The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Omb_Library, 2022-01-05 22:57:23

annual report_2560

annual report_2560

คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตพิ จิ ารณาดำ� เนนิ การ โดยใหถ้ อื เปน็ เหตุ
ทจ่ี ะถกู ถอดถอนจากตำ� แหน่ง
๔. การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งต้ังบุคคลใดเข้าสู่ต�ำแหน่งท่ีมี
สว่ นเกย่ี วขอ้ งในการใชอ้ ำ� นาจรฐั รวมทงั้ การโยกยา้ ย การเลอื่ นตำ� แหนง่ การเลอ่ื นเงนิ เดอื น
และการลงโทษบุคคลนั้น จะต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและค�ำนึงถึงพฤติกรรม
ทางจรยิ ธรรมของบคุ คลดังกล่าวด้วย
๕. ในการดำ� เนนิ การดา้ นจรยิ ธรรมดงั กลา่ ว ใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ มอี ำ� นาจหนา้ ท่ี
ดังตอ่ ไปนี้
๕.๑ เสนอแนะหรอื ใหค้ ำ� แนะนำ� ในการจดั ทำ� หรอื ปรบั ปรงุ ประมวลจรยิ ธรรม
๕.๒ สง่ เสรมิ ใหผ้ ดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง ขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั
มจี ิตส�ำนกึ ในดา้ นจริยธรรม
๕.๓ รายงานการกระทำ� ทม่ี กี ารฝา่ ฝนื ประมวลจรยิ ธรรมเพอื่ ใหผ้ ทู้ ร่ี บั ผดิ ชอบ
ในการบังคับการให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมด�ำเนินการบังคับให้เป็นไปตามประมวล
จริยธรรม
ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่
ในการเปน็ หนว่ ยงานผใู้ หข้ อ้ เสนอแนะและเปน็ ทป่ี รกึ ษาในการจดั ทำ� หรอื ปรบั ปรงุ ประมวล
จริยธรรมให้แก่หน่วยงานของรัฐทุกประเภทเพ่ือให้หน่วยงานของรัฐมีประมวลจริยธรรม
ทมี่ เี นอ้ื หาสาระครอบคลมุ ถงึ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมทส่ี ำ� คญั เพอ่ื ใชบ้ งั คบั ในการดำ� เนนิ การ
ด้านจริยธรรมของหน่วยงาน นอกจากนี้ ผู้ตรวจการแผ่นดินยังได้ติดตามความคืบหน้า
ในการจดั ทำ� ประมวลจรยิ ธรรมของหนว่ ยงานอยา่ งใกลช้ ดิ และตอ่ เนอ่ื ง และขอความรว่ มมอื
ให้หน่วยงานต่าง ๆ จัดส่งประมวลจริยธรรมที่หน่วยงานได้จัดท�ำหรือปรับปรุงแล้วเสร็จ
มายงั สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอื่ รวบรวมเปน็ ฐานขอ้ มลู หลกั ในการรวบรวมประมวล
จริยธรรมของหนว่ ยงานของรัฐ ซ่งึ ผลจากการตดิ ตาม พบวา่ หนว่ ยงานของรฐั ทุกประเภท
กว่าร้อยละ ๙๘ สามารถจัดท�ำหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมจนแล้วเสร็จและส่งมายัง

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 201

ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เหลือเพียงเฉพาะหน่วยงานท่ีมีการจัดต้ังใหม่หรือสถาบัน
การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการเปล่ยี นแปลงสถานะตามกฎหมายเทา่ นั้น ซ่งึ ในระหวา่ งที่
หน่วยงานยังอยู่ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อมในการด�ำเนินการด้านต่าง ๆ รวมถึง
การจัดท�ำประมวลจริยธรรม ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ติดตามและแนะน�ำให้หน่วยงานน�ำ
คา่ นยิ มหลกั ของมาตรฐานจรยิ ธรรม ๙ ประการไปประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ หลกั ในดา้ นจรยิ ธรรมของ
องคก์ รไปพลางกอ่ นทจี่ ะมกี ารจดั ทำ� และประกาศใชป้ ระมวลจรยิ ธรรมของแตล่ ะหนว่ ยงาน
ต่อไป
อนงึ่ ภายหลงั จากทไ่ี ดม้ กี ารประกาศใชป้ ระมวลจรยิ ธรรมสกั ระยะหนงึ่ ผตู้ รวจการ
แผ่นดินได้พิจารณาเสนอแนะให้หน่วยงานมีการประเมินประมวลจริยธรรมดังกล่าว
พร้อมออกแบบประเมินในเบื้องต้นให้แต่ละหน่วยงานน�ำไปปรับใช้ตามความเหมาะสม
โดยให้มีการประเมินท้ังในส่วนของเน้ือหาประมวลจริยธรรม และการบังคับใช้ประมวล
จริยธรรมว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้หรือไม่
เพียงใด มีข้อขัดข้อง หรือมีความเป็นธรรมหรือไม่ เพื่อให้หน่วยงานมีข้อมูลเพื่อใช้ใน
การตรวจสอบ ทบทวนความเหมาะสมและประสิทธิภาพของประมวลจริยธรรมอันจะ
นำ� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขประมวลจรยิ ธรรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและมคี วามเหมาะสมมากยงิ่ ขน้ึ

๕.๓ ภารกจิ ดา้ นการส่งเสรมิ ให้ผ้ดู ำ� รงตำ� แหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่
ของรฐั ทุกประเภทมีจิตส�ำนึกดา้ นจรยิ ธรรม

ผู้ตรวจการแผ่นดินให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมจิตส�ำนึกในด้านจริยธรรมให้แก่
ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าท่ีของรัฐแต่ละประเภทเป็นอย่างย่ิง เน่ืองด้วย
เห็นว่าเป็นมาตรการในเชิงป้องกันมิให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
กระทำ� พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ การละเมดิ ตอ่ ประมวลจรยิ ธรรมของแตล่ ะหนว่ ยงานและเพอื่ เสรมิ สรา้ ง
ความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนกั ถึงความสำ� คัญของจรยิ ธรรมและการปฏิบตั ิตามประมวล
จริยธรรมให้แก่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกประเภท
นำ� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ติ นหรอื ปฏบิ ตั งิ านบนพนื้ ฐานของการมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม

202 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

อันดี ลดโอกาสทจ่ี ะเกิดการกระทำ� อนั เปน็ การฝ่าฝนื มาตรฐานทางจรยิ ธรรม อันจะนำ� ไปสู่
การร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินย่อมน้อยลง ทั้งน้ี ท่ีผ่านมาผู้ตรวจการแผ่นดินได้ริเริ่ม
และพัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านจริยธรรมในรูปแบบท่ีมีความเหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ทั่วประเทศ ตามแผนปฏิบัติการซ่ึงประกอบไปด้วยกิจกรรมในส่วน
ผู้ตรวจการแผ่นดินด�ำเนินการเอง และบูรณาการความร่วมมือของภาคีเครือข่ายด้าน
จริยธรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง โดยตลอด ๑๐ ปีท่ีผ่านมา ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ได้ด�ำเนินการส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านจริยธรรมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การประชุมร่วมกับ
คณะกรรมการเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การดา้ นจรยิ ธรรม เพอื่ จดั ทำ� ขอ้ แนะนำ� ในการดำ� เนนิ การ
ดา้ นจรยิ ธรรม ทงั้ ในสว่ นของประมวลจรยิ ธรรม การสง่ เสรมิ จติ สำ� นกึ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และการตรวจสอบจริยธรรมตามทีร่ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
ได้ก�ำหนดไว้ การด�ำเนินการจัดประชุมสัมมนา เพ่ือเผยแพร่และสร้างความรู้ความเข้าใจ
เกยี่ วกบั การสง่ เสรมิ จติ สำ� นกึ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั กลมุ่ ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง
ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกประเภท อาทิ โครงการสัปดาห์ส่งเสริมจริยธรรม
แห่งชาติ โครงการขบั เคล่ือนแผนพฒั นาความซอื่ ตรงแห่งชาตไิ ปสกู่ ารปฏิบตั ิระดับจงั หวัด
(จังหวัดต้นแบบทางจรยิ ธรรม) โครงการองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ยคุ ใหม่ใส่ใจจรยิ ธรรม
บูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในการด�ำเนินการด้านจริยธรรมเพ่ือส่งเสริม
จิตส�ำนึกด้านจริยธรรม โดยร่วมกับ วุฒิสภา คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทจุ รติ แหง่ ชาติ สภาพฒั นาการเมอื ง และสภาการหนงั สอื พมิ พแ์ หง่ ชาติ ดำ� เนนิ โครงการ
เช่น โครงการพัฒนาผู้น�ำคุณธรรม โครงการองค์กรปกครองท้องถิ่นยุคใหม่ใส่ใจจริยธรรม
โครงการต้นแบบความซ่ือตรงภาครัฐ โครงการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินและเยาวชนในสถานศึกษา โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรม
และการขยายผลโรงเรยี นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในส่วนภูมภิ าค ๔ ภมู ิภาค นอกจากนี้ ยังได้จัด
นทิ รรศการ และเอกสารเผยแพร่ในรปู แบบแผน่ พบั การต์ นู ภาพยนตรส์ นั้ เพอื่ เปน็ สอ่ื ในการ
สร้างความรู้ ความเข้าใจ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้เก่ียวกับการสร้างเสริม
จิตส�ำนึกทางดา้ นจรยิ ธรรมให้แกก่ ลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ ทัง้ น้ี มีตัวอย่างการด�ำเนนิ โครงการ
ต่าง ๆ ท่ีส�ำคัญ มีดังน้ี

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 203

๑. โครงการเครือข่ายผู้ตรวจการแผ่นดินเสริมสร้างธรรมาภิบาลต่อต้าน
การทจุ ริต : การขยายผลโรงเรยี นคณุ ธรรมจริยธรรมสอู่ งคก์ รคณุ ธรรม

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มอบหมายใหส้ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ดำ� เนนิ การตามแผน
ยทุ ธศาสตรช์ าติ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๒ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์
ท่ี ๑ คือ “การปลูกและปลุกจิตส�ำนึกการต่อต้านการทุจริตโดยเน้นการปรับเปล่ียน
ฐานความคดิ ของคนในทกุ ภาคสว่ น ในการรกั ษาประโยชนส์ าธารณะ” สำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผ่นดินจึงได้ด�ำเนินการจัดการประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคล่ือนองค์กรคุณธรรม
ตามโครงการรณรงคป์ ลกู และปลกุ จติ สำ� นกึ ดา้ นจรยิ ธรรมแกท่ กุ ภาคสว่ น กจิ กรรมขยายผล
โรงเรยี นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสอู่ งคก์ รคณุ ธรรม เมอ่ื วนั ที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมมริ าเคลิ
แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ โดยกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้บริหารหน่วยงาน
เจ้าหน้าท่ี และคณาจารย์ จากหน่วยงานท่ีเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน ๕ หน่วยงาน ได้แก่
โรงพยาบาลสบปราบ จังหวัดล�ำปาง เทศบาลต�ำบลหนองไม้แดง จังหวัดชลบุรี วิทยาลัย
ชุมชนสงขลา จังหวัดสงขลา ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส และเทศบาลต�ำบล
กะลวุ อเหนอื จงั หวัดนราธวิ าส
อย่างไรก็ดี เนอื่ งจากมกี ารเปล่ียนแปลงเกย่ี วกบั หน้าท่แี ละอ�ำนาจของผตู้ รวจการ
แผ่นดนิ ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ กล่าวคอื รฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มิได้ก�ำหนดให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าท่ี
และอำ� นาจในการดำ� เนนิ การดา้ นจรยิ ธรรมอกี ตอ่ ไป สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ มแี ผนท่ี
จะปรบั ปรงุ รปู แบบการดำ� เนนิ กจิ กรรมและโครงการเพอื่ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การตามหนา้ ที่
อำ� นาจของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ โดยเปลย่ี นแปลงเปน็ “โครงการเครอื ขา่ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เสริมสร้างธรรมาภิบาลต่อต้านการทุจริต” และน�ำกลุ่มเป้าหมายเดิมท่ีสมัครใจเข้าร่วม
โครงการไปพฒั นาให้เป็นองคก์ รแห่งธรรมาภิบาลในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ต่อไป

204 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

จากความส�ำเร็จในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม จริยธรรมในส่วนภูมิภาคและ
เครอื ข่ายโรงเรียนคณุ ธรรม จ�ำนวน ๑๖ โรงเรียน สำ� นกั งานผูต้ รวจการแผ่นดนิ ยงั ไดด้ ำ� เนนิ การ
จดั ทำ� เอกสารรายงานการศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ ง “การสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรกู้ ระบวนการขยายผล
โรงเรยี นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสว่ นภมู ภิ าค และการประเมนิ ผลการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม” เพอื่ มอบใหก้ บั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหนว่ ยงานในสงั กดั ไดน้ ำ� ไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู
และแนวทางพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมในสถานศกึ ษาต่อไป

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 205

๒. โครงการรณรงค์ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม : กิจกรรมงานสัมมนา:
“เหลยี วหนา้ แลหลัง จรยิ ธรรมตามรัฐธรรมนญู ”

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการสง่ เสรมิ จติ สำ� นกึ ดา้ นจรยิ ธรรม
ที่ไม่ควรส่งเสริมให้เกิดเฉพาะกลุ่มคนใดกลุ่มคนหนึ่งเท่าน้ัน แต่ควรมีการสร้างเสริมเติมเต็ม
และผลักดันให้เกิดขนึ้ ในทุกภาคสว่ นของสังคม ผตู้ รวจการแผ่นดินไดเ้ ล็งเห็นถึงความสำ� คญั
ในเร่ืองของคุณธรรม จรยิ ธรรม และร่วมแกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆ โดยเน้นการส่งเสรมิ คณุ ธรรม
จริยธรรม พร้อมท้ังกระตุ้นจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรภาครัฐ ได้แก่
ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภทมาโดยตลอด
จึงจดั งานสมั มนา “เหลียวหน้า แลหลัง จริยธรรมตามรฐั ธรรมนูญ” เม่ือวันท่ี ๑ กุมภาพนั ธ์
๒๕๖๐ ณ สโมสรทหารบก กรงุ เทพฯ เพอ่ื เปน็ การสะทอ้ นถงึ ผลการดำ� เนนิ งานดา้ นจรยิ ธรรม
ของผู้ตรวจการแผ่นดินที่ผ่านมา โดยการสัมมนาในคร้ังนี้ มีผู้แทนจากหน่วยงานราชการ
และเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ เข้าร่วมงานสัมมนารวมจำ� นวนทั้งส้ิน ๖๔๗ คน จาก ๒๓๖ หนว่ ยงาน
พลเอก วิทวัส รชตะนันทน์ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ปฏิบัติหน้าท่ีแทนประธาน
ผู้ตรวจการแผ่นดิน กล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “งานจริยธรรมในมุมมองของผู้ตรวจการ
แผ่นดิน” ซึ่งสะท้อนผลการด�ำเนินงานด้านจริยธรรมของผู้ตรวจการแผ่นดินท่ีด�ำเนินงาน
มาตลอด ๑๐ ปี บทเรียนท่ีสังคมไทยได้รับ ตลอดจนความท้าทายในอนาคตที่จะมี
การเปลย่ี นแปลงเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การดา้ นจรยิ ธรรมในภาครฐั และสงั คม ภายใตก้ รอบกตกิ า
ของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และนอกจากนี้ยังมีการเสวนาเรื่อง “อนาคตจริยธรรมตาม
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่” ซึ่งได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิมาร่วมเสวนาในหัวข้อ
ดังกล่าวอยา่ งกวา้ งขวาง

206 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

พลเอก วทิ วัส รชตะนนั ทน์ ผตู้ รวจการแผ่นดิน ปฏิบตั หิ น้าท่แี ทนประธานผตู้ รวจการแผน่ ดิน
กล่าวปาฐกถาพิเศษ เรอ่ื ง “งานจริยธรรมในมมุ มองของผู้ตรวจการแผน่ ดนิ ”

ภาพกิจกรรมงานสมั มนา: “เหลยี วหน้า แลหลงั จรยิ ธรรมตามรัฐธรรมนูญ”
เม่อื วันที่ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ ณ สโมสรทหารบก กรงุ เทพมหานคร

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 207

๓. โครงการตดิ ตามประเมนิ ผลประสทิ ธภิ าพการสง่ เสรมิ จติ สำ� นกึ ดา้ นจรยิ ธรรม
ให้กบั ผดู้ ำ� รงต�ำแหน่งทางการเมือง และขา้ ราชการระดบั ท้องถน่ิ

การติดตามประเมินผลประสิทธิภาพการส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านจริยธรรมให้กับ
ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง และข้าราชการระดับท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพ่ือติดตาม
ผลการด�ำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามแนวทางการส่งเสริมจิตส�ำนึก
ด้านคุณธรรม จริยธรรมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ
ด�ำเนินการส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง
และข้าราชการระดับท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนศึกษารูปแบบ
แนวทางในการส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่มีผลการด�ำเนินงานเป็นที่ประจักษ์ในระยะท่ีผ่านมา ซึ่งเป็นการด�ำเนินการต่อเน่ืองจาก
โครงการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยุคใหม่ใส่ใจจริยธรรม มีผู้เข้าร่วมโครงการท้ังสิ้น
ประมาณ ๓,๐๐๐ คน ซึ่งได้แสดงเจตนารมณร์ ว่ มกนั ว่าจะน�ำแนวทางการส่งเสรมิ คณุ ธรรม
จรยิ ธรรมทไี่ ดจ้ ากการเขา้ รบั การสมั มนาในโครงการองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ยคุ ใหมใ่ สใ่ จ
จรยิ ธรรมไปขยายผลใหเ้ กดิ การสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมในองคก์ รและชมุ ชนโดยรอบอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ใหบ้ รรลผุ ลสำ� เรจ็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมยง่ั ยนื และเปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื
ระหวา่ งหนว่ ยงานต่าง ๆ ในท้องถนิ่ ทร่ี ่วมกนั ด�ำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมใหแ้ ก่
ทอ้ งถิน่ ของตน
ผลจากการตดิ ตามการดำ� เนนิ การในพน้ื ทเี่ ปา้ หมายภาคเหนอื ณ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
ซง่ึ ประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน เทศบาลตำ� บลแมส่ ะเรยี ง เทศบาล
ตำ� บลขนุ ยวม และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ณ จังหวดั ขอนแกน่ ซ่ึงประกอบด้วย องคก์ าร
บรหิ ารส่วนจงั หวดั ขอนแก่น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลคำ� แคน องค์การบริหารสว่ นต�ำบล
สวนหมอ่ น พบวา่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ไดม้ กี ารนำ� ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการเขา้ รว่ มอบรม
สัมมนาตามโครงการ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยุคใหม่ใส่ใจจริยธรรม” ไปพัฒนา
ตอ่ ยอด และสนบั สนนุ กจิ กรรมทม่ี อี ยเู่ ดมิ ใหม้ คี วามหลากหลายครอบคลมุ มากขนึ้ พรอ้ มทง้ั

208 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ด�ำเนินการจัดท�ำโครงการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับ
บุคลากรภายในและภายนอกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือปลุกจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม และสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่
ทางการเมืองระดับท้องถ่ิน ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ
ประชาชน ตลอดจนองค์กรภาคีเครอื ข่ายขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินอยา่ งต่อเนอ่ื ง

ภาพการดำ� เนนิ โครงการติดตามประเมินผลประสทิ ธิภาพการส่งเสรมิ จติ สำ� นึกดา้ นจริยธรรม
ให้กับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมอื งและข้าราชการระดบั ท้องถิ่น

ผู้ตรวจการแผน่ ดิน 209

๔. โครงการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ
เยาวชนในสถานศึกษา

โครงการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และเยาวชนในสถานศกึ ษา
มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้แก่องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ และสถานศกึ ษา สรา้ งกลมุ่ ผนู้ ำ� คณุ ธรรม และบรู ณาการการดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมระหวา่ งหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมายในการดำ� เนนิ โครงการ
คอื บคุ ลากรขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ บคุ ลากรของสถานศกึ ษา และกลมุ่ ผนู้ ำ� นกั เรยี น
โดยมีพนื้ ท่นี ำ� ร่อง คอื จังหวดั กาฬสินธุ์ มีกจิ กรรมหลักดังต่อไปนี้
กิจกรรมที่ ๑ การลงนามในบันทึกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่าย
ทรี่ ว่ มดำ� เนนิ โครงการ ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ สำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจ�ำจังหวัดกาฬสินธุ์ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอก เปรม
ติณสูลานนท์ วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏ
ราชวทิ ยาลยั เทศบาลเมอื งกาฬสินธ์ุ องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลโพนงาม โรงเรียนเทศบาล
๑ กาฬสนิ ธุ์พทิ ยาสทิ ธ์ิ โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั สวา่ งคงคา โรงเรียนเทศบาล ๔ วดั ใตโ้ พธิ์ค้�ำ
และโรงเรียนดอนไทรงามพิทยาคม
กิจกรรมท่ี ๒ การประชุมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มผู้น�ำบุคลากรในองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถน่ิ บคุ ลากรของสถานศึกษา และนักเรียนท่รี ว่ มโครงการโดยมวี ัตถุประสงค์ คอื
เพอ่ื คน้ หากจิ กรรมการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมทเี่ หมาะสมแกบ่ รบิ ทขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ และกลุ่มผู้น�ำเยาวชนท่ีจะน�ำไปขยายผลมีผู้เข้าร่วมประชุม
ตามโครงการฯ จำ� นวน ๖๐ คน
กจิ กรรมท่ี ๓ การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ โดยผแู้ ทนสำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผ่นดิน ผู้แทนสำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ ประจำ�
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ผแู้ ทนจากวทิ ยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รตกิ าฬสนิ ธ์ุ และผแู้ ทนจาก
มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ไดป้ ระชมุ ติดตามการดำ� เนินงานขององคก์ รเปา้ หมาย
จำ� นวน ๓ ครั้ง

210 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

กจิ กรรมที่ ๔ การถอดองคค์ วามรเู้ พอื่ สงั เคราะหเ์ ปน็ ตวั แบบการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรม
สำ� หรบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และเยาวชนในสถานศกึ ษาในกำ� กบั ขององคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ เชงิ บรู ณาการและจดั ตงั้ ศนู ยเ์ รยี นรตู้ ามโครงการสง่ เสรมิ จรยิ ธรรมใหแ้ กอ่ งคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถ่ินและเยาวชนในสถานศกึ ษา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินกิจกรรมหลักท่ี ๓
และ ๔ เพือ่ ประเมนิ ผลการดำ� เนินโครงการและถอดองค์ความร้เู พ่อื สังเคราะหเ์ ปน็ รปู แบบ
การส่งเสริมจริยธรรมส�ำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเยาวชนในสถานศึกษา
จากการประเมินพบว่าองคก์ รเป้าหมาย กลุ่มที่ ๑ เทศบาลเมอื งกาฬสินธ์ุ ร่วมกบั โรงเรยี น
เทศบาล ๒ วัดสว่างคงคา กลุ่มท่ี ๒ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนงาม ร่วมกับโรงเรียน
ดอนไทรงามพทิ ยาคม มกี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมตามหลกั เกณฑท์ ไี่ ดก้ ำ� หนดไวท้ ง้ั ๓ หลกั เกณฑ์
คอื (๑) ด้านความรว่ มมอื ระหว่างองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและโรงเรียน (๒) ด้านปัจจัย
บคุ ลากรภายในโรงเรยี น และ(๓) ดา้ นการดำ� เนนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม พบวา่
โรงเรียนดอนไทรงามพิทยาคม และ โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดสว่างคงคา มีความพร้อมใน
ทุกด้าน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ซ่ึงหมายความวา่ โรงเรยี นท้งั สองแหง่ มคี วามพรอ้ มทีจ่ ะเป็น
ศูนย์เรียนรู้ตามโครงการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเยาวชน
ในสถานศึกษา ท้งั นี้ ส�ำนักงานผตู้ รวจการแผ่นดินได้ด�ำเนนิ การไปจนถึงขั้นตอนการเตรียม
ความพรอ้ มในการจดั ตงั้ ศนู ยเ์ รยี นรเู้ พอ่ื เปน็ ตน้ แบบในการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมโดยการ
มีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วน และเตรียมขยายผลการดำ� เนนิ ไปยังหน่วยงานอนื่ ทเ่ี กย่ี วข้อง

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 211

ภาพการดำ� เนนิ โครงการส่งเสรมิ จรยิ ธรรมใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
และเยาวชนในสถานศกึ ษา

การส่งเสริมให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกประเภท
มีจิตส�ำนึกด้านจริยธรรมในช่วงเวลาที่ผ่านมานั้น พบว่า หน่วยงานของรัฐจ�ำนวนมาก
ให้ความร่วมมือกับผู้ตรวจการแผ่นดินในการส่งเสริมให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง
ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ในการท�ำงานเพ่ือเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่สังคม และเป็นการเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ให้เกิดข้ึนในการบริหารงานในภาครัฐ อย่างไรก็ดี การด�ำเนินการดังกล่าว ไม่อาจเกิด
ผลสัมฤทธ์ิได้ภายในระยะเวลาอันสั้น แต่จ�ำเป็นท่ีจะต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องและ
สมำ่� เสมอ ขณะเดยี วกนั ตอ้ งผลกั ดนั ใหท้ กุ ภาคสว่ นทง้ั รฐั และสงั คมเขา้ ใจและเหน็ ความสำ� คญั
ในการขับเคลื่อนการส่งเสริมจิตส�ำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กันโดยยึดม่ัน
ในมาตรฐานทางจริยธรรมเป็นหลกั ส�ำคัญในการด�ำเนินการดงั กล่าว

212 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

สว่ นท่ี

ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นการตดิ ตามประเมินผล
การปฏิบตั ติ ามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย

พุทธศกั ราช ๒๕๕๐

สบื เนือ่ งจากท่รี ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ซึง่ มผี ลบงั คบั ใช้
ต้ังแต่วันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ได้บัญญัติเปลี่ยนแปลงหน้าที่และอ�ำนาจของ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน และมีผลให้ภารกิจด้านการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตาม
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสดุ ลง ดงั นน้ั ผู้ตรวจการแผ่นดนิ
จึงขอรายงานผลการปฏิบัติหน้าท่ีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ และรายงานสรุป
ผลการดำ� เนนิ การตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ในภาพรวม รวมถงึ การเตรยี มการ
เพื่อรองรับการปฏิบัติตามหน้าท่ีและอ�ำนาจของผู้ตรวจการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๓๐ (๓) โดยมสี าระส�ำคญั สรปุ ได้ ดงั น้ี

๖.๑ ผลการด�ำเนินงานด้านการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตาม
รฐั ธรรมนูญ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๓๐ (๓) ทบี่ ญั ญตั ิ
ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าที่และอ�ำนาจในการเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้ทราบถึงการท่ี
หนว่ ยงานของรัฐยงั มไิ ดป้ ฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ นตามหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ

๖.๑.๑ การตดิ ตามการตรากฎหมายและการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดด้ ำ� เนนิ การตดิ ตามความคบื หนา้
ในการตรากฎหมายและการดำ� เนนิ มาตรการตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในชว่ งระยะเวลา
กอ่ นวนั ท่ี ๖ เมษายน ๒๕๖๐ ซงึ่ เปน็ วนั ทรี่ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
มีผลบงั คับใช้ ผลการติดตามในชว่ งระยะเวลาดงั กล่าว สรปุ ได้ดังน้ี

214 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

การตดิ ตามการตรากฎหมาย ๓๑๒ ฉบบั
๒๕๕ ฉบบั
กฎหมายทีต่ อ้ งดำ� เนนิ การทั้งหมด ๕๗ ฉบบั
กฎหมายด�ำเนนิ การเสร็จ (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว)
อยูร่ ะหว่างด�ำเนนิ การ

ตัวอย่างกฎหมายท่ดี ำ� เนนิ การแลว้ เสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เช่น
- พระราชบญั ญัติห้ามเรยี กดอกเบ้ยี เกินอัตรา พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ
จานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๕ ก ลงวันท่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๖๐
- พระราชบัญญตั ริ าชทณั ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี
๑๓๔ ตอนที่ ๒๑ ก ลงวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
- พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่ี ๑๓๔ ตอนที่ ๒๔ ก ลงวันท่ี ๒๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐
- พระราชบัญญตั ิภาษีสรรพสามติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
เล่มที่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๓๒ ก ลงวนั ที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๐
- พระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษา เล่มท่ี ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก. วนั ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
- พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มที่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๒ ก. วนั ท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐
- พระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศส�ำหรับ
อุตสาหกรรมเป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ที่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๙
ก. วนั ที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 215

- พระราชบญั ญตั ิแร่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่ี ๑๓๔
ตอนท่ี ๒๖ ก. วนั ท่ี ๒ มนี าคม ๒๕๖๐
- พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เลม่ ที่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๓๙ ก. วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๐

การตดิ ตามการด�ำเนนิ งานของหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

มาตรการทีต่ ้องด�ำเนนิ การทั้งหมด ๒,๓๓๐ งาน/โครงการ

มาตรการดำ� เนินการเสร็จ ๑,๗๔๐ งาน/โครงการ

มาตรการท่อี ยรู่ ะหวา่ งดำ� เนินการ ๕๙๐ งาน/โครงการ

ตวั อยา่ งมาตรการ/โครงการทหี่ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งไดด้ ำ� เนนิ การแลว้ ในปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๐ เชน่
- กระทรวงมหาดไทยดำ� เนนิ โครงการยกระดบั ความสามารถ ความเขม้ แขง็ ใหก้ บั
ผู้ประกอบการหนึ่งต�ำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ (OTOP) ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการ
เตรยี มความพร้อมโรงเรยี น OTOP หรือสถาบนั ส่งเสริมความร้ภู ูมปิ ญั ญาท้องถิน่ (OTOP
Academy) เพื่อยกระดบั ความสามารถ ความเข้มแขง็ ให้กับผ้ผู ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
และคัดเลือกพ้ืนท่ีเป้าหมายท่ีเป็นกลุ่ม OTOP ที่มีความเข้มแข็งภายใต้แนวคิดส่งเสริม
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ บรหิ ารจดั การดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน นอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลมุง่ ปฏบิ ตั ิเพื่อสงั คม
- กระทรวงศึกษาธิการด�ำเนินโครงการพัฒนารูปแบบการเทียบเคียงระบบ
คณุ วุฒติ ่าง ๆ ในประเทศไทยกบั กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ โดยศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบ
การเทียบเคียงระบบคุณวุฒิต่าง ๆ ในประเทศไทยกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และจัดท�ำ
เอกสารการปรบั ระดบั กรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาตจิ าก ๙ ระดับ เปน็ ๘ ระดบั

216 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

๖.๑.๒ การประเมนิ ผลการปฏิบัติตามรฐั ธรรมนูญ

เปน็ การประเมนิ ผลเพอ่ื วดั ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ว่าได้จัดทำ� กฎหมายและมาตรการหรอื โครงการครบถ้วน และเป็นไปตามกรอบระยะเวลา
ที่รัฐธรรมนูญก�ำหนดหรือไม่ และเม่ือกฎหมายมีผลใช้บังคับหรือได้ด�ำเนินมาตรการหรือ
โครงการแล้ว ประสบปัญหาในทางปฏบิ ัตหิ รือไม่ อย่างไร หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความไม่เป็นธรรม
หรือมีความไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญอย่างไร โดยผู้ตรวจการแผ่นดิน
จะท�ำการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิตามรัฐธรรมนูญของแต่ละหนว่ ยงาน ซึ่งในการด�ำเนนิ การ
ประเมินผลและจดั ทำ� ข้อเสนอแนะนนั้ ผตู้ รวจการแผน่ ดินไดด้ �ำเนนิ การรวมรวบขอ้ มลู จาก
หน่วยงานต่าง ๆ แลว้ นำ� ข้อมูลมาวิเคราะหว์ า่ การดำ� เนินการดงั กล่าวก่อใหเ้ กดิ ผลดผี ลเสีย
ตอ่ ส่วนรวมอยา่ งไร
ท้ังนี้ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผู้ตรวจการแผ่นดินไดท้ ำ� การศึกษาและจัดทำ�
รา่ งกฎหมาย คอื รา่ งพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผู้ให้ข้อมูลท่เี ป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบ
และการดำ� เนินคดี พ.ศ. .... ดว้ ยผู้ตรวจการแผ่นดนิ มแี นวความคดิ และเล็งเหน็ วา่ ปจั จบุ นั
ประเทศไทยยงั ไมม่ กี ฎหมายเฉพาะทม่ี งุ่ ใหก้ ารคมุ้ ครองผใู้ หข้ อ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชนส์ าธารณะ
แก่รัฐ เพ่ือเป็นการจูงใจให้บุคคลท่ีรู้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะได้เปิดเผยข้อมูล
อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การตรวจสอบการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ และการดำ� เนนิ คดีแก่
ผกู้ ระทำ� ผดิ กฎหมาย ส่งผลใหก้ ารแสวงหา รวบรวม และการดำ� เนินการอืน่ ใดเพือ่ ใหไ้ ดม้ า
ซึ่งข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเกี่ยวกับการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลใด
ท่ีด�ำเนินการขัดต่อหรือไม่เป็นไปตามกฎหมาย เป็นไปด้วยความยากล�ำบาก กระทบต่อ
ประสิทธิภาพในการก�ำกับดูแลการท�ำงานของรัฐ และการป้องปรามการเกิดอาชญากรรม
อันจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศโดยรวม ประกอบกับปัจจุบัน มีเพียงบทบัญญัติ
ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองพยานในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๔๖ ซงึ่ เปน็ บทบญั ญตั ิ
ท่ีมุ่งใช้มาตรการปราบปรามในกรณีที่เกิดการกระท�ำความผิดต่อผู้ให้ข้อมูลแล้ว มิได้มุ่ง
คมุ้ ครองผใู้ หข้ อ้ มลู มาแตต่ น้ และไมส่ ามารถนำ� มาบรู ณาการในการทำ� งานรว่ มกบั หนว่ ยงานอนื่

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 217

ของรฐั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพได้ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาแลว้ จงึ ไดม้ คี ำ� สง่ั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ
ยกร่างกฎหมายคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สาธารณะแก่รัฐ เพื่อท�ำหน้าที่ยกร่าง
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบและการด�ำเนินคดี
พ.ศ. ....
ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบและ
การด�ำเนนิ คดี พ.ศ. .... น้ี กำ� หนดให้มีคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้ใหข้ อ้ มูลท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่
การตรวจสอบและการด�ำเนินคดี มีอ�ำนาจหน้าที่ส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบาย แผนการ
และมาตรการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล ก�ำหนดหลักเกณฑ์การให้ข้อมูล การให้เงินรางวัลผู้ให้
ข้อมูล และงบประมาณที่ใช้ในการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล แต่งต้ังคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ
ในการตรวจสอบและการด�ำเนินคดีเฉพาะด้าน และให้ความเห็นชอบผลการพิจารณา
ไต่สวนค�ำร้องขอใช้มาตรการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล โดยก�ำหนดให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าว
ให้ความคุ้มครองบุคคลที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบและการด�ำเนินคดี
รวมถงึ สามี ภรยิ า ผบู้ พุ การี ผสู้ บื สนั ดาน หรอื บคุ คลอน่ื ทม่ี คี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กบั ผใู้ หข้ อ้ มลู
ตลอดจนบุคคลอ่ืนท่ีได้รับผลกระทบ ได้รับความเสียหายหรืออันตรายจากการให้ข้อมูล
ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบและการด�ำเนินคดี ซ่ึงมิใช่ผู้กระท�ำความผิดหรือมี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการกระท�ำความผิด ตามมาตรการที่ก�ำหนดไว้ เช่น การปกปิดมิให้มี
การเปิดเผยอัตลักษณ์หรือข้อมูลอย่างอื่นท่ีสามารถระบุตัวผู้ให้ข้อมูลได้ การห้ามมิให้
หนว่ ยงานของรฐั หรอื เอกชนที่เปน็ ตน้ สังกดั รบกวนการปฏบิ ตั งิ านของผใู้ หข้ ้อมลู การจดั ใหม้ ี
เจ้าหน้าท่ีคุ้มครองความปลอดภัย การย้ายที่อยู่หรือจัดหาท่ีพักที่ปลอดภัยและเหมาะสม
ให้แก่ผู้ให้ข้อมูล เป็นต้น ท้ังนี้ ได้ด�ำเนินการยกร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล
ที่เป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบและการด�ำเนินคดี พ.ศ. .... เสร็จแล้ว และได้สรุป
สาระสำ� คญั ของรา่ งกฎหมายดงั กลา่ วเสนอไปยงั นายกรฐั มนตรแี ลว้ เมอื่ วนั ท่ี ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๐

218 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๖.๒ การเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั การปฏิบตั ิตามหนา้ ท่แี ละอ�ำนาจ
ของผู้ตรวจการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๓๐ (๓)

เม่อื รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ประกาศใช้ ส่งผลให้
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ มหี นา้ ทแ่ี ละอำ� นาจตามมาตรา ๒๓๐ (๓) ของรฐั ธรรมนญู ในการเสนอตอ่
คณะรฐั มนตรใี หท้ ราบถึงการทีห่ น่วยงานของรฐั ยังมิได้ปฏบิ ัติให้ถกู ต้องครบถ้วนตามหมวด ๕
หน้าท่ีของรัฐ โดยก�ำหนดให้ “รัฐมีหน้าที่ต่อประชาชน” เพ่ือให้รัฐต้องด�ำเนินการในเร่ือง
ทก่ี ำ� หนดใหแ้ ก่ประชาชน “ทุกคน” หรือ “ทกุ ชุมชน” เปน็ การทั่วไป โดยที่ประชาชนแต่ละคน
หรือแต่ละชุมชน “ไม่ต้องใช้สิทธิร้องขอ” ถ้ารัฐไม่กระท�ำตามหน้าท่ีก็จะเป็นกรณีจงใจ
ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู หรอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี มด่ ี ไมถ่ กู ตอ้ ง ประชาชนและชมุ ชนยอ่ มมสี ทิ ธิ
ติดตามและเร่งรัดให้รัฐด�ำเนินการ และฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องเพ่ือจัดให้
ประชาชนหรือชุมชนได้รับประโยชน์น้ันได้ นอกจากน้ี รัฐธรรมนูญได้วางหลักการทั่วไป
ของหมวด “หนา้ ท่ีของรฐั ” ให้มคี วามแตกต่างจากหมวด “แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรฐั ” คอื
หมวดหนา้ ทขี่ องรฐั เปน็ บทบญั ญตั ทิ ม่ี สี ภาพบงั คบั ใหร้ ฐั ตอ้ งปฏบิ ตั ิ หากรฐั ไมป่ ฏบิ ตั ปิ ระชาชน
อาจมสี ทิ ธฟิ อ้ งรอ้ งใหร้ ฐั ปฏบิ ตั ไิ ด้ หมวดหนา้ ทขี่ องรฐั จงึ เปน็ เรอื่ งทส่ี ำ� คญั และจำ� เปน็ ซง่ึ รฐั ตอ้ ง
ด�ำเนินการให้ครบถ้วนเหมาะสมกับสถานะทางการเงินการคลัง ส่วนหมวดแนวนโยบาย
พนื้ ฐานแหง่ รฐั เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั ทศิ ทางหรอื แนวทางในการดำ� เนนิ นโยบายของรฐั สาระสำ� คญั
เบอ้ื งต้นท่รี ฐั ตอ้ งด�ำเนนิ การจัดการสวสั ดกิ ารในเร่ืองตา่ ง ๆ ใหแ้ กป่ ระชาชน เช่น การศกึ ษา
การสาธารณสขุ การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค การรับร้ขู อ้ มูลข่าวสาร เป็นต้น
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงได้เตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับภารกิจใหม่ของผู้ตรวจการ
แผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๓๐ (๓)
โดยท�ำการวเิ คราะห์บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู หมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ จำ� นวน ๑๓ มาตรา
ต้งั แต่มาตรา ๕๑ ถงึ มาตรา ๖๓ กำ� หนดประเด็นหลักทสี่ ำ� คญั ได้ จำ� นวน ๑๒ ประเดน็
เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานและเน้นการท�ำงานเชิงรุกและการแก้ไข

ผูต้ รวจการแผ่นดิน 219

ปัญหาเชิงระบบอย่างเป็นรูปธรรมเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและสังคมในวงกว้าง
ซงึ่ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดพ้ จิ ารณาประเดน็ สำ� คญั ทสี่ ง่ ผลกระทบ
ต่อปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและสังคมในวงกว้างขึ้นมาท�ำการศึกษาเพื่อจัดท�ำ
ขอ้ เสนอแนะในการปอ้ งกนั กลา่ วคอื ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดพ้ จิ ารณาขอ้ มลู การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ
ทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ระหว่างวันที่ ๑๑ – ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ของ
ศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ทางถนน พบวา่ มอี บุ ตั เิ หตเุ กดิ ขน้ึ ทง้ั สนิ้ จำ� นวน ๓,๖๙๐ ครงั้
มีผู้บาดเจ็บ ๓,๘๐๘ คน และผู้เสียชีวิต ๓๙๐ คน ซึ่งมีจ�ำนวนคร้ังของการเกิดอุบัติเหตุ
ท่ีสูงกว่าในปีที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่ากฎหมายและมาตรการป้องกันและลดอุบัติเหตุ
ทางถนนทบ่ี งั คบั ใชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั อาจยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทคี่ วร กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
ตอ่ ชวี ติ รา่ งกายและทรพั ยส์ นิ ของประชาชน ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดต้ ระหนกั ถงึ ความรนุ แรง
ของปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ และพจิ ารณาเหน็ วา่ รฐั ควรจะตอ้ งดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ น
ของประชาชนดังกล่าวอย่างเร่งด่วนและจริงจัง จึงได้ดำ� เนนิ โครงการ “จดั ท�ำข้อเสนอแนะ
ในการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ” ขนึ้ เพอื่ เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรี
และหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง
การด�ำเนินการตามโครงการดังกล่าว ผู้ตรวจการแผ่นดินได้จัดให้มีการประชุม
เพ่ือรับฟังข้อมูลและแนวทางในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอย่างมีประสิทธิภาพ
ไปแล้วจ�ำนวน ๒ ครงั้ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒจิ ากหน่วยงานตา่ ง ๆ ทมี่ ภี ารกจิ เก่ียวขอ้ งกับ
การปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนน ไดแ้ ก่ กระทรวงมหาดไทย กรมทางหลวง กรมทางหลวง
ชนบท กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมการขนส่งทางบก กรมคุมประพฤติ
ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์วิชาการ
เพอ่ื ความปลอดภยั ทางถนน และมูลนธิ เิ มาไม่ขบั นอกจากน้ี ผตู้ รวจการแผน่ ดินไดล้ งพนื้ ที่
เพอื่ ตรวจสอบปญั หาอบุ ตั เิ หตทุ างถนน ตลอดจนลกั ษณะทางกายภาพและภมู ปิ ระเทศ และ
ร่วมประชุมกับหน่วยงานและประชาชนในพื้นท่ีเพ่ือรับทราบสภาพปัญหา และหารือถึง
แนวทางแกไ้ ขอนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนผใู้ ชเ้ สน้ ทางและเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั ทำ�
ข้อเสนอแนะในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอย่างมีประสิทธิภาพเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรี ตลอดจนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต่อไป โดยมีการลงพ้ืนที่ครั้งแรกเมื่อวันที่
๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เพ่ือตรวจสอบปัญหาอุบัติเหตุทางถนนบนทางหลวงหมายเลข ๑๑

220 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

(ลำ� ปาง – เดน่ ชัย) ชว่ งตง้ั แตร่ อยต่อระหว่าง อำ� เภอแมท่ ะ จงั หวดั ลำ� ปาง กับ อำ� เภอลอง
จังหวดั แพร่ ถึงบริเวณแยกแมแ่ ขม อ�ำเภอลอง จงั หวดั แพร่ และประชมุ ร่วมกบั หนว่ ยงาน
และประชาชนในพนื้ ท่ี เนอ่ื งจากบรเิ วณดงั กลา่ วเปน็ จดุ ทเ่ี กดิ อบุ ตั เิ หตบุ อ่ ยครงั้ สาเหตมุ าจาก
ลักษณะทางกายภาพของถนนที่มีความลาดชัน เป็นทางคดเค้ียวสลับขึ้นลงเขา จากการ
ลงพน้ื ท่ีและประชุมร่วมกับหน่วยงานและประชาชนในพ้ืนที่ดังกลา่ วแล้ว พบวา่ หนว่ ยงาน
ที่รบั ผิดชอบหลกั ไดด้ ำ� เนนิ การต่าง ๆ เพ่อื แก้ไขปัญหาบรเิ วณจุดเสี่ยง อาทิ การศกึ ษาและ
วเิ คราะหส์ ถติ กิ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตเุ พอ่ื แกไ้ ขจดุ เสย่ี ง การศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม
(EIA) เพ่ือคาดการณ์ผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบในการขยายช่องทางจราจรบริเวณ
แยกแมแ่ ขม การเสนอขอรบั การจดั สรรงบประมาณเพอื่ ตดิ ตงั้ กลอ้ งวงจรปดิ การจดั กจิ กรรม
รณรงค์ให้ความรู้แก่นักเรียนและประชาชนในพื้นที่เพื่อให้เกิดความตระหนักต่ออันตราย
จากอุบัติเหตุและการถือปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด อย่างไรก็ดี พบว่า การเสนอ
โครงการขยายชอ่ งทางจราจรบรเิ วณแยกแมแ่ ขมยงั มคี วามลา่ ช้า ผูต้ รวจการแผ่นดินจงึ ให้
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบรวบรวมข้อมูล ตลอดจนปัญหาในการด�ำเนินการต่าง ๆ เสนอต่อ
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาตามหน้าที่และอ�ำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตอ่ ไป ท้ังนี้ ปัจจบุ ัน การดำ� เนินการอย่รู ะหว่างการจดั ท�ำข้อเสนอแนะ
ในการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนระยะแรก เพ่อื เสนอไปยงั คณะรัฐมนตรี

๖.๓ สรุปผลการด�ำเนินการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตาม
รฐั ธรรมนูญในภาพรวม ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๙

ภารกิจด้านการติดตาม ประเมินผล และจัดท�ำข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตาม
รัฐธรรมนูญ รวมถึงข้อพิจารณาเพื่อแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญในกรณีท่ีเห็นว่าจ�ำเป็นของ
ผู้ตรวจการแผน่ ดิน ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔๔
(๓) เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในด้านการตรวจสอบและก�ำกับดูแลภาครัฐให้มี
การปฏบิ ตั หิ รอื การดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู รวมถงึ เปน็ การวาง
หลักประกันการบังคับใช้หรือสภาพบังคับในทางรัฐธรรมนูญให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
อยา่ งชดั เจน เนอ่ื งจากในอดตี ทผี่ า่ นมาไมม่ อี งคก์ รใดเปน็ องคก์ รหลกั ในการทำ� หนา้ ทตี่ ดิ ตาม

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 221

ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ทำ� ใหห้ นว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู
ละเลยไม่ปฏบิ ัติตามรัฐธรรมนญู หรือด�ำเนินการลา่ ชา้ รวมถึงหลกั การต่าง ๆ ทบ่ี ญั ญัตไิ ว้ใน
รฐั ธรรมนญู มไิ ดม้ กี ารผลกั ดนั ใหม้ กี ารออกกฎหมายมารองรบั เพอื่ กำ� หนดรายละเอยี ดและ
ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งาน สง่ ผลใหส้ ทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนไมไ่ ดร้ บั ความคมุ้ ครองอยา่ งเปน็
รูปธรรม ดังน้ัน เพื่อเป็นหลักประกันว่าภาครัฐจะมีการปฏิบัติเป็นไปตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญ จึงได้มีการบัญญัติให้ผู้ตรวจการแผ่นดินท�ำหน้าที่ดังกล่าว นอกจากน้ี หากมี
ข้อพิจารณาที่จ�ำเป็นเพื่อการแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน
โดยความเห็นชอบร่วมกันของผู้ตรวจการแผ่นดินทุกท่านสามารถเสนอเร่ืองดังกล่าวต่อ
คณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเพื่อพิจารณาด�ำเนินการตามสมควรได้
ซ่ึงสามารถสรุปผลการดำ� เนนิ การไดด้ ังนี้

๖.๓.๑ การติดตามการตรากฎหมายและการด�ำเนินงานของหน่วยงาน
ท่เี กยี่ วขอ้ ง

การติดตามการตรากฎหมายตามอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน ต้ังแต่
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ มผี ลบงั คบั ใช้ จนกระทง่ั รฐั ธรรมนญู
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ส้นิ สุดลง สรุปผลการตดิ ตามได้ดงั นี้

การตดิ ตามการตรากฎหมายต้ังแต่ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๗ (สภาผู้แทนราษฎร)

กฎหมายทตี่ อ้ งดำ� เนินการท้งั หมด ๓๔๖ ฉบบั

กฎหมายดำ� เนนิ การเสร็จ (ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้ว) ๑๘๘ ฉบบั

อยู่ระหว่างดำ� เนินการ ๑๕๘ ฉบบั

ส�ำหรับกฎหมายท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้น
เมอื่ นายกรฐั มนตรไี ดป้ ระกาศยบุ สภาเมอ่ื วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๖ จงึ มผี ลใหร้ า่ งพระราชบญั ญตั ิ
ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรตกไปตามมาตรา ๑๕๓ ของรัฐธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐

222 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๖.๓.๒ การประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามรัฐธรรมนูญ และการจัดทำ� ขอ้ เสนอแนะ
ในการปฏิบตั ติ ามรฐั ธรรมนูญ

การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู เปน็ การประเมนิ ผลเพอ่ื วดั ผลการปฏบิ ตั ติ าม
รัฐธรรมนูญของหน่วยงานว่าได้จัดท�ำกฎหมายและมาตรการหรือโครงการครบถ้วน และ
เปน็ ไปตามกรอบระยะเวลาทร่ี ฐั ธรรมนญู กำ� หนดหรอื ไม่ และเมอื่ กฎหมายมผี ลใชบ้ งั คบั แลว้
หากมีปัญหาในทางปฏิบัติ หรือก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม หรือมีความไม่สอดคล้องกับ
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ผู้ตรวจการแผ่นดินจะประเมินผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
ของแตล่ ะหนว่ ยงาน ซง่ึ ในการดำ� เนนิ การประเมนิ ผลและจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะนน้ั ผตู้ รวจการ
แผ่นดินได้ด�ำเนินการรวมรวบข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ แล้วน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ว่า
การด�ำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีผลเสียต่อส่วนรวมอย่างไร ท้ังน้ี ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ไดศ้ กึ ษาวิจยั เร่อื งทกี่ ่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ สงั คมในหลายเร่ืองทสี่ �ำคญั โดยมีตวั อยา่ งดงั น้ี
ก. การศึกษาและจัดท�ำนโยบายการผังเมืองและการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ของประเทศ
เนื่องด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาเห็นว่า การจัดการผังเมืองและการใช้
ประโยชน์ในที่ดินของประเทศเป็นเร่ืองท่ีส�ำคัญและมีผลกระทบต่อประชาชนท้ังประเทศ
ประกอบกับปัจจุบัน ประเทศไทยยงั ไม่มนี โยบายในการจดั ทำ� ผังเมอื งและการใชป้ ระโยชน์
ในท่ีดินของประเทศที่มีความเหมาะสมและชัดเจน ขาดการวางแผนและไม่มีการจัดการ
ผังเมืองอย่างเป็นระบบที่สอดคล้องกับทิศทางในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศควบคกู่ บั การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ ใชบ้ งั คบั อยา่ งเปน็
รปู ธรรม เพื่อความมั่นคง มง่ั คงั่ ยง่ั ยนื ดงั เช่นบางประเทศที่พัฒนาแล้วได้มีการวางผังเมือง
ที่ดี มีการจัดระบบผังเมืองและมีการจัดระเบียบที่เหมาะสม สวยงาม ทั้งด้านส่ิงแวดล้อม
และวฒั นธรรมของชาติ ทำ� ใหเ้ ปน็ เมอื งทส่ี วยงามนา่ อยอู่ าศยั อกี ทงั้ ในปจั จบุ นั ไมม่ หี นว่ ยงาน
ที่มีบทบาทอ�ำนาจหน้าท่ีในการวางแผนระยะยาวและเป็นศูนย์กลางในการบูรณาการ
งานดา้ นการผงั เมอื ง ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งานดา้ นการผงั เมอื งและการบงั คบั ใชก้ ฎหมายผงั เมอื ง
เป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพตลอดจนการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของประเทศที่ผ่านมาน้ัน

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 223

ยังค่อนข้างไร้ทิศทางในการพัฒนาขาดนโยบายและการด�ำเนินการท่ีมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลที่ก่อให้เกิดความเป็นอยู่ท่ีดีและได้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจอย่างสูงสุด
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ดำ� เนนิ การศกึ ษาวเิ คราะหป์ ญั หาและอปุ สรรคพรอ้ มทง้ั มขี อ้ เสนอแนะ
เกยี่ วกบั นโยบายการผงั เมอื ง การจดั ทำ� ผงั เมอื ง และกลไกในการบงั คบั ตามกฎหมายผงั เมอื ง
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความชดั เจนและมกี ารพฒั นาดา้ นการผงั เมอื งอยา่ งเปน็ รปู ธรรมและมอี งคก์ รทมี่ ี
อำ� นาจในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายผงั เมอื งอยา่ งเดด็ ขาดและจรงิ จงั ในการใชอ้ ำ� นาจตามกฎหมาย
อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นอยู่ท่ีดีของประชาชน
ชาวไทยทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต โดยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มคี ำ� สงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการศกึ ษา
และจดั ทำ� นโยบายการผงั เมอื งและการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ของประเทศ เพอื่ ทำ� หนา้ ทศ่ี กึ ษา
วเิ คราะหป์ ญั หาและอปุ สรรคในการจดั ทำ� นโยบายการผงั เมอื งและการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ
ของประเทศ รวบรวมข้อมูลแนวทางการจัดท�ำนโยบายการผังเมืองและการใช้ประโยชน์
ในทด่ี นิ ของนานาประเทศ เพอ่ื นำ� มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การจดั ทำ� นโยบายและการใชป้ ระโยชน์
ในที่ดินของประเทศไทย ตลอดจนจัดท�ำข้อเสนอแนะเสนอให้กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือด�ำเนนิ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ งกบั การผงั เมือง
ทั้งนี้ ผูต้ รวจการแผ่นดินได้เสนอร่างพระราชบัญญัตนิ โยบายการผงั เมอื งและ
การใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ของประเทศ พ.ศ. .... ไปยงั นายกรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๙
เพ่ือพิจารณาน�ำไปใช้เป็นแนวทางก�ำกับให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใช้เป็นกรอบข้อก�ำหนด
ในการดำ� เนนิ การวางผงั เมอื งใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ กรอบในการบรหิ ารจดั การพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ
ของประเทศไทย และสำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรไี ดม้ หี นงั สอื ลงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๙
วา่ ได้นำ� เรียนรองนายกรฐั มนตรี (พลเอก ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ) ในฐานะกำ� กับการบรหิ าร
ราชการกระทรวงมหาดไทยแทนนายกรฐั มนตรี รองนายกรฐั มนตรี (นายวษิ ณุ เครืองาม)
และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี (นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ) ในฐานะประธาน
กรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบ และส่งเร่ืองให้กระทรวงมหาดไทย
เพ่อื ประกอบการพิจารณา

224 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ข. การศึกษาเพ่ือปฏิรปู การศกึ ษาชาติทัง้ ระบบ
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินโครงการศึกษาวิจัยด้านการศึกษาอย่างต่อเน่ือง
พบว่า ปัญหาคุณภาพผลผลิตของการจัดการศึกษาในภาพรวมทุกระดับ และทุกประเภท
ของการศึกษา คณุ ภาพนกั เรยี น นักศึกษา บัณฑิต ตกต่ำ� ลง อีกทงั้ เปน็ ปัญหาท่ียังไมไ่ ดร้ บั
การแก้ไขอย่างจริงจัง การศึกษาของประเทศไทยขาดประสิทธิภาพท�ำให้แรงงานไทย
ส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ประเทศไทยจึงเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางมานานกว่า
๓๐ ปี เพราะระบบการผลติ กำ� ลงั คนและการวจิ ยั ของประเทศไทยยงั ออ่ นแอ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้
ทง้ั หมดนย้ี ังไม่ไดร้ บั การแก้ไขอย่างจรงิ จัง อันเนื่องมาจากสาเหตสุ �ำคญั หลายประการ เช่น
การขาดนโยบายการศึกษาที่ปลอดจากการเมือง นโยบายการศึกษาขาดความต่อเน่ือง
ปัญหาการบรหิ ารงานของผู้บรหิ ารระดบั สงู ในหนว่ ยงานหลกั ท่จี ดั การศึกษา เป็นตน้
เพื่อประโยชน์ในการจัดท�ำข้อเสนอแนะแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาในทุกด้าน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ไดม้ คี ำ� สง่ั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทำ� ขอ้ เสนอในการปฏริ ปู การศกึ ษา
ชาติทั้งระบบขึ้น เพื่อให้มีหน้าท่ีระดมความคิดเห็นในการจัดท�ำข้อเสนอในการปฏิรูป
การศึกษาชาติทั้งระบบ ซ่ึงประกอบด้วยการจัดท�ำโครงสร้างการปฏิรูปการศึกษา และ
การพิจารณายกรา่ งกฎหมายเพอ่ื การปฏิรปู การศกึ ษา จำ� นวน ๑๕ ฉบับ ประกอบด้วย
(๑) รา่ งพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ....
(๒) รา่ งพระราชบัญญัตสิ ภานโยบายและพฒั นาการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ....
(๓) รา่ งพระราชบัญญัตกิ ารวิจยั และพัฒนาระบบการศกึ ษา พ.ศ. ....
(๔) รา่ งพระราชบญั ญัตกิ ารพัฒนาระบบหลกั สตู รการศึกษา พ.ศ. ....
(๕) รา่ งพระราชบัญญัตินวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา พ.ศ. ....
(๖) รา่ งพระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ....
(๗) ร่างพระราชบัญญตั กิ ารอุดมศกึ ษา พ.ศ. ....
(๘) รา่ งพระราชบญั ญัติสถาบนั ครศุ ึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ....
(๙) ร่างพระราชบญั ญตั ิการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ....
(๑๐) ร่างพระราชบญั ญัติการรบั รองคณุ วฒุ ิการศกึ ษา พ.ศ. ....

ผู้ตรวจการแผน่ ดิน 225

(๑๑) ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. ....
(๑๒) ร่างพระราชบัญญัตกิ ารจดั การและบรหิ ารการศึกษาของ
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. ....
(๑๓) รา่ งพระราชบญั ญัติการบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ....
(๑๔) ร่างพระราชบญั ญัติการพทิ กั ษร์ ะบบคุณธรรมการศกึ ษา พ.ศ. ....
(๑๕) รา่ งพระราชบัญญตั ิการก�ำหนดความผดิ เกีย่ วกบั การสอบ การรบั จา้ ง
และการจัดทำ� ผลงานทางวชิ าการเพ่ือให้ผูอ้ ืน่ สำ� เร็จการศกึ ษา พ.ศ. ....
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้จัดท�ำเอกสารอธิบายปัญหาการศึกษาชาติและข้อเสนอ
ในการแก้ไขทั้งระบบ และร่างกฎหมายการปฏิรูปการศึกษาตามข้อเสนอของผู้ตรวจการ
แผน่ ดนิ ทงั้ ๑๕ ฉบบั เสนอตอ่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประธานกรรมาธกิ ารขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา
สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ และประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา
สภานิตบิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ ทั้งน้ี หลังจากที่ผตู้ รวจการแผน่ ดินได้เผยแพร่ขอ้ เสนอดงั กลา่ วไป
แลว้ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดว้ างแนวนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ เสนอ
ของผ้ตู รวจการแผ่นดิน เชน่
(๑) ขอ้ เสนอการปรบั รปู แบบโครงสรา้ งกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมกี ารพจิ ารณา
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายหลายฉบบั เชน่ กฎหมายการศกึ ษาแหง่ ชาติ กฎหมายระเบยี บบรหิ าร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เป็นต้น ซ่ึงมีสาระส�ำคัญเป็นไปในทิศทางเดียวกับข้อเสนอในการปฏิรูปการศึกษาชาติ
ท้ังระบบของผู้ตรวจการแผน่ ดนิ
(๒) ขอ้ เสนอการปรบั ปรงุ หลกั สตู รการอาชวี ศกึ ษา ใหเ้ ปน็ การศกึ ษารปู แบบ
ทวิภาคี ซ่ึงเป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษากับภาคเอกชนในการจัดท�ำ
หลักสูตรการเรียนการสอนอาชีวศึกษาร่วมกัน โดยให้มีการฝึกงานในสถานประกอบการ
ควบค่ไู ปด้วย เพอ่ื ใหส้ ามารถผลติ กำ� ลงั คนในสายอาชีวศกึ ษาได้ตรงตามความตอ้ งการของ
ภาคเอกชน

226 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ค. การศกึ ษา เรือ่ ง การประเมนิ ผลงานของสภาพฒั นาการเมอื ง
การจดั ต้งั สภาพัฒนาการเมอื งเป็นไปตามบทเฉพาะกาลในมาตรา ๓๐๓ ของ
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ ทีไ่ ด้บญั ญตั ิไวว้ ่า ในวาระเริ่มแรก
ให้คณะรัฐมนตรีที่เข้าบริหารราชการแผ่นดินภายหลังจากการเลือกต้ังทั่วไปเป็นครั้งแรก
ตามรฐั ธรรมนญู นี้ ดำ� เนนิ การจดั ใหม้ สี ภาพฒั นาการเมอื งตามมาตรา ๗๘ (๗) และกฎหมาย
วา่ ดว้ ยการจดั ตงั้ กองทนุ พฒั นาการเมอื งภาคพลเมอื งตามมาตรา ๘๗ (๔) ตามพระราชบญั ญตั ิ
สภาพฒั นาการเมอื ง พ.ศ. ๒๕๕๑ ซง่ึ การจดั ตง้ั สภาพฒั นาการเมอื งเปน็ ไปเพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์
๓ ประการ คือ (๑) เพ่ือพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข (๒) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมืองและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และ (๓) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็ง
ในทางการเมือง
อนงึ่ ในการทจี่ ะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ า้ งตน้ สภาพฒั นาการเมอื งมหี นา้ ทส่ี ำ� คญั
ในการจัดท�ำแผนพัฒนาการเมือง แผนปฏิบัติการประจ�ำปี ตลอดจนติดตามสอดส่อง
ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือให้มีการน�ำแผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากน้ี ยังมีหน้าท่ีในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผน
พัฒนาการเมืองอีกด้วย นอกจากภารกิจเกี่ยวกับแผนพัฒนาการเมืองแล้ว สภาพัฒนา
การเมืองยังมีหนา้ ท่เี สรมิ สร้างวฒั นธรรมอนั ดที างการเมอื ง วถิ ีชีวติ ประชาธปิ ไตย สง่ เสรมิ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาการเมืองในส่วนท่ีเก่ียวกับ
สถาบนั การเมืองและสถาบนั การปกครอง รวมถึงสง่ เสริมและพฒั นาให้ประชาชน องค์กร
ภาคประชาสงั คม ภาคเอกชนและภาคพลเมอื ง ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ในทางการเมอื ง สนบั สนนุ
การเผยแพร่และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการเมือง เผยแพร่และส่งเสริมจิตส�ำนึก
ความเป็นพลเมอื ง สิทธหิ นา้ ทีข่ องพลเมอื ง ตลอดจนการเรยี นรู้ของประชาชน ชมุ ชนและ
เครอื ขา่ ยในการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ สมานฉนั ทใ์ นความหลากหลายทางชาตพิ นั ธ์ุ ภมู นิ เิ วศน์
และวัฒนธรรม รวมทั้งการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี นอกจากนี้ ยังมีหน้าท่ี
ส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือประชาชน ชุมชน และองค์กรภาคประชาสังคมให้สามารถ
ใช้สิทธิตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ ท้ังในการรับทราบและเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 227

การมีส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบายการวางแผนด้านต่าง ๆ ทั้งระดับชาติและท้องถิ่น
การตัดสินใจทางการเมือง การจัดท�ำบริการสาธารณะและการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ
ท้ังน้ี การด�ำเนินการของสภาพัฒนาการเมืองต้องมีความเป็นอิสระ และมีความเป็นกลาง
ทางการเมือง และการจัดท�ำแผนพัฒนาการเมืองให้ค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
จากทุกภาคส่วนทางสังคมและจากภูมิภาคต่าง ๆ นอกจากน้ี เพื่อให้การด�ำเนินการของ
สภาพัฒนาการเมืองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจ�ำเป็นต้องมีการจัดต้ังหน่วยงานที่จะ
ทำ� หนา้ ทสี่ นบั สนนุ สภาพฒั นาการเมอื ง หรอื ทเ่ี รยี กวา่ สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเมอื งใหเ้ ปน็
หน่วยงานย่อยในสถาบันพระปกเกล้า มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินกิจการ
ตามอำ� นาจหนา้ ทขี่ องสภาพฒั นาการเมอื ง ภายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของประธานสภาพฒั นา
การเมือง โดยท�ำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของสภาพัฒนาการเมือง จัดท�ำบัญชีรายชื่อ
รบั จดแจง้ องคก์ รภาคประชาสงั คม เปน็ หนว่ ยธรุ การในการสรรหาสมาชกิ สภาพฒั นาการเมอื ง
ประสานงานกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเพ่ือให้ได้มาซึ่งสมาชิกสภาพัฒนาการเมือง
รวมถึงเปน็ หน่วยงานวิชาการใหแ้ ก่สภาพัฒนาการเมือง
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาแล้ว เห็นว่า การจัดตั้งสภาพัฒนาการเมือง
ตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ตอ้ งการใหเ้ ปน็
หนว่ ยงานทมี่ คี วามเปน็ อสิ ระและมคี วามเปน็ กลางทางการเมอื ง ดงั นนั้ เพอื่ เปน็ การประเมนิ ผล
การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องสภาพฒั นาการเมอื งในชว่ งระยะเวลาทผ่ี า่ นมา จงึ ไดท้ ำ� การศกึ ษาวจิ ยั
เร่ือง การประเมินผลงานของสภาพัฒนาการเมือง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลงาน
ในภาพรวมของสภาพัฒนาการเมืองตามบทบาท อ�ำนาจหน้าท่ีท่ีก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง
พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมถงึ ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องสมาชกิ สภาพฒั นาการเมอื ง
เพอื่ นำ� ผลการศกึ ษาวจิ ยั ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาสภาพฒั นาการเมอื งในภาพรวม
จากการศึกษา ได้มีขอ้ เสนอแนะใน ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่

228 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

(๑) ข้อเสนอแนะด้านนโยบาย เห็นว่า สมควรให้มีสภาพัฒนาการเมือง
ต่อไป แต่ควรมกี ารปรับปรงุ แกไ้ ขพระราชบญั ญตั สิ ภาพฒั นาการเมือง พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
เสยี ใหม่ ทง้ั ในดา้ นโครงสรา้ ง ทม่ี า องคป์ ระกอบ บทบาทอำ� นาจหนา้ ทข่ี องสภาพฒั นาการเมอื ง
และสมาชกิ สภาพฒั นาการเมอื ง ปรบั ปรงุ แกไ้ ขสถานภาพของสำ� นกั งานสภาพฒั นาการเมอื ง
ออกจากการสถาบันพระปกเกล้า และให้ข้ึนตรงกับสภาพัฒนาการเมือง โดยมีเลขาธิการ
ส�ำนักงานของตนเองอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของประธานสภาพัฒนาการเมือง และ
กำ� หนดใหม้ กี ารจดั สรรงบประมาณใหเ้ พยี งพอในการบรหิ ารงานเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของ
การพัฒนาการเมืองต่อไป
(๒) ขอ้ เสนอแนะดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร ตอ้ งมมี าตรการในการเพม่ิ พนู ศกั ยภาพ
ของสมาชิกสภาพัฒนาการเมือง โดยการจัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจแก่สมาชิกสภา
พฒั นาการเมอื งอยา่ งตอ่ เนอื่ งสมำ�่ เสมอ สภาพฒั นาการเมอื งควรเปน็ หลกั ในการดำ� เนนิ งาน
ด้านการพัฒนาการเมือง และมาตรการเร่งด่วนท่ีส�ำคัญคือการสื่อสารต่อสาธารณชน
ของสภาพัฒนาการเมือง ต้องมีการน�ำเสนอบทบาทและผลงานของสภาพัฒนาการเมือง
ต่อสาธารณชนให้มากขนึ้ และนำ� เสนอผลงานท่มี ีเนอ้ื หาสาระอย่างเป็นรูปธรรม
(๓) ข้อเสนอแนะด้านวิชาการ ควรมีการศึกษาวิจัยการปฏิรูปสภาพัฒนา
การเมอื ง ทง้ั ในด้านโครงสร้าง องคป์ ระกอบ ทมี่ า บทบาทอ�ำนาจหน้าที่ กระบวนการด�ำเนนิ งาน
และพฤติกรรมของสภาพัฒนาการเมืองและสมาชิกสภาพัฒนาการเมืองให้มีความละเอียด
ลึกซ้ึง ควรมีการศึกษาวิจัยเนื้อหาสาระของแผนพัฒนาการเมืองฉบับใหม่ท่ีสอดคล้องกับ
สภาพการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและอื่น ๆ ที่เปล่ียนแปลงไป
ทงั้ ในระดบั ภมู ภิ าค ระดบั ประเทศ และระดบั โลก ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ความสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยง
ระหวา่ งสภาพฒั นาการเมอื ง แผนพฒั นาการเมอื ง และกองทนุ พฒั นาการเมอื งภาคพลเมอื ง
และความสัมพนั ธ์กับสถาบันการเมืองตา่ ง ๆ ในระบบการเมืองดว้ ย
ทงั้ น้ี ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ดำ� เนนิ การศกึ ษาแลว้ เสรจ็ และไดเ้ ผยแพรผ่ ลการศกึ ษา
ในเว็บไซต์ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน และได้เสนอรายงานการศึกษาไปยังสภาพัฒนา
การเมอื งเพื่อพจิ ารณาแลว้

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 229

ง. การศึกษา เรื่อง การจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิด
ลักษณะตัวแทนอำ� พราง พ.ศ. ….
การแขง่ ขนั ทางการคา้ เปน็ ระบบการคา้ เสรมี กี ารเปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ระกอบธรุ กจิ
สามารถใชค้ วามร้แู ละความสามารถไดอ้ ย่างเต็มท่ี ก่อใหเ้ กิดการผลิตสินคา้ และการบริการ
ทหี่ ลากหลาย สง่ ผลใหเ้ กดิ การหลง่ั ไหลของชาวตา่ งชาตทิ เี่ ขา้ มาประกอบธรุ กจิ ในประเทศไทย
เพม่ิ ขนึ้ ตามไปดว้ ย การพฒั นาประเทศทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม การดงึ นกั ลงทนุ จาก
ตา่ งประเทศเพอ่ื ใหเ้ ข้ามาลงทนุ ในประเทศจึงเปน็ เร่ืองทส่ี �ำคญั โดยที่ดินถอื เป็นปจั จัยหน่ึง
ทส่ี ำ� คญั ในการประกอบธรุ กจิ การใหค้ นตา่ งดา้ วสามารถถอื ครองหรอื มกี รรมสทิ ธใิ์ นทด่ี นิ ได้
จึงเปน็ แรงจูงใจท่ที �ำให้นกั ลงทนุ เขา้ มาประกอบธุรกจิ ในประเทศไทยมากขึน้ ดงั นน้ั ปัญหา
การถอื ครองทดี่ นิ ของคนตา่ งดา้ วในประเทศไทยจงึ เปน็ ปญั หาสำ� คญั ทร่ี ฐั จะตอ้ งออกกฎหมาย
หรือมาตรการใด ๆ ขึ้นมาเพอื่ เปน็ การสงวนทีด่ นิ ไวใ้ ห้แก่คนไทยมฉิ ะนั้นแล้วอาจกอ่ ใหเ้ กิด
ผลกระทบทัง้ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และความม่ันคงของประเทศ
ปัจจุบันการท�ำธุรกรรมอ�ำพรางมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้นซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบ
ท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ เช่น ในดา้ นเศรษฐกิจหากปล่อยให้
คนต่างด้าวเข้ามาประกอบกิจการในประเทศเป็นจ�ำนวนมาก กิจการของคนไทยอาจถูก
แทรกแซงหรอื โดนครอบงำ� การประกอบอาชพี บางประเภทซงึ่ สงวนใหค้ นไทยตอ้ งตกไปอยู่
ในมอื ของคนตา่ งดา้ ว เกดิ ความเสยี เปรยี บในการแขง่ ขนั ทางธรุ กจิ รวมทงั้ การสญู เสยี รายได้
ทางภาษี เนอื่ งจากการทำ� ธรุ กรรมอำ� พรางไมส่ ามารถตรวจสอบแหลง่ ทม่ี ารายไดท้ แ่ี ทจ้ รงิ ได้
การถือครองที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ตกไปอยู่ในมือของคนต่างด้าวเป็นจ�ำนวนมาก
ย่อมส่งผลให้สัดส่วนการถือครองท่ีดินของคนไทยลดลงและสูญเสียการถือครองท่ีดินหรือ
อสังหาริมทรัพย์ ในด้านสังคมก่อให้เกิดความเหล่ือมล้�ำ และเกิดช่องว่างในการทุจริต
ส่งผลกระทบต่อความม่ันคง ซึ่งกฎหมายที่มีอยู่ไม่สามารถเอาผิดกับคนต่างด้าวเหล่านี้ได้
จงึ กลายเปน็ ปญั หาพนื้ ฐานของประเทศ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วขา้ งตน้ จงึ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่
ท่ีจะต้องจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดลักษณะตัวแทนอ�ำพราง
พ.ศ. .... ขน้ึ เพอ่ื ควบคมุ การทำ� ธรุ กรรมอำ� พรางของคนตา่ งดา้ วเพอื่ ใหก้ ารคมุ้ ครองครอบคลมุ
จากพระราชบัญญัติที่มีอยู่เดิมซ่ึงร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดลักษณะ

230 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ตัวแทนอ�ำพราง พ.ศ. .... มวี ัตถุประสงค์ในการควบคุมการทำ� ธรุ กรรมของคนต่างด้าวที่มี
ลักษณะการท�ำนิติอ�ำพราง โดยให้มีบทบัญญัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับความเป็นตัวแทนอ�ำพราง
ว่าลักษณะใดบ้างถือเป็นตัวแทนอ�ำพราง หรือการกระท�ำใดจะเข้าข้อสันนิษฐานลักษณะ
การกระทำ� ตวั แทนอำ� พราง โดยไดก้ ำ� หนดนยิ ามของคำ� วา่ ตวั แทนอำ� พรางใหห้ มายถงึ บคุ คล
ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งคนต่างด้าวเชิดให้ท�ำธุรกรรมอย่างหน่ึงอย่างใดแทน โดยการสมรส
การครอบครองหรือวิธีอื่นใด ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนซึ่งการท�ำธุรกรรม
เหลา่ นม้ี ลี กั ษณะเปน็ การอำ� พรางเจา้ ของหรอื ผทู้ มี่ อี ำ� นาจทแี่ ทจ้ รงิ อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความชดั เจน
เก่ียวกับความเป็นตัวแทนอ�ำพราง อีกทั้งยังได้ก�ำหนดบทลงโทษสถานหนักเพื่อให้เกิด
ความเกรงกลัวต่อการกระท�ำความผิดดังกล่าวอีกด้วย และเพื่อเป็นการรองรับการเกิดขึ้น
ของประชาคมอาเซียน หรือ Asean Economics Community (AEC) ที่จะก่อให้เกิด
การเปิดการค้าเสรี การลงทุนในภูมิภาคอาเซียนซ่ึงก่อให้เกิดการเข้ามาของคนต่างชาติ
เปน็ จำ� นวนมาก ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ เหน็ ควรจดั ใหม้ กี ารจดั ทำ� รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ย
การกระท�ำความผิดลักษณะตัวแทนอำ� พราง พ.ศ. .... ขน้ึ มาเพอ่ื ควบคุมการถือครองท่ดี นิ
ของคนต่างชาติให้อยู่ในอัตราส่วนที่เหมาะสมเพ่ือเป็นการป้องกันและควบคุมการท�ำ
ธุรกรรมอ�ำพรางผ่านตัวแทนผู้มีสัญชาติไทย อีกทั้งเป็นการสงวนรักษาพ้ืนท่ีดินกับ
ทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้แก่คนไทยรุ่นหลังสืบไป และได้ส่งร่างพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำ� ความผิดลกั ษณะตัวแทนอ�ำพราง พ.ศ. .... ไปยงั คณะกรรมการปฏิรปู กฎหมาย
เมือ่ วันที่ ๑๔ มนี าคม ๒๕๕๗ และเสนอไปยงั นายกรฐั มนตรีเม่อื วันที่ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๙
เพอ่ื ด�ำเนนิ การตามความเหมาะสมตอ่ ไป

ผูต้ รวจการแผน่ ดิน 231

จ. การศึกษา เรื่อง ผลกระทบนโยบายการให้สิทธิประโยชน์และคุ้มครอง
การท�ำงานของครโู รงเรยี นเอกชนระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน : ประเภทสามัญศกึ ษา
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาเห็นว่านโยบายสิทธิประโยชน์และการคุ้มครอง
การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานประเภทสามัญศึกษาปัจจุบัน
ยังไม่เหมาะสม จึงท�ำให้มีผลกระทบต่อขวัญและก�ำลังใจและความมั่นคงทางอาชีพ และ
ยงั เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ประการหนง่ึ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการสอนของครโู รงเรยี น
เอกชนด้วยเชน่ กนั โดยการศกึ ษาดงั กล่าวมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื
(๑) เพ่ือศึกษาความเข้าใจ และความพึงพอใจของครูโรงเรียนเอกชนต่อ
การให้สิทธปิ ระโยชน์และคุ้มครองการทำ� งานวา่ เป็นอยา่ งไร
(๒) เพ่ือศึกษาความคิดเห็นที่จ�ำเป็นในการปรับปรุงการให้สิทธิประโยชน์
และคมุ้ ครองการทำ� งานของครโู รงเรียนเอกชนว่าเป็นอยา่ งไร
(๓) เพื่อค้นหาแนวทางในการปรับปรุงการให้สิทธิประโยชน์และคุ้มครอง
การท�ำงานของครโู รงเรยี นเอกชนให้เกดิ ความเหมาะสมมากข้ึน
จากการศกึ ษาวจิ ยั พบวา่ ความเขา้ ใจตอ่ สทิ ธปิ ระโยชนแ์ ละคมุ้ ครองการทำ� งาน
กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญต่ อบไมถ่ กู ตอ้ งและมบี างสว่ นตอบไมท่ ราบ สว่ นความพงึ พอใจตอ่ สทิ ธิ
ประโยชนใ์ น ๙ ประเดน็ คอื คา่ รกั ษาพยาบาลกรณเี จบ็ ปว่ ยและทพุ พลภาพ คา่ การศกึ ษาบตุ ร
ค่าช่วยเหลือบุตร เงินทดแทนกรณีเจ็บป่วยหรือเสียชีวิต เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว
เงินช่วยเหลือกรณีประสบภัยจากการก่อเหตุร้าย การช่วยเหลือกรณีประสบอัคคีภัย
และประสบภัยธรรมชาติ การไดร้ ับการพฒั นาทางวิชาการจากสถาบันพัฒนาครูคณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา และการเสนอรับการพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
พบวา่ ความพึงพอใจอยรู่ ะดบั ปานกลาง ยกเวน้ ความพงึ พอใจเรื่องสทิ ธปิ ระโยชนเ์ ก่ียวกบั
ค่าช่วยเหลือบุตร ท่ีอยู่ระดับน้อยท่ีสุด ส�ำหรับความพึงพอใจต่อการคุ้มครองการท�ำงาน
๘ ประเด็น คือ วนั ลา คา่ ตอบแทนจากการสอน คา่ ท�ำงานล่วงเวลาในวนั ปกติ คา่ ทำ� งาน
ล่วงเวลาในวันหยุด ค่าชดเชยพิเศษกรณีการเลิกสัญญาการเป็นครู การร้องทุกข์ต่อ
คณะกรรมการประนีประนอมหรือคณะกรรมการคุ้มครองและมาตรฐานด้านสุขอนามัย

232 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

พบว่า อยู่ระดับปานกลางเช่นกัน แต่พบว่าความคิดเห็นที่จ�ำเป็นในการปรับปรุงสิทธิ
ประโยชน์ ๙ ประเด็น และความคิดเห็นท่ีจ�ำเป็นในการปรับปรุงการคุ้มครองการท�ำงาน
๘ ประเดน็ อยู่ระดบั มากท่ีสุด จากการศกึ ษามีข้อเสนอแนะ สรปุ ได้ดังน้ี
(๑) สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชนและโรงเรยี นควรเพม่ิ
มาตรการให้ครูได้รับทราบถึงสิทธิประโยชน์และคุ้มครองการท�ำงานที่กฎหมายบัญญัติไว้
และให้ครูมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นในเรื่องดังกล่าว และในกรณีที่โรงเรียนเอกชน
(นายจ้าง) ประสงค์จะมอบหมายงานอื่น ควรพิจารณามอบหมายเป็นงานเชิงวิชาการ
โดยค�ำนึงถึงเกียรติ ศักด์ิศรีวิชาชีพครู และผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าท่ีสอนในการ
พิจารณามอบหมายงานดว้ ย
(๒) ควรมีการแก้ไขระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการคุ้มครอง
การท�ำงานของครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๒ เช่น เรื่องการลาคลอดบุตร
เน่อื งจากเดิมก�ำหนดใหล้ าได้เพียง ๔๕ วนั ควรแกไ้ ขเปน็ ให้ลาได้ ๙๐ วนั เป็นตน้ แก้ไข
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการสงเคราะห์อ่ืนเพื่อสวัสดิการครูโรงเรียนเอกชน
พ.ศ. ๒๕๔๔ เชน่ เรอื่ ง การเพม่ิ เงนิ คา่ ชว่ ยเหลอื บตุ รใหม้ คี วามเหมาะสมมากยง่ิ ขนึ้ เนอื่ งจาก
ปัจจุบันก�ำหนดให้เบิกได้เดือนละ ๕๐ บาทต่อคนและไม่เกิน ๓ คน เท่านั้น เป็นต้น
และแกไ้ ขระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการสงเคราะหค์ รใู หญแ่ ละครโู รงเรยี นเอกชน
ในกรณีเจ็บป่วยและคลอดบุตร พ.ศ. ๒๕๔๙ เช่น เร่ือง การเบิกค่ารักษาพยาบาลท่ีมี
ความเหมาะสม เนอ่ื งจากปจั จบุ นั กำ� หนดใหเ้ บกิ ไดไ้ มเ่ กนิ ปลี ะ ๑๐๐,๐๐๐ บาทตอ่ คน เปน็ ตน้
(๓) ควรมมี าตรการสรา้ งเสรมิ หลกั ประกนั ความมน่ั คงทางอาชพี ในยามชรา
และมแี ผนพฒั นาวชิ าการใหก้ บั ครอู ยา่ งนอ้ ยปลี ะสองครง้ั ในชว่ งปดิ ภาคการศกึ ษา โดยภาครฐั
ควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนตามความจ�ำเป็น ซ่ึงผลการศึกษาวิจัยน้ีจะเป็นข้อมูล
ทางวชิ าการสว่ นหนง่ึ ทม่ี สี ว่ นผลกั ดนั การพฒั นานโยบายการใหส้ ทิ ธปิ ระโยชนแ์ ละคมุ้ ครอง
การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้เกิดความเหมาะสมและ
เปน็ ธรรมมากข้ึน อกี ทง้ั ยงั จะเปน็ ประโยชน์กบั ผูส้ นใจทั่วไปด้วย

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 233

ฉ. การแตง่ ต้ังคณะกรรมการท่ีปรึกษาดา้ นกฎหมายรฐั ธรรมนูญ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาดา้ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู
ซง่ึ ประกอบดว้ ยผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ำ� นวน ๑๐ ทา่ น เพอ่ื ใหค้ ำ� ปรกึ ษา ความเหน็ หรอื ขอ้ พจิ ารณา
เพ่ือแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นว่าจ�ำเป็น รวมท้ังในกรณีอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
โดยคณะกรรมการฯ จะปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการใหค้ ำ� ปรกึ ษาในความเหน็ หรอื ขอ้ พจิ ารณาเพอ่ื แกไ้ ข
เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญภายใต้กรอบของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔๔ (๓) เสนอผู้ตรวจการแผ่นดินเพ่ือพิจารณาด�ำเนินการ
ตามทีเ่ ห็นสมควร ซึ่งมอี งค์ประกอบ ดังน้ี
(๑) ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ นรนิติ เศรษฐบตุ ร
(๒) ศาสตราจารย์ ดร. วิษณุ เครอื งาม
(๓) ศาสตราจารย์ ดร. บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ
(๔) ศาสตราจารย์ ดร. สรุ พล นติ ิไกรพจน์
(๕) ศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ธำ� รงธญั วงศ์
(๖) ศาสตราจารย์ ดร. ธรี ภัทร์ เสรีรังสรรค์
(๗) ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชยั ยาวะประภาษ
(๘) ศาสตราจารย์ ดร. จรัส สวุ รรณมาลา
(๙) รองศาสตราจารย์ ดร. กติ ติศกั ดิ์ ปรกต ิ
(๑๐) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ปริญญา เทวานฤมติ รกลุ
ในการด�ำเนินการของคณะกรรมการดังกล่าว เป็นผลให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน
สามารถจัดท�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบบั ที่ ..) พ.ศ. .... ตอ่ ประธานรฐั สภาเมอ่ื วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๕๕ และวนั ที่ ๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕
นอกจากนี้ ยงั ได้มีข้อเสนอแนะเสนอต่อนายกรฐั มนตรี เม่อื วนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๕ ใน
๓ ประเด็น คือ
ประเด็นที่หน่ึง การบัญญัติให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรม
ราชโองการแทนนายกรฐั มนตรีเปน็ การชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู หรือไม่

234 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ประเด็นท่ีสอง การที่ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้วินิจฉัยว่า ร่างรัฐธรรมนูญฯ
เปล่ยี นแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ หรอื
เปลี่ยนแปลงรูปของรัฐดังปรากฏในร่างรัฐธรรมนูญฯ ท้ังสามร่างน้ันเป็นการให้องค์กร
ทางการเมืองเป็นผู้มีอ�ำนาจวินิจฉัยปัญหาทางกฎหมายที่เป็นปัญหาส�ำคัญ ซึ่งปัญหาน้ี
ควรได้รับการพิจารณาวนิ จิ ฉยั จากศาลรฐั ธรรมนูญ
ประเด็นที่สาม ปัญหาว่ากรณีตามร่างรัฐธรรมนูญฯ ท่ีให้ประชาชนออกเสียง
ลงประชามติแล้วจึงน�ำข้ึนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์หากทรงยับยั้ง
แล้วส่งกลับไปให้รัฐสภาลงมติยืนยันโดยอนุโลมตามมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑
มาใช้บงั คับนั้น ไม่ควรบัญญัตใิ นลกั ษณะเชน่ นี้
โดยประธานรัฐสภาได้มีหนังสือแจ้งส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เมื่อวันที่
๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ ว่า ได้แจ้งขอ้ เสนอแนะดังกล่าวใหส้ มาชิกรัฐสภาทราบและพิจารณา
ในการประชมุ รว่ มกันของรฐั สภาในวาระท่ี ๒ แล้ว
ช. การศึกษา เรอื่ ง แผนบริหารจัดการทรพั ยากรนำ้� ระยะยาว
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ แนวนโยบายพน้ื ฐาน
แห่งรัฐ หมายถึง แนวนโยบายขั้นพื้นฐานท่ีรัฐหรือองค์กรของรัฐจะต้องด�ำเนินการ
ให้เกิดประโยชน์กับประเทศชาติและประชาชน โดยแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มคี วามสำ� คญั หลายประการ คอื เปน็ บทบญั ญตั ทิ ก่ี ำ� หนดภาระหนา้ ทสี่ ำ� คญั ของรฐั ทจ่ี ะตอ้ ง
ปฏิบัติ ซงึ่ ครอบคลุมภารกจิ ทสี่ ำ� คญั อนั เปน็ เงอ่ื นไขพน้ื ฐานท่ีจ�ำเปน็ ตอ่ การพัฒนาประเทศ
และความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยโดยรวมในระยะยาว เปน็ นโยบายกลางขั้นพ้นื ฐาน
ผูกพันรัฐสภาและรัฐบาลทุกรัฐบาลให้ต้องด�ำเนินนโยบายและปฏิบัติตามกรอบหลักการ
ของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่งผลให้กฎหมายและนโยบายส�ำคัญท่ีเป็นพื้นฐาน
ของการพัฒนาประเทศมีความต่อเนื่องและอ�ำนวยประโยชน์แก่ประชาชน จึงถือได้ว่า
แนวนโยบายพน้ื ฐานแหง่ รฐั คอื แนวทางการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในระบอบประชาธปิ ไตย

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 235

ปัญหาส�ำคัญอย่างหนึ่งของการด�ำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ในปจั จบุ นั คอื เรอื่ งการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้� ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั
ในเรอ่ื งดงั กลา่ ว เนอ่ื งจากนำ้� เปน็ ทรพั ยากรลำ� ดบั แรก ๆ ทมี่ คี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ ประชาชน
ท้ังประเทศ ในปัจจุบันหลายพื้นท่ีประสบปัญหาการขาดแคลนนำ้� อย่างรุนแรง บางพื้นที่
ขาดแคลนน�้ำในช่วงหน้าแล้ง บางพ้ืนที่ขาดแคลนน้�ำตลอดท้ังปี จนก่อให้เกิดผลกระทบ
ต่อการอุปโภค บริโภค ตลอดจนการท�ำเกษตรกรรมของประชาชนบางพื้นที่ไม่สามารถ
ท�ำการเกษตรกรรมได้เน่ืองจากมีน้�ำไม่เพียงพอต้องกักเก็บน�้ำไว้ใช้เพื่อบริโภคเท่าน้ัน
ปญั หาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นเปน็ ปญั หาท่สี ง่ ผลกระทบต่อประชาชนเป็นจ�ำนวนมาก ผูต้ รวจการ
แผ่นดินได้ลงพ้ืนท่ีให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนท่ีได้รับความเดือดร้อน ให้สามารถ
พง่ึ พาตนเองไดด้ ว้ ยการสรา้ งสระเกบ็ นำ้� ขนาดเลก็ ไวใ้ ชใ้ นพนื้ ทช่ี มุ ชนของตนเอง โดยรว่ มกนั
ระหว่างคนในชุมชน หน่วยงานราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งประโยชน์
ของการสร้างสระเกบ็ นำ�้ ขนาดเลก็ นน้ั คือ เมือ่ ถงึ ช่วงฤดูแล้งกส็ ามารถนำ� น�้ำทีก่ ักเกบ็ ไว้ใน
สระเก็บน�ำ้ มาใช้ในการอปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตรกรรม และหากเปน็ ชว่ งฤดฝู นกเ็ ก็บ
กกั นำ้� ไวเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ นำ�้ ทว่ มในพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมอกี ดว้ ย จากการทผ่ี ตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ลงพื้นท่ีให้ความรู้แก่ประชาชนในจังหวัดต่าง ๆ และได้รับทราบถึงปัญหาและอุปสรรค
จงึ ไดจ้ ดั ทำ� “คมู่ อื งานสระเกบ็ นำ้� สำ� หรบั ชมุ ชน” เพอื่ เผยแพรใ่ หก้ บั ชมุ ชนตา่ ง ๆ ใชป้ ระกอบ
การทำ� งานเกย่ี วกบั การจดั หาแหลง่ นำ้� ขนาดเลก็ ประเภทสระเกบ็ นำ�้ ไวใ้ ชใ้ นหมบู่ า้ นทปี่ ระสบ
ปัญหาขาดแคลนนำ�้

236 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ส่วนที่

ปัญหาและอปุ สรรค
ในการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องผตู้ รวจการแผ่นดนิ

ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏิบัตหิ น้าทีข่ องผตู้ รวจการแผ่นดิน

๗.๑ ขอ้ จำ� กดั เกยี่ วกับงบประมาณรายจ่ายประจำ� ปที ่ไี ด้รับจัดสรร

๗.๑.๑ ในชว่ งระยะเวลาทผ่ี า่ นมา สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดร้ บั การพจิ ารณา
จดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปใี หใ้ นสว่ นของงบดำ� เนนิ งานในสดั สว่ นทเ่ี พยี งพอสำ� หรบั
การดำ� เนินงานตามภารกิจพ้ืนฐาน คา่ ใช้จ่ายประจ�ำ และงาน / โครงการทต่ี ้องดำ� เนินการ
ตอ่ เนอ่ื ง แตย่ งั ไมค่ รอบคลมุ และเพยี งพอตอ่ การสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานแบบมงุ่ เนน้ ผลงาน
ตามแผนยทุ ธศาสตร์ ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ การดำ� เนนิ งานในเชงิ รกุ ในหลายดา้ น ซง่ึ ผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ ไดว้ างนโยบายในการดำ� เนนิ งานดงั กลา่ วเพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ
ของสมาชกิ สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติและความคาดหวงั ของผ้รู ้องเรียน อาทิ การจดั กจิ กรรม
เพอื่ การประชาสมั พนั ธผ์ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ เชงิ รกุ และในสว่ นภมู ภิ าค การลงพน้ื ทตี่ รวจสอบ
ข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียนในพ้ืนที่ต่าง ๆ การศึกษาและการแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียน
เชิงระบบ ซึ่งเป็นงานที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์
อยา่ งไรกด็ ี เนอื่ งจากสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ซงึ่ ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณเปน็ งบเงนิ
อุดหนุน จึงจ�ำเป็นต้องอาศัยการบริหารจัดการด้านงบประมาณและการบริหารโครงการ
เพอื่ ขบั เคลอื่ นกจิ กรรมและโครงการตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามสำ� คญั ใหส้ ามารถดำ� เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
๗.๑.๒ หลกั เกณฑ์ อตั ราคา่ ใชจ้ า่ ย ทใี่ ชใ้ นการพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณรายจา่ ย
ประจ�ำปีซึ่งถูกก�ำหนดตามระเบียบการเบิกจ่ายของกระทรวงการคลัง ปรากฏว่ามีอัตรา
ค่าใช้จ่ายในหลายรายการท่ีไม่สอดคล้องกับอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบของส�ำนักงาน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทบี่ งั คบั ใชอ้ ยู่ โดยเฉพาะคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ริ าชการภายใน
ประเทศ ซ่ึงมีความจ�ำเป็นต้องเบิกจ่ายในกิจกรรมการเดินทางลงพื้นท่ีไปตรวจสอบ
ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี น การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธบ์ ทบาทอำ� นาจหนา้ ทขี่ องผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ และสทิ ธกิ ารรอ้ งเรยี นของประชาชน ทำ� ใหส้ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตอ้ งปรบั แผน
และเป้าหมายการด�ำเนินงานให้สอดคล้องหลักเกณฑ์ อัตราค่าใช้จ่ายดังกล่าว และท�ำให้

238 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เกดิ สว่ นตา่ งระหวา่ งวงเงนิ ทไี่ ดร้ บั การจดั สรรกบั งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการเบกิ จา่ ยตามระเบยี บ
ซ่งึ ส�ำนักงานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตอ้ งอาศยั การบริหารจดั การเพอ่ื ดำ� เนนิ กจิ กรรม โครงการ
ตามแผนงานใหไ้ ดภ้ ายใต้ขอ้ จำ� กดั ดา้ นงบประมาณดงั กลา่ วนอกจากน้ี งบประมาณท่ีไดร้ บั
จัดสรรในค่าใช้จ่ายพ้ืนฐานที่จ�ำเป็นตามหลักเกณฑ์อัตราที่ส�ำนักงบประมาณก�ำหนด
ไมเ่ พยี งพอกบั คา่ ใชจ้ า่ ยจรงิ ทเี่ กดิ ขน้ึ เชน่ คา่ รกั ษาพยาบาล คา่ จา้ งเหมาบรกิ าร คา่ ซอ่ มแซม
ครภุ ณั ฑ์และวัสดุ

๗.๒ การด�ำเนนิ งานดา้ นการพจิ ารณาสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำ� ร้องเรยี น

การดำ� เนนิ การพจิ ารณาสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี นทผ่ี ตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ไดร้ บั คำ� รอ้ งเรยี นไวพ้ จิ ารณาตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งแสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ
เพิ่มเติมเพ่ือให้ได้ข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาเรื่องร้องเรียนท่ีครบถ้วน
และรอบด้าน เพื่อท่ีผู้ตรวจการแผ่นดินจะสามารถวินิจฉัยปัญหาดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง
และมีความเป็นธรรม ดงั นัน้ ข้อมูล ข้อเท็จจรงิ จากการชีแ้ จง เอกสาร หลักฐานตา่ ง ๆ จาก
หนว่ ยงานของรฐั ทถี่ กู รอ้ งเรยี นจงึ มคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ อยา่ งไรกด็ ี ในขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
ของเจ้าหน้าท่ี พบว่า หน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบางหน่วยงาน
ด�ำเนินการชี้แจงข้อเท็จจริงล่าช้า ท�ำให้ผู้ตรวจการแผ่นดินต้องติดตามทวงถามหลายคร้ัง
หรอื ชแ้ี จงขอ้ มลู ไมต่ รงประเดน็ หรอื ไมค่ รบถว้ นทกุ ประเดน็ ทขี่ อใหช้ แี้ จง ทำ� ใหก้ ารรวบรวม
ข้อมูลเพ่ือประกอบการพิจารณาวินิจฉัยเป็นไปด้วยความล่าช้า จนส่งผลกระทบต่อ
ระยะเวลาในการด�ำเนินการวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนของผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นอย่างมาก
อยา่ งไรกด็ ี ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มนี โยบายใหใ้ ชว้ ธิ กี ารประสานงานอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการควบคู่
ไปกับการเดินทางไปตรวจสอบข้อเท็จจริงท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีที่มีการร้องเรียน เพ่ือให้ได้รับ
ข้อมูลทางตรง และเป็นการสร้างความตื่นตัวให้แก่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการเอาใจใส่
ในปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นและเปน็ การเร่งรดั ให้หนว่ ยงานดำ� เนินการช้ีแจงขอ้ เทจ็ จริงเพ่ือประกอบ
การพจิ ารณาของผตู้ รวจการแผ่นดินโดยเร็ว

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 239

นอกจากน้ี ด้วยกลไกผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นระบบการแก้ไขปัญหาผ่านการ
ให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานและการจัดท�ำรายงานเสนอไปยังหน่วยงานบังคับบัญชา
ทส่ี งู ขนึ้ ไปตามลำ� ดบั เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานไดท้ บทวนถงึ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ และมกี ารสง่ั การเพอื่ ให้
เกิดการแกไ้ ขปญั หาตามการบงั คบั บญั ชา ซ่ึงจะเป็นการแกไ้ ขปัญหาทม่ี คี วามย่ังยืน ดงั น้นั
เพอ่ื เปน็ ไปตามหลกั การทำ� งานดงั กลา่ ว รฐั ธรรมนญู และกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งจงึ มไิ ดก้ ำ� หนด
ถงึ ผลผกู พนั และสภาพบงั คบั ของคำ� วนิ จิ ฉยั และขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ อยา่ งไร
ก็ดี ข้อเท็จจริงในทางปฏิบัติ ปรากฏว่า ในบางกรณีเมื่อผู้ตรวจการแผ่นดินได้วินิจฉัย
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นและมขี อ้ เสนอแนะใหห้ นว่ ยงานปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาและเยยี วยาความเดอื ดรอ้ น
ของประชาชน แต่หน่วยงานเพิกเฉยมิได้ด�ำเนินการตามค�ำวินิจฉัยและข้อเสนอแนะของ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ หรอื ดำ� เนนิ การลา่ ชา้ เกนิ สมควร จงึ ทำ� ใหป้ ญั หาทม่ี กี ารรอ้ งเรยี นไมไ่ ดร้ บั
การแก้ไข และส่งกระทบต่อความเชื่อม่ันของประชาชนที่มีต่อผู้ตรวจการแผ่นดินด้วย
ดังนั้น เพ่ือให้การแก้ไขปัญหาของประชาชนผ่านกลไกผู้ตรวจการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ
มากยงิ่ ขน้ึ จงึ มแี นวคดิ ในการปรบั ปรงุ กฎหมายเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การภายหลงั ทผ่ี ตู้ รวจการ
แผ่นดินมีค�ำวินิจฉัยและข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานเพ่ือแก้ไขปัญหาตามค�ำร้องเรียน
โดยในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินซึ่งจะต้องออกตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ นั้น จะได้บัญญัติเกี่ยวกับ
กระบวนการและกรอบระยะเวลาในการพจิ ารณาดำ� เนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ ใหม้ คี วามชดั เจนมากขนึ้ เพอื่ กวดขนั ใหห้ นว่ ยงานเหน็ ความสำ� คญั ในการแกไ้ ขปญั หา
ใหแ้ กป่ ระชาชน และยงั กำ� หนดผลของกฎหมายในกรณเี มอ่ื พน้ กำ� หนดเวลาตามทก่ี ฎหมาย
กำ� หนดแลว้ หนว่ ยงานของรฐั ยงั ดำ� เนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไมแ่ ลว้ เสรจ็
โดยไมม่ ีเหตุอนั ควร ใหถ้ ือวา่ หน่วยงานของรฐั น้นั จงใจไมป่ ฏิบัติตามกฎหมาย อนั ท�ำใหเ้ กดิ
ความเสียหายอย่างร้ายแรง และให้ผู้ตรวจการแผ่นดินแจ้งให้คณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตทิ ราบเพอื่ ดำ� เนนิ การตามหนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจโดยเรว็ โดยใหถ้ อื วา่
รายงานของผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นส�ำนวนการสอบสวนของคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ และสำ� หรบั กรณที ห่ี นว่ ยงานของรฐั เหน็ วา่ ขอ้ เสนอแนะของ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไมอ่ าจดำ� เนนิ การไดไ้ มว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ด ใหห้ นว่ ยงานของรฐั นนั้ ปรกึ ษาหารอื

240 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

กบั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอ่ื หาขอ้ ยตุ ติ อ่ ไป หากไมส่ ามารถหาขอ้ ยตุ ไิ ดใ้ หผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เสนอเรอ่ื งตอ่ คณะรฐั มนตรี ในกรณดี งั กลา่ วผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาเหน็ วา่ เมอื่ ผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ ไดเ้ สนอเรือ่ งดังกลา่ วแกค่ ณะรัฐมนตรเี พ่อื พจิ ารณาแล้ว อาจมกี รณที คี่ ณะรัฐมนตรี
ไม่เห็นชอบด้วยตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือมีความเห็นเป็นอย่างอื่นได้
ดังน้ัน เพ่ือให้การพิจารณาการแก้ไขปัญหาความทุกข์ร้อนให้กับประชาชนเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินและคณะรัฐมนตรีต้ังคณะกรรมการข้ึนโดยมีผู้แทน
จากแต่ละฝา่ ยจ�ำนวนฝ่ายละเท่ากนั เพือ่ พิจารณาเร่ืองดงั กลา่ วใหไ้ ด้ขอ้ ยตุ ิตอ่ ไป
ทั้งนี้ เม่ือบทบัญญัติดังกล่าวมีผลบังคับใช้อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว การบังคับการ
ตามคำ� วนิ จิ ฉยั และขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอื่ การแกไ้ ขปญั หาจะมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากย่ิงข้ึน อันจะช่วยลดช่องว่างและท�ำให้ความเป็นธรรมสามารถเข้าถึงประชาชน
ทเ่ี ดือดรอ้ นได้อยา่ งแทจ้ ริง

๗.๓ การด�ำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและ
เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั

๗.๓.๑ ความลา่ ชา้ ในกระบวนการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ในกรณที ม่ี กี ารรอ้ งเรยี นวา่
มกี ารฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามประมวลจรยิ ธรรม เนอื่ งจากไมม่ ี
การก�ำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบแต่ละเรื่องร้องเรียนให้ชัดเจนเช่นเดียวกับ
กระบวนการสอบสวนทางอาญา จงึ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ความลา่ ชา้ ในขนั้ ตอนของการตรวจสอบ
ของหนว่ ยงานซง่ึ มหี นา้ ทบ่ี งั คบั ใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลจรยิ ธรรม นอกจากนี้ ในการตรวจสอบ
การละเมดิ จรยิ ธรรมนน้ั แตกตา่ งจากกระบวนการสอบสวนทางอาญาในหลายประการ เชน่
การท่ีเจ้าพนักงานสามารถใช้อ�ำนาจตามกฎหมายเรียกพยานผู้เก่ียวข้องมาให้ถ้อยค�ำได้
การใช้กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยในการตรวจพิสูจน์ข้อเท็จจริงในเชิง
วัตถุวิสยั แต่การตรวจสอบในประเด็นจริยธรรมเปน็ เรื่องท่มี คี วามละเอยี ดออ่ น จ�ำเป็นตอ้ ง
อาศัยความร่วมมือจากพยานท่ีให้ข้อมูล เน่ืองจากกฎหมายมิได้บัญญัติเกี่ยวกับวิธีการ
แสวงหาข้อมูลและกระบวนการพิจารณาท่มี ีความเคร่งครัด ชดั เจน และเป็นรูปธรรม

ผู้ตรวจการแผน่ ดิน 241

๗.๓.๒ ตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มไิ ดก้ �ำหนดให้
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ มีหน้าที่และอาจในการด�ำเนนิ การด้านจรยิ ธรรมอกี ต่อไป ขณะเดียวกนั
จากติดตามสถานการณ์ปัญหาด้านคุณธรรมและจริยธรรมในภาครัฐและสังคมและ
การดำ� เนนิ การทผี่ า่ นมาทำ� ใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ มคี วามหว่ งใยเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ
จริยธรรมอยู่หลายประการ ในขณะท่ี ท่ีผ่านมาผู้ตรวจการแผ่นดินได้สร้างและขยาย
ความรว่ มมอื ในการดำ� เนนิ การดา้ นจรยิ ธรรมในรปู ของเครอื ขา่ ยทม่ี คี วามเขม้ แขง็ มศี กั ยภาพ
และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และการเสริมสร้างความเป็นธรรม
ในชาติ ดังน้ัน เพื่อมิให้สูญเสียประโยชน์จากเครือข่ายความร่วมมือท่ีเข้มแข็งดังกล่าว
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ เหน็ ควรปรบั รปู แบบการดำ� เนนิ งานจากเดมิ โดยอาศยั เครอื ขา่ ยรว่ มมอื
ดังกล่าวเพ่ือด�ำเนินกิจกรรมเสริมสร้างธรรมาภิบาลในภาครัฐและความเป็นธรรมในสังคม
ซ่ึงจะเป็นมาตรการสนับสนุนที่จะช่วยยกระดับการบริหารงานภาครัฐให้เป็นไปตามหลัก
ธรรมาภบิ าล สรา้ งสรรคแ์ ละสง่ เสรมิ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานของรฐั เกดิ ประสทิ ธภิ าพ
และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดความเชื่อม่ันของประชาชนต่อหน่วยงานของรัฐ
และจะชว่ ยลดขอ้ ขดั แยง้ หรอื ปญั หาจากผลกระทบของการดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานของรฐั
อันน�ำมาซึ่งการร้องเรียนมายังผู้ตรวจการแผ่นดินส่งผลดีเชิงป้องกันปัญหาความเดือดร้อน
ของประชาชนทเ่ี กิดจากหนว่ ยงานภาครัฐ
๗.๓.๓ กลไกบงั คบั การใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานจริยธรรมตามประมวลจริยธรรม
ตอ้ งเป็นกลไกที่มีมาตรฐาน มีองคค์ วามรทู้ ่เี หมาะสม มคี วามเข้มแขง็ ท้ังในด้านการสง่ เสรมิ
และการตรวจสอบจรยิ ธรรม และตอ้ งมกี ารบงั คบั ใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั และผทู้ จี่ ะเปน็ ผบู้ งั คบั การ
ให้เป็นไปตามมาตรฐานจริยธรรมจะต้องมีคุณวุฒิและประสบการณ์ท่ีเหมาะสม จึงจะ
สามารถเป็นกลไกการตรวจสอบจรยิ ธรรมได้ เพือ่ ปอ้ งกันมิให้เกิดความไม่ไว้วางใจระหว่าง
ผู้บังคับการและผู้ถูกร้องเรียน อันจะน�ำไปสู่ความแตกแยกในสังคม แต่หากผู้ถูกร้องเรียน
เปน็ ผู้มีตำ� แหนง่ สงู เชน่ นายกรฐั มนตรี หรือผู้ด�ำรงตำ� แหน่งในองค์กรอสิ ระ กอ็ าจมีความ
ยากล�ำบากท่ีจะไปหาผู้ที่มีต�ำแหน่งสูงกว่าหรือเท่าเทียมกันมาเป็นกรรมการสอบสวน
จรยิ ธรรม จงึ ถือเป็นอกี หนง่ึ อุปสรรคในเรอื่ งของกลไกบงั คับการ

242 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๗.๔ การติดตาม ประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามรัฐธรรมนญู

การด�ำเนินงานด้านการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ ของผู้ตรวจการแผ่นดิน ต้ังแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๙ มีปัญหาและอุปสรรคทส่ี �ำคัญในการด�ำเนนิ งาน สรปุ ได้ดังน้ี
๗.๔.๑ การจดั ทำ� บญั ชกี ฎหมายและมาตรการทใี่ ชใ้ นการตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ติ าม
รฐั ธรรมนญู ยงั ไมค่ รบถว้ นสมบรู ณ์ เนอ่ื งจากบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ไมไ่ ดก้ ำ� หนดชดั เจนวา่
หน่วยงานที่เก่ียวข้องต้องด�ำเนินการจัดท�ำกฎหมายหรือมาตรการใด โดยบทบัญญัติของ
รฐั ธรรมนญู ในหลายมาตราไดก้ ำ� หนดหลกั การทส่ี ำ� คญั ทใี่ ชเ้ ปน็ กรอบในการจดั ทำ� กฎหมาย
หรอื มาตรการไว้กว้าง ๆ เทา่ น้นั ทำ� ใหไ้ ม่สามารถวิเคราะหไ์ ด้ว่า ในแตล่ ะมาตราจะต้องมี
การจดั ทำ� กฎหมายหรอื มาตรการเรอื่ งใดบา้ งทจ่ี ะเปน็ การรองรบั บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู นนั้
ซึ่งการติดตามผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ ที่ผ่านมาผู้ตรวจการแผ่นดินได้มีหนังสือ
สอบถามไปยงั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง แตไ่ มไ่ ดร้ บั ขอ้ มลู ทคี่ รบถว้ น ชดั เจน สง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ การ
ตดิ ตามการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ทป่ี รากฏในรปู ของกฎหมายและมาตรการของหนว่ ยงาน
ตา่ งๆที่เก่ยี วขอ้ ง มคี วามไม่สมบูรณ์
๗.๔.๒ บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู มไิ ดก้ ำ� หนดระยะเวลาในการจดั ทำ� กฎหมายและ
มาตรการไว้ ท�ำใหม้ กี ฎหมายและมาตรการอกี จำ� นวนมากที่ด�ำเนินการไมแ่ ล้วเสร็จภายใน
ระยะเวลาอนั สมควร
๗.๔.๓ เนอ่ื งจากบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ไมม่ บี ทกำ� หนดโทษใด ๆ กรณที ดี่ ำ� เนนิ การ
จดั ทำ� กฎหมายไมแ่ ลว้ เสรจ็ ทำ� ใหไ้ มม่ กี ลไกหรอื กรอบใด ๆ ทจ่ี ะบงั คบั หรอื เรง่ รดั ใหห้ นว่ ยงาน
ด�ำเนินการ
๗.๔.๔ การประเมินผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญเพ่ือจัดท�ำข้อเสนอแนะในการ
ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญนั้น เน่ืองจากรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครอง
ประเทศ หลกั การทใี่ ชใ้ นการกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ น
เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การศึกษา ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ขนบธรรมเนียม

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 243

ประเพณี ฯลฯ ลว้ นมที มี่ าจากรฐั ธรรมนญู ทงั้ สน้ิ สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านดา้ นการประเมนิ ผล
การปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีความหลากหลายและเป็นการแก้ไขปัญหาในเชิงระบบน้ัน
จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมขี อ้ มลู ทม่ี ากพอและเปน็ ทนี่ า่ เชอื่ ถอื จงึ ตอ้ งมกี ารคน้ ควา้ หาขอ้ มลู จำ� นวนมาก
ทั้งขอ้ มูลในประเทศและต่างประเทศ ท้งั ระเบียบและกฎหมาย และข่าวสารต่าง ๆ น�ำมา
วิเคราะห์สังเคราะห์จนได้ข้อสรุป จึงท�ำให้การด�ำเนินการในแต่ละเรื่องต้องใช้ระยะเวลา
ในการศึกษาพอสมควร
อย่างไรก็ดี จากประสบการณ์การท�ำงานของผู้ตรวจการแผ่นดินด้านการติดตาม
ประเมินผลการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญท่ีผ่านมาท่ีผู้ตรวจการแผ่นดินได้จัดท�ำข้อเสนอแนะ
ในด้านต่าง ๆ ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม ดา้ นกระบวนการยตุ ิธรรม ฯลฯ ซึง่ จากความสำ� เร็จดงั กลา่ ว ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ
จะได้น�ำมาขยายผลและด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือรองรับกับหน้าที่และอ�ำนาจในด้าน
การตรวจสอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องรฐั ตามหมวด ๕ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ตอ่ ไป เนอ่ื งจากรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
ได้ก�ำหนดหน้าที่ของรัฐไว้ในมิติต่าง ๆ เช่นกัน ดังนั้น ข้อมูล ผลการศึกษาต่าง ๆ
จากการปฏบิ ตั งิ านตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู ตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมา
ย่อมเป็นประโยชนต์ ่อการตรวจสอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของรัฐตามหมวด ๕ ของรฐั ธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไดต้ ่อไป

244 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

สว่ นท่ี

การด�ำเนินงานเพอ่ื สนบั สนนุ
การปฏบิ ัติหน้าทขี่ องผู้ตรวจการแผน่ ดนิ

๘.๑ การบรหิ ารจัดการของสำ� นกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดิน

สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เปน็ หนว่ ยธรุ การทม่ี หี นา้ ทส่ี นบั สนนุ การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ
ตามกฎหมายของผู้ตรวจการแผ่นดิน มีทิศทางและแนวทางในการด�ำเนินงานที่มุ่งเน้น
ผลสัมฤทธ์ิของงานควบคู่ไปกับการมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ตลอดจนผู้ตรวจการแผ่นดิน
มแี นวนโยบายในการใหค้ วามสำ� คญั กบั การยกระดบั คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร เพอื่ ใหป้ ระชาชน
และผู้ร้องเรียนเกิดความพึงพอใจและเห็นว่าผู้ตรวจการแผ่นดินและส�ำนักงานผู้ตรวจการ
แผน่ ดนิ สามารถเปน็ ทพ่ี งึ่ ของประชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ทง้ั น้ี การดำ� เนนิ งานของผตู้ รวจการ
แผ่นดินและส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน สามารถเช่ือมโยงกับหลักการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA)
ทงั้ ๗ มิติ ซ่งึ เป็นแนวทางการบรหิ ารจัดการองค์การ ท่ีครอบคลุมภาพรวมในทกุ มติ ิ เพอ่ื ใหเ้ กิด
การปรบั ปรุงองค์การอย่างรอบด้านและตอ่ เนอื่ ง ดังน้ี
๘.๑.๑ การนำ� องค์การ - ส�ำนกั งานผตู้ รวจการแผ่นดินไดม้ กี ารกำ� หนดวสิ ัยทศั น์
เป้าประสงค์ ไวใ้ นแผนยทุ ธศาสตร์สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดิน ซงึ่ เปน็ ผลผลติ มาจากการ
ประชมุ แบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจ
การแผ่นดนิ โดยมีขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของหนว่ ยงานและผลการดำ� เนนิ
งานมาประกอบการจัดท�ำ ปัจจุบันส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินงานตามแผน
ยทุ ธศาสตรส์ �ำนกั งานผู้ตรวจการแผ่นดิน ฉบบั ท่ี ๓ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐
โดยมีองคป์ ระกอบท่ีส�ำคัญ ดงั นี้
• วิสัยทศั น์ (Vision) “คมุ้ ครองประชาชนใหไ้ ดร้ บั การปฏบิ ตั อิ ย่างเปน็ ธรรม
จากการใชอ้ ำ� นาจรฐั และเสรมิ สรา้ งสงั คมใหม้ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปน็ รากฐาน เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ
ของส่วนรวม”

246 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

• พันธกิจ (Mission) ประกอบดว้ ย
๑. ตรวจสอบดแู ลการใชอ้ ำ� นาจรฐั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดร้ บั การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ธรรม
๒. เสรมิ สรา้ งรากฐานของสงั คมใหเ้ ขม้ แขง็ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและภมู คิ มุ้ กนั
๓. ติดตามประเมินผล ทบทวนและเสนอแนะการปฏิบัติให้เป็นไปตาม
เจตนารมณแ์ ห่งรฐั ธรรมนูญ
• ประเดน็ ยุทธศาสตร์
๑. พฒั นาขดี ความสามารถในการตรวจสอบดแู ลเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเปน็ ธรรม
ใหเ้ กดิ ประโยชน์สุขแกป่ ระชาชน
๒. สรา้ งและพฒั นาเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการขบั เคลอ่ื นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๓. สร้างและพัฒนากลไกการติดตามประเมินผล และการให้ข้อเสนอแนะ
การปฏิบัติตามรฐั ธรรมนญู แก่หนว่ ยงานทีม่ ีภารกิจตามรัฐธรรมนญู
๔. พฒั นาการส่ือสารองคก์ รเพือ่ ความเขา้ ใจและเสรมิ ภาพลักษณ์
๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองคก์ ร
• คา่ นิยมรว่ มของสำ� นกั งานผูต้ รวจการแผน่ ดิน ไดแ้ ก่ FAIRS ซึ่งประกอบด้วย
หลักการสำ� คัญ คอื
- Fair หมายถงึ ความเปน็ ธรรม การปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งมเี หตผุ ล ความถกู ตอ้ ง
และเปน็ กลาง ยดึ มน่ั ในหลกั การและธรรมาภบิ าล ถอื ความถกู ตอ้ ง เสมอภาค และเทยี่ งธรรม
- Accountability หมายถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความเอาใจใส่ และความรบั ผดิ ชอบ
ทง้ั ตอ่ หนา้ ทแ่ี ละองคก์ รดว้ ยความมงุ่ มนั่ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธต์ิ อ่ ประชาชนสว่ นรวม และประเทศชาติ
- Integrity หมายถึง ความถูกต้องชอบธรรม การเป็นผู้มีความสง่างาม
ตั้งม่ันในความซ่ือสัตย์ ซ่ือตรง เท่ียงธรรม กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้องและไม่ยอมนิ่งเฉย
ตอ่ การกระท�ำทไ่ี ม่ถูกต้อง

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 247

- Respectability หมายถงึ การยอมรบั นบั ถอื ความเคารพนา่ เชอ่ื ถอื ในการ
ทำ� งานอยา่ งมอื อาชพี มปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ไมผ่ ดิ พลาด และบรรลเุ ปา้ หมาย
ขององค์กร
- Service mind หมายถงึ จติ บรกิ ารการมีจิตใจพร้อมให้บรกิ าร ชว่ ยเหลือ
และประสานงานกับผู้รับบริการให้ได้รับส่ิงอันพึงประสงค์ และเกิดความประทับใจในการ
ปฏิบัตงิ านขององคก์ ร
๘.๑.๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินปฏิบัติงาน
ตามแผนยทุ ธศาสตรส์ ำ� นักงานผ้ตู รวจการแผน่ ดิน ฉบบั ที่ ๓ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๕๘
- ๒๕๖๐ และอย่รู ะหว่างการรา่ งแผนยุทธศาสตร์สำ� นักงานผตู้ รวจการแผน่ ดิน ฉบบั ท่ี ๔
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ซงึ่ จะเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เพ่ือบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ระยะสั้น ๕ ปี โดยถ่ายทอดประเด็นยุทธศาสตร์ไปสู่
แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจำ� ปี ซงึ่ เปน็ แผนระยะสนั้ ทวี่ างเปา้ หมาย
เพื่อให้บรรลุแผนตามยุทธศาสตร์ที่ได้วางไว้ โดยการถ่ายทอดประเด็นยุทธศาสตร์ไปสู่
การปฏบิ ัติ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาขดี ความสามารถในการตรวจสอบดแู ลเพือ่ เสรมิ สร้างความเป็นธรรม
ใหเ้ กิดประโยชน์สขุ แกป่ ระชาชน

เป้าประสงค์เชิงกลยทุ ธท์ ี่ ๑ กลยทุ ธ์

พัฒนาและปรับปรุงระบบการให้บริการ/ ๑. ปรับปรุงระบบการรับเรื่องร้องเรียน
กระบวนการและกลไกการพิจารณาและสอบสวน ใหเ้ กดิ ความรวดเรว็ สะดวก และงา่ ยตอ่ การเขา้ ถงึ
เรอื่ งรอ้ งเรยี นเพอ่ื ใหผ้ รู้ อ้ งเรยี นไดร้ บั การตอบสนอง ๒. ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการ
ทีร่ วดเร็ว สะดวก และเขา้ ถงึ ง่าย ในการพจิ ารณาและสอบสวนเรอ่ื งร้องเรียน
๓. ปรับปรุงและเพ่ิมกระบวนการและกลไก
ในการสื่อสาร และแจ้งความคืบหน้าอย่าง
สม่ำ� เสมอและมกี ารตอบสนองระหวา่ งกัน

248 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ สร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคล่ือนคุณธรรม
จริยธรรม

เป้าประสงค์เชงิ กลยุทธท์ ี่ ๒ กลยุทธ์

เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ ๑. รักษาและพัฒนาความร่วมมือท่ีมีอยู่
ขบั เคลอื่ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ในปัจจบุ นั ในการขบั เคล่ือนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๒. สร้างเครือข่ายร่วมมือในการขับเคล่ือน
คุณธรรม จรยิ ธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สร้างและพัฒนากลไกการติดตามประเมินผลและการให้ข้อเสนอแนะ
การปฏบิ ตั ิตามรฐั ธรรมนญู แกห่ นว่ ยงานที่มภี ารกจิ ตามรฐั ธรรมนูญ

เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ที่ ๓ กลยทุ ธ์

ปรับปรุงประสิทธิภารและประสิทธิผล ๑. พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่มี
การติดตามการประเมินผล และให้ข้อเสนอแนะ ภารกิจตามรัฐธรรมนญู
การปฏิบตั ติ ามรัฐธรรมนญู ของหนว่ ยงานราชการ ๒. เพ่ิมประสิทธิภาพในการให้ข้อเสนอแนะ

ในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแก่หน่วยงานท่ีมี
ภารกิจตามรฐั ธรรมนญู
๓. พฒั นาฐานขอ้ มลู การตดิ ตาม ประเมนิ ผล
การปฏบิ ตั ิตามรัฐธรรมนูญ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ พัฒนาการสอ่ื สารองคก์ รเพื่อความเขา้ ใจและเสริมสร้างภาพลักษณ์

เป้าประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ที่ ๔ กลยทุ ธ์

สร้างภาพลักษณ์องค์กรท่ีดีและพัฒนากลไก ๑. ผลกั ดนั ผบู้ รหิ ารและองคก์ รใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั
ให้ผู้บริหารเป็นที่รู้จักของสาธารณะและเพ่ิม และยอมรับตอ่ สาธารณชน
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลในการประชาสมั พนั ธ์ ๒. เผยแพร่บทบาทและอ�ำนาจหน้าท่ีของ
เชิงรุกในการสร้างความรู้และความเข้าใจ ขอบเขต ผู้ตรวจการแผ่นดินเฉพาะกลมุ่ เปา้ หมาย
ความรบั ผดิ ชอบ และกระบวนการในการดำ� เนนิ การ ๓. เผยแพร่บทบาทและอ�ำนาจหน้าที่ของ
ของผู้ตรวจการแผ่นดิน ผตู้ รวจการแผ่นดินใหท้ ุกกลุ่มเป้าหมาย

ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 249

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการภายในองค์กร

เปา้ ประสงค์เชิงกลยทุ ธท์ ่ี ๕ กลยทุ ธ์

พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภายในใหส้ นบั สนนุ ๑. ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้สนับสนุน
ภารกิจหลักและพัฒนาระบบบริหารบุคลากร วสิ ยั ทศั น์/พนั ธกจิ /ภารกิจ
ใหส้ นับสนุนยุทธศาสตร์ขององค์กร ๒. ปรับปรงุ ประสิทธิภาพของกระบวนงาน
๓. พฒั นาและเพมิ่ คณุ คา่ การปฏบิ ตั งิ านตาม
กระบวนงาน
๔. ออกแบบระบบทรพั ยากรบคุ คลทอ่ี งคก์ ร
ยังไมม่ ีการนำ� มาใช้
๕. ปรับปรุงระบบทรัพยากรบุคคลให้
สามารถใชง้ านไดอ้ ย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ

๘.๑.๓ การใหค้ วามส�ำคญั กับผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย - ผตู้ รวจการ
แผ่นดินได้มอบหมายให้ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินจัดท�ำการส�ำรวจความพึงพอใจของ
ผู้ร้องเรียนต่อการให้บริการเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียน เป็นประจ�ำทุกปี โดยท�ำการส�ำรวจ
ผู้ร้องเรียนท่ีได้รับการแจ้งผลการวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดินตลอดปีงบประมาณ
ซึ่งส�ำนกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดินไดน้ ำ� ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการส�ำรวจมาวิเคราะหเ์ พ่ือให้ทราบถงึ
ระดบั ความพงึ พอใจของผรู้ อ้ งเรยี นในแตล่ ะดา้ นของการใหบ้ รกิ าร ตลอดจนขอ้ มลู ความคดิ เหน็
ทสี่ ะทอ้ นจากผรู้ อ้ งเรยี นในฐานะผรู้ บั บรกิ าร ทงั้ นี้ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และผบู้ รหิ ารสำ� นกั งาน
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้พิจารณาผลการส�ำรวจเพ่ือน�ำไปปรับปรุงแนวทางในการด�ำเนินงาน
ของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และเผยแพรใ่ หแ้ กเ่ จา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
เพ่ือรับทราบความเห็นของผ้รู อ้ งเรียน อนั เป็นการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของทกุ คนในองคก์ ร
ต่อการร่วมกันพัฒนางานของผู้ตรวจการแผ่นดินมากย่ิงขึ้น ท้ังน้ี สรุปผลการส�ำรวจ
ความพงึ พอใจของผูร้ ้องเรยี นตอ่ การให้บริการเก่ียวกบั เรอ่ื งร้องเรยี น ประจำ� ปีงบประมาณ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ นี โยบายใหเ้ ผยแพรไ่ วใ้ นรายงานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ประจำ� ปี เปน็ ประจำ�
ทุกปี

250 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version