ให้ขุดคูก่อสร้างกำแพงเมืองตามแนวกำแพงเดิม ถอน วัดหลวงออกและให้สถาปนาวัดเจดีย์หลวงขึ้นแทนที่ และใน พ.ศ.๑๘๓๘ ได้สร้างวัดป่าสักไว้นอกกำแพงเมือง ด้านทิศตะวันตก พระยามังรายอยู่ที่เวียงกุมกามได้ ๕ ปีก็มี พระราชดำริว่าจะสร้างเมืองใหม่เนื่องจากเวียงกุมกาม น้ำท่วมบ่อยครั้ง ด้วยที่ตั้งของเมืองเป็นที่ราบตะกอน ใหม่ของแม่น้ำปิง ระดับความสูงประมาณ ๓๐๐-๓๒๐ เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง พระยามังรายจึง ทรงเลือกบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง ตอนเหนือของเวียง กุมกาม บริเวณเชงดอยิสุเทพ ซงบึ่ริเวณที่ตงเชั้ยงใหม่จะ ี เป็นที่ราบขนาดใหญ่ที่ติดต่อกันไปจนถึงลำพูน นับเป็น ที่ราบผนืใหญ่ที่สุดในอาณาจักรลา้นนาจึงมความเหมาะี สมต่อการตงชุมชั้นขนาดใหญ่ที่ทำอาชีพเกษตรกรรม มี พื้นที่ลาดเทมาจากตะวันตกมาตะวันออก สายน้ำจาก ดอยสุเทพจะไหลมาหล่อเลี้ ยงตัวเมืองเชียงใหม่ตลอด เวลา และทางทิศตะวันออกเฉยงเหีนือของเมืองมหีนอง น้ำใหญ่อยู่จึงบริบูรณ์ไปด้วยน้ำ ในด้านเศรษฐกิจที่ตั้ง ของเชียงใหม่เหมาะสำหรับการเป็นศูนย์กลางทางการ ค้า เพราะสามารถใช้แม่น้ำปิงในการติดต่อค้าขายกับ หัวเมืองตอนใต้ได้อย่างสะดวก และยังสามารถติดต่อ ค้าขายกับเมืองตอนบน เช่น เชียงแสน ยูนนาน ได้ อีกด้วย ซึ่งทำให้มีความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และใน ด้านการเมืองนั้นจะพบว่า เชียงใหม่เป็นพื้นที่อยู่กลาง ระหว่างที่ราบลุ่มแม่น้ำกกและที่ราบลุ่มแม่น้ำปิงจึง สามารถควบคุมหัวเมืองต่าง ๆ ที่ขึ้นอยู่กับแคว้นโยนก และแคว้นพิงค์ ปัจจัยที่ส่งผลให้พระยามังรายสร้างเมือง เชียงใหม่อันเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนาใน พ.ศ. ๑๘๓๙ นั้น มีปัจจัยสนับสนุนหลายอย่าง ทั้ง การที่อาณาจักรพุกาม เริ่มเสื่อมอำนาจลงใน พ.ศ. ๑๗๗๗ เนื่องจากการทรุดโทรมของอาณาจักร และ การมีกษัตริย์ที่อ่อนแอ นอกจากนั้น ยังเหมาะสมกับ สถานการณ์บา้นเมืองในขณะนั้นดวย เ้นองจากเื่ปน็ ช่วง ที่กำลังอำนาจของมองโกลลดลง เพราะจักรพรรดิกุบ ไลข่านสิ้นพระชนม์แล้ว อีกทั้ง อาณาจักรเขมรโบราณ ซึ่งเคยเป็นอาณาจักรที่เรืองอำนาจถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำ เจ้าพระยาได้เสื่อมอำนาจลง กระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ก็เสียดินแดนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาให้แก่อาณาจักร สุโขทัย ซึ่งพระยามังรายทรงใช้โอกาสที่อาณาจักรใกล้ เคียงเสื่อมสลาย อันมีผลมาจากความเสื่อมโทรมของ อาณาจักร และความอ่อนแอของกษัตริย์ ในการสร้าง ฐานพระราชอำนาจของพระองค์ ตามตำนานกล่าวว่า พระยามังรายได้ทูลเชิญ พระยาร่วงแห่งเมืองสุโขทัยและพระยางำเมืองแห่งเมือง พะเยามาให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวางผังเมือง ผังเมือง เชียงใหม่มีลักษณะคล้ายกับผังเมืองสุโขทัย ทั้งนี้เพราะ เมืองเชียงใหม่รับอิทธิพลมาจากสุโขทัย ผังเมืองจึงเป็น รูปทรงแบบสี่เหล ี่ ยม ซึ่งหลังจากนั้นไม่พบว่าเมืองใดใน ล้านนามีการวางผังเมืองเช่นนี้อีก เมื่อสร้างเมืองแล้ว เสร็จใน พ.ศ. ๑๘๓๙ “พระยาทังสามก็เบิกนามเมืองว่า นพบุรีศรีนครเชียงใหม่” 99 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในสมัยของพระยามังราย อาณาจักรล้านนา มีความมั่งคั่งและสมบูรณ์เป็นอย่างมาก เนื่องจาก พัฒนาการทางการเกษตรที่สามารถเพาะปลกไดู้ผลผลิต มากขึ้นและการเพิ่มจำนวนประชากร ทำให้ล้านนา มีศักยภาพทางด้านการผลิตสินค้าการเกษตร ทั้งการ เพาะปลูกและการวางระบบชลประทานของชุมชนที่ มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลิตเพื่อเล ี้ ยงดูประชากร จำนวนมาก ทั้งยังเล็งเห็นความสำคัญของการสร้าง ตลาดเพื่อเป็นพื้นที่รองรับและกระจายสินค้า แต่ละ เมืองที่พระยามังรายทรงสร้างนั้นจะสร้างตลาดขึ้นพร้อม กับการสร้างเมือง ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง การค้าและตลาดที่เวียงกุมกาม เมืองเชียงใหม่ก็มีตลาด อยู่ในกลางเมือง ซึ่งในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ระบุว่า พระยามังรายถูกฟ้าผ่าสิ้นพระชนม์ที่ตลาดกลางเมือง เชียงใหม่ นอกจากนี้ พระยามังรายยังสามารถควบคุม เมืองตามที่ราบลุ่มแม่น้ำ และเส้นทางบกที่สำคัญไดเ้ปน็ ผลสำเร็จ และขยายการสร้างเมือง ตลอดจนมีกฎหมาย บังคับใช้ผู้คนในดินแดนของพระองค์ที่เรียกว่ากฎหมาย พระยามังรายหรือมังรายศาสตร์ด้วย นอกจากเมืองเชียงใหม่และเมืองโดยรอบที่ ขยายตัวแล้ว มีการเกิดขึ้นของเมืองต่าง ๆ ในช่วงระยะ เวลาเดียวกันเป็นจำนวนมาก บางเมืองก่อตั้งร่วมสมัย กับเมืองหริภุญชัย เมืองเชียงใหม่ และมีการอยู่อาศัย พัฒนาสืบเนื่องมา ใน “หยวนสื่อ” ซึ่งเป็นเอกสารจีน สมัยราชวงศ์หยวน เรียกกลุ่มเมืองที่มีอยู่ก่อนที่จะมี การสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้นว่า “ปาไป่สีฟู่” หมายถึง เมืองสนมแปดร้อย และบรรยายใหเห็ ้นภาพว่าอาณาเขต ของปาไป่สีฟู่นั้นมีอาณาเขตกว้างขวาง ทางเหนือติด กับเชอหลี่ (เชียงรุ่ง) ทางใต้ติดกับปอเล่อ (สุโขทัย) ทาง ตะวันออกติดกับลาว ทางตะวันตกติดกับพม่า และได้ บรรยายความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนาที่สะท้อนให้เห็น ถึงเศรษฐกิจที่เติบโตควบคู่กันไปว่าชาวเมืองปาไป่สีฟู่มี ศรัทธาในพระศาสนาอย่างแรงกล้า ในแต่ละหมู่บ้านมี วัดและทุกวัดมีเจดีย์หนึ่งองค์ตั้งอยู่ นอกจากนี้ ยังพบ ว่ามีเมืองต่าง ๆ มีเติบโตควบคู่กับเมืองเชียงใหม่ อาทิ เมืองลำพูน เมืองลำปาง เมืองเชียงราย เมืองเชียงแสน เมืองเวยงีท่ากาน เมืองฝาง เมืองพร้าว เมืองเวยงกาหลง ี เมืองปาย เมืองยวมใต้ เมืองพะเยา เมืองแพร่ เมือง น่าน เมืองปัว 100
ความเจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนาในล้านนา ในสมัยพระยากือนา (พ.ศ. ๑๘๙๘ - ๑๙๒๘) พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ได้เข้ามาแพร่หลายในล้านนา ราว พ.ศ.๑๙๑๒ พระยากือนาได้อาราธนาพระสงฆ์จาก อาณาจักรสุโขทัยเขามาเ้ผยแผพ่ทุธศาสนา มีพระสุมนเถระ เดินทางเข้ามาจรรโลงพระศาสนาในล้านนาและ ได้ตั้งพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์ขึ้นในล้านนา (เดมเิ ปนร็ ามัญวงศ์) และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ในอาณาจักรล้านนา ในครั้งนั้น พระสุมนเถระได้นำเอา พระไตรปิฎกภาษาบาลและีพระบรมสารีริกธาตุมาถวาย พระยากือนาด้วย ต่อมาพระยากือนาได้ถวายพระราช อุทยานหลวงใหเ้ปนที่สร้ ็างพระอารามชือ วัดบุ่ปผาราม (วัดสวนดอก) ถวายแด่พระสุมนเถระ และได้สร้างพระ เจดีย์ ณ ดอยสุเทพเพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ไว้สักการบูชา สังเกตได้ว่าการส่งพระสุมนเถระเจ้าไปยังเมือง เชียงใหม่ของพระมหาธรรมราชาลิไทยนั้นอาจจะมีนัย ทางการเมืองแอบแฝงอยู่ โดยอาศัยความจากเอกสาร ล้านนาตอนหนึ่งที่พระสุมนเถระก็ได้ทูลต่อพระยา กือนาว่า "ที่แท้เมืองสองเมือง คือเมืองพิงและเมือง สุโขทัยบ่ใช่อันเดียวกันนา ญาติเราอยู่เมืองสุโขทัยเขา ทั้งหลายย่อมเคยมาไหว้พระธาตุเจ้าองค์นี้นา ครั้นว่า เราได้ถาปนาแท้เขาจักมาไหว้เราจักเอาออกให้เขาไหว้ ก็บ่ได้นา เขาจักมาพี้บ่ได้นาเหตุดังนั้น เราบ่ใคร่ถาปนา เพื่อเหตุนั้นแล ท้าวกือนาว่าคำ�อั้นเจ้ากูว่าก็บ่มิเป็นดั่ง นั้นแท้ไซร้ดังเมืองตากก็อยู่ท่ามกลาง ๒ อันนี้แล ข้าจัก เอาเมืองนั้นบูชาสีลาธิคุณแห่งเจ้ากูแล เมื่อคะโยมแห่ง เจ้ากูจักมาไหว้พระธาตุเจ้าก็บ่ยากแล เหตุดังนั้นขอเจ้ากู ถาปนาพระธาตุเจ้านี้เถิดครั้งนั้นมหาสวามีเจ้าก็รับเอา คำ�พระยาที่อาราธนาตนนั้นแล้ว ก็เอาหลานตนผู้หนึ่ง ชื่อว่าฑิดใสนั้นมาถวายแก่พระยา พระยาก็ส่งให้ไปกิน เมืองตากนั้น อันพระยาบูชาสีลสธิคุณแห่งตนนั้นแล" จะเห็นได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าว พระสุมนเถระ เคยเอาพระธาตุออกมาให้ชาวสุโขทัยเคารพบูชาเสมอ ถาหากเอาบ้รรจุไวใ้นเจดย์ ีที่เมืองเชยงใหม่ ีตามที่พระยา กือนาประสงค์นั้น ท่านก็จะไม่สามารถเอาพระธาตุ กลับไปให้ชาวสุโขทัยเคารพบูชาที่เมืองสุโขทัยได้ อีกทั้ง ชาวสุโขทัยก็ไม่สามารถเดินทางมาเคารพบูชาที่เมือง เชียงใหม่ได้ เพราะเมืองทั้งสองก็ไม่ได้เป็นไมตรีต่อกัน ซึ่งมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งเรื่องเมืองตากที่สุโขทัย เสียให้แก่ล้านนาในสมัยก่อนหน้านี้ และเหตุการณ์นี้ แสดงให้เห็นว่าพระยากือนาได้มีการผ่อนปรนในเรื่อง เมืองตากใหแก่ฝ่าย ้สุโขทัย โดยยอมใหหลา้นของพระสุมน เถระชาวสุโขทัยมาครองเมืองตาก สุโขทัยและล้านนา จึงกลับมาเป็นไมตรีอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ชาวสุโขทัย สามารถเดินทางมานมัสการพระธาตุที่บรรจุอยู่ในเจดีย์ ที่เมืองตากได้ ในสมัยนี้ เชยงใหม่ได ีเ้ปน็ศูนย์กลางพทุธศาสนา และศูนย์กลางการศึกษาพระธรรมวินัยลิทธิลังกาวงศ์ มี พระสงฆ์จากเมืองต่าง ๆ ทั้งในล้านนา เชียงตุง และ สิบสองปันนา เดินทางมาศึกษาเล่าเรียนอย่างต่อเนื่อง พระสงฆ์ชาวล้านนาจำนวนมากเดินทางไปศึกษายัง 101 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ประเทศลังกา ทำให้มีนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาหลาย ท่านในสมัยต่อมาเมื่อพุทธศาสนาเข้ามาแพร่หลายใน ล้านนาแล้ว มีผลทำให้เกิดการแลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรม ระหว่างล้านนากับสุโขทัย ทั้งศิลปกรรม ประเพณีและ พทุธศาสนา ซงได ึ่เข้ามาม้บีทบาทในการดำเนินชวีิตของ คนลา้นนา พระสงฆ์มบีทบาททางจิตใจและการเมือง ได้ รับการยกย่องจากสังคมใหอยู้่ในฐานะผู้นำทางความเชือ ่ ในสมัยของพระยากือนา ศิลปกรรมทางพุทธ ศาสนาและพระพุทธรูปล้านนาได้มีการเปล ี่ ยนแปลงใน ทางพุทธศิลป์ เนื่องจากมีการรับอิทธิพลทางศิลปะจาก สุโขทัย อาทิ แต่เดมินั้นพระพทุธรูปของลา้นนาจะมีพระ เกตุมาลาหรือพระรัศมเีปนรูป ็คลายดอกบัว ้ตูม ก็ได้ปรับ เปลย ี่ นมาเปนพร็ะเกตุมาลาหรือพระรัศมเีปน็เปลวเพลง ิ พระพักตร์ไม่อวบอูมเหมือนของเดิม นั่งขัดสมาธิราบ ชายสังฆาฏิยาวลงมาถึงบริเวณพระนาภีปลายสังฆาฏิ ไม่แยกเป็นเข ี้ ยวตะขาบ เป็นต้น ล้านนายังมีการรับการเขียนตัวอักษรฝักขาม เข้ามาใช้ในงานเขียนทางพุทธศาสนาและจารึกต่าง ๆ ด้วย สันนิษฐานว่าพัฒนาจากอักษรไทยสมัยพ่อขุน รามคำแหงและแพร่หลายเข้าสู่ล้านนาในสมัยพระยา กือนาที่รับพทุธศาสนามาจากสุโขทัยในช่วงรัชสมัยพญาลไิท พบจารึกภาษาไทเขียนด้วยอักษรฝักขามในล้านนา ชิ้นแรกคือจารึกวัดพระยืน อายุราว พ.ศ.๑๙๕๔ ในทาง ศาสนา อักษรฝักขามเปน็ อักษรที่ใชใ้นหมพรู่ะสงฆ์นิกาย ลังกาวงศ์เก่า ส่วนอักษรธรรมใช้ในหมู่พระภิกษุนิกาย ลังกาวงศ์ใหม่ นอกจากนี้ ล้านนายังมีการรับอิทธิพลศิลปะ สุโขทัยเข้ามาในล้านนาด้วย อาทิ การทำช้างล้อมรอบ ฐานเจดีย์ หรือการทำส่วนลวดบัวคว่ำซ้อนลดหลั่นกัน รองรับองค์ระฆัง มีการสร้าง “เจดีย์พุ่มข้าวบิณฑ์” หรือ เจดย์ ีทรงดอกบัวตูม ๒ แห่ง คือ เจดย์วัดธา ีตุกลาง (นอก กำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านใต้) และเจดีย์รายประจำมุม ของวัดสวนดอก (นอกเมืองเชียงใหม่ด้านตะวันตก) เมื่อพระยากือนาสิ้นพระชนม์ บรรดาเสนา อำมาตย์ได้อภิเษกท้าวแสนเมืองมาขึ้นเป็นพระยาแสน เมืองมาปกครองอาณาจักรลา้นนา พระยาแสนเมืองมา จึงเกณฑ์กำลังคนมาสร้างพระเจดีย์หลวงขึ้นแต่ยังสร้าง ไม่ทนัแลวเ้สร็จพระยาแสนเมืองมาก็สิ้นพระชนม์ บรรดา เสนาอำมาตย์จึงอภิเษกเจ้าสามฝั่งแกนเป็นพระยาสาม ฝั่งแกน ปกครองอาณาจักรล้านนาสืบต่อมา ใน พ.ศ. ๑๙๔๔ ช่วงต้นรัชกาลพระยาสามฝั่งแกนน้นั ท้าวยกุมกาม ี่ พยายามเข้ามาแย่งชิงเมืองเชียงใหม่แต่ไม่สามารถ ตีเอาเมืองไดจึงไ ้ ปขอความช่วยเหลือจากพระมหาธรรม ราชาที่ ๓ (พระยาไสลือไทย) แห่งเมืองสุโขทัย พระยา ไสลือไทยกทพั มาช่วยท้าวยกุมกาม ี่ รบเอาเมืองเชยงใหม่ ี แต่ไม่สามารถตีเอาเมืองเชียงใหม่ได้ท้าวย ี่กุมกามจึงยก ทัพกลับเมืองเชียงราย แต่เมื่อมาถึงเชียงรายกลับโดน พระยาไสลือไทเข้ายึดเมือง กวาดต้อนผู้คนกลับเมือง สุโขทัยและให้ท้าวย ี่กุมกามไปปกครองเมืองซาก หลังเสร็จศึกจากสุโขทัยแลว ้พระยาสามฝั่งแกนก็ เผชญกับกา ิรรุกรานจากฮ่อต่อสาเหตทีุ่ ฮ่อมาบุกลา้นนา เพราะฮ่ออ้างว่าล้านนาไม่ส่งส่วยให้ตั้งแต่สมัยพระยา กือนา จึงเกิดการสู้รบระหว่างกองทัพของล้านนากับ กองทัพฮ่อ แต่ในที่สุดกองทัพฮ่อก็พ่ายแพ้ ถูกกองทัพ 102
ล้านนาขับไล่ไปจนสุดดินแดนสิบสองปันนา ในครั้งนั้น พระยาสามฝั่งแกนโปรดฯ ให้ตั้งเมืองยองในเขตสิบสอง ปันนาให้เป็นเมืองขึ้นของล้านนาเพื่อใช้เป็นเมืองหน้า ด่านตอนบนในการต้านทัพฮ่อหรือทัพอื่นๆ ที่มาจาก ด้านเหนือ ภายหลังจากการรบกับกองทัพฮ่อครั้งนั้น ล้านนาก็ปราศจากการสู้รบกับกองทัพฮ่อตลอดมา พระยาสามฝั่งแกนมีพระโอรสต่างพระมารดา ๑๐ องค์ คือ ท้าวอ้าย ท้าวย ี่ ท้าวสาม ท้าวไส้ท้าวงั่ว ท้าวลก ท้าวเจ็ด ท้าวแปด ท้าวเอ้า และท้าวซิบ พระยา สามฝั่งแกนโปรดฯ ให้ท้าวอายไ ้ ปเปนพร็ะยาเวยงเจ็ดล ี ิน ท้าวงั่วไปปกครองเชียงเรือ ท้าวลกให้ไปปกครอง เมืองพร้าว (ต่อมาได้ทำผิดอาชญาจึงถกยูายไ ้ ปปกครอง ที่เมืองยวมใต้) ท้าวเจ็ดไปปกครองเมืองเชียงราย และ ท้าวซ้อย (หรือท้าวซิบ) ไปปกครองเมืองฝาง (ท้าวย ี่ ท้าวสาม ท้าวไส้ท้าวแปด ท้าวเอ้า ในตำนานพื้นเมือง เชียงใหม่กล่าวว่าได้เสียชีวิต) ต่อมา เสนาอำมาตย์ของ พระยาสามฝั่งแกนชื่อนายสามเด็กย้อย ได้แต่งอุบาย ให้ท้าวลกเข้ามาครองเมืองเชยงใหม่แ ีทนพระยาสามฝั่ง แกนได้สำเร็จ ท้าวลกจึงได้อภิเษกขึ้นเป็นพระยาติโลก ราช (ในชินกาลมาลีปกรณ์เรียกว่า พระเจ้ากรุงศิริธรรม จักรวรรดิพิลกราช) ยุครุ่งเรืองของล้านนา ในสมัยพระยาติโลกราช เป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุด ทรงได้รับการยกย่องว่าเปน็วีรกษัตริย์แห่งลา้นนา กล่าว ไดว่าฐา ้นะทางการเมืองของลา้นนามั่นคงมาก สามารถ ผนวกเมืองน่านและเมืองแพร่ไดใ้น พ.ศ. ๑๙๘๖ ยกทพั ตีเมืองหลวงพระบาง ไดเมืองเช ้ยงีตนื เมือ ่พ.ศ. ๑๙๙๗ ยกทัพไปตีเมืองเชียงรุ้งเมื่อ พ.ศ. ๑๙๙๘ ได้เมืองตุ่น เมืองลอง พ.ศ.๑๙๙๙ ตีเมืองเชยงีรงคุ้รงั้ที่ ๒ไดเมืองล ้งิ บา้นแจจ้นจรดอาณาเขตเจาฮ่อลุ่ม ้ ฟ้าเมืองสนหลวง (ฮุน หนำ) ยกทัพไปตีเมืองเงี้ยว (ไทใหญ่) เมื่อ พ.ศ. ๒๐๐๕ เจาเมือง ้ตู เมืองเชยงีทอง เมืองนายยอมสวามภักด ิ ิ์ ทรง ได้เมืองขึ้นของเมืองเงี้ ยวรวม ๑๑ เมือง 103 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ พระยาติโลกราชทำสงครามขยายอาณาเขต เกือบตลอดรัชกาลของพระองค์ สงครามสำคัญใน รัชสมัยของพระองค์คือการทำสงครามกับสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมีสาเหตุหลักมา จากการที่สุโขทัยเริ่มหมดบทบาทลง มีฐานะเป็นเพียง เมืองประเทศราชของอยุธยา อีกทั้งการย้ายเมืองหลวง ใหม่ไปยังเมืองพิษณุโลกและให้พระมหาธรรมราชาที่ ๔ บรมปาล (พ.ศ. ๑๙๖๒–๑๙๘๑) ครองเมืองพิษณุโลกคู่ กับพระยารามครองเมืองสุโขทัย เมื่อสิ้นพระมหาธรรม ราชาที่ ๔ แล้ว แม้ว่าพระยายุทธิษเฐียรจะได้ขึ้นเป็นเจ้า เมืองพิษณุโลกต่อจากพระราชบดาแลิว แ้ตพร่ ะองค์ก็ยัง ทรงไม่พอพระทัยที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไม่แต่งตงั้ พระองค์ใหเ้ปนพร็ะมหาอุปราชแห่งกรุงศรีอยุธยาตามที่ ได้ตกลงกันไว้พระยายุทธิษเฐียรจึงหันไปสวามิภักดิ์กับ พระยาติโลกราชแห่งอาณาจักรล้านนา ซึ่งในขณะนั้น ลา้นนามความเขี มแข็งอย่างมาก อ ้กีทงดั้วย้ ตำแหน่งที่ตงั้ ของเมืองเชียงใหม่ที่เป็นศูนย์กลางการค้าตอนในและ เปน็แหล่งรวบรวมของป่าที่สำคัญอันเปนสิน ็คา้ที่มความี ต้องการของตลาด ทำใหอยุธยาเห็ ้นความสำคัญของการ ผูกขาดเส้นทางการค้า จึงทำการยึดเมืองต่าง ๆ บนเส้น ทางการคา ้ นำไปสู่การยึดครองสุโขทัยและหัวเมืองเหนือ จึงนำมาสู่การทำสงครามอย่างยืดเยือ้ระหว่างลา้นนากับ อยุธยาเพื่อที่จะพยายามยึดเส้นทางการค้าเพื่อผูกขาด การค้าของป่าจากเมืองทางตอนในของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงแรกของสงคราม ล้านนาเป็นฝ่ายได้เปรียบ สามารถตีเมืองกำแพงเพชร พิษณุโลก และเชลยง และยัง ี คงพยายามที่จะขยายอำนาจของตนออกไป ซึ่งสุโขทัย ขณะนั้นถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาไปแล้วใน สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระบรมไตรโลก นาถจึงได้เสด็จขึ้นมาคุมทัพที่พิษณุโลกและพยายามที่ จะหยุดกองทัพล้านนาไว้ที่เมืองเชลียง สุดท้ายสงคราม ก็ยุติลงหลังจากที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสามารถ ยึดเมืองเชลียงคืนได้สำเร็จใน พ.ศ.๒๐๑๗ หลังจากที่พระเจา้ติโลกราช๑ ทรงว่างเว้นจากศึก สงครามแลว ้พระองค์ได้ทรงสนับสนนนิุกายสีหล (นิกาย วัดป่าแดง) และทำนุบำรุงพุทธศาสนาให้มีความเจริญ รุ่งเรือง ทรงสร้างวัดขึ้นหลายวัด เช่น วัดราชมณเฑียร วัดป่าตาล วัดป่าแดง วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) และโปรดฯ ให้สังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นที่วัดแห่งนี้ ประมาณพ.ศ. ๒๐๒๐ นับเปน็การสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ ๘ และได้รับการยอมรับจากเมืองต่าง ๆ อาทิ ราชสำนักล้านช้างส่งราชทูตมาขอพระไตรปิฎกฉบับ สังคายนาจากเมืองเชียงใหม่ นอกจากนี้ ยังได้อัญเชิญ พระพุทธสิหิงค์ พระบาง พระแก่นจันทน์ รวมถึงพระ แก้วมรกต จากวัดพระธาตุลำปางหลวงมาประดิษฐาน ไว้ที่วัดเจดย์หลวงด ีวย ข้ณะเดยวกั ีนก็ทรงสร้างเครือข่าย ทางวัฒนธรรมและพุทธศาสนา โปรดให้พระมหาญาณ มงคลเถระไปเผยแผ่พุทธศาสนาที่เชียงแสน และโปรด ๑ การออกพระนามพระมหากษัตริย์ของลา้นนาจะขึ้นต้นว่า พระยา ส่วนคำว่าพระเจา จะใช ้ ใ้นการเรียกพระพทุธเจา แ้ต่ในรัชสมัยพระเจา้ ติโลกราช เปนร็ ัชสมัยเดยวี ที่มกาีรขานพระนามพระมหากษัตริย์ว่าพระเจา ้สนนิ ัษฐานว่าเพอ่ืต้องการให้พระเกยีรติยศเสมอกับพระมหากษัตริย์แห่ง กรุงศรีอยุธยา เนองจาก่ืพระยาเปน็เพียงชือ่ตำแหน่งของขุนนางอยุธยาเท่าน้นั 104
ให้พระโสมจิตเถระไปเผยแผ่พุทธศาสนาที่เชียงตุงและ สิบสองปันนา จึงกล่าวได้ว่าในสมัยพระเจ้าติโลกราช ล้านนามีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดสมัยหนึ่ง บ้านเมืองมี ความอุดมสมบูรณ์เปนป็ ึกแผน่ มั่นคงมาก พยายามสร้าง เชียงใหม่ให้เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจและวัฒนธรรม ของอาณาจักรล้านนา พระเจ้าติโลกราชสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๐ ท้าวยอดเชียงราย พระราชนัดดาในพระยาติโลกราชได้ ขึ้นปกครองลา้นนา เนองจากื่ท้าวบุญเรืองพระราชโอรส ของพระเจ้าติโลกราชต้องพระราชอาชญาประหารชีวิต เพราะถกใูสร้่ายจากสนมพระเจา้ติโลกราช การที่พระยา ยอดเชียงรายให้ความสำคัญกับกลุ่มชาวฮ่อโดยการนำ ลูกชาวฮ่อมาเป็นลูกเล ี้ยงและให้ไปครองเมืองพร้าว เป็นสาเหตุที่ทำให้เสนาอำมาตย์ไม่พอใจและร่วมใจกัน ปลดพระยายอดเชียงรายไปอยู่เมืองชวาดน้อย แล้วให้ พระราชโอรสคือพระยาแกวขึ ้ ้นครองเมืองเชยงใหม่แ ีทน ในรัชสมัยนี้เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอีกสมัยหนึ่ง ชินกาล มาลีปกรณ์ซึ่งเป็นเอกสารร่วมสมัยขนานพระนาม พระยาแก้วว่า “สมเด็จพระเจ้าพิลกปนัดดาธิราช” และ กล่าวยกย่องว่า “กอปรด้วยพระราชศรัทธาเลื่อมใสใน พระบวรพุทธศาสนาเป็นอันมาก มีอุประมาประดุจดัง ว่าพระมหาสมุทรอันกำ�เริบด้วยโอฆแห่งน้ำ�อันมากจะ วัดเจ็ดยอดมหาโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ 105 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ กำ�หนดนับนั้นมิได้” ซึ่งเป็นการยกย่องพระยาแก้วให้ ย ิ่งใหญ่ดุจเดียวกับพระเจ้าติโลกราช ด้วยได้มีศรัทธาย ิ่ ง ในพระพุทธศาสนา และได้ขยายตลาดการค้าไปยังดิน แดนต่าง ๆ โดยรอบ พระยาแก้วได้เกณฑ์ผู้คนก่อกำแพงเมือง เชยงใหม่ใ ีน พ.ศ. ๒๐๕๙ เพอื่ป้องกันและตงั้รับทพัขาศึก ้ จากเมืองต่างๆ และสมัยนี้เป็นสมัยที่วรรณคดีล้านนา เจริญรุ่งเรืองมาก นับเป็นยุคทองแห่งวรรณกรรมบาลี ล้านนา พระเถระผู้ทรงปัญญาทั้งหลายได้แต่งคัมภีร์ไว้ เป็นจำนวนมาก อาทิพระรัตนปัญญาญาณเถระรจนา ชินกาลมาลีนีหรือชินกาลมาลีปกรณ์ ซงเึ่ปน็วรรณกรรม เพชรน้ำเอกแห่งล้านนา พระโพธิรังสีรจนาจามเทวีวงศ์ และสิหิงคนิทาน พระสิริมังคลาจารย์รจนาสังขยาปกา สกฏีกา มังคลัตถทีปนีจักรวาล และเวสันตรทีปนี ช่วงปลายรัชสมัยพระยาแก้ว อยุธยาส่งราชทูต มาฟื้นฟูสัมพันธไมตรีกับล้านนาแต่ปัญหาของล้านนาก็ ไม่ได้ยุติ ใน พ.ศ. ๒๐๖๖ เกิดความวุ่นวายทางการเมือง คือ พระยาแก้วส่งกองทัพไปช่วยท้าวเชียงคงรบที่เมือง เชียงตุงแต่กลับพ่ายแพ้ทำให้สูญเสียผู้คนเป็นจำนวน มาก นอกจากนี้ ใน พ.ศ. ๒๐๖๗ เกิดอุทกภัยทำให้มี ผู้เสียชีวิตจำนวนมาก “ปีกาบสัน ศักราชได้๘๘๖ ตัว น้ำ�หลายน้ำ�ท่วมเชียงเรือก คนมาเข้ากาดยังข่วงศรีภูมิ คนดิกน้ำ�ตายมากนักแล” และในปีถัดมาพระยาแก้วก็ สิ้นพระชนม์ในขณะที่ปัญหาต่าง ๆ ในล้านนายังไม่ได้ แก้ไขให้คล ี่ คลาย การสิ้ นอำ นาจของราชวงศ์มังราย นับตั้งแต่พระยาแก้วสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๘ ลา้นนาไดเ้ริ่มเขา้สู่ยุคเสอม บื่รรดาเสนาอำมาตย์ ได้แต่งตั้งพระยาเกศ พระอนุชาของพระยาแก้วขึ้น ปกครองล้านนาสืบมา ในสมัยพระยาเกศ อำนาจการ บริหารและการปกครองอยู่ในการควบคุมของบรรดา เสนาอำมาตย์ ซึ่งมีอำนาจในการถอดถอนและแต่ง ตั้งกษัตริย์ได้ ใน พ.ศ.๒๐๘๑ บรรดาเสนาอำมาตย์ได้ ปลดพระยาเกศออกจากตำแหน่งกษัตริย์ล้านนาแล้ว เนรเทศพระยาเกศไปครองเมืองน้อย และอัญเชิญท้าว ซายคำ (พ.ศ.๒๐๘๑-๒๐๘๖) พระราชโอรสของพระยา เกศขึ้นปกครองล้านนาแทน แต่ท้าวซายคำปกครอง บ้านเมืองไม่ชอบด้วยราชธรรม บรรดาเสนาอำมาตย์ จึงลอบปลงพระชนม์ท้าวซายคำ แล้วอัญเชิญพระยา เกศกลับมาปกครองล้านนาอีกครั้ง พระยาเกศครอง เมืองเชียงใหม่ได้เพียง ๒ ปี (พ.ศ.๒๐๘๖- ๒๐๘๘) ก็ถกลอบูปลงพระชนม์ บรรดาเสนาอำมาตย์จึงอัญเชญิ พระมหาเทวีจิรประภาขึ้นปกครองล้านนา และนับ เป็นกษัตรีย์พระองค์แรกที่ขึ้นปกครองล้านนา ในช่วงที่ พระมหาเทวจีิรประภาเกดแิผน่ดินไหวครงใหญ่ เ ั้ปน็เหตุ ให้ส่วนยอดของเจดีย์หลวงหักพังเหลือเพียงครึ่งองค์ นอกจากนี้ยังเกิดรอยร้าวที่องค์พระเจดีย์จน ไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ แต่พระมหาเทวีจิรประภา ครองราชย์ได้เพียง ๑ ปีก็สละราชสมบัติให้พระไชย เชษฐาธิราช ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระนางยอดคำ ทิพย์ (พระราชธิดาของพระยาเกศ) กับพระเจ้าโพธิสาร กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างมาปกครองล้านนา 106
พระไชยเชษฐาธิราชปกครองล้านนาได้ประมาณสอง ปี ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๘๙ - ๒๐๙๐ เท่านั้น เนื่องจาก พระเจ้าโพธิสารสิ้นพระชนม์ พระองค์จึงต้องเสด็จกลับ ไปปกครองอาณาจักรล้านช้าง ขณะนั้นบรรดาเสนา อำมาตย์ไม่สามารถตกลงได้ว่าจะให้ใครขึ้นปกครอง ล้านนาทำให้ล้านนาว่างกษัตริย์อยู่ถึง ๔ ปี การเมือง การปกครองต่าง ๆ ของล้านนาอยู่ภายใต้อำนาจการ บริหารของ ขุนนาง ปัญหาต่างๆ ที่สะสมได้ทำให้เกิด กลยุค ดัง ีนั้น บรรดาเสนาอำมาตย์ต่างเห็นพ้องกันว่าให้ อัญเชญิพระ เมกุฏ (ิท้าวแม่กุ) แห่งเมืองนาย มาปกครอง ล้านนา ซึ่งพระเมกุฏิทรงสืบเชื้อสายของขุนเครือ พระราชโอรสของพระยามังราย พระเมกุฏิปกครองลา้นนา ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๙๔ - ๒๑๐๑ การปกครองของพระเมกุฏิ นั้น จากหลักฐานตำนานพื้นเมืองเชยงใหม่ฉบับวัดหมื ี ่น ลา้นกล่าวว่า บา้นเมืองในสมัยพระเมกุฏินั้นอยู่ในสภาพ ยุ่งเหยิง ประชาชนได้รับความเดือดร้อนนานัปการจาก การบริหารบ้านเมืองของขุนนางไทยใหญ่และพม่าที่ พระเมกุฏินำมาจากเมืองนายและมอบอำนาจให้ปกครอง บ้านเมือง เนื่องได้มีการสั่งเกณฑ์แรงงานจากประชาชน อย่างหนัก เรียกเก็บภาษีมาก ทำให้ประชาชนไม่พอใจ และเดือดร้อนมาก เมื่อบ้านเมืองกำลังระส่ำระสายนั้น ประชาชนและขุนนางไดอา้ราธนาสมเด็จพระสังฆราชไป ทูลพระเมกุฏใหิ ้ทรงทราบว่า บา้นเมืองจะพินาศ ฉบหายิ ดวย้พระองค์ไดละ้ ทิ้งจารีตประเพณีดังเด้มของบิา้นเมือง สร้างความอัปมงคลและการกระทำพระเมกุฏิเป็นเหตุ ให้บ้านเมืองเสื่อมหรือฉิบหาย (ภาษาล้านนาเรียกว่า “ต้องขึด”) การกระทำดังกล่าวของพระเมกุฏและขุินนาง ของพระองค์ ชาวล้านนาเชื่อว่าทำให้บ้านเมืองเสื่อม เทพยดาอารักษ์ไม่ปกปักษ์รักษาบ้านเมือง เมื่อพม่ายก กองทัพมาโจมตี จึงเสียเมืองแก่พม่าโดยง่าย ล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า เมื่อพระเจ้าบุเรงนอง (พ.ศ. ๒๐๙๔ – ๒๑๒๔ ) แห่งราชวงศ์ตองอูทรงทราบว่าเมืองเชยงใหม่เก ีดิปัญหา ภายในและพระเมกุฏิไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ พระองค์จึงยกทพัมาตีเมืองเชยงใหม่โดย ีทรงตงั้ทพัลอม้ เมืองเชียงใหม่เพียง ๓ วัน ก็สามารถตีเมืองเชียงใหม่ได้ สำเร็จ ใน พ.ศ. ๒๑๐๑ ถือได้ว่าเป็นปีเริ่มต้นของการ เข้ามามีอิทธิพลและอำนาจการปกครองของพม่าใน ล้านนาซึ่งกินระยะเวลายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี อย่างไร ก็ดีในช่วงสองทศวรรษแรกหรือระหว่าง พ.ศ. ๒๑๐๑ - ๒๑๒๑ ราชวงศ์มังรายยังได้รับการผ่อนปรนจากพม่า ให้ปกครองลา้นนาต่อไปในฐานะเปนร็ ัฐบรรณาการหรือ ประเทศราช กษัตริย์ล้านนาทรงต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ของพม่า หลังจากพระนางวิสุทธิเทวีพระประมุของค์ สุดท้ายของราชวงศ์มังรายสวรรคตใน พ.ศ. ๒๑๒๑ มังนรธาช่อ พระราชบุตรในพระเจาบุเ้รงนองไดเ้สด็จมาสืบ ราชสมบัติล้านนา จึงนับเป็นจุดเริ่มต้นที่ราชวงศ์ตอง อูได้ปกครองล้านนา นับแต่นั้นเป็นต้นมา กษัตริย์ พม่าก็ปกครองล้านนาติดต่อกันจนถึง พ.ศ. ๒๓๑๗ ตลอด ๒๐๐ ปี ล้านนาตกอยู่ภายอำนาจการปกครอง ของกษัตริย์พม่า ๓ ราชวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์ตองอู (พ.ศ. ๒๑๒๑ - ๒๑๕๗) ราชวงศ์นยองยาน (พ.ศ. ๒๑๕๗ - ๒๒๗๐) และราชวงศ์คองบอง (พ.ศ. ๒๓๐๖ - ๒๓๑๗) 107 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในสมัยราชวงศ์มังรายปกครองล้านนา กษัตริย์ ทรงพยายามส่งเสริมเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นเมืองสำคัญ และที่ประทับให้เป็นศูนย์กลางทางการเมือง ศาสนา และเศรษฐกจของลิา้นนา ความพยายามที่จะสร้างเมือง เชยงใหม่ให ีเ้ปน็ศูนย์กลางในลา้นนาได้รับการสืบต่อ โดย พระเจ้าบุเรงนองซึ่งประทับ ณ เมืองหงสาวดีแห่งราช อาณาจักรตองอูหรือราชอาณาจักรพม่า ก็ทรงดำเนิน นโยบายตามราชวงศ์มังรายโดยสนับสนนุใหเช้ ยงใหม่อย ีู่ ในฐานะศูนย์กลางการเมืองการปกครองของลา้นนาต่อ ไป พระเจาบุเ้รงนองทรงมีพระบรมราชโองการใหขุ้นนาง พม่าพร้อมกับกองทพพั ม่าส่วนหนงอยึ่ปรู่ะจำการที่เมือง เชียงใหม่เพื่อป้องกันไม่ให้เมืองเชียงใหม่ถูกรุกรานจาก เมืองอื่น ๆ โดยทรงเห็นความสำคัญของเมืองเชียงใหม่ ต้องการให้เมืองเชียงใหม่มีความเข้มแข็งทางการทหาร พอที่จะควบคุมเมืองต่าง ๆ ในหัวเมืองลา้นนาใหยอม้รับ อำนาจของกษัตริย์เชยงใหม่แห่ง ีราชวงศ์ มังราย ซงขึ่ณะ นั้นอยู่ใต้อำนาจของพระองค์ รวมทงยอมั้รับกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ตองอูที่มีอำนาจสูงสุดด้วย ขณะเดียวกันพระเจ้าบุเรงนองยังคงยกย่อง ให้พระเมกุฏิซึ่งได้กลายเป็นเจ้าประเทศราชของ ราชอาณาจักรตองอูดำรงสถานะสูงสุดอยู่ต่อไป จึง สันนิษฐานว่า การสนับสนุนพระเมกุฏิให้มีอำนาจ ทางการเมืองดังกล่าวเกิดจากพระราชประสงค์ของ พระเจ้าบุเรงนองที่จะให้คงมีศูนย์กลางอำนาจย่อยใน เขตพื้นที่ที่มีความแตกต่างทางเชื้อชาติกับพม่าต่อไป โดยใหอยู้่ในอำนาจของเชยงใหม่ ีซงึ่พระองค์ใชเ้ปน็ฐาน ในการปกครอง เพอื่ ที่จะสามารถแสวงหาประโยชน์จาก เมืองต่าง ๆ ในล้านนาได้โดยสะดวก กล่าวคือ เพื่อ สามารถบังคับให้กษัตริย์เชียงใหม่คอยจัดสรรประโยชน์ ที่มีในล้านนาให้สอดคล้องกับความต้องการของพม่า ได้ เช่น เมื่อคราวที่พระเจ้าบุเรงนองทรงเตรียมการเพื่อ โจมตีอยุธยาใน พ.ศ.๒๑๐๗ พระองค์ทรงมอบหมายให้ พระเมกุฏิรับผิดชอบเกยวกับกา ี่ รจัดหากองทพัเรือซงึ่ต่อ มาพระเมกุฏิทรงสงกาั่รใหเจ้ าเมืองอ ้ ินทคีรีและเจาเมือง ้ พรหมคีรีเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องดังกล่าวแทน เพราะ เมืองทั้งสองต่างมีผู้คนชำนาญในการเดินเรือล่องลำ น้ำปิง อีกทั้งความเชื่อเก ี่ยวกับผู้ที่สืบทอดราชบัลลังก์ ของล้านนานั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีเชื้อสายพระราชวงศ์ มังรายเท่านั้น ยังคงจะฝังรากลึกอยู่ในสังคมลา้นนา เพอื่ ป้องกันการเกดิปัญหาดังกล่าว พระเจาบุเ้รงนองจึงยังคง สถานภาพของพระเมฏไวิ ใ้นฐานะเจา้ประเทศราชต่อไป ลักษณะความสัมพันธ์แบบเจ้าประเทศราชที่ ผู้ปกครองในลา้นนามีต่อราชสำนักพม่าที่หงสาวดีทำให้ พม่าต้องเผชญิ ปัญหาการกบฏของพระเมกุฏดิวย เห้ตทีุ่ เป็นเช่นนี้ก็เนื่องมาจากการที่เมืองต่าง ๆ ในล้านนามี ที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มระหว่างภูเขา ทำให้การคมนาคม ระหว่างราชสำนักพม่ากับเมืองต่างๆ มอุีปสรรค รวมทงั้ เจ้าเมืองยังคงมีอำนาจดูแลเมืองของตนต่อไปตามเดิม จึงทำให้ผู้ปกครองในล้านนามีโอกาสที่จะสะสมเสบียง อาหารและผู้คนเพอก่อกา ื่รกบฏต่อต้านอำนาจของพม่า ได้โดยง่าย ดังนั้น เมื่อพระเจ้าบุเรงนองเข้าตีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๐๗ พระเมกุฏิพร้อมด้วยเจ้าเมืองเชียงแสน เจาเมืองล ้ ำปาง เจาเมือง ้น่าน และเจาเมืองเช ้ยงีราย ต่าง พากันกระด้างกระเดื่องต่อพระเจ้าบุเรงนองโดยไม่ยอม 108
เข้ารวมกับกองทัพพม่า ส่งผลให้พม่าต้องยกทัพเข้ามา ปราบปรามล้านนาอีกครั้ง โดยปลดพระเมกุฏิออกจาก ตำแหน่งกษัตริย์เชยงใหม่ และแ ีต่งตงั้พระนางวิสทุธเิทวี พระราชธิดาของพระเมืองเกษเกล้า และเป็นพระมหา เทวี (แม่) ของพระเมกุฏิพระราชวงศ์มังรายอีกพระองค์ ขึ้นปกครองแทนในฐานะเจ้าประเทศราชของพม่าที่อยู่ ใต้อำนาจของพระเจ้าบุเรงนอง และยังคงรักษาสถานะ ของเมืองเชยงใหม่ให ีเ้ปน็ศูนย์กลางการปกครองในลา้นนา ตามเดิม หลังจากที่พระนางวิสุทธิเทวีสิ้นพระชนม์ใน พ.ศ ๒๑๒๑ ซึ่งนับเป็นการสิ้นสุดการสืบราชบัลลังก์ ของราชวงศ์มังรายอย่างเป็นทางการ พระเจ้าบุเรงนอง โปรดให้ราชบุตร คือพระเจ้ามังนรธาช่อ (บางเอกสาร ขนานพระนามว่า นรธาเมงสอ) ปกครองเมืองเชียงใหม่ ในฐานะเจ้าประเทศราชของพม่า ทำให้ความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ปกครองเมืองเชยงใหม่กับกษั ี ตริย์พม่ามความี ผูกพนั อย่างใกลช้ดกั ินและเปน็ความสัมพนัธ์กันในระบบ เครือญาติ การยกล้านนาให้อยู่ภายใต้การปกครองของ มังนรธาช่อพระราชบุตรนั้นจึงเท่ากับเป็นการสร้าง เครือข่ายศูนย์กลางอำนาจย่อยเพอดื่แลเมืองูทางตะวัน ออกซึ่งมีเมืองสำคัญ เช่น อยุธยา ล้านช้าง และไทใหญ่ ทั้งนี้เพราะเมืองต่าง ๆ เหล่านี้บางแห่งแม้ตกอยู่ภาย ใต้อำนาจของพม่าแล้ว แต่ก็ยังคงก่อการกบฏท้าทาย อำนาจของพม่าอยู่เนืองๆ รวมทงใั้นลา้นนาในสมัยที่ถกู ปกครองโดยเชื้อสายพระราชวงศ์มังรายภายใต้อำนาจ พม่านั้น เช่น เชียงราย เชียงแสน น่าน และอื่น ๆ ทั้งนี้ ก็เป็นไปตามนโยบายรักษาความเป็นปึกแผ่นของราช อาณาจักรที่พระเจ้าบุเรงนองทรงสร้างไว้ด้วย การปกครองเชยงใหม่ของ ีพม่าในพทุธศตวรรษที่ ๒๓ ได้เพิ่มความเข้มงวดขึ้นเป็นลำดับ พระเจ้าเส่นมิน (พ.ศ. ๒๒๔๑ -๒๒๕๗) ได้โปรดฯ ให้กองทัพพม่า ผลัดเปล ี่ ยนกันมาประจำที่เมืองเชียงใหม่ทุก ๆ ๓ ปี และทำให้ตำแหน่งผู้ปกครองเชยงใหม่ ี รู้จักกันในตำนาน พื้นเมืองล้านนาว่า “โป่” หมายถึง ตำแหน่งแม่ทัพแทน ตำแหน่งเมียวหวุ่น และใน พ.ศ. ๒๒๔๓ พม่าเข้ามา จัดระบบการปกครองเชียงแสนมากขึ้น โดยผู้ปกครอง เชยงแี สนต้องเปน็ขุนนางชาวพม่าเท่านั้น และผู้ปกครอง จะมีฐานะเป็นเมียวหวุ่นเทียบเท่าตำแหน่งเมียวหวุ่น ของเมืองเชียงใหม่ ดังมีเหตุผล ๒ ประการ ที่ยกฐานะ เมืองเชียงแสนให้สำคัญเทียบเมืองเชียงใหม่ ดังนี้ ๑. การเพิ่มผลผลิตทางการค้าผ้าระหว่างพม่า กับอินเดียตะวันออกที่ดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง ในเขต เมืองท่าต่าง ๆ โดยเมืองอังวะ ทำให้เมืองอังวะเป็น ศูนย์กลางการค้าผ้าที่สำคัญของพม่าตอนบน นอกจาก นี้ การเพิ่มจำนวนประชากรในจีนทำให้ปริมาณการแลก เปล ี่ ยนสินค้าทางบกระหว่างจีนกับพม่าตอนบนเพิ่มขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้การค้าตามเมืองตอนในขยายตัว ตามไปด้วย และในฐานะตลาดการค้าที่เคยเป็นสถานที่ แลกเปล ี่ ยนสินค้าของชาวจีนมาก่อนตั้งแต่สมัยราชวงศ์ มังราย เมืองเชียงแสนจึงกลายเป็นแหล่งชุมนุมของ พ่อคา้ตอนบนอกแห่ง ี ที่ขยายตัวขึ้น ตามแรงกระตุ้นจาก สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของภูมิภาคตอนบน ๒. พระราชโองการที่กำหนดขอบเขตการ ปกครองขนาดของเมืองในสมัยพระเจ้าทาลุน (ตลุน) หรือพระเจ้าสุทโธธรรมราชา (พ.ศ.๒๑๗๒-๒๑๙๑) ยัง คงยึดถือบังคับใช้ในรัชกาลต่อ ๆ มา โดยทรงเห็นว่า 109 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ หากยังคงให้เมืองเชียงแสนขึ้นอยู่กับเมืองเชียงใหม่ต่อ ไป อาจทำให้ผู้ปกครองเชยงใหม่ใช ี ความมั ้ งคั่งจากเมือง่ เชยงแีสนมาขยายอิทธิพลและอำนาจของตนมากขึ้นจน ยากแก่การควบคุม จึงทำให้เชียงแสนเป็นเอกเทศและ เป็นอิสระจากการปกครองของเมืองเชียงใหม่ ราชวงศ์นยองยานปกครองล้านนาในฐานะ มณฑลหนึ่งของระบบการปกครองของพม่าที่บรรดา ผู้ปกครองในล้านนาจะขึ้นตรงกับราชสำนักพม่า และ ทำให้บรรดาผู้ปกครองล้านนาถูกลดอำนาจด้านการ ปกครองและการจัดเก็บผลประโยชน์ ในสมัยที่ราชวงศ์ คองบองมีอำนาจปกครองล้านนา ปัญหาทางการเมือง ที่พระเจามัง ้ระต้องเผชญ เช่ ิน ปัญหาการรุกรานจากจีน ปัญหาการฟื้นฟูอำนาจของพระเจ้ากรุงธนบุรี มีผลให้ พระเจามัง ้ระไม่ได้ฟื้นฟูระเบยบกาี รปกครองของพม่าใน ล้านนามากไปกว่าการเรียกเกณฑ์แรงงาน ทำให้ขุนนาง พม่าที่เข้ามาปกครองล้านนาแสวงหาผลประโยชน์ให้ กับตนเองจนไปกระทบกับสิทธิอำนาจของผู้ปกครอง ล้านนาเป็นผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครอง ๒ กลุ่ม และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้ปกครองพื้นเมือง ร่วมมือกับสยามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๑๗ และขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงแสนได้ ใน พ.ศ. ๒๓๔๗ และนับตั้งแต่นั้นมาอาณาจักรล้านนา ก็ได้มาเป็นหัวเมืองประเทศราชของสยามก่อนจะสลาย ตัวกลายเปน็จังหวัดอันเปน็หน่วยการปกครองของสยาม ในเวลาต่อมา อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ เป็นต้นมา แม้พม่าได้ส่งเจ้านายและขุนนางมาปกครอง ล้านนาอย่างใกล้ชิดมากขึ้นและควบคุมเป็นเวลานาน แต่ก็ไม่ได้ปรากฏหลักฐานร่วมสมัยในเวลานั้นของงาน ศิลปกรรมแบบพม่าใด ๆ ในล้านนาที่สามารถยึดถือ เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะล้านนา ไม่ไดถ้กูพม่าครอบงำตลอดเวลา มบางเวลาี ที่เปน็อิสระ และบางช่วงถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยามายึดครอง แต่ก็ ยังคงปรากฏอิทธิพลของวัฒนธรรมแบบพม่าบางอย่าง ที่ได้เข้ามาเก ี่ ยวข้องในวิถีชีวิตของชาวล้านนา เช่น การ เจาะรูหู (ขวากหู) ใส่ม้วนลาน การสักหมึกลวดลายแบบ พม่าที่ต้นขาของผู้ชาย รวมทงกาั้รปลกเูรือน สิ่งก่อสร้าง ภายในวัดที่มคีติความเชือของ่พม่าปะปน เช่น การตงเั้สา หงส์ และก่อรูปสิงห์ไว้ที่วัดหรือตามเจดย์ ใ ีนดา้นอาหาร ก็ได้มีการนำเอาวิธีปรุงอาหารแบบพม่ามาเผยแพร่จน เปนที่นิ ็ ยมถึงปัจจุบัน เช่น น้ำพริกอ่อง แกงฮังเล รวมทงั้ งานศิลปะ สถาปัตยกรรมแบบพม่า เช่น เจดีย์พระธาตุ พระพุทธรูป และรูปสัญลักษณ์ต่าง ๆ ก็ปรากฏอยู่ในวัด ของล้านนาหลายแห่ง สรุปได้ว่า อาณาจักรล้านนาเป็นพื้นที่ที่ความ สำคัญทั้งในเชิงของการค้าที่เป็นเส้นทางสำคัญในการ เชื่อมต่อไปยังดินแดนต่าง ๆ ในการค้าตอนใน และยัง เป็นเส้นทางสายวัฒนธรรมที่ปรากฏให้เห็นถึงการผสม ผสานระหว่างวัฒนธรรมพื้นถิ่นและวัฒนธรรมจากพม่า ที่เขามาใ ้นช่วงระยะเวลาที่ราชวงศ์ต่าง ๆ ของพม่าขยาย อิทธิพลทางการเมืองมายังอาณาจักรลา้นนา แมว่า้ ท้าย ที่สุด ล้านนาจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทยแต่ การเปน็เส้นทางการคา้ที่สำคัญก็ยังคงปรากฏอยู่ อกีทง ั้ วัฒนธรรมของลา้นนาไดกลายเ้ ปน็มรดกทางวัฒนธรรม ที่มีมูลค่าทางการตลาดจนกลายเป็นอัตลักษณ์ประจำ ภูมิภาคได้อย่างโดดเด่น 110
พระธาตุดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ 111 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ อยุธยา: เมืองท่าและศูนย์กลางการค้า อาณาจักรอยุธยาเป็นราชธานีของไทยตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ มีศูนย์กลางอยู่ที่ กรุงศรีอยุธยาหรือพระนครศรีอยุธยา ในอดีตเมื่อกล่าวถึงการล่มสลายของอาณาจักรอยุธยา มักจะเชื่อมโยงไปถึงการเสื่อมโทรมของบ้านเมืองทั้งการค้า ความวุ่นวายทางการเมืองภายใน โดยอธิบายเก ี่ ยวพันไปถึงราชวงศ์บ้านพลูหลวง แต่ในรอบทศวรรษที่ผ่านมามีงานวิชาการภาย ใต้โครงการวิจัยเรื่อง “ประกอบสร้างความรู้เรื่องอยุธยาตอนปลาย” ต่อมาผลงานเหล่านี้พิมพ์ เผยแพร่ในหนังสือ “ในยุคอวสานกรุงศรี ฯ ไม่เคยเสอม” ช ื่ใหี้ เห็ ้นว่าแมใ้นยุคปลายกรุงศรีอยุธยา ก็ไม่เคยเสื่อม ความเข้าใจที่มีมาในอดีตนั้นเป็นผลมาจากการนำเพดานความคิดเรื่องกำเนิด ยุคทองและยุคเสื่อม มาตีกรอบประวัติศาสตร์อยุธยา นอกจากกรุงศรีอยุธยาจะไม่เสื่อมแล้ว ผลงานศึกษาเหล่านี้ ยังแสดงใหเห็ ้นว่า ประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลายเปน็ความต่อเนองของื่ พัฒนาการมากกว่าจะเป็นความเปล ี่ ยนแปลงไปในทางเสื่อม เป็น “ยุคแห่งการบ่มฟัก” คือไม่ เพียงสืบสานความต่อเนื่องที่ถูกส่งผ่านมาจากยุคก่อน แต่ยังมีบูรณาการภายในของตนเองจน สร้างเอกลักษณ์เฉพาะตนขึ้นมาและ “บ่มฟัก” เอกลักษณ์นั้นจนกลายเป็นแบบฉบับให้เกิดการ สืบสานลอกเลียนในยุคต่อมา ในแง่ของการเป็นศูนย์กลางการค้า แม้การค้ากับตะวันตกจะลดปริมาณลงหลังสมัย สมเด็จพระนารายณ์ฯ แต่การค้ากับดินแดนอื่น เช่น จีน ในช่วงปลายอยุธยาก็ยังคงอยู่ และใน ช่วงก่อนศรีอยุธยาจะแตกข้อมูลจากคำให้การขุนหลวงหาวัดระบุว่า หลังสงครามกับพระเจ้า อลองพญาเสร็จสิ้นมา “มีนายสำเภาพ่อคาชื ้ อ อลังค่ปูนี เอาสิงโตตัวหนงมาถวายกับ่ึนกกระจอกเทศ ตัวหนึ่งแก่พระบรมเอกทัศอันเปนใหญ่ พระองค์ให้ประทานรางวัลเงินทองสิ่งของต่าง ๆ แก่ อลังคปูนี อันมีน้ำใจสามิภักดิ์” ส่วนพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่า นายกำปั่ นอังกฤษ “บรรทุกผ้าสุรัตมาจำหน่าย ณ กรุง” และตกลงช่วยรบพม่าตาม คำขอร้องของพระยาโกษาธบดิ กาีรเขามาของอลังค ้ ปูนีหรือนายโพนีย์ จากการศึกษาของ ธีรวัต ณ ป้อมเพชร พบว่าอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๑๗๖๕ กับเดือนมกราคม ค.ศ. ๑๗๖๖ หรือตกในราว พ.ศ. ๒๓๐๘ จะเห็นไดว่าแม ้ ใ้นช่วงนั้นกรุงศรีอยุธยาจะมศึกีพม่าประชดิพระนคร แต่ก็ยังคงมีพ่อค้าต่างชาติเข้ามา แม้จะไม่มากนักก็ตาม แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการ เป็นเมืองท่าหรือศูนย์กลางการค้าของกรุงศรีอยุธยา การเป็นศูนย์กลางการค้าของอยุธยามา 112
จากหลายปัจจัยทั้งทำเลที่ตั้ง สินค้า และปัจจัยอื่น ๆ เมื่อเป็นศูนย์กลางการค้าสิ่งที่ตามมาก็คือ การที่กรุงศรีอยุธยาเปนที่ร ็วมของผู้คนจนทำใหเ้ปนส็ ังคมพหุวัฒนธรรม ก่อใหเก้ดกาิรรับและแลก เปล ี่ ยนวัฒนธรรมซึ่งถ่ายทอดต่อมาถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ด้วย ศูนย์กลางสำคัญของอาณาจักรอยุธยาอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสัก ซงแึ่ต่เดมเคยเิ ปนพ็ ื้นที่แกนกลางของอาณาจักรทวารวด และเี ปนที่ต ็ งของเมืองละโว ั้ (เมืองล ้พบุรี) เมืองสุพรรณภูมิ (เมืองสุพรรณ) มาก่อน สองเมืองหลังจากนี้เมื่อสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ก็ยังคงมีความสำคัญต่ออาณาจักรอยุธยาอย่างต่อเนื่อง 113 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ละโว้ (ลพบุรี) - สุพรรณภูมิ (สุพรรณ) : แกนกลางสำ คัญของอาณาจักรอยุธยา เมืองละโว (ล้พบุรี) เปน็ เมืองที่มีพัฒนาการตงแั้ต่ ก่อนสมัยประวัติศาสตร์ จากการศึกษาของนักโบราณคดี พบว่าบริเวณหุบเขาวงพระจันทร์ในเขตลพบุรีพบแหล่ง ทองแดงหลายแห่ง เช่น เขาพระบาทน้อย เขาพุคา เขาทับควาย และเขาไทรอ่อน ตามภูเขาเหล่านี้มีแหล่ง โบราณคดีเก ี่ยวกับการใช้ทองแดงมากมาย นอกจาก นี้ยังพบหลักฐานการถลุงและหล่อทองแดงที่โนนป่า หวาย บริเวณอำเภอโคกสำโรงในปัจจุบัน ครอบคลุม พื้นที่ประมาณ ๓๐ ไร่ จากความหนาแน่นของเศษกาก แร่ที่หลงเหลือจากกระบวนการผลิตทองแดงที่โนนป่า หวายผนวกกับที่พบจากแหล่งอื่น ๆ ที่อยู่บริเวณข้าง เคียง แสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เป็นแหล่งผลิตทองแดงที่ มขีนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนงใึ่นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักฐานสำคัญอีกอย่างหนึ่ง ที่พบในบริเวณหุบเขาวงพระจันทร์ คือ การผลิตก้อน ทองแดงสำเร็จรูป (copper ingots) ซึ่งอาจเป็นของที่ใช้ ในการแลกเปล ี่ ยนค้าขายกับที่อื่น ๆ ทองแดงเป็นโลหะ สำคัญในการนำไปผสมกับโลหะอื่น เช่น ดบุก ีตะกัว และ่ สารหนู และก่อให้เกิดสัมฤทธิ์ โลหะที่มีประสิทธิภาพ ในการทำเครื่องมือเครื่องใช้และทำให้ชุมชนปรับสภาพ แวดลอมได ้ ง่ายขึ ้ ้น จากหลักฐานโบราณคดขีาง้ ต้นแสดง ว่าเมืองละโว้เติบโตขึ้นมาในชุมชนที่มีความเจริญด้าน โลหะวิทยาการ ข้อได้เปรียบของละโว้ที่ทำให้มีพัฒนาการต่อ เนื่องมาจากทำเลที่ตั้งที่มีเส้นทางติดต่อกับเมืองใน ลุ่มแม่น้ำป่าสัก ที่ราบสูงโคราช และเขตตะวันตกของ ทะเลสาบเขมร ทำให้ละโว้เป็นศูนย์รวมของทรัพยากร จากบ้านเมืองโดยรอบ ในสมัยทวารวดี ละโว้เป็นเมือง สำคัญที่สุดเมืองหนึ่งทั้งในเชิงการเมืองและการค้า ในดา้นการเมืองจากจารึกภาษามอญอายุประมาณพทุธ ศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ ซึ่งจารึกบนเสาหินแปดเหล ี่ ยมและ จารึกบนพระพทุธรูป แสดงใหเห็ ้นว่าผู้ปกครองของเมือง นี้ในเวลานั้นเป็นมอญ วินัย พงศ์ศรีเพียร ระบุว่าในช่วง ที่ละโว้เจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในระหว่างพุทธศตวรรษ ที่ ๑๒ และ ๑๓ นั้น ราชวงศ์ท้องถิ่นที่ปกครองอยู่ ต้องมีปริมณฑลอำนาจกว้างขวาง เพราะตำนานเมือง ลำพูน กล่าวว่าพระนางจามเทวีผู้ถกูส่งไปปกครองเมือง ลำพูน เปนพร็ะราชธดาเลิยงและ ี้ สะใภหลวงของ้พระเจา้ จักรพรรดิกษัตริย์ของลวรัฐ พระสวามีของพระนาง เป็นอุปราชครองเมืองรามั(ญ)นคร ซึ่งอยู่ใกล้กับละโว้ มหานคร หากมองในแง่การค้าการขยายอำนาจขึ้นไป ถึงลำพูนหรือหริภุญชัยนี้ส่วนหนงึ่น่าจะเปน็ ไปเพอกาื่ร เข้าถึงหรือการควบคุมการค้าในดินแดนตอนในซึ่งเป็น แหล่งทรพัยากรสำคัญ ความสำคัญทางการคาของเมือง ้ ละโว้พิจารณาไดจากกา้รพบเหรียญเงินมจาีรึก “ลวปรุะ” ที่เมืองอู่ทอง โดยคำว่า “ลวปุระ” คือชื่อเมืองเดิม ของเมืองลพบุรีนอกจากนี้การพบเหรียญเงินโบราณ จำนวน ๖๕ เหรียญฝังรวมกันอยู่ในหม้อที่เมืองพรหม ทินทางตอนเหนือของเมืองลพบุรี ก็สะท้อนถึงบทบาท ของชุมชนโบราณแถบลพบุรีที่พัฒนาขึ้นตั้งแต่ช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ เพื่อรับกับเครือข่ายการค้าระหว่าง ภูมิภาค 114
ในสมัยทวารวดีที่การค้าตามเส้นทางสายไหม ทางทะเลเฟื่องฟูน้นั ละโว้ก็คงเป็นหน่งใึนเมืองที่มีส่วน ร่วมการค้าดังกล่าว หลักฐานทางโบราณคดีที่ยืนยันถึง เรอง่ื นี้ คือ การพบลกูปัดแกว้ที่นักวชากาิรสนนิ ัษฐานว่า แหล่งผลิตอย่ใูนประเทศจีน และภมูภาคิตะวันออกกลาง รวมท้งกาัรพบเคร่องืรางของพ่อค้า เป็นตราดินเผารูป คชลักษมีและท้าวกุเวรซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แห่งโชคลาภ ความอุดมสมบูรณ์และความมังคั่ง่ ร่ำรวยตามเมืองโบราณ ต่าง ๆ รวมทงละโว้ั และจากงา้นศึกษาของทสซูั โร ยามา โมโต ที่อางถึง ้สารานุกรมทงเตี่ยนที่ระบุว่า “ในประเทศนี้ (ทวารวด) มี ีตลาด (หรือเมือง) ๖ แห่ง” เขาเห็นว่าตลาด ใหญ่ ๖ แห่งนี้ อาจตรงกับเมืองนครปฐมโบราณ เมือง อทู่อง เมืองเก่าลพบุรี หรือชุมชนพงตึก จังหวัดกาญจนบุรี ก็ได แม้ข้อ้สนนิ ัษฐานของยามาโมโตจะยังไม่มกาีรยืนยัน จากนักวิชาการอื่น ๆ แต่ประเด็นสำคัญอย่ทีู่ละโว้หรือ เมืองลพบุรี เปน็ เมืองที่มีส่วนร่วมกับการคากับ ้ต่างแดน มาตงแ้ัตส่ มัยทวารวดี ฐานะของละโว้จากรัฐอิสระได้เปลย ี่ นไปในราว ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๖ จากการศึกษา พบว่าจารึก หลายหลักที่เมืองละโว ใช้ภาษา้สนสักฤตและภาษาเขมร แทนที่ภาษามอญโบราณ เน้อความของจาืรึกเป็นเร่องื ราวเกยวกับ ี่ พระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ ดังน้นตั้งแัต่ราวต้น พทุธศตวรรษที่ ๑๖ อิทธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรม ของเขมรได้แผ่เข้ามาที่ละโว้อย่างชัดเจน แม้ร่องรอย วัฒนธรรมเขมรจะเห็นไดชัดเจ ้น แต่อำนาจทางการเมือง ของเขมรเหนือดินแดนในแถบลุ่มแม่น้ำเจา้พระยาน้นัไม่ ได้เข้มแข็งตลอดเวลา เพราะปรากฏหลักฐานว่าทันทีที่ อำนาจของเขมรอ่อนแอลง รัฐต่าง ๆ ก็พยายามปลกีตัว เปน็อิสระดังปรากฏหลักฐานว่า ใน พ.ศ. ๑๖๕๘ และ ๑๖๙๘ จีนได้รายงานว่าหลัวห (ละโว ู ) ได ้ ้ส่งทูตไปถวาย เคร่องืราชบรรณาการที่เมืองจีน สมัยพระเจ้าชัยวรมัน ที่ ๗ กษัตริย์เขมรที่ยงใหญ่ ิ่ พระองค์สุดท้ายก่อนที่เขมร จะเข้าสู่ยุคเส่ือม พระองค์ได้โปรดให้ทำจารึกปราสาท พระขรรค์ใน พ.ศ. ๑๗๓๕ กล่าวถึงบรรดาเมืองขึ้น ทงหมดของ้ัพระองค์ เช่น ลโวทัยปรุะ (ละโว) ้สุวรรณภมูิ ชัยราชปุระ (ราชบุรี) จะเห็นได้ว่าแม้ละโว้จะพยายาม ปลีกตัวเป็นอิสระ แต่เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ขึ้นมา มีอำนาจก็พยายามขยายอำนาจมาครอบงำดินแดน ต่าง ๆ รวมทงละโว้ั ้ 115 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ละโวม้ความี สำคัญต่อเขมรอย่างน้อย ๒ ประการ ประการแรก ในเชงเศิรษฐกจและกาิรคา เ้พราะเศรษฐกจิ หลักของเขมรในเวลานั้นพึ่งพาการเกษตรเพาะปลูก ข้าวที่ต้องอาศัยแรงงานในการผลิต ดังนั้นการขยาย อำนาจเขมรเข้ามาครอบครองดินแดนภาคกลางของ ประเทศไทย ย่อมส่งผลดีต่อเขมรเพราะเท่ากับมีพื้นที่ ทางการเกษตรและ (แรงงาน) เพิ่มมากขึ้น เพราะ ดินแดนแถบนี้เปน็แหล่งปลกขูาว้ ที่สำคัญมาก่อน ในสมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ละโว้ยังคงมีความสำคัญต่อเนื่อง ไม่เพียงเป็นแหล่งปลูกข้าวพื้นที่บริเวณลุ่มแม่น้ำในภาค กลางของประเทศไทย ยังมีทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ คือ แร่ธาตุและของป่านานาชนิด ซึ่งเป็นที่ต้องการของ เขมรเพื่อนำไปค้าขายด้วย อีกประการหรือความสำคัญ ด้านศาสนาดังที่ Hedwig Multzen O’Naghten เสนอ ว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงเป็นพุทธมามกะในนิกาย มหายาน (หรือวัชรยาน) ทรงสนใจพื้นที่เขตภาคกลาง และทางตะวันตกของไทย เพราะพื้นที่แถบนี้ (รวมทั้ง ละโว้) เป็นศูนย์กลางพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยทวารวดี ถ้าเป็นตามความคิดดังกล่าวก็เป็นไปได้ว่าพระเจ้าชัย วรมันที่ ๗ อาจได้รับอิทธิพลทางพทุธศาสนาไปจากไทย จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าละโว้หรือ เมืองลพบุรี เป็นเมืองที่มีความสำคัญทั้งในแง่การมี ทรัพยากรธรรมชาติทำเลที่ตั้งในการติดต่อกับดินแดน ที่อยู่ลึกเข้าไปตอนในมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสืบเนื่องมาจนกระทั่งมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เมืองสุพรรณบุรี เป็นอีกพื้นที่ที่มีความสำคัญ ทางประวัติศาสตร์ ที่มีแหล่งโบราณคดีหลายแห่งที่ สำคัญ เช่น เมืองโบราณอู่ทอง ซึ่งมีโบราณวัตถุทาง ศาสนาและเก ี่ ยวข้องกับการค้ามีอายุอยู่ในช่วงก่อน หน้าสมัยทวารวดี โบราณวัตถุทางศาสนา เมืองอู่ทอง มีบทบาทเป็นเมืองท่าค้าขายที่สำคัญแห่งหนึ่งโดยเป็น เมืองท่าร่วมสมัยกับเมืองออกแก้ว (ฟูนัน) และควน ลูกปัด (ตักโกลา) หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นเมืองท่าการ ค้าก่อนสมัยทวารวดี อย่างไรก็ดี เมืองอู่ทองได้ถูกทิ้ง ร้างไป นักวิชาการสันนิษฐานเหตุการณ์ทิ้งร้างไว้หลาย ประการ แต่ที่ดูจะเป็นที่ยอมรับกันมากในเวลานี้ คือ ปัญหาการจัดการระบบชลประทาน แม้เมืองอู่ทองจะ ร้างไป แต่เมืองอื่น เช่น เมืองเก่าสุพรรณก็มีบทบาท ต่อมา เมืองสุพรรณตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีนที่ มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ในสมัย ทวารวดเมือง ีสพรรณุคงเปน็ แหล่งปลกขูาว้ ที่สำคัญ เมือ่ อิทธิพลเขมรเริ่มเขามาใ ้นเขตภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและอาจตั้งอยู่บนเส้นทางการ ค้าและการติดต่อทางบก ทางน้ำ และอาจสัมพันธ์กับ เส้นทางการค้าทางทะเลที่สำคัญ เมืองสุพรรณก็คงตก อยู่ภายใต้การครอบครองของเขมรเช่นเดียวกับละโว้ (เมืองลพบุรี) ดวย หลักฐา ้นจากจารึกปราสาทพระขรรค์ ในสมัยพระเจาชัยว ้รมันที่ ๗ ไดกล่าวถึงชื ้ อเมืองอั่นเปน็ ที่ประดิษฐานพระชัยพุทธมหานาถ ๒๓ แห่ง โดยส่วน หนึ่งอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศไทย ประเด็นที่น่า สนใจอีกประการหนึ่ง ได้กล่าวถึงการที่พระเจ้าชัยวรมัน ที่ ๗ ทรงพระราชทานพระธิดาและพระขรรค์ชัยศรีแก่ เจ้าเมืองต่าง ๆ จึงเป็นการใช้นโยบายผูกสัมพันธ์ทางใจ 116
และการยอมรับอำนาจที่ค่อนขางเ้ ปน็อิสระของราชวงศ์ ท้องถิ่นในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ลุ่มแม่น้ำป่าสัก ใน ลักษณะของรัฐอิสระและมีราชวงศ์ปกครอง หลังสิ้นรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ อิทธิพล เขมรเสื่อมลงพร้อมกับบทบาทของคนกลุ่มใหม่ที่พูด ภาษาตระกูลไท และการตั้งรัฐไทยในบริเวณภาคเหนือ ตั้งแต่ราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เข้ามาแทนที่ ดัง นั้นข้อมูลและเรื่องราวของละโว้สุพรรณภูมิ บางเรื่องที่ ปรากฏจะสัมพนัธ์กับอาณาจักรสุโขทัยรวมทงอาั้ณาจักร อยุธยาที่สถาปนาขึ้นในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ จากทวารวดีถึงอยุธยา อาณาจักรอยุธยาสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. ๑๘๙๓ เชื่อกันว่ากรุงศรีอยุธยาเป็นผู้สืบทอดหรือทายาทอัน ชอบธรรมของอาณาจักรทวารวดีโบราณในลุ่มแม่น้ำ เจ้าพระยา เห็นได้จากชื่อ “กรุงเทพมหานครบวร ทวาราวะดีศรีอยุทธยามหาดิลกภพนพรัตนราชธานี บุรีรมย์อุดมราชมหาสถาน” เปน็ ไปไดว่าอยุธยาคงจะคุ ้ ้น เคยกับคนจีนและการค้ากับจีน อย่างน้อยหลักฐานจีน ในสมัยราชวงศ์ถังก็ระบุว่าระหว่าง พ.ศ. ๑๑๖๖-๑๑๙๑ มีรัฐต่าง ๆ จากคาบสมุทรมลายูและแผ่นดินใหญ่ของ เอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ ไดแก่ ถัวหลัว ้ ปัวตี้หรือทวารวดี ผานผาน ศรีวิชัย ส่งคณะทูตเข้ามาถวายบรรณาการแด่ จักรพรรดิถัง นอกจากนี้ หลักฐานบันทึกการเดินทาง ของหลวงจีนอ ี้ จิง (พ.ศ. ๑๒๑๔-๑๒๓๘) ระบุว่า มีพระ มหาเถระจีนรูปหนึ่งฉายาว่าต้าเฉินเติ้ง เดินทางกับพ่อ แม่ตั้งแต่เด็กเพื่อมาบวชและศึกษาเล่าเรียนที่ทวารวดี สนนิ ัษฐานว่าบดาของิพระมหาเถระท่านนี้เปนพ็ ่อคาจ้ ีน และเหตุการณ์การเดินทางมาที่ทวารวดีน่าจะอยรู่ ะหว่าง พ.ศ. ๑๑๗๐-๑๑๙๒ หลังสมัยราชวงศ์ถังล่มสลาย จีนเข้าสู่สมัย ๕ ราชวงศ์ ๑๐ อาณาจักร (พ.ศ. ๑๔๕๐-๑๕๐๓) หรือยุค แห่งความแตกแยก ขณะที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอิทธิพล ของพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ แห่งเมืองพระนครก็ค่อย ๆ เข้ามาแทนที่อาณาจักรทวารวดี เห็นได้จากร่องรอย ของจารึกที่พบ เริ่มใช้ภาษาสันสกฤตและภาษาเขมร แทนที่ภาษามอญ ส่วนการค้ากับจีนนั้นราชวงศ์ต่าง ๆ ที่ปกครองจีนทางใต้พยายามฟื้นฟูการค้าทางทะเลกับ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกครั้ง การค้ากับจีนรุ่งเรือง อีกครั้งในสมัยราชวงศ์ซ่ง (พ.ศ. ๑๕๐๓-๑๘๒๒) โดยมี พ่อคาเอกช้นเปน็ กลุ่มหลักในการดำเนินการคา ใ ้น พ.ศ. ๑๕๓๐ ราชวงศ์ซ่งกระตือรือร้นส่งคณะทูตซึ่งประกอบ ด้วยข้าราชสำนักนำสาส์นตราตั้งและของกำนัลจาก จักรพรรดิเดินทางไปยังรัฐต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้เพื่อเชื้อเชิญให้ไปค้าขายกับจีน พ.ศ. ๑๖๑๙ พ่อค้าจีนได้รับการส่งเสริมจากราชสำนักให้จัดทูตและ คณะพ่อค้าเดินทางไปยังรัฐโพ้นทะเลด้วย เส้นทางการ ค้าทางทะเลสมัยราชวงศ์ซ่ง คือ ญี่ปุ่น เอเชียตะวัน ออกเฉยงใ ี ต้ อินเดย อาหีรับ และฝั่งตะวันออกของทวีป แอฟริกา ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเส้น ทางกึงกลางใ่นการผ่านไปอินเดยและอาหีรับ จึงเปน็ดิน แดนที่ราชวงศ์ซ่งใหความ้ สำคัญเปน็ อย่างมาก ดังปรากฏ คณะทูตจากจีนเขามาใ ้นดินแดนนี้อย่างสม่ำเสมอ ควบคู่ ไปกับคณะทูตบรรณาการจากเอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ที่ เดินทางไปจีนอย่างสม่ำเสมอเช่นกัน 117 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในสมัยราชวงศ์ซ่งนี้ อิทธิพลของเขมรเมือง พระนครในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเด่นชัดขึ้นโดยเฉพาะ ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔-ประมาณ ๑๗๖๒) เห็นได้จากจารึกปราสาทพระขรรค์ ที่กล่าวถึง การสร้างพระชัยพุทธมหานาถแล้วพระราชทานไปให้ เมืองต่าง ๆ ๒๓ แห่งในเขตพระราชอำนาจ รวมทั้ง เมืองในเขตลุ่มแม่น้ำเจา้พระยาและบริเวณใกลเค้ ยง คือ ี ลโวทยปรุะ (ลพบุรี) สุวรรณปรุะ (สพรรณุ บุรี) ศัมพูกปัฏฏนะ (เมืองสระโกสินารายณ์ จังหวัดราชบุรี) ชยราชปุระ (ราชบุรี) ศรีชยสิงหปุระ (ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัด กาญจนบุรี) และศรีชยวัชรปุระ (เพชรบุรี) แม้เขมรมี อำนาจทางการเมืองในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ อำนาจนั้นคงไม่แนน่หนานัก เพราะเมือเขม่รอ่อนแอลง ก็ปรากฏหลักฐานว่าใน พ.ศ. ๑๖๕๘ และ พ.ศ. ๑๖๙๘ ละโว้ได้ส่งคณะทูตไปถวายเครื่องราชบรรณาการที่จีน นอกจากนี้เอกสารจีนสมัยราชวงศ์ซ่งยังให้ข้อมูลว่า ใน วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๑๗๔๓ มีรัฐชื่อ เจินหลีฟู่ ได้ ส่งทูตไปราชสำนักจีนเป็นครั้งแรก หลังจากนั้นยังส่งไป อีก ๒ ครั้งคือ ในวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๑๗๔๕ และ ในวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๑๗๔๘ พิจารณาจากลักษณะ ทางภูมิประวัติศาสตร์แล้ว เจินหลีฟู่น่าจะอยู่บริเวณ อู่ทองก่อนที่จะรวมเข้ากับละโว้ซึ่งต่อมาจะรวมเข้าเป็น อาณาจักรอยุธยา หลังสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เขมรเมือง พระนครเริ่มเสื่อมอำนาจลงทำให้รัฐแถบลุ่มแม่น้ำ เจ้าพระยาเป็นอิสระ ประกอบกับนโยบายส่งเสริมการ ค้าของราชวงศ์ซ่งที่ทำให้พ่อค้าและนักเดินทางจีนเดิน ทางมายังเมืองชายฝั่งทะเลรอบอ่าวไทย และเครือข่าย การคาบ้ ริเวณชายฝั่ง รวมทงบั้ริเวณลุ่มแม่น้ำเจา้พระยา ตอนล่าง ก่อใหเก้ดชุมชินแถบอยุธยาขึ้นเพอจุดื่ประสงค์ การค้าเป็นสำคัญ ส่วนที่เห็นว่าการย้ายศูนย์กลาง อำนาจมาอยู่ที่เกาะเมืองอยุธยาเป็นการแทรกแซงของ ละโว้นั้น เป็นเพราะละโว้เป็นเมืองหลักสำคัญของเขมร ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา มีหลักฐานโบราณสถาน เช่น พระปรางค์สามยอดและศิลปะที่หลงเหลืออยู่ แม้เขมร จะเสื่อมอำนาจลงแต่ความสำคัญของละโว้น่าจะคง อยู่ นอกจากนี้หลังจากสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ทรงรับ การสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ที่กรุงศรีอยุธยาแล้ว ละโว้ หรือลพบุรีก็ยังคงมีความสำคัญโดยมีสถานะเป็นเมือง ลูกหลวง หมิงสือลู่ให้ข้อมูลที่น่าสนใจว่าในการส่งคณะ ทูตไปจีนครงั้ที่ ๒ เมือวั่ นที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๑๙๑๕ นั้น “กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม-ละโว้ทรงแต่งราชทูต… ถวายพระสุพรรณบัฏแลสิ่งของพื้นเมือง…” จึงเป็นสิ่ง ที่นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าเมืองละโว้ มีความ สัมพันธ์กับเมืองก่อนอยุธยาหรือเมืองอโยธยาอย่าง เห็นได้ชัด ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นระบบเมืองคู่หรือเมือง แฝด และจากการรวมกลุ่มของเมืองภายใต้ระบบเมือง คู่นี้ ทำให้ต่อมามีการผนึกกำลังในทางการเมืองและ เศรษฐกิจเพื่อสร้างศูนย์กลางของรัฐซึ่งเรียกว่า “กรุง” หรือ “นครหลวง” ขึ้น เป็น “กรุงศรีอยุธยา” หรือ “กรุง พระนครศรีอยุธยา” 118
อาณาเขตของอาณาจักรอยุธยา ในสมัยอยุธยายังไม่มีการทำแผนที่กำหนด เขตแดนที่ชัดเจนอย่างปัจจุบัน หากแต่พระราชอำนาจ ของกษัตริย์แผ่ไปถึงบริเวณใด เขตพระราชอำนาจก็อยู่ ณ บริเวณนั้น อย่างไรก็ดอาีณาเขตของอาณาจักรอยุธยา มีการกล่าวถึงไว้บ้างในกฎหมาย เช่น กฎมณเฑียรบาล รวมทั้งในพระราชพงศาวดาร เช่นว่า “ฝ่ายกระษัตรแต่ได้ถวายดอกไม้ทองเงินทั้งนั้น ๒๐ เมือง คือ เมืองนครหลวงเมืองศรีสัตนาคณหุต เมือง เชียงใหม่ เมืองตองอู เมืองเชียงไกร เมืองเชียงกราน เมืองเชียงแสน เมืองเชียงรุ้ง เมืองเชียงราย เมืองแสน หวีเมืองเขมราชเมืองแพร่เมืองน่าน เมืองใต้ทอง เมือง โคตรบอง เมืองเรวแกว ๑๖ เมืองนี้ฝ่ายเหนือ เมืองฝ่าย ใต้เมืองอุยองตะหนะเมืองมลากา เมืองมลายูเมืองวร วารี๔ เมือง เข้ากัน ๒๐ เมือง ถวายดอกไม้ทองเงิน... พญามหานครแต่ได้ถือน้ำ�พระพัท ๘ เมือง คือ เมืองพิศณุโลก เมืองสัชนาไล เมืองศุโขไท เมือง กำ�แพงเพช เมืองนครศรีธรรมราช เมืองนครราชสีมา เมืองตะนาวศรีเมืองทวาย ... เมืองลูกหลวง คือ เมืองพิศณุโลก เมือง สวรรคโลก เมืองกำ�แพงเพช เมืองลพบุรีเมืองสิงคบุรี เมืองหลานหลวง คือ เมืองอินทบุรีเมืองพรมหบุรี...” ส่วนพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งชำระในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพทุธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ระบุว่าในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง) มีพระยาประเทศราชขึ้น ๑๖ เมือง ได้แก่ “เมืองมะละกา เมืองชะวา เมืองตะนาวศรีเมือง นครศรีธรรมราชเมืองทวาย เมืองเมาะตะมะเมืองเมาะ ลำ�เลิง เมืองสงขลา เมืองจันตะปูน เมืองพิศณุโลก เมือง ศุกโขไท เมืองพิไชย เมืองสวรรคโลก เมืองพิจิตร เมือง กำ�แพงเพชร เมืองนครสวรรค์” แม้ชื่อเมืองจากเอกสารทั้งสองเรื่องบางเมือง ไม่สอดคล้อง อีกทั้งบางเมืองที่ระบุว่าเป็นเมืองถวาย ดอกไม้ทองเงินในกฎมณเฑียรบาลนั้นจะผิดยุคผิดสมัย บ้าง แต่ชื่อเมืองดังกล่าวก็สะท้อนลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ สะท้อนให้เห็นการอ้างสิทธิ์ของกษัตริย์ อยุธยาต่อเมืองเหล่านั้น สะท้อนว่าชื่อเมืองที่ปรากฏ เป็นการเติมเข้ามาภายหลังการตั้งบานแพนกกฎหมาย เมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๑ แล้ว และสะท้อนให้เห็นเมืองสำคัญ ทางการปกครองและเศรษฐกจิที่นับเปน็ดินแดนตอนใน ของอยุธยา ส่วนเมืองถวายดอกไม้ทองเงินโดยเฉพาะ เมืองฝ่ายใต้นั้นล้วนเป็นเมืองที่เคยมีความสำคัญหรือ ในเวลานั้นเป็นเมืองสำคัญทางการค้าแทบทั้งสิ้น ในแง่ นี้จึงอาจกล่าวได้ว่าอยุธยาเป็นรัฐที่ให้ความสำคัญกับ การค้าเป็นอย่างมาก ทรัพยากรธรรมชาติและพืชผลทางการ เกษตร: ปั จจัยพื ้ นฐานทางเศรษฐกิจ ในวถิของกาีรเปน็เส้นทางวัฒนธรรมที่ก่อใหเก้ดิ การแลกเปลย ี่ นวัฒนธรรมระหว่างดินแดนต่างๆ ปฏเิสธ มิได้ว่าการค้าเป็นปัจจัยหลักที่นำพาซึ่งความมั่งคั่งและ ความเจริญของอาณาจักร ซึ่งอยุธยาก็เช่นกัน การที่ อาณาจักรอยุธยาอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เช่น 119 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ข้าว พืช ผัก ผลไม้ที่สามารถหล่อเลี้ ยงตนเองได้นับเป็น ปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ทำให้อยุธยาเป็นรัฐที่มีลักษณะ ผสมผสานทั้งการเป็นรัฐเกษตรกรรมและรัฐการค้าใน เวลาเดียวกัน ส่งผลให้อยุธยาดำรงความเป็นศูนย์กลาง การคาได ้ อย่าง ้ต่อเนอง ื่ทรพัยากรธรรมชาติของอยุธยา จึงมีความสำคัญทั้งในแง่ผลิตภัณฑ์เพื่อยังชีพ และเพื่อ การเศรษฐกิจ โดยพิจารณาได้ดังนี้ ทรัพยากรธรรมชาติจากดินแดนตอนใน ๑. ของป่า กรุงศรีอยุธยาสามารถเก็บเกี่ ยวหรือรวบรวม สินค้านานาชนิดจากป่าที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดินสยาม อยุธยาจึงขายสินค้าของป่าเหล่านี้ให้แก่พ่อค้าต่างชาติ หรือนำไปขายที่เมืองท่าอื่น ๆ ของทวีปเอเชีย ของป่า เป็นที่ต้องการของตลาดในดินแดนทางทิศตะวันออก และตะวันตกเสมอ สินค้าของป่าที่โดดเด่นที่สุดได้แก่ ไม้ฝาง (Caesalpinia sappen) เป็นไม้ที่มี ประโยชนท์างการแพทย์และที่สำคัญ คือ การสกัดสียอม้ เพื่อใช้ย้อมผ้าหรือทาสีสีที่ได้จากไม้ฝางจะเป็นสีแดง หรือแดง-ม่วง ไม้ฝางพบได้ในหลายส่วนของอาณาจักร อยุธยา ที่มีคุณภาพดีที่สุดมาจากดินแดนทางทิศตะวัน ออกของกรุงศรีอยุธยา แต่หัวเมืองทางทิศตะวันตก เช่น แม่กลอง ราชบุรี และเพชรบุรี ก็เป็นแหล่งไม้ฝางเช่นกัน ไมฝางขายได ้ก้ำไรดใีนญี่ปนุ่ เนองจากชาวญื่ ี่ปนนำสี ุ่ จาก ฝางไปย้อมผ้าโดยเฉพาะผ้าไหม ไม้กฤษณา (ไม้ในตระกูล Aguileria) เป็นไม้ราคา สูง มีกลิ่นหอมจึงถูกนำไปผลิตเครื่องหอมเช่น ธูปและ น้ำหอม ฉะนั้นไม้เป็นสินค้าที่ขายได้ทั้งในดินแดนทาง ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ไมช้นิดนี้หาไดใ้นป่าทาง ชายแดนเขมร หนังกวาง ป่าในบริเวณหัวเมืองฝ่ายเหนือของ อาณาจักรอยุธยา เช่น กำแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย สวรรคโลก เป็นแหล่งหนังกวางที่สำคัญ สำหรับที่จะ รวบรวมมาขายต่อใหชาว้ต่างชาติในกรุงศรีอยุธยา นาย พรานจากหัวเมืองฝ่ายเหนือสามารถส่งหนังกวางเป็น จำนวนนับแสนผืนมาขายในท่าเรืออยุธยา ชาวญี่ปุ่น ในกรุงศรีอยุธยาเปน็ กลุ่มคนที่เตรียมหนังกวางและแยก ประเภทหนังตามคุณภาพเพื่อไปขายในต่างประเทศ หนังกวางพร้อมกับหนังวัวและหนังควายเป็นสินค้าที่ ขายดีในญี่ปุ่น ช้างและงาช้าง เป็นสินค้าผูกขาดของหลวง ช่วง พทุธศตวรรษที่ ๒๒ ไทยส่งชางไ ้ ปขายที่เมืองท่าในแคว้น เบงกอลกับชายฝั่งโคโรมันเดลของอินเดียในจำนวน ๒๐๐-๓๐๐ เชือกต่อปี ช้างไทยเหล่านี้เป็นที่ต้องการใน แคว้นเบงกอล อาณาจักรกอลคอนดา (Golconda) และ อาณาจักรอื่น ๆ ในอินเดียใต้ผู้ประกอบการค้าช้างมัก จะเป็นพ่อค้าจากอินเดีย สินค้าของป่าอื่น ๆ ได้แก่ รัก นอแรด ไม้สัก ครั่ง กำยาน (benzoin หรือ gum benjamin) ๒. ทรัพยากรจากน้ำและทะเล อ่าวไทยเป็นแหล่งสินค้าอุดมสมบูรณ์สำหรับ อาณาจักรอยุธยา เนื่องจากเป็นที่ตั้งของบรรดาเมือง ท่าและชุมชนชาวประมงตามชายฝั่งตลอดแนวอ่าว ผลผลิตจากท้องทะเลสำคัญคือหนังปลากระเบน ซงเึ่ปน็ ที่ต้องการในญี่ปนุ่ เพอใช ื่ห่อด ้ามดาบ้ซามไูร หรือ Katana 120
เนื่องจากมีความหยาบหรือด้าน นอกจากนี้สินค้าที่ได้ จากชุมชนชายฝั่งทะเล คือ ปลาแห้งหรือปลาเค็ม ซึ่งคง ใช้เป็นเสบียงในเรือหรืออาจนำไปขายต่อด้วย ๓. แร่ธาตุ แร่ทองคำในอยุธยาส่วนใหญ่มาจากอาณาจักร ล้านช้าง แร่เงินส่วนใหญ่มาจากญี่ปุ่น ในรัชกาลสมเด็จ พระเจาอยู้่หัวบรมโกศมกาีรค้นพบสายแรท่องคำที่เมือง บางสะพาน อาณาจักรอยุธยาจึงมีทองคำใช้ในการ สร้างสรรค์ศิลปวัตถุและการบำรุงพระพุทธศาสนาเพิ่ม มากขึ้น หัวเมืองทางใต้ตงแั้ตต่ ะกัว่ป่าลงไปจนถึงบริเวณ ใต้เมืองนครศรีธรรมราชมีดีบุก เป็นสินค้าส่งออกที่มี ความสำคัญ จึงมีพ่อค้าชาวต่างชาติแล่นเรือเข้ามาซื้อ ดีบุกในเมืองท่าเช่นภูเก็ต (ถลาง) และนครศรีธรรมราช อย่างต่อเนองื่ทงั้พ่อคาจากอ้ ินเดย อังกฤษ และฮอลั ีนดา ดีบุกเป็นส่วนประกอบของสัมฤทธิ์ เป็นสินค้าที่ทาง กรุงศรีอยุธยาเรียกเก็บส่วยจากหัวเมืองทางใต้ บริษัท อินเดียตะวันออกของทั้งอังกฤษ ฮอลันดา และฝรั่งเศส ต่างพยายามแสวงหาสิทธิผูกขาดหรือเอกสิทธิ์ในการ ค้าดีบุกในหัวเมืองทางใต้ของสยาม บริษัท VOC ของ ฮอลันดาตงั้สำนักการคาอยู้่ในนครศรีธรรมราชเปน็เวลา ราว ๑๒๐ ปี เพื่อซื้อดีบุกจากดินแดนแถบนั้นไปขายต่อ ให้จีนและยุโรป โลหะอีกประเภทหนึ่งซึ่งมีการซื้อขาย กันอย่างสม่ำเสมอในสมัยอยุธยา คือ ตะกั่ว ซึ่งหาได้ จากหัวเมืองฝ่ายใต้ของอาณาจักรอยุธยา และระบายสู่ ตลาดในต่างประเทศผ่านเมืองท่าในบริเวณอ่าวไทย เช่น นครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุง พืชผลการเกษตร กรุงศรีอยุธยาและหัวเมืองรายรอบเช่น สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ชัยนาท อ่างทอง ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำเจ้าพระยาที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก พืชผลทางการเกษตร ที่สำคัญได้แก่ ข้าว ใช้เล ี้ ยงประชากรและเป็นเสบียงสำหรับ กองทัพ ส่วนที่เหลือเป็นสินค้าส่งออกด้วย ตลาดรับซื้อ ข้าวจากอยุธยา เช่น มะละกา ปัตตาเวีย ยะโฮร์ ยัมบี ปัตตานี หมาก พบได้ทั่วไปโดยเฉพาะในส วน เมืองนนทบุรีและปากน้ำใกล้เมืองบางกอก พ่อค้าต่าง ชาติจะนำไปจำหน่ายที่มะละกา เมืองกึงตั๋งในจีน แถบ หมู่เกาะชวาแคว้นเบงกอลและในโคโรมันเดลของอินเดย ี พริกไทย แหล่งปลูกอยู่นอกกรุง ตลาดรับซื้อที่ สำคัญคือจีน มะพร้าว น้ำมันมะพร้าวเป็นผลิตผลที่สร้างราย ได้ให้อยุธยาจำนวนไม่น้อย มีหลักฐานว่าฮอลันดาส่ง น้ำมันมะพร้าวไปขายที่มะละกา ในช่วงปลายอยุธยา น้ำมันมะพร้าวและน้ำมันกระเบาเป็นหนึ่งในสินค้าที่ส่ง ไปขายญี่ปุ่น นอกจากข้าว หมาก พริกไทยและมะพร้าวแล้ว อยุธยายังมีพืชผักผลไม้ตามฤดูกาลอีกหลายอย่าง เช่น ทุเรียน มังคุด ส้ม กล้วย แตงกวา ฟักทอง ผักกาดขาว กระเทียม ฯลฯ การขนส่งสินคาจากหัวเมือง ้ตอนในมาที่ กรุงศรีอยุธยา นอกจากการขนส่งทางน้ำและทางบกใน ระบบเรียกเกณฑ์และส่งส่วยแล้ว สันนิษฐานว่าในสมัย อยุธยานั้นมีเครือข่ายการค้าภายในและเครือข่ายการ ค้าในบริเวณอ่าวไทย 121 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เครือข่ายการค้าภายใน ใช้เส้นทางน้ำนำสินค้า เขามายัง ้ตลาดในกรุงศรีอยุธยา คือสินคาจากเมืองเห ้นือ ใชเ้ส้นทางแม่น้ำปิง วัง ยม น่าน เจา้พระยา ป่าสัก ลพบุรี นำสินคาลงมาอย่าง ้สะดวก สินคาจากหัวเมือง ้ทางใต้ ใช้ อ่าวไทย แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำเพชรบุรีที่เชื่อมโยงถึงกัน ส่วนเส้นทางบก เป็น เส้นทางที่ใช้ติดต่อระหว่างหัวเมืองตอนในดวยกั ้นทงใั้น ยามสงบและเส้นทางเดินทัพ ผ่านตามเมืองต่าง ๆ ซึ่งมี หัวเมืองสำคัญเปน็ หัวเมืองรับผิดชอบ เช่นนครราชสีมา ราชบุรี กาญจนบุรี สรุปได้ว่า เส้นทางทั้งทางแม่น้ำและทางบก นอกจากใช้เดินทางไปมาหาสู่แจ้งข้อราชการแล้ว ยัง เป็นเส้นทางที่ใช้ระบายสินค้า นำผู้คนจากหัวเมืองตอน ในมากรุงศรีอยุธยาและเมืองศูนย์กลางที่สำคัญ ขณะ เดยวกั ีนเส้นทางเหล่านี้คือจุดกระจายสินคาจากด้ ินแดน ภายนอกเข้าสู่หัวเมืองตอนในด้วยเช่นกัน เครือข่ายการค้าทางทะเล เป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของอยุธยามีความมั่งคั่งมาก เอกสารพรรณนาภูมิสถานอยุธยา ระบุถึงการค้าขาย นอกกรุงศรีอยุธยาว่า “ครั้นถึงระดูลมสำ�เภาพัดเข้ามาในกรุง เปน มรสุมเทศกาลพวกลูกค้าพานิชสำ�เภาจีนแลลูกค้าแขก สลุป ลูกค้าฝรั่งกำ�ปั่น ลูกค้าแขกกุศราช และพวกลูกค้า แขกสุรัด แขกชวามาลายูแขกเทศ ฝรั่งเศส ฝรั่งโลสง โปรตุเกศ วิลันดา อิศปัน อังกฤษแลฝรั่งดำ� ฝรั่งเมือง ลังกุนีแขกเกาะเปนพ่อค้าพานิชคุมสำ�เภาสลุปกำ�ปั่นแล่น เข้ามาทอดสมออยู่ท้ายคูขนสินค้าขึ้นมาไว้บนตึกห้างใน กำ�แพงพระนครกรุงศรีอยุทธยา ตามที่ของตนซื้อแลเช่า ต่าง ๆ กัน เปิดร้านห้างตึกขายของตามเพศตามภาษา” ความนี้แสดงให้เห็นว่า กรุงศรีอยุธยาเป็นตลาด และท่าเรือนานาชาติที่สำคัญแห่งหนึ่งในสมัยนั้น เป็น แหล่งรวบรวมสินค้าจากที่ต่าง ๆ ทั้งจากหัวเมืองตอน ในและดินแดนข้างเคียง การส่งออกนำเข้าสินค้าเหล่า นี้ส่วนใหญ่ผ่านเครือข่ายทางอ่าวไทยที่พัฒนาขึ้นมา เพอื่ตอบสนองการคากับจ ้ ีน ซงเึ่ปนต็ลาดสินคา้ประเภท ของป่าสำคัญตั้งแต่แรกสถาปนากรุงศรีอยุธยา และการ คาของ้ ป่ากับญี่ปนซุ่ งขยายึ่ตัวในช่วงกลางพทุธศตวรรษ ที่ ๒๒ โดยเมืองท่าสำคัญในเครือข่ายการคาบ้ ริเวณอ่าว ไทย ไดแก่ หัวเมือง ้ตะวันออกตงแั้ตส่มุทรปราการ ชลบุรี ระยอง จันทบุรีและตราด แต่เมืองที่สำคัญและโดดเด่น กว่าเมืองอื่นคือ จันทบุรีซึ่งตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำอันเป็นเส้น ทางคมนาคมออกทะเลได้สะดวก ความคึกคักของการ ค้าทางทะเลบริเวณนี้ทำให้เกิดชุมชนการค้าตลาดแนว ชายฝั่ง เช่น บ้านนาเกลือ บางปลาสร้อย บางปะกง บางละมุง เครือข่ายการค้าบริเวณอ่าวไทยมีความสำคัญ อย่างน้อย ๒ ประการ คือสามารถทำการค้าได้ตลอด ปีไม่ต้องรอลมมรสุม และเครือข่ายการค้าบริเวณอ่าว ไทยทำให้ติดต่อ (เดินเรือ) กับหัวเมืองทางใต้ได้สะดวก อีกทั้งยังเชื่อมต่อกับเมืองท่าชายฝั่งทะเลในคาบสมุทร อินโดจีน เช่น เมืองกำปงสม กางเกา เต็กเซีย เขมา ไซ่ง่อน ลองนาย ซันจูและเว้ซึ่งเรือสำเภาจำนวนมาก ต้องผ่านไปมาระหว่างเมืองท่าเหล่านี้ และยังอยู่ในเส้น ทางการค้ากับจีนทำให้ส่งสินค้าไปขายสะดวก และยัง 122
เป็นจุดแวะพักเรือสำเภาหลวงและเอกชนที่จะไปติดต่อ การค้าในเมืองท่าของจีนและทะเลจีนใต้และรัฐสุลต่าน ทางคาบสมุทรมลายูด้วย ปั จจัยที่ ทำ ให้อยุธยาเป็ นศูนย์กลางการค้า เยเรเมียส ฟาน ฟลีต ผู้ช่วยสถานีการค้าของ ฮอลันดา เมื่อ พ.ศ. ๒๑๗๖ และต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าสถานีการคาจ้นถึง พ.ศ. ๒๑๘๕ หรือตรงกับสมัย สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง กล่าวถึงการค้าของอยุธยา ไว้ตอนหนึ่งในหนังสือพรรณนาเรื่องอาณาจักรสยามว่า “ในหลาย ๆ หัวเมือง เมืองและชุมชนเล็ก ๆ ของอาณาจักรมีการค้าขายสินค้าชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกรุงศรีอยุธยาที่นั่นเราผ้าจากโจฬะมณฑล และจากเมืองสุรัต ที่มีการทำ�ลวดลายและสีสันตามแบบ ของสยาม พวกมัวร์พวกนอกคริสต์ศาสนา พวกสยาม และชาติอื่น ๆ ที่ตะนาวศรีได้นำ�เข้าสินค้าเหล่านี้เป็น จำ�นวนมาก... ถ้าหากสำ�นักงาน (ของ VOC) โยกย้าย มาอยู่ในสถานที่ทำ�เลที่เหมาะมากกว่านี้ประเทศสยาม ก็จะสามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าเป็นตลาดสินค้าที่ดีวิเศษ สำ�หรับเรา...” ความข้างต้นแสดงให้เห็นความคึกคักของตลาด การค้าที่กรุงศรีอยุธยาได้เป็นอย่างดี แม้ในช่วงที่การ ค้าบางประเภทซบเซา เช่น การค้าผ้าใน พ.ศ. ๒๒๐๖ เอกสารฮอลันดาก็ยังรายงานว่า ความซบเซาของตลาด สินค้าจำพวกผ้าทำให้ผ้าบางพับของบริษัทขายได้กำไร เพียง ๕๓% เท่านั้น ดวยแ้รงจงใจจากูสินคาและก้ ำไรจาก การค้าเช่นนี้ ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นที่รวมของพ่อค้า จากต่างแดน และเป็นที่รู้จักในฐานะเมืองศูนย์การค้าที่ สำคัญแห่งหนึ่งในเวลานั้น ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยา เป็นเมืองท่าและศูนย์กลางการค้า มีดังนี้ ๑. สภาพภูมิศาสตร์เอื้ออำนวย สภาพภูมิศาสตร์เอื้ออำนวยให้กรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางการค้าสำคัญ เพราะกรุงศรีอยุธยาตั้ง อยู่บริเวณปลายทางของลำน้ำสายสำคัญที่ไหลมาจาก ตอนเหนือและอยู่ในบริเวณที่จะติดต่อกับดินแดนทาง ซีกตะวันตกและตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา รวม ทั้งดินแดนบริเวณที่ราบสูงทางตะวันออกเฉียงเหนือได้ สะดวก กรุงศรีอยุธยาจึงเป็นแหล่งรวมของสินค้านานา ชนิดจากจากดินแดนตอนในส่งออกสู่ภายนอก และทำ หน้าที่กระจายสินค้าจากที่ต่างๆ เข้าสู่ดินแดนตอนใน ขณะเดียวกันพระนครศรีอยุธยาตั้งอยู่ไม่ไกลจากทะเล บริเวณอ่าวไทยมากนัก (ประมาณ ๗๐ กิโลเมตร) ทำให้ พ่อค้าจากต่างชาติเข้ามาค้าขายได้สะดวกประกอบกับ แม่น้ำเจ้าพระยามีท้องน้ำลึกและค่อนข้างมีระดับน้ำ สม่ำเสมอโดยตลอดจากปากน้ำถึงกรุงศรีอยุธยา และ เหตุผลสำคัญคือกรุงศรีอยุธยามีดินแดนตอนในซึ่งเป็น แหล่งสินค้าป่า ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดในเวลานั้น ๒. การเป็นแหล่งรวมสินค้า กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางรวบรวมสินค้าจาก หมู่เกาะอินโดนีเซีย ดินแดนตอนในของภาคพื้นทวีป เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตะวันออกกลาง อินเดีย เพื่อ ส่งต่อให้แก่จีน ซึ่งเป็นตลาดสินค้าที่สำคัญ เมื่อชาว ตะวันตกเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยาอย่างมาก 123 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ความคึกคักของตลาด การค้าที่กรุงศรีอยุธยาย ิ่ งเพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกัน เมื่อของป่ากลายเป็นสินค้าที่ต้องการของตลาดมาก ทำให้กระบวนการเก็บรวบรวมของป่าเพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาดเป็นไปอย่างกว้างขวาง ในเวลา เดยวกั ีนกับที่สินคาเ้พอกาื่รอุปโภคบริโภคเปนที่ต้ ็องการ ของผู้บริโภคมากขึ้น สินค้าในตลาดอยุธยาประกอบไป ด้วย กลุ่มสินคา้สำหรับส่งออก ไดแก่ ไม ้ ฝาง กฤษ ้ณา หนังสัตว์ (หนังกวาง, หนังวัว, หนังปลากระเบน) ช้าง งาช้าง ดินประสิว ตะกั่ว กำมะถัน ดินปืน ดีบุก การบูร หมาก พริกไทย นอแรด กำยาน ไมจั้นทน์หอม กระดังงา ขี้ผึ้ง คราม รง ข ี้ ค้างคาว ไม้จำพวกชุมเห็ด กลุ่มสินค้าเข้าจากต่างแดน ได้แก่สินค้าจากจีน เช่น เครองเคลือบ ไหมด ื่บ ิ ผ้าไหม เครองยา ื่ผ้าแพรชนิด ต่าง ๆ เครื่องเงิน ทองแดงแท่ง กระทะเหล็ก สินค้าจาก ญี่ปนุ่ เช่น ทองแดง เหล็ก หูปลาฉลาม ใบชา แมงกะพรนุ ปลาหมึกแห้ง สาหร่ายคอมบุ ขวดยาทองแดง หม้อ ทองแดง ตะเกียงทองแดง กล่องลงรัก กล่องไม้หูห ิ้วใบ ใหญ่ กล่องไม้หูห ิ้วใบเล็ก ทองเส้น ของหมักดอง ซีอ ิ้ ว เหล้า เหรียญเงิน เป็นต้น สินค้าจากอินเดีย ได้แก่ ผ้า ชนิดต่าง ๆ และอัญมณีสินค้าจากคาบสมุทร เช่น พริก ไทย เครองเื่ทศ ไมจั้นทน์ หวาย และสินคาจากยุโ ้ รป เช่น เงิน ผ้า เครื่องประดับ เพชรพลอย เป็นต้น ๓. อยุธยาเปน็ เมืองท่าที่มีสำเภาของตนเอง สำหรับการค้าต่างแดน การมีสำเภาของตนเองเป็นข้อได้เปรียบของ อยุธยา ส่วนหนึ่งของสำเภาเหล่านี้เป็นของกษัตริย์และ เจ้านาย รวมทั้งอาจมีสำเภาของเอกชนโดยเฉพาะชาว ต่างชาติรวมทุนกับขุนนางพื้นเมือง สำเภาของอยุธยา ช่วยกระจายและรวบรวมสินค้าไปยังเมืองท่าและจาก เมืองท่าต่าง ๆ ฝั่งทะเลจีนใต้ตลอดจนจีน ทำให้เมือง ท่าอยุธยาพึ่งพาชาวต่างชาติน้อยลง เมื่อเปรียบเทียบ กับเมืองท่าบางเมือง เช่น ไทรบุรีที่ไม่มีสำเภาของ ตนเองต้องอาศัยการจอดแวะของสำเภาพ่อค้าต่างชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าที่ขายได้ในตลาดของตนเอง การ ที่ตลาดอยุธยาพรั่งพร้อมไปด้วยสินค้าจากมหาสมุทร อินเดียและจีน ย ิ่ งเป็นเครื่องดึงดูดให้สำเภาพ่อค้าต่าง ชาติเข้ามาจอดแวะมากขึ้นอีกด้วย และย ิ่ งมีสำเภาต่าง ชาติจอดแวะมากสินค้าในตลาดอยุธยาก็ยิ่ งเพิ่มความ หลากหลายขึ้นไปอีก 124
๔. อยุธยาผูกพันกับการค้ากับจีนอย่างเหนียว แน่น ในช่วงต้นอยุธยา การค้าผูกพันกับจีนเป็น อย่างมาก อยุธยาเป็นเมืองที่ส่งทูตไปถวายเครื่องราช บรรณาการให้จีนมากที่สุดช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ การ ติดต่อกับจีนนำมาซึ่งประโยชน์อย่างมากต่อการค้าของ อยุธยา สินค้าที่มาจากจีนทำให้อยุธยาเป็นศูนย์กลาง สำคัญจุดหนงของเอเชึ่ยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ภาคพื้นทวีป ในการกระจายสินค้าเหล่านั้นในภูมิภาคนี้ ในทางกลับ กันอยุธยาก็ทำหน้าที่รวบรวมสินคาจากด้ ินแดนตอนใน สำหรับตลาดจีนด้วย แม้การค้าและการติดต่อกับจีนจะ ทอดระยะห่างไปบ้างเมื่อมีชาติอื่น ๆ เข้ามาติดต่อกับ อยุธยา เช่น ญี่ปุ่น และชาวตะวันตก แต่ในช่วงปลาย อยุธยา ทิศทางการค้าก็หันมาที่จีนอีกครั้ง เพียงแต่ รายการสินค้าหลักที่ค้าขายระหว่างกันจากสินค้าของ ป่าซงเึ่ปนที่ต้ ็องการของตลาดจีนไดเ้ปลย ี่ นเปน็ขาวแ้ทน เนื่องจากในช่วงเวลานั้นจีนสมัยราชวงศ์ชิง เกิดปัญหา ทพุภกขภัย ข ิาวหายากม้ ีราคาแพง ในขณะที่อยุธยาขาว้ หาได้ไม่ยากอีกทั้งราคาถูก ๕. การเปิดกว้างทางศาสนาและแนวคิดเรื่อง “การเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร” การเปิดกวาง้ทางศาสนาไม่ว่าจะเปน็การให้สร้าง ศาสนสถาน การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของกษัตริย์ อยุธยานั้นเป็นที่รับรู้ทั่วกัน บาทหลวงตาชารด์ ชาว ฝรั่งเศสบันทึกว่า เมื่อมาถึงกรุงศรีอยุธยาไม่กี่วัน โบสถ์ ฝรั่งที่ตั้งอยู่ในค่ายหรือหมู่บ้านโปรตุเกส ประกอบพิธี ทางศาสนาอย่างมโหฬาร ๒ ครั้ง หรือ เมื่ออเล็กซาน เดอร์ ฮามิลตันซึ่งเข้ามาที่อยุธยาในช่วงรัชกาลสมเด็จ พระเพทราชาตั้งข้อสังเกตว่า แม้แต่ชาวสยามก็มีสิทธิที่ จะเลือกนับถือศาสนาได้ตามพอใจแห่งตน การเปิดกวาง้ เช่นนี้เป็นปัจจัยดึงดูดคนต่างชาติต่างศาสนาที่สำคัญ ประการหนึ่ง นอกจากนี้แนวคิดเรื่อง “การเข้ามาพึ่ง พระบรมโพธิสมภาร” หรือการเข้ามาพึ่งบุญบารมีของ กษัตริย์ ก็เป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้กษัตริย์ทรงยอมรับและ เปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติเข้ามาสู่พระราชอาณาจักร เพราะยงม ิ่ คีนเขา้พงึ่พระบรมโพธิสมภารมากขึ้นเพียงใด ย่อมหมายถึงบุญบารมีที่มีมากของกษัตริย์พระองค์นั้น หรืออกีนัยหนงกาึ่รเขามาของค้นเหล่านี้ยงเ ิ่ ปน็ โอกาสให้ กษัตริย์ได้บำเพ็ญบุญบารมีโดยการสงเคราะห์คนไม่มีที่ พึ่งเหล่านั้น ๖. ระบบราชการ ราชสำนักอยุธยามีกลไกในการการดึงคนเข้าสู่ สังคมทำให้ผู้คนเข้ามาลงหลักปักฐาน จนท้ายที่สุดเกิด การผสมผสานทางวัฒนธรรมขึ้น กลไกดังกล่าว ได้แก่ ระบบราชการ การเข้าสู่ระบบราชการของชาวต่างชาติ มีพื้นฐานมาจากการค้า โดยชาวต่างชาติที่ได้มีโอกาส เขาไ้ ปเปน็ขุนนางขา้ราชการส่วนใหญ่ลว้นแต่เปนพ็ ่อคา้ มาก่อนทั้งสิ้น หากมิใช่พ่อค้าโดยตรงก็มีส่วนเก ี่ ยวข้อง กับบริษัทหรือชุมชนการค้า จุดเริ่มต้นในการเข้าสู่ระบบ ราชการมาจากการมอบยศถาบรรดาศักดิ์ให้กับคนต่าง ชาติที่เขามาช่วย ้ ทำการคาให ้ ้ราชสำนักหรือตงชุมชั้นขึ้น นอกจากยศแล้วก็ยังมีศักดินากำกับด้วย ซึ่งนับเป็นวิธี การควบคุมคนของทางราชสำนัก คือ การควบคุมเป็น 125 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ลำดับขั้นของมูลนายในระดับต่าง ๆ กับลูกน้องผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชา ขณะเดยวกั ีนชาวต่างชาติก็จะได้ประโยชน์ จากการมียศศักดิ์สูง ทั้งการมีโอกาสเข้าร่วมงานพระ ราชพิธี การได้พบปะขุนนางระดับต่าง ๆ อันจะเป็นผล ดีต่อการค้า ไม่ว่าจะเป็นการค้าส่วนตัวหรือของบริษัท ลักษณะดังกล่าวนี้เป็นเหตุปัจจัยที่ทำให้พ่อค้าต่างชาติ ได้เข้าไปเก ี่ ยวข้องกับการเมืองในราชสำนักอยุธยา (ฝีพายชาวสยาม ในหนังสิอของลาลูแบร์) ในอีกด้านหนึ่ง การมอบยศให้ชาวต่างชาติเป็น เพราะสังคมอยุธยาขาดผู้ชำนาญการพิเศษเฉพาะด้าน ดังนั้น จึงมีชาวต่างชาติที่เข้ามาทำหน้าที่ในเรือสำเภา หลวง เป็นทหารรับจ้างซึ่งเป็นทหารอาชีพจริง ๆ หรือ แม้กระทั่งการเข้ามารับราชการในกรมท่า อย่างไรก็ดี การที่ชาวต่างไดเข้ามา้ ทำงานในระบบราชการเช่นนี้นับ เป็นก้าวแรกในการเข้าสู่การเมืองอยุธยา ตัวอย่างของ ชาวต่างชาติที่มบีทบาททางการเมืองและเศรษฐกจ เช่ ิน ยามาดา นางามาซา หรือ ออกญาเสนาภิมุข เจ้ากรม อาสาญี่ปนุ่ ในสมัยสมเด็จพระเจา้ทรงธรรมถึงต้นรัชกาล สมเด็จพระเจา้ปราสาททอง และฟอลคอนหรือออกญา วิไชยเยนทร์ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ๗. การมีกฎหมายให้ความคุ้มครองและรับรอง สิทธิบางประการให้ชาวต่างชาติ นอกจากระบบราชการที่เอื้ออำนวยให้ชาวต่าง ชาติเข้ามาติดต่อค้าขายแล้ว กฎหมายของอยุธยายังให้ ความคุ้มครองและรับรองสิทธิบางประการของชาวต่าง ชาติด้วย เช่น พระไอยการลักษณะเบ็ดเสร็จ มาตรา ๘๖ หรือในพระไอยการอาญาหลวง มาตรา ๑๒๙ ซงให ึ่ ้ ความคุ้มครองแก่ผู้อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร โดยระบุถ้าผู้ใดเอาครอบครัวทรัพย์สินของคนเหล่านั้น ไปต้องถูกลงโทษดังความว่า “มาตราหนึ่ง มีผู้เอาครอบครัววัวควายช้างม้า แก้วแหวนทองเงีนทรัพย์สิ่งอันใดใดหนีมาแต่ประเทษ อื่น เข้ามาพึ่งอยู่ในขอบขันทเสมาแลพึ่งอยู่ด้วยพระ เยาวราชแลเมืองนอกก็ดีหัวแสนหัวหมื่นหัวพันหัวปาก แลอนาประชาราษฎรก็ดีแลมีผู้ตีฟันแทงมันเสีย ริบเอา ครอบครัววัวควายช้างม้าข้าคนทรัพยเข้าของ ๆ มันดั่ง นั้น ท่านว่าผู้นั้นทุระยศแก่บ้านเมือง ท่านให้ลงโทษด้วย ดาบการฅอเสีย ถ้าหมีให้กานฅอให้ไถ่กานฅอโดยยศถา ศักดิ์แล้วให้ไหมสองคาบให้แก่พ่อแม่ลูกเมียมันผู้ตาย” ในพระธรรมนูญ มาตรา ๘ กำหนดว่าหากชาว ต่างประเทศ ชาวพระนครมีข้อพิพาทกันในพระนครให้ ขุนพินิจใจราชปลัดขึ้นสังกัดกรมพระคลังเปนผู้พิ ็จารณา ถ้าเหตุเกิดหัวเมืองให้ยกกระบัตรเป็นผู้พิจารณา 126
“อนึ่งมีพระธรรมนูนไว้ว่า ถ้าชาวกรุงก็ดีต่างประ เทษก็ดีหาพิพาทคดีถ้อยความแก่ฝารั่งอังกฤษวิลันดา แขกประเทษแขกฉวามะลาอยูมักสันญวนจีนซึ่งเข้ามาสู่ พระบรมโพธิสมภารไซ้เปนตระทรวงขุนพินิจใจราชปลัด ได้พิจารณาว่ากล่าว ถ้าหัววเมืองยุกระบัดได้พิจารณา…” ตัวอย่างและข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่า สภาพ ภูมิศาสตร์ การเป็นแหล่งรวมสินค้า การมีสำเภาของ ตนเอง การผูกพนัการคากับจ ้ ีน การเปิดกวาง้ทางศาสนา แนวคิดเรื่องการเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ระบบ ราชการ และการมีกฎหมายบางมาตราให้การยอมรับ และคุมค้รองเปนป็ ัจจัยเอืออ้ ำนวยต่อการเปน็ศูนย์กลาง การค้าและการเข้ามาค้าขายอีกทั้งตั้งถิ่นฐานของชาว ต่างชาติ ตลาดในกรุงศรีอยุธยา ตลาดในกรุงศรีอยุธยาเป็นทั้งที่แลกเปล ี่ ยนซื้อ ขายสินค้าและเป็นแหล่งผลิตสินค้าต่าง ๆ ดังปรากฏ หลักฐานในเอกสารพรรณนาภูมิสถานฯ ว่า ในกรุง ศรีอยุธยามีตลาดในกำแพงพระนคร ๖๑ ตลาด แยก เป็นตลาดร้านชำ ๒๑ ตำบล ตลาดของสดเช้าเย็น ๔๐ ตำบล ตลาดบกนอกกำแพงพระนคร ตามชานพระนคร ๓๐ ตลาด ตลาดเอกในท้องน้ำ ๔ ตลาด และยังระบุ ถึงที่ค้าขายนอกกำแพงซึ่งมีเรือใหญ่จากหัวเมืองเหนือ หัวเมืองชายทะเล เรือลูกค้าวานิชจากต่างแดนและกอง คาราวานเกวียนมาค้าขายมีถึง ๕๒ ตำบล โดยภาพรวม ตลาดในกรุงศรีอยุธยาแบ่งกว้าง ๆ เป็นตลาดเรือหรือ ตลาดน้ำและตลาดบก ตลาดเรือหรือตลาดน้ำ อยู่บริเวณท้องน้ำหรือ ปากน้ำลำคลองต่าง ๆ จำแนกได้เป็น ๑) ตลาดน้ำคงที่หรือตลาดน้ำอยู่กับที่ เช่น เรือน แพที่อยู่อาศัยของคนไทย จีน แขก จาม มอญ ตลาด ลักษณะนี้รับซอื้สินคาจาก้พ่อคาแม่ค ้าจาก้ต่างถิ่นตลอด จนพ่อค้าจากต่างแดน ๒) ตลาดน้ำตามฤดูกาล เป็นที่รวมของพ่อค้า แม่ค้าที่นำสินค้ามาจากต่างเมืองและต่างแดนมาขาย ตามฤดกาลของกาูรคมนาคม สินคาล้ว้นหลากหลาย เช่น กะปิ น้ำปลา ปลาทู จากบ้านยี่สาร บ้านแหลมเพชรบุรี น้ำอ้อย ยาสูบ ขี้ผึ้ง น้ำผึ้งจากพิษณุโลก น้ำตาลทราย สาคูเม็ดใหญ่เล็ก จันทน์แดง หวายของพ่อค้าจีน แขกจาม เป็นต้น ๓) ตลาดเอกในท้องน้ำ ๔ ตลาดคือ ตลาด น้ำวนบางกะจะ บริเวณที่แม่น้ำสายคือ ลพบุรีป่าสัก เจ้าพระยามาพบกันอยู่บริเวณป้อมเพชรหรือหน้าวัด พระนางเชิง ตลาดปากคลองคูจาม ทางใต้ของเกาะ เมืองพระนครศรีอยุธยาบริเวณนี้มีแขกชวา มลายูนำ สินค้ามาขาย ตลาดปากคลองคูไม้ร้อง ทางตอนเหนือ บริเวณแม่น้ำลพบุรี เป็นตลาดที่พ่อค้าจากเมืองเหนือ เข้ามาจอดขายสินค้า ตลาดนี้มีความสำคัญต่อการค้า ภายในกับตลาดที่อยู่ในกำแพงเมืองโดยขนถ่ายไปตาม คลองซอยต่าง ๆ ตลาดปากคลองวัดเดิม (วัดอโยธยา) ใต้ศาลเจ้าปูนเท่าก๋ง เป็นตลาดภายในอยู่ตรงบริเวณ แม่น้ำหันตราหรือแม่น้ำแม่เบี้ยเชื่อมกับคลองย่อยของ แม่น้ำป่าสัก เช่น คลองข้าวเม่า คลองวัดประดู่ คลอง วัดมเหยงคณ์ 127 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ตลาดบก แบ่งเป็นตลาดคงที่หรืออยู่กับที่และ ตลาดบกตามฤดูกาล ตลาดคงที่ส่วนใหญ่ใช้บ้านเรือน ที่อยู่อาศัยเป็นที่ค้าขายด้วย ส่วนที่ค้าขายของชาวต่าง ชาติจะสร้างตามสถาปัตยกรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะ ของตนเอง เช่น ชาวจีนที่ตลาดวัดท่าราบหน้าบ้านเจ้า สัวซีเป็นตึกแถวยาว ๑๖ ห้อง ๒ ชั้น ๆ ล่างตั้งร้านขาย ของ ชั้นบนเป็นที่อยู่อาศัย ชาวฮอลันดาและญี่ปุ่นมี ลักษณะเปนต็ ึกเช่นกัน ตลาดบกตามฤดกาลูที่สำคัญของ กรุงศรีอยุธยาน่าจะเป็นบ้านศาลาเกวียนนอกพระนคร ซึ่งมีศาลาใหญ่ ๕ ห้อง ๒ หลังสำหรับเกวียนจากเมือง นครราชสีมา พระตะบอง เขมร นำของป่าต่าง ๆ มาขาย ในช่วงเดือนสามเดือนสี่ ถา้พ่อคาเกว้ยีนมามากศาลาไม่ พออยู่ก็จะปลูกกระท่อมอยู่ตามแถบนั้น ฤดูลูกค้าต่าง ชาติและเกวียนเข้ามานั้นชาวบ้านจะนำของกินมาออก นั่งร้านขายด้วย ตลาดป่าดินสอ และสะพานอิฐข้ามคลองฉะไกรน้อย ในบริเวณวัดบรมพุทธาราม นอกจากคำว่าตลาดแล้วในเอกสารพรรณนา ภูมิสถานฯ ยังใช้คำว่า ย่าน ป่า ในความหมายว่าตลาด ด้วย แต่ย่านและป่าเป็นสถานที่ผลิตและขายสินค้า ย่านและป่ามีสิ่งของใดเป็นพื้นก็เรียกย่านหรือป่าของ สิ่งนั้น เช่น ถนนย่านป่ายามีร้านขายเครื่องเทศเครื่อง ไทยครบสรรพคุณยาทุกสิ่งเรียกตลาดป่ายา ถนนย่าน ป่าขนมชาวบา้นทำขนมนงั่ร้านขายขนมนานาชนิด ขนม กง ขนมพิมพ์ถั่ว ขนมสำปะนี ฯลฯ เรียกตลาดป่าขนม นอกจากเปน็ แหล่งขายสินคาเฉ้พาะแลว ยังม ้ ย่าี นที่เปน็ แหล่งผลิตสินค้าด้วย เช่น ถนนย่านบ้านกระชีมีช่างทำ พระพทุธรูปทองเงินนาค หล่อดวย้ทองเหลืองทองสำริด ชื่อตลาดทำพระ ย่านสำพนี ชาวบ้านในย่านนี้มี ๓ หมู่ หมู่หนึ่งตีสกัดน้ำมันงา น้ำมันลูกกระเบา น้ำมันสำโรง น้ำมันถัวขาย หมู่่หนงึ่ทำฝาเรือนอยู่ฝาเรือนหอขาย หมู่ หนงหล่อเหล็กเ ึ่ปน็ครกสากเหล็ก ตีมดีพร้าและรูปพรรณ ต่าง ๆ ขายและทำตามคำสั่ง เป็นต้น ความสำคัญของตลาดไม่เพียงแต่เปน็ แหล่งผลิต และขายสินค้าเท่านั้น แต่ยังมีส่วนทำให้เกิดการรวมกัน เป็นชุมชน เช่น ย่าน ป่าหรือตลาดคือที่รวมของผู้คนที่ มีอาชีพผลิตและขายสิ่งของประเภทเดียวกัน นอกจาก พ่อค้าแม่ค้าอยุธยาเองแล้ว ตลาดหลายที่ยังมีพ่อค้า ต่างชาติทั้งผลิตและขายสินค้ารวมอยู่ด้วย เช่น บ้านริม วัดพร้าวมีพราหมณ์และไทยทำแป้งหอม น้ำมันหอม กระแจะ น้ำอบ ธูปกระแจะ และธูปกระดาษ เครองหอมื่ มาขาย บา้นท่ากายีนอกกำแพงกรุงแขกฟน ั่ เชือกเปลือก มะพร้าวตีเปนส็ายสมอขายกำปนส ั่ ลุปสำเภา รวมทงั้ฟน ั่ ชุดจุดบุหรี่ด้วยเปลือกมะพร้าวขายขุนนางและราษฎร 128
ที่ต้องการใช้และทำบุญ ถนนย่านในไก่ ถนนย่านสาม ม้า รวมถึงย่านโรงเกรียงท้ายหอรัตนไชยมีจีนขาย ของนานาชาติทั้งของกิน ผลไม้จากเมืองจีน ขนมแห้ง เครื่องจันอับ โต๊ะ เตียง ตู้ เก้าอ ี้ ถังไม้ที่ผลิตในอยุธยา ขาย สินค้าในตลาดเหล่านี้ผลิตขึ้นเพื่อตอบสนองความ ต้องการของชาวเมืองและชาวต่างชาติที่เข้ามาค้าขาย หรือตั้งถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา ตลาดเป็นที่รวมของ ชุมชนหลากหลายทำให้สังคมในกรุงศรีอยุธยามีความ เป็นพหุวัฒนธรรม กรมพระคลังกับการค้า หน่วยงานสำคัญที่ติดต่อค้าขายกับพ่อค้าต่าง ชาติคือกรมพระคลังสินค้าและกรมท่า ซึ่งสังกัดกรม พระคลัง “พระคลังสินค้า” มีความหมาย ๒ ประการ คือ หมายถึงสถานที่เก็บส่วยอากรซึ่งได้มาจากราษฎร และหัวเมืองภายใน ประการที่สอง คือหน่วยงานที่ เรียกว่ากรมพระคลังสินค้าที่ขึ้นกับกรมพระคลัง หน้าที่ ของพระคลังสินค้าคือรวบรวมส่วยอากรเพื่อขายให้กับ พ่อค้าต่างชาติและจัดสำเภาหลวงเพื่อไปค้าขายยังต่าง แดน พระคลังสินค้าเป็นหน่วยงานที่พ่อค้าต่างชาติต้อง ติดต่อดวยเ้พอื่รายงานให้ทราบว่ามีสินคาอะไ ้รบาง้ ที่นำ เข้ามา ถ้าเป็นสินค้าที่ผูกขาดต้องขายให้พระคลังสินค้า สินค้าที่พระคลังสินค้าซื้อเหล่านี้กษัตริย์จะนำไปขายให้ กับพ่อค้าหรือนำไปยังคลังสินค้าหลวงของกษัตริย์ใน หัวเมืองเพอขายให่ื ้ราษฎร กล่าวอกีนัยหนง่ึพระคลังสินคา้ มีหน้าที่ทำการค้าขายให้กษัตริย์โดยใช้วิธีผูกขาดการค้า เพอให ื่ ได้ ้ประโยชนสู์งสุด การผูกขาดของพระคลังสินคา้ โดยทั่วไปมี ๒ ลักษณะคือ การผูกขาดสินค้าเข้าและ ผูกขาดสินค้าออก ชนิดของสินค้าผูกขาดแต่ละรัชกาล ไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ทั่วไปแล้วสินค้าเข้าที่ผูกขาด คืออาวุธ ดินปืนและยุทธภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีผลต่อความ มั่นคงของราชอาณาจักร สินค้าออกที่ผูกขาดคือ สินค้า ซึ่งเป็นที่ต้องการของต่างประเทศที่จะสร้างรายได้อย่าง งดงามให้ราชสำนัก เช่น ดบุก คีรง ั่พริกไทย ไมหอม ฯลฯ ้ กรมท่า เป็นหน่วยงานทำหน้าที่รับผิดชอบด้าน การค้าขายกับต่างประเทศรวมทั้งดูแลชาวต่างชาติ งาน ด้านการค้า กรมท่ามีหน้าที่ดำเนินการค้าขายให้กับราช สำนักทั้งในรูปแบบที่ผ่านทางการค้าเอกชน การค้าของ รัฐและการค้าแบบบรรณาการ งานด้านการติดต่อกับ ชาวต่างชาติ ม ๒ ีส่วนคือ งานติดต่อกับต่างประเทศและ ควบคุมชาวต่างชาติส่วนแรกมีทงกาั้ รที่ขุนนางในกรมท่า ทำหน้าที่เปนทูต็ ไปยังดินแดนต่าง ๆ และรับรองคณะทูต ที่มาจากแดนด้วย งานส่วนที่ ๒ มีหน้าที่ควบคุมกำลัง พลชาวต่างชาติเพอเื่ปน็กองกำลังในการประกอบกจกาิร ต่าง ๆ ในราชสำนัก ด้วยเนื้องานที่เก ี่ ยวพันกับการค้า และการดูแลชาวต่างชาติ จึงพบว่าราชสำนักพยายาม ผนวกพ่อค้าจีน/แขก เข้ามาเป็นขุนนางข้าราชการส่วน หนึ่งของกรมท่าด้วย ในระยะเริ่มแรกกรมท่าแบ่งเปน็กรมท่าซ้ายและ กรมท่าขวา กรมท่าซ้ายเป็นชาวจีนมี “โชดึกราชเศรษฐี” เปน็เจาก้รม กรมท่าขวาเปน็แขกมขุีนนางมุสลมิตำแหน่ง “จุฬามนตรี” เป็นเจ้ากรม เบื้องต้นกรมท่าซ้ายมีหน้าที่ ค้าขายและติดต่อกับชาวจีน กรมท่าขวามีหน้าที่ค้าขาย 129 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ และติดต่อกับพวกแขก ภายหลังจึงไดจัดกลุ่ม ้ ประชาคมที่ มีถิ่นฐาน เชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรมใกลเค้ ยงกั ีนไว้ ดวยกั ้น เช่น ชาวอินเดย ชาวอาีร์เมเนีย ซงมาจากอึ่ินเดยี และอิหร่านที่ใช้ภาษาตระกูลอินโด-อิหร่าน มุสลิม จากดินแดนต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มลายู จาม จัดอยู่ในประชาคมเดียวกับแขก เมื่อชาวตะวัน ตกเข้ามาติดต่อกับอยุธยาในระยะแรกชาวตะวันตกจะ ติดต่อกับหน่วยงานทั้งสองตามล่ามหรือเจ้าพนักงานที่ เกยวข ี่ อง ก้รมท่าขวารับผิดชอบการคากับอังกฤษเ ้พราะ กิจกรรมการค้าหลักของอังกฤษอยู่ฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ที่เกยวข ี่ องกับแขกเ ้ ปนส็ ่วนใหญ่ ส่วนฮอลันดาขึ้นกรมท่า ซ้ายเพราะการคาของฮอลั ้นดาเน้นทางฝั่งตะวันออกคือ จีน ไต้หวันและญี่ปุ่น การขยายพระราชอาณาเขตกับการค้า พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาหลายฉบับ กล่าวถึงการทำสงครามของกษัตริย์อยุธยา อย่างไรก็ดี การทำสงครามจุดมุ่งหมายไม่ได้มีเพียงเพื่อขยายพระ ราชอำนาจเท่านั้น หากแต่พระราชอาณาเขตที่กว้าง ขวางขึ้นย่อมหมายถึงกำลังคน ทรัพยากรธรรมชาติซึ่ง เปนสิน ็คา้ที่สร้างรายไดกับ้รัฐเปน็ อย่างมาก รวมทงเมือง ั้ ท่าชายฝั่ง ตลอดสมัยอยุธยามกาี รทำสงครามหลายครง ั้ ดังนั้นการขยายพระราชอาณาเขตจึงสัมพันธ์กับการค้า โดยตรงด้วย การขยายพระราชอำ นาจไปหัวเมืองเหนือ ในสมัยอยุธยาหัวเมืองเหนือมความี สำคัญทงใั้น แง่การเป็นแหล่งทรัพยากร ฐานกำลังคน และเป็นเมือง หน้าด่านรับศึก หัวเมืองเหนือสำคัญในเวลานั้นมี ๗ หัวเมืองคือ พิษณุโลก สุโขทัย สวรรคโลก (ศรีสัชนาลัย) กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ (พระบาง) และพิชัย ความพยายามขยายอำนาจไปหัวเมืองเหนือเห็นได้ ตั้งแต่ต้นอยุธยา หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ที่รจนาโดย พระรัตนปัญญาเถระชาวเมืองเหนือ ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๖๐-๒๐๗๑ ให้ข้อมูลว่านับตั้งแต่ช่วงต้นอยุธยา ได้มีความพยายามขยายอำนาจไปหัวเมืองเหนือ ใน สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ความในพระราช พงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่า พระองค์เสด็จไปตีเมืองเหนือ ๗ ครั้งด้วยกัน หัวเมืองเหนือตกเป็นเมืองขึ้นของอยุธยาใน พ.ศ. ๑๙๖๒ รัชกาลสมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านคร อินทร์) เมือ่พระมหาธรรมราชาธิราชของสุโขทัยสวรรคต ความในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ ให้ ข้อมูลว่า เมืองเหนือทั้งปวงเป็นจลาจล เป็นเหตุให้ พระองค์เสด็จขึ้นไปถึงเมืองพระบาง (เมืองนครสวรรค์) ครั้งนั้นพระยาบาลเมือง พระยารามออกถวายบังคม สมเด็จพระอินทราธิราชตงั้พระยาบาลเมืองขึ้นเปนพร็ะ มหาธรรมราชาที่ ๔ (บรมปาล) ครองเมืองพิษณุโลก พระยารามครองเมืองสุโขทัย จากนั้นในรัชกาลต่อมา ของอยุธยา ก็เสด็จไปตีเมืองเหนืออีกหลายครั้ง เช่น พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ ระบุว่า พ.ศ. ๑๙๘๑ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ โปรดฯ ให้สมเด็จ 130
พระราเมศวรเจา (ห ้รือต่อมาคือสมเด็จพระบรมไตรโลก นาถ) ผู้เป็นพระราชกุมารเสด็จไปเมืองพิษณุโลก และ ว่าครั้งนั้นเห็นน้ำพระเนตรพระพระพุทธชินราชตกออก เป็นโลหิต ความนี้เป็นสัญลักษณ์ว่าพิษณุโลกศูนย์กลาง อำนาจของสุโขทัยเป็นของอยุธยาโดยสมบูรณ์ เพราะ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ ทรงส่งพระโอรสขึ้น ไปครองและการระบุว่าน้ำเนตรพระพุทธชินราชตก เป็นโลหิต คือการย้ำให้เห็นถึงการสิ้นสุดอำนาจของ ราชวงศ์สุโขทัย แมว่า้พระราเมศวรเจา้ที่ขึ้นมาครองเมือง พิษณุโลกจะมีพระราชมารดาเป็นเชื้อสายพระราชวงศ์ สุโขทัยก็ตาม เมื่อเขตพระราชอำนาจของอยุธยาขยาย ขึ้นไปถึงสุโขทัยนั่นหมายความว่าหัวเมืองเหนือก็อยู่ใน ขอบเขตพระราชอำนาจ การไดหัวเมืองเห ้นือในครงั้นี้ไม่ ได้มีความหมายเพียงการขยายขอบเขตพระราชอำนาจ แต่ผลที่ได้ตามมาด้วยคือ กำลังคนและแหล่งของป่า โดยเฉพาะหนังกวางซงเึ่ปนสิน ็คา้ส่งออกที่สร้างรายได้ที่ สำคัญของอยุธยาอีกด้วย การขยายพระราชอำ นาจไปเมืองท่าในอ่าว เมาะตะมะ ความสนใจของอยุธยาต่อเมืองท่าในอ่าวเมาะ ตะมะสูงขึ้นภายหลังจากเมืองมะละกาตกอยู่ภายใต้ การปกครองของโปรตุเกส ใน พ.ศ. ๒๐๕๔ การที่เมือง มะละกาเป็นของโปรตุเกสส่งผลทางตรงและทางอ้อม ต่อการค้านานาชาติในน่านน้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพ่อค้ามุสลิมที่มีอิทธิพลสูงในเครือข่ายการค้าทาง ทะเลไดหั้นความสนใจจากเมืองมะละกาไปสู่เมืองท่าอื่น แทน ดังปรากฏในบันทึกของบาร์โบซา เมือ ่พ.ศ. ๒๐๕๙ ที่กล่าวถึงความมั่งคั่งและเครือข่ายทางการค้าในอ่าว เบงกอล โดยเฉพาะความสำคัญของเมืองท่าอย่างพะโค (หงสาวด) ีตะนาวศรีซงม่ึเคีรือข่ายการคา้สัมพนัธ์กับพ่อคา้ มัวร์และเมืองมะละกา โดยเฉพาะตะนาวศรีซึ่งเป็นที่ ชุมนุมของพ่อค้ามัวร์และพ่อค้าจากที่อื่น ๆ ที่พร้อม จะซื้อหาแลกเปล ี่ ยนสินค้าทุกประเภท การเติบโตและ ความสำคัญของเมืองท่าในอ่าวเมาะตะมะหลังการยึด ครองเมืองมะละกาของโปรตุเกส ทำใหอยุธยาและ้พม่า ต่างพยายามขยายอำนาจทางการเมืองและการทหาร มายังบริเวณนี้จนทำให้เกิดการเผชิญหน้าเเละนำมาซึ่ง สงครามระหว่าง ๒ รัฐ ก่อนหน้านี้ศูนย์กลางอำนาจของพม่าอยตู่อนใน สาเหตที่ทำุให้พระเจา้ตะเบ็งชเวตี้ยาย้ราชอาณาจักรจาก ตองอูซงอยึ่ตู่อนในของพม่ามาหงสาวด เีพราะต้องการมี ส่วนร่วมในผลกำไรและความมังคั่งจากกา่รคา เ้นองจากื่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าในมหาสมุทร อินเดียและอ่าวเบงกอล การขยายอำนาจของในสมัย พระเจา้ตะเบ็งชเวตี้และพระเจาบุเ้รงนองเปน็มลเหูตุของ การปะทะกับอยุธยาซงให ึ่ความ้ สำคัญเปนพิ ็ เศษกับการ รักษาความเปน็ ใหญ่เหนือเครือข่ายเมืองท่าในอ่าวเมาะ ตะมะ เช่น ทวาย มะริด ตะนาวศรีเช่นกัน ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔ การค้ายังคงเป็นปัจจัย หนง่ึที่นำมาสู่การปะทะกันระหว่างอยุธยากับพม่า พระเจา้ อลองพญาแห่งราชวงศ์คอนบองตอนต้น ไม่เพียง ขยายปริมณฑลอำนาจลงสู่เมืองท่าในอ่าวเมาะตะมะ เท่านั้นแต่ยังได้ขยายปริมณฑลทางอำนาจลงใต้ไป ยังหัวเมืองน้อยใหญ่สองฟากคาบสมุทรตอนบน เช่น 131 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เมืองเพชรบุรีประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา สรุ าษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช เมืองถลาง เปนต้น ็ เพราะ หัวเมืองเหล่านี้เป็นเมืองท่าส่งผ่านสินค้า อีกทั้งเป็น แหล่งดีบุกซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญด้วย อย่างไรก็ตาม แม้อยุธยาจะขยายเขตพระราช อำนาจเพอกาื่รคา้รวมทงั้พยายามควบคุมหัวเมืองต่าง ๆ ให้อยู่ในพระราชอำนาจนั้น หัวเมืองที่อยู่ห่างไกลและ เคยเป็นอิสระมาก่อนก็ค้าขายกับพ่อค้าต่างชาติเอง ด้วยโดยเฉพาะหัวเมืองทางใต้อย่างนครศรีธรรมราช และปัตตานี นครศรีธรรมราช เปน็ เมืองที่มความี สำคัญมาเก่า ก่อน หลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ของสุโขทัยและ ความชินกาลมาลีปกรณ์วรรณกรรมพุทธศาสนาภาษา บาลีแต่งโดยพระรัตนปัญญาเถระ พระเถระผู้ใหญ่แห่ง อาณาจักรล้านนาล้วนมีข้อความแสดงถึงความรุ่งเรือง ในฐานะศูนย์กลางพุทธศาสนาของนครศรีธรรมราช ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ได้ดี ในด้านการเมือง นครศรีธรรมราชมีอำนาจเหนือรัฐอื่นๆ ในคาบสมุทร มลายู เมืองที่อยู่ใต้อำนาจของนครศรีธรรมราช มี ๑๒ เมือง จึงมีการนำสัตว์ประจำปีนักษัตรของจีนมาใช้ เป็นสัญลักษณ์ประจำเมืองต่างๆ เรียกว่า “เมือง ๑๒ นักษัตร” ได้แก่ เมืองสายบุรีใช้ตราหนู เมืองปัตตานี ใช้ตราวัว เมืองกลันตันใช้ตราเสือ เมืองปาหังใช้ตรา กระต่าย เมืองไทรบุรีใช้ตรางูใหญ่ เมืองพัทลุงใช้ตรางู เล็ก เมืองตรังใช้ตราม้า เมืองชุมพรใช้ตราแพะ เมือง ปันทายสมอ (กระบ ี่) ใช้ตราลิง เมืองสระอุเลา (สงขลา) ใช้ตราไก่ เมืองตะกั่วป่าและถลางใช้ตราหมา และเมือง กระบุรีใช้ตราหมู ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นครศรีธรรมราช เริ่มเสื่อมอำนาจ ซึ่งเป็นเวลาเดียวกับที่รัฐไทยทาง ตอนบนมีอำนาจมากขึ้น ในตำนานพระบรมธาตุเมือง นครศรีธรรมราชตอนหนึ่งกล่าวถึงการสู้รบระหว่าง พระเจ้าศรี ธรรมาโศกราชกับพระเจ้าอู่ทองที่มาจาก ขอ้พิพาทเรองเข่ืตแดน โดยสงครามจบลงดวยกา้รเปน็ ไมตรี และแบ่งปันเขตแดนกัน นอกจากนั้นการตีความเนื้อหา ในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชและตำนานพระธาตุ เมืองนครศรีธรรมราชพบว่ากษัตริย์แห่งนครศรีธรรมราช ได้ยอมจำนนต่ออำนาจของพระเจ้าแผ่นดินของภาค กลางพระองค์หนึ่ง ซึ่งก็คืออยุธยา สอดคล้องกับ พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาที่กล่าวว่า นครศรีธรรมราชเปน็ ๑ ใน ๑๖ เมืองประเทศราชของอยุธยา ถึงแม้ว่านครศรีธรรมราชเป็นเมืองที่ต้องถวาย ดอกไมเง้ ินดอกไม้ทองและต้องทำพิธถือี น้ำพระพิพัฒน์ แสดงความจงรักภักดี แต่ในบันทึกของโตเม ปิเรส (Tomé Pires) นักเดินทางชาวโปรตุเกสที่เขียนขึ้นใน พ.ศ.๒๐๕๕ - ๒๐๕๘ ได้กล่าวถึงเมืองนครศรีธรรมราช ว่ายังคงมีความสำคัญทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองใน คาบสมุทรมลายอย่างู สูงในช่วงพทุธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒ นครศรีธรรมราชมีอำนาจในการปกครองตนเอง และ ยังมีเครือข่ายการค้าครอบคลุมตั้งแต่ชวา คาบสมุทร มลายูไปจนถึงตอนใต้ของเวียดนาม บันทึกของเฟอร์ นาว เมนเดส ปินโต (Fernao Mendes Pinto) นักเดิน ทางชาวโปรตุเกสก็กล่าวถึงเครือข่ายการค้าระหว่าง นครศรีธรรมราช ปัตตานี มะละกา และอินเดีย โดย ระบุว่ามีเรือสินค้ามากกว่า ๑,๕๐๐ ลำมาเทียบท่าที่ 132
นครศรีธรรมราช บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษก็ สนใจที่จะเข้ามาทำการค้าพริกไทยกับนครศรีธรรมราช โดยบริษัทได้ส่งตัวแทนมาเจรจากับเจ้าเมืองและได้ทำ สนธิสัญญาการค้าต่อกันโดยไม่ต้องผ่านความเห็นชอบ จากกษัตริย์อยุธยา เรือสำเภาทงหมดก็เ ั้ปน็ของเจาเมือง ้ และพ่อค้าท้องถิ่น แสดงให้เห็นว่านครศรีธรรมราชมี บทบาททางการคาใ้นเครือข่ายระหว่างเอเชยีตะวันออก เฉียงใต้กับเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในราวพทุธศตวรรษที่ ๒๓ การคา้ ที่นครศรีธรรมราชเริ่มซบเซาลงไปดังปรากฏข้อมูล ที่ในคำให้การลูกเรือสำเภาจีนเก ี่ยวกับสยามในพุทธ ศตวรรษที่ ๒๓ หลายฉบับที่ระบุว่ามีเรือไปหาซื้อสินค้า และเสบียงที่นครศรีธรรมราชไม่มากนัก และว่าปริมาณ ของสินค้าพื้นเมืองเหล่านี้ในปีหนึ่ง ๆ รวมกันได้น้อย ส่วนเมืองปัตตานี จากหลักฐานทางโบราณคดี สรุปได้ว่าศูนย์กลางน่าจะอยู่ที่หมู่บ้านกรือเซะ อำเภอ เมือง จังหวัดปัตตานีรัฐปัตตานีน่าจะสืบทอดมา จากลังกาสุกะที่เป็นรัฐโบราณอยู่ในบริเวณเดียวกันนี้ ตำนานเมืองปัตตานี (Hikayat Patani) กล่าวว่ามีการ ยายศู้นย์กลางจากบริเวณเมืองโบราณยะรังมาที่กรือเซะ แต่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาของการย้ายเมืองและเหตุผล ที่ต้องย้ายเมือง อย่างไรก็ตาม นักวิชาการวิเคราะห์ว่า ปตตัานีน่าจะก่อตงขึ ั้ ้นในช่วงเวลาระหว่างพทุธศตวรรษ ที่ ๑๙ - ๒๐ ซงเึ่ปน็ช่วงที่การคา้ทางทะเลกำลังรุ่งเรืองขึ้น มาพร้อมกับการเขามาของศา้สนาอิสลาม ดังนั้นการยาย้ เมืองน่าจะมีปัจจัยมาจากเรองเื่ส้นทางการคา เ้นองจากื่ บริเวณกรือเซะนั้นอยู่บนสันทรายสูงของชายฝั่งทะเล ทำให้ปลอดภัยจากน้ำท่วมในฤดูฝน ส่วนทางทิศเหนือ เปน็แหลมที่ยื่นขนานไปกับสนทรั ายชายฝั่งที่เปน็ เหมือน ที่กำบังลมในฤดมูรสุมเหมาะสมสำหรับการแวะพักจอด เรือ นอกจากนั้นยังมีลำน้ำ ๒ สายที่ขนาบพื้นที่ทั้งซ้าย และขวา ทำให้ปัตตานีสามารถติดต่อกับไทรบุรีทางฝั่ง ตะวันตกของคาบสมุทรได้สะดวก ปัจจัยเหล่านี้ลว้นเปน็ พื้นฐานสำคัญที่ทำให้ปตตัานีกลายเปน็ เมืองท่าการคา้ที่ สำคัญอีกแห่งบนคาบสมุทรมลายู ในช่วงแรกปัตตานีเป็น ๑ ใน ๑๒ เมืองนักษัตร ของนครศรีธรรมราช ทำให้เมื่อนครศรีธรรมราชตก ยอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของอยุธยา ปัตตานีจึงกลาย เปน็ เมืองในปริมณฑลอำนาจของอยุธยาไปดวย แ้ต่ก็ยัง ไม่ไดอยู้่ในฐานะเมืองสำคัญสำหรับอยุธยานักเมือเ่ทียบ กับมะลากาหรือหัวเมืองมลายูอื่น ๆ ปัตตานีเริ่มเจริญ ขึ้นราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ ๒๐ จากการขยาย ตัวทางการค้าทางทะเล และเป็นช่วงที่ปัตตานีเปล ี่ ยน มานับถือศาสนาอิสลาม ปัตตานีจึงมีฐานะเป็นรัฐการ ค้าอย่างเต็มตัว ปัตตานีปกครองโดยสุลต่าน ซึ่งเป็นคำเรียก ผู้ปกครองตามประเพณีอิสลาม แต่การที่ปตตัานีถกขูนาบ ด้วย ๒ ศูนย์อำนาจใหญ่ ได้แก่ อยุธยาทางตอนเหนือ และมะละกาทางตอนใต้ ส่งผลกระทบต่อสถานภาพ ทางการเมืองของปัตตานีมาโดยตลอด อยุธยาเริ่มให้ ความสนใจกับปัตตานีมากขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่าง ปตตัานีกับอยุธยาเปนรูป ็แบบของความสัมพนัธ์ระหว่าง รัฐเล็กกับรัฐใหญ่ ในรูปแบบของรัฐบรรณาการ สถานะ เช่นนี้แม้ในบางเวลาจะไม่มีอิสระเต็มที่ แต่ปัตตานีก็ยัง 133 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ คงปกครองและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในตัวเองได้ เต็มที่โดยไม่ต้องถูกควบคุม ชาติตะวันตกเป็นขั้วอำนาจอีกกลุ่มหนึ่งที่เข้า มาในปัตตานีหลังยึดเมืองมะละกาได้แล้ว โปรตุเกสก็ โจมตีปัตตานีใน พ.ศ.๒๐๖๕ ทำให้ปัตตานีต้องยอมให้ โปรตุเกสเขามา้ตงั้สถานีการคา บ้ ริษัทอินเดยีตะวันออก ของ เนเธอแลนด์ก็สนใจทำการค้ากับปัตตานี เนื่องจาก เป็นเมืองท่าที่มีเส้นทางไปสู่เอเชียตะวันออกได้ ความ พยายามที่จะเข้ามาทำการค้ากับปัตตานีทำให้ดัตช์ขัด แย้งกับโปรตุเกสถึงขั้นปะทะกันด้วยกองกำลัง สุดท้าย ดัตช์เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะและเข้ามาตั้งสถานีการค้าใน ปัตตานีได้ในที่สุด กล่าวได้ว่าบทบาทการเป็นเมืองท่าการค้าของ ปัตตานี เริ่มเป็นที่รู้จักในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพาะเมื่อเมืองมะละกาตกเป็นของโปรตุเกสใน พ.ศ. ๒๐๕๔ ทำให้พ่อค้ามุสลิมและพ่อค้าอื่น ๆ ที่ ไม่ต้องการทำการค้ากับโปรตุเกสที่เมืองมะละกามอง หาเมืองท่าแห่งใหม่ ปัตตานีตอบสนองความต้องการ ได้เพราะเป็นเมืองท่าที่อยู่ในระบบการค้าของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และมีความสัมพันธ์กับเครือข่ายการ ค้าบริเวณทะเลจีนใต้และช่องแคบมะละกาอยู่ก่อนแล้ว ปัตตานีจึงทำหน้าที่เมืองท่าส่งผ่านสินค้า ในยุคที่การ คาของเอเช้ยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้รุ่งเรืองในช่วงกลางพทุธ ศตวรรษที่ ๒๑-กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ปัตตานีไม่ได้ เป็นเพียงเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งแต่ยังเป็นแหล่งผลิต รวบรวมสินคาโดยเฉ ้พาะของป่าและพริกไทยจากบริเวณ ใกล้เคียงส่งต่อให้พ่อค้าต่างชาติที่นำผ้าไหมและเครื่อง เคลือบจากจีนเข้ามาแลกเปล ี่ ยน เช่นเดียวกับผ้าจาก อินเดียก็นำเข้ามาเพื่อแลกเปล ี่ ยนกับพริกไทย ทองคำ และอาหารต่าง ๆ ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญ ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๒ บทบาทการเป็น เมืองท่าแลกเปลย ี่ นสินคาของ้ ปตตัานียงคึกคักมากขึ ิ่ ้น มี เรือสินคาเด้ ินทางไปมาระหว่างปตตัานีกับอยุธยา บรูไน จัมบ เมือง ีท่าตอนเหนือของเกาะชวา เกาะสุลาเวสี และ หมู่เกาะโมลุกกะ จีน ญี่ปุ่น กัมพูชา และสุมาตรา มีพ่อคาดั ้ตซ์ อังกฤษ และโปรตุเกสเขามา้ ติดต่อคาขาย้ ที่ ปตตัานี โดยสินคาออกเ้ท่าที่ปรากฏเช่น ขาว เกลือ ้ พริกไทย สินคาเข้ าก็ม ้ความหลากหลายีทงั้ผ้าอินเดย ี ผ้าลินิน ทาส ไหมดิบ เครื่องถ้วยชาม เหล็ก ทองแดง จนกระทงใั่นช่วงพทุธศตวรรษที่ ๒๓ บทบาทการ เปน็ เมืองท่าการคา้ที่สำคัญของปตตัานีเริ่มเสอมถอยลง ื่ จำนวนเรือที่เข้าไปที่ปัตตานีมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่เดิน ทางไปจากจีนคือ เซียะเหมิน กวางตุ้ง หนิงโป และจาง โจว จากดินแดนอื่นมไม่มาก ีนัก และแทบจะไม่มเีรือจาก ยุโรปเข้าไปที่ปัตตานีเลย เรือเหล่านี้ส่วนหนึ่งเข้ามาซื้อ หาแลกเปล ี่ ยนสินค้าแต่ส่วนหนึ่งโดยเฉพาะเรือจากจีน ไปหาซื้อสินค้าจากปัตตานีเพื่อนำไปขายที่ญี่ปุ่น และที่ เลือกปัตตานีก็เพราะมีเรือจากปัตตานีเดินทางไปค้าที่ นางาซากิไม่มากนัก 134
สังคมพหุวัฒนธรรมในกรุงศรีอยุธยา การที่กรุงศรีอยุธยาเปน็ เมืองท่าที่เปน็ศูนย์กลาง การรวบรวมและกระจายสินค้าจากดินแดนต่าง ๆ เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้า มาค้าขายและตั้งถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา การเข้ามา ดังกล่าวก่อให้เกิดลักษณะสังคมพหุวัฒนธรรมใน ๒ ลักษณะ คือ ๑. วถิชีวีิตของชาวต่างชาติในพระนครศรีอยุธยา ลา ลูแบร์ บันทึกว่า “...ชนต่างด้าวสามารถตั้ง รกรากอยู่โดยมีเสรีภาพอันสมบูรณ์ในอันที่จะดำ�รงชีวิต อยู่ได้ตามประเพณีนิยมของตนและประกอบพิธีกรรม ทางศาสนาของตนได้อย่างเปิดเผย...” สะท้อนให้เห็น ภาพการดำเนินชวีิตของชาวต่างชาติในกรุงศรีอยุธยาว่า สามารถใช้ชีวิตตามจารีตประเพณีแห่งชาติตนได้อย่าง สมบูรณ์ ลักษณะการดำเนินชีวิตของชาวต่างชาติดัง กล่าวเห็นได้จากเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ เสรีภาพในการประกอบกิจทางศาสนา ประชาคมชาติต่าง ๆ ในกรุงศรีอยุธยาสามารถประกอบ กจิทางศาสนาและสร้าง ศาสนสถานของตนไดอย่างเ ้ต็ม ที่ เช่น ชาวโปรตุเกส นอกจากสามารถประกอบพิธกีรรม ทางศาสนาแลวยังได ้ ้รับอนุญาตให้สร้างโบสถ์เซนตป์อล ขึ้นด้วย ชาวฮอลันดาและอังกฤษที่เป็นโปรแตสแตนท์ นับถือนิกายคาลแว็งและลเธอูร์ แมไม่ม ้ ีสถานที่ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาแต่ทุกวันอาทิตย์ก็จะไปชุมชนฟัง เทศน์กันที่หมู่บ้านฮอลันดา ชาวจีนก็จะมีศาลเจ้าอยู่ใน บ้านเรือนและประกอบพิธีไหว้เจ้าโดยมีเสียงอึกทึกจน ได้ยินไปทั้งย่าน ขณะที่แขกมัวร์ก็สามารถจัดงานฉลอง จัดขบวนแห่วันนักขัตฤกษ์ใหญ่ได้อย่างเต็มที่เช่นกัน นอกจากมีเสรีภาพในการประกอบกิจทาง ศาสนาแล้วยังมีสิทธิเผยแพร่ศาสนาได้ด้วย เห็นได้จาก ชาวโปรตุเกสได้รับสิทธิในการสอนศาสนาโดยไม่ถูก รบกวน หรือการที่ชาวฝรั่งเศสสามารถตั้งสำนักเสมินาร์ อบรมและเผยแพร่ศาสนาคริสต์โดยได้รับอนุญาตจาก ราชสำนัก การประกอบอาชีพตามที่ตนเองถนัด เช่น การ เป็นทหาร แพทย์ พ่อค้ารายย่อย งานรับจ้างอื่น ๆ เช่น รับจาง้ ฟอกหนัง ทำงานบรรจุสินคา้ที่คลังสินคาฮอลั ้นดา เป็นต้น อิสระในการเลือกคู่ครอง กรุงศรีอยุธยาเหมือน เมืองท่าการค้าทั่ว ๆ ไปในลักษณะที่ว่าผู้ที่เดินทางเข้า มาค้าขายหรือตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย เมื่อเข้า มาแล้วคนเหล่านี้มักจะอยู่กินหรือแต่งงานกับหญิงพื้น เมืองจนมีลูกหลานที่เป็นลูกครึ่งออกมาเป็นส่วนหนึ่ง ของประชากรเมืองท่านั้น ๆ ในกรุงศรีอยุธยานั้นก็มีลูก ครึ่งอยู่จำนวนไม่น้อย เช่น ลูกครึ่งไทย – จีน, ไทย – มุสลิม, ไทย – ญี่ปุ่น, ไทย – มาเลย์, ไทย - โปรตุเกส, มอญ – ฮอลันดา บางครั้งลูกครึ่งเหล่านี้ก็จะหมั้นหมาย แต่งงานกันเองหรืออาจแต่งงานกับชาวต่างชาติที่เขามา้ ทำงานที่อยุธยา อาหารการกิน มีหลักฐานว่าชาวต่างชาติในกรุง ศรีอยุธยาสามารถซื้อหาอาหารที่มีลักษณะใกล้เคียง กับที่เคยบริโภคเมื่ออยู่ในประเทศของตนได้ ถึงแม้จะ ไม่ครบถ้วนและบริบูรณ์นัก เช่น ขนมปัง เนย เนื้อสัตว์ ประเภทแพะและแกะ เครื่องดื่ม เหล้าองุ่น กาแฟ 135 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ อาคารบ้านเรือน ชาวต่างชาติคงสามารถสร้าง ตามแบบนิยมและศิลปะของตนได้อย่างเต็มที่ตามที่ สามารถหาวัสดุได้ ดังที่นายแพทย์แกมเฟอร์ ผู้ติดตาม คณะราชทูตเนเธอร์แลนด์ไปญี่ปนซุ่ งได ึ่แวะเข้ามา้ ที่กรุง ศรีอยุธยาเมื่อใน พ.ศ. ๒๒๓๓ เล่าถึงอาคารบ้านเรือน ของชาวต่างชาติที่ตั้งอยู่บริเวณถนนที่สำคัญ ๒ สาย ของพระนครศรีอยุธยาว่า “ถนนสายกลางซึ่งแล่นเหนือ ขึ้นไปยังพระราชวังนั้นมีผู้คนอยู่คับคั่งที่สุด แน่นขนัดไป ด้วยร้านค้าร้านช่างศิลปและหัตถกรรมต่าง ๆ มีบ้านคน จีน ฮินดูสถานและมัวร์อยู่กว่าร้อยหลัง สร้างด้วยหินรูป ทรงเหมือน ๆ กันขนาดเล็กมาก มีสองชั้น หลังคามุง กระเบื้องแบน ๆ มีประตูใหญ่ดูไม่ได้ส่วน...” เป็นต้น ๒. วิถีชีวิตบางประการของราษฎรในกรุง ศรีอยุธยาที่เปล ี่ ยนแปลงไปเนื่องจากการเข้ามาค้าขาย และตั้งถิ่นฐานของชาวต่างชาติ การที่กรุงศรีอยุธยาเปน็ เมืองท่าที่มชาวีต่างชาติ เดินทางไปมาค้าขายหรือเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ย่อมทำให้ ชาวพระนครคุ้นเคยกับชาวต่างชาติทั้งในแง่การดำเนิน ชวีิตตามวถิของชีนเหล่านั้น รวมทงกาั้รมโอกา ีสได้พบปะ สังสรรค์ตามย่านการค้าต่าง ๆ ลักษณะดังกล่าวย่อม ทำให้เกิดการผสมผสานหรือแลกเปล ี่ ยนทางวัฒนธรรม ระหว่างกันขึ้น และการเขามาค้าขายห้รือตงถั้ ิ่นฐานของ ชาวต่างชาติย่อมมีส่วนทำใหว้ถิชีวีิตบางประการของชาว พระนครเปลย ี่ นแปลงไป วถิชีวีิตที่เปลย ี่ นไปดังกล่าว คือ ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเป็น สังคมนานาชาติของกรุงศรีอยุธยา วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและการค้า เกิดการให้ ความสำคัญของเงินตรา เกิดอาชีพที่ทำการผลิตสินค้า เฉพาะอย่าง เพอขายให ื่กับชาว ้ต่างชาตินอกเหนือจากที่ เคยผลิตเพอขายให ื่แก่กลุ่มชาวเมือง ขุ ้นนาง ขา้ราชการ ที่ไม่ได้ทำการผลิตแบบยังชีพอีกต่อไป เช่น การผลิต และขายอุปกรณ์เกี่ยวกับเรือสำเภา การผลิตและการ ขายสินค้าเพื่อการอุปโภคและบริโภคในชีวิตประจำวัน จำพวก ฟูก เบาะ หมอน มุ้ง เสื้อผ้า กางเกง เครื่องใช้ ครก มีดพร้า กระบุง ตะกร้า และของกินต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เปน็ขนมขบเคยว หม ี้ เูป็ด ไก่ อาหารทะเล ของแหง และ้ เกดอาชิ ีพช่างฝีมือ เนองจากื่ผู้คนที่มฐาีนะทางเศรษฐกจิ ดีย่อมมีเงินตราหรือโอกาสในการซื้อหาข้าวของเครื่อง ประดับซึ่งถือว่าเป็นสิ่งของฟุ่มเฟือยมาใช้สอยมากขึ้น ศิลปวิทยาการ มีสถาปัตยกรรมแบบใหม่เกิด ขึ้น พบว่าในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ สถาปัตยกรรม ตามลักษณะต่างชาติโดยเฉพาะยุโรปเข้ามีบทบาทผสม ผสานกับสถาปัตยกรรมไทยค่อนข้างมาก เพราะมีช่าง และวศวกิรชาวฝรงเศั่สเขามาก่อ ้ สร้างอาคารและสิ่งต่าง ๆ มากมายหลายแห่งทงใั้นพระนครและลพบุรีทำใหช่าง ้ ไทยได้รับความรู้และเทคนิคแบบยุโรปนำมาประยุกต์กับ สถาปัตยกรรมไทยทำให้เกิดการเปล ี่ ยนแปลงรูปแบบ ของศลิปกรรมซงถือได ึ่ว่าเ ้ ปน็ววัฒินาการกาว้ สำคัญของ การเปลย ี่ นแปลงมาสูรูป่แบบเฉพาะแบบหนงของศึ่ลิปะ สมัยอยุธยาและเป็นที่นิยมกันอย่างมากในสมัยนั้นถึง กับเรียกว่า “ศิลปะสมัยพระนารายณ์” เช่น พระราชวัง ที่ลพบุรีป้อมบางกอก 136
จิตรกรรม ได้รับอิทธิพลศิลปะต่างชาติเข้า มาผสมผสานกับศิลปะพื้นเมืองเช่นเดียวกับงานทาง สถาปัตยกรรม ตัวอย่างเช่น อิทธิพลจีนที่พบในกรุวัด ราชบูรณะ ซึ่งสร้างสมัยต้นอยุธยาโดยพบเป็นภาพ นักรบหรือขุนนางผู้ใหญ่ที่มีเครื่องแต่งกายและเครื่อง ประดับตลอดจนลลาีท่าทางเปน็แบบจีน และเมืออยุธยา่ ติดต่อกับตะวันตกมากขึ้นได้มีการนำเทคนิคการเขียน ภาพเหมือนจริงมาใช้ เช่นภาพเขียนการแต่งกายของ ขา้ราชบริพารที่เขาเฝ้าใ ้นจิตรกรรมฝาผนังเรองมหาชื่นก ที่ตำหนักพระพทุธโฆษาจารย์ วัดพทุไธสวรรย์ หรือเรองื่ การนำลวดลายเครือเถาแบบฝรั่งมาผสมกับลายกนก ของไทยจนเป็นลวดลายที่สวยงาม เช่น ภาพลายรดน้ำ ตู้พระไตรปิฎกวัดพระเชตพนุฯ ซงเึ่ปน็ ลายใบอะแคนตสั ผสมลวดลายกนก อาวุธ นับตั้งแต่อยุธยาติดต่อกับชาวตะวัน ตก การพัฒนาอาวุธและฝึกปรือกองทหารได้มีการ เปล ี่ ยนแปลงไปใช้เทคนิคที่มีความก้าวหน้าแบบตะวัน ตกมากขึ้น เมือกา่รติดต่อกับยุโรปเปน็ ไปอย่างแพร่หลาย มหลักฐา ีนว่าทางราชสำนักอยุธยาไดขอความช่วยเหลือ ้ จากดัตช์เรื่องช่างเพื่อเข้ามาทำงานให้ราชสำนัก เช่น ขอช่างทำปืนใหญ่ช่างทำดินปืน พลแม่นปืน นอกจาก นี้ยังได้ขอผู้ชำนาญการในการใช้และหล่อปืนใหญ่จาก ฝรั่งเศสอีกด้วย ลา ลูแบร์ ก็ได้เล่าว่า อยุธยามีปืนใหญ่ ไม่มากนักผู้ที่ทำหน้าที่หล่อปืนใหญ่ใหเ้ปน็ชาวโปรตุเกส ที่เกิดในเมืองมาเก๊า สังคมและความเป็นอยู่ เมื่อชาวต่างชาติเป็น ส่วนหนึ่งของผู้คนในพระนครศรีอยุธยาย่อมทำให้เกิด การรับและแลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรมระหว่างกันอันจะส่ง ผลทางด้านวัฒนธรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของชาว พระนครศรีอยุธยา การผสมผสานกลมกลืนของผู้คน เห็นได้จาก การแต่งงานอยู่กินระหว่างคนต่างชาติกับต่างชาติหรือ คนต่างชาติกับคนพื้นเมือง ในกรณีชาวต่างชาติแต่งงาน กับชาวต่างชาติด้วยกัน เช่น ฟอลคอนกับมารี กีมาร์ (Marie Guimard) ลูกหลานที่เกิดมาเมื่อแต่งงานอยู่กิน กับคนพื้นเมืองท้ายที่สุดก็จะผสมกลมกลืนกลายเปน็คน อยุธยา การผสมผสานกลมกลืนของผู้คนที่หลากหลาย ซึ่งเป็นที่มาแห่งบรรพบุรุษของคนไทยเช่นนี้ สะท้อนให้ เห็นลักษณะสังคมพหุวัฒนธรรมของกรุงศรีอยุธยาได้ เป็นอย่างดี รสนิยมและการใช้ของต่างประเทศ การนิยม ใช้ของฟุ่มเฟือยที่นำเข้าจากต่างประเทศเป็นเรื่องของ ชนชั้นผู้ปกครองอยุธยา เพราะเป็นเครื่องบ่งบอกฐานะ และอำนาจของเจ้าของผู้มีสิทธิ์ซื้อหาและครอบครอง เช่นผ้ามัสลิน น้ำหอมกุหลาบ พรม ผ้าลูกไม้ผ้าไหม แพร ไหมมีสีของเมกกะ เป็นต้น นอกจากนี้ตลาดและ ย่านการค้าในอยุธยายังมีสินค้าต่าง ๆ ที่แสดงว่าชาว อยุธยาคุ้นเคยกับวัฒนธรรมภายนอกเป็นอย่างดี เช่น เครองเื่รือน ของใชใ้นชวีิตประจำวัน เครองื่ประดับ ยาสูบ อาหารการกินต่าง ๆ เครื่องดนตรีตลอดจนคุ้นเคยกับ ภาษาต่างประเทศที่มีใช้กันในยุคสมัยนั้น 137 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ การที่ชาวต่างชาติสามารถเข้าไปรับราชการ โดยการเป็นขุนนางฝ่ายชำนาญการ การ ดำรงอยู่ของชุมชนต่างชาติที่ค่อนข้างจะคล้ายคลึงกับดินแดนบ้านเกิด ทั้งในเรื่องการประกอบ พิธีทางศาสนาและพิธกีรรม อาหารการกิน สภาพบา้นเรือน โอกาสในการประกอบสัมมาอาชีพ และการแต่งงาน รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในกจกิรรมทางสังคมของชาวต่างชาติในกรุงศรีอยุธยา นอกเหนือจากการค้า ทำให้เห็นได้ว่า กรุงศรีอยุธยาเป็นพระนครหลวงที่เปิดกว้างสำหรับคน ทุกเชื้อชาติซึ่งถือเป็นปัจจัยบ่งชี้ที่สำคัญประการหนึ่งถึงความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมของ กรุงศรีอยุธยา ศิลปะและวัฒนธรรมในสมัยอยุธยา อยุธยาเปน็ดินแดนที่เอือ้ต่อการเปน็ศูนย์กลางทางการคาดัง ้ ที่ไดกล่าวไว ้ ใ้นขาง้ ต้น ทำให้ เส้นทางการค้าของอยุธยาแตกแขนงไปยังพื้นที่ต่าง ๆ แผ่กว้างไปไกล ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง ทั้งด้านการค้าและวัฒนธรรม กอปรกับนโยบายของราชสำนักอยุธยาที่เปิดกว้างจึงก่อให้เกิด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมจนอาจเรียกได้ว่าเป็นพระนครที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรม ซึ่ง สามารถที่จะอยรู่ ่วมกันไดโดยม ้กาีรรับ แลกเปลย ี่ น ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม แนวความคดิ ระหว่างความเชื่อพื้นเมือง ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนา สภาพสังคมและวัฒนธรรมในช่วงต้นอยุธยาโดยรวมแลวเ้ ปน็ ช่วงส่งผ่านจากยุคโบราณ สู่ยุคจารีต ลักษณะวัฒนธรรมที่จะพบได้นั้นเป็นวัฒนธรรมที่ได้รับการผสมผสานไว้แล้ว เช่น วัฒนธรรมของเขมรโบราณที่รับจากอินเดีย จากสังคมพหุวัฒนธรรมในยุคเริ่มต้นและพัฒนา มาตั้งแต่เริ่มการเดินทางติดต่อไปมาในดินแดนต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รับ วัฒนธรรมจากอินเดียและจีน สังคมอยุธยาช่วงต้นเป็นการรับและแลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรมจากดินแดนภายในเป็นหลัก ปรากฏหลักฐานทั้งในงานสถาปัตยกรรม งานศิลปะ รวมถึง เรื่องของศาสนา คติความเชื่อ สิ่งที่ สะท้อนไดด้ีที่สุดคือบทบาทของผู้นำในแบบเทวราชาจากลัทธิพราหมณ์-ฮินดูซงเึ่ปน็ วัฒนธรรม ที่รับมาจากเขมรโบราณ แต่ในขณะเดียวกันก็มีการรับความเชื่อและหน้าที่ของผู้นำแบบพุทธ ศาสนาด้วย นอกจากนี้ งานวรรณกรรมของอยุธยาตอนต้น เช่น ลลิิตโองการแช่งน้ำ ได้สะท้อน ให้เห็นถึงพิธีกรรมของเทวราชา ในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา 138
139 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 140
วรรณกรรม วรรณกรรมเรื่องเด่นตลอดสมัยอยุธยาที่คนไทยรู้จักกันดีและได้รับการ ยกย่องว่ามีคุณค่ายิ่ ง อาทิ ลิลิตพระลอ มหาชาติคำหลวง โคลงกำสรวล นันโทปนันทสูตร คำหลวง กาพย์เห่เรือของเจา้ฟ้าธรรมธเบศิร เปนต้น ็ ได้สภาพสังคมที่สะท้อนผ่านงานวรรณกรรม สมัยอยุธยา กวีเลือกพรรณนาถึงความยิ่งใหญ่และสวยงามของพระนครดุจวิมานขององค์เทพ ชะลอเลื่อนลงมาจากสวรรค์ ทั้งเจดีย์ ปราสาทราชวังก็อร่ามไปด้วยทองสว่างไสวราวกับแสง ของพระจันทร์ ดังตัวอย่างกำสรวลโคลงดั้นว่า ๏ อยุธยายศย ิ่ งฟ้า ลงดิน แลฤา อำนาจบุญเพรงพระ ก่อเกื้อ เจดีย์ลอออินทร์ ปราสาท ในทาบทองแล้วเนื้อ นอกโสม ฯ วรรณกรรมสมัยอยุธยาทำให้เห็นร่องรอยการรับอิทธิพลวัฒนธรรมและความเชื่อ มาจากอินเดียผ่านทั้งพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูทั้งนี้ มีการปรับแนวคิดดังกล่าว ให้เข้ากับความคิดและความเชื่อที่มีอยู่เดิมของอยุธยา และสอดคล้องกับความเชื่อทางพุทธ ศาสนา ทำให้มีลักษณะเฉพาะของอยุธยาเอง วรรณกรรมเหล่านี้แสดงให้เห็นจินตนาการและ ความคิด ความเชื่อ และศรัทธาในการผสมผสานของผู้คนในสังคมต่อการรับอิทธิพลความคิด จากต่างวัฒนธรรม และแสดงถึงความสามารถในการบูรณาการความคิดนั้นให้เข้ากับลักษณะ สังคมได้เป็นอย่างดี จะเห็นได้ว่า วรรณกรรมสมัยอยุธยาได้สะท้อนคติความเชื่อต่าง ๆ อันได้แก่ คติ ความเชือเ่รองกื่ ำเนิดโลกและมนุษย์ คติความเชือเก่ยวกับ ี่ พระมหากษัตริย์ คติความเชือเก่ยวกับ ี่ สิ่งเหนือธรรมชาติ คติความเชือเก่ยวกับ ี่ พทุธศาสนา คติไตรภมู และความเชื ิ ออื่ ่น ๆ ซงเึ่ปน็การ สะท้อนการถ่ายทอดความคดความเชื ิอของ่นักประพนัธ์ลงไปในวรรณกรรมซงเึ่ปน็มุมมองหนงึ่ ของสมาชิกในสังคม และแสดงให้เห็นความคิดความเชื่อของคนในยุคสมัยนั้น ซึ่งมีอิทธิพล และความสัมพันธ์กับสังคมในด้านต่าง ๆ โดยมีปัจจัยสำคัญคือการผสมผสานวัฒนธรรมและ คติความเชื่อจากดินแดนต่าง ๆ ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อนหน้าหรือเจริญรุ่งเรืองพร้อมกับ อยุธยา ก่อให้เกิดเป็นงานวรรณกรรมที่มีการผสมผสานจนเกิดเป็นเอกลักษณ์ของวรรณกรรม อยุธยาขึ้นอีกด้วย 141 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ศิลปกรรม งานศิลปกรรมก็เป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นถึงพัฒนาการตลอดระยะเวลาอันยาวนาน พื้นฐานของศิลปะอยุธยาเริ่มเด่นชัดในปลายพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ จากอิทธิพลของเขมรโบราณผ่านศิลปะ ลพบุรีผสมผสานกันกับศิลปะของสุโขทัยและล้านนา จิตรกรรมฝาผนังในสมัยอยุธยาก็เช่นเดียวกัน กับศิลปะแขนงอื่น ๆ ของช่างหลวงอยุธยาที่สร้างขึ้น เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความศรัทธา จรรโลงความเชื่อใน พทุธศาสนา เช่น จิตรกรรมฝาผนังคหาูพระปรางค์ประจำ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระปรางค์วัดมหาธาตุ ภาพเขยีนบุคคลชาวจีน ภาพเขยีนศลิปะที่สัมพนัธ์กับศลิปะ มุสลิม เป็นต้น และนอกจากงานจิตรกรรมจะพบมาก ในพระนครศรีอยุธยาแล้ว ยังพบงานจิตรกรรมตาม หัวเมืองต่าง ๆ เช่นปทุมธานีสระบุรี ลพบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะเป็นเครื่องยืนยันความ สัมพนัธ์เชงอิ ำนาจ การคา แล้ ว ยังเ ้ ปนสิ่ ็งแสดงใหเห็ ้นถึง เส้นทางวัฒนธรรมที่พร้อมจะถ่ายทอดไปยังเมืองต่าง ๆ เกดกาิรแลกเปลย ี่ น ผสมผสาน รวมถึงการถ่ายทอดองค์ ความรู้ไว้ในท้องถิ่นนั้น ๆ ด้วย ประติมากรรมสมัยอยุธยาที่สำคัญจะเป็นงาน ช่างที่สร้างสรรค์ขึ้นเนื่องในพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูป ทำจากศิลา ปูนปั้น สำริด แก้ว เงิน และทองคำ ลวดลายปูนปั้นประดับศาสนสถาน รวมถึงประติมากรรมที่ทำจากวัสดุอื่นๆ ไดแก่ ้ตุ๊กตาดิน เผาเคลือบเครื่องประกอบ ประดับสถาปัตยกรรม โดย เฉพาะพระพุทธรูปแบบอู่ทอง พระพุทธรูปเอกลักษณ์ ของอยุธยา เช่น พระพทุธมงคลบพิตร พระพทุธรูปแบบ ศิลปะล้านนา พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่ สถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนาก็นับเป็น อีกหลักฐานสำคัญที่จะทำให้เห็นถึงความเชื่อมโยงทาง วัฒนธรรมที่อยุธยารับและนำมาผสมผสานให้เข้ากับ งานช่างของอยุธยาแขนงต่าง ๆ รวมทั้งแสดงให้เห็น ถึงความคิดที่สอดแทรกอยู่ในงานหรือรายละเอียดการ ประดับตกแต่งต่าง ๆ ที่มีนัยทางความเชือ แ่นวความคดิ และคติทางศาสนา โดยเฉพาะพุทธศาสนา ที่สำคัญคือ “พระมหาธาตุ” โดยภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหรือ พระบรมสารีริกธาตุของพระพทุธเจา โดยใ ้นสมัยอยุธยา มักสร้างขึ้นเป็นหลักประธานของเมืองเพื่อประดิษฐาน พระบรมธาตุ โดยวัดมหาธาตุและวัดสมัยอยุธยาตอน ต้นนั้นล้วนมีผังวัดที่สะท้อนถึงแนวคิดการจำลอง อนุจักรวาลและการสถาปนาพระธาตุให้เป็นศูนย์กลาง อีกด้วย ผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้นได้สะท้อนภาพ จักรวาลผ่านผังการวางรูปแบบของอาคาร โดยในช่วง ต้นนั้น ผังวัดนิยมหันหน้าไปทางทิศตะวันออก โดยมี แกนประธานคือพระวิหารอยู่ด้านหน้า ถัดไปเป็นเจดีย์ ประธานที่เป็นทรงปรางค์ ท้ายพระวิหารจะยื่นล้ำเข้าไป ในระเบยงคี ตที่ลอม้รอบเจดย์ ีประธาน ส่วนดา้นหลังเปน็ พระอุโบสถซงมักม่ึขีนาดย่อมกว่าพระวหาิร ซง่ึระเบยงคดี นั้นเปรียบได้กับกำแพงจักรวาลและองค์เจดีย์ประธาน เปรียบได้กับเขาพระสุเมรุที่เป็นศูนย์กลางของจักรวาล เจดีย์ในยุคแรกนั้นนิยมสร้างเป็นทรงปรางค์ ซึ่ง เปน็อิทธิพลมาจากสถาปตัยกรรมเขมรโบราณในภมูภาคิ นี้ที่เจริญรุ่งเรืองมาก่อนที่จะสถาปนากรุงศรีอยุธยา โดยเป็นการจำลองเขาพระสุเมรุมาสร้างบนโลกมนุษย์ ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูซึ่งมีมาตั้งแต่ 142
ในศิลปะอินเดีย เจดีย์ทรงปรางค์มีลักษณะคล้ายฝัก ข้าวโพด ประกอบด้วยส่วนฐานรองรับส่วนกลางที่เรียก ว่าเรือนธาตุ ส่วนบนเป็นชั้นซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป หลังจากยุคต้นนั้นความนิยมในการสร้าง ปรางค์เป็นเจดีย์ประธานก็ลดลง ปรากฏเป็นเจดีย์ทรง ระฆังขึ้น เป็นเจดีย์ที่มีองค์ระฆังเด่น มีแท่นฐานรองรับ อยู่ส่วนล่าง เหนือทรงระฆังเป็นส่วนยอด มีบัลลังก์รูป สี่เหล ี่ ยมต่อขึ้นไปเป็นทรงกรวยเป็นปล้องไฉนและปลี ยอด โดยมีพัฒนาการมาจากสถูปอินเดีย คตินิยมการสร้างสิงห์ล้อมหรือช้างล้อมยัง เป็นสิ่งที่เกิดกับเจดีย์ทรงระฆัง คาดว่าได้รับอิทธิพลมา จากลังกา ซึ่งอยุธยารับผ่านมาจากสุโขทัยอีกทอดหนึ่ง โดยปรากฏในเจดีย์สุโขทัยที่วัดช้างล้อมมีการใช้รูปช้าง ล้อมรอบเจดีย์ไว้นอกจากช้างแล้วในสมัยอยุธยายังมี การใช้สิงห์ประดับที่ฐานเจดีย์ ซึ่งอาจจะมาจากอิทธิพล ของเขมรโบราณที่นิยมใช้รูปสิงห์ อาทิ เจดีย์ใหญ่วัด ธรรมิกราช วัดนางปลื้ม เจดีย์วัดช้าง เจดีย์ประธานวัด มเหยงคณ์ ในสมัยอยุธยาตอนปลายมลักษ ีณะที่สำคัญ ทางสถาปัตยกรรมคือการทำฐานท้องช้าง ซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของอาคาร ฐานประดับอาคารที่เรียก ว่า “ฐานตกท้องช้าง” คือมีลักษณะที่แอ่นโค้ง ตัวพระ อุโบสถทรวดทรงชะลูดสอบขึ้นข้างบน อาคารด้านหน้า เชดดิคลูายกับ ้ รูปทรงของเรือสำเภา เช่น วัดพรหมนิวาส วัดธรรมาราม วัดสำเภาล่ม วัดหันตรา วัดหน้าพระเมรุ วัดกุฎีดาว เป็นต้น ตลอดระยะเวลากว่า ๔๐๐ ปีของอยุธยา รูปแบบและคติความเชือของงา่นศลิปะและวัฒนธรรมของ อยุธยาเกิดการเปล ี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นที่ น่าสังเกตว่าอยุธยาสามารถรับเอาศลิปะและวัฒนธรรม คติความเชื่อ ของพื้นที่ต่าง ๆ เข้ามารับเปล ี่ ยน และ บูรณาการใหเข้ ากับงา ้นช่างของอยุธยาจนก่อใหเก้ดเิ ปน็ เอกลักษณ์ของอยุธยา และยังได้ถ่ายทอดแลกเปล ี่ ยน งานฝีมือเชิงช่าง ศิลปะ วัฒนธรรมไปยังดินแดนต่าง ๆ ก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายและเส้นทางวัฒนธรรมที่เชื่อม โยงและเจริญรุ่งเรืองพร้อม ๆ กัน โดยไม่ได้กีดกันความ เชือใด ๆ แ่ต่มกาีรเลือกรับและปรับใช จะเห็ ้นว่าไม่เพียง แต่ความเชือ ความศ่รทัธาในพทุธศาสนาเท่านั้นที่เกดขึ ิ ้น ความเปนพ็ หุวัฒนธรรมของอยุธยาไดก่อให ้เก้ดิ การผสมผสานความเชื่อต่าง ๆ ทั้งการรับ การปรับใช้ เพื่อนำมาผสมผสานกับความเชื่อของตนเอง แต่ความ เชื่อทางพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ และความเชื่อ เรื่องพระมหากษัตริย์ นับว่ามีบทบาทและเด่นชัดที่สุด ในสังคมอยุธยา เพราะเป็นบ่อเกิดแห่งวัฒนธรรมราช สำนัก เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ปรากฏให้เห็นและ สืบทอดจนมาถึงปัจจุบัน จนเกิดเป็นวัฒนธรรมที่เป็น เอกลักษณ์แห่งความผสมผสานอันโดดเด่นในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 143 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ การล่มสลายของอาณาจักรอยุธยา กรุงศรีอยุธยาสถาปนาขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ ๔ มีนาคม พ.ศ.๑๘๙๓ และเสียแก่พม่า เมือวั่นอังคารที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ รวมเวลาเป็นราชธานีอยู่ ๔๑๗ ปี สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธบาย ิ ปัจจัย ที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในหนังสือไทยรบพม่า ไว้ดังนี้ สภาพทางการเมืองภายในมีความทรุดโทรม ตั้งแต่ช่วงต้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ที่ เกิดศึกกลางเมืองระหว่างเจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรส ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ที่มีพวกข้าราชการ วังหลวงเป็นพวกกับพระมหาอุปราช (ต่อมาคือ สมเด็จ พระเจาอยู้่หัวบรมโกศ) เมือเ่สร็จศึกสมเด็จพระเจาอยู้่หัว บรมโกศชนะทำให้ข้าราชการวังหลวงถูกกำจัดมากกว่า ครั้งก่อน ๆ พวกไพร่พลของผู้ถูกกำจัดกลัวต้องโทษ ตามเจ้านายก็พากันหลบหนีจากพระนคร เป็นเหตุให้ พระนครอ่อนกำลังลง กษัตริย์อ่อนแอไม่มีความสามารถ ทัศนะนี้ ปรากฏในถ้อยพระราชดำรัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศตอนที่ทรงปฏเิสธที่จะแต่งตงเจั้า้ฟ้าเอกทัศเปน็ พระมหาอุปราช ด้วยทรงเห็นว่า เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์ มนตรี (เจ้าฟ้าเอกทัศ) โฉดเขลาหาสติปัญญาและความ เพียรมไดิ ถ้าค้รอบครองแผน่ดินบ่นเมืองจะเกดภัย ิ พิบัติ 144
ฉบหายเิ สีย แต่เจา้ฟ้าอุทุมพรมคุีณสมบัติตรงกันขาม จึง ้ ทรงแต่งตงใหั้เ้ปนที่พร ็ะมหาอุปราช ถึงแมเจ้า้ฟ้าอุทุมพร จะเป็นพระอนุชาของเจ้าฟ้าเอกทัศ แต่เจ้าฟ้าอุทุมพร เกรงใจพระเชษฐาจึงสละราชสมบัติให กา้รเปลย ี่ นรัชกาล คราวนี้สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงกล่าว ว่า “เป็นต้นเหตุที่จะเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า เพราะ พระเจ้าแผ่นดินซึ่งปกครองบ้านเมืองเสมอได้ถูกสาป สรรว่าไม่สมควรจะปกครองแผ่นดิน แล้วยังมิหนำ�ซ้ำ� ความประพฤติพระองค์เวลาก่อนจะได้ราชสมบัติก็ดีแล เมื่อได้ราชสมบัติแล้วก็ดีก็ไม่ทำ�ความเลื่อมใสให้บังเกิด ขึ้นลบล้างความวิตกของคนทั้งปวง”และเมือเ่สวยราชย์ ไม่ทันได้ถึงปีก็เกิดศึกอลองพญามาติดพระนคร ศึกอลองพญา พ.ศ. ๒๓๐๒-๒๓๐๓ สะท้อนใหเห็ ้น ถึงความไม่สามารถในการศึกของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เอกทัศ จนในที่สุดต้องไปทูลเชิญพระเจ้าอยู่หัวอุทุมพร ให้ลาผนวชมาว่าราชการ อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกอลอง พญายุติลงสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอุทุมพรก็ต้องผนวชต่อ ด้วยทรงเห็นว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเอกทัศทรงแสดง กิริยาไม่พอพระทัยที่พระองค์จะอยู่ต่อ สมเด็จฯ กรม พระยาดำรงราชานุภาพทรงอธิบายเหตุการณ์ครั้งนั้น ข้าราชการที่เข้ากับสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรคงจะตาม เสด็จออกบวชเป็นจำนวนมาก ราชการบ้านเมืองก็กลับ เสอมื่ทรามลงตามอย่างแต่ก่อน แตร่อดอยู่ไดเ้พราะทาง พม่าวุ่นวายภายใน คนไทยขาดความสามัคคีและขาดความพร้อม ในการทำ�ศึก สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายว่า หลังศึกอลองพญา ทางกรุงศรีอยุธยาได้ ซ่อมแซมป้อมปราการและหาเครื่องมืออาวุธยุทธภัณฑ์ เพิ่มเติมสำหรับพระนคร แต่ทว่ามิได้รักษาความ สามัคคีในหมู่ข้าราชการให้ยืดยาว ประหนึ่งว่าภัยมา ถึงตัวก็สมัครพรักพร้อมกันคราวหนง เห็ ึ่นไดจากกา้ รที่มี ขา้ราชการกลุ่มหนงึ่พากันทูลยุยงสมเด็จพระเจาเอก้ทัศ ให้กินแหนงสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรหลังเสร็จศึกอลอง พญาจนต้องผนวชอีกครั้ง และเมื่อมีศึกพม่าล้อมกรุง ก่อนเสียกรุงครั้งที่ ๒ ก็มิทรงลาผนวชมาช่วยบัญชาการ รบอีก ส่วนเรื่องการขาดความพร้อมในการทำศึกเห็น ได้จาก ศึกอลองพญาที่พม่าสามารถยกทัพเข้ามาถึง พระนครได้อย่างง่ายดาย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรง ราชานุภาพ กล่าวถึงศึกครั้งนั้นว่า ไม่ได้คิดอ่านที่จะ รวบรวมกำลังต่อสู้ข้าศึกประการใด สักแต่ได้ข่าวมาว่า พม่าจะยกมาทางไหนก็เกณฑ์กองทัพยกไปดักทางนั้น เพียงแต่จะสืบสวนให้ได้หลักฐานที่มั่นคงเสียก่อนก็ไม่มี จึงเอากำลังรี้พลไปป่วยการเสียเปล่า ๆ มากกว่าที่ได้ ต่อสู้ข้าศึก คำอธิบายนี้สะท้อนให้เห็นภาพการข่าวไม่ดี ของกองทัพอยุธยา ส่วนสงครามคราวเสียกรุงก็เป็นไปในทำนอง เดียวกัน กองทัพที่ส่งไปต้านพม่าส่วนใหญ่พ่ายแพ้กลับ มา เมือ่พม่าแต่งกองโจรออกเก็บรวบรวมทรพั ย์จับเชลย ตามแขวงน้อยใหญ่รอบจังหวัดพระนครก็มิปรากฏว่ามี กองทพัขางใ ้นกรุงฯยกออกไปรบพุ่งไม่ อยุธยาใชยุ้ทธวธิี ตงั้รับศึกในพระนครรอให้น้ำหลากลงมาเพอให ื่ ้พม่าถอน ทัพกลับไป แต่ครั้งนี้พม่าไม่ได้ทำเช่นนั้น 145 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ นอกจากนี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชา นุภาพ ทรงใหข้อม้ลูที่ทรงกล่าวว่า เปน็อุทาหรณ์ของความ เสอมื่ทรามในครงั้นั้นเกยวกับเ ี่ รองอาวุธื่ปืนว่า “เมื่อเอา ปืนชื่อปราบหงสาซึ่งเป็นอย่างใหญ่ที่มีอยู่ขึ้นตั้งบนป้อม มหาไชยจะยิงพม่า แต่แรกเจ้าหน้าที่ไม่กล้าอัดดินดำ� ให้เต็มขนาด กลัวแก้วหูจะแตกด้วยเสียงปืน ลดดินดำ� ลงแล้วยังมีคนขอให้ลดลงอีกเล่า จนที่สุดเมื่อยิงไป กระสุนปืนไปตกไม่ถึงคูเมือง เป็นได้ถึงอย่างนี้...แลต่อ มาชั้นหลังถึงตั้งกฎประกาศแก่เจ้าหน้าที่ว่า ถ้าใครจะ ยิงปืนใหญ่ต้องให้มาบอกขออนุญาตที่ศาลาลูกขุนเสีย ก่อน” เรื่องปืนใหญ่นี้ยังมีเล่าไว้ในตอนที่เก ี่ยวกับ ชาวบ้านระจันด้วย โดยว่าชาวบ้านมีใบบอกเข้ามายัง เสนาบดีในกรุงฯ ขอปืนใหญ่กับกระสุนดินดำไปยังค่าย พม่า แต่ข้างในกรุงฯไม่ยอมให้ไปเพราะเกรงข้าศึกจะ ชิงเอาไปเสียกลางทาง แต่ให้พระยารัตนาธิเบศร์ออก ไปเรี่ยไรเครื่องภาชนะทองเหลืองทองขาวจากชาวบ้าน หล่อปืนใหญ่ใช้เอง ด้วยความรีบร้อนในการหล่อทำให้ ปืนร้าวใช้ไม่ได้ กองทพพั ม่ามาอย่างทพั โจรและไม่ตงใจมา ั้ตีเอา กรุงศรีอยุธยา สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายว่า สงครามคราวเสียกรุงครั้งนี้“พม่าเห็นว่า ไทยกำ�ลังอ่อนแอปลกเปลี้ยเป็นช่องที่จะปล้นเอาทรัพย์ สมบัติได้ง่ายๆ ก็ยกมาตีเมืองไทยเท่านั้นเอง” ที่ทรง กล่าวเช่นนี้เพราะทรงเห็นว่ากองทพพั ม่าที่ยกมาตีเมือง ไทยครั้งนี้ไปรบทางอื่นก่อน ตอนแรกพม่าตั้งใจเพียง มาตีปล้นตามหัวเมือง ถ้าเห็นไทยมีกำลังมากก็จะถอย กลับไปและทัพพม่าที่มาครั้งนี้ไม่มีกษัตริย์นำทัพมาเอง เหมือนคราวพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้าอลองพญา ลักษณะการยกทัพของพม่าครั้งนี้สมเด็จฯ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธบายว่า ไม่ได ิ ้รบพุ่งอย่างศึก สามัญ ทำการรบแบบ ๔ ชั้น ชั้นแรกกองทพที่ ัยกมาเปน็ แต่กองโจร ชั้นที่ ๒ เมื่อกองทัพมังมหานรธากับกองทัพ เนเมียวสีหบดียกเข้าถึงเขตพระนครก็เพียงตั้งอยู่ห่าง ๆ ยังไม่ประชดิติดพระนคร ตอนนี้พม่าเปน็แต่กองโจรออก เพียงเก็บรวบรวมทรพั ย์จับเชลยตามแขวงใหญ่น้อย โดย กองทัพอยุธยาไม่ได้ออกไปรบพุ่งด้วย ชั้นที่ ๓ ฤดูฝน ทัพพม่าให้ผ่อนสัตว์พาหนะไปเล ี้ ยงตามที่ดอนในหัว เมืองเตรียมทำศึกหลังฤดูฝน ชั้นที่ ๔ น้ำลดแล้วพม่า มีกองทัพเพิ่มเติมและรบพุ่งกวดขันขึ้นมาอีก ระดมยิง ปืนใหญ่ เอาไฟสุมรากกำแพงพระนคร ท้ายที่สุดกรุง ศรีอยุธยาจึงแตก ในปัจจุบัน ด้วยความก้าวหน้าของการศึกษา ประวัติศาสตร์ไทย นักวิชาการรุ่นหลัง เช่น นิธิ เอียวศรี วงศ์ ไดว้เคิราะห์สาเหตุการเสียกรุงศรีอยุธยา ในหนังสือ เรื่อง การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี กล่าวถึง การสลายตัวของราชอาณาจักรอยุธยาว่ามาจากระบบ ป้องกันตนเองมีปัญหา ระบบนี้อิงอยู่กับระบบราชการ พร้อมทงอธั้บายว่ากา ิรเสียกรุงไม่ใช่เรองื่ ที่เกดจากความิ ล้มเหลวหรือความอ่อนแอของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล หากแต่เป็นเรื่องของความอ่อนแอของระบบป้องกัน ตนเองทั้งระบบ กล่าวคือ นับจากรัชกาลสมเด็จพระ นเรศวรฯ ระบบราชการที่อาศัยความมีประสิทธิภาพใน การควบคุมกำลังคน การขยายกรมกองของรัฐบาลกลาง และการจัดระบบไพร่มีประสิทธิภาพพอสมควร ในช่วง พทุธศตวรรษที่ ๒๒ ระบบราชการนำปัญหาใหม่ทางการ เมืองมาสู่รัฐบาลกลางอยุธยาคือ การเพิ่มพูนอำนาจ 146
ทางการเมืองของขุนนาง จนท้ายที่สุดท้าทายอำนาจ กษัตริย์ ส่วนหัวเมืองที่เป็นรากฐานของขุนนางถูกทอด ทิ้งกดกั ีนไม่ใหม้ความเขี มแข็ง ้ทางเศรษฐกจและกาิรเมือง ด้วยเกรงว่าจะเป็นอันตรายต่ออำนาจส่วนกลาง เมื่อ ถึงราชวงศ์บ้านพลูหลวงก็ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาดัง กล่าว แต่ด้วยการประนีประนอม ราชวงศ์บ้านพลูหลวง ก็สามารถรักษาอำนาจมาได้เกือบศตวรรษ อย่างไรก็ดี ในช่วงปลายราชวงศ์บ้านพลูหลวงจะเห็นปัญหาความ วุ่นวายในหัวเมืองทงกบฏ ั้ปัญหาไพร่หลบหนีมลูนาย ซงึ่ สะท้อนให้เห็นว่าเบื้องหลังความพยายามขยายอำนาจ ไปหัวเมืองคือ ความปั่นป่วนไร้ระเบียบในหัวเมือง ซึ่ง ย ิ่งบั่นทอนอำนาจของรัฐในหัวเมืองลง เมื่อปราศจาก ประสิทธิภาพในการควบคุมกำลังคนในหัวเมืองเช่นนี้ การเรียกเกณฑ์ทพั ใหญ่ในเวลาอันรวดเร็วพอสมควรแก่ เหตุการณ์จึงเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ การป้องกันตนเองที่ต้อง อาศัยระบบราชการอันมีประสิทธิภาพจึงพังทลายลง ในขณะที่หัวเมืองแตกแยกระส่ำระสาย การเกณฑ์ทัพ ไปตั้งรับข้าศึกอย่างได้ผลก็ทำไม่ได้พร้อมกันนั้นการเต รียมทพั หัวเมืองสำหรับตีกระหนาบขาศึก ้ ที่มาลอมก้รุงก็ เปนสิ่ ็งที่เกินวิสัยเพราะนโยบายที่กดขหัวเมืองด ี่ วยความ้ ระแวงมานานปี ย่อมทำความอ่อนแอใหหัวเมือง จ ้นเกิน กว่าที่จะเป็นกำลังอันแข็งแกร่งสำหรับป้องกันพระนคร ทั้งนี้ยังไม่นับถึงการที่ไพร่หลวงพากันไปเป็น ไพร่สม นอกจากปัญหาระบบป้องกันตนเองดังกล่าว ข้างต้นแล้ว ราชอาณาจักรอยุธยาต้องเผชิญกับระบบ ที่ไม่ทำงาน เห็นได้จากกองทัพที่ยกออกตั้งรับพม่านั้น ประสบความปราชัยแตกถอยมาทุกทัพ ความปราชัย นี้สะท้อนให้เห็นความไร้ประสิทธิภาพ ๒ ประการของ อยุธยา คือ ความล้มเหลวในด้านการข่าว เพราะได้แยก ทพัออกตงั้รับพม่าหลายแห่งเกินไปทำใหบาง้ทพัมกีำลัง คนน้อย ทั้ง ๆ ที่บางแห่งไม่ปรากฏว่ามีพม่ายกทัพมา เลย และความไร้ประสิทธิภาพในการควบคุมกำลังคน เพื่อระดมพลต้านทานพม่า ดังจะเห็นได้ว่า ทัพที่ตั้งรับ พม่านั้นมีจำนวนคนไม่สู้มากนัก ส่วนกองทัพพม่านั้น พระเจ้ามังระตั้งใจที่จะ มาตีอยุธยาอาจจะนับตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๐๖ เนื่องจากพระองค์ได้โดยเสด็จในกองทัพ ของพระเจ้าอลองพญามาตีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๐๓ ประสบการณ์การรบครง้ัน้นทำ ั ให้พระองค์ทรงรู้จุดอ่อนของ ราชอาณาจักรอยุธยาพอสมควร และได้เตรียมการอัน จำเป็นสำหรับการเอาชนะเหนืออยุธยาในเวลาต่อมา จุดมุ่งหมายที่แท้จริงของสงครามครั้งนี้ไม่ใช่อยู่ที่การ ขยายพระบรมเดชานุภาพมาเอาอยุธยาเป็นเมืองออก แต่อยทีู่่การทำให้ราชอาณาจักรอยุธยาแตกสลายลงหรือ อ่อนแอจนมอาจมิกีำลังที่จะเปน็ “พระบรมโพธิสมภาร” ให้แก่หัวเมืองพม่าพึ่งพาได้อีก ด้วยจุดประสงค์ดังกล่าว การทำลายศูนย์กลางอันศักดิ์สิทธิ์ของอยุธยาจึงเป็น ส่วนหนึ่งของนโยบายทางการเมืองพม่า มิใช่เป็นความ โหดร้ายทารุณของกองทัพโจรอย่างที่เข้าใจกันมา กรุง ศรีอยุธยาจึงถกูทำลายทางวัตถุ เช่น เผา รอื้ป้อมปราการ กวาดต้อนผู้คน และอาจมีการทำลายทางไสยศาสตร์ ผสมอยู่ด้วย ได้แก่ การเผาทำลายพระอาราม เจดีย์ วิหาร และพระพุทธรูป ซึ่งล้วนเป็นขวัญของเมือง 147 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)
เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สุเนตร ชุตินธรานนท์ อธิบายมูลเหตุการเสีย กรุงศรีอยุธยาไว้ต่างออกไปจากงานของสมเด็จฯ กรม พระยาดำรงราชานุภาพเปน็ อย่างมาก สรปุไดว่ากา ้รเสีย กรุงครงั้ที่ ๒ เปน็การพ่ายแพ้ทางยุทธศาสตร์และยุทธวธิี ทางการทหาร ดังนี้ พม่ามีการเตรียมตัวอย่างดีก่อนมาตีกรุง ศรีอยุธยา ข้อมูลนี้ปรากฏในพงศาวดารพม่าฉบับ ราชวงศ์คอนบองว่า พระเจ้ามังระโปรดให้เตรียม การตีกรุงศรีอยุธยาไว้ก่อนล่วงหน้าเป็นเวลาช้านาน นอกจากนี้ การคดิตีกรุงศรีอยุธยาไม่ใช่การตัดสินพระทัย กะทนั หัน หากแต่เปน็การแสดงพระองค์ว่าทรงเปนพร็ะ มหาจักรพรรดหิรือราชาที่เหนือกว่าราชาทงหลายใ ั้นเขต ปริมณฑลแห่งอำนาจ ซึ่งอยุธยารวมอยู่ด้วย อยุธยาตั้งรับศึกอย่างเข้มแข็ง ข้อมูลจาก พงศาวดารพม่าชใหี้ เห็ ้นว่า แมกอง้ทพพั ม่ามความี พร้อม ทงใั้นดา้นกำลังยุทธศาสตร์และเวลา แต่กลับไม่สามารถ ยึดกรุงศรีอยุธยาได้อย่างง่ายดาย พม่าล้อมกรุงอยู่นาน ถึง ๑ ปี ๒ เดือน จึงตีได แ้สดงว่ากองทพัของอยุธยาต้อง สู้รบป้องกันกรุงอย่างเหนียวแนน่นอกจากนี้พงศาวดาร พม่ายังกล่าวถึง การที่แม่ทัพพม่าพยายามปรับเปล ี่ ยน ยุทธวิธีที่ใช้ตีอยุธยาและการต่อสู้ป้องกันกรุงของไทยไว้ อย่างละเอยดีทุกขั้นตอน สิ่งเหล่านี้แสดงใหเห็ ้นว่าการตี กรุงศรีอยุธยาไม่ใช่เรื่องง่ายหากแต่เป็นภารกิจอันใหญ่ หลวง อีกทั้งสะท้อนให้เห็นว่า ฝ่ายไทยมีความพร้อมใน การรบและกำลัง อกีทงยังม ั้กาีรแกไขข ้อบก้พร่องทางการ ทหารจากบทเรียนที่ได้จากศึกอลองพญา ส่วนยุทธศาสตร์ตั้งรับศึกในพระนครรอฤดูน้ำ หลาก ผู้ปกครองในเวลานั้นสามารถกระทำการจน บรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ที่วางไว้ แต่สิ่งที่คาดไม่ ถึงคือ ทัพพม่าที่มาไม่ยอมถอยหนีน้ำเช่นทุกครั้ง ส่วน เรื่องความเหลวแหลกทางการทหารของอยุธยา โดย เฉพาะด้านความเข้มแข็งและระเบียบวินัย เริ่มปรากฏ เมื่อยุทธศาสตร์การตั้งรับที่เตรียมไว้เป็นอันดีถูกพิสูจน์ ให้เห็นว่าไม่ได้ผล จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า ผู้คน การทหาร รวมทั้งผู้ปกครองอยุธยา ไม่ได้อ่อนแอดังที่ ปรากฏในเอกสารพระราชพงศาวดารฝ่ายไทย ดังนั้น การพ่ายแพ้ของกรุงศรีอยุธยาในครั้งนั้นจึงเป็นการพ่าย แพ้ทางยุทธศาสตร์และยุทธวธิีทางทหารมากกว่าที่จะมา จากเหตุผลอื่น ส่วนข้อถกเถียงว่าด้วยปัญหาความเสื่อมของ อาณาจักรอยุธยาตอนปลาย ไม่ว่าจะในดา้นเสถยีรภาพ ทางการเมืองที่สะท้อนออกมาในรูปของการจัดสรรและ ควบคุมกำลังคน ตลอดจนปัญหาการจัดระเบียบทาง สังคม ยังไม่เป็นบทพิสูจน์ที่ยืนยันในสาเหตุพื้นฐาน ของการเสียกรุง นอกจากนี้สภาพ “ขึ้น – ลง” ทางการ เมืองซึ่งดูคล้ายดัชนีบ่งชี้ถึงการขาดเสถียรภาพที่มั่นคง ของอาณาจักรไม่ใช่ภาพใหม่ที่พงจะมึ่ขึี้นในสมัยอยุธยา ตอนปลาย เท่า ๆ กับปัญหาทางสังคมที่ตามมาจากการ ขยายตัวทางการค้า ก็ยากต่อการพิสูจน์ลงไปให้แน่ชัด ว่า มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์และยุทธวธิีทางการทหาร ของสงครามพม่ารบไทยที่ยืดเยื้อยาวนานที่สุดครั้งนั้น อย่างไร 148