The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Omb_Library, 2022-01-05 22:57:23

annual report_2560

annual report_2560

สำ� นกั สอบสวน ๒
มีหน้าที่ด�ำเนินการเก่ียวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
เร่ืองท่ีร้องเรียน รวบรวมและตรวจสอบพยานหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงจัดท�ำรายงาน
ผลการพิจารณาและสอบสวนเรื่องท่ีร้องเรียน พร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อให้
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ประสานงานและดำ� เนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บ
ท่ีเกี่ยวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริง ติดตามและรายงานผลการติดตาม
การปฏบิ ตั ติ ามคำ� วนิ จิ ฉยั ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในความรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื
สนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่นที่เกีย่ วข้อง หรือตามท่ไี ด้รับมอบหมาย หนว่ ยงาน
ในความรับผดิ ชอบของส�ำนักสอบสวน ๒ มีดังนี้
(๑) การบริหารราชการส่วนกลางและรัฐวิสาหกิจหรือองค์การมหาชนในสังกัด
(กลุ่มกระทรวงด้านสังคมและส่ิงแวดล้อม) ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนษุ ย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
กระทรวงแรงงาน กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงศึกษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสุข
(๒) การบริหารราชการในเขตพื้นท่ีจังหวัด ๒๘ จังหวัด ประกอบด้วย จันทบุรี
ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ตราด นครนายก ปราจนี บรุ ี ระยอง สระแกว้ ชยั ภมู ิ นครราชสมี า บรุ รี มั ย์
ยโสธร ศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร์ อ�ำนาจเจริญ อุบลราชธานี กาฬสนิ ธุ์ ขอนแกน่ นครพนม บึงกาฬ
มหาสารคาม มุกดาหาร รอ้ ยเอด็ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบวั ลำ� ภู และอุดรธานี

สำ� นักสอบสวน ๓
มีหน้าที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงเก่ียวกับ
เร่ืองที่ร้องเรียน รวบรวมและตรวจสอบพยานหลักฐานท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงจัดท�ำรายงาน
ผลการพิจารณาและสอบสวนเร่ืองที่ร้องเรียน พร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ือให้
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ประสานงานและดำ� เนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บ
ที่เกี่ยวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริง ติดตามและรายงานผลการติดตาม
การปฏบิ ตั ติ ามคำ� วนิ จิ ฉยั ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในความรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื
สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของส่วนงานอื่นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรือตามท่ีได้รับมอบหมาย หน่วยงาน
ในความรบั ผิดชอบของส�ำนกั สอบสวน ๓ มดี ังนี้

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 51

(๑) การบริหารราชการส่วนกลางและรัฐวิสาหกิจหรือองค์การมหาชนในสังกัด
(กลมุ่ กระทรวงดา้ นความมน่ั คงและยตุ ธิ รรม) ประกอบดว้ ย สำ� นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง
กลาโหม กระทรวงการตา่ งประเทศ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยตุ ิธรรม สว่ นราชการ
ท่ีไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย ส�ำนักราชเลขาธิการ ส�ำนักพระราชวัง
ส�ำนักพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการ
อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ราชบัณฑิตยสถาน
สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ สำ� นกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และหนว่ ยงานอนื่
ของรฐั นอกเหนือจากท่กี ำ� หนดไว้ในส�ำนกั สอบสวน ๑ และสำ� นกั สอบสวน ๒
(๒) การบรหิ ารราชการในเขตพนื้ ท่จี ังหวดั ๒๓ จังหวัด ประกอบดว้ ย กาญจนบุรี
นครปฐม ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบรุ ี สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร สุพรรณบรุ ี กระบ่ี
ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเกต็ ระนอง สตลู สุราษฎรธ์ านี ตรัง นราธิวาส ปัตตานี
พัทลงุ ยะลา สงขลา และกรุงเทพมหานคร
สำ� นกั กฎหมาย
มหี นา้ ทศี่ กึ ษา วเิ คราะห์ ขอ้ มลู ดา้ นกฎหมายเพอื่ พฒั นาปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กับผู้ตรวจการแผ่นดินและส�ำนักงาน และด�ำเนินการเก่ียวกับการพัฒนากฎหมายอื่นท่ี
เกย่ี วขอ้ ง ศกึ ษา คน้ ควา้ วเิ คราะห์ และดำ� เนนิ การจดั ทำ� รา่ งกฎหมาย กฎ ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ
ประกาศและค�ำสั่ง ตลอดจนงานวิชาการและงานพัฒนากฎหมายในความรับผิดชอบของ
ผู้ตรวจการแผ่นดินและส�ำนักงาน วิเคราะห์กฎหมาย ให้ค�ำปรึกษา และให้ความเห็น
ทางกฎหมาย เพอื่ สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และสำ� นกั งาน ดำ� เนนิ การ
เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา งานเก่ียวกับความรับผิดทางแพ่ง อาญา งานคดีปกครองและ
งานคดีอื่นท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของส�ำนักงาน ด�ำเนินการเก่ียวกับการพิจารณาและ
สอบสวนหาข้อเท็จจริงเรื่องร้องเรียนตามนัยมาตรา ๑๔ ของพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ รวมถึงเร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับองค์กร
ตามรฐั ธรรมนญู และองคก์ รในกระบวนการยตุ ธิ รรมทไ่ี มอ่ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของสว่ นงานอน่ื
ประสานงานและดำ� เนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บทเ่ี กยี่ วกบั การพจิ ารณาและสอบสวน
หาข้อเท็จจริง ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติตามค�ำวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดิน

52 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ในความรับผิดชอบ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการให้ค�ำปรึกษา การตอบข้อหารือด้านกฎหมาย
ของส�ำนักงานให้แก่ส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุน
การปฏิบัตงิ านของสว่ นงานอื่นทีเ่ กยี่ วขอ้ ง หรือตามท่ีได้รับมอบหมาย
สำ� นักตรวจสอบเรอื่ งร้องเรียน
มีหน้าท่ีด�ำเนินการรับพิจารณาเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบ กล่ันกรอง ค�ำร้องเรียน
ท่ีร้องเรียนเบ้ืองต้นพร้อมความเห็น และส่งต่อเร่ืองร้องเรียนให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
แล้วแต่กรณีเพ่ือพิจารณาด�ำเนินการ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาและสอบสวน
หาขอ้ เทจ็ จรงิ เร่อื งรอ้ งเรียนทไ่ี ม่ซับซอ้ น ยงุ่ ยาก และตรวจสอบพยานหลกั ฐานที่เกีย่ วขอ้ ง
รวมถึงจัดท�ำรายงานผลการพิจารณาและสอบสวนพร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะ
เพ่ือเสนอให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาและวินิจฉัย ประสานงานและด�ำเนินการ
ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริง ประมวล
ติดตาม และรายงานผลความคืบหน้า รวมท้ังติดตามผลการปฏิบัติตามค�ำวินิจฉัยของ
ผู้ตรวจการแผ่นดินในความรับผิดชอบ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของสว่ นงานอน่ื ทีเ่ กยี่ วข้อง หรอื ตามท่ีได้รับมอบหมาย
ส�ำนักตรวจสอบจรยิ ธรรมและกจิ การพเิ ศษ
มีหนา้ ท่ีด�ำเนินการเก่ียวกับการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเทจ็ จรงิ รวบรวมและ
ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เก่ียวข้อง รวมถึงจัดท�ำรายงานผลการพิจารณาและสอบสวน
พร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียนการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและ
เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ของพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ และเรื่องร้องเรียนอ่ืนที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบ
ของ สำ� นกั สอบสวน ๑ - ๓ รวมถงึ เรอื่ งรอ้ งเรยี นทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของสำ� นกั สอบสวน
มากกว่าหน่ึงส�ำนัก ประสานงานและด�ำเนินการตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวกับ
การพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริง ในความรับผิดชอบ ติดตามและรายงานผลการ
ปฏิบัติตามการปฏิบัติตามค�ำวินิจฉัยและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดิน ปฏิบัติงาน
รว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสว่ นงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 53

ส�ำนักสง่ เสริมมาตรฐานจรยิ ธรรม
มหี น้าท่ีศึกษา วเิ คราะห์สภาพปญั หาและอปุ สรรค และเสนอความเห็นเพือ่ พัฒนา
ระบบการด�ำเนินงานเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมของผู้ด�ำรง
ตำ� แหนง่ ทางการเมอื งและเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทกุ ประเภท เพอ่ื สนบั สนนุ ภารกจิ ของผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ รวบรวม จดั ทำ� ขอ้ มลู และสถติ เิ พอื่ สงั เคราะหแ์ ละประมวลขอ้ มลู เกยี่ วกบั การสง่ เสรมิ
จรยิ ธรรมและการจดั ทำ� มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสำ� หรบั พฒั นาประมวลจรยิ ธรรม
ให้มีมาตรฐาน รวมถึงเป็นศูนย์ข้อมูลจริยธรรมเพื่อแลกเปล่ียนและสร้างความร่วมมือ
ทางวิชาการด้านจริยธรรมกับหน่วยงานของรัฐทางจริยธรรมทั้งภายในและภายนอก
เพอื่ พฒั นาองคค์ วามรู้ การปรบั เปลย่ี นเจตคติ เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นจรยิ ธรรมใหแ้ กห่ นว่ ยงาน
ภาครัฐ ประสานงานส่งเสริมจริยธรรม เสนอแนะและให้ค�ำปรึกษา รวมถึงสนับสนุน
การกำ� หนดกลยทุ ธใ์ นการสง่ เสรมิ และจดั ทำ� ประมวลจรยิ ธรรมของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง
และเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทกุ ประเภทใหม้ มี าตรฐาน ปฏบิ ตั งิ านตดิ ตาม ประเมนิ ผล ใหข้ อ้ เสนอแนะ
เพื่อประโยชน์ในการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ รณรงค์และส่งเสริมจริยธรรมตามภารกิจของ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จดั ทำ� ทะเบยี น ฐานขอ้ มลู และสถติ เิ กยี่ วกบั การฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม
มาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกประเภท รวมถึงเป็นศูนย์กลางในการให้บริการข้อมูล เพ่ือสนับสนุน
การปฏบิ ตั งิ านของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ สำ� นกั งาน และหนว่ ยงานของรฐั อนื่ ประสานงานกบั
หน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชนในการส่งเสริมจริยธรรม ตลอดจนการสร้างเครือข่าย
และเชื่อมโยงงานส่งเสริมจริยธรรมกับหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับหรือ
สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของส่วนงานอ่นื ทเ่ี กยี่ วข้อง หรอื ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
ส�ำนกั ตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามรัฐธรรมนูญ
มีหน้าท่ีศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบและตัวชี้วัดในการติดตามและ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู รวมทงั้ เสนอแนะในการจดั ทำ� หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร
ในการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามรัฐธรรมนญู ตดิ ตาม ตรวจสอบ วิเคราะหป์ ญั หา
และอุปสรรค และประเมินผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ รวมถึงให้ความเห็น

54 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ขอ้ เสนอแนะ ในการแกไ้ ขปญั หาการตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู และ
ขอ้ พจิ าณาในการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ รฐั ธรรมนญู ในกรณที จ่ี ำ� เปน็ จดั ทำ� ระบบฐานขอ้ มลู และสถติ ิ
การติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ รวมถึงการให้บริการข้อมูล
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานท้ังภายนอกและภายใน ปฏิบัติงานร่วมกับหรือ
สนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของส่วนงานอนื่ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง หรอื ตามที่ได้รับมอบหมาย
ส�ำนักอำ� นวยการ
มีหน้าท่ีในการด�ำเนินการเก่ียวกับงานสารบรรณ งานบริหารท่ัวไป การจัดหา
การควบคุมดูแลบ�ำรุงรักษาเกี่ยวกับยานพาหนะ อาคารสถานท่ีและอุปกรณ์ งานพิธีการ
งานรักษาความปลอดภัย งานช่วยอ�ำนวยการและปฏิบัติงานในฐานะฝ่ายเลขานุการ
ของสำ� นกั งาน รวมทง้ั เปน็ หนว่ ยงานธรุ การกลางในการตดิ ตอ่ ราชการทงั้ ภายในและภายนอก
ส�ำนักงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานช่วยอ�ำนวยการ งานเลขานุการ และงานธุรการของ
ผู้ตรวจการแผ่นดินและผู้บริหาร รวมถึงงานในความรับผิดชอบเกี่ยวกับการอ�ำนวยการ
ทง้ั ปวงทอ่ี ยใู่ นอำ� นาจหนา้ ทข่ี องเลขาธกิ าร และงานอนื่ ทไ่ี มอ่ ยใู่ นอำ� นาจหนา้ ทข่ี องสว่ นงานใด
ดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั งานการประชมุ ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ คณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการ
ที่ผู้ตรวจการแผ่นดินแต่งต้ัง และงานการประชุมของส�ำนักงาน ปฏิบัติงานเก่ียวกับ
งานสารบรรณเรื่องร้องเรียน ติดตาม และประสานงานกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ
หรอื สว่ นงานภายในทเี่ กย่ี วขอ้ งในเรอื่ งทจ่ี ะนำ� เสนอเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
รวมถึงการปฏิบัติงานตามมติของผู้ตรวจการแผ่นดินหรือในเรื่องท่ีผู้ตรวจการแผ่นดิน
มอบหมาย ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานขับรถยนต์ พนักงานท�ำความสะอาด
และพนักงานบริการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ประสานงานและด�ำเนินการเก่ียวกับการจัด
ระบบการรักษาความปลอดภัย การซ่อมบ�ำรุงการรักษาความสะอาดของอาคารสถานที่
และการใช้ยานพาหนะของส�ำนักงาน จัดระบบ รวบรวมข้อมูลข่าวสารของส�ำนักงาน
และให้บริการข้อมูลข่าวสารของราชการตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการและ
กฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอื่น
ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง หรือตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 55

ส�ำนกั บริหารการคลงั
มีหน้าท่ีในการด�ำเนินการควบคุม ก�ำกับ ตรวจสอบ และจัดระบบงานการเงิน
ทกุ ประเภทของสำ� นกั งาน การบญั ชแี ละการพสั ดุ ปฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกบั การรบั - เบกิ จา่ ย และ
นำ� สง่ เงนิ ทกุ ประเภท ดำ� เนนิ การจดั ทำ� บญั ชแี ละทะเบยี นคมุ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จดั ทำ� แผนเบกิ จา่ ย
เงินงบประมาณ ด�ำเนินการขออนุมัติและเปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ รวมท้ังควบคุม
รายงานการใช้จ่ายงบประมาณและจัดท�ำงบการเงินรวมเพ่ือตรวจสอบ จัดท�ำรายงาน
การเงนิ การบญั ชี และฐานะเงนิ งบประมาณ รวมถงึ รายงานการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางการเงนิ
เสนอต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ด�ำเนินการเก็บรักษาและควบคุมเงินคงเหลือ ด�ำเนินการ
เกย่ี วกบั การบรหิ ารงานพสั ดุ วางแผนการจดั ซอื้ จดั หา จดั จา้ ง การทำ� สญั ญาซอื้ สญั ญาจา้ ง
รวมทั้งควบคุม เก็บรักษา จัดสรร การใช้และควบคุมดูแลการเบิกจ่ายและจ�ำหน่วยพัสดุ
ครุภัณฑ์ ให้ค�ำแนะน�ำ ข้อเสนอแนะ ประสานงาน ช่วยเหลือและควบคุมก�ำกับดูแล
ตรวจสอบ การด�ำเนนิ งานเกี่ยวกบั การเงินและสวสั ดิการของสำ� นกั งาน รวมถึงใหข้ ้อเสนอ
เพื่อการก�ำหนดหรือปรับปรุงกฎระเบียบเก่ียวกับวิธีงบประมาณ การด�ำเนินการเบิกจ่าย
งบประมาณ และโครงสรา้ งระบบงบประมาณของสำ� นกั งาน ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ
การปฏิบัติงานของส่วนงานอนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง หรือตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
สำ� นกั บริหารทรัพยากรมนุษย์
มหี นา้ ทดี่ ำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลจดั ทำ� แผนพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
จดั การฝกึ อบรมพฒั นาศกั ยภาพ รวมทง้ั ตดิ ตามประเมนิ ผลการฝกึ อบรมและพฒั นาศกั ยภาพ
ปฏบิ ตั งิ านเลขานกุ ารของคณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คล จดั ทำ� ฐานขอ้ มลู บคุ คล โครงสรา้ ง
อตั รากำ� ลงั และมาตรฐานกำ� หนดตำ� แหนง่ ดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั การสรรหา บรรจแุ ตง่ ตง้ั งานวนิ ยั
และจริยธรรม และงานทะเบียนประวัติ จัดท�ำบัญชีเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างของ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พนกั งานและลกู จา้ ง ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและ
ประสทิ ธผิ ลการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื เลอื่ นขนั้ เงนิ เดอื นและการจา่ ยเงนิ รางวลั ประจำ� ปี การประเมนิ
สมรรถภาพบุคลากรเพ่ือเล่ือนต�ำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น จัดระบบงานและบริหารงาน

56 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ด้านสวัสดิการและงานด้านประโยชน์ตอบแทนอื่น ด�ำเนินการขอพระราชทานเคร่ืองราช
อิสริยาภรณ์ ด�ำเนินการเก่ียวกับงานบ�ำเหน็จและงานกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ปฏิบัติงาน
รว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสว่ นงานอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
ส�ำนกั นโยบายและแผน
มีหน้าท่ีศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำข้อมูลในการก�ำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์
จัดทำ� แผนงาน โครงการและกจิ กรรม รวมทงั้ จัดท�ำและประสานแผนการปฏบิ ตั งิ าน จดั ท�ำ
นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายการดำ� เนนิ งาน กำ� หนดกรอบวงเงนิ งบประมาณ แผนงบประมาณ
และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปขี องสำ� นกั งาน ศกึ ษา วเิ คราะหแ์ ละดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การวางระบบ
การจดั ทำ� คำ� ของบประมาณ และจัดทำ� ค�ำของบประมาณให้สอดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตร์
และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปตี ลอดจนวเิ คราะหก์ ารใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั
นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ประสานนโยบายและแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย
และแผนยุทธศาสตร์ของส�ำนักงาน จดั ท�ำและบริหารงบประมาณของสำ� นกั งาน ตลอดจน
เร่งรัด ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการด�ำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์
ควบคุม ก�ำกับ ติดตาม และรายงานผลการด�ำเนินงาน ให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณ ติดตาม วิเคราะห์ ประเมินผลและรายงานผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย
แผนปฏิบัติการประจ�ำปี ตลอดจนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ วิเคราะห์และประเมินผล
การด�ำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจ�ำปี พร้อมท้ังเสนอความเห็น
เพ่ือการปรับปรุงและพัฒนางาน ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
ส่วนงานอ่ืนทีเ่ กี่ยวข้อง หรือตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
สำ� นกั สอ่ื สารองค์กรและประชาสมั พันธ์
มีหน้าท่ีศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำแผนแม่บทการประชาสัมพันธ์องค์กร และแผน
ปฏบิ ตั กิ ารประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื เปน็ กรอบทศิ ทางการเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและความรว่ มมอื
ในการปฏิบัติงานแก่บุคคลภายนอก และแผนการปฏิบัติการส่ือสารสร้างความเข้าใจกับ
บคุ ลากรในหนว่ ยงาน รวมถงึ ประเมนิ ปญั หาและอปุ สรรคตามแผนเพอ่ื กำ� หนดแผนกลยทุ ธ์

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 57

การประชาสมั พนั ธ์ ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั งานประชาสมั พนั ธแ์ ละการสอื่ สารภายนอกเพอื่ สรา้ ง
ภาพลักษณ์ที่ดี และการประชาสัมพันธ์ส่ือสารภายในองค์กรเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ
แก่บุคลากรและประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์
ของสำ� นกั งาน และการสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั ของบคุ ลากรในหนว่ ยงาน โดยเปน็ ศนู ยก์ ลาง
ขอ้ มลู ขา่ วสารการประชาสมั พนั ธข์ องสำ� นกั งาน ผลติ สอื่ สำ� หรบั งานประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื เผยแพร่
ขอ้ มลู ขา่ วสาร และผลงานของผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ และสำ� นกั งาน รวมทงั้ วเิ คราะห์ ประเมนิ ผล
การปฏบิ ตั งิ านประชาสมั พนั ธ์ ศกึ ษาวเิ คราะหข์ า่ ว สรปุ รวบรวมขา่ ว ผลติ ขา่ ว การแถลงขา่ ว
ชแี้ จงทำ� ความเขา้ ใจตอ่ ประชาชน การแถลงผลงานเพอ่ื เสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ขี ององคก์ ร
ด�ำเนินการเกี่ยวกับงานโสตทัศนูปกรณ์ การบันทึกภาพ การบันทึกเสียง การให้บริการ
โสตทัศนูปกรณ์ รวมถึงการเก็บรักษาและดูแลอุปกรณ์ ให้บริการค้นหาและแสดงข้อมูล
ขา่ วสารแกป่ ระชาชนและหนว่ ยงานอน่ื ดำ� เนนิ การและประสานงานรว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ
จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจการแผ่นดินและส�ำนักงาน ส่งเสริม
และสร้างความร่วมมือกับเครือข่าย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ตรวจการแผ่นดิน
และส�ำนักงาน ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
หรือตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย
ส�ำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
มหี นา้ ทศี่ กึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ วางระบบ บำ� รงุ รกั ษา และพฒั นาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและฐานข้อมูล ระบบการเช่ือมโยงเครือข่ายการสื่อสารข้อมูล และการส่ือสาร
เพื่อใช้ในการบรหิ ารงานและสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงาน และระหว่างส�ำนักงานกบั หน่วยงาน
อ่ืนที่เกี่ยวข้อง ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติรวมท้ังให้บริการข้อมูลทางสถิติ และเป็น
ศนู ยก์ ลางการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สารสนเทศและการสอื่ สารของสำ� นกั งาน เสนอนโยบาย
ก�ำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริม วางแผน และจัดท�ำแผนแม่บทเทคโนโลยีมาใช้พัฒนา
ระบบงานของส�ำนักงาน รวมทั้งให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำหรือฝึกอบรมการใช้คอมพิวเตอร์
และใชโ้ ปรแกรม ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสว่ นงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
หรือตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

58 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

สถาบันผตู้ รวจการแผน่ ดินศกึ ษา
มีหน้าท่ีศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ และพัฒนาองค์ความรู้เก่ียวกับองค์กร
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
พรอ้ มจดั ทำ� แผนการศกึ ษาวจิ ยั ประจำ� ปี ตลอดจนบรหิ ารจดั การงานศกึ ษาวจิ ยั เกย่ี วกบั การใช้
อำ� นาจหนา้ ที่ของผตู้ รวจการแผ่นดนิ ศึกษาคน้ คว้า รวบรวม ประมวลขอ้ มลู จัดหมวดหมู่
สารสนเทศด้านวิชาการเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ท่ีใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนา
ระบบ รปู แบบ รวมถงึ การดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งาน รวมถงึ เผยแพรอ่ งคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั องคก์ ร
ผู้ตรวจการแผ่นดิน ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั งานวิชาการ งานฝกึ อบรมและสัมมนาทางวิชาการ
งานวารสารผูต้ รวจการแผน่ ดินและเอกสารจดหมายขา่ วเผยแพร่ รวมถงึ งานผลิตบทความ
ทางวชิ าการ และการจดั ทำ� หนงั สอื รวมคำ� วนิ จิ ฉยั ดำ� เนนิ การ ประสานงาน รว่ มมอื กบั องคก์ ร
หรือสถาบันการศกึ ษาในการด�ำเนินกจิ กรรมทางวิชาการ ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัยเหตทุ ี่ทำ� ให้
เกดิ ปญั หารอ้ งเรยี น และเสนอแนวทางการแกไ้ ขปญั หาในเชงิ ระบบเพอ่ื จดั ทำ� รายงานพเิ ศษ
จดั ระบบงานทะเบียน จดั เก็บข้อมูลเก่ยี วกับการดำ� เนนิ การเรอื่ งรอ้ งเรยี นและพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูล รวมทั้งเป็นศูนย์ให้บริการข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียน
เพอื่ ประโยชนใ์ นการศกึ ษา วเิ คราะห์ คน้ ควา้ และการปฏบิ ตั งิ านของสำ� นกั งาน จดั ทำ� รายงาน
ประจ�ำปี ตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลการศกึ ษาวจิ ัยตามแผนงานการศึกษาวจิ ัยประจำ� ปี
และแผนงานโครงการดา้ นวชิ าการประจ�ำปี พรอ้ มจดั ทำ� รายงานการศกึ ษาวจิ ยั และผลงาน
การศึกษาวิจัยประจ�ำปี ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั งานห้องสมดุ หอจดหมายเหตุ และงานอนรุ กั ษ์
เอกสารตา่ ง ๆ รวมถงึ การใหค้ ำ� ปรกึ ษา แนะนำ� ชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ ดา้ นการศกึ ษาวจิ ยั
ประสานความรว่ มมอื ดา้ นการศกึ ษาวจิ ยั กบั องคก์ าร หรอื หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมทง้ั เสนอแนะ
การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง หาแหล่งเงินทุนและแหล่งศึกษาวิจัยท้ังในและต่างประเทศ
ประมวล ศึกษา วิเคราะห์และประเมินผลเกี่ยวกับการด�ำเนินการ ตามข้อเสนอแนะของ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ นโยบาย มาตรการ กฎหมาย กฎ และแนวปฏิบัติของหนว่ ยงานของรฐั
พรอ้ มความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ เพอื่ การปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบงาน ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั
หรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของส่วนงานอื่นท่เี ก่ยี วข้อง หรือตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 59

ส�ำนกั วเิ ทศสัมพันธ์
มหี น้าที่ศกึ ษา วเิ คราะหข์ ้อมลู จดั ทำ� แผนแมบ่ ท แผนงาน โครงการ ตลอดจนเสนอ
ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพอื่ กำ� หนดนโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ ารเกย่ี วกบั การวเิ ทศสมั พนั ธ์
ดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั งานวเิ ทศสมั พนั ธ์ งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศ งานเสรมิ สรา้ ง
ความสมั พนั ธก์ บั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตา่ งประเทศหรอื องคก์ รระหวา่ งประเทศทง้ั แบบพหภุ าคี
และทวิภาคี และความร่วมมือรูปแบบอื่นที่เกี่ยวข้อง ติดต่อและประสานงานโครงการ
ความรว่ มมอื และความชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการกบั ตา่ งประเทศ รวมถงึ แสวงหาทนุ สนบั สนนุ
การวิจัยและวิชาการที่เก่ียวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน การฝึกอบรม การศึกษาดูงานและ
การประชุมในต่างประเทศของผู้ตรวจการแผ่นดินและบุคลากรของส�ำนักงานผู้ตรวจการ
แผ่นดิน แปล โต้ตอบหนังสือต่างประเทศ สนับสนุนกิจการล่ามและภาษาต่างประเทศ
ประสานงาน จดั ทำ� ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั ทำ� ความตกลงระหวา่ งประเทศ
ด�ำเนินการเกี่ยวกับงานรับรองและงานพิธีการที่เก่ียวกับการต่างประเทศ จัดท�ำข้อมูล
และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทบาท ภารกิจ หน้าที่และอ�ำนาจของผู้ตรวจการแผ่นดิน
และส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
สว่ นงานอ่นื ทีเ่ กยี่ วขอ้ งหรอื ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
หน่วยตรวจสอบภายใน
มีหน้าที่ตรวจสอบการด�ำเนินงานภายในส่วนงานและส�ำนักงาน และสนับสนุน
การปฏิบัติงานของส�ำนักงาน รับผิดชอบงานข้ึนตรงต่อประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยมี
อำ� นาจหนา้ ทใี่ นการดำ� เนนิ การตรวจสอบดา้ นการบรหิ าร การเงนิ และการบญั ชขี องสำ� นกั งาน
และรายงานผลการตรวจสอบให้ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินทราบ ปฏิบัติงานร่วมกับ
หรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสว่ นงานอน่ื ที่เก่ียวข้อง หรอื ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

60 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

โครงสรา้ งสำ� นักงานผ้ตู รวจการแผ่นดนิ

ผู้ตรวจการแผ่นดิน ประธานผู้ตรวจการแผ่นดนิ ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ

เลขาธกิ าร หนว่ ยตรวจสอบภายใน

รองเลขาธิการ รองเลขาธกิ าร รองเลขาธกิ าร

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 61 สำ� นักอำ� นวยการ ส�ำนักกฎหมาย สำ� นกั ตรวจสอบเรื่องรอ้ งเรยี น
ส�ำนกั บรหิ ารการคลงั ส�ำนักสอบสวน ๒ ส�ำนักสอบสวน ๑
สำ� นกั นโยบายและแผน สำ� นักสอบสวน ๓
สแำ�ลนะกัปสร่อืะชสาาสรอัมงพคนั ก์ ธร์ สำ� นักส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม สำ� นกั ตรวจสอบจรยิ ธรรม
ส�ำนกั วเิ ทศสมั พนั ธ์ กสา�ำรนปักฏติบิดตั ตติ าามมปรรฐั ะธเรมรินมผนลูญ และกจิ การพเิ ศษ
ส�ำนกั บรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์
ส�ำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สาร

ผูต้ รวจกาสรถแาผบ่นันดนิ ศึกษา



ส่วนที่

ผลการพจิ ารณาสอบสวนขอ้ เท็จจรงิ ตามค�ำรอ้ งเรยี น
พร้อมขอ้ สงั เกตหรือขอ้ เสนอแนะท่เี สนอต่อ

หน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั รัฐวิสาหกิจ
หรือราชการสว่ นท้องถ่ิน

๒.๑ ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นการสอบสวนข้อเท็จจริงตามคำ� ร้องเรยี น

สถติ ผิ ลการดำ� เนนิ การเรอ่ื งรอ้ งเรยี นของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

เรื่องร้องเรยี นที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน
รับไวพ้ จิ ารณาทง้ั สิน้

จ�ำนวน ๕,๓๓๙ เร่ือง จ�ำแนกเป็น

เรือ่ งรอ้ งเรยี นรับไว้พจิ ารณา เร่อื งรอ้ งเรียนท่ีอยรู่ ะหว่างการพิจารณา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ยกมาจากปงี บประมาณกอ่ น
จ�ำนวน ๒,๘๐๐ เร่ือง
จ�ำนวน ๒,๕๓๙ เรอื่ ง

เร่อื งรอ้ งเรียนทด่ี �ำเนนิ การแลว้ เสรจ็
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

จ�ำนวน ๓,๒๔๒ เรือ่ ง จ�ำแนกเป็น

เรื่องท่ผี ตู้ รวจการแผ่นดนิ ไดพ้ ิจารณา เรือ่เรงอื่ รง้อทงไ่ีเรมีย่เขนา้ทขี่อ่ายย่รู วะ่าหเปวา่น็ งคก�ำารร้อพงจิเรายี รนณา
ช่วยเหลอื แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน และเยรก่อื มงทาจผ่ี า้รู ก้อปงเงี รบียปนรถะอมนาคณ�ำกรอ้่ งนเรียน

จำ� นวน ๓,๑๑๒ เรื่อง จ�ำจนำ� นวนวน๒๑,๖๓๐๐๑เรเรอื่ ่อื งง
64 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

เรอ่ื งรอ้ งเรยี นทผี่ ูต้ รวจการแผ่นดนิ ไดด้ �ำเนินการแล้วเสร็จในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
จำ� นวน ๓,๒๔๒ เร่อื ง สามารถจำ� แนกตามผลดำ� เนนิ การได้ดังน้ี

ผลการพิจารณาวนิ จิ ฉัยเรือ่ งร้องเรียน จำ�นวน (เรอื่ ง)
๕๘๑
เรอื่ งรอ้ งเรยี นทผี่ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ สามารถแกไ้ ขเยยี วยาความเดอื ดรอ้ นหรอื ความ
ไม่เป็นธรรม หรือด�ำเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้ความเสียหายแก่ประชาชนอย่าง ๑๓๐
เหมาะสมแล้ว
เร่ืองร้องเรียนท่ีผู้ตรวจการแผ่นดินได้เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะในการ ๕
ปรับปรุงแนวทางหรือวิธีปฏิบัตงิ าน หรอื การปรับปรุงกฎหมายเพือ่ อำ� นวยความ
เป็นธรรมให้แก่ประชาชน ๑๙
เร่อื งรอ้ งเรยี นทผี่ ตู้ รวจการแผน่ ดินพจิ ารณาแลว้ เห็นว่า มเี หตอุ ันควรสงสยั วา่ มี ๔
การทจุ ริตหรือประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ หรือมีมลู ความผดิ ทางอาญา หรือมี
มูลความผิดทางวินัย จึงแจ้งให้หน่วยงานที่มีอ�ำนาจสอบสวนและผู้บังคับบัญชา ๑๕
ด�ำเนนิ การตามกฎหมาย และรายงานใหผ้ ูต้ รวจการแผ่นดินทราบ
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นทผ่ี ตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาแลว้ พบวา่ ไมม่ ปี ญั หาความชอบดว้ ย ๒,๑๓๘
รฐั ธรรมนญู จงึ ไม่เสนอเร่ืองไปยังศาลรัฐธรรมนญู ๒๑๙
เร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ที่ผู้ตรวจการ ๑๒๗
แผ่นดินพิจารณาแล้ว ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีการฝ่าฝืนหรือปฏิบัติตาม ๓
มาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรม
เร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีผู้ตรวจการแผ่นดิน
พจิ ารณาสง่ เรอื่ งใหผ้ ทู้ รี่ บั ผดิ ชอบในการบงั คบั การใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลจรยิ ธรรม
ดำ� เนนิ การบงั คบั ใหเ้ ป็นไปตามประมวลจริยธรรม
เรอ่ื งท่กี ฎหมายบัญญัตมิ ใิ ห้ผตู้ รวจการแผน่ ดินรับไว้ด�ำเนนิ การ
เรอ่ื งทก่ี ฎหมายบญั ญตั มิ ใิ หผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ รบั ไวด้ ำ� เนนิ การ และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ได้ส่งเร่ืองไปให้หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งเพ่ือดำ� เนินการตามสมควรแกก่ รณตี อ่ ไป
เร่ืองท่ผี ้รู ้องเรียนขอถอนค�ำรอ้ งเรยี น
เรอ่ื งทไี่ มเ่ ข้าขา่ ยวา่ เปน็ คำ� ร้องเรียน

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 65

เรอื่ งร้องเรียนทไ่ี ด้รบั เขา้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จำ� นวน ๒,๕๓๙ เร่อื ง

จำ� แนกตามรายเดอื น

๑๖๓
๒๓๒

๑๗๓
๒๕๖

๒๐๖
๑๙๘

๒๔๘
๒๔๖
๒๑๒
๒๑๔

๑๘๗
๒๐๔

จำ� นวน (เรอ่ื ง) ตุลาคม ๒พฤ๕ศ๕จ๙ิกาธยนันว๒าค๕ม๕ม๒ก๙ร๕า๕ค๙มก๒มุ ภ๕า๖พ๐นั มธนี์ ๒าค๕ม๖๒เ๐ม๕ษ๖าย๐น พ๒ฤ๕ษ๖ภ๐าคมมิถ๒ุนา๕ย๖นก๐๒รก๕ฎ๖า๐คสมิง๒หา๕ค๖ม๐ก๒ันย๕า๖ย๐น ๒๕๖๐

66 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เร่อื งรอ้ งเรียนทีไ่ ดร้ ับไว้พิจารณาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

จ�ำแนกตามรายเดือน

ปี เดือน จ�ำนวน (เร่ือง)

๒๕๕๙ ตลุ าคม ๒๐๔
๒๕๕๙ พฤศจิกายน ๑๘๗
๒๕๕๙ ธนั วาคม ๒๑๔
๒๕๖๐ มกราคม ๒๑๒
๒๕๖๐ กุมภาพันธ์ ๒๔๖
๒๕๖๐ มีนาคม ๒๔๘
๒๕๖๐ เมษายน ๑๙๘
๒๕๖๐ พฤษภาคม ๒๐๖
๒๕๖๐ มถิ ุนายน ๒๕๖
๒๕๖๐ กรกฎาคม ๑๗๓
๒๕๖๐ สงิ หาคม ๒๓๒
๒๕๖๐ กนั ยายน ๑๖๓

รวมทัง้ สิ้น ๒,๕๓๙

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 67

๑๕๒

เรอื่ ง

๑,๔๔๓ ๔๖๔
เรอื่ ง
เร่อื ง

๑๙๙ ๑๑๕
เรือ่ ง
เร่ือง

๒๔๙ จำ� นวนเร่อื งร้องเรยี นทีร่ บั เขา้ ในปีงบประมาณ

เร่ือง พ.ศ. ๒๕๖๐

จำ� แนกตามภาค

68 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

จงั หวัดท่ถี ูกรอ้ งเรยี นมากท่สี ดุ ๑๐ อันดับ

ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

อนั ดับ จังหวดั เรือ่ งร้องเรยี น (เรอ่ื ง)

๑ กรุงเทพมหานคร ๘๔๗

๒ นนทบรุ ี ๑๒๖

๓ ชลบรุ ี ๙๓

๔ นครราชสีมา ๖๘

๕ เชียงใหม่ ๖๕

๖ ปทุมธานี ๖๔

๗ นครสวรรค์ ๕๑

อดุ รธานี ๕๑

๘ ขอนแก่น ๔๗

๙ อบุ ลราชธานี ๔๕

๑๐ สมุทรปราการ ๔๓

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 69

เรอื่ งรอ้ งเรยี นท่ีรับไวพ้ จิ ารณาในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จำ� แนกตามภูมภิ าคและจงั หวดั

ภาค / จังหวัด จำ� นวน (เร่อื ง) ภาค / จังหวัด จำ� นวน (เรื่อง)
ภาคเหนอื ๑๕๒ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ๔๖๔
๑ เชยี งใหม่ ๖๕ ๑ นครราชสีมา ๖๘
๒ เชียงราย ๒๑ ๒ อุดรธานี ๕๑
๓ ลำ� ปาง ๑๘ ๓ ขอนแกน่ ๔๗
๔ ลำ� พนู ๑๓ ๔ อุบลราชธานี ๔๕
๕ พะเยา ๘ ๕ มหาสารคาม ๒๖
๖ อุตรดิตถ์ ๘ ๖ ศรีสะเกษ ๒๖
๗ แพร่ ๗ ๗ ชัยภูมิ ๒๑
๘ นา่ น ๗ ๘ บุรีรมั ย ์ ๒๐
๙ แมฮ่ อ่ งสอน ๕ ๙ สุรินทร ์ ๑๘
ภาคกลาง ๑,๔๔๒ ๑๐ ร้อยเอ็ด ๑๘
๑ กรงุ เทพมหานคร ๘๔๗ ๑๑ เลย ๑๘
๒ นนทบุร ี ๑๒๖ ๑๒ สกลนคร ๑๖
๓ ปทมุ ธาน ี ๖๔ ๑๓ หนองบัวล�ำภู ๑๕
๔ นครสวรรค ์ ๕๑ ๑๔ หนองคาย ๑๕
๕ สมทุ รปราการ ๔๓ ๑๕ กาฬสนิ ธ์ ุ ๑๓
๖ พระนครศรีอยุธยา ๓๘ ๑๖ นครพนม ๑๐
๗ พิษณุโลก ๓๒ ๑๗ มกุ ดาหาร ๘
๘ สระบรุ ี ๒๙ ๑๘ ยโสธร ๕
๙ พิจติ ร ๒๘ ๑๙ อำ� นาจเจริญ ๓
๑๐ สุพรรณบุรี ๒๗ ๒๐ บึงกาฬ ๑
๑๑ นครปฐม ๒๕ ภาคใต ้ ๒๔๙
๑๒ เพชรบูรณ ์ ๒๔ ๑ ภเู ก็ต ๓๖
๑๓ ลพบุร ี ๒๐ ๒ ปตั ตาน ี ๓๔
๑๔ สมุทรสาคร ๑๘ ๓ สงขลา ๓๒
๑๕ สุโขทัย ๑๗ ๔ สรุ าษฎรธ์ านี ๒๙
๑๖ นครนายก ๑๓ ๕ นครศรธี รรมราช ๒๖
๑๗ กำ� แพงเพชร ๑๑ ๖ ชมุ พร ๒๓
๑๘ สิงห์บุรี ๙ ๗ พงั งา ๑๖
๑๙ อ่างทอง ๕ ๘ ตรัง ๑๔
๒๐ ชยั นาท ๕ ๙ พัทลุง ๑๑
๒๑ อทุ ยั ธานี ๗ ๑๐ ยะลา ๑๐
๒๒ สมทุ รสงคราม ๔ ๑๑ กระบี ่ ๘
ภาคตะวันออก ๑๙๙ ๑๒ สตูล ๕
๑ ชลบรุ ี ๙๓ ๑๓ ระนอง ๓
๒ ระยอง ๒๙ ๑๔ นราธวิ าส ๒
๓ สระแก้ว ๒๐ ภาคตะวันตก ๑๑๕
๔ ปราจนี บุรี ๑๘ ๑ กาญจนบุรี ๓๒
๕ ฉะเชิงเทรา ๑๕ ๒ ราชบรุ ี ๒๗
๖ จนั ทบรุ ี ๑๔ ๓ ประจวบครี ีขันธ์ ๒๔
๗ ตราด ๑๐ ๔ ตาก ๒๐
๕ เพชรบุร ี ๑๒

รวมทั้งสิน้ ๒,๖๒๒ เร่ือง

*หมายเหต:ุ เรื่องร้องเรียนบางเรอื่ งมหี น่วยงานทถ่ี ูกรอ้ งเรียนมากกว่า ๑ หนว่ ยงาน และมากกว่า ๑ จังหวดั

70 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เร่ืองเร่ืองเรียนท่รี บั ไว้พจิ ารณาในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
จ�ำแนกตามช่องทางการรอ้ งเรยี น

๖๐.๙๓ % ๑๗.๗๓ % ๑๓.๙๔ %

๖.๘๙ % ๐.๔๗ % ๐.๐๔ %

หน่วยงาน จ�ำนวน (เร่ือง) ร้อยละ
๑,๕๔๗ ๖๐.๙๓
ไปรษณีย์ ๔๕๐ ๑๗.๗๓
ย่ืนเร่ืองด้วยตัวเอง ณ ทที่ �ำการสำ� นักงานผู้ตรวจการแผ่นดนิ ๓๕๔ ๑๓.๙๔
เว็บไซต์ (www.ombudsman.go.th) ๑๗๕ ๖.๘๙
โมบายแอปพลิเคชนั่ ๐.๔๗
สายด่วนผู้ตรวจการแผน่ ดิน (โทร. ๑๖๗๖) ๑๒ ๐.๐๔
เรอื่ งทผ่ี ตู้ รวจการแผน่ ดินพจิ ารณาหยบิ ยกมาดำ� เนนิ การตามอำ� นาจหน้าท่ี* ๑ ๑๐๐.๐๐
๒,๕๓๙
รวม

หมายเหตุ: *กรณีปญั หาการขยายเขตไฟฟา้ ในพน้ื ทห่ี ่างไกล

ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ 71

เรือ่ งรอ้ งเรียนทีด่ �ำเนนิ การแล้วเสร็จในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
จ�ำแนกตามหน่วยงานท่ถี ูกรอ้ งเรยี น

หน่วยงาน รวม
๗๓๒
๑ กระทรวงมหาดไทย
- กรมท่ดี ิน (๓๔๑) ๖๖๓
- กรมการปกครอง (๑๗๙) ๕๔๘
- ส�ำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย (๗๗)
๒๕๑
๒ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
๓ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๑๙๐

- เทศบาล (๒๒๑) ๑๖๘
- องค์การบริหารสว่ นตำ� บล (๒๒๐)
- กรงุ เทพมหานคร (๖๙) ๑๔๗
๔ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สำ� นักงานการปฏริ ูปทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม (๑๙๑) ๑๒๔
- กรมชลประทาน (๒๓) ๑๑๗
- กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ (๘)
๑๐๘
๕ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- สำ� นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๗๖)
- สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (๖๖)
- สำ� นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (๑๖)

๖ กระทรวงคมนาคม
- กรมทางหลวง (๙๓)
- การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (๑๖)
- กรมการขนส่งทางบก (๑๔)

๗ กระทรวงยตุ ิธรรม
- กรมราชทัณฑ์ (๗๘)
- กรมบังคับคดี (๑๖)
- ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ (๑๑)

๘ หนว่ ยงานภาคเอกชน
๙ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

- กรมปา่ ไม้ (๖๖)
- กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพันธุ์พืช (๒๗)
- กรมทรัพยากรน�ำ้ (๖)
๑๐ กระทรวงการคลงั
- ธนาคารกรงุ ไทย จ�ำกดั (มหาชน) (๑๘)
- กรมธนารักษ ์ (๑๕)
- กรมสรรพากร (๑๔)

72 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

หน่วยงาน รวม

๑๑ องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานธรุ การขององคก์ รตามรัฐธรรมนญู ๗๒
๑๒ กระทรวงสาธารณสุข ๗๐
๑๓ ศาลและหน่วยธุรการของศาล ๕๗
๑๔ กระทรวงกลาโหม ๔๗
๑๕ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๓๖
๑๖ หน่วยงานอสิ ระอน่ื ของรฐั ๓๐
๑๗ กระทรวงอุตสาหกรรม ๒๕
๑๘ กระทรวงแรงงาน ๒๕
๑๙ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ ๒๒
๒๐ กระทรวงพลงั งาน ๒๑
๒๑ กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า ๑๕
๒๒ รฐั สภาและคณะรฐั มนตรี ๑๔
๒๓ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม ๑๑
๒๔ กระทรวงพาณิชย์ ๑๐
๒๕ อืน่ ๆ (วดั สหกรณ์ กองทนุ หมบู่ า้ น ฯลฯ) ๑๐
๒๖ สว่ นราชการไมส่ งั กัดสำ� นกั นายกรัฐมนตรี กระทรวง และทบวง ๙
๒๗ องคก์ รวชิ าชีพ ๔
๒๘ รฐั วิสาหกิจในกำ� กับของรฐั มนตรี ๓
๒๙ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓
๓๐ กระทรวงวฒั นธรรม ๓
๓๑ กระทรวงการต่างประเทศ ๑
๓,๕๓๖*
รวม

*หมายเหตุ: เน่ืองจากเร่ืองร้องเรียนบางเรื่องได้ร้องเรียนหลายหน่วยงาน ท�ำให้ผลรวมของจ�ำนวนเร่ืองที่จ�ำแนกตามหน่วยงานท่ีถูก
ร้องเรยี นมจี �ำนวนมากกว่าจ�ำนวนเรื่องร้องเรียนทด่ี �ำเนนิ การแลว้ เสรจ็

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 73

เร่ืองรอ้ งเรียนทีร่ บั ไวพ้ จิ ารณาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
จำ� แนกตามหนว่ ยงานทถ่ี กู ร้องเรยี นมากทสี่ ุด ๑๐ อันดับ

๕๔๙
๖๖๗
๗๓๕

๗๐
๑๐๙

๑๑๙
๑๔๘
๑๖๙

๑๙๐
๒๕๒
จ�ำนวน (เรอ่ื ง) กระทรวงสม�ำนหักาดงไาทนอยตงำ� ครก์วาจรแปกหรกง่ ะคชทรารตอวิงงกสเรก่วะษทนตรทรวอ้ แงกงลศรถะึกสะน่ิ ทษหรากธวรกิงกณคารรม์ะทนราควงมกยรตุะทิธรรวรงกทมรรัพะทยราวกงรกธกรราะรทรคมรชลวาังงตสแิ ลาธะสารง่ิ แณวดสลขุ อ้ ม

74 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

เรื่องรอ้ งเรียนท่ดี �ำเนินการแล้วเสร็จในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
จำ� แนกตามระยะเวลาดำ� เนินการ

ภายใน ๑๕ วัน เกินกวา่ ๓ เดอื น – ภายใน ๖ เดือน เกนิ กวา่ ๑ ปี

๐.๑๕ % ๒๓.๓๒ % ๒๐.๓๐ % ๒๐.๒๐ % ๓๖.๐๖ %

๑๖ วัน – ภายใน ๓ เดอื น เกินกวา่ ๖ เดือน – ภายใน ๑ ปี

ระยะเวลาในการด�ำเนนิ การ เร่ืองร้องเรียน (เรอ่ื ง) รอ้ ยละ
๕ ๐.๑๕
ภายใน ๑๕ วนั ๗๕๖ ๒๓.๓๒
๑๖ วัน – ภายใน ๓ เดือน ๖๕๘ ๒๐.๓๐
เกินกว่า ๓ เดอื น – ภายใน ๖ เดอื น ๖๕๕ ๒๐.๒๐
เกนิ กว่า ๖ เดอื น – ภายใน ๑ ปี ๓๖.๐๓
๑,๑๖๘ ๑๐๐.๐๐
เกนิ กวา่ ๑ ปี ๓,๒๔๒
รวม

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 75

การให้บริการประชาชนผ่านสายดว่ นผตู้ รวจการแผน่ ดิน (โทร ๑๖๗๖)
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�ำแนกตามรายเดอื น

๖๐๔
๖๑๖

๕๙๕
๗๑๙

๖๖๕
๕๓๐

๘๐๓
๖๐๐
๖๒๕

๗๒๙
๘๑๒

๗๔๓

จ�ำนวน (เรอ่ื ง) ตุลาคม ๒พฤ๕ศ๕จ๙ิกาธยนันว๒าค๕ม๕ม๒ก๙ร๕า๕ค๙มก๒มุ ภ๕า๖พ๐นั มธนี์ ๒าค๕ม๖๒เ๐ม๕ษ๖าย๐น พ๒ฤ๕ษ๖ภ๐าคมมิถ๒ุนา๕ย๖นก๐๒รก๕ฎ๖า๐คสมงิ ๒หา๕ค๖ม๐ก๒ันย๕า๖ย๐น ๒๕๖๐

ผลการใหบ้ รกิ ารประชาชน ผา่ นสายดว่ นผตู้ รวจการแผน่ ดิน (โทร ๑๖๗๖)
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�ำแนกตามลกั ษณะการให้บริการ

ลักษณะการให้บริการ จ�ำนวน (สาย)
๓,๓๒๑
ตดิ ตามผลการพจิ ารณาเรอ่ื งร้องเรียน ๑๔
รับเป็นเรือ่ งร้องเรียนทางวาจา ๒๖
ประสานงานและแกไ้ ขปัญหาเร่ืองร้องเรียนในเบอื้ งตน้ โดยผ้รู อ้ งเรียนพงึ พอใจ
และไมย่ ่ืนค�ำรอ้ งเป็นเร่ืองร้องเรยี นต่อไป ๔,๖๘๐
ให้คำ� ปรกึ ษาและให้คำ� แนะน�ำเพ่อื ช่วยเหลอื ปญั หาทางด้านกฎหมายแก่ประชาชน ๘,๐๔๑

รวม

76 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๒.๒ ผลการส�ำรวจความพึงพอใจของผู้ร้องเรียนต่อการให้บริการ
เกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินการส�ำรวจ
ความพงึ พอใจของผรู้ อ้ งเรยี นทีม่ ตี ่อการใหบ้ ริการเกย่ี วกบั เร่อื งร้องเรยี น โดยท�ำการสำ� รวจ
ระดับความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้ร้องเรียนที่ได้รับการแจ้งผลการวินิจฉัยของ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน ตลอดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งมีผู้ร้องเรียนตอบแบบสอบถาม
คืนกลับมา จ�ำนวน ๔๗๕ ฉบับ การประเมินความพึงพอใจของผู้ร้องเรียนในครั้งนี้ได้
แบง่ ออกเป็น ๗ สว่ น ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม การเสนอเรือ่ งร้องเรยี น
การด�ำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ความพึงพอใจของผู้ร้องเรียนต่อการให้บริการ
ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความพงึ พอใจของผรู้ อ้ งเรยี น ความคดิ เหน็ ตอ่ ภาพลกั ษณข์ องสำ� นกั งาน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และความเชอ่ื มน่ั ของผรู้ อ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เกย่ี วกบั การแกไ้ ข
ความเดอื ดรอ้ นจากการไมไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรม ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้

ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

จากการเก็บรวบรวมข้อมูล พบว่า ผู้ร้องเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย
ประมาณ ๔๘ ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษามากท่ีสุด ส่วนมากประกอบอาชีพ
ค้าขาย/ท�ำธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉล่ียประมาณ ๒๖,๖๕๖ บาท/เดือน และโดยมาก
มภี มู ลิ �ำเนาอยใู่ นเขตพ้ืนทภี่ าคตะวันออกเฉยี งเหนอื

การเสนอเร่อื งรอ้ งเรยี น

ในการเสนอเรื่องร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน พบว่า กรณีเจ้าหน้าท่ีหรือ
หนว่ ยงานปฏบิ ตั หิ นา้ ทจ่ี นกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื ความไมเ่ ปน็ ธรรม เปน็ ประเดน็ ปญั หา
ที่มีการร้องเรียนมายังผู้ตรวจการแผ่นดินมากท่ีสุด รองลงมาคือ กรณีเจ้าหน้าท่ีหรือ
หน่วยงานละเลยไม่ปฏิบัติหน้าท่ี กรณีเจ้าหน้าท่ีหรือหน่วยงานไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
กรณเี จา้ หนา้ ทห่ี รอื หนว่ ยงานปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี แตก่ ระทำ� นอกเหนอื อำ� นาจหนา้ ทต่ี ามกฎหมาย
และกรณีเจ้าหน้าท่มี ีความประพฤตฝิ า่ ฝนื ประมวลจริยธรรมของหนว่ ยงานตามลำ� ดบั

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 77

ในส่วนของการเสนอเรื่องร้องเรียน พบว่า ผู้ร้องเรียนจ�ำนวนมากที่สุดเสนอ
เร่ืองร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินโดยไม่มีผู้ใดแนะน�ำ และรู้จักผู้ตรวจการแผ่นดินจาก
สอ่ื โทรทศั นม์ ากทส่ี ดุ และยงั พบวา่ ผรู้ อ้ งเรยี นสว่ นใหญไ่ ดเ้ สนอเรอื่ งรอ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจการ
แผ่นดินเพียงหน่วยงานเดยี วเท่านั้น

การดำ� เนนิ การเก่ียวกับเรื่องร้องเรียน

ในการด�ำเนินการเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียน พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ร้องเรียนนิยมเสนอ
เร่ืองร้องเรียนโดยท�ำเป็นหนังสือ และจัดส่งมาทางไปรษณีย์ รองลงมาเป็นการร้องเรียน
ทางวาจา โดยติดต่อกบั เจ้าหนา้ ทีโ่ ดยตรง ร้องเรยี นทางอินเทอร์เน็ต โดยจดั สง่ ทางเวบ็ ไซต์
ของส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน (www.ombudsman.go.th) และร้องเรียนผ่าน
หน่วยงานอืน่ โดยสง่ ผ่านสำ� นกั งานอัยการ และสภาทนายความ ตามล�ำดบั
ทง้ั นี้ ผรู้ อ้ งเรยี นสว่ นใหญไ่ ดร้ บั คำ� แนะนำ� เกย่ี วกบั ขนั้ ตอนการพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น
จากเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยเม่ือย่ืนเรื่องร้องเรียนแล้ว ส่วนใหญ่
ไดร้ บั แจง้ เปน็ หนงั สอื จากสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ วา่ ไดร้ บั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นไวพ้ จิ ารณาแลว้
นอกจากนยี้ งั พบวา่ เจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดต้ ดิ ตอ่ ผรู้ อ้ งเรยี นเพอ่ื ขอขอ้ มลู
เพ่ิมเติมจากผู้ร้องเรียน เฉลี่ยประมาณ ๒ ครั้ง/ราย และยังมีการรายงานความคืบหน้า
ในการพจิ ารณาเรือ่ งร้องเรยี นให้ผรู้ อ้ งเรียนทราบ เฉลีย่ ประมาณ ๒ ครั้ง/ราย
สำ� หรบั การตดิ ตามเรอื่ งรอ้ งเรยี น พบวา่ ผรู้ อ้ งเรยี นสว่ นใหญม่ กี ารตดิ ตามเรอ่ื งรอ้ งเรยี น
ของตัวเอง เฉลี่ยประมาณ ๓ ครั้ง/ราย โดยผูร้ อ้ งเรียนทไ่ี มต่ ิดตามเรอื่ งร้องเรยี นของตวั เอง
สว่ นใหญใ่ หเ้ หตผุ ลวา่ ไมส่ ามารถตดิ ตามเรอ่ื งรอ้ งเรยี นไดเ้ นอ่ื งจากถกู คมุ ขงั อยใู่ นทณั ฑสถาน
รอการติดต่อกลับจากส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เข้าใจว่าส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
อยรู่ ะหวา่ งกำ� ลงั พจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น เจา้ หนา้ ทจ่ี ากสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดต้ ดิ ตอ่
กลบั ไปหาผรู้ อ้ งเรยี นเปน็ ระยะอยแู่ ลว้ เชอ่ื มน่ั ในการทำ� งานของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เข้าใจว่าส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินมีเรื่องร้องเรียนจ�ำนวนมากที่จะต้องพิจารณา
ด�ำเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จจึงอาจด�ำเนินการลา่ ชา้ และพบวา่ มีผู้รอ้ งเรยี นบางรายทย่ี อมรับวา่
ไมค่ าดหวงั ในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั จงึ ไมป่ ระสงคใ์ นผลการพจิ ารณาแตต่ อ้ งการ
แจง้ เรื่องหรอื ปญั หาให้ผตู้ รวจการแผ่นดินทราบเทา่ นั้น

78 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ในสว่ นของผลการวนิ จิ ฉยั พบวา่ ผลการวนิ จิ ฉยั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เป็นไปตามที่ผู้ร้องเรียนได้ร้องเรียนมากท่ีสุด รองลงมาคือ ผู้ตรวจการแผ่นดินไม่รับ
เรื่องร้องเรียนไว้พิจารณา เพราะเป็นเร่ืองท่ีไม่อยู่ในอ�ำนาจหน้าท่ีของผู้ตรวจการแผ่นดิน
ผลการวินิจฉัยไม่เป็นไปตามท่ีผู้ร้องเรียนได้ร้องเรียน และผู้ตรวจการแผ่นดินด�ำเนินการ
ไกล่เกลี่ยจนได้ผลเป็นท่ียอมรับท้ังสองฝ่ายตามล�ำดับ ท้ังน้ี พบว่า ได้มีผลการวินิจฉัย
ในลกั ษณะอนื่ อกี ดว้ ย โดยเปน็ กรณที ผี่ รู้ อ้ งเรยี นขอถอนเรอ่ื งรอ้ งเรยี นกอ่ นทจ่ี ะมกี ารวนิ จิ ฉยั
เร่ืองเรียน และกรณีที่ผู้ร้องเรียนได้ตัดสินใจน�ำเรื่องเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของ
ศาลปกครองแทน ทำ� ใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตอ้ งยตุ กิ ารพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นตามกฎหมาย
เน่ืองจากถือเป็นเร่ืองที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาล อนึ่ง ผู้ร้องเรียนส่วนใหญ่ยอมรับ
ผลการวนิ จิ ฉยั เพราะเหน็ วา่ มคี วามเปน็ ธรรม และมคี วามคดิ เหน็ วา่ ตวั เองไดร้ บั บรกิ ารจาก
ส�ำนักงานผตู้ รวจการแผน่ ดินอย่างเทา่ เทยี มกับผรู้ ้องเรียนรายอ่นื

ความพงึ พอใจของผ้รู อ้ งเรยี นตอ่ การให้บริการ

ในการศึกษาเพื่อส�ำรวจความพึงพอใจของผู้ร้องเรียนท่ีมีต่อการให้บริการเก่ียวกับ
เรือ่ งร้องเรียนของสำ� นักงานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้ทำ�
การศึกษาความพึงพอใจใน ๕ ด้าน ดังนี้
- ความพึงพอใจต่อการย่ืนและรับเรอื่ งร้องเรียน
- ความพึงพอใจตอ่ การพจิ ารณาสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำ� ร้องเรยี น
- ความพงึ พอใจต่อการพจิ ารณาวินิจฉัยเร่ืองรอ้ งเรียน
- ความพึงพอใจต่อการด�ำเนนิ การหลงั การพิจารณาวินจิ ฉัยเรือ่ งรอ้ งเรยี น
- ความพงึ พอใจต่อการพจิ ารณาสอบสวนเร่อื งร้องเรยี นในภาพรวม
โดยได้ท�ำการศึกษาระดับความพึงพอใจจากข้อค�ำถามท่ีสร้างข้ึนมาในแต่ละส่วน
ซ่ึงก�ำหนดระดับความพึงพอใจ คือ พอใจน้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สุด
มีวธิ ีให้คะแนนของคำ� ตอบ คอื ๑ ๒ ๓ ๔ และ ๕ ตามลำ� ดับ จากน้ันน�ำคะแนนที่ได้มา
จดั แบง่ ระดบั ความพงึ พอใจออกเปน็ กลมุ่ ความพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก และ
มากทส่ี ดุ โดยใช้วิธแี จกแจงความถี่แบบจดั กลมุ่ เพอื่ ค�ำนวณหาอันตรภาคช้นั

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 79

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในสว่ นของความพงึ พอใจของผู้รอ้ งเรียน พบว่า ผรู้ อ้ งเรียน
มีความพึงพอใจต่อการให้บริการเก่ียวกับเรื่องร้องเรียนในทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยมี
ความพึงพอใจในด้านการยื่นและรับเร่ืองร้องเรียน (ร้อยละ ๘๑.๖๐) ด้านการพิจารณา
สอบสวนหาข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียน (ร้อยละ ๘๐.๘๐) ด้านการพิจารณาวินิจฉัย
เรอ่ื งรอ้ งเรยี น (รอ้ ยละ ๘๐.๖๐) ดา้ นการดำ� เนนิ การหลงั การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั เรอื่ งรอ้ งเรยี น
(ร้อยละ ๗๗.๐๐) ทั้งน้ี ในภาพรวม ผู้ร้องเรียนมีความพึงพอใจต่อการพิจารณาสอบสวน
เรอื่ งร้องเรียนในภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก (ร้อยละ ๘๑.๔๐)

ปัจจยั ท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อความพงึ พอใจของผ้รู ้องเรียน

ผลจากการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ร้องเรียนโดยใช้วิธี
กำ� ลงั สองนอ้ ยทสี่ ดุ (Least Squares Method) ในรปู ของสมการถดถอยพหคุ ณู (Multiple
Regression) พบว่า อาชพี คา้ ขาย/ธุรกจิ สว่ นตัว การได้รับค�ำแนะนำ� เก่ียวกับข้ันตอนการ
พิจารณาเรื่องร้องเรียนจากส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน การรายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับ
การพิจารณาเรื่องร้องเรียน ความคิดเห็นเก่ียวกับการได้รับบริการที่เท่าเทียมกับผู้ร้องเรียน
รายอน่ื ความคดิ เหน็ ตอ่ ภาพลกั ษณแ์ ละการใหบ้ รกิ ารของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และ
ความเช่ือม่ันต่อผู้ตรวจการแผ่นดินเกี่ยวกับการแก้ไขความเดือดร้อนจากการไม่ได้รับ
ความเปน็ ธรรม หลงั จากทไี่ ดม้ กี ารยน่ื เรอ่ื งรอ้ งเรยี น เปน็ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความพงึ พอใจ
ของผรู้ อ้ งเรยี นเกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ ารของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มน่ั
รอ้ ยละ ๙๐ กลา่ วคอื เมอื่ ผรู้ อ้ งเรยี นประกอบอาชพี คา้ ขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั หรอื ไดร้ บั คำ� แนะนำ�
เกี่ยวกับข้ันตอนการพิจารณาเร่ืองร้องเรียนจากส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือได้รับ
การรายงานความกา้ วหนา้ เกย่ี วกบั การพจิ ารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี น หรอื มคี วามคดิ เหน็ วา่ ตวั เอง
ได้รับบริการที่เท่าเทียมกับผู้ร้องเรียนรายอื่น หรือมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์และ
การใหบ้ รกิ ารของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ รวมทง้ั มคี วามเชอื่ มนั่ ตอ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เก่ียวกับการแก้ไขความเดือดร้อนจากการไม่ได้รับความเป็นธรรมหลังจากที่ได้มีการเสนอ
เรอื่ งรอ้ งเรยี นในระดบั ทดี่ มี ากขนึ้ แลว้ จะทำ� ใหค้ วามพงึ พอใจของผรู้ อ้ งเรยี นตอ่ การใหบ้ รกิ าร
ของส�ำนักงานผตู้ รวจการแผ่นดินในภาพรวมเพม่ิ ขน้ึ ดว้ ย

80 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ความคิดเหน็ ตอ่ ภาพลักษณ์ของส�ำนกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดิน

ในภาพรวม ผรู้ อ้ งเรยี นมคี วามคดิ เหน็ วา่ ภาพลกั ษณข์ องสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
อยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ ๘๒.๒๐) เม่ือท�ำการวิเคราะห์โดยแยกออกเป็นรายประเด็น
พบวา่ ผรู้ อ้ งเรยี นมคี วามคดิ เหน็ ตอ่ ภาพลกั ษณข์ องสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ อยใู่ นระดบั
ดีมากท่ีสุด ในประเด็นการเป็นองค์กรที่ร้องเรียนได้สะดวก (ร้อยละ ๘๖.๒๐) และมี
ความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินในระดับดีมาก ในประเด็น
การเป็นองค์กรที่พิจารณาสอบสวนเรื่องร้องเรียนด้วยความโปร่งใส และตรวจสอบได้
และประเดน็ การเปน็ องคก์ รทเ่ี ขา้ ใจความตอ้ งการของผรู้ อ้ งเรยี น มคี วามมงุ่ มน่ั ความพรอ้ ม
และความเต็มใจให้บริการ มีสัดส่วนเท่ากัน (ร้อยละ ๘๓.๘๐) ประเด็นการเป็นองค์กร
ทบ่ี คุ ลากรมคี วามรู้ ความสามารถ และความชำ� นาญในการแกป้ ญั หาเกย่ี วกบั เรอื่ งรอ้ งเรยี น
(ร้อยละ ๘๒.๖๐) ประเดน็ การเปน็ องคก์ รทใี่ ห้ความเปน็ ธรรมตอ่ ทกุ ฝ่าย (ร้อยละ ๘๒.๔๐)
ประเด็นเป็นองค์กรท่ีมีสถานท่ี เจ้าหน้าที่ และเครื่องมือในการให้บริการที่เหมาะสม
(รอ้ ยละ ๘๑.๖๐) ประเดน็ การเปน็ องคก์ รท่ีประชาชนสามารถฝากความหวงั และพึ่งพิงได้
เมื่อมีปัญหาความเดือดร้อน (ร้อยละ ๗๙.๖๐) และประเด็นการเป็นองค์กรที่พิจารณา
เรอื่ งร้องเรียนไดอ้ ย่างรวดเร็ว (รอ้ ยละ ๗๗.๖๐) ตามลำ� ดับ
อน่ึง เม่ือท�ำการสอบถามผู้ร้องเรียนเก่ียวกับความต้องการเสนอเรื่องร้องเรียนต่อ
ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินในอนาคต ผู้ร้องเรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ในอนาคต
หากมปี ญั หาเกดิ ขน้ึ จะมายน่ื เรอ่ื งรอ้ งเรยี นตอ่ สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แนน่ อน คดิ เปน็
ร้อยละ ๗๐.๕๐ โดยผู้ร้องเรียนได้ให้เหตุผลสนับสนุน เช่น ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
รับฟังปัญหาของผู้ร้องเรียน ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินให้บริการท่ีดีและสามารถติดต่อ
ได้สะดวก เจ้าหน้าที่ของส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินมีความกระตือรือร้นและเต็มใจท่ีจะ
ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ร้องเรียน ค�ำวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดินมีความเป็นธรรมและ
สามารถแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นได้ และเชอื่ มนั่ ตอ่ ระบบการทำ� งานของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เป็นตน้

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 81

ความเชอื่ มน่ั ของผรู้ อ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เกยี่ วกบั การแกไ้ ขความเดอื ดรอ้ น
จากการไม่ไดร้ ับความเปน็ ธรรม

จากการศึกษา พบวา่ ก่อนเสนอเรือ่ งร้องเรยี น ผู้รอ้ งเรยี นมีความเช่ือม่ันต่อองคก์ ร
ผู้ตรวจการแผ่นดินเกี่ยวกับการแก้ไขความเดือดร้อนจากการไม่ได้รับความเป็นธรรม
ในระดับมาก (ร้อยละ ๘๒.๒๐) และเม่ือพิจารณาความถี่ของค�ำตอบ พบว่า ผู้ร้องเรียน
จำ� นวนมากทสี่ ดุ มคี วามเชอ่ื มน่ั อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๑.๕๐ ของผรู้ อ้ งเรยี น
ท่ตี อบแบบสอบถาม และในส่วนของความเช่ือมนั่ หลังทราบผลการพิจารณาเร่ืองรอ้ งเรยี น
พบว่า ผรู้ อ้ งเรียนยงั คงมีความเช่อื มนั่ อยูใ่ นระดบั มาก (ร้อยละ ๗๕.๖๐) โดยเม่ือพิจารณา
ความถ่ขี องคำ� ตอบ พบวา่ ผู้ร้องเรยี นจำ� นวนมากทสี่ ุด มคี วามเช่อื ม่นั อยูใ่ นระดบั มากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๐๐ ของผรู้ ้องเรยี นทต่ี อบแบบสอบถาม

82 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๒.๓ ตวั อยา่ งผลการดำ� เนนิ งานดา้ นการพจิ ารณาสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ
ตามคำ� รอ้ งเรยี น

ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดร้ บั ค�ำรอ้ งเรยี นจากประชาชน
ไวพ้ จิ ารณาสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนเปน็ จำ� นวนมาก
และมีประเด็นปัญหาของเร่ืองร้องเรียนท่ีหลากหลาย โดยเม่ือพิจารณาอ�ำนาจหน้าที่ของ
ผู้ตรวจการแผ่นดินในการรับเร่ืองร้องเรียนไว้พิจารณาแก้ไขปัญหาความทุกข์ร้อน
ของประชาชนแล้ว พบว่า เรื่องร้องเรียนส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องร้องเรียนท่ีมีประเด็นปัญหา
เกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เรื่องร้องเรียนที่มีลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีก่อให้เกิด
ความเสยี หายโดยไมเ่ ปน็ ธรรมแกผ่ รู้ อ้ งเรยี น เรอื่ งรอ้ งเรยี นทมี่ ลี กั ษณะละเลยไมป่ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี
ตามหนา้ ท่ที ี่ก่อใหเ้ กิดความเสียหายโดยไม่เปน็ ธรรมแก่ผรู้ ้องเรยี น และเรอ่ื งรอ้ งเรยี นกรณี
หน่วยงานไมป่ ฏบิ ัติตามกฎหมาย ซึง่ มตี ัวอย่างเรื่องรอ้ งเรียนในประเด็นตา่ ง ๆ ดังนี้

๒.๓.๑ เรื่องรอ้ งเรยี นกรณีเกยี่ วกบั ปญั หาความชอบด้วยรัฐธรรมนญู

ภายหลังประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ เมอื่ วันท่ี
๖ เมษายน ๒๕๖๐ สง่ ผลใหห้ น้าที่และอำ� นาจขององค์กรตามรฐั ธรรมนญู ในการค้มุ ครอง
สิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป อาทิ มาตรา ๒๑๐ (๑) ศาลรัฐธรรมนูญ
มหี นา้ ทแ่ี ละอำ� นาจพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู ของกฎหมายหรอื รา่ งกฎหมาย
และมาตรา ๒๑๓ ก�ำหนดใหบ้ คุ คลซึ่งถูกละเมิดสทิ ธิหรือเสรภี าพที่รัฐธรรมนญู คมุ้ ครองไว้
มสี ทิ ธยิ นื่ คำ� รอ้ งตอ่ ศาลรฐั ธรรมนญู เพอ่ื วนิ จิ ฉยั วา่ การกระทำ� นนั้ ขดั หรอื แยง้ ตอ่ รฐั ธรรมนญู
ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
วา่ ดว้ ยวธิ พี จิ ารณาความของศาลรฐั ธรรมนญู เปน็ ตน้ สว่ นผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แมย้ งั คงมหี นา้ ท่ี
และอ�ำนาจในการเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ หากเห็นว่าบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายมีปัญหาเก่ียวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ก็จะต้องมีการปฏิบัติหน้าที่ตาม
มาตรา ๒๓๐ ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ดว้ ย อย่างไรกด็ ี

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 83

ในขณะทร่ี า่ งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการพจิ ารณาความของศาลรฐั ธรรมนญู
และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินยังอยู่ระหว่าง
ข้ันตอนพิจารณาเพื่อให้มีผลบังคับใช้น้ัน ปรากฏว่า มีเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับกระบวนการ
ตรากฎหมายทีผ่ รู้ ้องเรียนเหน็ ว่ามปี ญั หาความชอบดว้ ยรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ทเี่ สนอต่อผู้ตรวจการแผน่ ดนิ เพือ่ ให้เสนอเรื่องพร้อมความเห็นไปยงั
ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย แต่ผู้ตรวจการแผ่นดินไม่อาจรับเรื่องในลักษณะดังกล่าว
ไวพ้ จิ ารณา เนอื่ งจากกระบวนการตรากฎหมายเปน็ การตรวจสอบความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู
กอ่ นการประกาศใชเ้ ปน็ กฎหมาย ดงั นน้ั จงึ ไมอ่ ยใู่ นหนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
รวมทัง้ สิ้น ๖ เร่ืองไดแ้ ก่
๑. รา่ งพระราชบัญญตั ิปิโตรเลียม (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. ....
๒. ร่างพระราชบัญญตั ิการจดั ท�ำยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ....
๓. รา่ งพระราชบญั ญตั แิ ผนและขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การปฏบิ ตั ริ ปู ประเทศ พ.ศ. ....
๔. พระราชบญั ญตั ปิ ิโตรเลียม (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๐
๕. พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
วิธพี ิจารณาความอาญาของผดู้ �ำรงตำ� แหนง่ ทางการเมือง พ.ศ.๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๐
๖. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๐
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดด้ ำ� เนนิ การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ประเดน็ ปญั หาเกย่ี วกบั ความชอบดว้ ย
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
(ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ในแต่ละเร่ืองร้องเรียนซ่ึงในที่น้ีจะน�ำเสนอตัวอย่าง
เรือ่ งรอ้ งเรียนดังต่อไปน้ี

84 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

เร่อื งที่ ๑

พระราชบัญญัตคิ ่าตอบแทนผูเ้ สียหายและคา่ ตอบแทนและคา่ ใช้จา่ ยแกจ่ ำ� เลย

ในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๒๒ มีปญั หาเก่ียวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนญู
แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕ และมาตรา ๒๕ วรรคสี่ หรือไม่
ผรู้ อ้ งเรยี นเคยถกู ฟอ้ งคดอี าญาในขอ้ หาฉอ้ โกงประชาชน แตศ่ าลฎกี ามคี ำ� พพิ ากษา
ถึงที่สุดว่า ผู้ร้องเรียนไม่มีความผิด ผู้ร้องเรียนจึงได้ย่ืนหนังสือขอให้กระทรวงการคลัง
พจิ ารณาจา่ ยเงนิ คา่ ทดแทนใหต้ ามทรี่ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐
มาตรา ๒๔๖ ซ่ึงเป็นกฎหมายท่ีใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นก�ำหนดไว้ แต่กระทรวงการคลัง
แจง้ ว่า ในช่วงเวลาดงั กลา่ วยังไม่มกี ฎหมายกำ� หนดเงอ่ื นไขและวธิ กี ารจ่ายเงนิ คา่ ทดแทน
กระทรวงการคลังจึงไม่อาจพิจารณาค�ำขอของผู้ร้องเรียนได้ จนกระท่ังในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
ผู้ร้องเรียนจึงได้ยื่นค�ำขอรับค่าทดแทนต่อคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหาย
และคา่ ทดแทนและคา่ ใช้จา่ ยแกจ่ �ำเลยในคดอี าญา โดยคณะกรรมการฯ ได้มคี �ำวนิ ิจฉัยวา่
ในคดีท่ีผู้ร้องเรียนเป็นจ�ำเลยน้ัน ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาอันถึงที่สุดให้ยกฟ้องก่อนวันท่ี
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๔ จะมผี ลใชบ้ งั คบั ประกอบกบั ผรู้ อ้ งเรยี นไดย้ นื่ คำ� ขอรบั คา่ ทดแทนเมอ่ื พน้ กำ� หนด
ระยะเวลา ๑ ปี นับแตว่ ันท่ีค�ำพพิ ากษาถึงที่สุด จงึ วนิ ิจฉยั ยกคำ� ขอของผู้ร้องเรยี น ดว้ ยเหตนุ ี้
ผรู้ อ้ งเรยี นจงึ ไดย้ นื่ หนงั สอื รอ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอื่ ขอใหเ้ สนอเรอ่ื งพรอ้ มความเหน็
ต่อศาลรัฐธรรมนูญ กรณีพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ
ค่าใชจ้ ่ายแกจ่ ำ� เลยในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๒๒ มีปญั หาเก่ียวกับความชอบด้วย
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕ และมาตรา ๒๕ วรรคส่ี
ผู้ตรวจการแผน่ ดินไดพ้ จิ ารณาแล้วเห็นวา่ กรณีตามคำ� รอ้ งเรียนนีม้ ีประเดน็ ทตี่ อ้ ง
พิจารณาว่า พระราชบญั ญัติค่าตอบแทนผูเ้ สยี หาย และคา่ ทดแทนและค่าใชจ้ ่ายแก่จำ� เลย
ในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๒๒ เรอื่ งระยะเวลาในการใชส้ ทิ ธขิ อรบั คา่ ทดแทน มปี ญั หา
เกี่ยวกับความชอบดว้ ยรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕
และมาตรา ๒๕ วรรคสี่ หรือไม่ ซ่ึงผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดเ้ คยมคี ำ� วนิ จิ ฉยั เรอื่ งรอ้ งเรยี นทมี่ ี

ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ 85

ประเดน็ ขอ้ รอ้ งเรยี นเดยี วกบั กรณนี ไ้ี วแ้ ลว้ โดยสรปุ
วา่ “แมผ้ รู้ อ้ งเรยี นจะเปน็ ผมู้ สี ทิ ธติ ามทรี่ ฐั ธรรมนญู
รบั รองไวจ้ รงิ สทิ ธดิ งั กลา่ วนนั้ รฐั ธรรมนญู กำ� หนด
เงื่อนไขและวิธีการขอรับเงินค่าทดแทนและ
ค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ จึงเป็น
กรณที รี่ ฐั ธรรมนญู กำ� หนดให้ “การใชส้ ทิ ธ”ิ ดงั กลา่ ว ตอ้ งเปน็ ไปตาม “เงอ่ื นไข” ทกี่ ฎหมาย
ท่ีจะมีการบัญญัติรองรับในภายหลังน้ันก�ำหนดไว้ ดังนั้น เม่ือพระราชบัญญัติค่าตอบแทน
ผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๒๒
กำ� หนดใหต้ อ้ งมกี ารยน่ื ขอรบั เงนิ คา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั จำ� เลยในคดอี าญา ภายใน
ระยะเวลา ๑ ปี นับแต่วันท่ีมีค�ำพิพากษาถึงท่ีสุด จึงเป็นการก�ำหนดเง่ือนไขเก่ียวกับ
ระยะเวลาในการขอรบั คา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยตามทรี่ ฐั ธรรมนญู ไดบ้ ญั ญตั ไิ วน้ น้ั หาใชก่ รณี
เกี่ยวกับอายุความอันเป็นผลร้ายแก่ผู้ร้องเรียนแต่ประการใด จึงเห็นว่า มาตรา ๒๒
แห่งพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลย
ในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ไม่มีปญั หาความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู ” ประกอบกับมาตรา ๒๔๖
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และมาตรา ๒๕ วรรคส่ี
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีหลักการและเน้ือหา
เชน่ เดยี วกนั และเมอ่ื ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี นนไ้ี มป่ รากฏพยานหลกั ฐานหรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ใหม่
อนั อาจทำ� ใหผ้ ลการพจิ ารณาเปลย่ี นแปลงไป ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ เหน็ ควรยตุ กิ ารพจิ ารณา
เรอ่ื งรอ้ งเรยี น ตามมาตรา ๒๙ (๗) แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการ
แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒

86 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เร่อื งท่ี ๒

คำ� ส่งั หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๐/๒๕๖๐ เรอื่ ง มาตรการเร่งรดั
และเพิ่มประสทิ ธภิ าพการดำ� เนินการโครงการรถไฟความเร็วสูง ชว่ งกรงุ เทพ - นครราชสีมา
มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว)
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔๔ ประกอบรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๐ มาตรา ๒๖๕ มาตรา ๕๒ ประกอบมาตรา ๒๖ มาตรา ๗๕ มาตรา ๗๖ มาตรา
๗๗ ประกอบมาตรา ๒๗ และมาตรา ๑๗๘ หรอื ไม่

ผู้ร้องเรียนและคณะเสนอเร่ืองร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ขอให้ตรวจสอบ
ขอ้ เทจ็ จรงิ และพจิ ารณาเสนอเรอ่ื งพรอ้ มดว้ ยความเหน็ ตอ่ ศาลรฐั ธรรมนญู หรอื ศาลปกครอง
เพ่ือพิจารณาวินิจฉัย กรณีค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๓๐/๒๕๖๐
เรื่อง มาตรการเร่งรัดและเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินการโครงการรถไฟความเร็วสูง
ชว่ งกรงุ เทพ - นครราชสมี า มปี ญั หาเกยี่ วกบั ความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖๕ มาตรา ๕๒ ประกอบมาตรา ๒๖ มาตรา ๗๕ มาตรา ๗๖
มาตรา ๗๗ ประกอบมาตรา ๒๗ และมาตรา ๑๗๘ โดยเห็นว่า แม้ว่าจะมบี ทเฉพาะกาล
ตามมาตรา ๒๖๕ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ที่คงอ�ำนาจ
และหน้าทีข่ องหัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติไวก้ ต็ าม แตก่ ารดำ� เนนิ การใด ๆ ของ
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติและเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนญู ฉบับปจั จบุ นั กล่าวคอื การใช้อำ� นาจดงั กลา่ วต้องกระทำ� “เท่าทจี่ �ำเปน็ ” หรอื
ท่ีเกย่ี วกับ “ความม่ันคง” เทา่ นน้ั แตป่ รากฏว่าค�ำสัง่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ
ดงั กลา่ ว มผี ลทำ� ใหป้ ระเทศไทยตอ้ งสญู เสยี สทิ ธใิ นทด่ี นิ บรเิ วณสองขา้ งทางขา้ งละ ๑๕๐ เมตร
เพอ่ื ใหร้ ฐั บาลสาธารณรฐั ประชาชนจนี หรอื รฐั วสิ าหกจิ สาธารณรฐั ประชาชนจนี นำ� ไปพฒั นา
เป็นแหล่งการค้าหรืออื่น ๆ ส่งผลใหค้ นไทยสญู เสยี สิทธใิ นการใช้ท่ีดนิ ในการประกอบการ
หรือประกอบสัมมาอาชีพอ่ืนใดเพ่ือการพัฒนาในอาชีพและท่ีอยู่อาศัย อันขัดหรือแย้งต่อ
มาตรา ๕๒ ประกอบมาตรา ๒๖ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 87

นอกจากนี้ ค�ำสัง่ ดงั กล่าวยงั ก�ำหนดใหบ้ คุ คลธรรมดา นติ ิบคุ คล วศิ วกร และสถาปนิกของ
สาธารณรฐั ประชาชนจนี ไดร้ บั การยกเวน้ ไมอ่ ยภู่ ายใตก้ ารบงั คบั ของพระราชบญั ญตั วิ ศิ วกร
พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญตั สิ ถาปนกิ พ.ศ. ๒๕๔๓ ซงึ่ เปน็ การก้าวลว่ งหรือขัดแยง้ กับ
การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม วิศวกรรมควบคุม ซ่ึงเป็นวิชาชีพท่ีได้รับ
การคมุ้ ครองโดยกฎหมายของประเทศไทยกอ่ ใหเ้ กดิ ความเดือดรอ้ นและความไมเ่ ปน็ ธรรม
ตอ่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี สถาปตั ยกรรมควบคมุ หรอื วศิ วกร ประกอบกบั การออกคำ� สง่ั ดงั กลา่ ว
รฐั มไิ ดจ้ ดั ใหม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผเู้ กยี่ วขอ้ ง วเิ คราะห์ ผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จาก
กฎหมายอยา่ งรอบดา้ นและเปน็ ระบบ ตามมาตรา ๗๗ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมิได้ขอความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือรัฐสภา
เสียก่อน ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
จึงขอให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาเสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ
หรือศาลปกครอง เพ่ือพิจารณาวินิจฉัยว่าค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ฉบับดงั กลา่ วมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนูญ
ผู้ตรวจการแผ่นดินปรึกษาหารือร่วมกันแล้ว
มีความเห็นว่า ตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖๕
ก�ำหนดให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติยังคงอยู่
ในตำ� แหนง่ เพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ่ ไปจนกวา่ คณะรฐั มนตรี
ท่ีต้ังข้ึนใหม่ภายหลังการเลือกตั้งท่ัวไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญน้ีจะเข้ารับหน้าที่ โดยให้
หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตแิ ละคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตยิ งั คงมหี นา้ ทแ่ี ละอำ� นาจ
ตามท่ีบญั ญตั ไิ วใ้ นรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชัว่ คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗
ซง่ึ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชวั่ คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๘ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ และให้
ถอื วา่ บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยดงั กลา่ วในสว่ นทเ่ี กยี่ วกบั อำ� นาจของ
หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตแิ ละคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตยิ งั คงมผี ลใชบ้ งั คบั ได้

88 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ต่อไป ประกอบกับมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ กำ� หนดใหห้ วั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตโิ ดยความเหน็ ชอบของ
คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติมีอำ� นาจสั่งการ ระงับ ยับยั้ง หรอื กระทำ� การใด ๆ ได้ ในกรณี
ที่เห็นว่าเป็นการจ�ำเป็นเพ่ือประโยชน์ในการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าการกระท�ำนั้นจะมี
ผลบังคับในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าค�ำสั่งหรือ
การกระท�ำรวมทั้งการปฏิบัติตามค�ำสั่งดังกล่าว เป็นค�ำสั่งหรือการกระท�ำหรือการปฏิบัติ
ทชี่ อบดว้ ยกฎหมายและรฐั ธรรมนญู นแี้ ละเปน็ ทสี่ ดุ ดงั นนั้ การทห่ี วั หนา้ คณะรกั ษาความสงบ
แห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เห็นเป็นการจ�ำเป็นเพื่อ
ประโยชน์ในการปฏิรูประบบคมนาคมของประเทศ น�ำไปสู่การพัฒนาโครงข่ายรถไฟ
ความเรว็ สูง ซึ่งเปน็ การพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นคมนาคมเพ่อื เชอ่ื มโยงพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ
ยกระดบั ศกั ยภาพการแขง่ ขนั และลดความเหลอื่ มลำ้� ตามยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ จงึ อาศยั
อำ� นาจตามความในมาตรา ๒๖๕ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
ประกอบมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช
๒๕๕๗ มีคำ� สัง่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติท่ี ๓๐/๒๕๖๐ เรอ่ื ง มาตรการเร่งรัด
และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการดำ� เนนิ การโครงการรถไฟความเรว็ สงู ชว่ งกรงุ เทพ – นครราชสมี า
ลงวันท่ี ๑๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ กรณีจึงเป็นการออกค�ำสั่งโดยอาศัยอ�ำนาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนญู ซง่ึ มผี ลบงั คบั เทยี บเทา่ กบั พระราชบญั ญตั ิ แมว้ า่ คำ� สงั่ ดงั กลา่ วจะมี
สถานะเปน็ บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายตามมาตรา ๒๓๑ (๑) ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร
ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ก็ตาม (เทียบเคียงค�ำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๕/๒๕๕๑
และ ๑๒/๒๕๕๒) แตม่ าตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ ให้ถือว่าค�ำส่ังหรือการกระท�ำรวมทั้งการปฏิบัติตามค�ำส่ังดังกล่าว
เป็นค�ำส่ังหรอื การกระทำ� หรือการปฏบิ ัตทิ ช่ี อบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนญู และเป็นท่ีสุด
กรณจี งึ ไมม่ ปี ระเดน็ ทจี่ ะพจิ ารณาตอ่ ไปวา่ มปี ญั หาเกย่ี วกบั ความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู หรอื ไม่
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงวินิจฉัยให้ยุติการพิจารณา
เรื่องร้องเรียน เน่ืองจากเป็นเร่ืองที่มิได้เป็นไปตามมาตรา ๒๓๐ และมาตรา ๒๓๑ ของ
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 89

๒.๓.๒ เร่อื งรอ้ งเรยี นกรณกี ารปฏิบตั หิ นา้ ท่ีที่ก่อใหเ้ กิดความเสยี หายโดยไม่
เปน็ ธรรมแก่ผ้รู อ้ งเรยี น

เรอื่ งท่ี ๑

หนว่ ยงานของรัฐดำ� เนนิ โครงการขดุ ลอกลำ� ห้วยรุกล้�ำทดี่ ินของผู้รอ้ งเรียน
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับเร่ืองร้องเรียนสรุปข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียนได้ว่า
ผใู้ หญบ่ า้ นไดเ้ รยี กประชมุ ประชาชนในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบและแจง้ วา่ ทางราชการจะดำ� เนนิ การ
ขุดลอกขยายล�ำห้วยเพ่ือประโยชน์ในทางเกษตรกรรม และขอให้ประชาชนในพ้ืนท่ีลงมติ
ดว้ ยการยกมอื สนบั สนนุ โดยบดิ าของผรู้ อ้ งเรยี นไมย่ กมอื สนบั สนนุ การขดุ ลอกขยายลำ� หว้ ย
ดังกล่าว ต่อมา เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๗ ผู้รับเหมาได้ด�ำเนินการขุดลอกล�ำห้วยเข้ามา
ในทด่ี ินของมารดาของผู้ร้องเรยี นซึ่งมเี นือ้ ที่ประมาณ ๑๔ ไร่ ผู้รอ้ งเรยี นจงึ ไปสอบถามกบั
อำ� เภอแหง่ หนง่ึ ไดร้ บั การชแ้ี จงวา่ ทางอำ� เภอไมท่ ราบเรอื่ งดงั กลา่ ว ในขณะเดยี วกนั ผรู้ บั เหมา
ยังคงด�ำเนินการขุดลอกล�ำห้วยต่อไป ท�ำให้มารดาของผู้ร้องเรียนได้รับความเดือดร้อน
เสียหายจากการสูญเสียท่ีดินประมาณ ๓ ไร่ จึงร้องเรียนมายังผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและแกไ้ ขปัญหาความทุกขร์ ้อนดงั กลา่ ว
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ หี นงั สอื แจง้ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ สรปุ วา่
เม่อื วนั ท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ผใู้ หญ่บ้านกับองค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลไดจ้ ดั การประชมุ
ประชาคมหมู่บ้าน และแจ้งในท่ีประชุมว่า องค์การบริหารส่วนต�ำบลได้รับงบประมาณ
สนับสนุนในการขุดลอกล�ำห้วย จึงขอมติที่ประชุมในการเห็นชอบในการด�ำเนินโครงการ
ดังกล่าว และให้ประชาชนลงช่ือยินยอมให้รัฐใช้กรรมสิทธิ์ในที่ดินของตน เพื่อด�ำเนินการ
ขดุ ลอกลำ� หว้ ยซงึ่ อยตู่ ดิ กบั ทนี่ าของเกษตรกร หรอื ลงชอ่ื มอบทด่ี นิ แตม่ ผี ไู้ มเ่ หน็ ดว้ ย ๑ ราย
คือ บิดาของผู้ร้องเรียน เน่ืองจากเกรงว่าท่ีนาของตนท่ีติดกับล�ำห้วยดังกล่าวจะหายไป
เหมือนกับการขุดลอกในคร้ังก่อน ทั้งน้ี โครงการขุดลอกล�ำห้วยมีระยะทางประมาณ
๓ กโิ ลเมตร ผา่ นทนี่ าของมารดาของผรู้ อ้ งเรยี น ประมาณ ๑๐๐ เมตร ตอ่ มา องคก์ ารบรหิ าร

90 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

สว่ นตำ� บลรว่ มกับผ้นู �ำท้องถิน่ และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งไดเ้ จรจากบั ผู้รอ้ งเรียน ผรู้ อ้ งเรียน
จึงได้ขอให้หน่วยงานน�ำดินท่ีตกใส่ที่นาของตนออกและไม่อนุญาตให้ขุดลอกรุกล�้ำเข้ามา
ในทนี่ าของตน ซง่ึ ผรู้ อ้ งเรยี นไดย้ นื่ ขอรงั วดั สอบเขตทน่ี าของตนทต่ี ดิ กบั ลำ� หว้ ยตอ่ สำ� นกั งาน
ท่ีดินจงั หวดั ในพนื้ ทแี่ ล้ว แตอ่ ยรู่ ะหวา่ งรอเจา้ หนา้ ที่ทดี่ ินมาดำ� เนนิ การ
ต่อมา ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับการช้ีแจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมสรุปความได้ว่า
เมอื่ ประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๙ ชา่ งรงั วดั ไดท้ ำ� การรงั วดั สอบเขตทด่ี นิ ของมารดาของ
ผ้รู ้องเรยี น ผลการรงั วดั ปรากฏวา่ ท่ดี ินท่เี ปน็ ท่นี าคงเหลอื ประมาณ ๑๐ ไร่เศษ จากเน้ือที่
๑๔ ไร่ สูญหายไปประมาณ ๓ ไร่ ผู้ร้องเรียนและมารดาประสงค์ที่จะได้รับท่ีดินคืนกลับ
เทา่ เดิม ทางอ�ำเภอจึงไดน้ ัดหมายคกู่ รณีทง้ั สองฝ่ายคอื ผรู้ อ้ งเรียนกับมารดาและผ้รู บั เหมา
เพอ่ื เจรจาไกลเ่ กลย่ี หาแนวทางแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาขอ้ เทจ็ จรงิ
และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริงที่ปรากฏว่าบิดาของผู้ร้องเรียนไม่ได้
ใหค้ วามเหน็ ชอบกับการดำ� เนนิ โครงการขุดลอกล�ำห้วย และไมป่ รากฏขอ้ เท็จจริงว่า บิดา
หรือมารดาของผู้ร้องเรียนได้ลงชื่ออุทิศหรือยินยอมให้รัฐใช้กรรมสิทธ์ิในท่ีดินของตน
เพอื่ ดำ� เนนิ การขดุ ลอกลำ� หว้ ยทต่ี ดิ กบั ทน่ี าของตนแตอ่ ยา่ งใด ประกอบกบั ผลการรงั วดั ทดี่ นิ
ของมารดาของผู้ร้องเรียน ปรากฏว่า ที่ดินดังกล่าวมีเน้ือท่ีคงเหลือประมาณ ๑๐ ไร่เศษ
จากเน้ือที่ ๑๔ ไร่ จึงเป็นกรณีที่หน่วยงานด�ำเนินโครงการขุดลอกล�ำห้วยรุกล�้ำท่ีดินของ
มารดาของผู้ร้องเรียนโดยท่ีไม่ได้รับความยินยอม ท�ำให้สูญเสียที่ดินเน้ือท่ีประมาณ ๓ ไร่
และปัจจุบันหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องยังไม่สามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับ
ผรู้ อ้ งเรยี นได้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ วจงึ เปน็ กรณที หี่ นว่ ยงานรฐั ทมี่ หี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบไมป่ ฏบิ ตั ิ
หรือปฏิบัตินอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ปฏิบัติหน้าที่ท่ีก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่มารดาของผู้ร้องเรียนโดยไม่เป็นธรรม ตามมาตรา ๑๓ (๑) (ข) แห่งพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงมี
ขอ้ เสนอแนะให้หนว่ ยงานด�ำเนินการดงั น้ี

ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ 91

๑. แจง้ ใหส้ ำ� นกั งานทดี่ นิ จงั หวดั ดำ� เนนิ การทบทวนและสอบทานการรงั วดั ระวงั ชี้
และรบั รองแนวเขตทดี่ นิ ของมารดาของผรู้ อ้ งเรยี นตามคำ� ขอรงั วดั สอบเขตฉบบั เดมิ ใหเ้ ปน็ ไป
ตามสถานะของท่ดี นิ ตามหลักฐานเดมิ ของโฉนดท่ดี ินแปลงดงั กล่าว
๒. หากผลการรงั วดั สอบเขตทด่ี นิ แปลงดงั กลา่ วปรากฏวา่ โครงการขดุ ลอกลำ� หว้ ย
ได้ขุดลอกล�ำห้วยรุกล�้ำเข้ามาในท่ีดินของมารดาของผู้ร้องเรียนเป็นจ�ำนวนเท่าใด ขอให้
พจิ ารณาปรบั สภาพทดี่ นิ ใหค้ นื สสู่ ภาพเดมิ หรอื เยยี วยาแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วดว้ ยการจา่ ยเงนิ
ชดเชยความเสยี หายให้กับมารดาของผู้รอ้ งเรยี น โดยเรว็ ต่อไป

เร่อื งท่ี ๒

หนว่ ยงานของรฐั ขยายถนนรกุ ลำ�้ เขา้ เขตของผรู้ อ้ งเรยี นและอา้ งกรรมสทิ ธใิ์ นทดี่ นิ
ดงั กล่าวโดยไม่เปน็ ธรรม

ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับเร่ืองร้องเรียน สรุปได้ว่า หน่วยงานของรัฐได้ขออนุญาต
ทำ� คลองสง่ นำ้� ผา่ นในเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ ซง่ึ เปน็ ทด่ี นิ ของผรู้ อ้ งเรยี น เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ น
ของเกษตรกรในพ้ืนท่ี โดยมีข้อตกลงวา่ จะใชพ้ นื้ ทดี่ ังกล่าวทำ� คลองสง่ นำ�้ เทา่ น้นั พร้อมทั้ง
จัดท�ำไหล่ทางเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้เดินผ่านไปมาวัดระยะความกว้างห่างจาก
คลองส่งน้�ำประมาณ ๒ เมตร ตอ่ มาในปี ๒๕๕๘ หน่วยงานของรัฐได้ ถมดนิ ขยายไหลท่ าง

92 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ในพนื้ ทดี่ งั กลา่ ว ซง่ึ เกนิ กวา่ ทผี่ รู้ อ้ งเรยี นไดต้ กลงใหใ้ ชพ้ นื้ ทท่ี ำ� คลองสง่ นำ�้ ภายหลงั ผรู้ อ้ งเรยี น
และหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้เข้าร่วมตรวจสอบระยะความกว้างของพื้นที่ถนนโดยวัด
ตั้งแต่คลองส่งน้�ำถงึ ถนนไหลท่ างปรากฏวา่ มีความกวา้ งเกินกวา่ ๑๐ เมตร หนว่ ยงานรับท่จี ะ
ด�ำเนินการแก้ไขให้ที่นาของผู้ร้องเรียนกลับคืนสู่สภาพเดิม แต่ภายหลังกลับไม่ด�ำเนินการ
แกไ้ ขปัญหา และอ้างวา่ พน้ื ท่ดี ังกลา่ วผูร้ ้องเรยี นไดล้ งลายมอื ชอื่ อนุญาตทำ� คลองส่งน�ำ้ แล้ว
ท�ำให้พ้ืนที่ดังกล่าวเป็นท่ีดินของรัฐ ท�ำให้ผู้ร้องเรียนได้รับความเดือดร้อนเสียหายจาก
การสญู เสยี ทดี่ นิ จงึ รอ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอ่ื ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และแกไ้ ขปญั หา
ตามข้อรอ้ งเรียน
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ร่วมประชมุ หารือแกไ้ ขปญั หาเร่ืองรอ้ งเรยี นร่วมกับหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง สรปุ ผลการหารือ
ได้ว่า เน่ืองจากปัญหาดังกล่าวยืดเย้ือมาเป็นเวลานาน และเป็นข้อพิพาทระหว่างรัฐ
กบั ประชาชน สง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชนในพน้ื ท่ใี กล้เคียง ดงั นั้น เพ่ือแก้ไขปัญหาดงั กลา่ ว
โดยสันติวิธี ผู้ร้องเรียนและหน่วยงานจึงได้ท�ำบันทึกข้อตกลงร่วมกัน โดยหน่วยงานจะ
ด�ำเนินการปรับถนนท่ีร้องเรียนโดยจะวัดระยะทางจากไหล่ทางด้านถนนท่ีติดกับท่ีดิน
ของผู้ร้องเรยี น ๑ เมตรโดยประมาณ และกำ� หนดระยะเวลาด�ำเนินการใหแ้ ล้วเสร็จภายใน
เวลา ๓ เดือน และหากไม่ด�ำเนินการตามข้อตกลงผู้ร้องเรียนสามารถน�ำเรื่องดังกล่าว
ฟอ้ งรอ้ งเป็นคดีเพอื่ ใหศ้ าลดำ� เนนิ กระบวนการพิจารณา
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้องแล้ว เห็นว่า
จากการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ตรวจการแผน่ ดิน ผู้แทนจงั หวัด อ�ำเภอ หนว่ ยงานของรัฐ
เจา้ หนา้ ทที่ เ่ี กย่ี วขอ้ ง และผรู้ อ้ งเรยี น ไดป้ ระชมุ หารอื เพอื่ แกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ วแลว้
ทปี่ ระชมุ มมี ตริ ว่ มกนั วา่ หนว่ ยงานของรฐั จะดำ� เนนิ การปรบั ถนนทรี่ อ้ งเรยี น โดยจะวดั ระยะ
ทางจากไหล่ทางด้านถนนท่ีติดกับที่ดินของผู้ร้องเรียน ๑ เมตร และเมื่อด�ำเนินการแก้ไข
ปญั หาดงั กลา่ วเรยี บรอ้ ยแลว้ ผรู้ อ้ งเรยี นยนิ ยอมจะไมม่ กี ารรอ้ งเรยี นอกี ตอ่ ไป จากการประชมุ
ดงั กลา่ ว ตอ่ มาหนว่ ยงานของรฐั ไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปรบั ถนนตามขอ้ ตกลงเปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยแลว้
เรอื่ งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ วจงึ เปน็ กรณที ผ่ี รู้ อ้ งเรยี นไดร้ บั การแกไ้ ขความเดอื ดรอ้ นอยา่ งเหมาะสมแลว้
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ จึงวินิจฉยั ให้ยุติการพิจารณาเรื่องร้องเรยี นดงั กล่าวตามมาตรา ๒๙ (๔)
แห่งพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 93

คณะเจ้าหน้าทสี่ �ำนักงานผตู้ รวจการแผ่นดินลงพื้นท่ที ่ดี นิ ตามกรณีการรอ้ งเรยี นเพือ่ ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ
และประชมุ หารอื กบั หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปญั หา

เรอื่ งที่ ๓

หน่วยงานกนั เขตถนนรุกล�ำ้ เขา้ ไปในเขตที่ดนิ และส่ิงปลกู สรา้ งของผู้ร้องเรียน
ผู้ร้องเรียนได้ยื่นเรื่องร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินจากความเดือดร้อนในกรณีท่ี
บิดาและมารดาของผู้ร้องเรียนได้ครอบครองพักอาศัยในส่ิงปลูกสร้างซึ่งปลูกสร้างอยู่บน
ที่ดินตามหนงั สอื รับรองการทำ� ประโยชน์ (น.ส. ๓) มาตง้ั แตป่ ี ๒๕๐๙ และได้มกี ารตกลง
ทำ� สญั ญาจะซอ้ื สงิ่ ปลกู สรา้ งดงั กลา่ วพรอ้ มทดี่ นิ จากเจา้ ของทด่ี นิ ตอ่ หนา้ นายอำ� เภอ โดยยงั มไิ ด้
มีการโอนกรรมสิทธ์ิตามกฎหมาย ด้านทิศใต้ของที่ดินจรดแนวที่กันเขตไว้เพ่ือสร้างถนน
ทิศตะวันตกจรดทางเกวียนสาธารณะ กว้างประมาณ ๓-๔ เมตร ต่อมา ส่วนราชการ
ไดพ้ ฒั นาปรบั ปรงุ ทางเกวยี นสายนเี้ ปน็ ถนนพฒั นาการเพอื่ การเรง่ รดั พฒั นาชนบท และเมอ่ื
ประมาณปี ๒๕๑๘ ไดพ้ ฒั นาปรบั ปรงุ เปน็ ถนนทางหลวงแผน่ ดนิ ในปจั จบุ นั ตอ่ มาประมาณ
ปี ๒๕๕๓ บดิ ามารดาของผรู้ อ้ งเรยี นไดย้ น่ื ฟอ้ งศาลเพอื่ ขอกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ พรอ้ มสง่ิ ปลกู สรา้ ง
ดังกลา่ วจากเจ้าของท่ีดิน และได้มกี ารท�ำสัญญาประนปี ระนอมยอมความกันระหว่างบดิ า
มารดาของผู้ร้องเรียนกับเจ้าของท่ีดิน โดยท้ังสองฝ่ายตกลงซ้ือขายท่ีดินบริเวณดังกล่าว
ในราคา ๕๐,๐๐๐ บาท ต่อมา มีการย่ืนค�ำขอรังวัดแบ่งแยกที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดิน
แต่ปรากฏว่าเจ้าหน้าท่ีของแขวงการทางได้น�ำช้ีแนวเขตถนนด้านฝั่งทิศตะวันออกรุกล้�ำมา

94 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ในเขตท่ีดินและส่งิ ปลกู สรา้ งซึ่งผูร้ ้องเรียนครอบครองอยูป่ ระมาณ ๘ เมตร โดยอ้างว่าเปน็ ไป
ตามค�ำสั่งกันเขตถนน ทั้ง ๆ ที่สิ่งปลูกสร้างของผู้ร้องเรียนปลูกสร้างมาก่อนจะมีโครงการ
กอ่ สรา้ งถนน การออกคำ� สงั่ กนั เขตถนนดงั กลา่ วจงึ ไมช่ อบดว้ ยกฎหมายและทำ� ใหผ้ รู้ อ้ งเรยี น
ได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก ผู้ร้องเรียนจึงเสนอเรื่องร้องเรียนเพื่อขอให้ผู้ตรวจการ
แผ่นดินช่วยตรวจสอบและใหค้ วามเป็นธรรมแกผ่ ้รู ้องเรียน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ขอใหห้ นว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบเรอ่ื งดงั กลา่ วชแ้ี จงขอ้ เทจ็ จรงิ และ
จดั สง่ เอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา ซงึ่ คำ� ชแี้ จงจากหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งสรปุ ไดว้ า่
ทางหลวงที่มีการร้องเรียนอยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงแห่งหน่ึง ซึ่งได้
รับมอบบัญชีเขตทางมาจากจังหวัดให้ก่อสร้าง มีบัญชีเขตทางรับมอบท้ังด้านซ้ายและขวา
ขา้ งละ ๒๐ เมตร แตไ่ มพ่ บเอกสารรบั มอบเขตทางจากจงั หวัด ผูร้ อ้ งเรยี นสรา้ งบา้ นอยใู่ น
ที่ดินตามหนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ริมทางหลวงแผ่นดินด้านขวาทาง มีบัญชีเขต
ทางกว้างขา้ งละ ๒๐ เมตร ต่อมา เจ้าของทีด่ ินได้ขอรังวัดออกโฉนดท่ดี ิน โดยตัวแทนของ
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดก้ นั เขตทางจากศนู ยก์ ลางทางหลวงระยะ ๒๐ เมตร ตามบญั ชคี วบคมุ
เขตทาง แต่ผู้ร้องเรียนและเจ้าของท่ีดินผู้ขอรังวัดน�ำช้ีแนวเขตที่ดินท่ีระยะ ๑๐ เมตร
แขวงทางหลวงจงึ ไดค้ ดั คา้ นการออกโฉนดทดี่ นิ โดยปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั เิ รอ่ื งการระวงั
ชี้แนวเขตและลงนามรับรองแนวเขตท่ีดิน อย่างไรก็ดี ไม่ปรากฏเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับ
การรับมอบทางหลวงแผน่ ดินสายดงั กล่าว สว่ นหลักฐานการขึ้นทะเบียนทางหลวงแผ่นดิน
มีหมายเหตุระบุว่า หลักฐานเดิมสูญหายจึงได้จัดท�ำข้ึนใหม่ จึงยังไม่ชัดเจนว่า หน่วยงาน
ที่เก่ียวข้องได้รับมอบสายทางดังกล่าวจากจังหวัดเม่ือใด แต่จากการตรวจสอบหลักฐาน
การกอ่ สรา้ งบรู ณะปรบั ปรงุ ทางหลวงสายนพ้ี บวา่ มกี ารกอ่ สรา้ งเมอ่ื วนั ที่ ๑ มนี าคม ๒๕๒๖
จงึ เชอื่ ไดว้ า่ นา่ จะมกี ารสง่ มอบทางหลวงสายนใี้ หห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งบรู ณะปรบั ปรงุ กอ่ นปี
๒๕๒๖ ทั้งน้ี จากการพิจารณาระเบียบและข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ในกรณีที่ประชาชน
ไม่ยินยอมให้ระวังช้ีแนวเขตตามบัญชีควบคุม หน่วยงานที่เก่ียวข้องมีแนวทางปฏิบัติ
เรื่องการระวังช้ีแนวเขต และลงนามรับรองแนวเขตท่ีดิน ซ่ึงระบุว่าในสายทางที่มีบัญชี
ควบคมุ ใหร้ ะวงั ชแ้ี นวเขตตามบญั ชคี วบคมุ สว่ นสายทางทมี่ บี ญั ชรี บั มอบซงึ่ มเี ขตทางแตกตา่ ง
จากบญั ชคี วบคมุ ใหร้ ะวงั ชแ้ี นวเขตตามบญั ชที มี่ เี ขตกวา้ งกวา่ ไวก้ อ่ น เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 95

ท่ีเกี่ยวข้องได้ถือปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ซึ่งประชาชนผู้ขอรังวัดได้น�ำช้ีแนวเขต
ที่ดินล้�ำเข้ามาในเขตทางตามบัญชีควบคุมท่ีแขวงทางหลวงถืออยู่ เจ้าหน้าท่ีจึงไม่สามารถ
ลงนามรับรองแนวเขตทด่ี นิ ให้ได้
ในเวลาต่อมา ปรากฏข้อเท็จจริงว่า เจ้าของ
ทด่ี นิ ตามหนงั สอื รบั รองการทำ� ประโยชนแ์ ปลงดงั กลา่ ว
ไดย้ น่ื คำ� รอ้ งขอรงั วดั ออกโฉนดทดี่ นิ แปลงพพิ าทอกี ครงั้
โดยส�ำนักงานท่ีดินได้แจ้งให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ร่วมระวงั ชแ้ี นวเขตอีกครัง้ ซึง่ ปรากฏว่าในวันดงั กลา่ ว
เจา้ ของทด่ี นิ ยนิ ยอมนำ� ชแ้ี นวเขตทด่ี นิ ทรี่ ะยะ ๒๐ เมตร
จากศูนย์กลางทางเป็นไปตามบัญชีควบคุมเขตทางหลวง และขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ด�ำเนินการออกโฉนดที่ดินตามผลการรังวัดในครั้งน้ี ซึ่งหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบ
มีอำ� นาจก�ำหนดเขตทางหลวงตามมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบญั ญัตทิ างหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ค�ำช้ีแจงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่
ปรากฏชดั วา่ หนว่ ยงานไดร้ บั มอบทางกอ่ นหรอื ภายหลงั จากสว่ นราชการออกหนงั สอื รบั รอง
การทำ� ประโยชน์ (น.ส.๓) ดงั นน้ั ขอ้ เทจ็ จรงิ ของเรอื่ งรอ้ งเรยี นจงึ ยงั มรี ายละเอยี ดทไี่ มช่ ดั เจน
เพียงพอและอาจท�ำให้ผู้รอ้ งเรียนไมไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรม จงึ เชญิ หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งและ
ผู้ร้องเรียนเข้าร่วมประชุมหาแนวทางแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียน ซึ่งท่ีประชุมพิจารณาแล้ว
เห็นว่า ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานรับฟังเป็นที่ยุติได้ว่า เขตทางบริเวณดังกล่าว
มีความกว้างข้างละไม่เกิน ๑๐ เมตร ดังน้ัน จึงขอให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องและมีหน้าที่
รับผิดชอบเร่ืองดังกล่าวด�ำเนินการตรวจสอบเพื่อลดและกันเขตทางให้เป็นไปตาม
ข้อเท็จจริงและหลักฐานดังกล่าวให้แล้วเสร็จ แล้วรายงานผลการด�ำเนินการให้ส�ำนักงาน
ผู้ตรวจการแผน่ ดินทราบโดยเรว็ ตอ่ ไป
จากการประสานตดิ ตามผลการดำ� เนนิ การจากหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดร้ บั การชแี้ จง
วา่ กรณดี งั กลา่ วแขวงทางหลวงมไิ ดม้ เี หตขุ ดั ขอ้ งและเหน็ ดว้ ยกบั การลดเขตทางหลวงบรเิ วณ
ทด่ี นิ ของผรู้ อ้ งเรยี นรายดงั กลา่ ว จากเดมิ ๒๐ เมตร เปน็ ๑๐ เมตร และไดด้ ำ� เนนิ การอนมุ ตั ิ

96 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

แก้ไขบัญชีเขตทางให้ตรงกับสภาพข้อเท็จจริง โดยมีความกว้างเขตทางด้านขวาท่ีระยะ
๑๐ เมตร จากศนู ยก์ ลางทางแลว้ ประกอบกบั เจา้ หนา้ ที่ สำ� นกั งานทดี่ นิ ไดท้ ำ� การรงั วดั ทดี่ นิ
ร่วมกับเจ้าของท่ีดินผู้ขอรังวัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยแขวงทางหลวงได้กันเขตทาง
มีความกว้างไม่เกินข้างละ ๑๐ เมตร เป็นไปตามมติที่ประชุมพิจารณาแก้ไขปัญหา
เร่อื งรอ้ งเรยี นทุกประการ และจะดำ� เนินการออกโฉนดทีด่ นิ ให้แก่ผู้ขอต่อไป ทั้งนี้ จากการ
ประสานติดตามผลการด�ำเนินการดังกล่าวจากผู้ร้องเรียนได้รับแจ้งว่า ผู้ร้องเรียนได้รับ
ความพึงพอใจเป็นอย่างมากท่ีปัญหาความเดือดร้อนของตนได้รับการเยียวยาแก้ไข
และขอขอบคณุ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และเจา้ หน้าทที่ ี่เก่ียวขอ้ งมา ณ โอกาสนีด้ ้วย
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องแล้วเห็นว่า
ประเด็นข้อร้องเรียนกรณีแขวงทางหลวงน�ำช้ีแนวเขตทางหลวงรุกล้�ำเข้ามาในที่ดิน
และสง่ิ ปลกู สรา้ งซงึ่ ผรู้ อ้ งเรยี นครอบครองอยนู่ นั้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏวา่ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ได้อนุมัติแก้ไขบัญชีเขตทางให้ตรงสภาพข้อเท็จจริงของทางหลวง โดยมีความกว้างเขต
ทางด้านขวาที่ระยะ ๑๐ เมตร จากศนู ย์กลางทาง และพนกั งานเจา้ หน้าทส่ี ำ� นักงานทีด่ ิน
ได้ท�ำการรังวัดออกโฉนดที่ดินตามค�ำขอของเจ้าของที่ดินผู้ขอรังวัด โดยแขวงทางหลวง
ได้น�ำชี้แนวเขตโดยกันเขตทางหลวงไม่เกินข้างละ ๑๐ เมตรแล้ว เร่ืองร้องเรียนดังกล่าว
จงึ เปน็ กรณที หี่ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขความเดอื ดรอ้ นหรอื ความไมเ่ ปน็ ธรรม
ใหแ้ กผ่ รู้ อ้ งเรยี นอยา่ งเหมาะสมแลว้ ดงั นนั้ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ วนิ จิ ฉยั ใหย้ ตุ กิ ารพจิ ารณา
เร่อื งร้องเรยี นดังกล่าวตามมาตรา ๒๙ (๔) แหง่ พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วย
ผตู้ รวจการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 97

เรอื่ งท่ี ๔

การประกอบการกิจการดูดทรายในแม่น�้ำโขงก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน
ในพ้นื ที่

ผู้ร้องเรียนเสนอเร่ืองร้องเรียนโดยมีสาระส�ำคัญสรุปได้ว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในจงั หวดั ไมด่ ำ� เนนิ การกบั ผปู้ ระกอบการดดู ทรายในเขตพน้ื ทอ่ี ำ� เภอแหง่ หนง่ึ ซงึ่ ประกอบการ
โดยมไิ ดร้ บั อนญุ าตจากประชาคมหมบู่ า้ นและจากทางราชการ อกี ทงั้ การดำ� เนนิ การดดู ทราย
กอ่ ให้เกิดความเดือดร้อนแกป่ ระชาชนในพนื้ ท่ี
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ อบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เดนิ ทาง
ลงพนื้ ทเ่ี พอื่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ในพนื้ ที่ และรว่ มประชมุ พจิ ารณาแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น
ดังกล่าวกับผู้แทนจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผลการตรวจสอบปรากฏข้อเท็จจริงว่า พื้นที่
อำ� เภอทมี่ กี ารรอ้ งเรยี นดงั กลา่ วมผี ปู้ ระกอบการดดู ทรายจำ� นวน ๔ ราย โดยมจี ำ� นวน ๒ ราย
ทถ่ี กู รอ้ งเรยี นวา่ ประกอบการโดยมไิ ดร้ บั อนญุ าตจากประชาคมหมบู่ า้ นและจากทางราชการ
ซ่ึงเดิมเป็นผู้ประกอบการที่ได้รับอนุญาตให้ดูดทรายจากทางราชการและได้รับการต่ออายุ
ใบอนุญาตดดู ทรายมาโดยตลอด แต่ตอ่ มาเม่ือปี ๒๕๕๘ ผ้ปู ระกอบการทงั้ สองรายดังกล่าว
ได้ย่ืนค�ำขอต่ออายุใบอนุญาตดูดทรายต่อนายอ�ำเภอ และเพ่ือให้เป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการอนญุ าตให้ดูดทราย พ.ศ. ๒๕๔๖ อ�ำเภอจงึ มหี นังสอื แจ้งให้
องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำเร่ืองการขอต่ออายุใบอนุญาตดูดทรายดังกล่าวเข้าพิจารณา
ในทปี่ ระชมุ สภา โดยทปี่ ระชมุ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลไดพ้ จิ ารณาจากรายงานการประชมุ
ประชาคมหมู่บ้านท่ีมีมติไม่เห็นด้วยในการต่ออายุใบอนุญาตดูดทรายให้กับผู้ประกอบการ
ท้งั สองรายดังกล่าว เนอ่ื งจากส่งผลกระทบต่อประชาชนและสงิ่ แวดล้อม ดังนั้น ท่ีประชมุ
สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลจงึ มมี ตเิ ปน็ เอกฉนั ทไ์ มเ่ หน็ ชอบใหผ้ ปู้ ระกอบการทง้ั สองราย
ดงั กลา่ วดำ� เนนิ การตอ่ อายใุ บอนญุ าตดดู ทรายตามมตขิ องทป่ี ระชมุ ประชาคมหมบู่ า้ น พรอ้ มทง้ั
รายงานให้อ�ำเภอทราบ ต่อมา อ�ำเภอได้น�ำเร่ืองดังกล่าวเข้าพิจารณาในท่ีประชุมหัวหน้า
ส่วนราชการประจ�ำอ�ำเภอ และท่ีประชุมได้มีมติเห็นชอบตามมติประชาคมหมู่บ้านและ
มติสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเช่นเดียวกัน อ�ำเภอจึงได้มีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวให้

98 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

สำ� นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ ารคณะอนกุ รรมการพจิ ารณาอนญุ าตใหด้ ดู ทราย
ประจำ� จงั หวดั (คณะอนกุ รรมการฯ) และทป่ี ระชมุ คณะอนกุ รรมการฯ ไดม้ มี ตเิ ปน็ เอกฉนั ท์
ไม่เห็นชอบให้ผู้ประกอบการทั้งสองรายดังกล่าวต่ออายุใบอนุญาตดูดทราย หลังจากน้ัน
จงั หวดั ไดส้ ง่ เรอื่ งใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาอนญุ าตใหด้ ดู ทราย (กพด.) พจิ ารณา เนอื่ งจาก
เปน็ การขออนญุ าตดดู ทรายในแม่น�้ำโขงซึ่งเปน็ แม่น้�ำระหว่างประเทศ และท่ีประชมุ กพด.
ได้พิจารณาและมีมติเป็นเอกฉันท์ไม่อนุญาตให้ผู้ประกอบการท้ังสองรายดังกล่าวต่ออายุ
ใบอนุญาตดูดทราย เน่ืองจากเห็นว่าไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการอนญุ าตใหด้ ดู ทราย พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ้ ๑๘ (๒) ดา้ นการปกครอง
เน่ืองจากก่อให้เกิดผลกระทบและความเดือดร้อนแก่ประชาชน และหลังจากน้ันกรมที่ดิน
ในฐานะเลขานกุ าร กพด. ไดแ้ จง้ มตขิ อง กพด. ดงั กลา่ วใหจ้ งั หวดั ทราบ และสำ� นกั งานทด่ี นิ
จงั หวดั ไดแ้ จง้ มตทิ ป่ี ระชมุ ดงั กลา่ วใหผ้ ปู้ ระกอบการทง้ั สองรายดงั กลา่ วทราบ ทง้ั น้ี ปจั จบุ นั
ผปู้ ระกอบการทง้ั สองรายดงั กล่าวได้หยุดการประกอบกิจการดูดทรายแล้ว
ในส่วนของผู้ประกอบการดดู ทรายในพ้ืนทด่ี ังกลา่ วอีก ๒ ราย เป็นผ้ปู ระกอบการ
รายใหม่ ซ่ึงยื่นค�ำขออนุญาตดูดทรายต่อนายอ�ำเภอ พนักงานเจ้าหน้าท่ีได้รับค�ำขอและ
ออกไปชนั สตู รสอบสวนบรเิ วณทด่ี นิ และประกาศครบกำ� หนดแลว้ ไมม่ ผี คู้ ดั คา้ น อำ� เภอจงึ มี
หนังสือแจ้งให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำเร่ืองการขออนุญาตดูดทรายของท้ังสองราย
ดงั กลา่ วเขา้ พจิ ารณาในทปี่ ระชมุ สภา โดยทปี่ ระชมุ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลไดพ้ จิ ารณา
จากรายงานการประชุมประชาคมหมู่บ้านที่มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้ประกอบกิจการ
ดูดทรายได้ ดงั น้นั ท่ปี ระชุมสภาองค์การบริหารสว่ นตำ� บลจงึ มีมติเป็นเอกฉันทเ์ ห็นชอบให้
ผปู้ ระกอบการทงั้ สองรายดงั กลา่ วประกอบกจิ การดดู ทรายไดเ้ ชน่ เดยี วกนั และตอ่ มาอำ� เภอ
ไดส้ ง่ เรอ่ื งการขออนญุ าตดดู ทรายของทงั้ สองรายดงั กลา่ วใหส้ ำ� นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั ในฐานะ
ฝา่ ยเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ และทป่ี ระชุมคณะอนกุ รรมการฯ ไดม้ ีมตเิ ป็นเอกฉันท์
เห็นชอบให้ผู้ประกอบการทั้งสองรายดังกล่าวประกอบกิจการดูดทรายได้ หลังจากนั้น
จังหวัดได้ส่งเรื่องให้ กพด. พิจารณาต่อไป และท่ีประชุม กพด. ได้พิจารณาและมีมติ
เป็นเอกฉันท์อนุญาตให้ผู้ประกอบการท้ังสองรายดังกล่าวประกอบกิจการดูดทรายได้
ส�ำนักงานที่ดินจังหวัดจึงเสนอเร่ืองต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพ่ือพิจารณาออกใบอนุญาต
ดูดทรายให้กบั ผู้ประกอบการทงั้ สองรายดังกลา่ ว

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 99

ต่อมา เจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินร่วมกับผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ได้เดินทางไปตรวจสอบสภาพพื้นที่บริเวณท่าทรายในพ้ืนที่อ�ำเภอดังกล่าวที่อยู่ระหว่าง
ด�ำเนินกิจการดูดทราย พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่จากการด�ำเนินกิจการดูดทรายท่ีก่อให้เกิด
ความเดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชนในพนื้ ที่ คอื ปญั หาฝนุ่ ละอองจากการขนสง่ ทราย จงึ มอบหมาย
ใหส้ ำ� นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั รว่ มกบั หนว่ ยงานสว่ นทอ้ งถนิ่ ทำ� การสำ� รวจและแจง้ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ
ดดู ทรายและผปู้ ระกอบการอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การขนสง่ ทรายทกุ รายในจงั หวดั ดำ� เนนิ การ
ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายและเงอ่ื นไขการอนญุ าตใหด้ ดู ทรายและไมใ่ หม้ กี ารขนสง่ ทรายเปยี ก
โดยเมอ่ื ดดู ทรายขนึ้ มาจากแมน่ ำ�้ โขงแลว้ ตอ้ งพกั ทรายไวจ้ นกวา่ จะแหง้ กอ่ นทจี่ ะทำ� การขนสง่
ทราย ท�ำบ่อล้างล้อรถบรรทุกทรายก่อนที่จะออกสู่ถนนสาธารณะ คลุมผ้าใบให้เรียบร้อย
เพอ่ื ปอ้ งกนั ทรายตกหลน่ บนทอ้ งถนน และใหม้ กี ารทำ� ความสะอาดบรเิ วณทางเขา้ ออกและ
ถนนอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งให้ท�ำป้ายหรือสัญญาณไฟบริเวณทางเข้าออกให้ชัดเจน
เพ่อื ป้องกนั มิใหเ้ กิดอุบตั เิ หตุด้วย
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดพ้ จิ ารณาขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ประกอบกบั
ข้อมูลจากการประชุมหารือและตรวจสอบข้อเท็จจริงในพ้ืนที่แล้ว เห็นว่า ผู้ประกอบการ
ทั้งสองรายดังกล่าวได้ย่ืนค�ำขอต่ออายุใบอนุญาตดูดทราย แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบจาก
ประชาคมหมบู่ า้ นและหนว่ ยงานในพนื้ ที่ รวมทงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาอนญุ าตใหด้ ดู ทราย
ไดม้ มี ตไิ มอ่ นญุ าตใหผ้ ปู้ ระกอบการทง้ั สองรายดงั กลา่ วตอ่ อายใุ บอนญุ าตดดู ทราย เนอ่ื งจาก
เหน็ ว่ากอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบและความเดอื ดร้อนแก่ประชาชน และไมเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์
การพจิ ารณาตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการอนญุ าตใหด้ ดู ทราย พ.ศ. ๒๕๔๖
ซ่ึงจังหวัดได้แจ้งเรื่องดังกล่าวให้ผู้ประกอบการทั้งสองรายดังกล่าวทราบ และปัจจุบัน
ผู้ประกอบการท้ังสองรายดังกล่าวได้หยุดการประกอบกิจการดูดทรายแล้ว ส่วนกรณี
ผลกระทบจากการดูดทรายก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในพื้นที่นั้นได้ก�ำชับให้
ผู้ประกอบการดูดทรายในพ้ืนที่ด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายและเง่ือนไขการอนุญาต
ให้ดูดทราย อีกทั้งได้มอบหมายให้ส�ำนักงานที่ดินจังหวัดก�ำกับดูแลการประกอบกิจการ
ดูดทรายของผู้ประกอบการ และใหร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานสว่ นท้องถนิ่ ทำ� การส�ำรวจและแจ้งให้
ผู้ประกอบการดูดทรายและผู้ประกอบการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทรายทุกราย

100 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version