง เป็น ข้าราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทยทั้งสิ้น ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลเป็น ผู้รับผิดชอบปกครองมณฑล มีอำนาจสูงสุดในมณฑล เหนือขา้ราชการพนักงานทงั้ปวง มฐาีนะเปน็ขา้ราชการ ต่างพระเนตรพระกรรณของพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงคัด เลือกจากขุนนางผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน ออก ไปปฏิบัติราชการมณฑลละ ๑ คน หน่วยการปกครอง มณฑลเทศาภิบาลนี้ทำหน้าที่เหมือนสื่อกลางเชื่อมโยง รัฐบาลกลาง กับหน่วยราชการส่วนภูมิภาคหน่วยอื่น ๆ เข้าด้วยกัน ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล มีอำนาจที่ใช้ดุลพินิจวินิจฉัยสั่งการได้เอง ยกเว้นเรื่อง สำคัญซึ่งจะต้องขอความเห็นมายังกระทรวงมหาดไทย เท่านั้น เป็นการแบ่งเบาภาระของเสนาบดีกระทรวง มหาดไทยเป็นอันมาก มณฑลเทศาภิบาลนับว่าเป็นวิธี การปกครองที่ทำให้รัฐบาลสามารถดึงหัวเมืองต่าง ๆ เขามาอยู้่ภายใต้อำนาจไดอย่างแ ้ ท้จริง ผู้ว่าราชการของ แต่ละเมืองในมณฑลต้องอยู่ภายในบังคับบัญชาขาหลวง้ เทศาภิบาลอีกชั้นหนึ่ง มิได้ขึ้นตรงต่อเสนาบดีกระทรวง มหาดไทยโดยตรง ต่อมากระทรวงมหาดไทยยังได้เพิ่ม ตำแหน่งข้าราชการมณฑลขึ้นอีกหลายตำแหน่ง เพื่อ แบ่งเบาภาระข้าหลวงเทศาภิบาล เช่น ตำแหน่งปลัด เทศาภบาล มิอีำนาจหน้าที่รองจากขาหลวงเ้ทศาภบาล ิ เสมียนตรามณฑลเป็นเจ้าพนักงานการเงินรักษาพัสดุ ดูแลรักษาการปฏิบัติราชการมณฑลและมหาดเล็ก รายงานมหี น้าที่ออกตรวจราชการตามเมืองและอำเภอ ต่าง ๆ ตลอดมณฑล เป็นต้น 208


ด้วยวิธีการนี้เจ้าเมืองและเจ้าประเทศราชใน อดีตจะกลายเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดที่อยู่ภายใต้การ บังคับบัญชาของข้าหลวงเทศาภิบาลและเสนาบดี มหาดไทย อำเภอจะเป็นหน่วยงานที่สำคัญที่สุดในการ เป็นศูนย์กลางติดต่อระหว่างประชาชนกับรัฐบาลกลาง ตำบลและหมู่บ้านจะได้รับการพัฒนา มิได้ปล่อยให้อยู่ โดดเดยว และคอยดึงเอา ี่ ผลประโยชน์จากหมู่บา้นอย่าง แต่ก่อน ไพร่และทาสจะอยู่ภายใต้รัฐโดยตรง การยกเลกิ ไพร่ทาสทำให้ไพร่ทาสมีอิสระเพิ่มขึ้น และย่อมหมาย ถึงการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วย เพราะหลังสนธิ สัญญาเบาว์ริ่งมีผลให้สยามกลายเป็นประเทศที่ปลูก ขาวเ้พอกาื่รส่งออกเปนสิน ็คา้สำคัญของโลก รัฐส่งเสริม ให้มีการขยายพื้นที่การปลูกข้าวด้วยการขุดคลอง แต่ ไม่ได้ช่วยเหลือด้านการชลประทานเพื่อให้ผลผลิตต่อ หน่วยเพิ่มขึ้น ไพรท่าส ราษฎรจำนวนมากหันมาทำการ เกษตร เกิดเป็นสังคมชาวนาที่มีขนาดใหญ่ รัฐได้ราย ได้จากการเกษตรไปลงทุนในกิจการรถไฟเพื่อให้เข้าถึง และติดต่อกับชายแดนของประเทศได้สะดวก รวดเร็ว ยงขึ ิ่ ้น รวมทงได ั้ ้พัฒนาการสอื่สารคมนาคมอื่น ๆ ไดแก่ ้ โทรเลข โทรศัพท์ สร้างถนน สะพานเพื่อการสัญจรใน เมือง ยังมกีจกาิรรถราง ไฟฟ้า และสาธารณูปโภค ตลอด จนการสร้างสถานที่ราชการอันแสดงถึงความศวิไลิซ์ของ ประเทศ การปฏิรูปการศึกษาและการเลิกไพร่-ทาส การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่ต้องกระทำ ควบคู่ไปกับการให้การศึกษาแก่ประชาชน เพื่อให้มา เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาบ้านเมือง อีกทั้งการที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษา วิชาความรู้จากครูชาวตะวันตกและทรงติดตามความ เป็นไปของตะวันตก ทำให้ทรงทราบถึงประเด็นต่าง ๆ ที่มหาอำนาจอาณานิคมอาจจะใช้เพื่อมาเป็นข้อโจมตี สยามว่าไม่ศิวิไลซ์ได้ โดยเฉพาะคือเรื่องของการมีทาส แม้ระบบทาสจะเป็นสิ่งที่คู่กับการปกครองประชาชน มาช้านาน แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว ก็ทรงตระหนักถึงขอเ้ สียของการขายลกเมูยเี ปนท็าส และความเปนท็าสในเรือนเบย ี้ ที่ตกทอดมาสูร่นุ่ ลกอย่างู ไม่ยุติธรรม เมื่อประกอบกับมุมมองของชาวตะวันตก ที่ไม่เห็นด้วยกับการมีทาส พระองค์จึงทรงคิดให้มีการ เลิกทาสอย่างเป็นขั้นเป็นตอนขึ้นกล่าวได้ว่าทรงจัดการ เรื่องเลิกทาสเป็นเรื่องแรก ๆ เมื่อขึ้นครองราชย์ได้ไม่ นานเลยทีเดียว หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๑๖ แล้ว ในปีถัดมาก็ทรงออกประกาศว่าด้วย เรองื่ทาสแลกระเษยีรอายุ ประกาศในราชกจจาินุเบกษา เล่ม ๑ จ.ศ. ๑๒๓๖ การออกกฎหมายนี้ช ี้ให้เห็นความ พยายามของพระองค์ในการพัฒนาประเทศให้มีความ เจริญทันสมัย เพื่อสร้างพระราชอำนาจให้มั่นคงและดึง อำนาจทางการเมืองจากขุนนางเข้าสู่สถาบันพระมหา กษัตริย์อันเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมตัวรับ 209 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ลัทธิจักรวรรดินิยม นอกจากนั้น ยังทำไปเพื่อลดทอน อำนาจของกลุ่มขุนนางเก่าอันมีสมเด็จเจ้าพระยาบรม มหาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้นำ ในพระราชบัญญัติพิกัดกระเษยีรอายุลกูทาสลกู ไทย พ.ศ. ๒๔๑๗ ไดลดเกษ้ยีณอายุทาส จาก ๖๐ ปี เปน็ ๒๑ ปี แลวเ้ ปน็ ไทแก่ตัวโดยไม่ต้องไถ่ถอน กำหนดค่าตัว ของทาสตามพิกัดเกษยีณอายุใหม่สำหรับเด็กที่เกดใิ นปี มะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ และกำหนดเงื่อนไขอื่นๆ เก ี่ยวกับ การซื้อขายทาส ส่วนพระราชบัญญัติทาส รัตนโกสินทร์ ศก ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) กำหนดให้ลูกทาสทั้งหมดเป็น ไท มิให้มีพิกัดเกษียณอายุต่อไป และห้ามไทและทาสที่ พ้นค้าตัวแล้วขายตัวเป็นทาสอีก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง มีกระบวนการดำเนินการเลิกทาสเพื่อให้สอดคล้อง กับเงื่อนไขและสถานการณ์ความเปล ี่ ยนแปลงของ สังคมในขณะนั้น โดยเริ่มจากโปรดเกล้าฯ ให้นายเงิน ลดเกษยีณลกูทาสตงแั้ตพ้น่ ๘ ปี จนถึงอายุ ๒๑ ปี พอให้ ได้อุปสมบทแล้วให้ทำมาหากิน ทรงกำหนดให้ผู้ที่หลุด ความเป็นทาสแล้ว เสียค่าราชการหัวละ ๖ บาทต่อปี แต่ทาสจำนวนมากไม่อยากหลุดพ้นจากความเป็นทาส เพราะเกรงว่าต้องจ่ายค่าราชการ ซึ่งเดิมเมื่อเป็นทาส จะจ่ายเพียง ๖ สลึง จึงขายตัวลงเป็นทาสอีก ทรงแก้ ปัญหาโดยการให้ลูกทาสที่พ้นค้าตัว ยังถูกเรียกว่าลูก ทาสอยู่ แต่ให้เสียค่าราชการ จะอยู่กับเจ้าขุนมูลนาย เดิมก็ได้ ถ้าขายตัวอีกต้องมีสารกรมธรรม์กำกับ เมื่อส่ง ค่าตัวหมดแล้ว ต้องสักเป็นสม การขายตัวลงเป็นทาสนั้น ส่วนหนึ่งเกิดขึ้น เนื่องจากราษฎรขัดสนยากจน จึงนิยมขายลูกเมียเป็น ทาส จึงทรงกำหนดว่า ถ้าบิดามารดาจะขายบุตรอายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปีลงมา ต้องขายตามเกษียณอายุซึ่งตั้งใหม่ ห้ามขายราคาแพงเกินกำหนด นอกจากนั้น ยังมีการ ขายตัวลงเป็นทาสเนื่องมาจากปัญหาหนี้สินเพราะการ พนัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทยอยเลิกบ่อน เบ ี้ ยการพนัน เพราะเป็นบ่อเกิดของการขายตัวลงเป็น ทาส หรือส่งลูกเมียไปเป็นทาส ผลจากการปฏิบัติ คือ ลูกทาสที่เกิดตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๑๑ เริ่มได้รับการปลดปล่อยโดยไม่ต้องไถ่ถอน จนถึง พ.ศ. ๒๔๔๘ ลกูทาสได้รับการปลดปล่อยไป ๑๘ รนุ่ และ หาม้ตกเปนท็าสอกไม่ว่าก ี รณีใด ๆ จนถึงขั้นตอนสุดท้าย คือ ให้ออกประกาศพระราชบัญญัติทาษ รัตนโกสินทร์ ศก ๑๒๔ (พ.ศ.๒๔๔๘) โดยสาระสำคัญ คือกำหนด ให้ลูกทาสทั้งหมดเป็นไท มิให้มีพิกัดเกษียณอายุต่อไป และห้ามไทและทาสที่พ้นค่าตัวแล้วขายตัวเป็นทาสอีก ส่วนทาสที่มีอยู่ในเวลานั้น ยกเว้นทาสที่หลบหนีไป ให้ นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ ๔ บาทไปจนครบค่าตัว ทั้งนี้นับตั้งแต่เดือนเมษายน รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๔ (พ.ศ.๒๔๔๘) และห้ามทาสเปล ี่ ยนนายเงินใหม่ ห้าม มิให้ทำสารกรมธรรม์ขึ้นค่าตัวเกินกว่าค่าตัวในขณะนั้น ในช่วงเวลานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูปบ้านเมืองไปได้ในหลายด้าน ทรง สร้างบา้นเมืองให้รับกับความเปลย ี่ นแปลงแบบตะวันตก ระบบราชการแบบเก่าที่มความีสัมพนัธ์แบบมลูนาย-ไพร่ เป็นแกนหลักได้สลายตัวไปแล้ว นายทุนชาวจีนและ 210


ชาวต่างชาติเป็นกลุ่มชนที่เริ่มเข้ามาเติบโตและเติมเต็ม ในสังคมไทย ชีวิตในกรุงเทพฯ แตกต่างอย่างมากจาก ชวีิตในชนบทที่มชาวีนา ชาวสวน ชาวไร่ ซงยังคงม ึ่วงจีร ชีวิตที่ไม่เป็นอิสระนัก ทาสและไพร่หลุดจากระบบเดิม มาขึ้นอยู่กับเงื่อนไขใหม่ ๆ ของสังคม มีผู้คนประกอบ อาชีพหลากหลาย จึงนับได้ว่าการออกพระราชบัญญัติ ทาสเหมาะสมกับช่วงเวลาและสถานการณ์ในสังคมที่ เปล ี่ ยนแปลงไป นอกจากการเลิกทาส สิ่งสำคัญคือการเลิกไพร่ สังคมสยามแต่เดมมาอาศัย ิระบบไพร่ในการจัดระเบยบี สังคม และอาศัยแรงงานไพร่เปน็กำลังในการทำสิ่งต่าง ๆ ระบบไพร่ทำให้ราชสำนักสามารถควบคุมกำลังคน เอาไว้ได้ แต่ด้วยความเติบโตทางเศรษฐกิจตั้งแต่ปลาย สมัยอยุธยาเป็นต้นมา ทำให้การควบคุมไพร่ไม่ได้ผลดัง เดิม เกิดการลดเวลาเข้าเวรของไพร่ อีกทั้งมีการอพยพ แรงงานจีนเขามาใ ้นสยามเปน็จำนวนมาก คนเหล่านี้เขา้ มาทำกิจกรรมต่าง ๆ แทนที่ไพร่อย่างได้ผลดีมากกว่า และรวดเร็วกว่า แมว่าม ้ลูนายจะต้องจ่ายเงินเพอเื่ปน็ ค่า จ้าง แต่ก็ถือว่าคุ้มค่า ดังนั้น ความต้องการไพร่เพื่อเป็น กำลังของราชสำนักในด้านต่าง ๆ จึงลดน้อยลง ในดา้นเศรษฐกจ กาิ รที่จะต้องอาศัยไพร่ออกไป หาสินคาของ้ ป่ามาลงสำเภาใหแก่ ้พระคลังสินคา ้รวมถึง ขุนนางเจ้าของเรือทั้งหลายก็เปล ี่ ยนแปลงไป เนื่องจาก ชนิดของสินค้าที่ตลาดต้องการเปล ี่ ยนไปจากเดิม จาก สินค้าของป่าที่ต้องใช้คนจำนวนมากออกไปเก็บหรือ หาจากป่า กลายเป็นสินค้าที่ผ่านกระบวนการผลิต มากขึ้น อีกทั้งราชสำนักอาศัยการเก็บภาษีเป็นรายได้ สำคัญ ซึ่งจะก้าวขึ้นมาเป็นรายได้อันดับต้น ๆ ของราช สำนัก แทนที่การค้าสำเภา และภายหลังการลงนาม ในสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ซึ่งส่งผลให้ประเทศสยามกลาย เป็นประเทศเกษตรกรรม เพราะปลูกข้าวส่งออกขาย เป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดความต้องการกำลังคนด้าน การเกษตรมากขึ้น ส่วนการเกณฑ์แรงงานไพร่ไปใช้ในการทำ สงครามก็ไม่สอดคล้องกับบริบทที่เปล ี่ ยนแปลง การมี อาวุธยุทธภัณฑ์ที่ทันสมัยขึ้น ต้องใช้ผู้มีความชำนาญ มาเป็นทหารอาชีพมากกว่าแรงงานเกณฑ์ การเรียก เกณฑ์ไพร่มาเปนท็หารไม่ช่วยให้พระราชอาณาจักรรอด ปลอดภัยได้เหมือนการมีทหารอาชีพ ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวจึงทรงแก้ไขปรับปรุงระเบียบบริหารในกรม พระสุรัสวดีที่มีมาแต่สมัยอยุธยา ทำหน้าที่ควบคุมและ จัดสรรกำลังคนเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการ แต่ ในทางปฏบัิ ติพระมหากษัตริย์ไม่สามารถควบคุมไดอย่าง ้ แท้จริง พระองค์ทรงยกฐานะกรมพระสุรัสวดีให้เท่า เทียมกับกรมสำคัญอื่น ๆ และให้อำนาจเจ้ากรมจัดการ เรองกื่ ำลังคน ออกกฎหมายควบคุมกำกับและเร่งรัดการ สักเลกเพื่อป้องกันไพร่สูญ และปิดช่องทางมิให้มูลนาย ทุจริตหาประโยชน์จากไพร่ และใน พ.ศ. ๒๔๔๐ จึงให้ โอนกรมพระสุรัสวดีมาขึ้นกับกระทรวงกลาโหม นอกจากนี้ยังมีการฟื้นฟูกรมทหารหน้า ซึ่งเป็น กรมที่มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๑๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยู้่หัว จึงทรงใหโอ้น ทหารรักษาพระองค์ กองทหารล้อมวัง และกองฝีพาย 211 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ซึ่งเป็นหน่วยทหารแบบเก่าเข้าสมทบกับกรมทหารหน้า การปรับปรุงกรมทหารหน้าเกิดขึ้นมาตามลำดับ ให้มี หน่วยกองทหารม้า กองทหารดับเพลิง และกองทหาร ข่าวในสังกัด ต่อมา พ.ศ. ๒๔๒๓ ได้ประกาศรับสมัคร คนข้อมือขาวหรือไพร่ที่ไม่สังกัดมูลนายเข้าเป็นทหาร และโอนไพรส่มที่เคยสังกัดอยู่กับเจา้นายที่สิ้นพระชนม์ มาเป็นทหารด้วย การปลดปล่อยไพร่ให้เป็นไทเริ่มต้นเมื่อโปรด เกล้าฯ ให้เลกไพร่หลวงและบุตรหมู่ใดกรมใด สมัครเข้า มาเป็นทหารเป็นเวลา ๕ ปีจะได้พ้นหน้าที่ประจำการ ทำให้มีผู้สมัครเป็นทหารจำนวนมาก กรมทหารหน้าจึง กาวห้ น้ามากจนกลายเปนพ็ ื้นฐานสำหรับการจัดกองทพั ประจำการ ต่อจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจาอย้ ่หัวูทรงใหจัดกา ้รควบคุมคนดวยกา้รจัดทำสำมะโนครัว เริ่มด้วยการจัดทะเบียนสำมะโนครัวในระดับหมู่บ้าน ควบคู่ไปกับการกำหนดรูปแบบการปกครองจากระดับ หมู่บ้านเป็นตำบล อำเภอ ฯลฯ ตามการปกครองแบบ เทศาภิบาล เพื่อให้สามารถดึงอำนาจการปกครองมา ไว้ที่ส่วนกลางทั้งหมดได้ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๔๒ มีการ ประกาศเปล ี่ ยนการควบคุมเลกที่ไม่ได้เป็นทหารให้ขึ้น สังกัดท้องที่ หากเลกหรือไพร่จะโยกยายไ ้ ปที่ใดก็ใหโอ้น ยาย้ทะเบยีนสำมะโนครัวเปนสำ ็ คัญ มขีา้ราชการท้องถิ่น คอยดแล และดูวยว้ธิีนี้จึงเปน็การยกเลกกาิรควบคุมไพร่ ผ่านมูลนายไปได้ในที่สุด ใน พ.ศ. ๒๔๔๔ มีประกาศใช้พระราชบัญญัติ เก็บเงินค่าราชการ โดยชายฉกรรจ์อายุ ๑๘-๖๐ ปี ต้องเสียเงินค่าราชการ ไม่เกินปีละ ๖ บาท และใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ทรงออกพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ ทหาร พ.ศ. ๒๔๔๘ กำหนดให้ชายฉกรรจ์ทุกคนอายุ ๑๘-๖๐ ปีต้องเป็นทหาร ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกต้องเป็น ทหารประจำการอยู่ ๒ ปีและได้รับการฝึกทหารใหม่ โดยเริ่มที่เมืองชลบุรีกับมณฑลนครราชสีมา นครสวรรค์ พิษณุโลก และราชบุรีก่อน แล้วทยอยประกาศใช้ต่อมา จนทวั่ประเทศในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจาอยู้่หัว ใหก้ระทรวงกลาโหมเปนผู้ ็ดแลกฎหมายฉบับ ูนี้ จึงเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการเลิกการควบคุมไพร่แบบ เดิมไปโดยปริยาย จะเห็นได้ว่า ไม่มีกฎหมายที่ประกาศยกเลิก ระบบไพร่โดยตรง และกว่าจะยกเลิกระบบไพร่ได้สำเร็จ ก็ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ พร้อมกันกับการออกพระราชบัญญัติ เลิกทาส ทำให้การเลิกไพร่และทาสเป็นไปโดยละมุน ละม่อม ไม่เสียเลือดเนื้อ หลังจากเลิกไพร่และทาสได้สำเร็จใน พ.ศ. ๒๔๔๘ แล้ว คนทั้งหลายก็คือราษฎรของพระมหา กษัตริย์ ซึ่งจะต้องทรงทำนุบำรุง ให้การศึกษา เพื่อ ให้พลเมืองเหล่านั้นเป็นกำลังสำคัญของประเทศและ ประกอบอาชีพต่าง ๆ ต่อไป บรรดาไพร่และทาส เมื่อเป็นราษฎรแล้วจะต้องมีอาชีพเพื่อเล ี้ ยงดูตนเอง เนื่องจากไม่มีมูลนายคอยดูแลเล ี้ ยงดูอีกต่อไป 212


พลเมืองสยามส่วนใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้ ชีวิตทำมาหากินด้วยการเป็นชาวนาเต็มรูปแบบ ทั้ง โดยการถือครองที่ดิน เช่าที่นาทำกิน และเป็นแรงงาน ชาวนารับจ้าง ในขณะที่คนอีกจำนวนหนึ่งถูกสร้างให้ เป็นพลเมือง มีการศึกษา เรียนรู้วิชาการ เข้ารับราชการ และบางส่วนมคุีณสมบัติเหมาะแก่ความเปนผู้ ็ด อย่างไ ีร ก็ตาม สิ่งที่รัฐเรียกร้องจากประชาชนทั้งหมดคือความ เป็นพลเมืองดี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงวางแนวทางสร้างพลเมืองให้เหมาะสำหรับมาเป็น กำลังสำคัญในการพัฒนาบ้านเมือง พลเมืองต้องผ่าน การศึกษาเล่าเรียนวิชาการแบบตะวันตกหรือการศึกษา แผนใหม่ นอกจากนี้ พระองค์และชนชั้นนำในสมัยนั้น ต่างเห็นความสำคัญของการสร้างราษฎรให้กลายเป็น พลเมืองดเีพอเื่ปน็กำลังสำคัญของชาติควบคู่กันไปดวย ้ ทรงจัดการศึกษาแผนใหม่อย่างเร่งด่วน โดยแยกปฏิบัติ เป็น ๒ ส่วนคือ การส่งนักเรียนไทยไปศึกษายังต่าง ประเทศ และการจัดการศึกษาแผนใหม่ขึ้นในประเทศ ทรงเห็นความสำคัญของการรู้ภาษาต่างประเทศ โดย เฉพาะภาษาของชาติมหาอำนาจในเวลานั้น ทรงเห็นว่า ชาวสยามจำเป็นต้องรู้ภาษาอังกฤษและภาษาตะวันตก อื่น ๆ เพื่อจะได้ใช้ตำราและหนังสือของตะวันตกมา แสวงหาความเช ี่ ยวชาญทางวิทยาการอื่น ๆ ต่อไป พระองค์ทรงเริ่มต้นจากการตั้งโรงเรียนขึ้นในพระบรม มหาราชวังใน พ.ศ. ๒๔๑๓ แลวขยายไ ้ ปสู่โรงเรียนในกรม มหาดเล็กหลวง ต่อมาจึงจัดตั้งโรงเรียนแบบใหม่ขึ้นทั้ง ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ผู้ที่ตอบรับการศึกษาแผน ใหม่เปน็ อย่างดคือีพวกเจา้นายและลกหลาูนของขุนนาง หลังพระราชพิธบีรมราชาภเษกคิรงแั้รก พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ประพาส สิงคโปร์ใน พ.ศ. ๒๔๑๔ ครั้งนั้นโปรดเกล้าฯ ให้เลือก หม่อมเจาและหม่อม ้ราชวงศ์ประมาณ ๒๐ คนเพอื่ส่งไป เรียนที่สิงคโปร์ บางองค์ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนหลวง รุ่นแรกที่ไปศึกษาต่อที่ยุโรป คือ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ หม่อมเจ้าเจ๊ก นพวงศ์ และ หม่อมราชวงศ์เทวหนึ่ง ศิริวงศ์ เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จพระราชดำเนินกลับจาก อินเดียเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ทรงจ้างครูชาวอังกฤษชื่อ ฟรานซิส จอร์จ แพตเตอร์สัน (Francis George Patterson) มาสอนพระเจ้าน้องยาเธอและนักเรียนอื่น จากโรงเรียนมหาดเล็ก พระองค์เองก็ทรงศึกษากับนาย แพตเตอรส์นัดวย โ ้รงเรียนตงอยัู้่ ๓ ปีก็เลก และินายแพต เตอร์สันหมดสัญญาต้องเดินทางกลับอังกฤษ ก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวจะเสด็จฯ เยือนยุโรปครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงให้ กรมธรรมการจัดสอบและเลือกนักเรียนตามเสด็จไปดวย้ โดยไม่จำกัดชนชั้น นับเป็นจุดเริ่มต้นของทุนเล่าเรียน หลวง (King’s Scholarship) และได้นักเรียนจำนวนหนึ่ง ไปเรียนยังต่างประเทศด้วย ความจำเป็นในการหากำลังคนมาทำงานใน ระบบราชการแบบใหม่ทำให้มีการขยายการศึกษาไปสู่ สามัญชนทั้งแบบโรงเรียนสามัญและโรงเรียนฝึกอบรม พิเศษ กระทรวงต่าง ๆ เริ่มให้ทนุการศึกษาแก่สามัญชน ไปเรียนต่างประเทศ คณะข้าราชการของไทยเริ่มมีส่วน ผสมของกลุ่มคนต่างระดับกันมากขึ้น สามัญชนที่เป็น ลกหลาูนขา้ราชการชั้นผู้น้อยในเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพฯ 213 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ได้โอกาสเข้าสู่ระบบราชการซึ่งเดิมไม่เคยมีโอกาสเช่น นี้ ลกจูีนในเมืองไทยก็ไดเข้า้สูร่ะบบราชการดวยเช่ ้นกัน โดยส่วนใหญ่เข้าไปทำหน้าที่เสมียน หลังจัดการศึกษาเพื่อมุ่งสร้างคนมารับราชการ ไปสักระยะหนึ่ง รัชกาลที่ ๕ ก็ทรงเปล ี่ ยนรูปแบบมา เป็นการศึกษาสำหรับราษฎร และให้วางแนวทางสร้าง พลเมืองที่ดีมีจรรยาและสมบัติผู้ดีเอาไว้ด้วย การศึกษาเน้นความรู้ทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ และวิชาหาเล ี้ ยงชีพ ซึ่งฝึกสอนพลเรือนให้มีความรู้ใน การทำมาหากินตามอัตภาพของตน ที่สำคัญคือมีเป้า หมายสอนวิชาบำรุงการหาเล ี้ ยงชีพ โดยตั้งโรงเรียน ศิลปศาสตร์ สอนวิชาช่างและการเพาะปลูก เพื่อให้ ราษฎรสนใจวชาเกษิตรกรรมซงเึ่ปน็อาชีพของบรรพบุรุษ ว่าทำให้เกิดความก้าวหน้าได้ ให้คนเชื่อมั่นและหัน ไปประกอบอาชีพนี้ และในช่วงหลังยังจัดตั้งโรงเรียน พาณิชยการเพื่อเป็นที่ฝึกหัดวิธีการค้าขาย นอกจากนี้ ยังมีการนำตำราของต่างประเทศมา แปลเป็นภาษาไทยเพื่อให้นักเรียนใช้เรียน ทั้งความรู้ เชิงวิทยาศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ และแต่งตำราว่าด้วยทั้ง ทางโลกย์และทางธรรม อาทิตำราว่าด้วยกายบริหาร สมบัติบริหารและธรรมชาติสิ่งของที่ต้องการเพื่อการ เล ี้ ยงชีพ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ส่วน ตำราทางธรรมจะกล่าวถึงคุณพระรตนตรั ัย คฤหัสถ์วินัย และวินัยพลเมือง ขณะนั้น สยามเผชิญภัยคุกคามเรื่องการล่า อาณานิคมจากอังกฤษและฝรั่งเศสที่รายล้อมอยู่รอบ ด้าน การศึกษาจึงเน้นเรื่องความรักอิสรภาพแห่งชาติ ภูมิและประพฤติตนอยู่ในสุจริตธรรม สมเด็จฯ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธบายเกิ ยวกับกา ี่ รกำหนด หลักสูตรว่า รัฐจำเป็นต้องกำหนดความคิดพฤติกรรม ของราษฎรให้เป็นพลเมืองดี และต้องเป็นคนดีทั้งทาง โลกย์และทางธรรม ดังนั้นจึงต้องมีตำราที่ดีมารองรับ ตำราเรียนในสมัยนี้สะท้อนแนวคิดเก ี่ยวกับการ สร้างคนให้เป็นพลเมืองดีของชาติอย่างต่อเนื่อง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ทรงนิพนธ์ตำราเพื่อสอนศีลธรรมและ ความประพฤติแก่ราษฎรในชื่อ เบญจศีล เบญจธรรม ใช้เป็นหนังสือคู่มือครู เน้นให้ฝึกกายใจและความ ประพฤติอันดีงามควบคู่กับความรู้ทางวิชาการ สอน ให้คนรู้จักความดีความชั่ว ทั้งยังสอนให้มีความศรัทธา ในพระมหากษัตริย์ ในตำรากล่าวว่า ธรรมชาติของ มนุษย์ต้องพึ่งพากัน อยู่ร่วมกันเป็นหมู่ญาติ ครอบครัว หมู่บ้าน เมือง และประเทศชาติ ในการนี้จึงต้องมี กฎหมายและขนบธรรมเนียมอันเปนส็ ัญญาระหว่างกัน ในหมู่ประชาชน และด้วยพระบารมีพระมหากษัตริย์ ทรงปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ขยายการศึกษาจาก ส่วนกลางไปยังส่วนภมูภาคิผ่านการศึกษาของคณะสงฆ์ เนื่องจากการศึกษาขยายสู่คนหมู่มากแล้ว จึง เกิดความพยายามสร้างให้คนรับรู้ว่าความเป็นผู้ดีไม่ได้ มาจากชาติกำเนิด แต่เกิดกับเฉพาะผู้ประพฤติดี ส่วน 214


ยศ ศักดิ์ สมบัติ และตระกูล ไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้เป็นผู้ดี ผู้ดีต้องมธีรรมะคือไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ตงอยัู้่ในความ ตรงทงกาย วาจา ใจ ไม่ ั้รับสินบนหรือของกำนัล ผู้ดีต้อง มีคุณธรรมทางพุทธศาสนา เช่น เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา สติสัมปชัญญะ มีความอดกลั้น ไม่ข่มเหงผู้ ต่ำกว่าหรืออ่อนกว่า มีหิริโอตตัปปะ ความเป็นผู้ดี จึงไม่ใช่สิ่งที่มีมาแต่กำเนิด แต่เรียนรู้ได้ การเป็นผู้ดีก็คือส่วนหนึ่งของการเป็นพลเมืองดี คือผู้ที่ตั้งอยู่ในความประพฤติชอบด้วยกฎหมาย ข้อ บังคับ และขนบธรรมเนียมนิยม มีหน้าที่ต้องทำความ เจริญให้แก่บ้านเมือง รู้จักรักกลุ่มของตน รักชาติ และ พระเจ้าแผ่นดิน ก่อนรัชกาลที่ ๕ เสด็จสวรรคตไม่นาน พระองค์ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิสุทธิสุริยศักดิ์และพระยา ไพศาลศิลปศาสตร์ร่วมกันร่างประกาศกระแสพระบรม ราชโองการอธิบายนโยบายการจัดการศึกษาและ อุดมการณ์ทางการศึกษาของรัฐ โดยวางแผนความคิด เป็นหนึ่งเดียวและให้นึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรง สร้างความเจริญในชาติ และเพอื่ประโยชน์ในการติดต่อ กับต่างประเทศจึงต้องจัดการศึกษาเพื่อฝึกหัดราษฎรไว้ ใช้ในราชการ แต่ที่จริงแล้วการศึกษาก็ทำให้คนฉลาด ประพฤติตัวดี มีประโยชน์ ให้หาเล ี้ ยงชีพได้ การศึกษา ช่วยฝึกหัดความประพฤติให้เป็นราษฎรที่ดีของประเทศ รู้จักหน้าที่ต่อครอบครัว ญาติพี่น้อง เพอื่นร่วมชาติ และ รู้จักถวายความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ แต่ ร่างประกาศนี้ไม่ได้ประกาศใช้ เพราะรัชกาลที่ ๕ เสด็จ สวรรคตเสียก่อน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ มหีนังสือเรองื่พลเมือง ดี ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีที่สอนเรื่อง ความเป็นพลเมืองดีไว้อย่างเด่นชัด ต้องแทนคุณ แผ่นดิน และต้องประพฤติตนให้ดี ทำความดีและ ช่วยเป็นกำลังแก่บ้านเมือง รักษาบ้านเมือง บำรุงการ ปกครองและความยุติธรรมของบ้านเมือง หนังสือเล่ม นี้ยังกล่าวถึงการเมืองและการปกครองของสยามในเวลา นั้น กำหนดอาณาเขตของสยาม ความหมายของรัฐบาล ประเทศต่าง ๆ ในโลกและผู้คนต่างชาติต่างภาษา ในช่วงประมาณ ๒๐ ปีหลังการจัดตั้งระบบ บริหารราชการแบบใหม่ มีประชาชนมาประกอบอาชีพ ข้าราชการกันมาก ด้วยเห็นว่าเป็นหนทางเลื่อนฐานะ ทางสังคมให้สูงขึ้นได้ การขยายตัวของระบบราชการมี ผลให้ข้าราชการประจำมีบทบาทสำคัญในการกำหนด ทิศทางการดำเนินนโยบายของรัฐในเวลาต่อมา สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายาม เปล ี่ ยนแนวคิดของประชาชนให้ไปประกอบอาชีพอื่น บ้างแต่ก็ไม่สำเร็จ คนไทยผู้มีการศึกษาดียังมุ่งเน้นรับ ราชการ ดังนั้น กลุ่มผู้มกาีรศึกษาด กลุ่มข ีา้ราชการ และ กลุ่มชนชั้นสูง จึงหมายถึงกลุ่มเดียวกันนั่นเอง ความเปลี่ ยนแปลงของกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ สมัยรัชกาลที่ ๕ การได้รับผลกระทบจาก วัฒนธรรมตะวันตกก่อให้เกิดความเปล ี่ ยนแปลงทาง วัฒนธรรมที่สำคัญในระดับเมือง เกิดลักษณะของ วัฒนธรรมเมืองขึ้นในกรุงเทพฯ ซึ่งต่างจากชีวิตท้องถิ่น ชนบททวไั่ป เปลย ี่ นวถิชีวีิตผู้คนริมน้ำมาอยู่บนบกในตัว 215 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เมือง มาตรฐานการครองชีพและรสนิยมดา้นการอุปโภค บริโภคของคนเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพฯ เงินตรากลายเป็นสิ่งสำคัญในระบบธุรกิจแบบตลาด และกลายเป็นเงื่อนไขในการกำหนดระดับคุณภาพและ มาตรฐานการครองชีพของคน เกิดความต่างระหว่าง ชวีิตในชนบทกับเมือง ผู้ดกับไ ีพร่ คหบดกับยากจ ีนอย่าง เห็นได้ชัดเจน กรุงเทพฯ ปรับตัวจนกลายเป็นเมืองที่สัมพันธ์ กับเศรษฐกิจแบบเงินตราที่เกิดขึ้นมา มณฑลกรุงเทพฯ ประกอบด้วยนครเขื่อนขันธ์ เมืองสมุทรปราการ เมือง มีนบุรี เมืองปทุมธานี และเมืองธัญญบุรี บรรดา เมืองเหล่านี้เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ สมุทรปราการเปิดออกสู่อ่าวสยาม เมืองอื่น ๆ เป็น เมืองเกษตรกรรมหล่อเลี้ ยงกรุงเทพฯ ดังนั้น กรุงเทพฯ จึงเป็นเมืองที่เติบโตในฐานะทั้งเมืองท่าและเมืองด้าน การเกษตรที่เล ี้ ยงตนเองได และยัง ้สัมพันธ์กับการค้าทั้ง ภายในและภายนอก ความเป็นสังคมเมืองที่รับอารยธรรมตะวันตก ทำให้กรุงเทพฯ กลายเป็นสังคมที่นิยมในวัตถุ ทัศนคติ แบบเก่าที่เคยยึดอยู่กับวัดและวังเปล ี่ ยนมาอยู่ใน ครรลองของโลกย์ ชาวกรุงเทพฯ หันไปหาความรู้และ เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์แบบตะวันตกมากย ิ่งขึ้น และ ประชาชนเรียกร้องให้รัฐมุ่งสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้น ฐานเพื่อยกระดับการดำรงชีวิตและมาตรฐานการครอง ชีพให้แก่ประชาชน ดังนั้น รัฐสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจึงไม่ใช่รัฐที่พึ่งพา พิธีกรรมอันล ี้ลับเพื่อยกระดับให้ผู้ปกครองอยู่ห่างจาก ผู้ใต้ปกครองมากอย่างที่เคยเป็น แต่รัฐได้สร้างเมือง หลวงให้มีความทันสมัยเพื่อเป็นศูนย์กลางและมีความ เจริญทัดเทียมอารยประเทศ องค์พระพทุธมหามณีรตนั ปฏิมากรและพระสยามเทวาธิราชกลายเป็นสัญลักษณ์ แห่งการมีอยู่ของบ้านเมืองและประเทศ แทนที่จะเป็น สิ่งล ี้ลับที่ทรงอำนาจปกแผ่คุ้มครองประชาชน ในสมัยนี้กรุงเทพฯ ขยายออกไปทางด้านทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ เกิดการสร้างพระราชวังขึ้นใหม่ หลายแห่ง เช่น กลุ่มพระราชวังดุสิต เพื่อแสดงถึงความ มีหน้ามีตาและทันสมัยของบ้านเมือง พระราชวังดุสิต เปนพร็ะราชวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยู้่ หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เมื่อเสด็จกลับจากประพาส ยุโรปครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๔๔๒ โปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ตอนชาย ทุ่งนาในระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสน แลวโ้ ปรดเกลาฯ ให ้ ้สร้างพลับพลาขึ้นเปนที่ ็เสด็จประทับ แรมชัวค่ราวและพระราชทานนามว่าสวนดุสิตเนองจากื่ นายแพทย์ประจำพระองค์เคยกราบบังคมทูลว่า ใน พระบรมมหาราชวังซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับ มาแต่เดิมไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระ ประชวรกันเสมอ พระองค์จึงมีพระราชประสงค์สร้างที่ ประทับนอกเมือง 216


ต่อมา เมื่อสร้างพระที่นั่งขึ้นและพระองค์เสด็จ พระราชดำเนินมาประทับบ่อยครั้ง จึงโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระราชนิเวศน์แห่งใหม่ พระราชทานนามว่า “วัง สวนดุสิต” เมื่อขยายพระนครไปทางทิศตะวันออก เฉียง เหนือ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนสามเสน ถนน ราชดำเนินใน ถนนราชดำเนินนอก และโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างที่ประทับถาวรขึ้น เมือเ่สด็จมาประทับบ่อยครง จึง ั้ มีพระราชดำริที่จะสร้างพระที่นงั่ต่าง ๆ เพอใช ื่ ้ประกอบ พระราชพิธีได้เช่นเดียวกับในพระบรมมหาราชวัง จึง โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเปล ี่ ยนนามวังสวนดุสิตเป็น พระราชวังสวนดุสิต จนกระทั่ง รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจ้าอยู้่หัว โปรดเกลาฯ ให ้เ้รียกพระราชวัง สวนดุสิตว่าพระราชวังดุสิต ตงแั้ตร่ ัชกาลที่ ๔ มาแลว ้พื้นที่ของเมืองแยกเปน็ สัดส่วนและพื้นที่ทางการเกษตรต้องถอยร่นไปเพื่อให้ เมืองใช้พื้นที่ได้มากขึ้น บางครั้งยังมีการใช้พื้นที่ของวัด เพื่อการรื่นเริงโดยไม่เกี่ยวกับประเพณีทางพระพุทธ ศาสนาด้วย เช่น งานฤดูหนาวที่วัดเบญจมบพิตรฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ นอกจากนี้ยังมีการสร้างหอสมุดเป็นที่ เก็บตำรา หนังสือความรู้ทั้งหลาย แทนที่จะเป็นหอไตร ของวัดอย่างเดิม การละเล่นของไทยเมื่อมีเทศกาลงาน ฉลองก็เปล ี่ ยนไป มีการจัดงานฉลองใหญ่ขึ้น มีมหรสพ การละเล่น การประกวด การออกร้านขายของ และร้าน เครื่องเล่นต่าง ๆ เช่น ร้านจับฉลาก ร้านถ้ำมอง ร้าน เล่นแข่งม้า ร้านยิงเป้า ร้านออกลอตเตอรี่ ร้านสอย กัลปพฤกษ์ เป็นต้น บรรดาสิ่งก่อสร้างที่ถือเป็นความเจริญทางวัตถุ ต่าง ๆ ที่เกดขึ ิ ้นในรัชกาลนี้ ไม่ได้สร้างขึ้นเพอื่ส่งใหเมือง ้ สัมพันธ์กับวัดวาอารามเท่านั้น แต่กลับสะท้อนความ เจริญทางวัตถุแบบตะวันตกมากกว่าเดมมาก ถาวิรวัตถุที่ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลนี้อาจแบ่งออกไดเ้ปน็ ๗ ประเภท ดังนี้ ๑. ถนน การคมนาคมทางบกเข้ามาแทนที่ การคมนาคมทางน้ำ ถนนสร้างขึ้นเพื่อการสัญจรของ ชาวต่างประเทศและราษฎร ต่อมามีการสร้างสะพาน ขึ้น การสร้างถนนในสมัยนี้ได้กำหนดความกว้างของ ผิวจราจรและทางเดินเท้า มีการปลูกต้นไม้ริมถนน ขุด คลองระบายน้ำ การสร้างถนนหลายสายเป็นแบบ อเวนู บูเลอร์วาด (Avenue Boulevard) ในกรุงปารีส เช่น ถนนราชดำเนิน สร้างขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๔๒ เพื่อ เป็นที่เสด็จพระราชดำเนินระหว่างพระบรมมหาราช วังกับพระราชวังดุสิต เพื่อความสง่างามของบ้านเมือง และเพื่อให้ประชาชนได้เดินเที่ยวพักผ่อน จึงมีพระราช ประสงค์ให้สร้างถนนราชดำเนินให้กว้างที่สุด และให้ สองฟากถนนเป็นที่ตั้งวังและสถานที่ราชการใหญ่ ๆ มิให้สร้างตึกแถวหรือร้านเล็ก ๆ ซึ่งจะทำให้กลายเป็น ย่านการค้า 217 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สาเหตุของการตัดถนนมาจากพระราชดำริที่ทรงห่วงใยประชาชน เนองจาก่ื ท้องที่ตำบล บา้นพานถมถึงท้องที่ตำบลป้อมหักกำลังดัสกรเปนที่ ็เรือกสวน เปลยว อย ี่ ่ใูนระหว่างถนนพฤฒบาศิ (ปัจจุบันคือถนนนครสวรรค์) กับถนนสามเสนยังไม่เป็นที่สมบูรณ์เสมอท้องที่ตำบลอื่น เพราะ ยังไม่มีถนนหลวงที่จะทำให้ประชาชนทำการค้าขายสะดวกขึ้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนขึ้นโดยตัดตั้งแต่ปลายถนนพระสุเมรุ ข้ามคลองรอบกรุงที่ตำบลบ้านพานถม ตรงไปยังป้อมหักกำลังดัสกร ขามคลอง้ผดุงกรุงเกษมบรรจบกับถนนเบญจมาศ (ปัจจุบันคือส่วน หนงของถึ่นนราชดำเนินนอก) พระราชทานนามว่า ถนนราชดำเนิน เช่นเดยวกับถ ีนน Queen’s walk ใน Green Park ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ 218


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด ถนนราชดำเนินนอก สะพานมัฆวานรังสรรค์ และถนน เบญจมาศ เนื่องในอภิลักขิตสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๕๐ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๔๔๔ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ถนนราชดำเนินกลางตงแั้ตส่ะพานเสี้ยว ตรงไปขางคลอง้ บางลำพูต่อกับถนนราชดำเนินนอก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ เรียกถนนราชดำเนินช่วงแรกว่าถนนราชดำเนินนอก ต่อมามีการก่อสร้างถนนราชดำเนินในมาจดถนน หน้าพระลาน โดยสร้างขยายแนวถนนจักรวรรดิวังหน้า เดิม เริ่มจากมุมถนนหน้าพระลานและถนนสนามไชย มาบรรจบกับย่านริมสนามหลวงด้านตะวันออกไป บรรจบถนนราชดำเนินกลางที่สะพานผ่านพิภพลลา แลีว้ เสร็จใน พ.ศ. ๒๔๔๗ ๒. ย่านเศรษฐกิจและตึกแถว ย่านทำเลธุรกิจ ในกรุงเทพฯ สมัยนั้น เป็นทั้งที่อาศัยส่วนตัวและทำ ธุรกิจไปด้วย ที่สำคัญได้แก่ย่านสามเพ็ง ขายปลีก-ส่ง ย่านทรงวาด-ท่าน้ำ เป็นคลังสินค้า ย่านสี่พระยาและ บางรัก เป็นชุมชนใหม่อยู่ในแหล่งที่อาศัยและที่ทำการ ค้าของชาวตะวันตก ย่านถนนบำรุงเมือง จำหน่าย เครื่องอัฐบริขาร ชาวสยามและช่างฝีมืออยู่มากบริเวณ นี้ ย่านถนนเฟื่องนคร มีห้างจีน แขกเปอร์เซีย สยาม และฝรั่ง จำหน่ายสินค้าจากต่างประเทศ ตัดเครื่องแบบ ข้าราชการ และโรงพิมพ์ ย่านถนนพาหุรัด-สะพานหันสามเพ็ง-วังบูรพา แหล่งค้าขายของชาวจีนและอินเดีย ย่านถนนเจริญกรุง ร้านค้าชาวตะวันตก จีนและญี่ปุ่น จำหน่ายสินค้าต่างประเทศ เครื่องมือ เครื่องจักร ย่าน ถนนเยาวราช เป็นเขตขยายตัวของชุมชนจีนจากสาม เพ็ง ขายทองคำ ๓. ถาวรวัตถุเพอกาื่รสาธารณูปโภคของเมือง ซงึ่ สัมพนัธ์กับกจกาิรสาธารณูปโภคแผนใหม่ ไดแก่ ้รถยนต์ รถเมล์ รถราง รถไฟ ไฟฟ้า ประปา การไปรษณีย์โทรเลข ๔. สวนสาธารณะ คือสนามหลวง โปรดเกล้าฯ ในปลูกต้นมะขามโดยรอบเพื่อความร่มรื่น ๕. อาคารแบบตะวันตก ทรงใหช่างจากก ้รมช่าง แผนใหม่ ทั้งสถาปนิก วิศวกร ชาวสยาม ชาวยุโรปร่วม กันออกแบบสร้างอาคารสถานแบบใหม่ทั่วกรุงเทพฯ ประกอบด้วย สถานที่ราชการ ปราสาทราชวัง วัดวา อาราม 219 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของ สุุวรรณภูู มิิและ สยามป ระเทศ ตั้้�งแ ต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ๖. วัดที่สร้างในรัชกาลนี้ มีทั้งรูปแบบไ ท ยประเพณี และรูปแบบ สถา ปั ตยกรร ม ตะวันต ก ๗. กา รวาง ผังเมือง สร้างวังและย่านที่อาศัย มีพร ะ ราชดำริสร้างก รุงเทพฯ ด้วยกา รวาง ผังเมืองเลี ย น แบบ ราชธานีในประเ ทศยุโรปที่เคยเ สด็จพร ะ ราชดำ เนินถึง ๒ ค รั้ง ไม่ว่าจะเ ป็นพร ะ ราชดำริใ นการสร้าง ส วนสาธารณะ การประดับ ตกแ ต่งวัง การสร้างถนนและย่า นอาคารสถา น ที่อื่น ๆ ความคิดเก ี่ยวกับกา รวาง ผังเมือง ส ะท้ อ นกา ร เ ป ลี่ ย น แ ปลง ทางความคิดเก ี่ยวกับการสร้างเมืองใ นโลก ตะวันออกจากการรวม ตัวของกลุ่มหมู่บ้า นและมีวัดเ ป็ น ศูนย์กลางของชุมช นมาเ ป็ นเมืองแบบ ตะวันต ก ถนนและ ส ะ พ านนั้นโดย ทวไั่ ป เ ป น ็งา นของก ร ะทรวง โยธาธิกา ร ค่าใช้จ่ายใ นการสร้างและ ซ่อมมาจากเงินงบ ประมา ณ แ ผ่ น ดิน เมื่ อสร้างเสร็จแล้วก ร ม สุขาภิบาลเ ป็นผู้ รักษา อย่างไ รก็ดี ใ นการสร้างถนนและ ส ะ พ า น แ ต่ละค รั้งมี องค์กรที่ มีส่วนสร้าง ทงหมด ๓ องค์ก ั้ รคือ ก ร ะทรวง น ค รบาล และก ร ะทรวงโยธาธิกา ร เ ป็นผู้พิจารณ า สถานที่เหมาะ สม แล ว้ทำ แผนที่ขึ้น ก ราบบังคมทูล บางค ร งั้พระองค์ทรงเสน อ เอง แล้วก ร ะทรวงกา รคลังห รือพระคลังข้างที่เข้ามามีส่ว น ร่วม เพราะเก ี่ยวกับงบประมา ณใ นการสร้างและต้องกา ร ผู้มีความรู้ทั้งชาว สยามและชาว ต่างประเ ทศ ก ร ะทรวงกา ร คลังต้องจัดงบประมา ณมาใช้ เ นื่องจากไม่ทรงโปรดกา ร กู้ เงินจาก ต่างประเ ทศยกเว้น กรณีที่ จำ เ ป็ น จึงต้องใช้เงินงบ ประมาณทั้งหมด 220


การตัดถนนในกรุงเทพฯ สมัยนี้ พระองค์มิได้ทรงให้ถมคลอง เพราะทรงเล็งเห็นว่าคลอง เป็นประโยชน์ในการคมนาคมของราษฎรและเป็นทางไหลของน้ำ ไม่ทำให้น้ำท่วมพื้นที่กรุงเทพฯ ดังปรากฏว่าในการสร้างถนนสาธรนั้น โปรดฯ ใหขุดคลอง้สาทรขึ้นดวย ้พระองค์ทรงสนับสนนุให้สร้าง สะพานขามคลองเ้ ปน็การแสดงความตงั้พระทัยที่จะรักษาคลองเอาไว้ทรงจัดสรรเงินสำหรับการสร้าง สะพานและอุทิศเงินในวันเฉลมิพระชนมพรรษาเปนพร็ะราชกุศลสร้างสะพานเพอื่สาธารณะประโยชน์ รวมทั้งหมด ๑๗ แห่งด้วยกัน จาก พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๕๓ สะพานเหล่านี้มีคำขึ้นต้นว่าเฉลิม ลงท้าย ด้วยตัวเลขตามปีพระชนมพรรษา เช่น สะพานเฉลิมศรี ๔๒ พ.ศ. ๒๔๓๘ สะพานเฉลิมพันธ์ุ ๕๓ พ.ศ. ๒๔๔๙ สะพานเฉลิมโลก ๕๕ พ.ศ. ๒๔๕๑ และสะพานเฉลิมหล้า ๕๖ พ.ศ. ๒๔๕๒ กล่าวได้ว่า นับจากรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมาที่วัฒนธรรมเมืองได้ผลักการผลิตภาค เกษตรกรรมไปอยู่ตามชานเมืองกรุงเทพฯ เรือกสวนไร่นากลายเป็นที่ดินเพื่อประโยชน์ใช้สอยอย่าง ใหม่ เช่น การสร้างตึกแถวเพอื่ประกอบธุรกจและกาิรอยู่อาศัย อาคาร สโมสร และกจกิรรมทางสังคม ที่เคยอยู่ตามวัดก็เปล ี่ ยนมาอยู่ที่เฉพาะ กิจกรรมนันทนาการต่างๆ ที่อยู่ตามย่านชุมชน เช่น ละคร ง ิ้ ว ลิเก ร้านอาหาร โรงยาฝิ่น โรงน้ำชา บ่อน โรงโสเภณี โรงจำนำ ที่เกิดขึ้นมาใหม่ล้วนไม่เกี่ยวกับวัด 221 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ การสร้างผลผลิตในตัวเมืองเน้นที่การพาณิชยกร รมและการอุตสาหกรรม เศรษฐกิจของเมืองได้ผลักดัน พื้นที่ทางภาคการเกษตรออกไป นักธุรกิจสนใจการค้า ที่ดิน เวนคืนที่ดิน และพัฒนาที่ดิน ในที่สุดแลว้ที่ดินแถบ ชานเมืองและในเมืองส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของเจา้นาย พ่อคา ้นายทนุ การพัฒนาที่ดินทำใหเก้ ดเมืองบ ิ ริวารของ กรุงเทพฯ ขึ้นที่มีนบุรีและธัญญบุรีซงึ่ราษฎรส่วนใหญ่ยัง ประกอบอาชีพทำนา ในสมัยนี้ที่ดินมีราคาสูงขึ้นและเป็นที่ต้องการ พระองค์จึงทรงคิดหาวิธีจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีอยู่ โปรดเกล้าฯ ให้สำรวจอ้างสิทธิเวนคืนที่หลวงที่ถูกเอา ไปใช้มาไว้กับพระคลังข้างที่ เพื่อจะได้ให้พระคลังข้างที่ ใช้ประโยชน์จากที่ดิน ปลูกตึกแถวให้เช่า เป็นต้น เมืองเศรษฐกจของกิรุงเทพฯ พัฒนาจนเกดย่า ิน การคา้ที่สำคัญๆ ขึ้น การคา้ที่ดินและการแสวงประโยชน์ จากการเป็นเจ้าของที่ดินจึงเป็นวิธีสร้างความมั่งคั่งให้ แก่เจ้านายและขุนนางนายทุนกลุ่มใหม่ คนกลุ่มนี้นิยม ซื้อที่ดินสองฝั่งคลองและสองฝั่งถนน เช่น ใน พ.ศ. ๒๔๓๔ พระยาสีหราชเดโชชัยขออนุญาตตัดถนนตั้งแต่ ถนนเจริญกรุงไปออกถนนสีลม และซื้อที่สวนบริเวณ นั้นล่วงหน้าไว้ถึง ๑๙ ตำบล เมื่อตัดถนนแล้วจะเป็น เนื้อที่ของพระยาสีหราชฯ เสีย ๒ ส่วน เป็นของผู้อื่น ๑ ส่วน ลักษณะเช่นนี้ทำให้เกิดการค้าที่ดินตามถนน ตัดใหม่หลายสาย เช่น ถนนสาทร มีการแบ่งขายที่ดิน ติดถนน นอกจากนี้บนถนนยังนิยมสร้างตึกแถว มีทั้งที่ พระคลังขาง้ ที่สร้างใหเช่า และเจ ้า้นาย ขา้ราชการลงทนุ สร้างให้เช่าด้วย ทำให้ราคาที่ดินย ิ่ งสูงขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเมือง ความต้องการอาคารห้องแถวที่มีมาก ขึ้น ทำให้แม้แต่วัดก็เล็งเห็นประโยชน์นี้จึงนำที่วัดมาให้ เช่าเพื่อสร้างตึกแถวให้เช่า นอกจากนี้ พระคลังข้างที่ ยังมีที่สองฝั่งคลองซึ่งยึดจากลูกหนี้ที่เอามาจำนำ และ ที่มรดกจากเชื้อพระวงศ์ นำมาขุดเป็นคลองและขายที่ สองฝั่งคลองได้ด้วย ปัญหาที่เกดจากกาิ รสร้างกรุงเทพฯ เปนร็าชธานี ในช่วงนี้คือปัญหาเรื่องสภาวะแวดล้อมและการใช้ที่ดิน สร้างโรงงานอุตสาหกรรมในเมือง โรงงานเหล่านี้ปล่อย กลิ่นและเสียงรบกวน จนทำให้เกิดไฟไหม้หลายครั้ง จึง โปรดเกล้าฯ ให้ออกร่างพระราชบัญญัติโรงงาน ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) จะเห็นได้ว่ารัชกาลที่ ๕ ทรงสน 222


พระทัยเรองื่ สิ่งแวดลอมอย่างจ ้ ริงจัง มกาีรตรวจแยกธาตุ ในน้ำจากลำคลองหลอดโดยเจ้าหน้าที่ชาวต่างประเทศ และพบว่าน้ำในคลองใช้ไม่ได้ และสัตว์ไม่ควรกิน น้ำ โสโครกมีผักและหญ้าเน่า แม้แต่โรงม้าก็ใช้ไม่ได้ถ้าไม่ จัดการกรอง นอกจากนั้น ยังมีปัญหาทั้งในการสร้างถนน ใหม่และการซ่อมถนนเก่า เพราะพื้นดินของกรุงเทพฯ เป็นที่ลุ่ม ทำให้ถนนแข็งแรงได้ยาก พื้นทรุดตัวเร็ว เป็น หลุมบ่อ ต้องทำพื้นล่างให้แน่น ตรงกลางโค้งแล้วลาด ลงสองข้างถนน ย ิ่งกว่านั้นต้องเตรียมการวางท่อเพื่อ แกไข้ ปัญหาน้ำโสโครกดวย ้ ผู้เชยวชาญชาว ี่ ต่างประเทศ ได้เสนอแผนการแก้ไข แต่ปัญหาใหญ่อยู่ที่การขาดเงิน งบประมาณที่จะดำเนินการ ปัญหาจึงขัดข้องค้างคาอยู่ การสื่ อสารและการคมนาคมทางรถไฟ: ทางเชื่ อมกรุงเทพฯ กับหัวเมืองไกล การรวมอำนาจเขา้สู่ศูนย์กลางนั้น การคมนาคม เพื่อเชื่อมไปสู่หัวเมืองไกลเป็นสิ่งสำคัญยิ่ ง และสำคัญ ยงขึ ิ่ ้นไปอกเมื ีอ่สยามมีปัญหากับการล่าอาณานิคมของ ประเทศมหาอำนาจที่อาจหาเหตุยึดหัวเมืองห่างไกลที่ อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติของสยามได้ทุกเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง เห็นประโยชน์ของการคมนาคมและการสอื่สารเปน็ อย่าง มาก ทรงตระหนักว่าการที่จะรวมศูนย์อำนาจได้สำเร็จ นั้น กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางจะต้องมีทั้งการ สื่อสารและการคมนาคมที่ทันสมัยเอาไว้ในมือให้สำเร็จ ดังจะเห็นได้จากใน พ.ศ. ๒๔๑๘ เมื่อทรงขึ้นครอง ราชย์อย่างสมบูรณ์แลว ้ทรงให้ติดตงโั้ทรเลขในพระบรม มหาราชวัง เพราะทรงตระหนักดีถึงอำนาจของข่าวสาร จึงทรงใหขยายโค ้รงข่ายโทรเลขใหกว้างขวางค้รอบคลุม มากขึ้น ก่อนการปฏิรูปการปกครองในพุทธทศวรรษ ๒๔๓๐ “วังราชธานี” มีโครงข่ายโทรเลขครอบคลุมได้ ทั่วแล้ว และในทศวรรษถัดมา กรุงเทพฯ สามารถเชื่อม การติดต่อได้กับทั่วทุกภูมิภาค ในกลางพุทธทศวรรษ ๒๔๕๐ มี ๕๘ เมือง จาก ๗๗ เมืองที่สื่อสารได้โดยตรง กับกรุงเทพฯ ศักยภาพของโทรเลขเห็นได้ชัดเมืองเกิดกบฏ ในหัวเมือง พ.ศ. ๒๔๔๕ รัฐบาลที่กรุงเทพฯ ทราบ สถานการณ์และสามารถบัญชาการไปยังหัวเมืองได้ อย่างทันท่วงทีผิดกับครั้งกบฏในหัวเมืองภาคใต้สมัย รัชกาลที่ ๓ หรือการปราบฮ่อในต้นรัชกาลที่ ๕ ที่ต้อง รอคอยข่าวเป็นระยะเวลานาน ดังนั้น การสื่อสารด้วย โทรเลขจึงเป็นเครื่องมือหลักของการรวมศูนย์อำนาจ และการป้องกันประเทศในระยะนั้นได้อย่างมั่นใจ ส่วนในด้านการสร้างรถไฟนั้น แต่แรกรัฐบาล สยามยังไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องลงทุนสร้างทาง รถไฟเอง ดังจะเห็นได้ใน พ.ศ. ๒๔๒๙ ที่รัฐบาล อนุมัติสัมปทานให้แก่บริษัทของชาวเดนมาร์ก เพื่อ สร้างทางรถไฟสายแรกขึ้นในประเทศไทย เดินรถ ระหว่างกรุงเทพฯ-สมุทรปราการ แต่บริษัทยังขาดทุน ทรัพย์ จึงมิได้ดำเนินการก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยืมพระราชทรัพย์ไปสมทบด้วยส่วนหนึ่งและได้ เสด็จพระราชดำเนินขุดดินเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๖ 223 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ กับได้เปิดทางรถไฟ ณ สถานี สมุทรปราการ เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ โดย ใช้รถจักรไอน้ำลากจูง แต่ต่อมาภายหลังจึงเปล ี่ ยนมาใช้ รถไฟฟ้า ทางรถไฟสายนี้ได้ยุบเลิกกิจการไปเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่า รัฐบาลสยามยังไม่เห็น ความจำเป็นในการลงทุนสร้างทางรถไฟ และไม่เห็น ความจำเปน็ ในการสร้างทางรถไฟหรือเส้นทางคมนาคม ทางบกที่สามารถนำทุกอย่างไปยังปลายทางที่เป็นหัว เมืองห่างไกลก่อนพุทธทศวรรษ ๒๔๓๐ จึงยังไม่เห็น การลงทนุเพอื่สร้างเส้นทางคมนาคมเหล่านี้ โดยเฉพาะ ทางรถไฟ แต่เมื่อปัญหาการล่าอาณานิคมและลัทธิ จักรวรรดินิยมที่แผ่เข้ามาสู่สยามใกล้มากขึ้น รวมทั้ง ความพยายามในการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางที่กำลัง เป็นไปได้ด้วยดีปัญหาเรื่องเสถียรภาพของประเทศ จึงเป็นประเด็นใหญ่ที่ทำให้ราชสำนักสยามต้องหันมา พิจารณาการลงทุนขนาดใหญ่เช่นการสร้างรถไฟไปยัง หัวเมือง โดยอาศัยเหตุผลหลักคือปัญหาด้านการเมือง และไม่อาจรั้งรอให้เกิดความพร้อมทางเศรษฐกิจเสีย ก่อนจึงจะสร้างทางรถไฟได้ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมรถไฟ อยู่ในสังกัด กระทรวงโยธาธกาิร โดยมีพระเจา้น้องยาเธอ เจา้ฟ้ากรม ขุนนริศรานุวัดติวงศ์เป็นเสนาบดี และนาย เค. เบธเก (K. Bethge) ชาวเยอรมัน เป็นเจ้ากรมรถไฟคนแรก เดิมนั้นรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจ้าอยู้่หัว ตงใจจะ ั้สร้างทางรถไฟไปยังภาค เหนือก่อน เพราะไม่ไวใจว่าชา ้ ติมหาอำนาจจะหาเหตุยึด ภาคเหนือซึ่งเป็นแหล่งป่าไม้ที่สำคัญไปเมื่อใด แต่เมื่อ เกดิปัญหาที่ฝรงเศั่สพยายามแผ่แสนยานุภาพขามแม่ ้ น้ำ โขงเข้ามายังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รัฐบาลจึงตัดสิน ใจสร้างทางรถไฟสายแรกคือกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ใน พ.ศ.๒๔๓๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยู้่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหก้ระทรวงโยธาธกาิร ว่าจ้าง จี. มูเร แคมป์เบลล์ สร้างทางรถไฟหลวงสายดัง กล่าว เป็นทางขนาดกว้าง ๑.๔๓๕ เมตร การก่อสร้าง จึงเริ่มขึ้นในปีนั้น ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๓๙ เมื่อการก่อสร้างทาง รถไฟดังกล่าวสำเร็จบางส่วนพอที่จะเปิดการเดินรถ ได้ ในวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๔๓๙ พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงเสด็จพระราชดำเนินมาทรง เปิดการเดินรถไฟระหว่างสถานีกรุงเทพฯ - อยุธยา ระยะทาง ๗๑ กิโลเมตร และเปิดในประชาชนเดิน ทางไปมาระหว่างกรุงเทพฯ-อยุธยาได้ในอีก ๒ วัน ถัดมาเป็นต้นไป การสร้างทางรถไฟสายกรุงเทพฯนครราชสีมาสำเร็จเรียบร้อยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ พระองค์ จึงเสด็จพระราชดำเนินเปิดการเดินรถสายนี้เมือวั่ นที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๔๔๓ รวมระยะทางทั้งสิ้น ๒๖๕ กิโลเมตร สิ้นเงินในการสร้างทางรถไฟสายนี้ ๑๗,๕๘๕,๐๐๐ บาท 224


การสร้างทางรถไฟสายเหนือที่เกดขึ ิ ้นภายหลัง ก็ เกิดเพราะเหตุผลความจำเป็นทางความมั่นคง เมื่อเกิด กบฏเงยวขึ ี้ ้นใน พ.ศ. ๒๔๔๕ ก็ทำให้ต้องเร่งรัดการสร้าง ทางรถไฟสายเหนือขึ้น และเพ่อให ื ้เกิดความสะดวกใน การก่อสร้าง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอย้ ่หัวไดู้ โปรดเกลาฯ ให ้แยกก้รมรถไฟออกเปน็ ๒ กรม คือ กรม รถไฟหลวงสายเหนือ และกรมรถไฟหลวงสายใต้ เพอ่ืรับ ผิดชอบการสร้างทางรถไฟทง้ัสองภมูภาคของิ ประเทศ ซง่ึ กำลังเผชญิ ปัญหาการล่าอาณานิคมอย่เชู่นเดยวกั ีน การก่อสร้างทางรถไฟสายเหนือจากชุมทางบา้น ภาชถึงเช ี ยงใหม่ ีระยะทาง ๖๖๑ กม. แลวเ้สร็จเมือวั่ นที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๙ ในขณะที่การก่อสร้างทางรถไฟ ไปสู่ภาคใต้ของประเทศ เริ่มต้นจากสถานีธนบุรี หรือสถานี บางกอกน้อย ไปถึงจังหวัดเพชรบุรีน้นั ไดด้ำเนินการเปน็ ตอน ๆ และได้สร้างท่าเรือขึ้นรวม ๓ แห่ง คือที่กันตัง สงขลา และบา้นดอน จังหวัดสรุ าษฎร์ธานีพร้อมทงได ้ั ้ สร้างโรงงานชัวค่ราวขึ้นที่สงขลาและกันตัง เพอ่ืประกอบ รถจักรและล้อเลื่อน ซ่งลึ ำเลียงมาจากต่างประเทศโดย ทางเรือ การก่อสร้างทางสายใต้จึงสร้างจากเพชรบุรีลง ไปทางใต้ และจากสงขลา กันตัง ขึ้นมาทางเหนือบรรจบ กันที่ชุมพร และสร้างทางต่อจากสถานีหาดใหญ่ถึงสถานี ปาดังเบซาร์และสุไหงโก-ลก พร้อมกับไดเ้ปิดการเดินรถ เปนต็อน ๆ การก่อสร้างทางประธานสายใต้จากธนบุรี- สุไหงโก-ลก ระยะทาง ๑,๑๔๔ กม. เสร็จเมือ ่พ.ศ. ๒๔๖๒ ปลายทางของทางรถไฟสายนี้ต่อเชือมกับ่รถไฟมลายาที่ สถานีร่วมสุไหงโก-ลก และปาดังเบซาร์ ทางรถไฟสายเหนือที่สร้างขึ้น ใช้ทางขนาดกวาง ้ ๑.๔๓๕ เมตร ซึ่งเป็นขนาดมาตรฐานสากลที่ใช้กันเป็น ส่วนใหญ่ในโลก (Standard Gauge) ส่วนทางสายใต้ ใช้ทางขนาดกว้าง ๑ เมตร (Meter Gauge) จึงก่อให้ เกิดความไม่สะดวกในการจะเดินทางติดต่อกัน ทำให้ ต้องขนถ่ายสับเปล ี่ ยนรถ ต่อมาจึงได้มีการเปล ี่ ยนทาง จากขนาดกว้าง ๑.๔๓๕ เมตร เป็น ๑ เมตรเหมือนกัน ทั้งหมด แล้วให้สร้างทางแยกจากสถานีบางซื่อ ข้าม แม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระราม ๖ ไปบรรจบกับทาง สายใต้ที่สถานีตลงชั ิ่ น การเปลย ี่ นแปลงครงั้นี้ทำใหกา้ร คมนาคมทางรถไฟสามารถเชือมโยง่ติดต่อกันได้สะดวก ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งให้ความสะดวกในการเดินรถ ติดต่อกับการรถไฟของประเทศใกล้เคียง เช่น การรถไฟ มลายา การรถไฟสิงคโปร์ การรถไฟกัมพูชา ซึ่งมีขนาด ของทางกว้าง ๑ เมตร เช่นเดียวกันด้วย 225 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในระหว่างที่การก่อสร้างทางสายเหนือและ สายใต้ใกล้จะเสร็จ ก็ได้เริ่มทำการก่อสร้างทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายตะวันออกต่อไปอีก คือจากนครราชสีมาถึงสถานีอุบลราชธานี และสถานี ขอนแก่น และจากสถานีกรุงเทพฯ ถึงสถานีอรัญประเทศ หลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ มีการก่อสร้างทางรถไฟสาย ต่าง ๆ เพิ่มเติมอีก คือสายตะวันออกเฉียงเหนือจาก สถานีขอนแก่นถึงสถานีหนองคาย ระยะทาง ๑๗๕ กม. สายตะวันออกจากสถานีจิตรลดาถึงสถานีมักกะสนั ระยะทาง ๓ กม. สายเหนือสร้างเพิ่ม เป็นทางคู่จาก สถานีกรุงเทพฯ ถึงสถานีชุมทางบ้านภาชี และสายใต้ ถึงสถานีวังโพและสุพรรณบุรี กับจากสถานีทุ่งโพธิ์ ถึง สถานีคีรีรัฐนิคม รวมทางประธานที่เปิดการเดินรถทั่ว ประเทศตั้งแต่เริ่มต้นจนถึง พ.ศ. ๒๕๑๕ เป็นระยะทาง ทั้งสิ้น ๓,๘๕๕ กม. ความเติบโตและเปล ี่ ยนแปลงของประเทศ จากการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ จากรัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา จนเห็นผลได้ชัดเจนในสมัยรัชกาลที่ ๕ และ ๖ นั้น กล่าวได้ว่าการเปิดโอกาสทางด้านการศึกษา ให้แก่สามัญชนหรือราษฎรสยามนำให้สามัญชนส่ง ลูกหลานเข้าเรียนในโรงเรียน เพื่อให้มีความรู้ตามแบบ ที่รัฐต้องการ คนเหล่านี้เห็นคุณค่าและความสามารถ ในการสร้างความก้าวหน้าให้ตนเองมากขึ้น ประกอบ อาชีพเพื่อยกระดับสถานะของตนเองและวงศ์ตระกูล ได้ แต่ก็เกิดผลกระทบคือ ปัญญาชนที่เห็นคุณค่าของ ตนเองส่วนหนึ่งมิได้เห็นว่าพระมหากษัตริย์คือผู้นำพา ประเทศสู่ความเจริญเพียงผู้เดียวอีกต่อไป ดังนั้นเมื่อ เศรษฐกิจตกต่ำและการแก้ไขของรัฐบาลภายใต้ระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ยังไม่ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นได้ทั้ง ก่อให้เกิดผลในวงกว้างต่อข้าราชการและทหารซึ่งเป็น กลุ่มผู้ได้รับการศึกษา กลุ่มที่เรียกตนเองว่า “คณะราษฎร” จึงดำเนินการปฏิวัติเปล ี่ ยนแปลงการปกครอง ยุติการ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และนำประเทศ เข้าสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข 226


227 บทที่ ๕ มหารัถยาแห่งความศิวิไลซ์ : การปฏิรูปสู่ความเป็นสมัยใหม่


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 228


การศึกษาความเจริญที่เกดขึ ิ ้นในอดีตอาจมขีอจ้ ำกัดในเรองกาื่รยอ้นเวลา ไปไกล เพราะหากย ิ่ งย้อนไปมากเท่าใด เรื่องที่ไกลตัวนั้นอาจไม่ตรงกับความ เป็นจริงเสมอไป ขึ้นอยู่กับประมวลหลักฐานและข้อสมมติฐานที่ตั้งไว้เพื่อค้นหา อย่างไรก็ดีผู้คนในปัจจุบันไม่สามารถที่ดถูกดูแคลู นผู้คนในอดีตเลยไดแม้แ้ตน้ ่อย เพราะยงม ิ่ กาีรศึกษาประวัติศาสตร์โบราณคดไดี ไกลมากเ ้ท่าใด กลับยง ิ่ พบว่าผู้คน ในอดีตมีวิถีชีวิตที่มีความเจริญก้าวหน้าทั้งสิ้น เช่น อารยธรรมกรีก-โรมันเป็น ตัวอย่างอันดถึงหลักฐา ีนความเจริญในอดีต ทงั้ทางดา้นสิ่งก่อสร้าง สถาปตัยกรรม หรือแม้แต่ระบบแนวคิด ปรัชญาการมองชีวิต ที่แม้ปัจจุบันอาจจะยังนำมาใช้อยู่ ด้วยก็เป็นได้ บทส่งท้าย 229 บทส่งท้าย


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เฉพาะในพื้นที่ประเทศไทยในปัจจุบันนี้ การศึกษาประวัติศาสตร์โดยทวไั่ปมักจำกัดเพดานของ การศึกษาที่อาณาจักรสุโขทัย หรืออาจมีข้อมูลเล็กน้อยที่กล่าวถึงอาณาจักรเล็กที่ปรากฏในภูมิภาค อื่น ความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ประการหนึ่งคือการมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างกัน และกันว่าดินแดนหนึ่งนั้นสัมพันธ์กับดินแดนอื่นด้วยวิธีการใด และมีหลักฐานใด การมองในลักษณะ นี้จะเห็นความเคลื่อนไหว หรือ พลวัตของผู้คนที่ไม่ได้อยู่อย่างสังคมโดดเดี่ ยว แต่การพบปะผู้คนที่ หลากหลายนี้เองจะนำมาซึ่งวัฒนธรรม ความเชื่อ ที่หลากหลายไปพร้อมกันด้วย ซึ่งเนื้อหา ๕ บทใน หนังสือสยามรัถยาฯ ไดแ้สดงใหเห็ ้นชัดเจนแลว้นั้น ทงั้นี้ผู้อ่านหนังสือประวัติศาสตร์ “สยามรัถยาฯ” จะได้เห็นความเจริญของสยามประเทศผ่านเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ช่วงสำคัญต่าง ๆ ดังที่อาจสรุป ได้หลายประการ ดังนี้ ประการแรก ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันนี้มีความเก่าแก่มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อาจเปน็เพราะที่ตงั้ทางภมูศาิสตร์ และภมูอากาศิ ที่เอือ้ต่อการตงถั้ ิ่นฐานของผู้คน และนำมาซงความึ่ อุดมสมบูรณ์ของแห่งอาหาร อันเปนป็ ัจจัยสำคัญของการดำรงชวีิต จากหลักฐานโบราณวัตถุที่พบเปน็ จำนวนมาก ทั้งเศษภาชนะดินเผา เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องโลหะ เครื่องประดับ เสื้อผ้า ตลอดจน วัตถุอันเก ี่ ยวข้องกับพิธีกรรม ล้วนเป็นเครื่องยินยันถึงความมีตัวตนของผู้คนในดินแดนที่เก่าแก่ย้อน ไปได้หลายพันปี 230


ประการที่สอง ผู้คนในดินแดนสุวรรณภูมิมีความเจริญในด้านความคิดสร้างสรรค์และ เทคโนโลยเีปน็ อย่างยง ม ิ่ ีปัญญาในการแกไข้ ปัญหาที่เกดจากธิรรมชาติเพอให ื่กา้รดำรงชวีิตของ ตนมีความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายมากขึ้น เราอาจเรียกสิ่งเหล่านี้ได้ว่าเป็นภูมิปัญญาของบรรพ ชน เช่น การมีความรู้เรื่องไฟ ความร้อนเพื่อการเผาภาชนะดินเผา และขั้นสูงขึ้นคือการหลอม โลหะ การสร้างที่อยู่อาศัย การผสานความเชื่อทางธรรมชาติให้เข้ากับการดำรงชีวิต ประการที่สาม ความเจริญของดินแดนสุวรรณภูมิในช่วงก่อนประวัติศาสตร์มีขั้นตอน ที่ซับซ้อนมากขึ้น จากชุมชนกระจัดกระจายตามถ้ำ เข้ามาสู่ชุมชนที่รวมตัวกันตามหุบเขาหรือ ลำน้ำที่มีผู้นำ และเกิดการติดต่อกับชุมชนอื่นเพื่อการค้า การดำรงชีวิต และการขยายเผ่า พันธุ์ นักประวัติศาสตร์โบราณคดีพบว่าความเจริญในดินแดนสุวรรณภูมินี้ก็เทียบเท่ากับความ เจริญที่มีแอ่งอารยธรรมอื่นในโลก แต่อย่างไรก็ดี เมื่อพื้นที่ในดินแดนสุวรรณภูมิผ่านเข้าสู่สมัย ประวัติศาสตร์ จะพบว่าความเจริญกระจายไปตามดินแดนที่เปน็ศูนย์กลางของรัฐ นั้น ๆ เช่น ทวารวดี ศรีวิชัย ลังกาสุกะ ตามพรลิงค์ ล้านช้าง ล้านนา สุโขทัย อยุธยา ธนบุรีรัตนโกสินทร์ บทส่งท้าย 231


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ประการที่สี่ การเห็นความเจริญที่เกิดขึ้นในพื้นที่ในรูปแบบต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นบทบาทของผู้นำหรือ กษัตริย์ที่เปน็เส้นเชือมโยง่ผู้คน และเปนพ็ ื้นฐานของความเจริญที่เกดขึ ิ ้น เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์ซงใชึ่แ้นวคดิ ของสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติผสานกับแนวคิดทางศาสนาเป็นผู้ประสานผลประโยชน์ของคนกลุ่มต่าง ๆ ให้สัมพันธ์ กัน สร้างความเสมอภาค และทำให้ชีวิตของผู้คนอยู่ดีกินดีมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่บ้านเมืองพัฒนาเข้าสู่ รูปแบบของเมืองที่มโคีรงสร้างทางสังคมที่ชัดเจน มีพื้นที่ทางกายภาพในรูปแบบตะวันตก คือมขอบเขีตของดินแดน มีแนวคิดของความเป็นชาติหรือรัฐเดียวกัน ดังเช่นสมัยรัตนโกสินทร์ การเห็นความเจริญที่เกิดขึ้นนับแต่อดีตจนถึงสมัยก่อนพุทธศักราช ๒๔๗๕ นี้ ในมุมมองประวัติศาสตร์ อาจต้องทำความเข้าใจกับเหตุการณ์ และผู้คน ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละ พื้นที่ไม่อาจแยกศึกษาอย่างโดดเดี่ยวได้ เพราะผู้คนมีความเคลื่อนไหวและมีพลวัตอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ยัง ต้องคำนึงถึงแนวคิดเบื้องหลังของผู้คนที่ส่งผลต่อการตัดสินใจไปพร้อมกันด้วย เส้นทางระหว่างบรรทัดของความ เจริญของสยามรัถยาอาจเป็นร่องรอยหนึ่งที่คนไทยควรภาคภูมิใจ และตระหนักถึงบทบาทของผู้นำในอดีตที่สร้าง ความเจริญให้ลูกหลานที่ไม่รู้จักในอนาคต 232


บทส่งท้าย 233


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 234


235 บรรณานุกรม ก.ศ.ร. กุุหลาบ. อภิินิิหารบรรพบุุรุุษและปฐมวงศ์์. บรรณาธิิการ สุจิุิตต์์ วงษ์์เทศ. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๕. กฎหมาย สำำนัักงานเลขาธิิการวุุฒิิสภา, สำำนััก. ข้้อมููลกฎหมายประเภทประกาศหรืือคำำสั่่�งของคณะปฏิิวััติิ คณะปฏิิรููป หรืืออื่่�น ๆ ที่ ่� เกี่่�ยวข้้อง. กรุุงเทพฯ: สำำนัักการพิิมพ์์สำำนัักงานเลขาธิิการวุุฒิิสภา, ๒๕๕๕. กฎหมายตราสามดวง ฉบัับราชบััณฑิิตยสถาน. กรุุงเทพฯ : ราชบััณฑิิตยสถาน, ๒๕๕๐. กัันทิิมา วััฒนะประเสริิฐ. “ไทย – จีีน: ความสััมพัันธ์์ทางด้้านภาษา,” ศิิลปวััฒนธรรมไทย – จีีนศึึกษา. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร, บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ : มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๓๕. กีี ตาชาร์์ด. จดหมายเหตุุการเดิินทางสู่่�ประเทศสยามของบาทหลวงตาชาร์์ด. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๖, แปลโดย สัันต์์ ท.โกมลบุุตร. กรุุงเทพฯ : บรรณกิิจ, ๒๕๒๙. กุุลลดา เกษบุุญชูู มี้้�ด, ระบบสมบููรณาญาสิิทธิิราชย์์ : วิิวััฒนาการรััฐไทย. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๑. กรุุงเทพฯ: ฟ้้าเดีียวกััน, ๒๕๖๒. กุุลวดีี สมััครไทย, ดารารััตน์์ เมตตาริิกานนท์์ และ เวีียงคำำ ชวนอุุดม. พััฒนาการทางวััฒนธรรมของชุุมชนสมััยโบราณในพื้้�นที่่�ระหว่่าง ลุ่่มแม่่น้ำ ำ� เลยถึึงห้้วยโมงช่่วงก่่อนคริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๔ จากหลัักฐานทาง โบราณคดีี.” วารสารไทยคดีีศึึกษา ๑๘, ๒ (กรกฎาคมธัันวาคม ๒๕๖๔) : ๘๑-๑๑๓. เกีียรติศัิักดิ์์� วงศ์มุ์ุกดา. สภาพการค้้าของไทยระหว่่าง พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๘ .กรุุงเทพฯ : บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ, ๒๕๒๓. คณะทำำงานเฉพาะกิิจการจััดทำำหนัังสืือประวัติัิศาสตร์รั์ัตนโกสิินทร์์ เล่่ม ๑-๓. ประวััติิศาสตร์รััตน ์ โกสินิทร์์ เล่่ม ๒ รััชกาลที่่� ๔-พ.ศ. ๒๔๗๕. กรุุงเทพฯ : อมริินทร์์การพิิมพ์์, ๒๕๒๕. คริิส เบเกอร์์ และ ผาสุุก พงษ์์ไพจิิตร, ประวััติิศาสตร์์ไทยร่่วมสมััย, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๖. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๖๐. ความสััมพัันธ์์ระหว่่างไทยกัับสหรััฐอเมริิกา พ.ศ. ๒๓๗๖-พ.ศ. ๒๔๙๓. กรุุงเทพฯ : แพร่่พิิทยา, ๒๕๑๙. ความสััมพัันธ์์ระหว่่างประเทศสยามกัับต่่างประเทศในสมััยอยุุธยา. แปลโดย นัันทนา ตัันติิเวสส. กรุุงเทพฯ : กรมศิิลปากร, ๒๕๒๗. คาร์์ล บ็็อค. ท้้องถิ่่�นสยามยุุคพระพุุทธเจ้้าหลวง เสถีียร พัันธรัังษีีและอััมพร ทีีขะระ เรีียบเรีียงจาก Temples and Elephants พิิมพ์์ครั้้�ง ที่่� ๕ กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๕๐. คำำ ให้้การชาวกรุุงเก่่า. นนทบุุรีี : มหาวิิทยาลััยสุุโขทััยธรรมาธิิราช, ๒๕๔๙. คู่่มื� ือการจััดกิจิกรรมการเรีียนการสอนประวััติิศาสตร์์ประวััติิศาสตร์์ไทย: จะเรีียนจะสอนกัันอย่่างไร. กรุุงเทพฯ : กรมวิิชาการ กระทรวง ศึึกษาธิิการ, ๒๕๔๓. จดหมายหลวงอุุดมสมบััติิพร้้อมด้้วยคำำอธิิบายของสมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาดำำรงราชานุุภาพ. ม.ป.ท., ๒๕๐๕. พระเจ้้าวรวงศ์์เธอ พระองค์์เจ้้าเฉลิิมพลทิิฆััมพรโปรดให้้พิิมพ์์ในงาน พระราชทานเพลิิงศพพระรััตนธััชมุนีุีรััชมุุนีี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๐๕. จดหมายเหตุุความทรงจำำกรมหลวงนรินิทรเทวีี. กรุุงเทพฯ : คุุรุุสภา, ๒๕๑๖. จอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว, พระบาทสมเด็็จพระ. พระราชหััตถเลขาสมเด็จ็พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว เล่่ม ๓. พระนคร: คุุรุุสภา, ๒๕๐๖. จอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว, พระบาทสมเด็็จพระ. พระราชหััตถเลขาสมเด็จ็พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว เล่่ม ๑. มปท: มปพ., ๒๕๐๖. จอห์์น ครอว์์ฟอร์์ด. เอกสารของครอว์์ฟอร์์ด. แปลโดย ไพโรจน์์ เกษแม่่นกิิจ. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๑๕. จารึึกสมััยสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๒๗. จิิระนัันท์์ พิิตรปรีีชา. ลููกผู้้ชายชื่่�อนายหลุุยส์์. กรุุงเทพฯ: สยามบัันทึึก, ๒๕๕๒.


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 236 จุพิุิศพงศ์์ จุุฬารััตน์์,“ศึึกพระสงฆ์์ในสยามประเทศ สัังฆเภทของคณะสงฆ์ลั์ ังกาวงศ์์ (พ.ศ.๑๙๖๗-๒๐๖๐),” ศิิลปวััฒนธรรม ๒๐,๗ (พฤษภาคม ๒๕๔๒) : ๖๒ – ๗๑. จุุมพฏ ชวลิิตานนท์์. การค้้าส่่งออกของอยุุธยาระหว่่าง พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๓๑๐. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวัติัิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๓๐. ชลดา โกพััฒดา. ทาสกัับการเปลี่่�ยนแปลงทางเศรษฐกิิจและสัังคมสมััยรััตนโกสิินทร์์ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๔๔๘, วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญา อัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๓๒. ชััย เรืืองศิิลป์์. ประวััติิศาสตร์์ไทยสมััย พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๔๕๓ ด้้านเศรษฐกิจิ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: ไทยวััฒนาพานิิช, ๒๕๒๗. ชััวซีีย์์ เดอ. จดหมายเหตุุรายวัันการเดิินทางสู่่�ประเทศสยามในปีี ค.ศ. ๑๖๗๕ และ ๑๖๘๘. แปลโดย สัันต์์ ท. โกมลบุุตร. พระนคร: ก้้าวหน้้า, ๒๕๑๖. ชาญวิิทย์์ เกษตรศิริิ และ กััณฐิิกา ศรีอุีุดม, พระเจ้้ากรุุงสยามกัับเซอร์์จอห์์น เบาว์์ริ่่�ง. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโตโยต้้าประเทศไทย และมููลนิิธิิ โครงการตำำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๔๘. ชาร์์ลส ไฮแอม และ รััชนีี ทศรััตน์์. สยามดึึกดำำบรรพ์์ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์ถึ์ ึงสมััยสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊�คส์์จำำกััด, ๒๕๔๒. ชููสิิริิ จามรมานและวิิบููลย์์ ลี้้�สุุวรรณ. อิิทธิิพลจีีนที่่�มีีต่่อศิิลปกรรมไทยสมััยอยุุธยาตอนต้้น. กรุุงเทพฯ: คุุรุุสภา, ๒๕๒๐. ณััฐวุุฒิิ สุุทธิิสงคราม. สมเด็็จพระยาบรมมหาศรีีสุุริิยวงศ์์. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: แพร่พิ่ ิทยา, ๒๕๑๖. ดำำรงราชานุุภาพ, สมเด็็จฯ กรมพระยา. ตำำนานพระพุุทธเจดีีย์์. กรุุงเทพฯ: คุุรุุสภา. ๒๕๑๘. ดำำรงราชานุุภาพ, สมเด็็จฯ กรมพระยา. เทศาภิิบาล. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๕. ดำำรงราชานุุภาพ, สมเด็็จฯ กรมพระยา. นิิทานโบราณคดีี. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๐๕. ดำำรงราชานุุภาพ, สมเด็็จฯ กรมพระยา. พระราชพงษาวดารกรุุงรััตนโกสิินทร์์ รััชกาลที่่� ๒. พระนคร: หอพระสมุุดวชิิรญาณ, ๒๔๕๙. ดิิเรก กุุลสิิริิสวััสดิ์์�. ความสััมพัันธ์์ของมุุสลิิมทางประวััติิศาสตร์์และวรรณคดีีไทย. กรุุงเทพฯ: สมาคมภาษา และหนัังสืือแห่่งประเทศไทย, ๒๕๑๗. ดิิเรก กุุลสิิริิสวััสดิ์์�. ฉบัับย่่อสำำเภากษััตริิย์์สุุลััยมาน. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโครงการตำำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๒๗. เดเนีียล แมคกิิลวารีี. กึ่่�งศตวรรษในหมู่่�คนไทยและคนลาว. จิิตราภรณ์์ ตัันรััตนกุุล แปล กรุุงเทพฯ: สยามประเทศ, ๒๕๓๗. เดวิิด เค. วััยอาจ. ประวััติิศาสตร์์ไทย ฉบัับสัังเขป. กรุุงเทพฯ : มููลนิิธิิโครงการตำำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๕๖. ตรึึงใจ บููรณสมภพและคนอื่่�นๆ, รายงานการวิิจััยการศึึกษาสถาปัตัยกรรมตะวัันตกที่ ่�มีีอิิทธิิพลต่่อสถาปัตัยกรรมไทยในแผ่่นดิินสมเด็็จ พระนารายณ์์มหาราช จัังหวััดลพบุุรีีตอนที่่� ๑. ม.ป.ท., ม.ป.ป. ตุุรแปง. ประวััติิศาสตร์์แห่่งพระราชอาณาจัักรสยาม. แปลโดย ปอล ซาเวีียร์์. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๓๐. เตช บุุนนาค. การปกครองระบบเทศาภิิบาลของประเทศสยาม พ.ศ.๒๔๓๕-๒๔๕๘. กรุุงเทพฯ: ธรรมศาสตร์์, ๒๕๓๒. ทิิพากรวงศ์์, เจ้้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุุงรััตนโกสิินทร์์ รััชกาลที่่� ๓. พระนคร: คุุรุุสภา, ๒๕๐๔. ทิิพากรวงศ์์, เจ้้าพระยา.. แสดงกิจจิานุกิุจิ. พิิมพ์์เป็็นของชำร่ำ ่วยในงานทอดกฐิินสามััคคีี ณ วััดเกตุุการาม อำำเภอเมืือง จัังหวััดเชีียงใหม่่, ๒๕๑๓. ธนิิต อยู่่โพธิ์์�. “การละเล่่นสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา,” วารสารศิิลปากร ๑๑, ๓ (กัันยายน ๒๕๑๐) : ๓๒ - ๖๔. ธิิดา สาระยา. ประวััติิศาสตร์์อารยธรรมไทย. กรุุงเทพฯ: อมริินทร์์พริ้้�นติ้้�ง, ๒๕๔๘. ธิิดา สาระยา. พระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้า-เจ้้าแผ่่นดิินสยาม. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๖๑. ธิิดา สาระยา. รััฐโบราณในภาคพื้้�นเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ : กำำ เนิิดและพััฒนาการ. กรุุงเทพฯ: เมืือง โบราณ, ๒๕๓๗.


237 ธิิดา สาระยา. ราษฎรในครรลองแห่่งความเจริิญของสยาม.กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๔๐. ธิิดา สาระยา. อาณาจัักรเจนละ : ประวััติิศาสตร์์อีีสานโบราณ. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๐. ธีีรวััต ณ ป้้อมเพชร. “อลัังคปููนีี: บทบาทนายกำำปั่่�นอัังกฤษช่่วงอวสานอยุุธยา”. ย้้อนรอยคำำ ให้้การคน กรุุงเก่่า: ฟื้้� น สร้้าง ลิิขิิตอดีีต อยุุธยา. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๕๙. นงเยาว์์ กาญจนจารีี. ดารารััศมีี พระประวััติิพระราชชายา เจ้้าดารารััศมีี. กรุุงเทพฯ: ทรีดีีการพิิมพ์์. ๒๕๓๓ นฤมล ธีีรวัฒน์ั ์. พระราชดํําริิทางการเมืืองของพระบาทสมเด็จ็พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หัั�ว.วิิทยานิิพนธ์อั์ ักษรศาสตรมหาบััณฑิิต, จุุฬาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๕. นัันทา สุุตกุุล, ผู้้แปล. เอกสารฮอลัันดาสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา พ.ศ. ๒๑๕๑ - ๒๑๖๓ และพ.ศ. ๒๑๖๗ – ๒๑๘๕ (ค.ศ. ๑๖๐๘ – ๑๖๒๐ และค.ศ. ๑๖๒๔ – ๑๖๔๒). พระนคร: กรมศิิลปากร, ๒๕๑๓. นิิโกลาส์์ แชรแวส. ประวััติิศาสตร์์ธรรมชาติิและการเมืืองแห่่งราชอาณาจัักรสยาม. แปลโดย สัันต์์ ท. โกมลบุุตร. พระนคร: ก้้าวหน้้า, ๒๕๐๖. นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. การเมืืองไทยสมััยพระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๓๙. นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. (บรรณาธิิการ). พระราชพงศาวดารกรุุงรััตนโกสิินทร์์ รััชกาลที่่� ๑ ฉบัับเจ้้าพระยาทิิพากรวงศ์์. กรุุงเทพฯ: อมริินทร์์การพิิมพ์์, ๒๕๓๙. นิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์. ปากไ ์ ก่่และใบเรืือ ว่่าด้้วยการศึึกษาประวััติิศาสตร์์-วรรณกรรมต้นรััตน ้ โกสินิทร์์. กรุุงเทพฯ : อมริินทร์์การพิิมพ์์, ๒๕๒๗. บรรจบ พัันธุุเมธา. ภาษาต่่างประเทศในประเทศไทย. กรุุงเทพฯ: โรงพิิมพ์์มหาวิิทยาลััยรามคำำแหง, ๒๕๒๐. บริิบาลบุุรีีภััณฑ์์, หลวง. พระพุุทธรููปสมััยต่่างๆ ในประเทศไทย. พระนคร: ม.ป.ท., พิิมพ์์ในงานศพนายดาบตำำรวจทองอยู่่ แจ่่มทวีี กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๑๔. บุุญยก ตามไท. “คดีขี้้�เมา” หรืือ “คดีีการเมืือง” เหตุุเกิิดเมื่่�อชาวดััตช์์ไปปิิกนิิคในกรุุงศรีีอยุุธยา เมื่่�อ พ.ศ. ๒๑๗๙,” ศิิลปวััฒนธรรม ๖, ๑๐ (สิิงหาคม ๒๕๒๘) : ๕๐ – ๖๑. บุุญวรรณีี วิิริิยะชััยวงศ์์. “กระบวนการสร้้างบ้้านแปลงเมืืองในแอ่่งเชีียงใหม่่ – ลำำพููน สมััยราชวงศ์์มัังราย พ.ศ. ๑๘๐๐ – ๒๐๓๐.” วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวัติัิศาสตร์์วิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่, ๒๕๓๙. บุุณยฤทธิ์์� ฉายสุุวรรณ. ลููกปััดโบราณภาคใต้้ : ฝั่่�งทะเลอัันดามััน. กรุุงเทพฯ: สถาบัันพิพิิธภััณฑ์์การเรีียนรู้้แห่่งชาติิ, ๒๕๕๘. ประชากิิจกรจัักร์์ (แช่่ม บุุนนาค). พระยา. พงศาวดารโยนก. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๗. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร. ๒๕๕๗. ประชุุมจารึึกภาคที่่� ๘ จารึึกสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, คณะกรรมการอำำนวยการจััดงานเฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จ พระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว จััดพิิมพ์์เป็็นที่่�ระลึึกในโอกาสที่่วั�ันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปีี วัันที่่� ๑๘ ตุุลาคม พุุทธศัักราช ๒๕๔๗. ประชุุมประกาศรััชกาลที่่� ๔. พระนคร : พิิมพ์์ในงานพระราชทานเพลิิงศพพระมหาโพธิิวงศาจารย์์, ๒๕๑๑. ประชุุมพงศาวดาร ภาคที่่� ๓๔ เรื่่�องจดหมายเหตุุคณะบาทหลวงฝรั่่�งเศส ซึ่่�งเข้้ามาตั้้�งแต่่ครั้้�งรััชกาลสมเด็็จพระนารายณ์์มหาราช. พระนคร: คุุรุุสภา, ๒๕๑๐. ประชุุมพงศาวดาร ภาคที่่� ๔๐ (ต่่อ) เรื่่�องจดหมายเหตุุคณะพ่่อค้้าฝรั่่�งเศส ซึ่่�งเข้้ามาตั้้�งแต่่ครั้้�งกรุุงศรีีอยุุธยา ตอนแผ่่นดิินสมเด็็จ พระนารายณ์์มหาราช ภาคที่่� ๑ (ต่่อ). พระนคร: คุุรุุสภา, ๒๕๑๗. ประชุุมพงศาวดาร เล่่ม ๕๐ ภาคที่่� ๘๐ จดหมายเหตุุฟอร์์บััง. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: คุุรุุสภา, ๒๕๒๗. ประชุุมพงศาวดารฉบัับกาญจนาภิิเษก เล่่ม ๑. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๒. ประชุุมพงศาวดารฉบัับกาญจนาภิิเษก เล่่ม ๑๑. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๕๑.


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 238 ประชุุมพงศาวดารฉบัับกาญจนาภิิเษก เล่่ม ๓. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๒. ประชุุมพงศาวดารภาคที่่� ๖๒. กรุุงเทพฯ : คุุรุุสภา, ๒๕๑๒. ประชุุมพงศาวดารภาคที่่� ๘๒ เรื่่�องพระราชพงศาวดารกรุุงสยามจากต้น้ฉบัับของบริิติิชมิิวเซีียมกรุุง ลอนดอน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๓๗. ประชุุมพงศาวดารเล่่มที่่� ๑๔ (ประชุุมพงศาวดารภาคที่่� ๒๒-๒๕). พระนคร: คุุรุุสภา, ๒๕๐๗ ประพฤทธิ์์� ศุุกลรััตนเมธีี และวินัิัย พงศ์์ศรีีเพีียร. “เจิินหลี่่ฟู่่� � : รััฐปริิศนาในดิินแดนไทยก่่อนสมััยสุุโขทััย,” ความยอกย้้อนของประวััติิศาสตร์, ์ วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร, บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ: คณะกรรมการ ชำำ ระประวััติิศาสตร์์ไทย, ๒๕๓๙. ประยููร อุุลุุชาฎะ [น. ณ ปากน้ำ ำ�]. ฝรั่่�งในศิิลปะไทย. กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๒๙. ประเสริิฐ ณ นครและปวงคำำ ตุ้้ยเขีียว, ตำำนานมููลศาสนาเชีียงใหม่่และเชีียงตุุง. กรุุงเทพฯ: สมาคมประวัติัิศาสตร์์ฯ, ๒๕๓๗. ปราณีี วงศ์์เทศ. สัังคมและวััฒนธรรมในอุุษาคเนย์์. กรุุงเทพฯ: ศิิลปวััฒนธรรม, ๒๕๓๙. ปาลเลอกััวซ์์, สัังฆราช. เล่่าเรื่่�องเมืืองไทย. สัันต์์ ท. โกมลบุุตร (แปล). พระนคร : ก้้าวหน้้า, ๒๕๐๖. ปิิยนาถ นิิโครธา. “บทบาทของเสนาบดีีแห่่งตระกููลบุุนนาคในการปกครองประเทศสยามตั้้�งแต่่รััชกาลที่่� ๑ ถึึงต้้น รััชกาลที่่� ๕ แห่่งกรุุงรััตนโกสิินทร์์ (พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๔๑๖),” วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต แผนกวิิชาภููมิิศาสตร์์และประวััติิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๑๔. พจนานุุกรมฉบัับราชบััณฑิิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุุงเทพฯ: นานมีีบุ๊๊�คส์์, ๒๕๔๖. พจนานุุกรมศััพท์์วรรณคดีีไทยสมััยอยุุธยา โคลงยวนพ่่าย. กรุุงเทพฯ: ราชบััณฑิิตยสถาน, ๒๕๔๔. พรรณีี บััวเล็็ก. สยามในกระแสธารแห่่งการเปลี่่�ยนแปลง ประวััติิศาสตร์์ไทยตั้้�งแต่่สมััยรััชกาลที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: พัันธกิิจ, ๒๕๔๗. พระพุุทธพุุกามและพระพุุทธญาณ. ตำนำานมููลศาสนา. กรุุงเทพฯ : พระจัันทร์์, ๒๕๑๙. พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่หััวทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้พิ้ ิมพ์์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิิงศพหม่่อมหลวงเดช สนิิทวงศ์์ ๑๗ ธัันวาคม ๒๕๑๘. พระราชพงศาวดาร กรุุงธนบุุรีี แผ่่นดิินสมเด็จ็พระบรมราชาที่่� ๔. พระนคร: กองวิิชาการ กระทรวงธรรมการ, ๒๔๗๙. พระราชพงศาวดารกรุุงสยามจากต้น้ฉบัับที่่�เป็นส็มบััติิของบริิติิชมิิวเซีียม กรุุงลอนดอน. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๓๗. พระราชพงศาวดารฉบัับพระราชหััตถเลขา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๗. กรุุงเทพฯ: คลัังวิิทยา, ๒๕๑๖. พิภูิู บุษุบก และศุุภการ สิริิไพศาล. “ความสััมพัันธ์์ทางการค้้าระหว่่างจีีนกัับเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้สมััย ราชวงศ์ฉิ์ ินถึึงราชวงศ์์หยวน (๒๒๑ ปีีก่่อน ค.ศ. – ค.ศ. ๑๓๖๘).” วารสารมหาวิิทยาลััยศิิลปากร ๔๐,๓ (พฤษภาคม-มิิถุุนายน ๒๕๖๓) : ๖๒ – ๗๔. พิิเศษ เจีียจัันทร์์พงษ์์. ศาสนาและการเมืืองในประวััติิศาสตร์์สุุโขทััย-อยุุธยา. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๕. พิิษณุุ จัันทร์์วิิทััน. ล้้านนาไทยในแผ่่นดิินพระพุุทธเจ้้าหลวง. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. กรุุงเทพฯ: สายธาร, ๒๕๔๖. ไพโรจน์์ เกษแม่่นกิิจ, ผู้้แปล. บัันทึึกเรื่่�องสััมพัันธไมตรีีระหว่่างประเทศไทยกัับนานาประเทศใน คริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๗. เล่่ม ๒. พระนคร: กรมศิิลปากร, ๒๕๑๓. เฟลตััส, ยอร์์จ ฮอวส์์. หมอเฮ้้าส์์ในรััชกาลที่่� ๔ แปลจาก Samuel Reynolds House of Siam. พระนคร : กองคริิสเตีียนศึึกษา สภาคริิสตจัักรแห่่งประเทศไทย, ๒๕๐๔. โฟลเกอร์์ กราบาวสกี้้�. “ล้้านนา สิิบสองพัันนาและรััฐฉานในสายตาชาวตะวัันตก: จดหมายเหตุุ W.C. McLeod และ Dr. Richardson เกี่่�ยวกัับ การเดิินทางเมื่่�อปีี ๑๘๓๖ / ๓๗,” ประวััติิศาสตร์์ปริิทรรศน์. ์พิพิธนิิพนธ์์เชิิดชููเกีียรติิ พลโท ดำำเนิิร เลขะกุุล เนื่่�องในโอกาสมีีอายุุครบ ๗ รอบ พ.ศ. ๒๕๔๒. วินัิัย พงศ์์ศรีีเพีียร บรรณาธิิการ กรุุงเทพฯ: กองทุุน ดำำเนิิร เลขะกุุล เพื่่�อประวัติัิศาสตร์์, ๒๕๔๒. ภมรีี สุุรเกีียรติิ. เมีียนมาร์์ – สยามยุุทธ์์. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๕๓.


239 มนััสวีี อุุณหนัันท์์. ประวััติิการแพทย์์มิิชชัันนารีีในประเทศไทย. พระนคร: ไทยเกษม, ๒๕๐๕. มยุรีุี วีีระประเสริิฐ. “การเผยแพร่่อารยธรรมเขมรโบราณและหลัักฐานโบราณคดีีสมััยลพบุรีุี” โบราณคดีี และประวััติิศาสตร์์ในประเทศไทย. กรุุงเทพฯ: ภาควิิชาโบราณคดีี คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๕. มานพ ถนอมศรีี. ท้้าวทองกีีบม้้า. กรุุงเทพฯ: ต้้นอ้้อ แกรมมี่่�, ๒๕๓๙. ยงยุุทธ ชููแว่่น บรรณาธิิการ. คาบสมุุทรไทยในราชอาณาจัักรสยาม : ประวััติิศาสตร์์ตััวตนของภาคใต้้สมััยอยุุธยาถึึงต้้นรััตนโกสินิทร์์. ปทุุมธานีี: นาคร, ๒๕๕๐. ยงยุุทธ ชููแว่่น. ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ก่่อนสมััยใหม่่. นครปฐม: มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๙. ยงยุุทธ ชููแว่่น. รััฐปััตตานีีในประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้สมััยจารีีต คริิสต์์ศตวรรษที่่� ๑๖-๑๘. นครปฐม: โครงการศึึกษา ประวััติิศาสตร์์ภาคใต้้ ภาควิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะอัักษรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๙. ยุุพิิน เข็็มมุุกด์์. “สถาบัันสงฆ์์กัับการเมืืองและสัังคมล้้านนา.” วิิทยานิิพนธ์อั์ ักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวััน ออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๓๑. เยาวภา ลีีละบุุตร. “อิิทธิิพลสถาปัตัยกรรมตะวัันตกระหว่่าง พ.ศ. ๒๑๕๐ – ๒๒๕๐ (ค.ศ. ๑๖๐๗ – ๑๗๐๗).” วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญา มหาบััณฑิิต สาขาวิิชาโบราณคดีีสมััยประวัติัิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๓๓. รวมบัันทึึกประวััติิศาสตร์์อยุุธยาของ ฟาน ฟลีีต [วััน วลิิต]. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๖. รััตนปััญญาเถระ. ชิินกาลมาลีีปกรณ์์. แสง มนวิิทููร. ผู้้แปล. พิิมพ์์เป็็นอนุุสรณ์์แด่่นายกีี นิิมมานเหมิินทร์์ เนื่่�องในวัันเปิิดตึึกคนไข้้พิิเศษ “นิิมมานเหมิินทร์์-ชุติุิมา” โรงพยาบาลนครเชีียงใหม่่ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐. กรุุงเทพฯ: นุกูุ ูลกิิจ ๒๕๑๐. ราชกิิจจานุุเบกษา เล่่มที่่� ๑ นำำเบอร์์ ๑๐๒ วัันอาทิิตย เดืือน ๘๘ (แปดหลััง) แรม ๕ ค่ำ ำ� ปีีจอศก ๑๒๓๖ แผ่่นที่่� ๑๒. รุ่่งโรจน์์ ธรรมรุ่่งเรืือง. ทวารวดีีในอีีสาน. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๕๘. รุ่่งโรจน์์ ภิิรมย์์อนุุกููล. “อิิทธิิพลและความสำคัำ ัญของคััมภััร์์มหาวงศ์์ในประเทศไทยโดยสัังเขป.” ดำำรงวิิชาการ รวมบทความทางวิิชาการ คณะโบราณคดีี ๒๕๔๕. กรุุงเทพฯ: คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๕. ละออทอง อััมริินทร์์รััตน์์. การส่่งนัักเรีียนไทยไปศึึกษาต่่อต่่างประเทศตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๗๔. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต ภาค วิิชาประวััติิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย, ๒๕๒๒. ลััดดาวััลย์์ แซ่่เซีียว. ๒๐๐ ปีี พม่่าในล้้านนา. กรุุงเทพฯ: สำำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย, ๒๕๔๕. ลา ลููแบร์์. จดหมายเหตุุลา ลููแบร์์ฉบัับสมบููรณ์์. แปลโดย สัันต์์ ท.โกมลบุุตร. พระนคร: ก้้าวหน้้า, ๒๕๑๐. วงศ์สั์ ักก์์ ณ เชีียงใหม่่, บรรณาธิิการ. เจ้้าหลวงเชีียงใหม่่. กรุุงเทพฯ: อมริินทร์์พริ้้�นติ้้�ง, ๒๕๓๙. วรรณวิิภา สุุเนต์์ตา. ชััยวรมัันที่่� ๗ มหาราชองค์์สุุดท้้ายของอาณาจัักรกััมพููชา ผู้้เนรมิิตสถาปนาปราสาทบายนและเมืืองนครธม. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๘. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร, บรรณาธิิการ. กฎมณเทีียรบาล ฉบัับเฉลิิมพระเกีียรติิ. กรุุงเทพฯ: โครงการวิิจััยเมธีีวิิจััย อาวุุโส สกว. “กฎหมายตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก”, ๒๕๔๘. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร, บรรณาธิิการ. ปาไป่่สีีฟู่่ – ปาไป่่ต้้าเตี้้�ยน เชีียงใหม่่ในเอกสารประวััติิศาสตร์์จีีนโบราณ. กรุุงเทพฯ: คณะกรรมการ สืืบค้้นประวััติิศาสตร์์ไทยในเอกสารภาษาจีีน สำนัำ ักเลขาธิิการนายกรััฐมนตรีี, ๒๕๓๙. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร. หมิิงสืือลู่่�-ชิิงสืือลู่่� บัันทึึกเรื่่�องจริิงแห่่งราชวงศ์์หมิิงและราชวงศ์์ชิิงฯ. กรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิสมเด็็จพระเทพรััตนราช สุุดาฯ, ๒๕๕๙.


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 240 วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร. “การพระศาสนากัับการจััดระเบีียบสัังคมไทยตั้้�งแต่่รััชกาลพระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลกมหาราชถึึงรััชกาล พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หััว.” ใน วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร และวีีรวััลย์์ งามสัันติิกุุล, บรรณาธิิการ. พระพุุทธศาสนาและ สถาบัันสงฆ์์กัับสัังคมไทย. กรุุงเทพฯ: สำำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.), ๒๕๔๙. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร. “ไทยในสายตาอาคัันตุุกะจากจีีนสมััยอโยธยาตอนต้้น (ค.ศ. ๑๓๔๖-ประมาณ ๑๔๓๐),” อาจารยบููชา, วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร, บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ: ศัักดิิโสภา, ๒๕๕๒. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร. บรรณาธิิการ. ประชุุมศิิลาจารึึกภาคที่่� ๗ ประมวลจารึึกที่่�พบในประเทศไทยและต่่างประเทศ. กรุุงเทพฯ: คณะกรรมการชำำ ระประวััติิศาสตร์์ไทยฯ, สำำนัักเลขาธิิการนายกรััฐมนตรีี, ๒๕๓๔. วิิภััส เลิิศรััตนรัังษีี. “รััฐกัับความเร็็ว: การคมนาคมในสมััยสมบููรณาญาสิิทธิิราชย์์”. ศิิลปวััฒนธรรม. ปีีที่่� ๓๗ ฉบัับที่่� ๑๐ (สิิงหาคม ๒๕๕๙) หน้้า ๑๒๘ - ๑๔๕ วิิมลพรรณ ปีีติิธวััชชััย. สมเด็็จพระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์์วโรปการ. กรุุงเทพฯ: กรุุงเทพฯ (๑๙๘๔) จำำกััด, ๒๕๔๗. วิิไลเลขา ถาวรธนสาร. ชนชั้้�นนำำกัับการรัับวััฒนธรรมตะวัันตก. กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๔๕. วิิสุุทธ์์ บุุษยกุุล, ๒๕๕๔. “เตภูมิูิกถา.” วิิสุุทธอัักษร. กรุุงเทพฯ: อััมริินทร์์พริ้้�นติ้้�งแอนพลัับลิิชชิ่่�ง. พิิมพ์์พระราชทานในงานพระราชทาน เพลิิงศพศาสตราจารย์์วิิสุุทธ์์ บุุษยกุุล เมื่่�อวัันที่่� ๒๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๔ ณ เมรุุหลวงหน้้าพลัับพลาอิิสริิยาภรณ์์. วีีระเทพ ศรีีมงคล. “การจััดเก็็บภาษีีอากรในล้้านนา พ.ศ.๒๔๒๗ – ๒๔๔๕.” วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญามหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวัติัิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๓๐. ศรีศัีักร วััลลิิโภดม. ประวััติิศาสตร์์โบราณคดีีของล้้านนาประเทศ. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๕. ศรีศัีักร วััลลิิโภดม. พััฒนาการทางสัังคม-วััฒนธรรมไทย. กรุุงเทพฯ: เมืืองโบราณ, ๒๕๕๔. ศรีศัีักร วััลลิิโภดม. สร้้างบ้้านแปงเมืือง. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๖๐. ศรีศัีักร วััลลิิโภดม. เหล็็ก โลหปฏิิวััติิ เมื่่�อ ๒,๕๐๐ ปีีมาแล้้ว : ยุุคเหล็็กในประเทศไทย : พััฒนาการทางเทคโนโลยีีและสัังคม. กรุุงเทพฯ: มติิชน, ๒๕๔๘. ศิิลปากร, กรม. บทละครครั้้�งกรุุงเก่่าเรื่่�อนางมโนห์์ราและสัังข์์ทองฉบัับหอสมุุดแห่่งชาติิ, พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. พระนคร: คลัังวิิทยา, ๒๕๐๘. ศิิลปากร, กรม. คนแรกเริ่่�มบนแผ่่นดินิเรา. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๕๙. ศิิลปากร, กรม. เรื่่�องกฎหมายตราสามดวง. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๒๑. ศิิลปากร, กรม. ศิิลปะทวารวดีี : ต้้นกำำ เนิิดพุุทธศิิลป์์ในประเทศไทย. กรุุงเทพฯ: อััมริินทร์์พริ้้�นติ้้�งแอนด์์พัับลิิชชิ่่�ง. ๒๕๕๒. สงวน โชติิสุุขรััตน์์. ประชุุมตำำนานล้้านนาไทย. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: ศรีีปััญญา.๒๕๕๕ สมจััย อนุุมานราชธน. การทููตของไทยสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๒. กรุุงเทพฯ: พระจัันทร์์, ๒๕๐๙. สมชาย ณ นครพนม และ พััชริินทร์์ ศุุขประมููล, บรรณาธิิการ. จากบ้้านสู่่�เมืือง: รััฐแรกเริ่่�มบนแผ่่นดินิไทย. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร กระทรวงวััฒนธรรม, ๒๕๖๑. สมมตอมรพัันธุ์์, พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมพระ. เรื่่�องตั้้�งเจ้้าพระยาในกรุุงรััตนโกสิินทร์. ์พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๕. สมศรีี เอี่่�ยมธรรม และคนอื่่�น ๆ. อภิิธานศััพท์์คำำ ไทยที่ ่�มีีต้้นเค้้ามาจากภาษาต่่างประเทศ. กรุุงเทพฯ: กรมศิิลปากร, ๒๕๔๐. สรััสวดีี ประยููรเสถีียร. “การปกครองแบบมณฑลเทศาภิิบาล : มณฑลพายััพ” มณฑลเทศาภิิบาล : วิิเคราะห์์ เปรีียบเทีียบ. กรุุงเทพฯ : แสงรุ้้ง, ๒๕๒๔. สรััสวดีี อ๋๋องสกุุล. ประวััติิศาสตร์์ล้้านนา. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔. กรุุงเทพฯ : อมริินทร์์พริ้้�นติ้้�งแอนด์์พลัับลิิชชิ่่�ง, ๒๕๕๑.


241 สฤษดิ์์�พงศ์์ ขุุนทรง. ทวารวดีี : ประตูสู่่�การค้้าบนเส้้นทางสายไหมทะเล. กรุุงเทพฯ : หนัังสืือในชุุดโครงการ “โบราณคดีีในประเทศไทย และอาเซีียน ภายใต้้โครงการเตรีียมความพร้้อมสู่่ประชาคมอาเซีียน ปีี ๒๕๕๘ จััดทำำ โดย ภาควิิชาโบราณคดีี คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร. ๒๕๕๘. สวรรค์์ สุุวรรณโชติิ. ประเทศไทยกัับปััญหาเมืืองจัันทบุรีีุและตราดที่ฝรั่่� ่�งเศสยึึดครองระหว่่างปีี พ.ศ.๒๔๓๖-๒๔๔๙. กรุุงเทพฯ : ม.ป.ท., ๒๕๒๐. สว่่าง เลิิศฤทธิ์์� (บรรณาธิิการ). โบราณคดีีและประวััติิศาสตร์์ในประเทศไทย : ฉบัับคู่่�มืือครููสัังคมศึึกษา. กรุุงเทพฯ : ภาควิิชาโบราณคดีี คณะโบราณคดีี มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๔๕. สััญชััย สุุวัังบุุตร. ประวััติิศาสตร์์ใน “Twentieth Century Impressions of Siam : Its History, People, Commerce, Industries, and Resources.” พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. นครปฐม : มหาวิิทยาลััยศิิลปากร, ๒๕๖๒. สายชล วรรณรััตน์์. “เศรษฐกิจิและสัังคมไทยในสมััยปลายอยุุธยา.” กรุุงเทพฯ: สถาบัันไทยคดีศึีึกษา มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์, ๒๕๒๕. สายชล สััตยานุุรัักษ์์. พุุทธศาสนากัับแนวคิิดทางการเมืืองในสมััยพระบาทสมเด็็จพระพุุทธยอดฟ้้าจุุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๖. สารสิิน วีีระผล. จิ้้�มก้้องและกำำ ไร : การค้้าไทย-จีีน ๒๑๙๕-๒๓๙๖. กรุุงเทพฯ : มููลนิิธิิโตโยต้้าประเทศไทย, ๒๕๔๘. สำำราญ วัังศพ่่าห์์. “แก้้วมลายูู,” วารสารประวััติิศาสตร์์ ๒, ๓ (กัันยายน – ธัันวาคม ๒๕๒๐) : ๑๐๗ – ๑๑๗. สำำราญ วัังศพ่่าห์์. “ปืืนนิิรนาม,” วารสารศิิลปากร ๓๐, ๔ (กัันยายน ๒๕๒๙) : ๖๖ – ๗๑. สิิบห้้าราชวงศ์์. เชีียงใหม่่: มหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตล้้านนา. ๒๕๕๕. สุจิุิตต์์ วงษ์์เทศ, บรรณาธิิการ. ทุ่่�งกุุลา “อาณาจัักรเกลืือ”๒๕๐๐ ปีจีากยุคุแรกเริ่่�มล้้าหลัังถึึงยุคมัุ่่�งคั่่�งข้้า หอม. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๖. สุุจิิตต์์ วงษ์์เทศ, บรรณาธิิการ. ศรีีจนาศะ : รััฐอิิสระที่่�ราบสููง. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๕. สุุจิิตต์์ วงษ์์เทศ, บรรณาธิิการ. พระเจ้้าพรหม “วีีรบุุรุุษในตำำนาน” ของโยนก –ล้้านนา. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๕. สุุเทพ สุุนทรเภสััช. มานุุษยวิิทยากัับประวััติิศาสตร์์ : รวมความเรีียงว่่าด้้วยการประยุุกต์์ใช้้แนวความคิิด และทฤษฎีีทางมานุุษยวิิทยา ในการศึึกษาข้้อมููลทางประวััติิศาสตร์์. กรุุงเทพฯ : เมืืองโบราณ, ๒๕๔๘. สุุเนตร ชุุติินธรานนท์์. พม่่ารบไทย : ว่่าด้้วยการสงครามระหว่่างไทยกัับพม่่า. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๔๒. สุุเนตร ชุุติินธรานนท์์. สงครามคราวเสีียกรุุงศรีีอยุุธยาครั้้�งที่่� ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐ ศึึกษาจากพงศาวดารพม่่าฉบัับ ราชวงศ์์คองบอง. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๔. กรุุงเทพฯ : ศยาม, ๒๕๓๙. สุุพรรณีี กาญจนัษฐิัติิ. “จดหมายเหตุุอเล็็กซานเดอร์์ ฮามิิลตัันเกี่่�ยวกัับราชอาณาจัักรสยาม.” วารสารอัักษรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร ๑๑, ๑ (กัันยายน ๒๕๓๑) : ๔๒ – ๗๗. สุุภาณีี ชมะสุุนทร. แนวความคิิดทางการเมืืองของกลุ่่�มผู้้นำำ ในรััชสมััยพระบาทสมเด็จ็พระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หัั�ว ระหว่่าง พ.ศ. ๒๔๑๑- ๒๔๓๖. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญาอัักษรศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาประวัติัิศาสตร์์ บััณฑิิตวิิทยาลััย จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย พ.ศ. ๒๕๒๘. สุุรพล นาถะพิินธุุ. รากเหง้้า บรรพชนคนไทย : พััฒนาการทางวััฒนธรรมก่่อนประวััติิศาสตร์์. กรุุงเทพฯ : มติิชน, ๒๕๕๐. หอสมุุดวชิิรญาณ. จดหมายเหตุุรััชกาลที่่� ๒ จ.ศ. ๑๑๗๕ เลขที่่� ๖ ท้้องตราเจ้้าพระยาอััครมหาเสนาถึึงพระยาศรีีธรรมาโศกราช เรื่่�อง ส่่งเหล็็กเพิ่่�มเติิมออกมาต่่อเรืือลำำเลีียง ๑๒ ลำำ. อดิิศร หมวกพิิมาย. กรมท่่ากัับระบบเศรษฐกิจิไทย : วิิเคราะห์์โครงสร้้างและการเปลี่่�ยนแปลงตั้้�งแต่่สมััยธนบุรีีุถึึงการทำำสนธิสััิญญาเบาว์ริ่่์ �ง พ.ศ. ๒๓๑๐-๒๓๙๘. วิิทยานิิพนธ์ศิ์ ิลปศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาประวััติิศาสตร์์ คณะศิิลปศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ พ.ศ. ๒๕๓๑. อมรา ศรีีสุุชาติิ. สายรากภาคใต้้ : ภููมิิลัักษณ์์ รููปลัักษณ์์ จิิตลัักษณ์์. กรุุงเทพฯ : สำำนัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.), ๒๕๔๔.


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 242 อโยธยาศรีีรามเทพนครบวรทวารวดีี มรดกความทรงจำำแห่่งสยามประเทศ. ๒ เล่่ม. วิินััย พงศ์์ศรีีเพีียร. บรรณาธิิการ. กรุุงเทพฯ : โครงการวิิจััยอิิสระประวััติิศาสตร์์ไทย, ๒๕๕๙. อรุุณรััตน์์ วิิเชีียรเขีียว และเดวิิด เค.วััยอาจ. ตำำนานพื้้�นเมืืองเชีียงใหม่่. เชีียงใหม่่: ตรััสวิิน (ซิิลค์์เวอร์์มบุุคส์์). ๒๕๔๓. อาคม พััฒิิยะและนิิธิิ เอีียวศรีีวงศ์์. ศรีีรามเทพนคร: รวมความเรีียงว่่าด้้วยประวััติิศาสตร์์อยุุธยาตอนต้้น. กรุุงเทพฯ: ศิิลปวััฒนธรรม, ๒๕๓๐. อานัันท์์ กาญจนพัันธุ์์. พััฒนาการของชีีวิิตและวััฒนธรรมล้้านนา. เชีียงใหม่่ : โครงการตำำรามหาวิิทยาลััย สำำนัักหอสมุุดมหาวิิทยาลััย เชีียงใหม่่, ๒๕๒๗. อิชิอิิ โยเนะโอ และ โยชิิกาวะ โทชิิฮารุุ, ความสััมพัันธ์์ไทย – ญี่ปุ่่น่� ๖๐๐ ปี. กีรุุงเทพฯ: มููลนิิธิิโครงการตำำรา สัังคมศาสตร์์และมนุษุยศาสตร์์, ๒๕๓๐. อุุดม อรุุณรััตน์์. “ดนตรีีในราชสำำนัักเปอร์์เซีียและราชสำำนัักไทยในสมััยอยุุธยา,” วารสารอัักษรศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยศิิลปากร ๑๙, ๑-๒ (๒๕๓๙ - ๒๕๔๐) : ๑๓๒ – ๑๓๙. เอกสารเฮนรีี เบอร์์นีีย์์ เล่่ม ๘ (มิิถุุนายน ค.ศ. ๑๘๒๔ ถึึงมิถุิุนายน ค.ศ. ๑๘๒๗). เรืือเอกหญิิง ลิินจง สุุวรรณโภคิิน (แปล). กรุุงเทพฯ : กรมศิิลปากร, ๒๕๕๑. เองเงิิลแบร์์ต เคมพ์์เฟอร์์. ไทยในจดหมายเหตุุแกมป์์เฟอร์์. พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๓. แปลโดย อ.สายสุุวรรณ. พระนคร : มงคลการพิิมพ์์, ๒๕๐๘. พิิมพ์์ในงานฌาปนกิิจศพนายรวย ศยามานนท์์ มกราคม ๒๕๐๘. ฮอลล์์, ดีี. จีี. อีี. ประวััติิศาสตร์์เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ เล่่ม ๑ (A History of South-East Asia). ชาญวิิทย์์ เกษตรศิิริิ (บรรณาธิิการ) กรุุงเทพฯ : มููลนิิธิิโครงการตำำราสัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์, ๒๕๕๗. ไฮแอม, ชาร์์ล และรััชนีี ทศรััตน์์. สยามดึึกดำำบรรพ์์ : ยุุคก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงสมััยสุุโขทััย. กรุุงเทพฯ: ริิเวอร์์บุ๊๊�คส์์, ๒๕๔๒. Bowring, Sir John. The Kingdom and People of Siam, vol. 1-2. Kuala Lumper: Oxford University Press, 1969. Bradley, Dan Beach M.D. Rev., Abstract of the Rev. Dan Beach Bradley, M.D. Medical Missionary in Siam 1835- 1837, edited by Rev. George Haws Feltus, A.M. B.D. Cleveland, Ohio: published by Rev. Dan F. Bradley, his son, printed in the Multigraph Department of Pilgrim Church 1936. Brummelhuis, Han Ten and John Kleinen, “A Dutch Picnic in Ayutthaya (1636): A Contemporary Account and a Presentday Interpretation,” Paper presented at the International Conference on Thai Studies, Bangkok, August 22 – 24, 1984. Burney, Henry . The Burney Papers. Vol. II. Bangkok: The Vajirayana National Library, 1911. Burney, Henry. The Burney Papers. Vol. I. Bangkok: The Vajirayana National Library, 1910. Campbell, J.G.D. Siam in the Twentieth Century. London: Edward Arnold, 1902. Colquhoun, Archibald Ross. Amongst the Shans. New York: Paragon Book Reprint Corp, 1970. Crawfurd, John. Journal of an Embassy from the Governor General of India to the Courts of Siam and Cochin-China Vol. 1. 2nd edition. London: Henry Colburn and Richard Bentley, 1830. Curtis, Lillian Johnson The Laos of North Siam Seen through the Eyes of a Missionary. Cambridge. Cambridge University Press. 1978


243 Dhiravat na Pombejra. Court Company and Campong: Essays on the VOC presence in Ayutthaya. Bangkok : Amarin Printing Group, 1992. Grabowsky Volker and Turton Andrew. The Gold and Silver Road of Trade and Friendship, The McLeod and Richardson Diplomatic Missions to Tai States in 1837. Chiang Mai: Silkworm Books, 2003. Hallett, Holt S. A Thousand Miles on An Elephant in the Shan States. Bangkok: White Lotus, 1988. Higham, Charles. The Archaeology of mainland Southeast Asia. London: Cambridge University Press, 1989. Lieberman, Victor B. Burmese Administrative Cycles: Anarchy and Conquest C. 1580- 1760. New Jersey: Princeton University Press, 1984. Meilink Roelfsz, M.A.P. Asian Trade European Influence in the Indonesian Archipelago between 1500 and about 1630. The Hague: Martinus Nijhoff, 1962. Miksic, John N. Ancient Southeast Asia. London: Routledge, 2017 Neis, P. Travels in Upper Laos and Siam with an Account of the Chinese Haw Invasion and Puan Resistance. tr. and introduction by Walter E.J. Tips Bangkok: White Lotus, 1997. Pinto, Fernao Mendes. The travels of Mendes Pinto, edited and translated by Rebecca D. Catz. London: The University of Chicago Press, 1989. Pires, Tomé. The Suma Oriental. trans. Armando Cortesao. London: Hakakluyt Society, 1944. Sarasin Viraphol. Tribute and Profit: Sino – Siamese Trade, 1652 – 1853. n.p.: Council on East Asian Studies Harvard University, 1977. Satow, Ernest. A Diplomat in Siam. Bangkok: Orchid Press, 2002. Smith, George Vinal. The Dutch in Seventeenth – Century Thailand. n.p. : Northern Illinois University, 1977. Smith, George Vinal. “Princes, Nobles and Traders: Ethnicity and Economic Activity in Seventeenth Century Thailand,” in Contributions to Asian Studies Volume 15, ed. Constance M. Wilson, Chrystal Stillings and George Vinal Smith. Leiden : E.J. Brill, 1980. Tarling, N. (ed.). The Cambridge History of Southeast Asia Volume one Part one: from the Early Times to c. 1500. Cambridge : Cambridge University Press, 1999. The Ship of Sulaiman, trans John O’Kane. London : Routledge & Kegan Paul, 1972. Wolters, O.W. “Chen-Li-Fu : A State on the Gulf of Siam at the Beginning of the 13th Century,” Journal of the Siam Society Vol. XLVIII, Part 2 (November 1960) : 1 – 35. Wyatt, David K. “Family politics in seventeenth – century and eighteenth century Siam,” and “Family politics in nineteenth – century Thailand,” Studies in Thai History. Chiang Mai : Silkworm Book, 1994. Wyatt, David K.. Thailand: A Short history. Bangkok: O.S. Printing House, 1984.


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 244 เอกสารออนไลน์ ์ เนชั่่�นแนล จีีโอกราฟฟิิก. แหล่่งโบราณคดีีที่่�ปางมะผ้้า จ.แม่่ฮ่่องสอน คลี่ ่� คลายความลัับจากบรรพกาล ๓๒,๐๐๐ ปีี. https://ngthai. com/history/39637/pangmapaarchaeologicalsites/. ๓๑ ตุุลาคม ๒๕๖๕. มติิชนออนไลน์์. “ฮืือฮา! งานวิิจััยพบ “ไทย”ต้้นกำำ เนิิดไก่่เลี้้�ยงแห่่งแรกของโลก. ๙ มิิถุุนายน ๒๕๖๕. มติิชนออนไลน์์. เปิิดหลุุมขุุดค้้น “บ้้านโนนวััด” จากผลวิจัิัยหลัักฐาน “เลี้้�ยงไก่่เก่่าสุุดในโลก” แถมมีีปลาช่่อน ๓ พัันปีี. ๑๐ มิถุิุนายน ๒๕๖๕. สถาบัันนวััตกรรมและพััฒนากระบวนการเรีียนรู้้ มหาวิิทยาลััยมหิิดล. วิิวััฒนาการของมนุุษย์์. https://il.mahidol.ac.th /e-media/150charles-darwin/Less8_1.html. ๒ พฤศจิิกายน ๒๕๖๕. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิิริินธร. จารึึกในประเทศไทย. https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe. ๓๑ ตุุลาคม ๒๕๖๕. ศููนย์์มานุุษยวิิทยาสิิริินธร. ฐานข้้อมููลแหล่่งโบราณคดีีที่่� สำำคััญในประเทศไทย. https://db.sac.or.th/archaeology/site/index. เข้้าถึึงเมื่่�อ ๓๑ ตุุลาคม ๒๕๖๕. Natural History Museum. Oldest tool use and meat-eating revealed. https://www.nhm.ac.uk/discover/news/2010/ august/oldest-tool-use-and-meat-eating-revealed75831.html. 2 November 2022. รููปภาพประกอบ กรมศิิลปากร. ๙๙ ปีี แห่่งการสถาปนากรมศิิลปากร พุุทธศัักราช ๒๕๕๓. กรุุงเทพฯ : แปลนโมทีฟี , ๒๕๕๓. กรมศิิลปากร. ๑๐๐ ปีี แห่่งการสถาปนากรมศิิลปากร พุุทธศัักราช ๒๕๕๔. กรุุงเทพฯ : รุ่่งศิิลป์์การพิิมพ์์, ๒๕๕๔. กรมศิิลปากร. ๑๑๐ ปีี แห่่งการสถาปนากรมศิิลปากร พุุทธศัักราช ๒๕๖๔. กรุุงเทพฯ : อมริินทร์์พริ้้�นติ้้�งแอนด์์พัับลิิชชิ่่�ง, ๒๕๖๔. กรมศิิลปากร. ชุุมชนต่่างชาติิใต้ร่่ ้มพระบรมโพธิสิมภาร สมััยรััตนโกสินิทร์์. กรุุงเทพฯ : ชุุมนุุมสหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย, ๒๕๖๔. กรมศิิลปากร. มรดกวััฒนธรรมบ้้านเชีียง. กรุุงเทพฯ : ดอกเบี้้�ย, ๒๕๕๐. กรมศิิลปากร. พระบรมสารีีริิกธาตุุ. กรุุงเทพฯ : รุ่่งศิิลป์์การพิิมพ์์, ๒๕๖๒.


245


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 246 สยามรัถยา : เส้นทางความเจริญของสุวรรณภูมิและสยามประเทศ ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ถึงพุทธศักราช ๒๔๗๕ จัดพิมพ์โดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พิมพ์ครั้งที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๖๖ จำนวน ๕๐๐ เล่ม ท ี่ปรึกษา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) คณะทำ งานเรียบเรียงหนังสือ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีดีพิศภูมิวิถีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรพร ภู่พงศ์พันธุ์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์ ดร.เพชรดา ชุนอ่อน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร บรรณาธิการกิจ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีดีพิศภูมิวิถี ศิลปกรรม นายวิระยุทธ นาถชัยโย พิมพ์ที่ บริษัท ศิริชัยการพิมพ์ จำกัด ๗๓ ซอยเพชรเกษม ๕๔ แยก ๓ ถนนเพชรเกษม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๖๐ โทร. ๐ ๒๘๐๕ ๑๔๗๒ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สยามรัถยา : เส้นทางความเจริญของสุวรรณภูมิและสยามประเทศ ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ถึงพุทธศักราช ๒๔๗๕.- กรุงเทพ ฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), ๒๕๖๖. ๒๔๘ หน้า. ๑. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- ประวัติศาสตร์. I. ปรีดีพิศภูมิวิถี II. ชื่อเรื่อง. 959 ISBN 978-974-326-706-2


247


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 248


Click to View FlipBook Version