The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2023-07-24 03:20:51

สยามรัถยา

สยามรัถยา

Keywords: Siam

จีน หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ฮั่นใน พ.ศ.๓๒๓ เกิดการแย่งชิงอำนาจกันจนเกิดเป็น ๓ ขั้ว อำนาจ ได้แก่ รัฐเว่ย (Wei) หรือวุยก๊ก ปกครองดินแดน ทางตอนเหนือ รัฐฉู่ (Shu) หรือจ๊กก๊ก ปกครองดินแดน ที่ปัจจุบันคือเสฉวน ฉงชง ย ิ่ ูนนาน กุยโจว และ ้ทางตอน เหนือของกวางสี และรัฐอู๋ (Wu) หรือง่อก๊ก ปกครองดิน แดนบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี จากที่ตงั้ทำให้รัฐอู๋ไม่ สามารถเขาถึงเ ้ ส้นทางการคา้ทางตอนเหนือไดเ้นองจากื่ เป็นดินแดนของรัฐเว่ยและรัฐฉู่ ทำให้รัฐอู๋เริ่มหันมาส่ง เสริมการค้าทางทะเล และมีการนำเข้าสินค้าจากตะวัน ตก เช่น ผ้าฝ้าย ไม้ยางสน ปะการัง ไข่มุก อำพัน เครื่อง แกว อัญม ้ ณีต่าง ๆ โดยมศีูนย์กลางการคาอย้ ทีู่่ เมืองท่า ฝั่งทะเลทางตอนใต้ อนุทวีปอินเดีย เป็นช่วงที่พุทธศาสนานิกาย มหายานรุ่งเรืองมากทางแถบตะวันออกเฉียงเหนือของ อินเดย ีพทุธศาสนาใหกา้รยอมรับนับถือพวกพ่อคา และ้ มองว่าการแสวงหาความมั่นคงทางเศรษฐกิจมิใช่เรื่อง ผิด นอกจากนี้พทุธศาสนายังมหลักค ี ำสอนที่ขัดกับหลัก เรื่องวรรณะของศาสนาฮินดูที่มีอิทธิพลในสังคมและถูก ผูกขาดโดยพวกพราหมณ์ จากความขัดแย้งกันในทาง แนวคิดนี้เองจึงทำให้มีคนหันมานับถือพุทธศาสนาเพิ่ม ขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะพวกพ่อค้าและสามัญ ชน การค้าจึงได้ดำเนินไปพร้อม ๆ กับการเผยแผ่พุทธ ศาสนา อินเดียกลายเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายการค้า โลกทั้งทางบกและทางทะเล โดยทางบกได้แก่ เส้นทาง สายไหม ส่วนทางทะเลมีการทำการค้ากับเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ อันนำไปสู่การถ่ายทอดวัฒนธรรมให้กับ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเวลาต่อมา โรมัน หลังจากจักรพรรดิออกุสตุส (ครองราชย์ ช่วง พ.ศ.๔๘๐–๕๕๗) สถาปนาจักรวรรดิโรมันขึ้น การ รวมอำนาจของจักรพรรดิทำให้โรมันปราศจากสงคราม เป็นเวลา ๒๐๐ ปี ช่วงเวลาแห่งสันติภาพนี้เรียกว่า “สันติภาพโรมัน” (Pax Romana หรือ Roman peace) ความสงบสุขในอาณาจักรส่งผลให้การค้ารุ่งเรืองขึ้น อย่างมาก ประกอบกับการพัฒนาองค์ความรู้เรื่อง กระแสลมมรสุมทำให้ทราบช่วงเวลาลมมรสุมที่พัด ระหว่างทะเลแดงกับมหาสมุทรอินเดีย ปัจจัยเหล่านี้ ทำให้เรือสินค้าจากโรมันเริ่มออกมาสู่เส้นทางการค้า ทางทะเล ในช่วงระยะแรกสุดของการติดต่อทางด้านการ ค้านี้ เรือสินค้าจะเดินทางเป็นระยะสั้น ๆ เนื่องจากเรือ ยังไม่แข็งแรงพอที่จะต้านลมและกระแสคลื่นในทะเลต่อ ระยะทางไกลได้ โดยจะขนถ่ายสินค้าเป็นทอด ๆ จาก เมืองท่าในทะเลเมดเิตอเรเนียนผ่านทะเลแดงและทะเล อาหรับมายังเมืองท่าฝั่งตะวันตกของอินเดีย เรือจาก เมืองท่าในอินเดียจะเดินทางมายังบริเวณชายฝั่งตะวัน ตกของคาบสมุทรมลายูตอนเหนือ แล้วนำสินค้าข้าม คอคอดกระไปยังเมืองท่าด้านอ่าวไทย จากนั้นจึงเดิน ทางเลียบชายฝั่งไปสู่เมืองออกแก้ว (Oc-eo) ตรงบริเวณ ลุ่มปากแม่น้ำโขงในเวียดนามใต้ปัจจุบัน จากเมืองออก แก้วสินค้าดังกล่าวจึงถูกขนถ่ายต่อไปยังเมืองท่าทาง ตอนใต้ของจีนต่อไป การเติบโตของการคา้ทางทะเลนี้ส่งผลต่อดินแดน คาบสมุทรมลายูตอนบนที่เปนส็ ่วนหนงของเ่ึ ส้นทางการ ติดต่อระหว่างตะวันตกกับตะวันออกโดยตรง การขยาย ตัวทางดา้นการคาดังกล่าวได ้เ้ปนต็ ัวกระต้นสำุ คัญใหเก้ดิ การเปลย ี่ นแปลงทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองขึ้นใน 49 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ดินแดนแถบนี้อย่างหลกเลี ยงไม่ได ี่ โดยม ้ ีสินคา้สำคัญ อาทิ เครองแก่ืว ้พรม ผ้าห่ม เครองเย็บ่ื ปักถักร้อย และแร่หิน มค่าีต่าง ๆ จากโรมันและอเล็กซานเดรีย ผ้าฝ้าย เพชร พลอย ลกูปัดหินคาร์เนเลยีน ลกูปัดแกว ล้กูปัดทองคำ จากอนทุวีปอินเดย และเคีรองเ่ืทศ ไมหอม วั ้สดุสำริดจาก เอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ หลักฐานสำคัญที่สุดที่แสดงถึงเส้นทางการค้า นานาชาติ คือ ลูกปัด แหล่งผลิตลูกปัดที่สำคัญสมัย โบราณคือ อียิปต์ โรมัน ตะวันออกกลาง และอินเดีย ส่วนในประเทศไทยพบลูกปัดจำนวนมากในแหล่ง โบราณคดหลายแห่ง ีทง้ัสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์ เช่น แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัด ระนอง และแหล่งโบราณคดเขาีสามแกว จังหวัดชุม ้พร โดย ลกูปัดที่พบมาก คือ ลกูปัดแกว้ทรงกระบอกแบบอินโดแปซิฟิก (Indo-Pacific Beads) ชือเ่รียกนี้มาจากการพบ ลกูปัดรูปแบบนี้กระจายตัวอยตู่ามเมืองท่าโบราณต่าง ๆ ท้ังในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน บริเวณมหาสมุทรอินเดยและแี ปซิฟิก มหลายี สี เช่น ส้ม เขยว แดง ี น้ำเงิน เหลือง และน้ำตาล กำ เนิดเมืองยุคแรก ในดินแดนคาบสมุทรไทย ด้วยตำแหน่งที่ตั้งทำให้ดินแดนภาคใต้ของไทย ในปัจจุบันเป็นจุดกึ่งกลางของเส้นทางการค้าระหว่าง โลกตะวันตกและตะวันออก นำไปสู่การพัฒนาเปน็ เมือง ท่าชายฝั่งที่เป็นจุดแวะพักและขนถ่ายสินค้าที่สำคัญใน สมัยโบราณตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๕ เป็นต้นมา แหล่งโบราณคดีในดินแดนภาคใต้เหล่านี้พบ โบราณวัตถุสำคัญคือลูกปัด และของใช้ที่มีการนำ เข้าจากภูมิภาคอื่น ๆ จำนวนมาก อันเป็นสิ่งที่ทำให้ ชุมชนหรือเมืองท่าการค้าริมทะเลในขณะนั้นพัฒนาขึ้น มาเปน็ เมือง โดยมแีรงผลักดันจากภายในและแรงกระตุ้น จากภายนอก แรงผลักดันจากภายในคือการขยายตัว ของจำนวนประชากร ส่วนแรงผลักดันจากภายนอกนั้น มาจากเส้นทางการค้าทางที่เริ่มรุ่งเรืองขึ้นมาตั้งพุทธ ศตวรรษที่ ๕ เป็นต้นมา ซึ่งการติดต่อทำการค้ากับต่าง แดน โดยเฉพาะกับเรือสินคาจากอ้นทุวีปอินเดยีนำไปสู่ การรับวัฒนธรรมของอินเดยเขีามา้ ปรับใชกับ้สังคมของ ชาวพื้นเมืองที่กำลังพัฒนาขึ้นในทุก ๆ ด้าน รัฐโบราณและการผสมผสานอารยธรรม รัฐ เปน็หน่วยการเมืองที่พัฒนาขึ้นมาจากชุมชน เมือง มีอำนาจปกครองตนเอง อาจจะมีอาณาเขต ขนาดใหญ่หรือเล็กก็ได้ โดยในรัฐจะมีเมืองในอำนาจ ปกครองหลายเมือง เมืองยุคแรก ๆ ในดินแดนไทยเกิด ขึ้นที่คาบสมุทรไทยบริเวณคอคอดกระ เนื่องจากอยู่ใน ทำเลที่อยู่ในเส้นทางการคา้ระหว่างซีกโลกตะวันตกและ ตะวันออก เมืองท่าชายฝั่งตะวันตกของทะเลอันดามัน รองรับเรือสินคาจากอ้ ินเดยและีตะวันออกกลาง ในขณะ ที่เมืองท่าทางฝั่งตะวันออกด้านทะเลอ่าวไทยเป็นจุด พักของเรือสินค้าจากจีน ทำให้เมืองแถบนี้เป็นดินแดน เปิด กล่าวคือ มีการเปิดรับผู้คนจากต่างแดนและเปิด รับภูมิปัญญาความคิดจากภายนอก ซึ่งนำไปสู่ปัจจัยที่ สองของการเกิดรัฐ นั่นคือ ภูมิปัญญา 50


ในความเปน็จริงชาวพื้นเมืองในเอเชยีตะวันออก เฉยงใ ี ต้มภีมูิปัญญาที่พัฒนาขึ้นมาเองอยู่แลว ได ้ แก่ กา ้ร ปลูกข้าวนาดำซึ่งต้องอาศัยทักษะความรู้ทั้งในด้านการ เพาะปลูกและการจัดการทรัพยากรน้ำ การหล่อโลหะที่ ต้องอาศัยทักษะความรู้เรองกาื่รกำหนดอุณหภมูใินการ หลอมโลหะแต่ละชนิด การแลกเปล ี่ ยนสินค้าซึ่งปรากฏ มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และการเดินเรือของคน พื้นเมืองในแถบหมู่เกาะ อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาดัง กล่าวยังไม่มีภาษาเขียนเกิดขึ้น อีกทั้งชุมชนเมืองก็ยังมี ขนาดไม่ใหญ่ ยังไม่มีระบบการเมืองและสังคมที่ซับซ้อน มากนัก แต่เมื่อเมืองพัฒนาขึ้นมาเป็นระดับรัฐ ทำให้ ต้องมีระบบการปกครองและพิธีกรรมที่แสดงถึงอำนาจ ของผู้นำที่เคร่งครัดขึ้น วัฒนธรรมจากอินเดียจึงเปรียบ เสมือน “ตัวช่วย” ในพัฒนาการด้านการเมืองของรัฐ พื้นเมือง วัฒนธรรมความเชื่อจากอินเดียที่มีพื้นฐาน มาจากศาสนาทั้งศาสนาฮินดูและพุทธได้เข้ามา เปล ี่ ยนแปลงโครงสร้างการเมืองและสังคมของชุมชน เมืองให้พัฒนาขึ้นเปน็ “รัฐ” หรือ “อาณาจักร” ที่มกษั ี ตริย์ ปกครอง ซึ่งรัฐพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียหลัก ๆ ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านศาสนา ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาพุทธมหายาน ๒) ด้านการปกครอง ได้แก่ ระบบกษัตริย์ กล่าว คือ ผู้นำท้องถิ่นใช้ประโยชน์จากแนวคิดการปกครอง ของศาสนาพราหมณ์-ฮินด ใูนการยกสถานะของตนเอง ขึ้นให้มี “ความเป็นเทพ” เพื่อให้เหนือกว่าผู้นำท้องถิ่น อื่น ๆ ซึ่งความเป็นกษัตริย์ที่มีบุญบารมีเหนือมนุษย์จะ แสดงออกผ่านอำนาจทางพิธกีรรมต่าง ๆ ทำใหกษั ้ ตริย์ มีความสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ และวัฒนธรรมสันสกฤตที่ได้ ให้แนวคิดความชอบธรรมแก่ทิพภาวะ นอกจากระบบ กษัตริย์ ยังเกิดระบบราชการที่มีแบบแผนด้วย ๓) ด้านภาษาและวรรณกรรม ภาษาสันสกฤต กลายเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนไว้สำหรับราชสำนัก คัมภีร์สันสกฤตต่าง ๆ รวมถึงมหากาพย์สำคัญของ อินเดีย ได้แก่ รามายณะและมหาภารตะ ถูกเชื่อมโยง เข้ากับระบบกษัตริย์ เนื่องจากเจ้าชายรามตัวละครเอก ของรามายณะและพระกฤษณะตัวละครสำคัญในมหา ภารตะถูกรวมเข้ากับศาสนาพราหมณ์ในฐานะอวตาร ของพระวิษณุ หนึ่งในเทพสำคัญของศาสนาฮินดู ๔) ด้านศิลปกรรม งานศิลปกรรมต่าง ๆ ไม่ว่า จะเปนส็ถาปตัยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ลว้น ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อจรรโลงความศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา งานศิลปกรรมที่พบล้วนเก ี่ ยวเนื่องกับพุทธศาสนาและ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ภายใต้การอุปถัมภ์จากกษัตริย์ เนื่องจากศาสนาก็สัมพันธ์กับสถานะเทพของกษัตริย์ ซึ่งศาสนาจากภายนอกนี้ได้เข้ามาเคลือบทับวัฒนธรรม ท้องถิ่นดั้งเดิม ครั้นเมื่อเมืองต่าง ๆ เริ่มมีผลิตผลเพียงพอแก่ การเล ี้ ยงชีพผู้คนที่มีมากขึ้น ชนชั้นทางสังคมก็เริ่มมี ความซับซ้อนขึ้น ด้านความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและ รัฐต่าง ๆ เริ่มเปล ี่ ยนไป กล่าวคือ ต่างก็เริ่มมองหากำลัง คนในดินแดนใกลเค้ยงีรวมไปถึงทงั้ตลาดและสินคา และ้ ที่สำคัญที่สุด คือ อำนาจสิทธิธรรมในทางการเมืองที่จะ ยกสถานะผู้นำท้องถิ่นของตนให้เป็นกษัตริย์ที่มีอำนาจ บารมีเป็นที่ยำเกรง อาจกล่าวได้ว่าพัฒนาการทางด้าน 51 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เมือง เศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น ล้วนได้รับแรงผลัก ดันมาจากอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียทั้งสิ้น วัฒนธรรม อินเดียจึงมีความสำคัญต่อวิวัฒนาการของรัฐโบราณ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะที่เป็นแนวความคิด พื้นฐานในการขยายอำนาจทางด้านการเมือง ซึ่งใน ช่วงที่เกิดรัฐยุคแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น ใน ดินแดนไทยยังไม่เกิดพัฒนาการทางการเมืองระดับรัฐ ขนาดใหญ่ แต่ด้วยทำเลที่ตั้งที่เป็นสถานีการค้าสำคัญ ทำให้เมืองและรัฐเล็กๆ ในคาบสมุทรไทยมักถูกผนวก อยู่ภายใต้อำนาจของรัฐหรืออาณาจักรที่ใหญ่กว่า ไดแก่ ้ ฝู้หนานในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๕-๑๑ และศรีวิชัยในช่วง พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘ ฟูนัน: รัฐโบราณแรกรับวัฒนธรรมอินเดีย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟูนัน หรือฝู้หนาน (Funan) ถือเป็นรัฐโบราณรัฐ แรกในเอเชียตะวันออกเฉยงใ ี ต้ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำ โขง ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน ตาม หลักฐานบันทึกของจีน ฝู้หนานอาจจะก่อตั้งขึ้นมาใน พทุธศตวรรษที่ ๕ นักประวัติศาสตร์ศึกษาประวัติศาสตร์ ของฝู้หนานจากเอกสารจีน ไดแก่ บั ้นทึกของคังไถ่และซู ยง ิซงเึ่ปนทูต็จากรัฐอตู๋ ะวันออกที่เดินทางมายังฝู้หนาน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๘ คำว่า ฝู้หนาน สันนิษฐานว่า มาจากคำว่า บนัม ในภาษาเขมรโบราณ แปลว่า ภูเขา ปัจจัยสำคัญที่ทำใหฝู้้หนานพัฒนาขึ้นมาเปนร็ ัฐ คือ การค้า เนื่องจากเมืองออกแก้วทางใต้ของฝู้หนาน เปน็ เมืองท่าสำคัญในเส้นทางการคา้ทางทะเล ประกอบ กับทำเลที่ตั้งมีความอุดมสมบูรณ์จากที่ราบทางตอนใน จึงทำให้ฝู้หนานมีความรุ่งเรืองขึ้นมา เนื่องจากการค้า และการเกษตรกรรมมความีสัมพนัธ์กันอย่างมาก กล่าว คือ เมื่อเรือสินค้าได้มาแวะพักที่เมืองท่าออกแก้ว ก็ จำเป็นต้องหาเสบียงอาหาร ทำให้เกิดการแลกเปล ี่ ยน สินคาขึ ้ ้นระหว่างผู้นำกับพ่อคา้ต่างชาติซงความึ่สามารถ ในดา้นเกษตรกรรม ทำใหฝู้้หนานกลายมาเปน็ศูนย์กลาง การคา้นานาชาติที่สำคัญ และได้พัฒนาอำนาจทางดา้น การเมืองขึ้นเปนร็ ัฐหรืออาณาจักรที่มกษั ี ตริย์ปกครองใน เวลาต่อมา อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อมูลหลักฐานเก ี่ ยวการ ก่อตั้งฝู้หนานเพียงพอที่จะทำให้ยืนยันเรื่องการก่อตั้ง ไดชัดเจ ้น แต่จากเอกสารจีนทำให้ทราบว่าประมาณครงึ่ หลังของพทุธศตวรรษที่ ๗ ผู้ปกครองฝู้หนานนามว่า ฮุ่น ผานค่วง (Hun P’an-huang) ได้สร้างเมืองหลวงขึ้นที่เมือง วยาธปุระ ลึกเข้าไปจากชายฝั่งราว ๒๐๐ กิโลเมตร ใกล้ ภเขาบาูพนม ต่อมาในต้นพทุธศตวรรษที่ ๘ ฟ่านซือม่าน (Fan Shi-man) ครองราชย์ต่อจากฮุน พัน-ฮวง โดยได้ รับเลือกจากประชาชน ฟ่านซือม่านขยายอำนาจของ ฝ้หูนานออกไปอย่างรวดเร็วถึงเมืองผานผานและเตี๋ยนซนุ คาบสมุทรมลายูตอนบน ซึ่งเป็นเมืองท่าสำคัญในเวลา นั้น ผานผานและเตี๋ยนซุนมีพราหมณ์จากอินเดียอาศัย อยู่เปน็จำนวนมาก จึงเปน็ ไปไดว่าฝ ู้้หนานรับวัฒนธรรม อินเดียมาจากสองรัฐนี้ โดยพบจารึกภาษาสันสกฤต หลักแรกหลังการสวรรคตของพระเจ้าฟ่านซือม่าน แต่ วัฒนธรรมอินเดยอาจยังไม่เข ีมข้ ้นนัก อำนาจของกษัตริย์ 52


ฝู้หนานในช่วงแรกนั้นยังไม่มั่นคง เห็นไดจาก้ต่อสู้แย่งชงิ อำนาจที่เกิดขึ้นแทบทุกครั้งที่มีการเปล ี่ ยนรัชกาล ฝู้หนานรับวัฒนธรรมอินเดยมากขึ ี ้นในช่วงพทุธ ศตวรรษที่ ๑๐ เนื่องจากเกิดความวุ่นวายในราชสำนัก ประชาชนจึงไปเชญโก ิณฑิณยะ ซงเึ่ปน็ชาวเมืองผานผาน มาครองเมืองฝู้หนาน โกณฑิณยะเป็นผู้นำเอาแนวคิด การปกครองแบบอินเดยมาใช ี ภาษา้สนสักฤตกลายเปน็ ภาษาในราชสำนัก มีการบูชาเทพเจ้าฮินดู เช่น พระ ศิวะ พระวิษณุ เริ่มมีการนำคำว่า “-วรมัน” มาต่อท้าย พระนามของกษัตริย์ ซึ่งเป็นสร้อยท้ายพระนามกษัตริย์ แบบอินเดียตอนใต้ ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ การค้าของ ฝู้หนานเริ่มซบเซาลง เนองจากกาื่รเปลย ี่ นเส้นทางการคา้ จากเดมิ ที่เรือสินคาจาก้ตะวันตกใชเ้ส้นทางขามคอคอด้ กระ ได้หันมาใช้เส้นทางช่องแคบมะละกาแทน ทำให้ เมืองท่าของฝู้หนานเริ่มเสื่อมลง เมื่อเมืองท่าซบเซา ทำให้รายได้ของรัฐลดลง ส่งผลต่อเสถียรภาพทางการ เมืองของผู้นำด้วย ส่งผลให้ฝู้หนานต้องย้ายเมืองหลวง ลึกเขาไ้ ปทางตอนในมากขึ้น และปรับเปลย ี่ นตัวเองเปน็ รัฐเกษตรกรรมเต็มรูปแบบ ฝู้หนานเริ่มเสื่อมลงในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๑ พระเจ้ารุทรวรมันย้ายเมืองหลวงจากวยาธปุระไป ยังเมืองอังกอร์บอไร ซึ่งอยู่ลึกเข้าไปทางตอนใน และ เปลย ี่ นนิกายจากไศวนิกายมาเปน็ ไวษณพนิกายที่นับถือ พระวิษณุ ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๑ เกิดการต่อสู่แย่ง ชิงราชสมบัติในฝู้หนาน ทำให้การเมืองอ่อนแอ ขณะ เดียวกันพวกเขมร หรือที่จีนเรียกว่า เจนละ ก็เริ่มแผ่ อำนาจเข้าครอบครอบทางตอนเหนือ จนในที่สุด ฝู้ หนานก็ตกอยู่ภายใต้อำนาจของเจนละ อย่างไรก็ตาม เจนละก็ได้รับมรดกทางวัฒนธรรมจากฝู้หนานมา โดย เฉพาะแบบแผนวัฒนธรรมอินเดียซึ่งเป็นเครื่องมือให้ รัฐพื้นเมืองสามารถพัฒนาขึ้นมาจนเปนป็ ึกแผน่ ในเวลา ต่อมา รัฐโบราณในดินแดนไทย นอกจากฝู้หนาน หรือ ฟูนัน แล้ว ยังพบว่าจาก ร่องรอยของโบราณสถานและโบราณวัตถุทำให้ทราบที่ ตงและั้สภาพของชุมชนเมืองโบราณในประเทศไทยว่ามี หลายร้อยแห่งตงแั้ตส่ มัยก่อนประวัติศาสตรต์ ่อเนองมาื่ จนถึงสมัยแรกเริ่มของยุคประวัติศาสตร์ ความรู้เกยวกับ ี่ รัฐโบราณในไทยส่วนมากมาจากหลักฐานดา้นโบราณคดี และเอกสารประวัติศาสตร์ของจีนเปน็ หลัก เนองจากจื่ีน เป็นชาติที่จดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ไว้มาก อย่างไรก็ตาม ชื่อบ้านเมืองที่ปรากฏในเอกสาร จีนไม่ได้หมายความว่าบ้านเมืองหรือรัฐนั้นมีความ สำคัญหรือยิ่งใหญ่กว่ารัฐอื่น แต่เป็นเพราะเป็นเมือง ท่าหรือรัฐที่จีนรู้จัก ทั้งรู้จักจากการเป็นเมืองท่าการค้า และรู้จักจากการที่รัฐนั้นส่งทูตไปที่ราชสำนักจีน ปัญหา อกีประการที่พบในการใชเอก้สารจีนคือชือเมืองห่รือชือ่ สถานที่ เนื่องจากจีนใช้การถอดเสียงภาษาท้องถิ่นเป็น ภาษาจีน และชือดังกล่าวก็มักจะเ่ปน็ ชือโบ่ราณที่สืบค้น ได้ยากว่าเป็นที่ใดในปัจจุบันกันแน่ จึงต้องอาศัยการ รวบรวมหลักฐานทางโบราณคดีประกอบกันไปด้วย รัฐ โบราณที่ปรากฏในเอกสารจีน ได้แก่ 53 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ผานผานหรือพันพัน (P’an P’an) เปนร็ ัฐชายฝั่ง ทะเลบริเวณคอคอดกระ สันนิษฐานว่ามีศูนย์กลางที่ อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานีในปัจจุบัน ผานผา นน่าจะก่อตั้งขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๘-๙ ชื่อผานผาน ปรากฏครั้งแรกในหนังสือเหลียงซู หรือประวัติศาสตร์ ราชวงศ์เหลียงตอนที่กล่าวถึงฝู้หนาน โดยกล่าวถึง โกญฑิณยะ ว่าเป็นพราหมณ์จากเทียนจู๋ (หมายถึง อินเดย) ได ีเ้ทวนิมิตรใหไ้ปปกครองฝู้หนาน พระองค์ปติ พระทัย และเดินทางมายังผานผานทางใต้ จากขอความ้ ในเหลยงีซูแสดงว่าในช่วงต้นพทุธศตวรรษที่ ๑๐ ผานผาน ก็มีความสำคัญในฐานะจุดส่งผ่านวัฒนธรรมจาก อินเดยไี ปยังฝู้หนานซงึ่พัฒนาต่อมาเปน็ วัฒนธรรมเขมร ดังที่อธิบายไว้ข้างต้น สำหรับที่ต้ังของผานผานมีกล่าวถึงในหนังสือ จัวถังซู หรือประวัติศาสตรร์าชวงศ์ถังฉบับหอหลวง และ บันทึกของหม่าตวนหลิน ซงเ่ึ ปนน็ ักเดินเรือที่มชีวีิตอย่ใูน ช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๘ ระบุว่าเปน็ เมืองขึ้นของฝ้หูนาน มศีูนย์กลางอยทู่างตอนเหนือของแม่น้ำสายหนง ห่างจาก่ึ ทะเลตะวันตกราว ๑๐ ล ี้ ทางใต้ของทวารวด และีตะวันตก เฉยงใ ี ต้ของจัมปา เดินทางจากเจยวโจว ( ีตังเก๋ย) ไ ี ปถึงที่ น่นัใชเวลา ๔๐ วั ้น และอยติู่ดกับอาณาจักรหลางยาซิ่ว (ลังกาสุกะ) ผานผานจึงน่าจะเปนร็ ัฐแรก ๆ ที่รับอิทธิพล จากวัฒนธรรมอินเดย มี บัีนทึกว่ามีพราหมณ์อย่ใูนเมือง นี้เปน็จำนวนมาก วัฒนธรรมจึงน่าจะมกีรอบทางศาสนา พราหมณ์-ฮินด เูปนต็ ัวกำหนด เตี๋ยนซุน หรือตุนซุน (Dian Sun/Tun Sun) สนนิ ัษฐานว่าก่อตง้ัประมาณพทุธศตวรรษที่ ๖–๗ อาจ จะมศีูนย์กลางอย่บูริเวณตะนาวศรีทางใต้สุดของประเทศ เมียนมาในปัจจุบัน หลักฐานของจีนช่วงพุทธศตวรรษ ที่ ๙–๑๐ โดยเฉพาะหนังสือเหลยงีซูหรือประวัติศาสตร์ ราชวงศ์เหลยงกล่าวถึงเ ี ตี๋ยนซนุว่าตงอย้ั ่ห่างจากชายแดูน ใต้ของฝ้หูนานมากกว่า ๓,๐๐๐ ล เมือง ี้ ตงอย้ั ่ห่างจากฝั่งู ทะเล ๑๐ ล ม ี้ กษั ี ตริย์ปกครอง ๕ พระองค์ โดยอย่ภายใูต้ อาณาจักรฝ้หูนาน ชายแดนตะวันตกของเตี๋ยนซนุคือ เจยวี โจว (ตังเก๋ย) ีทางตะวันตกคือ เทียนจ๋ ูนานาประเทศทงฝั่ง ้ั ทะเลตะวันตกและตะวันออกต่างเขามาค้าขายเ้นองจาก่ื เตี๋ยนซุนต้งอยั ่ตรูงอ่าวโค้งและเป็นแหลมยื่นไปในทะเล กว่า ๑,๐๐๐ ล และยัง ี้ ระบุว่าในเตี๋ยนซนุมชาวอี ินเดยอาศัย ี อย่จูำนวนมากอกดีวย ้ จิน้หลินหรือจินหลิน (Chin-lin) ปรากฏในเอกสาร จีนคร้งแัรกในพุทธศตวรรษที่ ๙ ว่าจิ้นหลินอย่ห่างจากู ฝ้หูนานไปทางตะวันตกหรือตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ ๒,๐๐๐ ล เ ี้ ปน็แหล่งแร่เงินและนิยมคลองช้างข้นาดใหญ่ มาใช้งาน หนังสือเหลียงซูหรือประวัติศาสตร์ราชวงศ์ เหลยงมี กล่าวถึงจ ี ิ้นหลินเล็กน้อย ว่าพระเจา้ฟ่านซือม่าน กษัตริย์ฝ้หูนานไดยก้ทพั ไปโจมตีดินแดนขางเค้ยงจีนยอม อย่ใูต้อำนาจของพระองค์ จากน้นั ก็มีพระบรมราชโองการ ให้ต่อเรือเคลือ่นทพัขามจังไห่ (หมายถึงอ่าวไ ้ทย) ไปโจมตี รัฐต่าง ๆ กว่า ๑๐ รัฐ และวางแผนจะยกทพั ไปตีจิ้นหลิน ต่อไป แต่ว่าประชวรเสียก่อน ขอม้ลูที่มจีำกัดจากเอกสาร จีนทำใหกา้รระบุที่ตงของจ้ั ิ้นหลินได อย่างชัดเจ ้นน้นัยาก ลำบาก แต่วเคิราะห์ไดว่าจ ้ ิ้นหลินอย่ห่างจากฝู้หูนานไป ทางตะวันตก ๒,๐๐๐ ล และอย ี้ ่คูนละฝั่งของอ่าวไทยกับ ฝ้หูนาน และเปน็แหล่งแร่เงิน จึงสนนิ ัษฐานว่าจิ้นหลินน่า จะอย่บูริเวณภมูภาคิตะวันตกของประเทศไทย และอาจ จะเปนร็ ัฐในแถบลุ่มแม่น้ำเจา้พระยา 54


ลังกาสุกะตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ของคาบสมุทรมลายู บริเวณลุ่มแม่น้ำปัตตานี โดยมี ศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน ถูกกล่าวถึงในหลักฐานจีนครั้งแรกในหนังสือเหลียงซู หรือประวัติศาสตรร์าชวงศ์เหลยงช่วง ีพทุธศตวรรษที่ ๑๑ ว่าอาณาจักรหลางยาซิ่ว (Lang-ya-hsui) ได้ส่งคณะทูต ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสำนักจีน นอกจากนี้ ลังกา สุกะยังถูกกล่าวถึงในเอกสารอาหรับ เอกสารอินเดีย และเอกสารพื้นเมืองของชวาและมลายูด้วย ในหนังสือ เหลียงซูบันทึกไว้ว่าอาณาจักรหลางยาซิ่วตั้งอยู่ที่ทะเล ใต้ ห่างจากกวางตุ้งประมาณ ๒๔,๐๐๐ ล ี้ทิศเหนือติด กับผานผาน อยู่ระหว่างตะลุบัน (สายบุรี) กับคอชินรา (สงขลา) และอยรู่ ะหว่างเมืองชลัินตนั (กลันตนั ) กับตาม หม่าลิง (ตามพรลิงค์) พัฒนาการของลังกาสุกะนั้นเกิดจากปัจจัย ทางการค้าเป็นสำคัญ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๗-๑๖ นั้น ฝู้หนานและศรีวิชัยมีอิทธิพลควบคุมเส้นทางการค้า ในภูมิภาคแถบนี้ ลังกาสุกะซึ่งเป็นรัฐเล็ก จึงตกอยู่ใต้ อำนาจของรัฐใหญ่เหล่านี้อยู่เสมอ หลักฐานจีนกล่าว ว่าฟ่านซือม่าน กษัตริย์แห่งฝู้หนานมชัยเห ีนือลังกาสุกะ ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๘ และระบุไว้ว่าช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ ลังกะสุกะส่งทูตไปจีน ๖ ครง ก่อ ั้นจะ ตกอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐศรีวชัยใ ินช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๗ และในช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๘ ตามพรลงค์ ิ ที่พัฒนา เป็นนครศรีธรรมราชได้แผ่อำนาจครอบคลุมดินแดน แถบคาบสมุทรตอนบน ทำให้บรรดารัฐพื้นเมืองตกอยู่ ภายใต้อำนาจรวมทั้งลังกาสุกะด้วย สาเหตุที่ลังกาสุกะ เป็นที่ต้องการของรัฐใหญ่ในสมัยต่าง ๆ เนื่องมาจาก ภมูิประเทศของลังกาสุกะที่สามารถควบคุมเส้นทางการ ค้าได้ทั้งสองฝั่งทะเล มีการติดต่อค้าขายทั้งกับรัฐพื้น เมืองและต่างชาติ เช่น จีน อินเดีย อาหรับ ทำให้ลังกา สุกะเปนร็ ัฐการคา้ที่เจริญรุ่งเรือง แมว่ากา ้รคาจะ้รุ่งเรือง แต่ลังกาสุกะกลับไม่สามารถพัฒนาขึ้นเปนร็ ัฐขนาดใหญ่ ได เ้นองจากขื่อจ้ ำกัดทางดา้นพื้นที่และมีประชากรน้อย ฉือถู่ ้หรือเจ่อทู่หรือเซี้ยะโท้ว มความหมายว่า ี ดินแดง หรือดินแดนที่มีดินสีแดง สันนิษฐานว่าฉื้อถู่น่า จะอยู่ที่บริเวณจังหวัดพัทลุงหรือสงขลาในปัจจุบัน รัฐนี้ มีการติดต่อกับจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุย (พ.ศ.๑๑๒๔- ๑๑๖๑) ปรากฏในบันทึกของจีนว่าอาณาจักรฉื้อถู่เป็น ส่วนหนึ่งของฝู้หนาน ตั้งอยู่ในทะเลใต้ เดินทางโดย ทางทะเลใช้เวลาราว ๑๐๐ กว่าวัน เรียกชื่ออาณาจักร ตามดินสีแดงที่เมืองหลวง ทางตะวันออกของฉื้อถู่คือ อาณาจักรปอหลอล่า ทางตะวันตกคืออาณาจักร ผอหลอโซ่ ทางใต้คืออาณาจักรเหอหลอต้าน ส่วนทาง เหนือติดทะเล กษัตริย์ที่ปกครองมีพระนามว่า ลี่ฟูต่ ๋อสอ ื้ ประชาชนมีประเพณีเจาะหูรวบผมไว้ที่ท้ายทอย ผู้ชาย ตัดผม ผู้คนใหความเคา้รพนับถือพวกพราหมณ์มากกว่า พระพุทธเจ้า เตง้ิหลิวเหมย รัฐนี้ตงอย้ัทู่างตะวันตกของเจิ้นล่า (เจนละ) เวลาว่าราชการตอนเช้ากษัตริย์จะประทับ กลางแจ้งเพราะอาณาจักรนี้ไม่มีพระราชวัง ใช้กระทง สานเป็นภาชนะดื่มกิน ไม่มีช้อนหรือตะเกียบใช้นิ้วมือ หยิบกิน นักวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลที่ตั้งของเติ้งหลิว เหมยและสรุปว่าน่าจะอยู่ในภูมิภาคตะวันตกบริเวณ จังหวัดราชบุรี 55 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ตักโกละเป็นรัฐเมืองท่าทางชายฝั่งตะวันตก ที่ปรากฏในเอกสารของชาติตะวันตกและตะวันออก หลักฐานในหนังสือมิลินทปัญหาซึ่งได้เขียนไว้เมื่อ ประมาณ พ.ศ.๕๐๐ กล่าวถึงเมืองตักโกละ ว่าเป็นเมือง ที่นักเดินทางชาวอินเดยเดี ินทางไปคาขาย ค้ ำว่าตักโกละ เป็นภาษาบาลี แปลว่า กระวาน เหตุผลที่ถูกเรียกชื่อนี้ น่าจะสืบเนื่องมาจากเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วย เครื่องเทศ หนังสือภูมิศาสตร์ของปโตเลมี กล่าวถึง Takola emporium ซึ่งหมายถึงเมืองท่ากระวาน ส่วน จดหมายเหตุจีนที่บันทึกใน พ.ศ.๑๓๙๓ กล่าวว่าจีนนำ เขาก้ระวานจากเต้อกุ (To-ku) เมือใช่ข้อ้สนนิ ัษฐานดา้น สัทศาสตร์ นักวิชาการเห็นว่าคำว่าตักโกละน่าจะเพี้ยน เสียงมาเป็น ตะกั่วป่า ในปัจจุบัน จารึกพบที่อำเภอตะกัว่ป่า จังหวัดพังงา กำหนด อายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ เป็นจารึกภาษาตมิล โบราณ มีเนื้อความว่า หัวหน้าชุมชนชาวตมิล ชื่อ ภา สกรวรมัน ไดขุด้สระศรีนารนัม ใกลเมือง ้นังคูร ขอความ้ ในจารึกทำให้เกิดการตีความว่าเมืองตักโกละหรือ ตะกั่วป่าน่าจะมีชื่อเดิมว่านังคูร แต่เนื่องจากเป็นแหล่ง ส่งออกกระวาน จึงทำให้เป็นที่รู้จักในชื่อตักโกละ และ เนื่องจากเป็นเมืองท่าที่อยู่ปลายสุดด้านตะวันตกของ เส้นทางขามคาบ้สมุทรตามลำน้ำตะกัว่ป่าทำให้ตักโกละ เป็นหนึ่งในเมืองท่าสำคัญในเวลานั้น ตามพรลิงค์ เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า ลึงค์ ทองแดง คัมภีร์มหานิทเทสของพุทธศาสนา ปรากฏ ชื่อเมือง “ตมฺพลิงฺคมฺ” ซึ่งเป็นเมืองท่าที่นักเดินทางเดิน ทางผ่าน จารึกของอินเดียใต้ปรากฏชื่อ “มัทมาลิงกัม” และ “ตมะลิงกัม” เอกสารจีนมีบันทึกถึงเมืองต่านหม่า ล ิ่ง (Tan-ma-ling) ส่วนหลักฐานพื้นเมืองนั้น พบจารึก หลักที่ ๒๔ หรือจารึกวัดหัวเวียง ที่อำเภอไชยา จังหวัด สุราษฎร์ธานี ในจารึกมีข้อความกล่าวสรรเสริญพระเจ้า ศรีธรรมราช (พระนามเดิมจันทรภาณุ) ผู้เป็นราชาแห่ง ตามพรลิงค์ ต า ม พร ลิง ค์ มีศูน ย์ ก ล า ง อ ยู่ที่จั ง ห วั ด นครศรีธรรมราชในปัจจุบัน ลักษณะเด่นของตามพรลงค์ ิ คือการตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของคาบสมุทร มีแม่น้ำ ลำคลองผ่านหลายสาย ริมฝั่งทะเลมีสันทรายยาว ทางฝั่งตะวันตก เป็นที่ดอนน้ำท่วมไม่ถึง มีอาณาเขต กว้างขวาง ทำให้มีพื้นที่ทำการเกษตรได้มาก มีทิว เขานครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นทิวเขาที่สำคัญ เป็นแหล่ง กำเนิดแม่น้ำ และเป็นจุดสังเกตเวลาเดินเรือ (ทิวเขา นครศรีธรรมราชเป็นแกนกลางของคาบสมุทรไทย ทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ เรียกอีกชื่อว่า ทิวเขาบรรทัด) ตามพรลงค์เจ ิ ริญขึ้นมาตงแั้ตปร่ะมาณพทุธศตวรรษที่ ๕ และมีความรุ่งเรืองเหนือกว่าเมืองท่าอื่น ๆ เนื่องจากมี ที่ราบอุดมสมบูรณ์ ตามพรลิงค์ส่งทูตไปจีนครั้งแรกใน พ.ศ.๑๕๔๓ ซงึ่ตรงกับสมัยราชวงศ์ซ่ง มหลักฐา ี นที่แสดง ใหเห็ ้นว่ามคีนอินเดยมาอาศัยอย ีู่ในตามพรลงค์ โดย ิพบ เทวรูปพระวิษณุ เทวสถาน และจารึกหลักที่ ๒๖ ที่พบ เป็นจารึกภาษาตมิล กำหนดอายุได้ประมาณช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ซึ่งช่วงที่ศรีวิชัยเรืองอำนาจ หลัก ฐานจีนบันทึกไว้ว่า ตามพรลิงค์เป็นเมืองขึ้นของศรีวิชัย ตอนที่โจละส่งกองทัพมาตีศรีวิชัย ตามพรลิงค์อยู่ใน รายชื่อของเมืองที่ถูกโจมตีในครั้งนี้ด้วย 56


ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เป็นต้นมา ลัทธิไศวนิกายลดบทบาทลง เนื่องจากมี ศาสนาใหม่เขามาแ้ทน คือ พทุธศาสนานิกายลังกาวงศ์ ซงึ่ต่อมานครศรีธรรมราชกลาย เป็นศูนย์กลางของนิกายลังกาวงศ์ในภูมิภาคนี้ ช่วงที่นิกายลังกาวงศ์เฟื่องฟูเป็นช่วง ที่ตามพรลิงค์เปล ี่ ยนชื่อเป็น “นครศรีธรรมราช” มีราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชปกครอง 57 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี ที่สันนิษฐานว่าเป็นเมืองศูนย์กลางอาณาจักรศรีวิชัย 58


ศรีวิชัย : ศูนย์กลางการค้าและ วัฒนธรรมพุทธมหายานในคาบสมุทรภาคใต้ ศรีวชัยเ ิ ปนร็ ัฐการคา้ที่รุ่งเรืองอยู่ในช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ หลังจากเส้นทางการคา้ เปล ี่ ยนจากการข้ามคอคอดกระมาเป็นการแล่นเรือผ่านช่องแคบมะละกาหรือช่องแคบซุนดา และตรงไปยังเมืองท่าทางตอนเหนือของเวยดีนาม ศรีวชัยม ิ ลักษ ีณะเปนส็มาพนัธรัฐทางการคา้ ที่เกดจากกาิรรวมตัวกันของเมืองท่าแถบคาบสมุทรมลายและเกาะูสุมาตรา ในช่วงเริ่มแรกของ การศึกษาประวัติศาสตร์รัฐศรีวิชัย มีข้อถกเถียงในหมู่นักวิชาการว่าศูนย์กลางของรัฐการค้า ศรีวชัยอย ิ ทีู่่ ใด เนองจากื่พบร่องรอยโบราณสถานและโบราณวัตถุลักษณะคลายคลึงกั ้นในหลาย พื้นที่ของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และภาคใต้ของประเทศไทย เกิดเป็น ทฤษฎีศูนย์กลางของศรีวิชัย ๓ แนวคิด ได้แก่ • แนวคิดที่เชื่อวาศูนยกลางของรัฐอยูบนเกาะชวา • แนวคิดที่เชื่อวาศูนยกลางอยู่บนเกาะสุมาตรา • แนวคิดที่เชื่อวาศูนยกลางอยูที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างไรก็ตาม จากความหนาแนน่ ของหลักฐานทางโบราณคดและเอกีสารต่าง ๆ ทำให้ ปัจจุบันนี้นักวชากาิรสรปุว่าศูนย์กลางของศรีวชัยอย ิ ทีู่่ เมืองปาเล็มบังบนเกาะสุมาตรา ประเทศ อินโดนีเซีย หลักฐานทางโบราณคดีของศรีวิชัยมีทั้งจารึก โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ในส่วน ของจารึกที่ปรากฏคำว่า ศรีวิชัย พบที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและที่เกาะสุมาตรา โดยจารึกที่ นครศรีธรรมราช คือจารึกหลักที่ ๒๓ จารึกวัดเสมาเมือง กำหนดอายุใน พ.ศ.๑๓๑๘ จารึก เปนภาษาสันสกฤตตัวอักษรสมัยหลังปัลลวะ ซึ่งเป็นตัวอักษรที่นิยมใช้กันในแถบอินเดียใต้ ข้อความตอนต้นในจารึกเสมาเมืองด้านที่ ๑ เป็นการสรรเสริญความย ิ่งใหญ่ของพระเจ้ากรุง ศรีวชัย ิส่วนดา้นที่ ๒ กล่าวถึงพระนามพระเจาก้รุงศรีวชัยิพระองค์นี้ว่า “ศรีมหาราชา” เปน็มหา กษัตริย์ในไศเลนทรวงศ์ ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ทั้งปวง เปรียบได้ดั่งพระวิษณุองค์ที่ ๒ หลักฐานจากเอกสารจีนที่สำคัญที่กล่าวถึงศรีวชัย ได ิ แก่ บั ้นทึกของหลวงจีนอจ ี้ ง เขิยีนขึ้น ในช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๓ โดยเปน็ บันทึกถึงการเดินทางไปสืบพระพทุธศาสนาที่อนทุวีปอินเดย ี กล่าวงถึงชื่อเมืองโฟชิ (Fo Shih) ซึ่งเมืองที่สําคัญบนคาบสมุทร โดยนักวิชาการสันนิษฐานว่า 59 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ คือศรีวิชัย นอกจากนี้ ยังมีจดหมายเหตุราชวงศซง ซึ่ง ไดเรียกชื่อ ซื่อล ี่โฟชิ วา สันโฟชิ โดยกลาววารัฐสันโฟชิ เปนอาณาจักรใหญทางตอนใตตั้งอยูระหวางรัฐเจน ละกับเชโป (สันนิษฐานว่าอาจหมายถึงชวา) ภายในรัฐ ประกอบดวยเมือง  ตาง ๆ ถึง ๕๐ เมือง ใชตัวอักษรภาษา สันสกฤต พระเจาแผนดินใชแหวนเปนตราประทับ ทรง รูภาษาจีนเพื่อติดตอและเขียนพระราชสาสน และไดส่ง ทูตไปจีน ๔ ครั้ง ใน พ.ศ.๑๕๐๓, ๑๕๓๖, ๑๕๔๖, และ ๑๖๒๕ จดหมายเหตุราชวงศ์ซ่งยังระบุที่ตั้งของสันโฟชิ ว่าตั้งอยูริมทะเล มีจุดสำคัญที่มีการคาขายหลากหลาย พื้นที่ ควบคุมเรือตาง ๆ ที่มาคาขาย เมืองที่สำคัญและ ขึ้นอยูกับรัฐ เชน ตาหมาหลิง (ตามพรลิงค) ปาลิงฟง ซินดา ลันบี และหลานวูลิ นอกจากการเปน็ศูนย์กลางการคา ศ้ รีวชัยยังเ ิ ปน็ ศูนย์กลางของพทุธมหายานในภมูภาคอิกดี วย หลักฐา ้น ที่ปรากฏคือ โบราณสถาน โบราณวัตถุบนคาบสมุทร ใน ศลิปะแบบศรีวชัย ิซงมึ่ความคลี ายคลึงกับศ ลิปะชวาแหง ราชวงศไศเลนทร และปรากฏเดนชัดมากขึ้นในตนพุทธ ศตวรรษที่ ๑๔ โดยมีต้นแบบมาจากศิลปะปาละในภาค ตะวันออกเฉียงเหนืออินเดีย ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่าง ศรีวชัยกับ ิราชวงศ์ปาละแห่งอินเดยมี หลักฐา ีนจากจารึก ที่นาลันทาวิหาร ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ.๑๔๐๓ ในจารึกดัง กล่าวระบุวาพระเจาพลบุตรเทวะ กษัตริยแหงศรีวิชัย เชือ้สายราชวงศไศเล  นทร เปนผูสรางวัดไวสำหรับผูแสวง บุญชาวศรีวชัยิ ที่ไปศึกษาพระธรรม โดยพระเจาเทวปาละ ไดมอบรายไดจากหมูบานจำนวนหนึ่งเปนคาดูแล รักษาวัดแห่งนี้ จากขอความใ ้นจารึกสนนิ ัษฐานว่าศรีวชัยิ และปาละมีความสัมพันธ์ทางการทูตกัน โดยมีศาสนา เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ ซึ่งศาสนาได้เป็นเครื่องผลัก ดันให้เกิดการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมขึ้นอีกมากมาย ในเขตอิทธิพลของศรีวิชัย ศรีวิชัยเริ่มซบเซาลงไปช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ความรุ่งเรืองของชวาทำใหเมือง ้ท่าทางช่องแคบมะละกา ซบเซาลงไป เมืองท่าทางฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของ สุมาตราถกแูทนที่ดวยเมือง ้ท่าในชวาที่มขีอได ้เ้ปรียบคือ มีที่ราบขนาดใหญ่ทางตอนกลางของเกาะ อันเปน็ แหล่ง เกษตรกรรมที่สำคัญ ประกอบกับราชวงศ์โจละทางใต้ ของอนุทวีปอินเดียเริ่มขยายอำนาจมาทางเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ทำให้อำนาจของศรีวิชัยสั่นคลอน โจละ ยกทพัมาตีศรีวชัยถึง ๒ ค ิรง ใ ั้น พ.ศ. ๑๕๖๘ และ ๑๖๑๐ ช่วงพทุธศตวรรษที่ ๑๙ บทบาทของเมืองท่าแถบชายฝั่ง ตะวันออกเฉียงใต้ของสุมาตราลดน้อยลงไปมาก เหลือ เพียงเมืองลามูรีและเมืองสมุทรปาไซทางตอนเหนือ ของสุมาตราที่ยังควบคุมเส้นทางการค้าบริเวณชายฝั่ง ตอนเหนือไว้ได้ เมืองต่างๆ ที่เคยอยู่ภายใต้อำนาจของ กษัตริย์ศรีวิชัยที่ปาเล็มบังก็ค่อยๆ ทยอยเป็นอิสระ เอกสารจีนทำให้สรุปได้ว่าขอบเขตอำนาจของ ศรีวชัยค ิรอบคลุมขึ้นมาถึงคาบสมุทรมลายูตอนบนและ เกาะชวา ซงึ่สอดคลองกับ ้ รองรอยของศลิปกรรมแบบศรี วิชัยจำนวนมากในบริเวณดังกล่าว งานศิลปกรรมแบบ ศรีวิชัยเปนงานที่มาจากพุทธศาสนามหายานเปนหลัก พบเทวรูปในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู บางแต่ไม่มากเท่า ศิลปกรรมพุทธ ศิลปะศรีวิชัยไดรับอิทธิพลจากศิลปะ อินเดยแบบคุี ปตะ หลังคุปตะ และปาละเสนะ ตามลำดับ ซงึ่สะท้อนใหเห็ ้นถึงการแลกเปลย ี่ นถ่ายทอดวัฒนธรรม ระหว่างดินแดน 60


ในประเทศไทย พบโบราณสถานและโบราณวัตถุ สมัยศรีวิชัยจำนวนมากตั้งแต่เขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี ไปจนถึงสงขลา ประติมากรรมศรีวิชัยชิ้นสำคัญที่พบใน คาบสมุทรไทย คือ รูปเคารพพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร สำริด พบที่ควนสราญรมย์ อำเภอพุนพิน จังหวัด สรุ าษฎรธานี โดยพบเพียงครงองค์บ ึ่น มีสองกร พระหัตถ์ ขวาทำนิ้วจีบคล้ายกำลังทำวิตรรกะมุทรา หรือปาง แสดงธรรม แต่ก็มีข้อสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นกิริยา จีบสำหรับถือดอกบัวก็เป็นได้เช่นกัน ส่วนพระหัตถ์ ซ้ายถือหม้อน้ำ ผมเกล้าสูงทรงชฎามงกุฎ ที่มวยผมมี ธยานิพทุธอมิตาภะปางสมาธิประดษฐาินอย่ แูสดงว่ารูป เคารพนี้เปนพร็ ะโพธิสตัว์อวโลก เิตศวร ส่วนลำตัวครองผ้า เฉียงที่อังสาซ้าย เทวรูปพระวิษณุ ได้แก่ เทวรูปพระ วิษณุองค์ที่พบที่วัดศาลาทึง อำเภอไชยา เทวรูปพระ วษิณุองค์นี้สนนิ ัษฐานว่าเปน็เทวรูปสมัยศรีวชัยิ ที่เก่าแก่ ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ ๙-๑๑ เทวรูปพระวิษณุสวมหมวกทรง กระบอกเตี้ย สลักจากหินทรายความสูงเท่าคนจริง พบ ที่อำเภอไชยาเช่นกัน เทวรูปพระวษิณที่สำุ คัญอกองค์คือ ี องค์ที่พบที่เขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ลักษณะเทวรูปอยู่ในท่ายืนตรง สวมหมวกทรงกระบอก มีสี่กร พระกรทงั้สี่ชขึู้นแตส่ ่วนปลายหักหายไป นุ่งผ้าสั้น ระดับกลางพระชงฆ์ ชายผ้ายาวลงไปถึงฐานเทวรูป มี เข็มขัดรัดชายผ้าหัวเข็มขัดเปนรูปรี ็ กำหนดอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ ลักษณะคล้ายเทวรูปในศิลปะ เขมรสมัยก่อนเมืองพระนคร จากการพบเทวรูปพระ วิษณุหลายองค์ ทำให้สันนิษฐานว่าบริเวณคาบสมุทร ไทยสมัยรัฐศรีวิชัยมีการนับถือศาสนาพรามณ์-ฮินดู ไวษณพนิกาย แต่ก็มีการพบรูปเคารพในไศวนิกายด้วย ไดแก่ เอกมุขลึงค์ ห ้รือศวลึงค์ ิ ที่มภาี พประศวะ โดย ิพบที่ อำเภอไชยา ลักษณะรูปเคารพสูง ๑๐๙ เซนติเมตร ส่วน ฐานเปนสี่ ็เหลยม ี่ ตรงกลางเปน็แท่งหินแปดเหลยม และ ี่ ส่วนบนเป็นลึงค์ที่มีรูปสลักนูนต่ำรูปพระศิวะ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ศิลปะศรีวิชัย อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ที่มา เฟสบุ๊ก กลุ่มเผยแพร่กรมศิลปากร 61 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ งานสถาปตยกรรมที่สําคัญในศิลปะศรีวิชัยที่ พบในภาคใตของไทยนั้นพบที่อำเภอไชยเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ พระบรมธาตุไชยา วัดแกว และวัดหลง แต่วัดแกว และวัดหลงนั้นเหลือเพียงฐานที่มความีสูงและเรือนธาตุ ที่วัดแกวประดับดวยเสาที่อิงตัวอาคาร มีลักษณะคลาย กับศิลปะจามของอาณาจักรจามปาทางตอนกลางของ ประเทศเวียดนาม สวนที่โบราณสถานเมืองยะรัง จังหวัดปตตานี เหลือเพียงฐานขนาดใหญที่แสดงใหเห็ น อิทธิพลของศิลปะอินเดียแบบคุปตะคลายกับที่พบใน ศิลปะทวารวดีทางภาคกลาง นอกจากนี้ยังมีสถูปรูปโอ คว่ำ พบที่วัดสทิงพระ วัดพะโคะและวัดสีหยัง จังหวัด สงขลา และวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช หลักฐานงานศิลปกรรมที่พบในคาบสมุทร ภาคใต้ของไทยแสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้มีการนับถือ ทั้งศาสนาพุทธและฮินดูซึ่งน่าจะแพร่เข้ามาตามเส้น ทางการคา้ตงแั้ต่แรก ๆ และเปน็ กลุ่มศลิปกรรมที่มความี สำคัญต่อพัฒนาการของวัฒนธรรมในแบบเดยวกับกลุ่ม ี วัฒนธรรมทวารวดีทางตอนกลางและตะวันออกเฉียง เหนือของประเทศไทย ช่วงเวลาที่เส้นทางการค้าทางทะเลยุคโบราณ เกดขึ ิ ้น ดินแดนต่าง ๆ ไดเข้ามาม้ ีส่วนร่วมในเส้นทางการ ค้า ซึ่งความรุ่งเรืองของการค้าทางทะเลนี้ไม่เพียงนำ ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจมาสู่รัฐพื้นเมือง แต่ยังนำ วัฒนธรรมเข้ามาด้วย โดยเฉพาะศาสนาจากอนุทวีป อินเดีย ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนา ซึ่งศาสนาทั้งสองได้เข้ามาเปล ี่ ยนแปลงโครงสร้างการ ปกครอง วัฒนธรรมความเชื่อ และสภาพสังคมของรัฐ โบราณเหล่านี้ และได้กลายเป็นรากฐานของวัฒนธรรม ไทยในเวลาต่อมา จะเห็นได้ว่า ศรีวิชัยและเมืองโบราณอื่น ๆ ใน คาบสมุทรไทยไดแ้สดงใหเห็ ้นถึงความเชือมโยงของกลุ่ม่ ชุมชนต่าง ๆ ที่ปรากฏตัวขึ้นในช่วงระยะเวลาไล่เลี่ ย กัน เชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทั้งในเชิงของการ ค้า และวัฒนธรรม ทั้งนี้ชุมชนที่มีการรับอิทธิพลจาก ภายนอกก็จะยิ่ งเป็นปัจจัยทำให้เกิดการพัฒนากลาย เป็นชุมทางการค้าและวัฒนธรรมที่เจริญอย่างก้าว กระโดด อย่างไรก็ตาม ความโดดเด่นทางเส้นทางการ ค้าและวัฒนธรรมในช่วงระยะเวลานั้น ไม่ได้เกิดขึ้นแค่ บริเวณที่มีการค้าทางทะเลบนคาบสมุทรไทยเท่านั้น จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และขอม้ลูทางโบราณคดี แสดงใหเห็ ้นว่าพื้นที่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางและที่ราบ บริเวณภมูภาคิตะวันออกเฉยงเหีนือของประเทศไทยใน ปัจจุบันก็มีพัฒนาการของชุมชนจากการรับวัฒนธรรม จากภายนอกอย่างชัดเจนและเติบโตเป็นบ้านเมืองใน ยุคแรกเริ่มสมัยประวัติศาสตร์ รับรู้กันในชื่อว่า ทวารวดี 62


ทวารวดี: ประตูการค้า และวัฒนธรรมในยุคแรกรับ ทวารวดี เป็นคำที่ใช้เรียกยุค สมัยแ รกเริ่ ม ทาง ประวัติศาสตร์ โบ ร า ณคดี และประวัติศาสตร์ศิ ล ป ะ ของประเ ทศไ ทย เ รื่อง ราวของ ทวา รวดี มีอยู่ใ นเอก ส า ร ประวัติศาสตร์จีนสมัย ราชวงศ์ถังหลายชิ้น บันทึกกา ร เดินทางของหลวงจีน อี้ จิง ( พ.ศ.๑๒๑๔-๑๒๓๘) กล่าว ว่า โ ตโลโปตี้ (Tolopoti) อยู่ ระหว่างอา ณาจัก ร ศรีเกษตร ( ปัจจุบันอยู่บริเว ณเม ย ี นมาภาคใต้) กับอา ณาจัก ร อศาี น ปุ ระ (เขม รโบ ร า ณก่อนสมัย น ค รวัด) ข้อมูลจากหลวงจีน อี้ จิ ง ระบุว่า มีพระมหาเถ ระจีนรูป ห นึ่งฉายาว่า ต้าเฉิน เติ้ง ได้เดินทางมากับ พ่อแม่ ตั้งแ ต่เยาว์วัยเ พื่อมาบวช และศึกษาเล่าเรี ยนที่ทวา รวด ขีอม้ ลดังกล่าวูทำให้ทราบ ว่า ทวา รวดีตั้งอยู่ใกล้ชายฝั่ง ทะเลและเ ป็ น ศูนย์กลาง วัฒ น ธรร ม พุ ทธเถ รวา ท นอกจากนี้เอก ส ารสมัย ราชวงศ์ ถังยังให ข้อม้ ลว่า ู ทวา รวด เ ี ป น ็ แหล่งของ นอแ รดชั้นเยยม ี่ ใ นการติ ด ต่อกับ ราชสำนักจีนสมัย ราชวงศ์ถัง ทูตของ ทวา รวดีเคยขอม้าชั้น ดีโดยแลกด้วยงาช้างและไข่มุก ต่อมา ใ น พ.ศ. ๒๔๒๗ แ ซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้ แ ผลงคำว่า โ ตโลโปตี้ (Tolopoti) มาเ ป็ น คำว่า ทวา รวดี ตามหลักภาษา สันสกฤ ตและได้ เสน อประเด็ น ว่าดินแด นแห่งนี้ตงอยัู้่ใ น ดินแดนประเ ทศไ ทยในปัจจุบัน และ สันนิษฐา น คำอื่น ๆ ที่ มีสำ เนียงคล้ายกัน เช่ น จว น โลโปติ (Tchouanlopoti) ห รือเชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่า หมายถึง ทวา รวดี ด้วย บรรดาโบ ร าณสถา นและโบ ร า ณ วัตถุ ต่าง ๆ ที่พบเ ป น ็ จำน ว นมากโดยเฉ พาะใ น บริเว ณลุ่มน้ำ เจ้าพระยา มีลักษ ณ ะ ทางศิ ล ปะคล้ายกับศิ ล ปะอินเดี ย 63 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สมัยราชวงศ์คุปตะและสมัย หลังคุปตะ ราวพทุธศตวรรษ ที่ ๙-๑๓ ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ และสมเด็จฯ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ จึงได้กำหนดเรียกชื่อดินแดน ที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบ นั้นว่า ทวารวดี โดยทรงใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งและ อายุตามบันทึกของจีน กับอายุของงานศิลปกรรมที่ตรง กัน ทวารวดีจึงเป็นทั้งชื่อของยุคสมัยในงานศิลปะและ ชื่อของเมืองหรืออาณาจักร กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ การสำรวจทางโบราณคดีที่ผ่านมาได้พบหลัก ฐานจากแหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดีประมาณ ๑๐๖ แหล่ง พบกระจายอยู่ในทุกภาคของประเทศไทย โดย อยู่ในเขตที่ราบลุ่มภาคกลาง ตามลำน้ำเจ้าพระยาและ ภาคตะวันออก ราว ๗๐ แหล่ง อยู่ในเขตภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือประมาณ ๓๐ แหล่ง และอยู่ในเขตภาค เหนือ ๒ - ๓ แหล่ง ชุมชนเมืองสมัยทวารวดีที่สำคัญมี หลายแห่ง อาทิ เมืองนครปฐมโบราณ (สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรในลุ่มแม่น้ำท่าจีน) เมืองอู่ทอง (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี แถบ ลุ่มแม่น้ำท่าจีน) เมืองพงตึก (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัด กาญจนบุรี ในลุ่มแม่น้ำแม่กลอง) เมืองละโว้ (ปัจจุบัน อยู่บริเวณจังหวัดลพบุรี ในลุ่มแม่น้ำลพบุรี) เมืองคูบัว (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดราชบุรี) ในลุ่มแม่น้ำเมืองอู่ ตะเภา (ปัจจุบันอยู่บริเวณบา้นอู่ตะเภา อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา) เมืองบ้านด้าย (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดอุทัยธานี ในแควตากแดด) เมืองซับจำปา (ปัจจุบันอยู่บริเวณบ้านซับจำปา จังหวัด ลพบุรี ในลุ่มแม่น้ำป่าสัก) เมืองขดขี ิน (ปัจจุบันอยู่บริเวณ จังหวัดสระบุรี) และบ้านคูเมือง (ปัจจุบันอยู่บริเวณ อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี) นอกจากนั้นพบเมือง โบราณสมัยทวารวดีอีกหลายแห่ง เช่น บ้านหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรีรวมทั้งหมู่บ้านในเขต อำเภอบ้านหม ี่ และโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ชุมชนเมืองสมัยทวารวดีที่อยู่ในภาคตะวันออก อยทีู่่ เมืองพระรถ (ปัจจุบันอยู่บริเวณตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีซึ่งค้นพบถ้วยเปอร์เซีย สีฟ้า) มถีนนโบราณติดต่อกับเมืองศรีพะโล ซงเึ่ปน็ เมือง ท่าสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๕ – ๒๑ (ปัจจุบันอยู่บริเวณ ตำบลหนองไม้แดง อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ลุ่มแม่น้ำ บางปะกง) ซงึ่พบเครองถื่วยจ้ ีนและญี่ปนุ่ และติดต่อถึง เมืองสมัยทวารวดีที่อยู่ใกล้เคียงกันเช่นเมืองศรีมโหสถ (ปัจจุบันอยู่บริเวณอำเภอโคกปีบ จังหวัดปราจีนบุรี) เมืองดงละคร (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดนครนายก) เมืองท้าวอุทัย และบ้านคูเมือง (ปัจจุบันอยู่บริเวณ จังหวัดฉะเชิงเทรา) ชุมชนเมืองสมัยทวารวดีในภาคกลางตอนบน และภาคเหนือ พบที่เมืองจันเสน (ปัจจุบันอยู่บริเวณ ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ลุ่ม แม่น้ำลพบุรี) เมืองบึงโคกช้าง (ปัจจุบันอยู่บริเวณ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ในแควตากแดด ลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง) เมืองศรีเทพ (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์ ลุ่มแม่น้ำป่าสัก) เมืองหริภุญชัย (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดลำพูน ลุ่ม แม่น้ำปิง) เมืองบน (ปัจจุบันอยู่บริเวณอำเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา) 64


ชุมชนเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่ม ใกล้ลำน้ำสำคัญซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีพและสามารถ ติดต่อกับชุมชนอื่นได้สะดวก โดยเริ่มจากบริเวณเมืองท่า ใกลชายฝั่ง ้ทะเล หรือตามเส้นทางการคาใ้นสมัยโบราณ ปัจจุบันร่องรอยเมืองโบราณ รวมทั้งศิลปะ โบราณวัตถุ สถาน และจารึกต่าง ๆ ในสมัยทวารวดีนี้พบเพิ่มขึ้นอีก จำนวนมาก ทั้งยังพบว่าเมืองโบราณแทบทุกแห่งจะมี ลักษณะของการสืบเนื่องทางวัฒนธรรมจากชุมชนสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ พัฒนาการขึ้นมาสู่ช่วงสมัยทวารวดี เมื่อมีการติดต่อกับอารยธรรมอินเดีย แต่กลับไม่มีหลัก ฐานของการแผ่อำนาจทางการเมืองจากจุดศูนย์กลาง เหมือนรูปแบบการสร้างเครือข่ายอำนาจการปกครอง แบบอาณาจักรทั่วไป ในสมัยทวารวดีแม้ว่าจะมีจารึกจำนวนไม่มาก แต่ก็สามารถบอกเล่าเรื่องราวกว้าง ๆ ของสภาพสังคม และความเชือใ่นช่วงเวลานั้นได โดย ้ ปรากฏทงบั้นเหรียญ เงิน มีจารึก “ศฺรีทฺวารวตี ศฺวรปุณฺย” (แปลว่า บุญกุศล ของพระราชาแห่งศรีทวารวด หีรือ บุญของผู้เปน็เจาแห่ง ้ ศรีทวารวด หีรือ พระเจาศ้ รีทวารวดีผู้มบุญอั ี นประเสริฐ) พบตามเมืองโบราณร่วมสมัยหลายแห่ง อาทิ เมืองอทู่อง จังหวัดสพรรณุ บุรี บา้นคเมือง จังหวัดูสิงห์บุรี เมืองคบัว ู จังหวัดราชบุรี เมืองดงคอนและเมืองอู่ตะเภา จังหวัด ชัยนาท นอกจากนี้ มีการค้นพบจารึกวัดโพธิ์ร้างที่เขียน ด้วยภาษามอญโบราณที่เก่าสุด ราว พ.ศ. ๑๑๔๓ ใน บริเวณจังหวัดนครปฐม และยังพบในจังหวัดสุพรรณบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี และในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ การพบจารึกภาษาปัลลวะ บาลีสันสกฤต และ ภาษามอญ ที่บริเวณพระปฐมเจดีย์และบริเวณใกล้ เคียงพบจารึกภาษามอญอักษรปัลลวะ (ปัจจุบันอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์) และพบจารึก มอญที่ลำพูน อายุราว พ.ศ. ๑๖๒๘ (ปัจจุบันอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน) ทั้ง ยังพบซากโบราณสถานขนาดใหญ่จำนวนมาก เช่น วัด พระประโทณเจดย์ วัด ีพระเมรุ วัดพระงาม วัดดอนยาย หอม โบราณสถานเหล่านี้ยังพบโบราณวัตถุที่เป็นงาน ฝีมือมีความประณีตงดงาม พบเครื่องประดับร่างกาย สตรีทำด้วยดีบุก เงิน และทอง รูปปูนปั้น มีหลักฐาน ทางโบราณวัตถุหลายชิ้นที่แสดงถึงการติดต่อค้าขาย กับจีนแล้ว และการที่อาณาจักรทวารวดีตั้งอยู่บริเวณ ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง และอยู่ใกล้ ทะเลทำให้มีพ่อค้าต่างชาติ เช่น อินเดีย เข้ามาติดต่อ ค้าขาย ทำให้ทวารวดีได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนแบบแผนการ ปกครองจากอินเดีย เกิดการผสมผสานจนกลายเป็น อารยธรรมทวารวด และได ีแ้พร่หลายไปยังภมูภาคิต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังปรากฏหลักฐานทั้ง โบราณสถาน โบราณวัตถุสมัยทวารวดกีระจายอยทู่ วไั่ป 65 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ สังเกตไดว่าจา ้รึกต่าง ๆ ที่พบส่วนใหญ่เปน็ อักษร ปัลลวะ (อินเดยภาคใ ี ต้) และหลังปัลลวะ ภาษาในจารึกมี ภาษาบาลีซงใช่ึจา้รึกหลักธรรมพทุธศาสนานิกายเถรวาท เช่น จารึกฐานรองพระธรรมจักร จารึกพระธรรมจักร (พบ ที่จังหวัดนครปฐม) และภาษาสนสักฤตอย่บูาง โดยใช ้ กับ้ เรอง่ื ที่เกยวข ี่ องกับกษั ้ ตริย์หรือศาสนาพราหมณ์ และการ พบจารึกภาษามอญโบราณหลายชิ้นตามชุมชนและบา้น เมืองโบราณสมัยทวารวดีทงใ้ันภาคกลางและภาคตะวัน ออกเฉยงเหีนือ จึงทำให้สนนิ ัษฐานไดว่าชุมช ้นเมืองสมัย ทวารวดีเป็นดินแดนของชนชาติมอญโบราณหรือคนที่ พูดภาษาตระกลมอญ – เขม ูร อาจจะมศีูนย์กลางที่เมือง นครปฐมโบราณ (ลุ่มแม่น้ำท่าจีนหรือนครชัยศรี) กับเมือง จารึกวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม อักษรปัลลวะ ระบุชื่อทวารวดี อทู่องและเมืองละโว (ล้พบุรี) เนองจาก่ื ที่เมืองนครปฐม น้นัมีการพบพระปฐมเจดีย์ ซ่ึงเชื่อว่าบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ เมือแ่รกสร้างมลักษ ีณะคลาย้สถูปแบบสาญจี ที่พบในอินเดย เมื ีอ่พทุธศตวรรษที่ ๓ – ๔ ต่อมาไดขยาย้ อำนาจขึ้นไปถึงเมืองหริภุญชัยหรือลำพูน และสภาพสังคม ทวารวดีน้นั อาจเปน็ เมืองขนาดต่าง ๆ ซง่ึพัฒนาขยายตัว จากสังคมครอบครัว และสังคมหม่บูา้นมาเปนส็ ังคมเมือง ที่มชุมชีนเล็ก ๆ ลอม้รอบ มหัวห ี น้าปกครอง มกาีรแบ่ง ชนชั้นทางสังคม นอกจากนี้ ยังมกาีรใชศา้สนากรอบทาง สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองต่อเมืองหรือรัฐต่อรัฐ ไม่ใช่ความสัมพนัธ์โดยการเมือง แต่โดยการคา ศา้สนา และวัฒนธรรม 66


ทั้งนี้ ในการขุดค้นทางโบราณคดีตามแหล่ง โบราณสถานสมัยทวารวดียังมีการพบเหรียญเงินตรา ศรีวัตสะ (Srivatsa) มีรูปแบบเปน็เรือนหรืออาคารจำลอง เล็ก ๆ มียอดแหลมคล้ายหน้าจั่ว ใช้ในลักษณะของ สัญลักษณ์มากกว่ารูปเหมือนจริง และเป็นสัญลักษณ์ ที่มักพบในงานศิลปกรรมที่เก ี่ ยวเนื่องในศาสนาตาม แหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดเีปน็จำนวนมาก เช่น แหล่ง โบราณคดีคอกช้างดิน เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เหรียญเงินที่พบมี สัญลักษณที่ ์หลากหลาย แต่มลักษ ีณะที่คลายคลึงกั ้นคือ มีเครื่องหมายศรีวัตสะอยู่ด้านใดด้านหนึ่งเสมอและมัก ทำจุดไข่ปลาลอมเห้ รียญดา้นใดดา้นหนง โดย ึ่สัญลักษณ์ อื่น ๆ ที่ปรากฏร่วมกับสัญลักษณ์ศรีวัตสะ ได้แก่ สังข์ สวัสดิกะ อังกุศ (ขอสับช้าง) วัชระ ปูรณกลศ (หม้อน้ำ) พระอาทิตย์ พระจันทร์ ปลา ภัทรบิฐ ความโดดเด่นของชุมชนทวารวดี คือ เรื่องการ ค้าและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละเมืองในสมัยทวารวดีล้วน มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ทวารวดีใน ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีความเด่น ชัดเรื่องวัฒนธรรมและปรากฏร่องรอยหลักฐานให้เห็น ประจักษ์ ทวารวดภาคกลางจะโดดเด่ ีนทางดา้นหลักฐาน ทางพุทธศาสนา สิ่งปลูกสร้างพุทธสถานขนาดใหญ่ ใน ขณะที่ทวารวดใีนภาคตะวันออกเฉยงเหีนือจะเห็นความ เปล ี่ ยนแปลงและการผสมผสานทางวัฒนธรรมความ เชื่ออย่างโดดเด่นโดยเริ่มต้นแนวความเชื่อแบบพุทธ ศาสนาในลัทธิเถรวาท ควบคู่ไปกับการนับถือศาสนา พราหมณ์-ฮินดูทงลั ั้ทธไศว ิ นิกาย และลัทธไวษ ิ ณพนิกาย โดยศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จะแพร่หลายในหมู่ชนชั้น ปกครอง ในระยะหลังเมื่อเขมรเข้าสู่สมัยเมืองพระนคร เศรษฐกจ ิสังคม และวัฒนธรรมทวารวดก็ีผสมผสานกับ วัฒนธรรมเขมรโบราณ วัฒนธรรมทวารวดีในที่ ราบลุ่มภาคกลาง ของประเทศไทย เมืองโบราณสมัยทวารวดใีนภาคกลางโดยทวไั่ป มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่พื้นที่ตั้งและผังเมือง ซึ่งจะ มีแผนผังไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต มีทั้งที่เป็นรูปวงกลม วงรี และเกือบเป็นสี่เหล ี่ ยมผืนผ้า ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ ตัวเมืองดา้นหนงมัก ึ่ตงอยั้ติู่ ดกับลำน้ำ มคีูน้ำและคันดิน ล้อมรอบ โดยทั่วไปมีเพียงชั้นเดียว อาจจะใช้ประโยชน์ เพื่อการป้องกันอุทกภัย การสาธารณูปโภค หรือการ ป้องกันศัตรู โบราณสถานขนาดใหญ่มักตั้งอยู่เกือบ กึ่งกลางเมือง เช่น เมืองนครปฐมโบราณ มีวัดพระประ โทน และเจดีย์จุลประโทนตั้งอยู่กึ่งกลางเมือง เมือง โบราณคูบัว จังหวัดราชบุรี มีโบราณสถานหมายเลข ๑๘ ในวัดโขลงสุวรรณคีรีตั้งอยู่กึ่งกลางเมือง เมืองใน ของเมืองโบราณศรีเทพ มีโบราณสถานเขาคลังใน ตั้ง อยู่บริเวณใจกลางเมือง ส่วนใหญ่ที่ปรากฏร่องรอยหลง เหลือในปัจจุบันจะเป็นฐานเจดีย์หรืออาคารขนาดเล็ก ก่อด้วยอิฐ ทั้งภายในและนอกเขตกำแพงเมือง ไม่พบ หลักฐานสิ่งก่อสร้างที่เป็นที่อยู่อาศัย แสดงให้เห็นว่า ชุมชนโบราณนั้นอยู่กระจายกันออกไป ไม่ได้อยู่อาศัย เฉพาะภายในเขตกำแพงเมือง 67 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ทวารวดีในภาคกลางสันนิษฐานว่าเป็นดินแดน แรกรับวัฒนธรรมอินเดยใีนดินแดนแถบนี้ ได้รับอิทธิพล ความเชือเ่รองกาื่รปกครองโดยกษัตริย์ การปกครองสมัย ทวารวดีมีความสัมพันธ์ในลักษณะเครือญาติ อาจจะ อยู่ในขั้นตอนของเมืองก่อนรัฐ (Proto-State) ในรูปของ เมืองเบ็ดเสร็จหรือเมืองที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์ในตัว เองทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความเชื่อ ศาสนา หากปรากฏอำนาจทางการเมืองในช่วงเวลานั้น อาจจะเป็นลักษณะของอำนาจเหนือเมืองบริวารหรือ ชุมชนหมู่บา้นรอบ ๆ ในพื้นที่ใกลเค้ยงเีท่านั้น เมืองใหญ่ เหล่านี้แต่ละเมืองจะมอีิสระต่อกัน และเกดขึ ิ ้นมาพร้อม ๆ กัน โดยมีความเชื่อมโยงจากการติดต่อค้าขายและรับ วัฒนธรรมจากอินเดีย โดยเฉพาะทางด้านศาสนาพุทธ รวมทั้งภาษาและรูปแบบศิลปกรรมแบบเดียวกัน แม้ว่า ในสมัยทวารวดจะมี เมืองข ีนาดใหญ่หลายเมืองแต่เมือง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและพบหลักฐานสำคัญหลายชิ้นที่ ทำให้การศึกษาวัฒนธรรมสมัยทวารวดีชัดเจนมากย ิ่ ง ขึ้น คือ เมืองนครปฐมโบราณ เมืองนครปฐมโบราณ ตั้งอยู่ทางพื้นที่ลุ่ม เจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ระหว่างแม่น้ำแม่กลองและ แม่น้ำท่าจีน โดยมีลำน้ำสายต่าง ๆ เชื่อมระหว่าง แม่น้ำทั้งสองสายและไหลไปออกทะเลอ่าวไทยทาง ทิศใต้ เป็นเมืองสำคัญที่พบหลักฐานโบราณวัตถุใน สมัยทวารวดีเป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันพัฒนาการ ของเมืองนครปฐมโบราณก็มีปัจจัยสำคัญจากสภาพ ภมูศาิสตร์และตำแหน่งที่ตงของเมือง ั้ซงเึ่ปนร็ากฐานของ การพัฒนากลายเป็นนครรัฐขนาดใหญ่นับตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้นมา ลักษณะผังเมืองเป็นการวางผังที่เกิดการพัฒนา ขึ้นจากสภาพภูมิศาสตร์ เมื่อเกิดชุมชนขนาดใหญ่จึง เกิดการขยายเมืองเป็นเมืองสี่เหล ี่ ยมผืนผ้า ตัวเมืองมี ความกวาง้ ประมาณ ๒ กโลเม ิตรและยาวประมาณ ๓.๖ กิโลเมตร ไม่มีคันดินแต่มีคลองคูเมืองล้อมรอบ มีคลอง บางแก้วไหลผ่านในเมืองและมีคลองพระประโทณ เป็นคลองกลางเมืองเชื่อมคลองเมืองทางด้านทิศ เหนือและทิศใต้เข้าด้วยกัน ส่วนนอกเมืองทางทิศ ตะวันตกเป็นที่ตั้งของกลุ่มชุมชนและโบราณสถานที่ สำคัญ คือ โบราณสถานพระปฐมเจดีย์ โบราณสถาน วัดพระเมรุ และบางส่วนที่อยู่ใกล้คลองบางแก้ว อาทิ วัดพระงาม วัดห้วยจระเข้ทางทิศใต้ของเมืองนครปฐม โบราณแต่เดมเคยมิกาี รสำรวจพบแนวคันดินขนานลงมา กับคลองขุดทางทิศใต้เรียกว่า คลองถนนขาด ตัดผ่าน คลองวังไทรหรือบางแขม ถัดลงมาจากตัวเมืองประมาณ ๑๐ กิโลเมตร พบโบราณสถานเจดีย์เนินพระ ที่ตำบล ดอนยายหอมซึ่งเป็นชุมชนขนาดเล็กอีกแห่งหนึ่ง เมื่อ พิจารณาจากตำแหน่งที่ตั้งของโบราณสถานเนินพระ แล้วพบว่าเป็นที่ดอนซึ่งต่อกับพื้นที่ราบลุ่ม สันนิษฐาน ว่าในช่วงสมัยทวารวดีพื้นที่ราบลุ่มถัดมาจากดอนยาย หอมนั้นมีสภาพเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ (swamp) ลักษณะ เป็นพื้นที่น้ำท่วมถึงไม่เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานอันเป็น ส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหล ี่ยมใหม่ (young delta) ในขณะนั้น และขอบเขตของพื้นที่สามเหล ี่ ยมดินดอน ใหม่ยังครอบคลุมพื้นที่ในเขตฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ เจ้าพระยาค่อนข้างกว้าง ดังจะเห็นว่าไม่พบหลักฐาน ใดที่บ่งบอกถึงการตงถั้ ิ่นฐานของผู้คนก่อนพทุธศตวรรษ ที่ ๑๙ ขณะเดียวกันแหล่งโบราณคดีและโบราณสถาน 68


ที่พบทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงสมัย ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยทวารวดีพบว่ามีการต้งอยั ู่ ตามขอบพ้นที่ ืดินดอนสามเหลยมใหม่ ี่ ทง้ัสิ้น เช่น โบราณ สถานดอนยายหอม มาจนถึงแหล่งโบราณคดีโคกพลับ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์) และยังติดต่อกับแนวสนทรัาย เก่าจากเมืองคบัว ( ูปัจจุบันอย่บูริเวณจังหวัดราชบุรี) เปน็ สันทรายยาวลงมาถึงเมืองเพชรบุรี ดังน้นั ด้วยสภาพ ภูมิศาสตร์ดังกล่าวจึงทำให้เมืองนครปฐมโบราณไม่ได้ ต้ังอย่อย่างโดดเดูี่ ยว แต่มีการติดต่อสัมพันธ์กับเมือง ในบริเวณใกล้เคียง เช่น กลุ่มเมืองที่ต้งอยั ่ใูนลุ่มแม่น้ำ แม่กลอง-เพชรบุรี ดวยเช่ ้นกัน เช่นใน พ.ศ. ๒๕๕๖ กรม ศิลปากรพบซากเรือโบราณ เรือพนมสุรินทร์ ที่บริเวณ บ่อกุง้ตำบลพนท้ ัายนรสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ห่างจากชายฝั่งทะเลประมาณ ๘ กโลเม ิตรและอย่ไม่ไกลู จากเมืองนครปฐมโบราณมากนัก ผลจากการขุดค้นพบว่า เปน็เรือขนาดใหญ่มความยาวี ประมาณ ๒๕ เมตร หัวเรือ หันไปทางทิศใต้ ลักษณะเปน็เรือแบบอาหรับ มไมีก้ระดกงู ู ยาว ๑๗.๖๕ เมตร เสากระโดงเรือมีสองต้น ส่วนโบราณ วัตถุที่พบจากการขุดค้นซากเรือลำนี้ เช่น ลูกมะพร้าว หมาก เมล็ดขาว งาช้าง และเขากวาง ้รวมทงเค้ัรองถ่ืวย้ จีนในสมัยราชวงศ์ถัง จึงสนนิ ัษฐานว่าเรือลำนี้น่าจะมอายุี ราวพทุธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ การพบซากเรือพนมสรินทรุ์ ช่วยให้เห็นภาพของการติดต่อการค้าจากทางทะเลของ เมืองนครปฐมโบราณไดอย่างชัดเจ ้นขึ้น สอดรับกับหลัก ฐานทางโบราณวัตถุที่ค้นพบในเขตเมืองนครปฐมโบราณ เช่น ลกูปัดแกว เค้รองเคลือบจ่ื ีนสมัยราชวงศ์ถัง รวมถึง ตราดินเผารูปเรือและอฐิที่มลายคลี ายใบห ้ น้าบุคคลแบบ มุสลิม เป็นภาพสะท้อนให้เห็นถึงการติดต่อค้าขายผ่าน ทางเรือระหว่างภมูภาค จากเมือง ิทางตะวันตก (อาหรับ) กับ เมืองนครปฐม เปนต้น ็ ปูนปั้นรูปนักดนตรีสตรี สมัยทวารวดี 69 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ผลจากการเป็นเมืองท่าโบราณที่ตั้งอยู่ใน ภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมเอื้อต่อการเติบโตของบ้านเมือง ทำให้เมืองนครปฐมโบราณมีโบราณวัตถุสถานจำนวน มาก ที่สำคัญ คือ เจดีย์ในผังสี่เหล ี่ยมยกเก็จ โบราณ วัตถุในศาสนาพราหมณ์ฮินด โบูราณวัตถุในศาสนาพทุธ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของบ้านเมืองที่มีการ แลกเปล ี่ ยนทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ขณะเดียวกัน ก็สะท้อนให้เห็นถึงทรัพยากรและกำลังแรงงานในการ สร้างโบราณสถานและโบราณวัตถุดังกล่าวด้วย จารึกสำคัญที่ค้นพบใหม่ที่วัดพระงาม จังหวัด นครปฐม เมือ ่พ.ศ.๒๕๖๓ เปน็จารึกที่มความีสมบูรณ์มาก ที่สุดหลักหนึ่ง ปรากฏข้อความเรื่องราวในสมัยทวารวดี มากที่สุด มีความชัดเจนงดงามของรูปอักษรนับตั้งแต่ มีการขุดศึกษาแหล่งโบราณคดีสมัยวัฒนธรรมทวารวดี จารึกหลักนี้จารึกด้วยอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ๖ บรรทัดกำหนดอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เนื้อหากล่าวสรรเสริญพระราชาผู้มีความสามารถที่ทรง ไดชัยช ้นะในสงคราม นำความเจริญมาสู่วงศ์ตระกลและู บ้านเมือง มีเมืองทิมิริงคะ เมืองหัสตินาปุระ และเมือง ทวารวดี เป็นเมืองที่ย ิ่งใหญ่ มีชื่อเสียงรู้จักกันทั่วไป ทั้ง ได้ถวายสิ่งของไว้กับพระศิวะ ได้แก่ ต้นมะม่วงทอง ๓๐ ต้น แม่โค ๔๐๐ ตัว และลูกนกคุ่ม ๑๕๖ ตัว จารึก บางส่วนที่สามารถอ่านได้อย่างชัดเจน ได้กล่าวถึงคำว่า “ทวารวตีวิภูติ” แปลความได้ว่า “ผู้ย ิ่งใหญ่แห่งทวารวดี” จึงเป็นการยืนยันถึงการมีตัวตนของบ้านเมืองนาม “ทวารวดี” อีกด้วย ทั้งยังมีการพบจารึก เย ธมฺมาฯ หลายแห่ง ในเมืองนครปฐมโบราณ ซึ่งจารึกด้วยอักษรปัลลวะ คำจารึกเหล่านี้เป็นคาถาว่า เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุง ตถาคโต อาห เต สญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ แปลว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตได้ แสดงเหตุและทางดับของธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะ มีวาทะเช่นนั้นเสมอ คาถา เย ธมฺมานี้ไม่ใช่เป็นพุทธ วจนะ หากแต่เป็นคำแสดงธรรมของพระอัสสชิที่แสดง แก่พระสารีบุตรขณะที่ยังเป็นพราหมณ์ โบราณวัตถุสถานล้วนแสดงให้เห็นว่านครปฐม เป็นเมืองท่าที่มีการแลกเปล ี่ ยนทางการค้าทั้งกับชุมชน โดยรอบและชุมชนทางไกล ก่อให้เกิดรูปแบบความ สัมพันธ์ที่เป็นเครือข่ายระหว่างชุมชน โดยมีเมือง นครปฐมโบราณเป็นเมืองหลักสำคัญ ในการติดต่อแลก เปล ี่ ยนทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมกับชุมชนโดยรอบ และชุมชนทางไกล จึงอาจกล่าวได้ว่าเมืองนครปฐม โบราณเป็นศูนย์กลางในกลุ่มเมืองทางฝั่งตะวันตกของ ลุ่มน้ำเจ้าพระยา อย่างไรก็ตามความเป็นศูนย์กลาง เครือข่ายโดยมีเมืองนครปฐมโบราณเป็นศูนย์กลางนั้น ก็ไม่ใช่การมีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองปกครอง ชุมชนโดยรอบ แต่เป็นความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม ขณะเดียวกันพัฒนาการของบ้านเมืองใน ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ก็ไม่ได้มีเพียงเมืองนครปฐม โบราณเท่านั้น ทางตอนใต้ในเขตบริเวณคาบสมุทรมลายู ก็มีพัฒนาการของบ้านเมืองที่มีสถานะรวมกลุ่มเมือง ท่าด้วยเช่นกัน เช่น ศรีวิชัย ที่มีพัฒนาการในช่วงพุทธ 70


ศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้นมา และน่าจะมีความสัมพันธ์ ทางการค้ากับทวารวดีที่มีเมืองนครปฐมโบราณเป็น ศูนย์กลางด้วยเช่นกัน วัฒนธรรมทวารวดี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “วัฒนธรรมทวารวดี” ในภาคอีสาน หมายถึง ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมพุทธเถรวาท ซึ่งแผ่จาก ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาไปยังภาคเหนือและภาคอีสาน เพราะมีหลักฐานด้านโบราณคดียืนยันลักษณะร่วมทาง วัฒนธรรม ดังนั้นคำว่า “ทวารวดี” จึงเป็นเพียงการ อ้างอิงถึงปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมซึ่งไม่อาจไปผูก ติดกับรัฐ/อาณาจักรทวารวด หีรือไม่เกยวข ี่ องกับอ ้ ำนาจ ทางการเมือง เพราะชุมชนหรือบ้านเมืองโบราณต่าง ๆ อาจมีความเป็นอิสระทางการเมืองหรือแม้กระทั่งได้รับ อิทธิพลจากภายนอกโดยตรงได้เช่นกัน นักวิชาการที่ศึกษา “ทวารวดีในอีสาน” ระบุว่า เมื่อกล่าวถึง “ทวารวดีภาคอีสาน” โดยทั่วไปหมายถึง ศิลปะและวัฒนธรรมกลุ่มหนึ่งที่พบในภาคตะวันออก เฉยงเหีนือ ซงมึ่อายุีระหว่างราวพทุธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย มีรูปแบบและคติความเชื่อ ละม้ายคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทวารวดีภาคกลางและ มความแีตกต่างไปจากวัฒนธรรมเขมรที่แผ่ขยายอำนาจ ทางการเมืองและทางวัฒนธรรมอยู่ในภาคอีสานสมัย นั้น ดังนั้นจึงพอกล่าวไดว่าใ ้นขณะที่วัฒนธรรมทวารวดี รุ่งเรืองอยู่ในภาคกลาง ในภาคอีสานเองก็มีเมืองที่มี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกันรุ่งเรืองอยู่ด้วยเช่นกัน ในภาคอีสานมเมืองโบ ีราณในวัฒนธรรมทวารวดี หลายเมือง แสดงให้เห็นว่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒- ๑๖ หลายพื้นที่ในภาคอีสานมีความรุ่งเรืองไม่ต่างจาก ภาคอื่น ๆ ตัวอย่างเมืองโบราณดังกล่าว จำแนกตาม ลุ่มแม่น้ำสามารถแบ่งได้ดังนี้ เมืองโบราณในลุ่มน้ำมลูตอนต้น เช่น เมืองเสมา จังหวัดนครราชสีมา เมืองฝ้าย จังหวัดบุรีรัมย์ เมืองโบราณในลุ่มแม่น้ำมลูตอนปลาย คาบเกยว ี่ กับลุ่มน้ำชีตอนปลาย เช่น เมืองดงเมืองเตย จังหวัด ยโสธร เมืองโบราณบ้านตาดทอง จังหวัดยโสธร เมืองโบราณในลุ่มน้ำชี บริเวณนี้ปรากฏ หลักฐานการกระจายตัวของเมืองในวัฒนธรรมทวารวดี หนาแน่นที่สุด มีเมืองขนาดใหญ่หลายเมือง เช่น เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ เมืองกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และเมืองนครจำปาศรี จังหวัด มหาสารคาม เมืองโบราณในลุ่มน้ำโขง เช่น ภูพระบาท จังหวัด อุดรธานี เมืองเสมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเมือง ขนาดใหญ่ มีคูน้ำและคันดินแบ่งพื้นที่เมืองเป็น ๒ ส่วน รูปร่างของคูน้ำและคันดินไม่สม่ำเสมอ มีเส้นผ่า ศูนย์กลางตามแนวเหนือ-ใต้ประมาณ ๑,๗๕๕ เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตกประมาณ ๑,๘๔๕ เมตร หลักฐานวัฒนธรรมทวารวดีที่สำคัญ คือ พระพุทธ ไสยาสน์ และธรรมจักรจากวัดธรรมจักรเสมาราม นอกจากนี้ยังพบหินตงหั้รือใบเสมากระจายตัวทงภายใ ั้น และภายนอกกำแพงเมือง ศาสนสถานก่ออิฐทั้งเจดีย์ และวิหาร เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม ทวารวดีภาคกลาง 71 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็น เมืองที่มีตั้งถิ่นฐานสืบเนื่องตั้งแต่สมัยเหล็ก และมี ประวัติศาสตรร์่วมสมัยกับวัฒนธรรมทวารวด เีปน็ เมือง ที่มีความยาวประมาณ ๑,๘๐๐ เมตร กว้างประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร โบราณสถานในวัฒนธรรมทวารวดีทั้งที่ เป็นสถูปเจดีย์ อาคารหลังคาคลุม จำนวนสิบกว่าแห่ง กระจายอยทู่ งใั้นเมืองและนอกเมือง รวมทงมั้ศาีสนวัตถุ ในพทุธศาสนาที่คลายกับภาคกลาง อ ้กีทงมั้กาี รสร้างใบ เสมาจำนวนมาก เมืองนครจำ ปาศรี จังหวัดมหาสารคาม ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต้ ประมาณ ๒,๗๐๐ เมตร กว้างประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร มีผู้คนอาศัยตั้งแต่ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ โดดเด่นเรื่องพระพิมพ์ การ ขุดค้นทางโบราณคดีที่ศาสนสถานนอกเมืองทางตะวันตก เฉียงใต้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๒ พบพระพิมพ์จำนวนมาก หลากหลายพิมพ์ และพบว่าเป็นพระพิมพ์สกุลช่าง ท้องถิ่นที่เก ี่ ยวข้องกับศิลปะทวารวดีภาคกลาง เช่น การพบพระพิมพ์เล่าเรื่องพุทธประวัติตอนแสดงยมก ปาฏิหาริย์ปราบเหล่าเดียรถีย์โดยมีต้นมะม่วงเป็นองค์ ประกอบสำคัญ ทว่าอีกหลายพิมพ์ไม่เคยค้นพบที่ใดมา ก่อน เป็นการแสดงให้เห็นว่าถึงแม้จะได้รับอิทธิพลทาง วัฒนธรรมบางประการจากภาคกลาง แต่ท้องถิ่นก็ได้ สร้างภาพพิมพ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง วัฒนธรรมทวารวดีในอีสานมีทั้งที่เหมือนกับ ภาคกลางและที่มีลักษณะเฉพาะท้องถิ่น อย่างไรก็ดี เนองจากภาคอื่ีสานได้รับวัฒนธรรมจากเขมรในเวลาใกล้ เคยงกับกา ีรรับวัฒนธรรมทวารวด ดัง ีนั้น ในเมืองโบราณ ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้นจึงมีร่อยรอยวัฒนธรรมเขมร โบราณปะปนกับวัฒนธรรมทวารวดดีวย ้นับเปน็ ลักษณะ พิเศษของชุมชนโบราณในอีสานโดยเฉพาะ อย่างเมือง เสมา นอกจากศาสนสถานกลางเมืองซึ่งเรียกว่าโบราณ สถานหมายเลข ๑ ที่สร้างเนื่องในศาสนาพราหมณ์แล้ว ยังพบจารึกในวัฒนธรรมเขมรโบราณที่เก ี่ยวกับเมือง เสมา ๔ หลัก โดยพบที่พระนครศรีอยุธยา ๑ หลัก และ ที่เมืองเสมา ๓ หลัก อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ จารึกเหล่านี้กล่าวถึง “ศรีจนาศะ” หรือ “จนาศะปุระ” ที่ปัจจุบันก็ยังมีการถกเถียงกันว่าอยู่ที่ใด ทั้งแนวคิด ที่เสนอว่า คือเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ อย่างไร ก็ตามนักวิชาการหลายคน เชื่อว่าศรีจนาศะเป็นชื่อ เดิมของเมืองเสมาและระบุว่าจากการขุดค้นชั้นดินทาง โบราณคดีบริเวณเมืองเสมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ พบว่า มีชุมชนเข้ามาอยู่อาศัยบริเวณเมืองเสมาตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ ๑๐-๑๑ เรื่อยมาจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ชุมชนโบราณแห่งนี้มีพัฒนาการทางวัฒนธรรม ต่อเนื่องมาจากวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอน ปลาย (สมัยเหล็ก) ที่มีการติดต่อแลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรม กับชุมชนโบราณแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแถบลุ่ม แม่น้ำลพบุรี-ป่าสักมาโดยตลอด ทำให้พุทธศาสนา ในวัฒนธรรมทวารวดีแพร่เข้ามาในบริเวณนี้และเมื่อ วัฒนธรรมเขมรแพร่เข้ามาในภาคอีสานก็คงเข้ามา ถึงเมืองเสมาด้วย ในระหว่างนี้ก็คงมีการผสมผสาน วัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมรเข้าด้วยกันและ ในที่สุดวัฒนธรรมเขมรก็กลายเป็นวัฒนธรรมที่มีความ สำคัญที่สุดในชุมชนโบราณแห่งนี้ 72


73 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


ลักษณะเมืองในวัฒนธรรมทวารวดีในภาค อีสานคล้ายคลึงกับเมืองในวัฒนธรรมเขมรสมัยก่อน เมืองพระนคร คือ ตั้งชุมชนบนโคกที่น้ำท่วมไม่ถึง หลายเมือง ทำกำแพงเมืองเป็นคูน้ำและคันดินล้อม รอบ รูปทรงกำแพงเมืองไม่สม่ำเสมอหรือไม่ได้อยู่ใน ทรงเรขาคณิต แม้เรื่องราวทวารวดีในอีสานมีหลักฐาน ไม่มาก แต่ประเด็นที่น่าสนใจประการหนึ่ง คือการกล่าว ถึงชนชั้นปกครอง เช่น พระพทุธรูปจากวัดจันทึก อำเภอ ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา บนฐานบัวจารึกเป็น ภาษาสันสกฤตด้วยอักษรปัลลวะ รูปอักษรคล้ายที่พบ ในภาคกลางราวพทุธศตวรรษที่ ๑๒ เนอความแื้ปลไดว่า ้ “พระเทวี (มเหสี) ของเจ้าแห่งทวารวดีทรงบัญชาให้ พระธดาิ สร้างพระพทุธรูปของพระตถาคตนี้ไว” ห้รือพระ พิมพ์ที่พบในเมืองจำปาศรี จังหวัดมหาสารคาม องค์ หนึ่งปรากฏคำว่า “พระจักรพรรดิ” อีกหลายองค์ระบุ ถึง “กอมระตาญง” หรือ “กํมรเตง” ซึ่งเป็นคำนำหน้า กษัตริย์ การปรากฏจารึกเช่นนี้สะท้อนให้เห็นว่าเมือง ในวัฒนธรรมทวารวดใีนอีสานมกษั ี ตริย์มชีนชั้นปกครอง รวมทงแั้สดงใหเห็ ้นการรับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรเขามา้ ปะปนด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่ทำใหม้กาีรแพร่กระจายวัฒนธรรมทวารวดี ในอีสานนั้นน่าจะเกิดจากการเผยแผ่ศาสนาตลอดจน การค้าขายแลกเปล ี่ ยนเป็นสำคัญ เนื่องจากในปัจจุบัน ยังไม่มหลักฐา ีนว่าบา้นเมืองที่ปรากฏร่องรอยวัฒนธรรม ทวารวดอยีู่ภายใต้ระบบการปกครองของอาณาจักรหรือ รัฐที่มศีูนย์อำนาจเดยว และแีต่ละภมูภาคก็ม ิ เอกลักษ ีณ์ เฉพาะทางวัฒนธรรมของตนเอง ช่วงที่วัฒนธรรมทวารวดีกระจายตัวในภาค อีสานเป็นเวลาเดียวกับที่วัฒนธรรมเขมรเข้ามาด้วย ดังนั้นชุมชนหลายแห่งจึงมีร่องรอยของการผสมผสาน ระหว่างสองวัฒนธรรม ในเขตภาคกลางของประเทศไทย วัฒนธรรมเขมร เริ่มปรากฏใหเห็ ้นอย่างน้อยในช่วงพทุธ ศตวรรษที่ ๑๕ หลักฐานที่แสดงใหเห็ ้นถึงอำนาจทางการ เมืองของกษัตริย์เขมรโบราณ ปรากฏชัดเจนที่เมือง ลพบุรีนั้นมีอายุในรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ (พ.ศ. ๑๕๔๕-๑๕๙๓) หรือราวครงหลังของ ึ่พทุธศตวรรษที่ ๑๖ ในสมัยเขมรเมืองพระนคร แต่ในภาคอีสานโดยเฉพาะ อีสานใต้นั้น ธิดา สาระยา เห็นว่าเป็นพื้นที่ที่มีร่องรอย วัฒนธรรมเขมรมาตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนครหรือ ตั้งแต่สมัยเจนละแล้ว เจนละ เปน็ชืออา่ณาจักรโบราณที่จดหมายเหตุ จีนระบุว่า พัฒนาขึ้นในแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๔ คติความเชือ่ ที่โดดเด่น คือ การบชาูพระ ศวะ ินับถือวัตถุรูปเคารพ เช่น โคนนทิ ศวลึงค์ หลักฐา ิน ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่กล่าวถึงเจนละที่เก่าที่สุด คือ เอกสารประวัติศาสตร์ราชวงศ์สุยของจีน โดยว่าเจนละ เป็นอาณาจักรอย่ทูางตะวันตกเฉียงใต้ของหลินอ (จาม ี้ ปา หรือบริเวณเวยดีนามใต้ในปัจจุบัน) เดมิทีเจนละเปน็ เมืองขึ้นของฟูนนันักวชากาิรเชือกั่นว่าในระยะแรกเจน ละเปน็อาณาจักรที่มเอกภาีพทางการเมือง แต่ภายหลัง แยกเปน็ ๒ ส่วน คือ เจนละบก และเจนละน้ำ ศาสตรา จารย์ยอร์ช เซเดส์ เห็นว่า เจนละบกอย่แถบลุ่ม ูน้ำโขงตอน กลางมเศีรษฐปรุะเปน็ศูนย์กลาง เจนละน้ำอยทู่างใต้ใกล้ 75 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ทะเลสาบใหญ่ ทะเลโอบลอมเ้ ปน็ดินแดนลุ่มหนองคลอง บึง พ้นที่ ืบริเวณนี้เกดเมืองเล็กเมือง ิ น้อยขึ้นมากมาย จน กระทง่ัพระเจาชัยว ้รมันที่ ๒ สถาปนาลัทธเิทวราชา รวม บ้านเมืองแถบนี้เข้าด้วยกันเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ จึงถือกันว่ายุคนี้เปน็การรวมเจนละบกและเจนละน้ำเขา้ ด้วยกัน นำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของอาณาจักรขอม หรืออาณาจักรเมืองพระนครในสมัยต่อมา แมเจ้นละคือ ต้นทางประวัติศาสตร์เขมร (เมืองพระนคร) แตน่ ักวชากาิร บางคนก็เสนอแนวคิดว่าจุดกำเนิดของประวัติศาสตร์ อยที่ ู่ภาคอีสาน บริเวณปลายลุ่มแม่น้ำมล-ชูีปัจจุบันเรียก ว่า บา้นเมืองเตย บา้นบึงแก บา้นเปือยหัวดง บา้นโพน เมือง และที่อื่น ๆ ในเขตจังหวัดยโสธรและอุบลราชธานี เฉพาะที่บ้านเมืองเตย ซ่งึพบว่ามีร่องรอยหลักฐานทาง โบราณและจารึกของพระเจ้าจิตรเสนอย่หูนาแน่นเป็น พิเศษ เปน็การยืนยันว่าที่นี่คือภมูลิำเนาเดมของกษั ิ ตริย์ (เจนละ) แห่งสกุล “เสนะ” กษัตริย์องค์สำคัญในสายสกุล เสนะ คือ พระเจ้าจิตรเสน หรืออีกพระนามหน่ง คือ ึ มเหนทรวรมัน ซ่งเึ ป็นพระนามที่ได้มาเมื่อทรงขึ้นครอง ราชย์เปน็ กษัตริย์แห่งแคว้นเจนละแลว ดัง ้น้นั ลุ่มแม่น้ำ มลแถบอุบล ูราชธานี ยโสธร จึงเปน็ฐานอำนาจระยะแรก หรือศูนย์กลางการขยายตัวของกษัตริย์ในสายสกุลเสนะ เมือ่พิจารณาทำเลที่ตงจะเห็้ันไดว่าถ ้ ิ่นกำเนิดของ เจนละอย่ใูนแอ่งโคราชที่มชุมชีนหม่บูา้นเก่าแก่ไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปีมาแลว และชุมช้นดังกล่าวจะหนาแนน่อยรู่อบ ๆ ทุ่งกุลาร้องไห้ซงเ่ึ ปน็เขตที่สำรวจพบว่ามเหล็กและเกลือ ี อย่เูปน็จำนานมาก การมีทรพัยากรธรรมชาติ เช่น เหล็ก และเกลือนี้น่าจะเป็นแรงดึงดูดให้ผู้คนอพยพเข้ามาต้ัง ถิ่นฐาน จนกระทง่ัทำให้ผู้คนในบริเวณนี้กระจายออกไป ถึงเขตอุบลราชธานีและยโสธร แลวก่อ ้ รูปร่างขึ้นเปน็บา้น เมืองมีตระกูลเสนะเป็นผู้นำ ต่อมาจิตรเสนผู้เป็นนักรบ ของตระกูลเสนะออกปราบชุมชนบ้านเมืองในละแวกนี้ ไวใ้นอำนาจ จนขยับขยายเปน็แว่นแคว้นขนาดเล็ก ธดา ิ สาระยาเห็นว่า จิตรเสนรวบรวมอำนาจท้องถิ่นในพ้นที่ ื อีสานก่อน แลวขยายออกจาก้ ปากแม่น้ำมลไูปสองฟาก แม่น้ำโขง จนถึงเศรษฐปรุะ (เศรษฐปรุะ มีปราสาทวัดภูที่ แขวงจำปาศักด์ เิปน็ศาสนสถานสำคัญ) อาณาจักรเจนละ จึงเกิดขึ้นจากการรวมตัวของแคว้นเศรษฐปุระและแว่น แคว้นของจิตรเสน เมือ่ตกลงกับเศรษฐปรุะไดแล้ว จ้ ิตรเสน ก็แผ่อิทธิพลจากภาคอีสานไปภาคตะวันออกของ ประเทศไทย จนถึงอรัญประเทศและคงเริ่มแผ่อิทธิพลเขา้สู่ ขอบทะเลสาบเขมรซงเ่ึ ปนส็ ่วนหนงของแม่่ึ น้ำโขงตอนล่าง โอรสของพระเจาจ้ ิตรเสน คือ อศาีนวรมัน สาน ต่อนโยบายขยายอาณาเขตลงสู่แม่น้ำโขงตอนล่างบริเวณ รอบทะเลสาบพร้อมกับเขามาถึงเข ้ตจันทบุรีดวย หลังจาก ้ น้นตัง้ัราชธานีนามว่า อศาี นปรุะ ในดินแดนเขมรที่สมโพร์ ไพรกุกทางทิศเหนือของเมืองกำพงธม แมหลัง ้รัชกาลพระเจา้ อศาีนวรมัน เจนละจะแตกแยกเปน็เจนละบกและเจนละ น้ำ แต่ในราว พ.ศ. ๑๓๓๓ เมือ่พระเจาชัยว ้รมันที่ ๒ ขึ้น เปน็ กษัตริย์เจนละน้ำ พระองค์ก็ทรงสร้างความเขมแข็งให ้ ้ แก่อาณาจักร และยายเมือง ้ สำคัญไปอย่บูริเวณทะเลสาบ เขมร และทำให้ผู้คนรวมเปน็ชนชาติเดยวกั ีน คือ ชาวกัมพู ในดินแดนกัมพุชเทศ ซง่ึรู้จักกันต่อมาคือ อาณาจักรกัมพูชา สรุปได้ว่าการรวมเป็นเจนละครอบคลุมอาณาบริเวณ อันกว้างขวางและกินเวลานานที่จะรวมชนกลุ่มต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นชนชาติหรือชาวกัมพู เจนละ คือ ต้น ประวัติศาสตร์กัมพูชาเทศะที่จะนำไปสู่การสร้างอาณาจักร 76


เมืองพระนครในบริเวณลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง เจนละที่ เกดขึ ิ ้นในอีสานประเทศ ก็คือประวัติศาสตรส์ ่วนหนงของ่ึ อีสาน และเป็นต้นประวัติศาสตร์ของชาวเขมรท้งมวลั ที่ รวมกันเปน็อาณาจักรเขมรแห่งเมืองพระนคร แม้เจนละจะต้ังต้นในภาคอีสานและขยาย ศูนย์กลางออกไปสู่บริเวณทะเลสาบเขมร แต่หลังยุคเจนละ บ้านเมืองในอีสานก็ยังคงมีความสัมพันธ์กับอาณาจักร เขมรพ้นที่ ือีสานโดยเฉพาะบริเวณลุ่มน้ำมูลอย่ภายใูต้ อิทธิพลเขมร ดังปรากฏหลักฐานปราสาทหินที่สำคัญ เช่น ปราสาทหินเขาพนมร้ง จังหวัดบุ ุรีรัมย์ ปราสาทหินเขา พระวหาิร จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทหินพิมาย จังหวัด นครราชสีมา อย่างไรก็ดีนักวชากาิรมองว่าบา้นเมืองในเขต ลุ่มน้ำมล โดยเฉูพาะบริเวณพิมาย พนมรง มุ้ความีสัมพนัธ์ กับเขมรในลักษณะ “เครือญาติ” ที่ยอมรับเดชานุภาพ ของกษัตริย์เขมรดวย ้ ทง้ันี้ เชือว่า่ปราสาทหินพิมายที่มอายุอยี ่ใูนกลาง พทุธศตวรรษที่ ๑๗ อาจเปน็ศูนย์กลางของแคว้นมหธิรปรุะ ซงศ่ึูนย์กลางการปกครองน่าจะอย่บูริเวณพิมาย พนมรง ุ้ โดยแคว้นนี้ มีความเกยวข ี่ ้องกับพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ (พ.ศ. ๑๖๕๖-๑๖๙๓) ผู้ทรงสร้างปราสาทนครวัด กล่าว คือ พระเจ้ากษิตินทราทิตย์ พระราชบิดาของพระเจ้า สริุยวรมันที่ ๒ เปนพร็ะราชนัดดาของพระราชาหิรณัยวรมัน แห่งแคว้นมหธิรปรุะ นอกจากนี้ยังมเคีรือญาติในราชวงศ์ มหธิรปรุะไดเ้สวยราชย์ในเขมรอก ๒ ีพระองค์ คือ พระเจา้ ธรณินทรวรมันที่ ๒ (พ.ศ. ๑๖๙๓-๑๗๒๔) และพระเจา้ ชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔-๑๗๖๒) ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ ดินแดนในลุ่ม แม่น้ำมูลตอนใต้อำนาจทางการเมืองของพระองค์ เพราะศาสนสถานหลายแห่งในภาคอีสานมลักษ ีณะทาง ศิลปะและสถาปัตยกรรมร่วมสมัยกับศิลปะแบบนครวัด อย่างไรก็ดี ได้มีการตั้งข้อสังเกตจากศาสตราจารย์ฌอง บัวเซอร์ลิเย่ร์ (Jean Boisselier) ว่ารูปทรงส่วนยอดของ ปราสาทหินพิมายเปนต้น ็ แบบใหกับ้ ปราสาทนครวัดดวย ้ นอกจากนี้ การศึกษาภาพสลักที่ปราสาทหินพิมายพบ ว่ามีแรงบันดาลใจจากพุทธศาสนามหายาน นิกายวัชร ยาน และมีการผสมผสานกับคติในศาสนาฮินดู และ อาจให้อิทธิพลแก่พุทธศาสนามหายานที่เมืองพระนคร ไม่มากก็น้อย หลังสมัยพระเจา้สริุยวรมันที่ ๒ บา้นเมืองในภาค อีสานมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอาณาจักรเขมรอีกครั้ง หนงใึ่นสมัยพระเจาชัยว ้รมันที่ ๗ พระองค์ทรงมเชื ีอ้สาย จากราชวงศ์มหธิรปรุะ พระองค์ทรงสถาปนาพทุธศาสน สถานเป็นจำนวนมากทั่วพระราชอาณาจักร พร้อมกับ การสร้างเมืองนครธมเปน็ศูนย์กลางแห่งใหม่ นอกจากนี้ ยังวางรากฐานด้านคมนาคม สาธารณสุข ด้วยการสร้าง “ธรรมศาลา” หรือที่พักคนเดินทาง ๑๒๑ แห่ง ตามเส้น ทางโบราณจากศูนย์กลางเมืองพระนครไปยังเมืองโดย รอบ และ “อโรคยศาล” อีก ๑๐๒ แห่ง ตามเมืองต่าง ๆ ทั่วพระราชอาณาจักร ที่น่าสนใจคือในภาคอีสานได้ พบอโรคยศาลจำนวนกว่า ๓๐ แห่ง โดยอโรคยศาลที่ พิมายมีขนาดใหญ่รองจากอโรคยศาลในเมืองพระนคร ซึ่งเป็นการแสดงถึงความสำคัญของเมืองพิมายในเวลา นั้น ส่วนธรรมศาลาที่ถูกสร้างขึ้นตามเส้นทางจากเมือง พระนครไปยังเมืองสำคัญก็ปรากฏว่าหนึ่งในเมืองเหล่า นั้น คือ เมืองพิมาย ในจังหวัดนครราชสีมาปัจจุบัน 77 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เมืองพิมาย หรือ วิมายปุระ ตามที่ปรากฏชื่อ ในจารึกเขมรหลายหลัก เป็นบริเวณที่มีการตั้งถิ่นฐาน เป็นบ้านเมืองตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จากการ สำรวจทางโบราณคดีพบวัฒนธรรมยุคหินใหม่จนถึงยุค เหล็กกระจายอยู่ทั่วไปในเขตจังหวัดนครราชสีมา และ ยังพบกลุ่มเครื่องปั้นดินเผาที่ผลิตจากดินสีเข้ม “พิมาย ดำ” สมัยยุคเหล็กตอนปลายต่อเนื่องจนถึงสมัยทวาร วดี ขณะที่ “ทุ่งสัมฤทธิ์” ก็เป็นแหล่งทรัพยากรเกลือและ เหล็กที่มีความสำคัญ ด้วยทรัพยากรธรรมชาติพื้นที่มี ความอุดมสมบูรณ์ เนองจากื่ตงอยัู้่ในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้ำ มูลตอนบน ทำให้เมืองพิมายเป็นชุมชนที่มีศักยภาพ ประกอบกับทำเลที่ตั้งสามารถติดต่อกับบ้านเมืองใน ดินแดนภาคกลางได้ เป็นสาเหตุสำคัญที่บ้านเมืองแถบ นี้มีการขยายตัว และเจริญตั้งแต่ก่อนได้อิทธิพลเขมร เมื่อได้อิทธิพลเขมรเข้ามาจึงน่าจะทำให้มีความเติบโต อย่างต่อเนื่อง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ดินแดนพิมายพนมรง เุ้ปน็ศูนย์กลางการปกครองของราชวงศ์มหธิรปรุะ จากจารึกที่กรอบซุ้มประตูระเบียงคด พ.ศ. ๑๖๕๑ ที่ ปราสาทหินพิมาย แสดงใหเห็ ้นความสำคัญของเมืองใน ฐานะศูนย์กลางพทุธศาสนามหายาน มกาี รประดษฐาิน “พระสุคตวิมายะ” หรือพระพุทธรูปนาคปรก ซึ่งเป็น พระพุทธรูปสำคัญของเมืองที่ปราสาทประธาน และ จารึกในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ยังได้กล่าวถึงการสร้าง รูป “กมรเตงเสนาบดีไตรโลกยวิชัย” ขึ้นเพื่อถวายแด่ พระพุทธเจ้าที่เมืองพิมายแห่งนี้ด้วย ในสมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ ๗ จารึกปราสาทพระขรรค์ก็ได้กล่าวถึง พระพุทธรูปแห่งเมืองพิมาย ซึ่งเป็นหนึ่งในจำนวนรูป เคารพที่ต้องมีการเฉลิมฉลองที่ปราสาทพระขรรค์ทุกปี นอกจากนี้ยังพบศิลปกรรมสมัยบายนทั่วไปแถบเมือง พิมาย นอกเหนือไปจากอโรคยศาลดังกล่าวแล้วข้าง ต้น ดังนั้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เมืองพิมายจึงมี การติดต่อสัมพันธ์กับเมืองนครธมอย่างใกล้ชิด โดย อาจเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรเขมร ในลักษณะของ การเป็นเมืองชั้นรอง รวมทั้งอาจมีความสัมพันธ์ทาง ด้านเครือญาติกันด้วย โดยพบพระนามกษัตริย์เขมรใน ราชวงศ์มหิธรปุระ จากจารึกหลายหลักทั้งที่เมืองพิมาย และพนมรุ้ง ปัจจัยที่ทำใหเมือง ้ พิมายมความี สำคัญอย่างต่อ เนองื่นอกเหนือจากความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ดังกล่าว มาแลวข้าง้ ต้นยังมาจากทำเลที่ตงของเมือง ั้ ที่สะดวกกับ การติดต่อกับเมืองโบราณในภาคกลางโดยอาจสัมพันธ์ กับเส้นทางการคาโบ ้ราณ และการเขามาของวัฒ ้นธรรม จากโพ้นทะเลโดยผ่านเมืองละโว้ไปยังแม่น้ำป่าสัก ข้าม เทือกเขาดงพญาเย็น ผ่านเมืองพิมาย ผ่านเขตบุรีรัมย์ สุรินทร์ และข้ามเทือกเขาพนมดงเร็ก เข้าสู่ที่ราบเขมร ต่ำ และศูนย์กลางอาณาจักรเขมร เส้นทางดังกล่าวนี้ ใช้มานานก่อนสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จากการพบ ศลิปกรรมในสมัยต่าง ๆ ตามเส้นทาง แต่มาเห็นชัดมาก ย ิ่งขึ้นเมื่อทรงสร้างระบบอโรคยศาลและธรรมศาลาขึ้น ครั้งหลังรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ อิทธิพลทางการ เมืองและวัฒนธรรมของเขมรโบราณก็ค่อย ๆ เสื่อมลง และสลายตัวลงไป 78


ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 79 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 80


กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่าหลักฐานทาง โบราณคดีที่พบไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมหรือ ประติมากรรมลว้นแลวแ้ต่แสดงความเจริญกาวห้ น้าทาง เทคโนโลยี และศิลปกรรม เช่น เทคนิคตัดศิลาแลง การ สกัดหิน การทำประติมากรรม การหล่อสำริด การหลอม แก้ว และเศรษฐกิจของชุมชนทวารวดีคงจะมีพื้นฐาน ทางการเกษตรกรรม มีการค้าขายแลกเปล ี่ ยนระหว่าง เมือง หรือการค้าขายแลกเปล ี่ ยนกับชุนชนภายนอก ทั้งนี้ ยังเห็นพัฒนาการทางเทคโนโลยีอันก้าวหน้าจาก การจัดระบบชลประทานทงภายใ ั้นและภายนอกเมือง มี การขุดคลอง สระน้ำ การทำคันบังคับน้ำหรือทำนบ ซึ่ง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้ถ่ายทอดสู่ชนรุ่นหลังในสมัยลพบุรี และสมัยสุโขทัย ดา้นการคมนาคมในสมัยทวารวด มีกาีร สัญจรทั้งทางน้ำและทางบก นอกเหนือจากการติดต่อ กับชาวเรือที่เดินทางค้าขายแล้ว ยังปรากฏร่องรอยของ คันดินซึ่งสันนิษฐานว่าอาจเป็นถนนเชื่อมระหว่างเมือง ทำให้หลักฐานโบราณสถานโบราณวัตถุที่พบจำนวน มากล้วนมีลักษณะฝีมือทางศิลปกรรมที่คล้ายคลึงกัน ทุกแหล่งในทุกภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นงานประติมากรรม ที่ส่วนใหญ่เปนพร็ะพทุธรูป พระพิมพ์ ธรรมจักร ใบเสมา ภาพปูนปั้นและภาพดินเผาประดับที่มีลักษณะเฉพาะ หรือ งานสถาปัตยกรรม ทั้งสถูปเจดีย์และวิหารที่มี แผนผัง รูปแบบ วัสดุ เทคนิคการสร้าง ตลอดจนคติทาง ศาสนาแบบเดียวกัน เนื่องจากสังคมทวารวดียอมรับ พทุธศาสนาลัทธเถิรวาทจากอินเดยเี ปน็ หลัก ทำให้สังคม ทวารวดีโดยทั่วไปเป็นสังคมพุทธ ดังนั้น โบราณสถาน ส่วนใหญ่จึงเป็นพุทธสถาน โบราณสถานเหล่านี้แสดง อิทธิพลศลิปะอินเดยแบบคุี ปตะและหลังคุปตะ และปาละ เสนะตามลำดับ แต่ได้ดัดแปลงผสมผสานให้เข้ากับ ลักษณะท้องถิ่นจนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน และ เมืออ่ิทธิพลทางการเมืองของบา้นเมืองในลุ่มเจา้พระยา ขึ้นมาแทนที่ ชุมชนต่าง ๆ ก็ยังคงมีผู้คนอาศัยอยู่อย่าง ต่อเนองและยังได ื่ถ่าย ้ทอดวัฒนธรรม คติความเชือ และ่ เส้นทางการค้ามาสู่ดินแดนอื่น ๆ ในยุคสมัยต่อมาด้วย 81 บทที่ ๒ เส้นทางการค้ายุคแรก : เส้นทางการค้าและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในเมืองโบราณยุคต้น


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 82


ดินแดนในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเคยอยู่ภายใต้ อิทธิพลทางการเมืองของเขมรโบราณในช่วงระยะ เวลาหนึ่ง กล่าวคือ ในราว พ.ศ. ๑๕๖๕ พระเจ้าสุริย วรมันที่ ๑ กษัตริย์แห่งเขมรโบราณได้ขยายอิทธิพล ทางการเมืองไปยังดินแดนต่าง ๆ ครอบคลุมมาถึง เมืองละโว้ ดังปรากฏหลักฐานทั้งด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรมรูปเคารพทางศาสนา และจารึกต่าง ๆ แต่อำนาจทางการเมืองได้อ่อนแอลงพร้อมกับการ สวรรคตของพระองค์ ทำให้ในช่วงระยะเวลานั้นเกิด กบฏในหลายพื้นที่ จนกระทั่ง พ.ศ.๑๖๕๗ พระเจ้า สริุยวรมันที่ ๒ ไดขยายอ้ ิทธิพลทางการเมืองมายังพื้นที่ ดินแดนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอีกครั้ง และด้วยความ สามารถทางทหารทำให้พระองค์สามารถแผ่อิทธิพล ทางการเมืองไปยังเมืองต่าง ๆ โดยรอบ แต่ในช่วง ระยะเวลาเดียวกัน เมืองละโว้ได้พยายามไปสร้าง สัมพันธ์กับจีนโดยการส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี ในพ.ศ. ๑๖๕๘ และ พ.ศ.๑๖๙๘ เพอื่พยายามหลกหี นี อำนาจทางการเมืองของเขมรโบราณแต่อิทธิพล ทางการเมืองของเขมรโบราณก็ยังคงปรากฏอย่ใูนดินแดน บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอย่างชัดเจน เมื่อพระเจ้า ชัยวรมันที่ ๗ ทรงขึ้นครองราชย์ (พ.ศ. ๑๗๒๕-๑๗๖๑) ทำให้อำนาจทางการเมืองของเขมรโบราณแผ่กว้าง ย ิ่งขึ้น จากหลักฐานด้านโบราณคดีและโบราณวัตถุ ที่พบบริเวณเมืองสุโขทัยทำให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า อิทธิพลของเขมรโบราณแผ่มาถึงเมืองสุโขทัยด้วย อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากการสวรรคตของพระเจ้า ชัยวรมันที่ ๗ อำนาจทางการเมืองของเขมรโบราณ ลดลงทำให้เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ภายใต้อิทธิพลของ เขมรโบราณต่างพยายามแยกตัวเป็นอิสระ รวมถึง เมืองสุโขทัยด้วย ถนนสายว ั ฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวั ฒนธรรม ของเมืองต่าง ๆ ในดินแดนไทย (ยุคจาร ี ต) 83 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต) ๓


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เส้นทางการค้าและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย: เครื่ องถ้วยกับเครือข่ายการค้าตอนใน เมืองสุโขทัยเปน็อกเมือง ี ที่พยายามแยกตัวเปน็อิสระจากอำนาจทางการเมืองของเขมร โบราณตั้งแต่ พ.ศ.๑๗๖๒ โดยการนำของพ่อขุนศรีนาวนำถม แม้จะเกิดการแย่งชิงเมืองจาก “อแดงีพุเลง” ิ ผู้นำชุมชนที่อยทู่างทิศตะวันตก แตพ่ ่อขุนศรีนาวนำถมก็สามารถสถาปนาอำนาจ ทางการเมืองในเมืองสุโขทัยได้สำเร็จ จารึกหลักที่ ๒ ระบุถึงดินแดนที่อำนาจทางการเมืองของ พ่อขุนศรีนาวนำถมครอบครองนั้นครอบคลุมทั้งศรีสัชนาลัย สุโขทัย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไปถึงเมืองฉอด ทิศตะวันตกไปถึงเมืองลำพูน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือถึงเชียงแสนและพะเยา ทางแม่น้ำน่านมเมือง ีสะคา และเมือง ้ราดซงึ่ปกครองโดยพระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนำถม คือ พ่อขุนผาเมือง แต่อย่างไรก็ตาม ขุนนางจากราชสำนักเขมรโบราณยังคงมีอิทธิพลทางการ เมืองอยู่ จะเห็นไดว่าเมื ้อ่พ่อขุนศรีนาวนำถมสวรรคต ขอมสบาดโขลญลำพง ไดกลับมายึดเมือง ้ ศรีสัชนาลัยสุโขทัย แตพ่ ่อขุนผาเมืองและพ่อขุนบางกลางหาวสามารถต้านทานได้สำเร็จ พ่อขุน บางกลางหาวยึดเมืองศรีสัชนาลัย พ่อขุนผาเมืองยึดเมืองสุโขทัย นักประวัติศาสตร์สันนิษฐาน ว่าได้มีการแลกเปล ี่ ยนเมืองในการปกครองโดยพ่อขุนผาเมืองไปครองเมืองศรีสัชนาลัยและ พ่อขุนบางกลางหาวมาครองเมืองสุโขทัยและยังทรงเปล ี่ ยนพระนามเป็นพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ในคราวเดียวกันด้วย พ่อขุนศรีอินทราทิตย์สถาปนาราชวงศ์พระร่วงแห่งเมืองสุโขทัยขึ้นเมื่อ พ.ศ.๑๗๙๒ แม้เมืองสุโขทัยตั้งอยู่ห่างจากแม่น้ำยมประมาณ ๑๓ กิโลเมตรและอยู่ในเขตเงาฝน ซึ่งน่าจะ ขาดแคลนน้ำ แต่จากแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศแสดงใหเห็ ้นว่าชุมชนต่าง ๆ ในอาณาจักรสุโขทัย มีความรู้ทางด้านชลประทานเป็นอย่างดี เนื่องจากมีระบบการจัดการน้ำด้วยการขุดคลอง ซึ่งเรียกกันว่า “ถนนพระร่วง” สำหรับทำการเกษตร ซึ่งสภาพที่ตั้งของเมืองสุโขทัยแม้จะไม่เอื้อ ต่อการทำการเกษตรแต่นับว่ามีจุดเด่นในด้านการค้าเป็นอย่างยิ่ ง 84


ที่ตงของ้ัสุโขทัยเปน็ศูนย์กลางของเมืองต่าง ๆ ในภาคพ้นทืวีปของเอเชยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ ในช่วงระยะเวลานั้น เป็นศูนย์กลางการค้าภายในภาคพื้นทวีป ระหว่างชุมชนและเมืองต่าง ๆ โดยรอบ เส้นทางการคาอาจจะขยายไ ้ ปตามเส้นทางหรือเมืองที่อยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมือง ด้วย โดยเฉพาะในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง อิทธิพลทางการเมืองของสุโขทัยแผ่ขยายเป็นวง กว้าง ทิศใต้ถึงนครศรีธรรมราชสุดแหลมมลายูทิศเหนือถึงเมืองหลวงพระบาง (ชวา) ทางทิศ ตะวันออกถึงเวียงจันทน์ เวียงคำ ทิศตะวันตกถึงหงสาวดี อาจจะทำให้เส้นทางการค้าและการ แลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรมกระจายไปสู่เมืองต่าง ๆ ดังที่ปรากฏอยู่ในจารึกหลักที่ ๑ ว่า “เจ้าเมือง บ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขาย ใครจักใครค้าช้างค้าใครจักใครค้าม้าค้า ใครใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า” โดยสินค้าหลักที่ทำให้มองเห็นเครือข่ายการค้าของสุโขทัยกับเมือง อื่น ๆ ได้อย่างชัดเจน คือ เครื่องถ้วยสุโขทัย เครื่องถ้วยสุโขทัยไม่ได้เป็นเพียงอุปกรณ์ใช้สอยในชีวิตประจำวันหรือเป็นสินค้าที่ผลิต ขึ้นเพอคื่าขายใ ้ นท้องถิ่นและบริเวณใกลเค้ยงเีท่านั้น แต่เปน็การผลิตที่อยู่ในระดับอุตสาหกรรม เพอกาื่รส่งออกที่นับไดว่าเ ้ ปนสิน ็คา้ที่ขึ้นชือและได ่ม้กาีรผลิตเพอื่ส่งออกไปขายยังดินแดนต่าง ๆ ทวภั่มูภาคเอเชิยีตะวันออกเฉยงใ ี ต้ โดยพิจารณาจากโบราณวัตถุที่พบตามแหล่งเรือจมที่ปรากฏ เครองถื่วย้สุโขทัยนับหมื่นชิ้นทงใั้นน่านน้ำไทยและโพ้นทะเล สอดคลองกับหลักฐา ้นจากซากเตา เผาที่พบในเขตเมืองสุโขทัยจำนวนหลายร้อยเตา ซงึ่นับไดว่า้สุโขทัยเปน็จุดเริ่มต้นการคาเค้รองื่ ถ้วยที่สำคัญที่สุดในช่วงเวลานั้น การผลิตเครื่องถ้วยเพื่อการค้าของสุโขทัยในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พบว่ายังมี จำนวนไม่มากและคุณภาพของเครองถื่ วยยังไม่ด ้ กาีรตกแต่งลวดลายและเทคนิคที่ใชใ้นการผลิต ยังไม่ได้พัฒนาขึ้นอย่างเด่นชัด สันนิษฐานว่าการค้าเครื่องถ้วยสุโขทัยในช่วงเวลานี้ยังเป็นการ ค้าร่วมกับสินค้าอื่น ๆ จากแหล่งต่าง ๆ เนื่องจากพบเครื่องถ้วยสุโขทัยร่วมกับเครื่องถ้วยแบบ มอญที่มีการเคลือบสีเขียวแบบยุคแรก แต่เมื่อการค้าขยายตัว ผนวกกับวิทยาการทางการผลิต เครื่องถ้วยสามารถผลิตเครื่องถ้วยที่มีคุณภาพดีจึงทำให้การค้าภายในและการส่งออกไปค้ายัง ดินแดนต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว กอปรกับในช่วง เวลาดังกล่าวเกดช่องว่างใ ินตลาดการคาเค้รองถื่วยจากกา้ รที่จีนไม่สามารถส่งสินคาออกมาขาย้ ได้ตามปกติ เนื่องมากจากวิกฤติการณ์ภายในจีนและการควบคุมการค้าเอกชนอย่างเข้มงวด ทำใหเก้ดกาิรขาดแคลนเครองถื่วยจ้ ีน ซงมึ่ีผลทำใหเค้รองถื่วย้สุโขทัยขยายตลาดไดไวมากย ้ งขึ ิ่ ้น 85 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ เส้นทางการคาและกา้รคมนาคมของสุโขทัยที่เชือมโยงกับเมืองอื่ ่น ๆ โดยรอบ คงใช้ ทงเั้ส้นทางทางน้ำและทางบก เส้นทางคมนาคมและการคา้ทางน้ำในเมืองที่อยู่ห่างไกลเริ่มจาก เมืองสุโขทัยหรือศรีสัชนาลัย ล่องตามลำน้ำยมมาเมืองตรอน หรือล่องตามลำน้ำน่าน จากนั้น มายังเมืองพิษณุโลก เมื่อมาถึงเมืองพระบาง (ปัจจุบันอยู่บริเวณปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์) ก็ล่องตามลำน้ำเจ้าพระยาลงมาถึงชัยนาท เส้นทางน้ำจะแยกออกเป็น ๓ สาย คือ ลำน้ำน้อย แม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนเส้นทางบกมีอยู่หลายเส้นทาง เช่น เส้นทางจากเมือง สุโขทัยไปเมืองหลวงพระบาง ไปเชียงใหม่ เชียงแสน พะเยา ส่วนการคา้ระหว่างเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ห่างไกลจากสุโขทัยนั้น สนนิ ัษฐานว่าเปนต็ลาด การค้าของกลุ่มชาวลัวะ หรือ ละว้า เนื่องจากการค้นพบโบราณวัตถุที่กระจายตามพื้นที่ต่าง ๆ ในจังหวัดตาก และอำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่พบเครื่องถ้วยประเภทต่างๆ เช่น เครื่องถ้วยสุโขทัย เครื่องถ้วยล้านนา เครื่องถ้วยเขมร เครื่องปั้นดินเผาเตาวัดพระปรางค์ (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัดสิงห์บุรี) เครื่องถ้วยจีน พม่าและเวียดนามด้วย นอกจากเครื่องถ้วย แล้วยังอาจจะมีการค้าขายร่วมกับสินค้าประเภทอื่น เช่น กำยาน ขนนก ยางไม้ ไม้เนื้อแข็ง ฝาง ขี้ผึ้ง ครั่ง ตะกั่ว ซึ่งสินค้าเหล่านี้เป็นที่ต้องการของบรรดาเมืองที่อยู่ในพื้นที่ราบ การค้าตอนใน เหล่านี้ทำใหเห็ ้นความเชือมโยงของเ่ส้นทางการคาและวัฒ ้นธรรมของสุโขทัยกับเมืองอื่น ๆ ใน แถบเทือกเขาด้านทิศตะวันตกได้อย่างเด่นชัด สำหรับเส้นทางการคาเค้รองถื่วย้สุโขทัยทางทะเล ซงเึ่ปน็การคา้ที่ผ่านพ่อคาค้นกลาง และสนนิ ัษฐานว่าอยุธยาเปนผู้นำ ็เขาเค้รองถื่วย้สุโขทัยและไดเ้ปนผู้ ็คาและ้ ผู้ส่งออกเครองถื่วย้ สุโขทัย งานโบราณคดีใต้น้ำได้สำรวจและเก็บรวบรวมโบราณวัตถุใต้น้ำพบว่าการเรือบรรทุก เครื่องถ้วยสุโขทัยในแหล่งเรือจมต่างๆ หลายจุด เช่น แหล่งเรือครามหรือเรือสัตหีบ พบเรือ สำเภาท้องแบบขนาดใหญ่ใช้ในการขนส่งสินค้าระยะไกล โบราณวัตถุสำคัญบนเรือเครื่องถ้วย สุโขทัยทั้งจากแหล่งเตาสุโขทัยและแหล่งเตาศรีสัชนาลัย จำนวนกว่า ๖,๐๐๐ ชิ้น สันนิษฐาน ว่าเรือลำนี้จมลงในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐ นอกจากนี้ยังพบเครื่องถ้วยสุโขทัยกระจัดกระจาย ตามประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งบริเวณหมู่เกาะฟิลิปปินส์ บริเวณประเทศ อินโดนีเซียและหมู่เกาะต่าง ๆ บริเวณประเทศมาเลเซีย รวมถึงญี่ปุ่นด้วย 86


87 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 88


อรุณรุ่งแห่งวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย เมืองสุโขทัยนับเป็นจุดเริ่มต้นทางวัฒนธรรมกลุ่ม “ชาวไท” ที่พยายามหลุดพ้นการ ครอบงำจากอำนาจทางวัฒนธรรมเขมรโบราณ โดยมีจุดเปล ี่ ยนสำคัญ ๒ ประการ คือ การ ประดิษฐ์อักษรไทยและความรุ่งเรืองของพุทธศาสนา การประดิษฐ์อักษรไทยนั้น ในจารึกหลักที่ ๑ มีข้อความกล่าวถึงพ่อขุนรามคำแหงทรง ประดิษฐ์ลายสือไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ.๑๘๒๖ ซึ่งการประดิษฐ์อักษรขึ้นมาใช้นี้เป็นที่รับรู้กันอย่าง กว้างขวาง แม้ในหนังสือจินดามณีในสมัยอยุธยาก็มีข้อความระบุว่า “อนึ่ง มีในจดหมายแต่ ก่อนว่า ศักราช ๖๔๕ มแมศก (พ.ศ.๑๘๒๖) พญาร่วงเจ้าได้เมืองศรีสัชนสไลยได้แต่งหนังสือ ไทย แลจได้แต่งรูปก็ดีแต่งแม่อักษรก็ดีมิได้ว่าไว้แจ้ง” “อนึ่ง แม่อักษรแต่ ก กา กน ฯลฯ ถึง เกอย เมืองขอมก็แต่งมีอยู่แล้วเหนว่าพญาร่วงเจ้าจะแต่งแต่รูปอักษรไทย” แต่เมื่อพิจารณา ถึงรูปแบบและวิธีการจารึกแล้วจะเห็นได้ว่าพ่อขุนรามคำแหงทรงเปล ี่ ยนแปลงอักขระวิธีหลาย ประการ เช่น การนำพยัญชนะและสระไว้ในบรรทัดเดียวกัน ทำให้อ่านข้อความได้ไม่กำกวม การประดิษฐ์พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์เพิ่มขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามการออกเสียง แม้ว่าการ ประดษฐ์อักษ ิรไทยจะยังไม่ได้รับความนิยมในช่วงแรกเนองจากศื่ลาจาิรึกที่ปรากฏการใชอักษ ้ร ไทยไม่แพร่หลายเท่ากับภาษาเขมร แต่ก็นับไดว่าเ ้ ปน็จุดเริ่มต้นของตัวอักษรที่จะค่อย ๆ พัฒนา กลายมาเป็นอักษรไทยในปัจจุบัน ในดา้นพทุธศาสนา จารึกในสมัยสุโขทัยไดกล่าวถึงความเชื ้อของชาว่สุโขทัยว่ามีทงั้พทุธ ศาสนา ไศพาคม (หมายถึงศาสนาพราหมณ์-ฮินดู) ไสยศาสน์ และเทพกรรม โดยพื้นฐานแล้ว ความเชื่อแบบเดิมของชนเผ่าไท คือ การนับถือผีทั้งผีบรรพบุรุษและผีธรรมชาติที่แสดงพลัง ออกมาให้เห็นเป็นปรากฏการณ์ธรรมและเหนือธรรมชาติ โดยนับถือกันว่า “พระขพุง” เป็นผีที่ ใหญ่สุดในเมืองสุโขทัย แต่เมื่อพุทธศาสนาเข้ามาก็มีการผสมผสานและพุทธศาสนาไม่ได้เป็น เอกเทวนิยม ไม่ห้ามการนับถือความเชื่ออื่น ทำให้ความเชื่อที่เคยมีอยู่ในสังคมสุโขทัยยังคง ปรากฏร่องรอยหลักฐานอยู่ 89 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) เมื่อ ครองราชสมบัติต่อจากพระยาเลอไทย ทรงใช้ความรู้ พุทธศาสนาหรือเรื่องบุญธรรม ความดีชั่ว เป็นเครื่อง สงั่สอนบรรดาประชาชนให้รู้จักการประกอบกรรมดีผู้คน ในสังคมสุโขทัยและเมืองต่าง ๆ ที่ได้รับอิทธิพลทางพทุธ ศาสนาต่างศรัทธาและเกิดความคิดเรื่องโลกหน้าอย่าง ชัดเจน จึงมีความพยายามในการสร้างบุญกุศลต่าง ๆ มความเชื ีอเ่รองกื่รรมและเรองโลกห ื่น้า ความเชือ่ต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลให้เกิดคติและความนิยมในการสร้างพระ พิมพ์ขึ้นเปน็จำนวนมาก คติการปลกูต้นพระศรีมหาโพธิ์ หรือคติเรองื่ปัญจอันตรธาน ที่ทำให้พทุธศาสนิกชนต้อง เร่งขวนขวายสร้างบุญกุศลเพออื่นาคต โดยพระยาลไิทย ทรงประดิษฐานรอยพระพุทธบาทบนยอดเขาที่เมือง ต่าง ๆ ถึง ๔ แห่ง คือ ๑. เมืองศรีสัชนาลัย (สันนิษฐานว่าประดิษฐาน อยทีู่่เขาพระบาท เมืองศรีสัชนาลัย ต่อมาไดย้ายมาไว ้ ้ที่ วัดเชิงคีรี จังหวัดสุโขทัย) ๒. เขาสุมนกูฏ เมืองสุโขทัย (ปัจจุบันอยู่ที่วัด ตระพังทอง จังหวัดสุโขทัย) ๓. เขานางทอง เมืองบางพาน กำแพงเพชร (ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร) ๔. เขาเมืองปากพระบาง (เขากบ จังหวัด นครสวรรค์) ในด้านความเจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปะและ วัฒนธรรมของสุโขทัยนั้น ศิลปะจะสัมพันธ์กับพุทธ ศาสนา สะท้อนความลึกซึ้งทั้งในด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรมอย่างลึกซึ้ง และได้กลายเป็นต้นแบบของ งานศิลปะที่นับว่าเป็นยุคทองของพระพุทธรูป อิทธิพล ในงานศลิปะและวัฒนธรรมไดแ้ผ่ขยายไปยังเมืองอื่น ๆ เกิดการเชื่อมโยงแลกเปล ี่ ยนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะ ที่เกยวเ ี่ นองกับ ื่พทุธศาสนาทงั้พระพทุธรูปและพระเจดย์ ี จนเกดเิ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เรียกว่า ศิลปะสมัยสุโขทัย เช่นพระเจดีย์ทรงดอกบัวตูม เจดีย์ทรงระฆัง เจดีย์ทรง พระปรางค์ เจดีย์ทรงบุษบก หรือเจดีย์ทรงวิมาน ส่วนพระพุทธรูปสุโขทัยนั้น พระพุทธรูปสุโขทัย รนุ่ แรก รูปทรงยังไม่ได้สัดส่วน เปลวเพลงิทำแบบหยาบ ๆ ฐานเขียง หน้ากระดานเรียบ ต่อมาได้พัฒนารูปแบบ ของพระพุทธรูปจนเกิดเป็นแบบสุโขทัยบริสุทธิ์ เป็น พระพุทธรูปที่งดงามที่สุด นิยมเรียกว่า “พระพุทธรูป หมวดใหญ่” มีพระพักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง พระนาสิก แหลมงุ้ม พระโอษฐ์เล็กบาง รัศมีเปลวเพลิงงดงาม เส้น พระศกขมวด ก้นหอยแหลมสูง ส่วนมากไม่มีไรพระศก พระขนงโก่ง พระหนุเสี้ยม พระวรกายสมส่วนสง่างาม หากเป็นพระพุทธรูปปางลีลาก็จะอยู่ในท่วงท่ากำลัง พระดำเนินก้าวพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่ง อยู่ในท่า ประทานอภัย จีวรอยู่ในอาการโบกสะบัด อ่อนช้อย งดงาม พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยที่นิยมสร้างต่อมาคือ “พระพุทธรูปหมวดพระพุทธชินราช” ลักษณะทั่วไปยัง เป็นแบบสุโขทัยหมวดใหญ่ แต่พระพักตร์ค่อนข้างอ้วน กลม พระรัศมีสูงกว่าแบบสุโขทัยบริสุทธิ์ลักษณะ ที่เด่น ชัดที่สุดคือ นิ้วพระหัตถ์เท่ากันทั้งสี่นิ้วตามแบบคัมภีร์ มหาบุรุษลักษณะ เช่น พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก พระพุทธชินสีห์ พระศาสดา ในวัดบวรนิเวศวิหาร และพระศรีศากยมุนีในพระวิหาร หลวง วัดสุทัศนเทพวราราม 90


ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ถึงต้นพุทธ ศตวรรษที่ ๒๑ เป็นช่วงที่อยุธยาเข้ามามีอิทธิพล ทางการเมืองในสุโขทัย ซึ่งทำให้งานศิลปะและ พระพทุธรูปมกาี รปรับตัวโดยรับเอาอิทธิพลศลิปะ ของอยุธยาเข้ามาผสมผสาน เรียกว่า “พระพุทธ รูปหมวดกำแพงเพชร” เพราะพบที่กำแพงเพชร เป็นแห่งแรกและพบมากกว่าที่อื่น จะเห็นได้ว่า เส้นทางการค้าของสุโขทัย ทำให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของบ้านและเมือง ต่าง ๆ ในยุคเริ่มต้นได้อย่างชัดเจน ไม่ได้มีเพียง แค่เมืองที่เป็นศูนย์กลางอำนาจทางการปกครอง เท่านั้นที่เจริญงอกงามขึ้น แต่เมืองต่าง ๆ ก็ ล้วนเกิดขึ้นและเติบโตไปพร้อมกับเมืองที่เป็น ศูนย์กลางการปกครอง โดยใชเ้ส้นการคาเ้ ปน็เส้น ทางเชื่อมโยงและถ่ายทอดความเจริญไปยังบ้าน และเมืองต่าง ๆ ดวย ใ ้นขณะเดยวกั ีน ศลิปะและ วัฒนธรรมของสุโขทัยก็นับไดว่าเ ้ ปนต้น ็แบบทงใั้น ส่วนของงานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรมที่ เก ี่ ยวเนื่องกับพุทธศาสนา รวมถึงการผสมผสาน ศิลปะและวัฒนธรรมจากดินแดนอื่น ๆ ให้เข้า กับศลิปะสุโขทัยไดอย่างลง ้ตัว แมว่า้ ท้ายสุดเมือง สุโขทัยจะอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองของ อยุธยาโดยสมบูรณ์ แต่การค้าและวัฒนธรรม ของสุโขทัยก็ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่เรื่อยมาและ ได้มารถ่ายทอดงานช่างฝีมือไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน 91 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ 92


เส้นทางการค้าและวัฒนธรรมของล้านนา๑ ดินแดนที่อยู่ในเขตพื้นที่ล้านนามีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีหลักฐานที่แสดง ให้เห็นถึงการเกิดขึ้นของชุมชนตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และมีความสัมพันธ์กับชุมชนภายนอก ทงั้ทางดา้นการคา วัฒ ้นธรรม รวมถึงอิทธิพลทางการเมือง แมว่าอา ้ณาจักรลา้นนาจะถกูผลกระทบ จากอำนาจทางการเมืองทงจากอาั้ณาจักรพม่าทางดา้นทิศตะวันตก อาณาจักรอยุธยาและสุโขทัย จากทิศใต้ แต่ล้านนาก็สามารถปรับตัวให้เส้นทางการค้าและวัฒนธรรมยังคงดำเนินต่อไปได้ และ ในช่วงที่เข้าสู่ยุคสมัยแห่งความเปล ี่ ยนแปลง ล้านนาก็ยังคงเป็นพื้นที่ที่มีบทบาทสำคัญทางการค้า และวัฒนธรรมอย่างชัดเจน ชุมชนก่อนสมัยประวัติศาสตร์ในดินปแดนล้านนาจากหลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานทางโบราณคดีที่สำรวจพบในพื้นที่ต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของยุคก่อน ประวัติศาสตร์ของชุมชนในเมืองต่างๆ ไดเ้ปน็ อย่างดก่อี นที่จะมกาีรสถาปนาอาณาจักรลา้นนาขึ้น ในด้านโบราณคดี จากหลักฐานที่พบในจังหวัดลำปาง มีทั้งเครื่องมือหินกะเทาะแบบหยาบและ ชิ้นส่วนกะโหลกของมนุษย์ สนนิ ัษฐานว่าเปน็ชิ้นส่วนของมนุษย์กลุ่มโฮโม อเิรคตสั (Homo erectus) มีอายุประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีในอำเภอปาย อำเภอปางมะผ้า และอำเภอ ขุนยวมทำให้ทราบว่ามีการตั้งหลักแหล่งของมนุษย์อยู่ในบริเวณนี้มาตั้งแต่สมัยไพลสโตซีนตอน ปลายและมีพัฒนาการมาจนถึงสมัยโฮโลซีน (Holocene) ตอนปลายเหมือนที่จังหวัดลำปาง อกีทงั้ที่อำเภอปางมะผ้ามกาีรค้นพบโครงกระดกของมูนุษย์ยุคก่อนปัจจุบัน โฮโม ซาเปียนส์ (Homo sapiens) และเครองมือเค ื่รองใช ื่ห้ินกะเทาะ รวมถึงเศษภาชนะดินเผาที่มลวดลายเชือก ีทาบและลาย ขูดขีด ร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของคนยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนล้านนาในระยะแรกมนุษย์ จะอาศัยถ้ำและเพิงผาเป็นที่อยู่อาศัย ต่อมาจึงมีการพัฒนาทางด้านวิถีการดำรงชีพจึงย้ายมาสู่ การอยู่อาศัยในพื้นที่โล่งบนดอย สันเขาหรือริมน้ำ ในช่วงวัฒนธรรมยุคโลหะ พบร่องรอยของโลง ไม และหลักฐา ้นทางโบราณคดจีำนวนมากในอำเภอปางมะผ้า แหล่งโบราณคดีที่พบส่วนใหญ่เปน็ หลุมฝังศพ ถ้ำจากเดิมที่เคยใช้เป็นที่อยู่อาศัยถูกเปล ี่ ยนกลายเป็นที่ฝังศพเนื่องจากไม่พบแหล่ง โบราณคดีหรือหลักฐานทางโบราณคดีที่บ่งชี้ว่าถ้ำต่าง ๆ ยังคงใช้เป็นที่อยู่อาศัย ๑ อาณาจักรล้านนาในที่นี้ครอบคลุมบริเวณพ้นที่ที่ ืเคยเป็นอาณาจักรล้านนาซ่ึงปัจจุบันประกอบด้วย จังหวัด ๘ จังหวัดในภาคเหนือของไทย ไดแก่ เช ้ ยงใหม่ เช ียงีราย ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน แมว่าค ้ ำ ว่า “ลา้นนา” สนนิ ัษฐานว่ามกาีรเริ่มใชใ้นสมัยพระยากือนา เนองจากความหมายของ่ืพระนามกือนา “กือ” หมายถึงจำนวน ร้อยลา้น “กือนา” หมายความว่าร้อยลา้นนา ต่อมาคำ “ลา้นนา” ใชเ้รียกกษัตริย์ผู้ครองดินแดนลา้นนา โดยใช “้ ท้าวลา้นนา” หรือ “ท้าวพระยาลา้นนา” และเรียกประชาชนว่า “ชาวลา้นนา” ลักษณะคำดังกล่าวใชกั้นแพร่หลายในสมัยพระเจา้ติโลกราช นอกจากน้นัยังมธีรรมเนียมใช “ล้า้นนา” นำหน้าชือเมือง ่ซง่ึพบหลักฐานการใชใ้นสมัยพระยาสามฝั่งแกน เช่น ลา้นนาเชยงแีสน ลา้นนาเชยงใหม่ โดยเ ี น้นเมืองน้นัอย่ใูนอาณาจักรลา้นนา ส่วนในตำนานสุวรรณคำแดงน้นัมกาีรระบุอย่างชัดเจนว่า บริเวณ แห่งนี้ชือ “ล่า้นนา” 93 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ บริเวณแหล่งโบราณคดีประตูผา จังหวัดลำปาง เป็นแหล่งภาพเขียนสีเพิงผาที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีอายุราว ๓,๐๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ภาพเขียนที่พบ มีรูปมือเด็กและผู้ใหญ่ รูปสัตว์ รูปคน รูปลายเรขาคณิต ภาพเขียนสีเหล่านี้ได้บอกเล่าเรื่องราววิถีชีวิตและ พิธกีรรมของผู้คนในพื้นที่เหล่านี้ที่แหล่งโบราณคดบีา้น วังไฮ พบโบราณวัตถุหลายประเภท ได้แก่ โครงกระดูก มนุษย์ ภาชนะดินเผา แวดินเผา (อุปกรณสำ์หรับการปน ั่ ฝ้าย) เครองมือห ื่ินกะเทาะ เครองมือเหล็ก เค ื่รองื่ประดับ ประเภทลูกปัดหิน ลูกปัดแร่ หินอาเกต กำไลสำริด ต่างหแกูว แหล่งโบ ้ราณคดบีา้นสัมมะนะ พบเศษภาชนะ ดินเผา เนอด้ื ินค่อนขางละเอ้ ยด ลวดลายเชือก ีทาบบริเวณ ก้นหม้อ บางใบทำลวดลายขูดขีดเป็นเส้นคลื่นรอบตัว หม้อและไหล่หม้อ โดยผิวภาชนะมีการทำน้ำดินเคลือบ และขัดมัน นอกจากนี้ยังพบภาชนะรูปทรงกระบอก ที่มี การขัดผิวดำ และทำลวดลายขูดขีดรอบ ๆ ภาชนะ และ พบกระดูกมนุษย์ถูกฝังอยู่ร่วมกับภาชนะดินเผา แหล่ง โบราณคดออบหลวงี ที่มกาีรค้นพบกำไลที่ทำจากเปลือก หอยทะเลซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์หรือ การติดต่อกับชุมชนภายนอกที่อยู่ใกล้ทะเล การค้นพบ กำไลสำริดที่มีแหล่งผลิตจากภูมิภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ทั้งยังพบภาชนะดินเผาที่มีการทำลวดลายเชือก ทาบแบบมีเชิงซึ่งเป็นรูปแบบการทำภาชนะที่แตกต่าง ไปจากแหล่งอื่นที่ใกล้เคียง แหล่งโบราณคดีและหลักฐานทางโบราณคดี ตัวอย่างเหล่านี้ช ี้ให้เห็นว่าบริเวณลุ่มแม่น้ำกวงมีผู้คน อยู่อาศัยดำรงชีวิตแบบดั้งเดิมในสังคมเกษตรกรรม กระจายอยู่ตามแนวลำน้ำตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๑- ๑๒ เป็นอย่างน้อย เนื่องจากบริเวณนี้เป็นที่ราบกว้าง ใหญ่ มีทั้งลำนำสาขาและแม่น้ำสายหลักทั้งแม่น้ำปิง และแม่น้ำกวงซึ่งทำให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่ การทำเกษตรกรรมและเป็นพื้นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ดังที่ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีในชุมชนโบราณ หลากหลายแหล่ง มีรูปแบบทางวัฒนธรรมร่วมกันเป็น ของตนเอง และมีพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี มีการ ติดต่อแลกเปล ี่ ยนกับชุมชนภายนอก และน่าจะเป็น กลุ่มมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์รุ่นสุดท้ายในพื้นที่นี้ที่ ตั้งหลักแหล่งถาวรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำเพื่ออำนวยแก่การ ทำการเกษตรกรรมและมีการดำรงอยู่ที่ต่อเนื่องจนมา เป็นแหล่งกำเนิดของบ้านเมืองวัฒนธรรมหริภุญชัย ความเจริญของชุมชนโดยรอบที่เกิดขึ้นในช่วง ระยะเวลาไล่เลี่ยกันและมีการติดต่อแลกเปล ี่ ยนกันไป มาระหว่างชุมชน ทำให้วัฒนธรรมเกิดการผสมผสาน ก่อให้เกิดการเปล ี่ ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมไป เปน็แบบที่ซับซ้อนขึ้นจนเกดเิ ปน็ชุมชนและเมืองต่าง ๆ ขึ้นในเวลาต่อมา 94


ชุมชนสมัยประวัติศาสตร์จากตำ นานและโบราณคดี การศึกษาเรื่องราวยุคก่อนประวัติศาสตร์ของ อาณาจักรล้านนา ไม่สามารถทราบเรื่องราวที่ต่อ เนื่องกันได้ ทำได้เพียงคาดคะเนจากหลักฐานทาง โบราณคดีเพียงเท่านั้น ไม่มีหลักฐานอื่นๆ ที่จะช่วย ยืนยันเรื่องราวความเป็นมาในด้านอื่นได้อีก จึงทำให้ ช่วงระยะเวลาดังกล่าวขาดตอนไป แต่ในปัจจุบันได้เกิด องค์ความรู้ที่หลากหลายและมีการศึกษาไว้ในหลาย ด้าน ทั้งด้านโบราณคดี ด้านประวัติศาสตร์ การศึกษา จากภาพถ่ายทางอากาศและดาวเทียม ทำให้เห็น พัฒนาการของกลุ่มชนที่ก่อเกิดเป็นชุนชนโบราณและ พัฒนาต่อเนื่องจนเกิดเป็นเมืองต่าง ๆ จนกระทั่งเข้าสู่ ยุคประวัติศาสตร์ที่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรให้ ศึกษาค้นคว้า จึงทำให้ทราบประวัติความเป็นมา และ เรื่องราวที่ชัดเจนมากขึ้นตามลำดับ ก่อนที่จะมีการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้น นั้นได้มีบ้านเมืองและชุมชนขนาดใหญ่เกิดขึ้นแล้ว อาทิ เมืองหิรัญนครเงินยาง เมืองพะเยา เมืองหริภุญชัย และ ยังได้มีการค้นพบเมืองเล็ก ๆ อีกจำนวนมากตามลุ่ม น้ำต่าง ๆ ซึ่งเมืองเหล่านี้มีข้อมูลจากเอกสารประเภท ตำนานและพงศาวดาร กล่าวถึงการตั้งชุมชนเผ่าไททาง ตอนบนของภาคเหนือซึ่งในสมัยแรกนั้น มีผู้นำสำคัญ ๒ ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์ไทยเมืองของพระเจ้าสิงหนวัติ กุมารและราชวงศ์ลวจังกราช เนื้อหามีอยู่ในตำนานพื้น เมืองของลา้นนาหลายเรอง อาื่ทิตำนานสิงหนวัติกุมาร พงศาวดารเมืองเงินยางเชยงแีสน ตำนานสุวรรณโคมคำ และเมื่อมีการสำรวจทางโบราณคดีประกอบการศึกษา ทำให้ภาพของเมืองเหล่านี้ชัดเจนมากกว่าการที่จะอยู่ ในสถานภาพของเมืองในตำนานเท่านั้น ตำนานกล่าวว่า ราชวงศ์สิงหนวัติ มีราชบุตรชื่อ สิงหนวัติกุมาร ได้อพยพผู้คนมาจากเมืองไทยเทศเมื่อ มหาศักราช ๑๗ (ตอนต้นพุทธกาล) มาตั้งบ้านเมืองใกล้ กับแม่น้ำโขงและไม่ไกลจากเมืองสุวรรณโคมคำมากนัก เมืองใหม่ชื่อนาคพันธุ์สิงหนวัตินคร เมืองนาคพันธุ์ฯ นี้ ได้เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า โยนกนครชัยบุรีศรีช้างแสน เมืองนี้มีกษัตริย์ปกครองสืบมาครั้นถึง พ.ศ. ๑๕๔๗ มี ชาวบา้นจับปลาไหลเผือกได ล้ ำตัวโตขนาดต้นตาล ยาว ประมาณ ๗ วา เมื่อฆ่าแล้วแจกจ่ายให้ผู้คนในเมืองได้ นำไปประกอบอาหารรับประทาน ในคืนนั้น เมืองนี้ได้ เกิดอุทกภัย ฟ้าคะนอง แผ่นดินไหว และเมืองนี้ก็จม หายกลายเป็นหนองน้ำไป ชาวเมืองที่ไม่ประสบภัยได้ ร่วมใจกันสร้างเมืองใหม่ขึ้นชื่อ เวียงปรึกษา และนับว่า เป็นการสิ้นสุดแห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ส่วนราชวงศ์ลวจังกราชนั้น ปรากฏในตำนาน เมืองเงินยางเชียงแสนว่า ประมาณ พ.ศ. ๑๑๘๑ มีการ สร้างเมืองขึ้นบริเวณดอยตุง (ปัจจุบันอยู่บริเวณอำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย) โดยช่วงแรกที่สร้างเมืองยัง ไม่มีผู้ปกครองอย่างชัดเจน ครั้นเมื่อพระยาอนิรุทธได้ เชิญเจ้าเมืองทุกเมืองไปประชุมตัดศักราช เมืองแห่งนี้ ไม่มีกษัตริย์ที่จะไปร่วมทำการตัดศักราช ประชาชนใน เมืองจึงทูลขอให้พระอินทรส์ ่งกษัตริย์มาปกครองที่เมือง นี้ พระยาลวจังกราชรับบัญชาจากพระอินทร์ลงมาปก ครองเมืองหิรัญนครเงินยาง พระยาลวจังกราชได้เสด็จ ลงมาจากสวรรค์ พร้อมทั้งมเหสีและบริวารทั้งหลายไต่ ตามบันไดเงินลงมาบริเวณดอยตุง ชาวบ้านจึงพร้อมใจ ให้เป็นผู้ปกครองเมืองและมีการสถาปนานามเมืองขึ้น 95 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ว่า เมืองหิรัญนครเงินยาง และมีกษัตริย์ปกครองสืบมา หลายพระองค์จนถึงพระยาลาวเมง พระราชบิดาของ พระยามังราย ผู้สถาปนาอาณาจักรล้านนา บริเวณลุ่มแม่น้ำปิงมชุมชี นสำคัญอกชุมชีนหนงึ่ ที่มความเจี ริญรุ่งเรืองและมวีวัฒินาการสืบต่อกันมาเปน็ เวลานาน คือ เมืองหริภุญชัย (ปัจจุบันอยู่บริเวณจังหวัด ลำพูน) มีเอกสารหลายเรื่องที่กล่าวถึงเมืองนี้ ได้แก่ ตำนานเมืองลำพูน ตำนานพระธาตุหริภุญชัย จามเทวี วงศ์ ตำนานมูลศาสนา และชินกาลมาลีปกรณ์ ตำนานการเกิดเมืองหริภุญชัยหรือการสร้าง เมืองหริภุญชัยที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย คือ ตำนานพระธาตุหริภุญชัยซงเึ่ปนตำน ็านทางพทุธศาสนา แม้ว่าในตอนต้นเรื่องจะมีการกล่าวถึงการเสด็จมาของ พระพุทธเจ้ายังพื้นที่แห่งนี้แล้วทรงมีพุทธทำนายว่า ภายหน้าจะเกดบิา้นเมืองใหญ่ขึ้น มเจดี ย์ใีนพทุธศาสนา ไว้กราบไหว้บูชาซึ่งเป็นจารีตของการอธิบายความ สำคัญของเมืองและเป็นรูปแบบของงานเขียนประเภท วรรณกรรมทางพุทธศาสนา อย่างไรก็ตาม จากหลัก ฐานการขุดค้นทางโบราณคดีพบว่ามีชุมชนโบราณเข้า มาอาศัยอยู่ในบริเวณเมืองลำพูนในปัจจุบันตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ ชินกาลมาลีปกรณ์หรือชินกาลมาลีนีซึ่งเป็น วรรณกรรมสำคัญของล้านนา กล่าวว่า ฤษีวาสุเทพ และสุกกทันตฤษีสร้างเมืองหริภุญชัยเมื่อ พ.ศ. ๑๒๐๐ ลักษณะและที่ตั้งของหริภุญชัยนั้น ตามตำนานกล่าว ว่าเป็นรูปหอยสังข์เนื่องจากฤษีวาสุเทพใช้หอยสังข์วาง แล้วใช้ไม้เท้าขีดเป็นรูปเมือง เมืองมีขอบเขต มีคูน้ำคัน ดิน เปนรูป ็วงรี ดา้นหนงกวึ่างและเ้ รียวเล็กลงไปอกดีา้น หนึ่งดูคล้ายหอยสังข์ ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำปิงและแม่น้ำ กวง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ใช้สัญจรทางน้ำในการเดินทางเข้า ออกเมืองไปสู่พื้นที่รอบนอกได้สะดวก เพราะแม่น้ำปิง เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่ใช้สำหรับเดินทางออก นอกภูมิภาค ทั้งเมืองในเขตตอนบนและเมืองท่าริมฝั่ง ทะเล ทางตอนล่างซงหมายถึงเมือง ึ่ต่าง ๆ ในแถบที่ราบ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา จากนั้นให้ทูตของพระฤๅษีวาสุเทพ นำคน ๕๐๐ คน ลงไปทูลเชิญพระนางจามเทวีขึ้นมา ปกครองหริภุญชัย พระนางจามเทวีเสด็จขึ้นมา เมืองหริภุญชัยพร้อมกับคณะสงฆ์ ๕๐๐ รูป และบริวาร ต่างความสามารถ ๑๔ จำพวก จำพวกละ ๕๐๐ คน ขึ้น มายังเมืองหริภุญชัยด้วย ครงั้นั้น มหัวห ี น้าชาวลัวะนามว่าวลังค ิราช ไดย้ิน ข่าวว่าพระนางจามเทวีมีพระรูปลักษณะงดงาม ขุน วิลังคะเกิดความชอบใจหมายจะให้เป็นราชเทวีจึงได้ให้ บริวารนำเครื่องบรรณาการ ๕๐๐ แซก (สาแหรก) ไป ถวายแก่พระนางจามเทวี แต่พระนางจามเทวีไม่ตอบ ตกลง ขุนวิลังคะโกรธ จึงยกทัพมาตีเมืองหริภุญชัยแต่ การรบครั้งนั้นขุนวิลังคะก็พ่ายแพ้กลับไป พระนางจาม เทวีปกครองเมืองหริภุญชัยด้วยทศพิธราชธรรม ทำให้ บา้นเมืองเจริญร่มเย็นเปนส็ุข ผู้คนเดินทางไปมาคาขาย้ ภายในอาณาจักรหริภุญชัยและเมืองที่อยู่รายรอบ มี พ่อคา้ทงั้ที่มาจากทางบกและทางเรือ ทางเหนือและทาง ใต้ (คือพ่อค้าจากอยุธยา) เข้ามาค้าขายในอาณาจักร หริภุญชัย รวมทั้งมีพ่อค้าจากหริภุญชัยขึ้นไปค้าขาย ที่เมืองฝางด้วย การค้าขายได้สร้างความมั่งคั่งให้ อาณาจักรหริภุญชัยเป็นอย่างมาก 96


จากตำนานนี้ สะท้อนให้เห็นว่าเมืองหริภุญชัย ไม่ได้เกิดการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปของผู้คนใน สังคม แต่เปน็การพัฒนาทางดา้นวัฒนธรรม การคา และ้ ความก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ อย่างก้าวกระโดด จากกลุ่มชนชั้นปกครองที่เข้ามามีบทบาทในสังคม โดย ได้นำเอาวัฒนธรรม การค้า และความก้าวหน้าทาง วิทยาการมาเผยแพร่ ตั้งแต่รูปแบบของผังเมืองที่อ้าง ถึงการนำหอยสังข์จากทะเลมาวางเป็นแบบแล้วจึง ร่างผังเมืองขึ้นซึ่งรูปแบบการตั้งเมืองรูปหอยสังข์เป็น วัฒนธรรมที่เด่นชัดประการหนงของวัฒ ึ่นธรรมทวารวดี และการเสด็จมาของพระนางจามเทวีจากเมืองละโว้ก็ เป็นการแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองทางอารยธรรม ที่ส่งทอดมายังเมืองหริภุญชัย เป็นการขยายอิทธิพล ทางวัฒนธรรมและพุทธศาสนาเข้ามายังตอนเหนือของ เมืองละโว้ หากเชื่อตามตำนานที่ปรากฏก็จะเห็นได้ว่า พระนางจามเทวีได้นำช่างฝีมือ ปัญญาชน พ่อค้า และ พระสงฆ์ขึ้นมายังเมืองหริภุญชัยเปน็จำนวนมาก ฉะนั้น ก็มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการต่อต้านจากกลุ่มชนพื้น ถิ่น จึงเกิดตำนานขุนหลวงวิลังคะซึ่งเป็นหัวหน้าชนพื้น เมืองของดินแดนแถบนี้ คือ ชาวลัวะ ตำนานล้านนา หลายเรื่อง กล่าวว่าบริเวณเชิงดอยสุเทพเป็นศูนย์กลาง ของชนเผ่าลัวะ ชาวลัวะนับถือดอยสุเทพว่าเป็นที่สิง สถิตของผีปู่แสะ ย่าแสะ ผีบรรพบุรุษของชาวลัวะ ชาว ลัวะนับถือผีปู่แสะย่าแสะ ผู้พิทักษ์ดอยสุเทพ และรักษา เมืองเชียงใหม่ จึงมีพิธีเล ี้ ยงผีปู่แสะย่าแสะเป็นประจำ ทุกปี ร่องรอยความเชื่อนี้ยังมีสืบมา ชนเผ่าลัวะในเขต ที่ราบลุ่มน้ำปิงมีความเจริญในระดับก่อรูปเป็นรัฐเล็กๆ ลักษณะทางสังคมมีความแตกต่าง ระหว่างชนชั้น คือ แบ่งคนออกเปนส็ องกลุ่ม ไดแก่ กลุ่ม ้ ผู้ปกครองและกลุ่ม ผู้ใต้ปกครอง กลุ่มผู้ปกครองมีหัวหน้าเผ่าที่สืบเชื้อสาย กันต่อมาเรียกว่า ซะมัง เรื่องราวการแตกสลายของชน เผ่าลัวะเป็นผลมาจากการขยายความเจริญรุ่งเรืองจาก เมืองละโว้มาสู่การสร้างเมืองหริภุญชัย พระนางจาม เทวีเสด็จมาครองเมืองหริภุญชัยในบริเวณอิทธิพลของ ชนเผ่าลัวะ จึงเกิดการปะทะกันระหว่างวัฒนธรรมพื้น บ้าน และวัฒนธรรมที่เข้ามาใหม่จึงเกิดเป็นตำนานการ ต่อสู้ระหว่างขุนวิลังคะกับพระนางจามเทวีขึ้น ตำนานพ้นืเมืองสอดคลองกับข ้อม้ ลจากหลักฐา ูน ทางโบราณคดีที่ขุดค้นพบประติมากรรมรูปกวางหมอบ ซึ่งเป็นวัตถุทางพุทธศาสนาที่นิยมสร้างในวัฒนธรรม ทวารวดีราวพทุธศตวรรษที่ ๑๓–๑๔ และมความีสัมพนัธ์ ทางวัฒนธรรมกับทวารวดีและในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ มีการติดต่อแลกเปล ี่ ยนวัฒนธรรมทางพุทธ ศาสนานิกายมหายานในแถบอินเดียตะวันออกเฉียง เหนือและยังปรากฏให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับพม่า จนถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ได้ปรากฏอิทธิพลพุทธ ศาสนานิกายมหายานจากเขมรซึ่งสอดคล้องกับเนื้อหา ในชินกาลมาลีปกรณ์ และแสดงใหเห็ ้นว่า เมืองหริภุญชัย เป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางพุทธศาสนาและ มีพุทธศาสนาเป็นศูนย์กลางของความเชื่อในสังคม ซึ่งเห็นได้จากหลักฐาน เช่น จารึกหลักธรรมตามที่ ปรากฏในที่ต่าง ๆ พระบรมธาตุเจดีย์ และพระพุทธรูป อีกทั้งมีการค้นพบพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในสมัยนั้นเป็น จำนวนมาก 97 บทที่ ๓่� ถนนสายวััฒนธรรม : การแลกเปลี่ยนทางวััฒนธรรม ่� ของเมืืองต่่าง ๆ ในดิินแดนไทย (ยุุคจารีีต)


เส้้นทางความเจริิญของสุุวรรณภููมิิและสยามประเทศ ตั้้�งแต่่ก่่อนประวััติิศาสตร์์ถึึงพุุทธศัักราช ๒๔๗๕ ความเจริญรุ่งเรืองของเมืองต่าง ๆ ในบริเวณ นี้ไม่ได้เกิดขึ้นจากปัจจัยภายในอันได้แก่ความอุดม สมบูรณ์ของพื้นที่และทรัพยากร จำนวนประชากร หรือ ความสามารถของผู้ปกครองเท่านั้น แต่เป็นผลจาก การค้ากับต่างรัฐและความต้องการขยายเส้นทางการ ค้าของรัฐที่มีทางออกติดทะเล ทำให้หริภุญชัยซึ่งเป็น ศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองมาชา้นานและมความมั ี งคั่ง่ ทางเศรษฐกิจด้วยมีที่ตั้งเป็นชุมทางการค้า สืบเนื่อง มาจากการเจริญเติบโตของการค้าในเอเชีย ตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ ๑๗ เป็นต้นมา อีกทั้งการที่ราชวงศ์ซ่งใต้ของ จีนเปลย ี่ นนโยบายการคาจากเด้มิที่ต้องพงึ่พาอาศัยเรือ ต่างประเทศผ่านอาณาจักรศรีวชัยิซงเึ่ปนพ็ ่อคาค้นกลาง มาเป็นการติดต่อค้าขายโดยตรงกับเมืองท่าต่าง ๆ ซึ่ง ถือเปน็การส่งเสริมใหห้ริภุญชัยมบีทบาทสำคัญทางการคา้ เนื่องจากเมืองหริภุญชัยตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้ำปิงตอนบนซงเึ่ปน็เส้นทางผ่านของการขนส่งสินคา้ จากเมืองตอนบนขึ้นไปลงสู่เมืองท่าตอนใต้ การขยาย ตัวทางการค้าถือว่าเป็นแรงกระตุ้นสำคัญที่ก่อกำเนิด อาณาจักรล้านนา เพราะการขยายตัวทางการค้า ก่อ ให้เกิดความต้องการขยายอาณาเขตเข้าครอบครองดิน แดนที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ และยังเป็นชุมทาง การค้า การสร้างเมืองบนเส้นทางการค้าเป็นสิ่งจำเป็น และศูนย์กลางของอาณาจักรจะเป็นชุมทางการค้าที่ สำคัญที่สามารถเชื่อมโยงกิจการค้ากับเมืองต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก ตามตำนานกล่าวว่า ความเจริญรุ่งเรืองทางดา้น เศรษฐกจ ใ ินฐานะเมืองท่าการคา้ตอนในนั้นทำให้พระยา มังรายมีพระประสงค์จะยึดเมืองนี้ จึงทรงยายเมืองหลวง ้ หรือทรงมาสร้างเมืองอีกเมืองหนึ่ง คือ เมืองเชียงราย ทางใต้ลงมาในราว พ.ศ.๑๘๐๖ แต่พระองค์พบว่า ภูมิประเทศไม่เหมาะแก่การขยายอำนาจลงมาทางใต้ จึงทรงยายไ ้ ปประทับที่เมืองฝางราว พ.ศ.๑๘๑๗ ที่เมือง นี้อยู่ไม่ห่างจากเมืองหริภุญชัยมากนัก พระยามังราย ดำเนินยโนบายทางการรบจนสามารถตีเมืองหริภุญชัย ได้สำเร็จเมื่อ พ.ศ.๑๘๒๔ ครั้นเมื่อพระยามังรายได้เมืองหริภุญชัยแล้ว พระองค์ประทับอยู่ ๒ ปีก็ทรงเสด็จไปตั้งเมืองใหม่ชื่อ เมืองชะแวซึ่งอยู่ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ตั้งเมือง ชะแวได้เพียง ๑ ปีก็เกิดน้ำท่วม จึงได้ย้ายมาสร้างเมือง อีกเมืองหนึ่ง คือ เวียงกุมกาม เมื่อ พ.ศ.๑๘๒๙ ซึ่งจาก หลักฐานภาพถ่ายทางอากาศพบว่าตัวเมืองเวยงกุมกามี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหล ี่ ยมผืนผ้า สันนิษฐานว่าล้อมรอบ ดวยค้ ูน้ำคันดิน ในขณะที่พระยามังรายครองเวยงกุมกามี ขุนครามครองเมืองเชียงราย ทำให้เมืองหิรัญนคร เงินยางเชยงแีสนว่างเว้นเจาเมือง ้ ปกครอง พระยามังราย จึงมีบัญชาให้ท้าวแสนภูพระโอรสของขุนคราม กลับไป ฟื้นฟูเมืองหิรัญนครเงินยางเชยงแีสน ท้าวแสนภจึงไดู้นำ ครอบครัวและเสนาอำมาตย์ ประชาชนลงเรือเสด็จล่อง ตามลำแม่น้ำกกจากเมืองเชียงรายสู่เมืองหิรัญนครเงิน ยางเชยงแีสน ออกสู่แม่น้ำโขงและแวะพักที่เวียงปรึกษา จากนั้นจึงไดเ้สด็จสู่เมืองหิรัญนครเงินยางเชยงแีสน ทรง ทำการเปลย ี่ นแปลงและปรับปรุงเมือง ท้าวแสนภโูปรดฯ 98


Click to View FlipBook Version